The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Omb_Library, 2022-01-05 22:57:23

annual report_2560

annual report_2560

การด�ำรงต�ำแหน่งและการจ่ายค่าตอบแทน ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงแจ้งให้จังหวัดทราบถึง
ข้อเท็จจริงดังกล่าว เพื่อพิจารณาวินิจฉัยทบทวนเรื่องร้องเรียนนี้อีกครั้งและด�ำเนินการ
ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป จงั หวดั จงึ ไดต้ ง้ั คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ
ผลการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ สรปุ ไดว้ า่ พบความเสยี หายทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ่ ปน็ ไปตาม
ระเบียบกฎหมายของปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
จงึ วนิ จิ ฉยั ใหป้ ลดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนในความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ
ท้ังหมด การกระท�ำดังกล่าวเป็นความผิดทางวินัยไม่ร้ายแรงและปลัดองค์การบริหาร
สว่ นตำ� บลไมเ่ คยกระทำ� ความผดิ ทางวนิ ยั มากอ่ น จงึ เสนอควรวา่ กลา่ วตกั เตอื นเปน็ ลายลกั ษณ์
อกั ษร ซง่ึ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลไดม้ หี นงั สอื วา่ กลา่ วตามทค่ี ณะกรรมการเสนอแลว้
ทง้ั น้ี การดำ� เนนิ การของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ทห่ี นว่ ยงานนำ� มาใช้
ประกอบการพิจารณานั้น เป็นเหตุให้เกิดการหาตัวผู้กระท�ำความผิด การลงโทษทางวินัย
และการชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนเพือ่ เยยี วยาความเสยี หายให้แกร่ ัฐต่อไป

ผตู้ รวจการแผ่นดิน 151



ส่วนท่ี

ผลการปฏิบตั ิของหนว่ ยงานราชการ หนว่ ยงานของรฐั รัฐวสิ าหกจิ
หรอื ราชการสว่ นท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ

ท่ีได้ด�ำเนนิ การหรอื ไม่ด�ำเนนิ การตามข้อสังเกตหรือขอ้ เสนอแนะ
ของผตู้ รวจการแผน่ ดิน

๓.๑ ผลการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ
หรือราชการส่วนท่องถ่ิน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ท่ีได้ด�ำเนินการตาม
ข้อสังเกตหรอื ข้อเสนอแนะของผ้ตู รวจการแผ่นดิน

ในการดำ� เนนิ การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ปญั หาตามคำ� รอ้ งเรยี น และการจดั ทำ� ขอ้ เสนอแนะ
เพ่อื ให้เกิดการแก้ไขปญั หาและเยียวยาความทุกขร์ อ้ นให้แก่ประชาชนนนั้ แมว้ า่ ค�ำวนิ จิ ฉัย
ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดินจะไม่มีผลผูกพันผู้ถูกร้องเรียนและ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท่ีจะต้องด�ำเนินการตามค�ำวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการ
แผ่นดิน แต่ในทางปฏิบัติท่ีผ่านมาผลการวินิจฉัยและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดิน
มักจะสะท้อนข้อเท็จจริงของปัญหาที่เกิดข้ึนและแนวทางการแก้ไขปัญหาที่มีความเป็น
รูปธรรมและเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ดังน้ันในกระบวนการเยียวยาและแก้ไขปัญหา
หน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนส่วนใหญ่จึงให้ความร่วมมือในการด�ำเนินการตามค�ำวินิจฉัยและ
ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ยงั คงไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหน่วยงานตา่ ง ๆ อนั ท�ำใหก้ ารปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ
ในการแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนประสบความส�ำเร็จภายในระยะเวลาท่ีเหมาะสม
ซ่ึงตัวอย่างเรื่องร้องเรียนที่หน่วยงานผู้ถูกร้องเรียนปฏิบัติตามค�ำวินิจฉัยและข้อเสนอแนะ
ของผู้ตรวจการแผ่นดินตอ่ ไปน้ี จะเป็นการสะทอ้ นให้เห็นถึงความรว่ มมอื ของผูถ้ ูกรอ้ งเรียน
และหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับผู้ตรวจการแผ่นดินในการร่วมกันแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียน
ให้แก่ประชาชน

154 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เรือ่ งท่ี ๑

ปญั หาการขยายเขตไฟฟา้ ในพ้นื ที่ห่างไกล

ปจั จุบนั ไฟฟา้ มีบทบาทส�ำคัญสำ� หรับการด�ำรงชีวติ และช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต
ให้ดีข้ึน อีกทั้งยังเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีช่วยส่งเสริมขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ
ดังนนั้ ไฟฟา้ จงึ ถอื เป็นสาธารณูปโภคขน้ั พืน้ ฐานท่สี ำ� คญั และเปน็ หน้าทข่ี องรฐั ตอ้ งจดั หรอื
ดำ� เนนิ การใหม้ สี าธารณปู โภคขน้ั พนื้ ฐานทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ
และตอ้ งดแู ลมใิ หม้ กี ารเรยี กเกบ็ คา่ บรกิ ารจนเปน็ ภาระแกป่ ระชาชนเกนิ สมควร ซงึ่ รฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๖ ได้บัญญตั ิเรื่องน้ีไว้เปน็ หลกั การ
ส�ำคญั ดว้ ย
ในช่วงต้นปี ๒๕๖๐ ส่ือมวลชนรายหน่ึงได้รายงานข่าวเกี่ยวกับปัญหาค่าบริการ
สาธารณปู โภคบนเกาะแหง่ หนงึ่ มรี าคาแพง โดยเฉพาะคา่ ไฟฟา้ ทมี่ กี ารจดั เกบ็ จากประชาชน
ผู้ใช้ไฟฟ้าสูงถึงหน่วยละ ๑๘ บาท ในขณะท่ีประชาชนโดยท่ัวไปช�ำระค่าไฟฟ้าในอัตรา
หนว่ ยละ ๔-๕ บาท เทา่ น้นั โดยส่ือมวลชนไดเ้ รียกรอ้ งให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาช่วย
แกป้ ญั หาในเรอื่ งนี้ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ไดน้ ำ� เรอ่ื ง
ดังกล่าวเข้าหารือต่อที่ประชุมผู้ตรวจการแผ่นดิน
โดยที่ประชุมพิจารณาเห็นว่า ปัญหาในเร่ืองน้ี
มมี านานนบั สบิ ปที ง้ั ทเ่ี ปน็ เรอื่ งประโยชนส์ าธารณะ
และมีผลกระทบต่อความเสียหายของประชาชน
ทอ่ี ยอู่ าศยั บนเกาะโดยสว่ นรวม ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
จงึ อาศัยอ�ำนาจตามมาตรา ๑๓ วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วย
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ เห็นชอบใหพ้ จิ ารณาและสอบสวนหาข้อเท็จจรงิ ในเรื่องน้ี
โดยไม่มกี ารร้องเรยี น
ผลการลงพน้ื ทข่ี องผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เพอื่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และประชมุ รว่ มกบั
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือพิจารณาเรื่องดังกล่าว พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น
ผรู้ บั ผดิ ชอบผลติ และจำ� หนา่ ยกระแสไฟฟา้ ดำ� เนนิ การโดยมเี ครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ดเี ซล จำ� นวน

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 155

๔ เครื่อง ซ่ึงต้องใช้น�้ำมันดีเซลในการเดินเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าซ่ึงมีต้นทุนสูง ประกอบกับ
มกี ารใชง้ านเครอื่ งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ดเี ซลดงั กลา่ วมาเปน็ เวลานานและเครอ่ื งมสี ภาพเกา่ สง่ ผลให้
มคี า่ ใชจ้ า่ ยในการบำ� รงุ รกั ษาจำ� นวนมาก ทำ� ใหก้ ารจำ� หนา่ ยกระแสไฟฟา้ มตี น้ ทนุ สงู จงึ ตอ้ ง
จัดเก็บค่าไฟฟ้าในอัตราที่สูงเพื่อให้สามารถจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้ประชาชนที่อยู่อาศัย
บนเกาะตอ่ ไปได้ อยา่ งไรกต็ ามทผี่ า่ นมาหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งเคยพจิ ารณาเกย่ี วกบั การขยาย
เขตติดต้ังระบบไฟฟา้ ไปยงั เกาะแห่งน้ี แต่ถงึ ปจั จุบนั ยงั ไม่สามารถด�ำเนินโครงการดงั กลา่ ว
ได้แล้วเสร็จ เน่ืองจากมีข้อจ�ำกัดเกี่ยวกับสภาพพื้นที่ซ่ึงเก่ียวเนื่องกับเขตอุทยานแห่งชาติ
ซงึ่ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั อิ ทุ ยานแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ประกอบกบั พนื้ ทเี่ ขตอทุ ยาน
แหง่ ชาตบิ รเิ วณนไ้ี ดร้ บั การประกาศเปน็ พนื้ ทชี่ มุ่ นำ�้ ทมี่ คี วามสำ� คญั ระหวา่ งประเทศ รปู แบบ
โครงการก่อสร้างระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าด้วยสายเคเบิลอากาศและสายเคเบิลใต้น้�ำจึงอาจมี
ผลกระทบตอ่ พนื้ ทด่ี งั กลา่ วได้ โดยเฉพาะดา้ นทศั นยี ภาพทางธรรมชาติ หนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ
พ้ืนท่ีบริเวณดังกล่าวจึงขอให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการปรับรูปแบบโครงการใหม่
โดยการขยายเขตติดตั้งระบบไฟฟ้าไปยังเกาะดังกล่าวด้วยสายเคเบิลใต้น้�ำท้ังหมด
ซงึ่ ทปี่ ระชมุ รว่ มระหวา่ งผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เหน็ วา่ การขยายเขต
ตดิ ตงั้ ระบบไฟฟา้ ไปยงั ชมุ ชนเกาะดงั กลา่ วควรดำ� เนนิ การเปน็ ระบบสายเคเบลิ ใตน้ ำ้� ทง้ั หมด
ตามความเหน็ ของหนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบพนื้ ที่ แตค่ วรมกี ารศกึ ษาถงึ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การ
และก�ำหนดกรอบระยะเวลาไว้ให้ชัดเจน และควรเร่งรัดการด�ำเนินโครงการให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๒ ปี และในระหวา่ งการดำ� เนนิ โครงการ ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งพจิ ารณามาตรการ
แกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนท่ีอย่อู าศยั บนเกาะคู่ขนานกนั ไปด้วย
นอกจากน้ี ผู้ตรวจการแผ่นดิน ร่วมกับหน่วยงานในจังหวัด และสถานีโทรทัศน์
ไทยพีบีเอส จัดโครงการ “ผู้ตรวจการแผน่ ดินรว่ มกับจงั หวดั เคลอ่ื นทแ่ี ละสถานปี ระชาชน
สญั จร” โดยมกี จิ กรรมการถา่ ยทอดสดผา่ นรายการ “สถานปี ระชาชน” ทางสถานโี ทรทศั น์
ไทยพีบีเอส เพ่ือน�ำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนเกี่ยวกับการด�ำเนินการ
ขยายเขตตดิ ตง้ั ระบบไฟฟา้ ไปยงั ชมุ ชนเกาะดงั กลา่ ว ผลการเสวนารว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
สรปุ ไดว้ า่

156 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

๑. หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการได้พิจารณาทบทวนการขยายเขตติดตั้งระบบ
จ�ำหน่ายไฟฟา้ ไปยงั เกาะดังกล่าว ตามขอ้ เสนอของหนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบพน้ื ท่ี โดยเห็นวา่
การเปลี่ยนรูปแบบการก่อสร้างระบบจ�ำหน่ายเพื่อจ่ายไฟจากเดิมไปเป็นสายเคเบิลใต้น้�ำ
ท้ังหมด จะท�ำให้มีความมั่นคงในการจ่ายไฟสูง สามารถรองรับการจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า
ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง บรรเทาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนบนเกาะ และรองรบั ปรมิ าณความตอ้ งการ
ใช้ไฟฟา้ ทเี่ กดิ ข้นึ บนเกาะไดม้ ากกว่า ๓๐ ปี รวมทงั้ ไม่ทำ� ลายทศั นียภาพทางธรรมชาติ และ
ไมส่ ง่ ผลตอ่ การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลกของพนื้ ทด่ี งั กลา่ ว หนว่ ยงานจงึ ไดเ้ สนอคณะกรรมการ
เพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบโครงการขยายเขตติดต้ังระบบไฟฟ้าให้เกาะดังกล่าว โดยมี
วงเงินลงทุนท้ังส้ิน ๒๒๑ ล้านบาท และต่อมาคณะกรรมการได้มีมติเห็นชอบโครงการ
ขยายเขตติดต้ังระบบไฟฟ้าให้เกาะดังกล่าวแล้ว พร้อมกับก�ำหนดแผนการด�ำเนินงาน
โครงการ ระยะเวลารวม ๓ ปี ตงั้ แต่เดอื นมกราคม ๒๕๖๐ ถงึ เดือนธนั วาคม ๒๕๖๒
๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการผลิตกระแสไฟฟ้าบนเกาะ
แห่งนี้ได้พิจารณาปรับลดอัตราค่าบริการไฟฟ้าประเภทที่อยู่อาศัย กรณีใช้ไฟฟ้าไม่เกิน
๑๑๐ หนว่ ยตอ่ รอบบิล อัตราหน่วยละ ๑๓ หรือ กรณใี ชไ้ ฟฟ้าตั้งแต่ ๑๑๑ หนว่ ยขึน้ ไป
ต่อรอบบิล อตั ราหน่วยละ ๑๕ บาท แล้วแต่กรณี และอตั ราค่าไฟฟา้ ประเภทรา้ นอาหาร
หรอื อื่น ๆ อตั ราหนว่ ยละ ๑๕ บาท เพอ่ื เป็นการบรรเทาความเดอื ดร้อนให้กบั ประชาชน
บนเกาะดงั กล่าวซ่งึ มีผลบงั คบั ใช้ในปัจจบุ นั แล้ว
ในการน้ี ผู้ตรวจการแผ่นดินได้มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ
ก�ำกับและติดตามการด�ำเนินการตามโครงการขยายเขตติดตั้งระบบไฟฟ้าให้เกาะดังกล่าว
ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานทกี่ ำ� หนดไว้ โดยขอใหร้ ายงานผลการดำ� เนนิ งานใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ทราบเป็นระยะเพ่ือการประสานงานและติดตามผลการด�ำเนินโครงการต่อไป นอกจากนี้
ไดม้ ขี อ้ เสนอแนะไปยงั หนว่ ยราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ใหพ้ จิ ารณาใหก้ ารสนบั สนนุ การดำ� เนนิ การ
ตามโครงการดงั กลา่ วเพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการสามารถดำ� เนนิ การตามแผนงาน
ท่กี ำ� หนดไว้ต่อไป

ผูต้ รวจการแผน่ ดิน 157

การประชุมร่วมกบั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง
โรงจกั รไฟฟ้าดีเซลบนเกาะ

สือ่ มวลชนใหค้ วามสนใจตอ่ การแกไ้ ขปญั หาความเดือดรอ้ นของประชาชนบนเกาะ

กิจกรรมการเสวนาเพ่ือนำ� เสนอแนวทางการแก้ไขปญั หาในเร่อื งนี้

158 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เรื่องที่ ๒

การขอคนื ท่ีราชพสั ดเุ น่ืองจากทางราชการมิไดน้ �ำไปใช้ประโยชน์

ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับข้อมูลจากรายการโทรทัศน์รายการหนึ่งเกี่ยวกับปัญหา
ความเดอื ดร้อนของประชาชนรายหน่ึงจากการท่ไี ด้บริจาคทด่ี นิ ใหห้ นว่ ยงานของรัฐเพื่อท�ำ
สาธารณประโยชน์ ภายหลงั พบวา่ มที ดี่ นิ บางสว่ นทห่ี นว่ ยงานของรฐั ไมไ่ ดน้ ำ� ไปใชป้ ระโยชน์
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการบรจิ าค ผรู้ อ้ งเรยี นจงึ ไดย้ า้ ยเขา้ ไปอยอู่ าศยั ในบรเิ วณทดี่ นิ ดงั กลา่ ว
และขายที่ดินส่วนท่ีเหลือไป ต่อมา เจ้าของที่ดิน
ท่ีซ้ือที่ดินจากผู้ร้องเรียนได้ร้องเรียนต่อหน่วยงาน
ของรัฐวา่ ผรู้ ้องเรียนบุกรุกทีด่ ินสาธารณประโยชน์
เมอ่ื หนว่ ยงานไดต้ รวจสอบพนื้ ทเี่ หน็ วา่ ผรู้ อ้ งเรยี น
บุกรุกจริง จึงมีค�ำส่ังให้ผู้ร้องเรียนออกจากพ้ืนท่ี
และแก้ไขปัญหาดังกล่าวด้วยการให้ผู้ร้องเรียนเช่าที่ดินแปลงดังกล่าวในอัตราค่าเช่าปีละ
๑,๕๖๐ บาท และปจั จุบันขึน้ เป็นปีละ ๑,๗๙๘ บาท ผรู้ ้องเรยี นเห็นวา่ ท่ีดินบรเิ วณดงั กลา่ ว
รฐั บาลไมไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ งึ มคี วามประสงคข์ อคนื ทดี่ นิ บรเิ วณดงั กลา่ ว จงึ รอ้ งเรยี นตอ่ ผตู้ รวจ
การแผ่นดนิ เพอื่ ให้มีการตรวจสอบและแก้ไขปัญหาท่เี กดิ ขึน้
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ อบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ลงพนื้ ท่ี
ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ครงั้ แรกรว่ มกบั หนว่ ยงานผดู้ แู ลทด่ี นิ ของรฐั ไดร้ บั การชแ้ี จงขอ้ เทจ็ จรงิ
สรุปวา่
๑. ที่ดินบริเวณที่ผู้ร้องเรียนน�ำช้ีอยู่ในเขตที่ดินท่ีผู้ร้องเรียนบริจาคให้ราชการ
เพ่ือประโยชน์ในการชลประทาน ปัจจุบันผู้ร้องเรียนได้ปลูกบ้านอยู่อาศัยอยู่กับบุตรชาย
โดยบุตรชายของผู้ร้องเรียนเป็นผู้เช่าท่ีดินราชพัสดุเพื่ออยู่อาศัยเน้ือที่ประมาณ
๑๐๓ ตารางวา
๒. เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานผู้ดูแลที่ดินของรัฐในระดับพื้นที่ได้พบผู้ร้องเรียนและ
ผู้ร้องเรียนได้แจ้งว่า ปัจจุบันตนไม่มีท่ีดินเป็นของตนเอง และที่ดินบริเวณน้ีเดิมเป็นของตน
กบั พวกทีย่ กให้เพื่อการชลประทาน แต่ยงั ไม่มกี ารใชป้ ระโยชน์เพอ่ื การชลประทาน เข้าใจวา่

ผูต้ รวจการแผ่นดนิ 159

สภาพท่ีพกั อาศัยของผู้รอ้ งเรยี นในท่ดี นิ ตามกรณกี ารรอ้ งเรยี น

เลขาธิการและคณะเจา้ หน้าท่สี �ำนกั งานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ ลงพนื้ ท่ี
เพ่อื ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงเพ่ิมเตมิ ณ ทด่ี นิ ตามกรณกี ารร้องเรยี น

160 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

เป็นที่เหลือจากการใช้ประโยชน์แล้ว ดังน้ัน จึงมีความประสงค์ขอให้ทางราชการคืนท่ีดิน
ส่วนน้ีให้แก่ตนเอง เจ้าหน้าที่จึงแนะน�ำให้ผู้ร้องเรียนยื่นค�ำร้องขอท่ีราชพัสดุคืนและ
หน่วยงานผู้ดูแลที่ดินของรัฐในระดับพ้ืนท่ีมีหนังสือขอให้หน่วยงานด้านการส่งน�้ำระดับ
จังหวัด ซ่ึงเป็นผู้ดูแลใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุตรวจสอบข้อเท็จจริงและการใช้ประโยชน์
ในที่ดินบริเวณดังกล่าวว่า ภายหลังจากทางราชการได้รับที่ดินแล้วเคยเข้าไปใช้ประโยชน์
ทดี่ นิ หรอื ไม่ เข้าใช้ประโยชน์เม่อื ใด และใช้ประโยชน์อย่างไร เพือ่ ให้หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง
ใชใ้ นการพิจารณาการขอคนื ท่ีราชพัสดขุ องผ้รู อ้ งเรยี นตอ่ ไป
ต่อมา ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหนังสือถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือขอให้ชี้แจง
ข้อเท็จจริงหรือให้ความเห็นหน่วยงานได้รายงานว่า หน่วยงานผู้ดูแลท่ีดินของรัฐในระดับ
พน้ื ท่ไี ด้ให้ผู้รอ้ งเรยี นยื่นค�ำรอ้ งขอที่ราชพสั ดคุ ืน และไดแ้ จ้งโครงการส่งนำ้� และบำ� รุงรักษา
จงั หวดั ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ เพอื่ รายงานใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งทราบ
และได้ส่ังการให้หน่วยงานผู้ดูแลท่ีดินของรัฐในระดับพื้นที่ประสานงานกับโครงการส่งน้�ำ
และบ�ำรุงรักษาจังหวัด เพื่อตรวจสอบข้อมูลเก่ียวกับการยกให้และข้อเท็จจริงเก่ียวกับ
ที่ดินแปลงข้างต้นที่ชัดเจน พร้อมกับรวบรวมหลักฐานดังกล่าวส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาตอ่ ไป
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ประสานไปยังหน่วยงานผู้ดูแลที่ดินของรัฐในระดับพื้นท่ี
เพอ่ื สอบถามความคบื หนา้ การดำ� เนนิ การเรอ่ื งดงั กลา่ ว ไดร้ ายงานวา่ ผลการตรวจสอบขอ้ มลู
เบ้ืองต้น พบว่า ที่ดินบริเวณดังกล่าวหน่วยงานด้านการส่งน้�ำและบ�ำรุงรักษาจังหวัดมิได้
เขา้ ไปใชป้ ระโยชน์ และไมป่ ระสงคจ์ ะใชป้ ระโยชนใ์ นทดี่ นิ นน้ั ตอ่ ไป จงึ ไดม้ หี นงั สอื แจง้ มายงั
หน่วยงานผู้ดูแลท่ีดินของรัฐในระดับพื้นท่ีแล้ว พร้อมทั้งได้รายงานข้อเท็จจริงไปยังกรม
ท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้ยืนยันเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ในท่ีดินดังกล่าว ขณะน้ีหน่วยงานได้มี
หนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัด แจ้งว่าที่ราชพัสดุบริเวณดังกล่าวปัจจุบันไม่ได้ใช้ประโยชน์
ในราชการแตป่ ระการใด จงึ ขอสง่ คนื ทร่ี าชพสั ดใุ หแ้ กห่ นว่ ยงานอน่ื ทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอ่ื ดำ� เนนิ การ
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้มีการติดตาม เรง่ รัดการด�ำเนินการในเรื่องการคนื ที่ราชพัสดุ
ให้กับผู้ร้องเรียน พร้อมทั้งได้มอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีสำ� นักงานผู้ตรวจการแผ่นดินลงพื้นท่ี
เพอ่ื ตดิ ตามความคบื หนา้ และตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ เพมิ่ เตมิ อยา่ งตอ่ เนอื่ งผลจากการลงพน้ื ท่ี
สรปุ ได้วา่

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 161

๑. หนว่ ยงานผดู้ แู ลทด่ี นิ ของรฐั ในระดบั พน้ื ทร่ี ว่ มกบั โครงการสง่ นำ้� และบำ� รงุ รกั ษา
จังหวัดด�ำเนินการรังวัดที่ดินและก�ำหนดแนวเขตท่ีดินท่ีกรมชลประทานใช้ประโยชน์และ
แนวเขตท่ีดินที่ผู้ร้องเรียนขอคืน โดยท�ำการปักหลักเขตไว้เรียบร้อยแล้ว และผู้ร้องเรียน
ไดย้ อมรบั ตามแนวเขตดงั กลา่ วโดยมเี นอื้ ทจ่ี ำ� นวน ๒๘๐ ตารางวา และเมอ่ื ทำ� การรงั วดั แลว้
ปรากฏวา่ ทีด่ ินดังกล่าวมเี นื้อที่ ๓๐๐ ตารางวา
๒. ทดี่ นิ ทผี่ รู้ อ้ งเรยี นขอคนื มที ด่ี นิ ของพส่ี าวผรู้ อ้ งเรยี นรวมอยดู่ ว้ ย หากไดร้ บั การอนมุ ตั ิ
ให้คนื แล้วผู้รอ้ งเรียนและพี่สาวจะต้องไปดำ� เนนิ การแบง่ แปลงทีด่ นิ กนั ในภายหลงั
๓. หนว่ ยงานดา้ นชลประทานไดม้ หี นงั สอื สง่ คนื ทด่ี นิ สว่ นทไ่ี มไ่ ดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ หแ้ ก่
หนว่ ยงานผดู้ แู ลทด่ี นิ ของรฐั ในระดบั พนื้ ที่ และหนว่ ยงานไดส้ รปุ เรอ่ื งพรอ้ มเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ ง
เสนอหน่วยงานตน้ สังกัดเพอื่ พจิ ารณาดำ� เนนิ การตามกฎหมายตอ่ ไปแล้ว
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ไดท้ ำ� ความเขา้ ใจใหผ้ รู้ อ้ งเรยี นทราบถงึ ขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การ
และความคบื หนา้ ในเรอื่ งดงั กลา่ วซงึ่ คาดวา่ ตอ้ งใชเ้ วลาอกี ระยะหนง่ึ และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
จะได้ตดิ ตามความคืบหน้าในการด�ำเนนิ การของหน่วยงานตอ่ ไป
ตอ่ มา ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดร้ บั การชแี้ จงจากหนว่ ยงานผดู้ แู ลทดี่ นิ ของรฐั เพมิ่ เตมิ วา่
เรอื่ งดงั กลา่ วอยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาประเดน็ ขอ้ กฎหมายเกย่ี วกบั สถานะของทดี่ นิ ราชพสั ดุ
ดงั กลา่ ว ซ่ึงจะมผี ลต่อการด�ำเนนิ การโอนกรรมสิทธิใ์ นที่ดนิ กล่าวคือ หากเปน็ ท่ีราชพสั ดุ
ประเภทสาธารณสมบตั ขิ องแผน่ ดนิ ทใ่ี ชเ้ พอ่ื ประโยชนข์ องแผน่ ดนิ โดยเฉพาะ จะตอ้ งโอนคนื
ดว้ ยวธิ กี ารตราพระราชบญั ญตั ิ หรอื จะตอ้ งดำ� เนนิ การถอนสภาพการเปน็ สาธารณสมบตั ขิ อง
แผน่ ดนิ โดยตราเปน็ พระราชกฤษฎีกา ตามนัยแห่งพระราชบญั ญัติทีร่ าชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
(มาตรา ๘ หรอื มาตรา ๙ แล้วแตก่ รณี) แตห่ ากทีร่ าชพัสดุดังกลา่ วมใิ ช่ทร่ี าชพัสดุประเภท
สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ก็สามารถโอนคืน
ตามนยั กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารโอนกรรมสทิ ธท์ิ รี่ าชพสั ดทุ มี่ ใิ ชท่ ดี่ นิ ทเ่ี ปน็
สาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดนิ ท่ีใชเ้ พื่อประโยชนข์ องแผน่ ดนิ โดยเฉพาะ พ.ศ. ๒๕๕๐

162 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงได้เชิญผู้แทนหน่วยงานดังกล่าวมาร่วมประชุมหารือเพ่ือหา
แนวทางแก้ปัญหาเรื่องดังกล่าว ผลการประชุมสรุปว่า หน่วยงานจะได้หารือส�ำนักงาน
คณะกรรมการกฤษฎกี า วา่ กรณที สี่ าธารณสมบตั ขิ องแผน่ ดนิ ทใ่ี ชเ้ พอื่ ประโยชนข์ องแผน่ ดนิ
โดยเฉพาะซ่ึงใช้ประโยชน์เพียงบางส่วน สามารถถอนสภาพเฉพาะส่วนท่ีไม่ใช้ประโยชน์
ได้หรือไม่ ต่อมาผู้ตรวจการแผ่นดินได้ติดตามเรื่องแล้วทราบว่า ว่าหน่วยงานไม่สามารถ
ส่งเร่ืองดังกล่าวไปหารือกับส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ เนื่องจากขัดต่อระเบียบ
และขอให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมหี นงั สือแจง้ ไปยงั หน่วยงานอกี คร้งั เพือ่ ให้ดำ� เนนิ การเปน็ ไป
ตามระเบียบ ผ้ตู รวจการแผ่นดินจึงได้มีหนงั สือหารือต่อเลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎีกา
ในประเดน็ ขอ้ กฎหมายวา่ เกยี่ วกบั สถานะของทดี่ นิ แปลงทมี่ กี ารรอ้ งเรยี น ซงึ่ หนว่ ยงานไมไ่ ด้
ใชป้ ระโยชนแ์ ละไดส้ ง่ คนื หนว่ ยงานผดู้ แู ลทด่ี นิ ของรฐั แลว้ รวมถงึ วธิ กี ารและขนั้ ตอนทหี่ นว่ ยงาน
ต้องดำ� เนนิ การหากหนว่ ยงานประสงคจ์ ะคนื ทด่ี ินให้กับผบู้ ริจาคหรอื ทายาทของผู้บรจิ าค
ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็น สรุปได้ว่า ไม่อาจรับข้อหารือไว้
พจิ ารณาได้ เนอื่ งจากตามระเบยี บคณะกรรมการกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการรบั ปรกึ ษาใหค้ วามเหน็
ทางกฎหมายของกรรมการกฤษฎกี า พ.ศ. ๒๕๒๒ ข้อ ๙ (๒) ก�ำหนดวา่ กรรมการกฤษฎกี า
จะไม่พิจารณาให้ความเห็นทางกฎหมายในเรื่องที่อยู่ในอ�ำนาจหน้าที่ของสถาบันอื่น
ประกอบกบั กรรมการกฤษฎกี าเห็นควรใหด้ ำ� เนนิ การตามกฎหมายนนั้ กอ่ น เพือ่ ประโยชน์
แกก่ ารบริหารราชการแผ่นดนิ ซึง่ ขณะนเี้ รอื่ งอย่รู ะหว่างการพิจารณาของหน่วยงานผดู้ แู ล
ทดี่ ินของรฐั จึงควรให้หน่วยงานพจิ ารณาเรอื่ งใหแ้ ล้วเสร็จก่อน
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงมีหนังสือถึงหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ขอให้เร่งรัดการพิจารณา
เร่ืองร้องเรียนดังกลา่ ว และแจ้งใหส้ ำ� นกั งานผ้ตู รวจการแผน่ ดินทราบภายใน ๑๕ วนั และ
เลขาธิการส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินและคณะเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
ได้ลงพ้ืนท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงเร่ืองร้องเรียนดังกล่าว พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงาน
ผดู้ แู ลทดี่ นิ ของรฐั ในระดบั พนื้ ทโี่ ดยไดพ้ บกบั ผรู้ อ้ งเรยี น และไดแ้ จง้ ความคบื หนา้ การดำ� เนนิ การ
เรื่องรอ้ งเรียนดงั กลา่ วให้ผูร้ อ้ งเรียนทราบ

ผูต้ รวจการแผ่นดิน 163

อย่างไรก็ดี หน่วยงานได้ขอหารือกับส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในประเด็น
ข้อกฎหมายต่าง ๆ อีกคร้ังหน่ึง ผลการหารือสรุปว่า ที่ดินของผู้ร้องเรียนที่ได้อุทิศให้ทาง
ราชการเพอื่ การชลประทาน ไดร้ บั ขนึ้ ทะเบยี นทดี่ นิ ทงั้ แปลงเปน็ ทรี่ าชพสั ดุ แตท่ างราชการ
ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในที่ดินบริเวณที่ผู้ร้องเรียนครอบครองปลูกบ้านพักอาศัยอยู่แต่อย่างใด
หน่วยงานจึงได้มีหนังสือขอส่งคืนที่ราชพัสดุให้แก่หน่วยงานผู้ดูแลที่ดินของรัฐแล้ว อีกทั้ง
ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงวา่ หนว่ ยงานไดด้ �ำเนินการใด ๆ อนั ทำ� ใหบ้ ุคคลภายนอกสามารถเหน็
หรอื เขา้ ใจไดโ้ ดยสภาพวา่ จะใชป้ ระโยชนใ์ นทด่ี นิ นน้ั ทดี่ นิ แปลงดงั กลา่ วจงึ ไมเ่ ปน็ สาธารณสมบตั ิ
ของแผ่นดินท่ีใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ดังน้ัน การโอนท่ีดินคืนให้แก่
ผรู้ อ้ งเรยี นกบั พวก จงึ ไมต่ อ้ งตราเปน็ พระราชบญั ญตั ติ ามพระราชบญั ญตั ทิ รี่ าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
มาตรา ๘
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณา เหน็ วา่ ในเมอ่ื คณะกรรมการกฤษฎกี าไดม้ คี วามเหน็ วา่
ทร่ี าชพัสดุแปลงดงั กล่าว ไม่เป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินที่ใชเ้ พอ่ื ประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพาะ ดังนั้น การโอนที่ดินคืนให้แก่ผู้ร้องเรียนจึงไม่ต้องตราเป็นพระราชบัญญัติ
ตามมาตรา ๘ แห่งพระราชบญั ญตั ทิ ีร่ าชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยขณะน้หี น่วยงานไดด้ �ำเนินการ
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการโอนกรรมสิทธ์ิที่ราชพัสดุที่มิใช่ที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดนิ ท่ใี ช้เพือ่ ประโยชนข์ องแผ่นดนิ โดยเฉพาะ พ.ศ. ๒๕๕๐ จงึ ยงั ไม่ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ
ที่พอรับฟังได้ว่าหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ี
ตามกฎหมาย ตามมาตรา ๑๓ (๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ วนิ จิ ฉยั ใหย้ ตุ กิ ารพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น
ดังกล่าวตามมาตรา ๒๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติเดียวกัน และได้ขอให้หน่วยงานเร่งรัด
ด�ำเนินการกรณีการขอคืนที่ราชพัสดุแปลงดังกล่าวให้แล้วเสร็จโดยเร็ว และให้รายงาน
ผลการด�ำเนนิ การใหผ้ ตู้ รวจการแผ่นดนิ ทราบภายใน ๙๐ วนั

164 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ตอ่ มา หนว่ ยงานได้รายงานผลการด�ำเนนิ การสรปุ ไดว้ า่ หนว่ ยงานไดเ้ สนอเร่ืองให้
กระทรวงการคลังเพ่ือพิจารณาเสนอขออนุมัติคณะรัฐมนตรีโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินคืนให้กับ
ผู้ร้องเรียน (ผู้ยกให้) แล้ว และส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้แจ้งว่า คณะรัฐมนตรี
ไดม้ ีมติเม่อื วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ อนมุ ตั ใิ ห้โอนกรรมสิทธท์ิ ี่ราชพัสดุแปลงดังกลา่ ว
คืนให้แก่ผู้ยกให้ หรือทายาท ตามหลักกรรมสิทธิ์ รวม ๖ ราย ในการนี้ หน่วยงานได้
มอบอำ� นาจหนว่ ยงานผดู้ แู ลทดี่ นิ ของรฐั ในระดบั พน้ื ทเ่ี ปน็ ผแู้ ทนกระทรวงการคลงั ดำ� เนนิ การ
จดทะเบยี นสทิ ธแิ ละนติ กิ รรมโอนกรรมสทิ ธท์ิ ด่ี นิ ราชพสั ดุ ตลอดจนใหถ้ อ้ ยคำ� ตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั
เร่ืองดงั กล่าวต่อพนกั งานเจา้ หน้าที่ และได้แจ้งใหผ้ ู้ร้องเรียนกบั พวกไปติดต่อกับหน่วยงาน
ผู้ดูแลท่ีดินของรัฐในระดับพ้ืนท่ีเพ่ือก�ำหนดนัดหมายวันจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
โอนกรรมสทิ ธท์ิ ดี่ นิ แปลงดงั กลา่ ว ซง่ึ ปจั จบุ นั อยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ การจดทะเบยี นสทิ ธแิ ละ
โอนกรรมสิทธิ์ตามขั้นตอนของกฎหมายต่อไป ซ่ึงจะมีผลให้ผู้ร้องเรียนและพวกกลับมา
มกี รรมสทิ ธใิ์ นทดี่ นิ ตามกรณรี ้องเรยี นโดยชอบดงั เดมิ

เร่อื งท่ี ๓

การขนึ้ ทะเบยี นทด่ี นิ เป็นทีร่ าชพัสดอุ ันเปน็ เหตุให้ประชาชนไดร้ บั ความเดอื ดร้อน
ประชาชนทอ่ี าศยั อยใู่ นเขตแนวกำ� แพงเมอื ง-คเู มอื ง ในจงั หวดั แหง่ หนงึ่ ประสบปญั หา
ความเดอื ดรอ้ นจากการทหี่ นว่ ยงานไดด้ ำ� เนนิ การขนึ้ ทะเบยี นทด่ี นิ ตามแนวเขตกำ� แพงเมอื ง-
คเู มอื ง ดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ ทร่ี าชพสั ดุ โดยประชาชนในพน้ื ทเ่ี คยยน่ื เรอื่ งรอ้ งเรยี นตอ่ ผวู้ า่ ราชการ
จงั หวดั และผบู้ ญั ชาการกองพลทหารราบท่ี ๔ ซงึ่ ทง้ั สองหนว่ ยงานไดร้ ว่ มกนั ดำ� เนนิ การแกไ้ ข
ปัญหา มีการจัดประชุมหารือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องร่วมกับตัวแทนประชาชนผู้ได้รับ
ผลกระทบหลายครงั้ ไดข้ อ้ สรปุ วา่ ทางจงั หวดั โดยหนว่ ยงานทดี่ แู ลทดี่ นิ ของรฐั ในระดบั พนื้ ที่
ทำ� หนงั สอื สง่ ไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หา แตย่ งั ไมไ่ ดร้ บั คำ� ตอบ
ทีช่ ัดเจน ประชาชนจงึ น�ำปญั หาดังกลา่ วร้องเรยี นตอ่ ผูต้ รวจการแผ่นดิน

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 165

ผู้ตรวจการแผ่นดินได้มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินลงพื้นท่ี
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ร้องเรียนและคณะ
พบข้อเท็จจริงเพ่ิมเติมว่า ก�ำแพงเมือง-คูเมือง บางส่วนได้เลิกใช้ประโยชน์มาเป็นเวลา
นานแลว้ กลา่ วคอื ในสมยั รชั กาลท่ี ๑ ไดม้ กี ารรอ้ื ถอนปอ้ มกำ� แพงเมอื งออกไป ตอ่ มาในสมยั
รัชกาลที่ ๕ ได้มีพระบรมราชโองการประกาศออกโฉนดที่ดินให้แก่ราษฎรท่ัวประเทศ
โดยในปี ๒๔๔๙ มีการออก “โฉนดตราจอง” ในพ้ืนท่นี ้ี จากการตรวจสอบ พบว่า มโี ฉนด
ท่ีดนิ ท่ีออกจากหลกั ฐานโฉนดตราจอง จำ� นวน ๓๕๓ แปลง ซ่งึ กรณดี งั กล่าวคณะกรรมการ
กฤษฎกี า (คณะท่ี ๗) เรื่องเสร็จท่ี ๓๘๑/๒๕๕๙ มีความเห็นว่า “ก�ำแพงเมอื งและคเู มืองน้ี
สรา้ งกอ่ นใชบ้ งั คบั ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยบ์ รรพ ๔ (วนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕)
และก่อนใชบ้ ังคับประมวลกฎหมายท่ีดนิ (วันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๗) กฎหมายทีด่ ิน
ท่ใี ชบ้ ังคับอยูใ่ นชว่ งเวลาดงั กล่าวคือ กฎหมายลกั ษณะเบด็ เสร็จ ซ่ึงยังมิได้แบง่ ที่ดินของรฐั
ออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ โดยถอื แตเ่ พยี งวา่ ทด่ี นิ ทง้ั หมดเปน็ ของพระมหากษตั รยิ ์ และยงั ไมม่ ี
บทบัญญัติท่ีก�ำหนดแบบพิธีการเปลี่ยนแปลงสถานะของที่ดินของรัฐประเภทหนึ่งไปเป็น
ท่ดี นิ ของรัฐประเภทอ่นื ดงั นน้ั การใช้ประโยชน์ใด ๆ ในท่ีดินย่อมเปน็ ไปตามพระประสงค์
ของพระมหากษตั รยิ ์ เมอ่ื ไดม้ กี ารออกโฉนดตราจองใหแ้ กป่ ระชาชนอยา่ งถกู ตอ้ งตามกฎหมาย
แล้วประชาชนยอ่ มได้กรรมสิทธ์ใิ นทด่ี นิ นนั้ ”
จากการตรวจสอบเอกสารของส�ำนักงานที่ดินจังหวัด พบว่า ได้มีการสร้างระวาง
แผนท่ีตามหลักเกณฑ์การท�ำแผนท่ีในการออกโฉนดตราจองในช่วง ร.ศ. ๑๒๒ ซึ่งระวาง
แผนทดี่ งั กลา่ ว ปรากฏเขตแนวกำ� แพงเมอื ง-คเู มอื ง ทกี่ ำ� หนดไวอ้ ยา่ งสมบรู ณช์ ดั เจน สามารถ
น�ำมาใช้เป็นหลักฐานในการแสดงการหวงกันท่ีดินก�ำแพงเมือง-คูเมือง ดังกล่าวได้ และ
จากการตรวจสอบดว้ ยวธิ กี ารนำ� เขา้ ระวางแผนทร่ี ปู แปลงทดี่ นิ ร.ศ. ๑๒๒ โดยใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) แปลงพิกัดเป็นระบบพิกัดฉาก UTM เพ่ือทับซ้อนกับข้อมูล
แผนทีร่ ูปแปลงท่ีดนิ รอบบริเวณดงั กล่าวในระบบปจั จบุ นั แล้ว พบวา่ ไมม่ กี ารทับซ้อนของ
แนวเขตแปลงท่ีดินของราษฎรกับเขตแนวก�ำแพงเมือง-คูเมือง ตามหลักฐานระวางแผนที่
ร.ศ. ๑๒๒ แต่อยา่ งใด

166 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงอาศัยอำ� นาจตามมาตรา ๓๒ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณา
ดำ� เนนิ การประกาศแนวเขตทรี่ าชพสั ดกุ ำ� แพงเมอื ง-คเู มอื ง โดยใหย้ ดึ ถอื ตามเขตแนวระวาง
แผนท่ี ร.ศ. ๑๒๒ ทงั้ น้ี ผตู้ รวจการแผ่นดนิ มหี นงั สือแจ้งผลการวนิ จิ ฉัยของผู้ตรวจการแผน่ ดนิ
ให้หน่วยงานที่ดูแลท่ีดินของรัฐได้พิจารณาด�ำเนินการและรายงานผลการด�ำเนินการให้
ผู้ตรวจการแผ่นดินทราบดว้ ยแลว้
ตอ่ มา หนว่ ยงานที่ดูแลทด่ี ินของรัฐมีหนังสอื แจ้งว่า สบื เน่อื งจากมตคิ ณะรัฐมนตรี
เม่ือวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๔ แต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาก�ำหนดขอบเขต
ที่ดินก�ำแพงเมือง-คูเมือง โดยให้อ�ำนาจในการวางหลักเกณฑ์และก�ำหนดขอบเขตที่ดิน
ก�ำแพงเมือง-คูเมือง ในแต่ละท้องท่ีให้เป็นการแน่นอน และปัจจุบันคณะรัฐมนตรีได้มีมติ
เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ อนุมัติให้แต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาก�ำหนด
ขอบเขตท่ีดินก�ำแพงเมือง-คูเมือง เพื่อให้การบริหารจัดการที่ดินก�ำแพงเมือง-คูเมือง
สอดคลอ้ งกบั คำ� วนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการกฤษฎกี า หนว่ ยงานทดี่ แู ลทดี่ นิ ของรฐั จงึ มคี ำ� สงั่
เรอ่ื งแตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการเพอื่ พจิ ารณาวเิ คราะหส์ ภาพการใชป้ ระโยชนข์ องทดี่ นิ ภายใน
ขอบเขตกำ� แพงเมือง-คเู มอื ง
ในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ท่ีประชุม
เห็นพ้องตามความเห็นของผู้ตรวจการแผ่นดิน และได้เสนอความเห็นต่อท่ีประชุม
คณะกรรมการเพ่ือพิจารณาก�ำหนดขอบเขตท่ีดินก�ำแพงเมือง–คูเมือง เพ่ือพิจารณา
ซงึ่ ผลการประชมุ คณะกรรมการฯ ตา่ งมคี วามเหน็ พอ้ งตามคณะอนกุ รรมการฯ และความเหน็
ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทงั้ นี้ การดำ� เนนิ การอนื่ ใดยอ่ มเปน็ ไปตามขน้ั ตอนของระเบยี บและ
กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการประกาศเขตกำ� แพงเมอื ง–คเู มอื งทีถ่ ูกต้องต่อไป

ผู้ตรวจการแผน่ ดิน 167

เรอ่ื งท่ี ๔

ปญั หาในการพจิ ารณาคำ� ขอรบั การตรวจลงตราอนญุ าตอยใู่ นราชอาณาจกั ร กรณี
การใช้ชวี ิตในบัน้ ปลายของคนตา่ งด้าว

ผู้ร้องเรียนเป็นชาวอังกฤษท่ีเกษียณ
อายุการท�ำงานได้ย่ืนเร่ืองร้องเรียนมายัง
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ วา่ หนว่ ยงานไดเ้ ปลย่ี นแปลง
การพิจารณาการตรวจลงตราอนุญาตอยู่ใน
ราชอาณาจักร (วซี ่า) เป็นการช่วั คราวสำ� หรับ
คนตา่ งดา้ วโดยกำ� หนดการพจิ ารณาตรวจลงตราใหค้ นตา่ งดา้ วอยใู่ นราชอาณาจกั รเปน็ การ
ช่ัวคราวไว้หลายเงื่อนไข เช่น ผู้ย่ืนค�ำขอต้องรักษาสภาพการเงินฝากโดยรวมไม่น้อยกว่า
๘๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน ก่อนวันย่ืนค�ำขอ หรือมีเงินได้ในรอบปีและ
เงินฝากโดยรวมไม่น้อยกว่า ๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถึงวันยื่นค�ำขอ (รวมระหว่างรายได้และ
เงินฝากในธนาคาร) ซึ่งผู้ร้องเรียนเห็นว่าเป็นการขัดกับค�ำส่ังส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
ท่ี ๓๒๗/๒๕๕๗ เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการพิจารณากรณีคนต่างด้าวขออนุญาต
อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการช่ัวคราว ตามเหตุแห่งความจ�ำเป็น ข้อ ๒.๒๒ กรณีใช้ชีวิต
ในบ้ันปลาย ซ่ึงมีหลักเกณฑ์การพิจารณา (๕) “มีเงินได้ในรอบปีและมีเงินฝากธนาคาร
ค�ำนวณรวมกันได้ไม่น้อยกว่า ๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถึงวันยื่นค�ำขอ” เน่ืองจากผู้ร้องเรียน
มีทรัพย์สินในประเทศไทยรวมกันทั้งหมด ๘๕๖,๗๔๘.๙๗ บาท นับถึงวันที่ย่ืนค�ำขอ
จงึ ตรงกบั ขอ้ กำ� หนดของหนว่ ยงานทถี่ กู รอ้ งเรยี นทใ่ี หม้ เี งนิ ไดใ้ นรอบปี และเงนิ ฝากโดยรวม
ไม่น้อยกว่า ๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถึงวันย่ืนค�ำขอ ซึ่งมิใช่เง่ือนไขท่ีต้องมีการรักษาสภาพ
การเงินโดยรวมไม่น้อยกว่า ๘๐๐,๐๐๐ บาท ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน กอ่ นวนั ยืน่ คำ� ขอ
แต่ผู้ร้องเรียนกลับได้รับแจ้งจากหน่วยงานว่าผู้ร้องเรียนไม่มีทรัพย์สินเพียงพอตลอด
ระยะเวลาย้อนหลัง ๓ เดือน ก่อนวันยื่นค�ำขอ จึงมิได้รับการพิจารณาตรวจลงตรา ท้ังนี้
ผู้ร้องเรียนได้รอ้ งเรียนไปยงั หน่วยงานผรู้ ับผิดชอบ หนว่ ยงานทถี่ กู รอ้ งเรยี นและหนว่ ยงาน
ทเ่ี กยี่ วข้องแลว้ แตไ่ ม่ไดร้ ับการด�ำเนนิ การแก้ไขแต่อย่างใด

168 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงได้มีหนังสือให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบชี้แจงข้อเท็จจริงและ
ส่งเอกสารหลกั ฐาน คำ� ชี้แจงสรุปได้วา่ หนว่ ยงานที่ถกู ร้องเรยี นได้พจิ ารณาตามหลกั เกณฑ์
ค�ำส่ังส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติข้างต้น ประกอบกับแนวทางปฏิบัติกรณีคนต่างด้าว
ขออนุญาตอยตู่ อ่ ในราชอาณาจกั รเปน็ การชวั่ คราว ลงวันท่ี ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๕๖ ขอ้ ๔.๓
กรณใี ชช้ วี ติ บน้ั ปลายผขู้ อวซี า่ ตอ้ งมหี นงั สอื ของสถานทตู รบั รองรายไดไ้ มถ่ งึ ๖๕,๐๐๐ บาท/เดอื น
และได้ใช้บัญชีเงินฝากของธนาคาร โดยมีเงื่อนเวลาของการฝากเงินคงอยู่ในบัญชี
ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน หรือ ๓ เดือน แล้วแต่กรณีตามหนังสือส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
ด่วนที่สุด ที่ ๐๐๒๙.๑๗๑/ว ๔๔๙๙
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ อบหมายใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ประสาน
ทางโทรศัพท์เพื่อขอทราบข้อมูลเพ่ิมเติมจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบเก่ียวกับหลักในการ
พจิ ารณาการตรวจลงตรากรณใี ชช้ วี ติ ในบน้ั ปลาย ไดร้ บั คำ� ชแี้ จงวา่ หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณา
การตรวจลงตรากรณใี ชช้ วี ติ ในบน้ั ปลายนน้ั ตอ้ งพจิ ารณาตามคำ� สงั่ สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
ที่ ๓๒๗/๒๕๕๗ ตามเหตแุ หง่ ความจำ� เปน็ ขอ้ ๒.๒๒ ประกอบกบั แนวทางปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื
สำ� นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื ง ดว่ นทส่ี ดุ ท่ี ๐๐๒๙.๑๗๑/ว ๔๔๙๙ ขอ้ ๔.๓ ซงึ่ กำ� หนดแนวทาง
ปฏิบัติ กรณีคนต่างด้าวขอวีซ่ากรณีใช้ชีวิตบั้นปลาย ให้ผู้ขอวีซ่าต้องมีเง่ือนเวลาของ
การฝากเงินคงอยูใ่ นบัญชไี มน่ อ้ ยกว่า ๖๐ วัน หรอื ๓ เดอื น แลว้ แตก่ รณี ซึง่ ขณะย่ืนคำ� ขอ
ผรู้ ้องเรียนมเี งินฝากในบัญชีธนาคารคงอยใู่ นบัญชีนอ้ ยกว่า ๓ เดอื น จึงถกู ปฏเิ สธการอนุญาต
แต่ภายหลังเมื่อผู้ร้องเรียนคงเงินฝากในบัญชีไว้ครบ ๓ เดือน หน่วยงานผู้ถูกร้องเรียน
จงึ พจิ ารณาอนุญาตใหผ้ รู้ ้องเรียนอยู่ต่อในราชอาณาจักรเพ่อื ใชช้ วี ิตในบน้ั ปลายแล้ว
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ ไดป้ ระสานขอให้หน่วยงานผู้รบั ผดิ ชอบ สง่ เอกสารท่ีผูร้ ้องเรยี น
เคยยื่นขอรับการพิจารณาตรวจลงตราเพื่อประกอบการพิจารณา และได้รับเอกสาร
หลกั ฐานจากหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบหลายรายการ ซง่ึ จากการตรวจสอบ พบวา่ เปน็ เอกสาร
ที่แสดงว่าผู้ร้องเรียนมีเงินได้ในรอบปีและมีเงินฝากธนาคารค�ำนวณรวมกันได้ไม่น้อยกว่า
๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถงึ วนั ย่นื ค�ำขอ ผู้ตรวจการแผน่ ดินจงึ ไดป้ ระสานไปยังผู้รอ้ งเรียนเพ่ือขอ
เอกสารภาพถ่ายตรวจลงตรา พบว่า ผู้ร้องเรียนได้รับตรวจลงตรากรณีใช้ชีวิตในบั้นปลาย
ถึงวันท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๙

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 169

จากประสานสอบถามหน่วยงานผู้ถูกร้องเรียนทราบข้อมูลเพิ่มเติมว่า หน่วยงาน
ผถู้ กู ร้องเรียนยงั มไิ ดม้ ีการประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลใหผ้ ู้ย่นื คำ� ร้องขอรบั การพจิ ารณาการตรวจ
ลงตราทราบถงึ รายละเอยี ดแนวทางปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื สำ� นกั งานตรวจคนเขา้ เมอื ง ดว่ นทสี่ ดุ
ที่ ๐๐๒๙.๑๗๑/ว๔๔๙๙
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ประสานไปยงั เจา้ หนา้ ทผี่ ยู้ กรา่ งคำ� สง่ั สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ
ที่ ๓๒๗/๒๕๕๗ เพอ่ื สอบถามเกยี่ วกบั แนวทางการหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาการตรวจลงตรา
ขอ้ ๒.๒๒ กรณใี ชช้ วี ติ ในบน้ั ปลาย ไดร้ บั การชแ้ี จงวา่ การพจิ ารณาตอ้ งเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์
ดงั น้ี
(๓) มหี ลักฐานการมีเงนิ ได้ไม่นอ้ ยกว่าเดือนละ ๖๕,๐๐๐ บาท หรอื
(๔) ณ วนั ยนื่ คำ� ขอ มเี งนิ ฝากในธนาคารในประเทศไทยคงอยู่ในบญั ชีตลอดระยะ
เวลาย้อนหลงั ๓ เดือน ไมน่ ้อยกว่า ๘๐๐,๐๐๐ บาท เฉพาะในปแี รก ให้แสดงบัญชเี งินฝาก
โดยมีเงนิ จ�ำนวนดงั กล่าวฝากอยใู่ นบญั ชมี าแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๖๐ วัน หรอื
(๕) มเี งนิ ไดใ้ นรอบปแี ละมเี งนิ ฝากธนาคารคำ� นวณรวมกนั ไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ ๘๐๐,๐๐๐ บาท
นบั ถงึ วนั ย่นื ค�ำขอ
หากผู้ยื่นค�ำขอรับการตรวจลงตราไม่สามารถหาหลักฐานการมีเงินได้ไม่น้อยกว่า
เดอื นละ ๖๕,๐๐๐ บาท ตาม (๓) มาแสดง กส็ ามารถย่ืนขอตรวจลงตราโดยใชห้ ลกั เกณฑ์
การมีเงินฝากในธนาคารในประเทศไทยคงอยู่ในบัญชีตลอดระยะเวลาย้อนหลัง ๓ เดือน
ไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐๐,๐๐๐ บาท ได้ แต่ถ้าเป็นการยน่ื ในปีแรก ใหแ้ สดงบัญชีเงินฝากโดยมเี งิน
จ�ำนวนดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ตาม (๔) และหากผู้ย่ืนค�ำขอตรวจลงตรา
ไมส่ ามารถปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑ์ทง้ั (๓) และ (๔) กอ็ นุโลมให้นำ� ทง้ั ๒ ข้อมารวมกนั ตาม
(๕) กล่าวคือ เป็นผู้มีเงินได้ในรอบปีและมีเงินฝากธนาคารค�ำนวณรวมกันไม่น้อยกว่า
๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถึงวันยนื่ คำ� ขอ อยา่ งไรกต็ าม การย่นื หลกั ฐานการมีเงินฝากธนาคาร
ตาม (๕) นั้น ยังคงต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การพิจารณาใน (๔) กล่าวคือ มีเงินฝาก
ในธนาคารในประเทศไทยคงอยใู่ นบญั ชตี ลอดระยะเวลายอ้ นหลงั ๓ เดอื น เวน้ แตเ่ ปน็ กรณี
การยืน่ ในปีแรก ให้แสดงบญั ชเี งินฝากโดยมเี งินจำ� นวนดงั กล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖๐ วนั

170 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เชน่ กนั เพราะการพจิ ารณาหลกั เกณฑต์ าม (๕) นนั้ เปน็ การขยายหลกั เกณฑเ์ รอ่ื งมเี งนิ ฝาก
ในธนาคารตาม (๔) โดยอนุโลมให้สามารถน�ำเงินได้ในรอบปีมารวมกับการมีเงินฝาก
ในธนาคารได้ ดงั นนั้ หลกั เกณฑก์ ารมเี งนิ ฝากในธนาคารตาม (๕) จงึ ตอ้ งใชห้ ลกั เกณฑร์ ะยะ
เวลาการฝากเงนิ ดงั ทว่ี างหลกั ไวใ้ น (๔) ดว้ ย ทงั้ น้ี โดยแนวทางปฏบิ ตั ติ ามหนงั สอื สำ� นกั งาน
ตรวจคนเขา้ เมอื ง ด่วนทีส่ ดุ ที่ ๐๐๒๙.๑๗๑/ว ๔๔๙๙ น้ัน เป็นหนงั สอื เวยี นภายในเพื่อให้
เจา้ หนา้ ที่ได้ใช้เป็นแนวทางปฏบิ ัติ จงึ มิไดป้ ระกาศใหก้ บั ประชาชนโดยทัว่ ไปได้ทราบ
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียน ค�ำชี้แจงข้อเท็จจริง
จากหนว่ ยงานผ้รู บั ผดิ ชอบ ประกอบขอ้ กฎหมายทเี่ กี่ยวข้องแลว้ เมอ่ื ข้อเท็จจริงปรากฏวา่
ผรู้ อ้ งเรยี นยนื่ คำ� ขอตรวจลงตรา กรณใี ชช้ วี ติ ในบนั้ ปลายโดยแสดงรายการบญั ชเี งนิ ฝากบญั ชี
ซง่ึ มียอดเงินคงเหลอื ๓๘๒,๗๗๕.๓๒ บาท ณ วันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ แต่เมอ่ื นับยอ้ นหลงั
ไป ๓ เดือน ณ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ผู้รอ้ งเรยี นมียอดเงินคงเหลอื ในบัญชีดงั กลา่ ว
๔๖,๓๘๕.๙๘ บาท จึงไม่เข้าหลักเกณฑ์มีเงื่อนเวลาของการฝากเงินคงอยู่ในบัญชีตลอด
ระยะเวลาย้อนหลัง ๓ เดือน จึงไม่ได้รับการพิจารณาการตรวจลงตรา กรณีใช้ชีวิต
ในบ้ันปลาย อย่างไรก็ตาม ต่อมาเมื่อผู้ร้องเรียนปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การพิจารณา คือ
มีเงินฝากในธนาคารในประเทศคงอย่ตู ลอดระยะเวลาย้อนหลงั ๓ เดอื น จงึ เขา้ หลักเกณฑ์
ตาม (๕) มีเงินได้ในรอบปีและมีเงินฝากในธนาคารค�ำนวณรวมกันได้ไม่น้อยกว่า
๘๐๐,๐๐๐ บาท นับถึงวันยนื่ ค�ำขอแลว้ หน่วยงานผถู้ กู รอ้ งเรียนจงึ พจิ ารณาออกวซี ่ากรณี
ใชช้ วี ติ ในบน้ั ปลายใหแ้ กผ่ รู้ อ้ งเรยี นแลว้ กรณจี งึ ยงั ไมป่ รากฏพยานหลกั ฐานหรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ
ท่ีพอรับฟังได้ว่า หน่วยงานได้เปลี่ยนแปลงการพิจารณาการตรวจลงตราท่ีเป็นการขัดกับ
ค�ำสั่งส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ท่ี ๓๒๗/๒๕๕๗ อันจะเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตามมาตรา ๑๓ (๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๕๒ ดงั นน้ั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ วนิ จิ ฉยั ใหย้ ตุ กิ ารพจิ ารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี นตามมาตรา
๒๘ (๓) แห่งพระราชบัญญตั ิฉบับดงั กล่าว

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 171

อย่างไรก็ตาม ต่อมาผู้ร้องเรียนมีหนังสือโต้แย้งค�ำวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดิน
และผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาแล้วเห็นว่าถ้อยค�ำในค�ำส่ังส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ
ที่ ๓๒๗/๒๕๕๗ ข้อ ๒.๒๒ กรณีใช้ชีวิตในบ้ันปลายมีหลักเกณฑ์การพิจารณาเกี่ยวกับ
ระยะเวลาคงเงินฝากในบัญชอี ยู่สองหลักเกณฑค์ อื (๔) และ (๕) โดย (๔) นัน้ ระบรุ ะยะเวลา
คงเงนิ ฝากในบญั ชไี วอ้ ยา่ งชดั เจน สว่ น (๕) นน้ั มไิ ดร้ ะบรุ ะยะเวลาคงเงนิ ฝากในบญั ชไี วอ้ ยา่ ง
(๔) ซ่ึงอาจเป็นเหตุให้ผู้มาย่ืนค�ำร้องขอรับการพิจารณาการตรวจลงตรา กรณีใช้ชีวิต
ในบั้นปลายท่ีขอรับการพิจารณาตามหลักเกณฑ์ข้อ (๕) เกิดความสับสนจากถ้อยค�ำตาม
ตัวอักษร อันน�ำไปสู่ความเข้าใจผิดท่ีไม่ถูกต้องในการติดต่อราชการ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
จงึ เห็นควรทห่ี น่วยงานท่เี กย่ี วข้องจะด�ำเนินการแก้ไขกรณีทบทวน ปรับปรุงถ้อยคำ� ในเรอ่ื ง
ระยะเวลาคงเงินฝากในบัญชีใน (๕) ให้มีลักษณะเดียวกันกับใน (๔) เพื่อเป็นการป้องกัน
มิให้เกิดความสับสนและความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนจากถ้อยค�ำในหลักเกณฑ์ดังกล่าว
อนั อาจท�ำใหเ้ กดิ ความลา่ ชา้ ของผู้มาขอรบั บริการ และอาจสง่ ผลใหผ้ มู้ าขอรบั บรกิ ารทีถ่ ูก
ปฏิเสธค�ำขอด้วยเหตุดังกล่าวเห็นว่าตนเองไม่ได้รับความเป็นธรรม หน่วยงานท�ำการให้
ประชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู หรอื เพมิ่ เตมิ เอกสารอธบิ ายรายละเอยี ดแนวทางการพจิ ารณาการตรวจ
ลงตราใหผ้ มู้ าขอรบั บรกิ ารไดท้ ราบอยา่ งเพอื่ มใิ หเ้ กดิ กรณรี อ้ งเรยี นเชน่ นขี้ นึ้ อกี ซง่ึ หนว่ ยงาน
ผรู้ บั ผดิ ชอบไดร้ บั ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไวแ้ ละจะไดร้ วมพจิ ารณาดำ� เนนิ การ
แก้ไขเพ่ิมเติมค�ำส่ังส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ที่ ๓๒๗/๒๕๕๗ พร้อมกับประเด็นอื่น ๆ
ในคราวเดียวกัน และได้แจ้งหน่วยงานในสังกัดให้ช้ีแจงประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์
การพิจารณาให้คนต่างด้าวท่ีประสงค์จะขอรับการพิจารณาการตรวจลงตราทราบแล้ว
ตามค�ำแนะนำ� ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ

172 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เรอื่ งท่ี ๕

หน่วยงานของรัฐยึดคืนที่ดินในเขตปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรมและมีค�ำสั่งให้
ประชาชนออกจากพ้นื ที่

ผ้รู อ้ งเรียนจ�ำนวน ๙๓ ราย ไดค้ รอบครองและประกอบอาชีพท�ำสวนส้มบนท่ีดิน
ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยไม่มีเอกสารหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดินและไม่ได้
รับอนุญาตให้เข้าท�ำประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ีดินดังกล่าว เป็นเวลากว่า ๒๕ ปี กระท่ัง
หน่วยงานของรฐั ได้มีคำ� สงั่ ให้ผู้รอ้ งเรียนออกจากพ้นื ที่ และรือ้ ถอนส่งิ ปลกู สรา้ งหรอื สิ่งอนื่ ใด
ออกจากพนื้ ที่ ผ้รู อ้ งเรยี นจึงร้องเรยี นขอความเป็นธรรมจากผู้ตรวจการแผ่นดนิ
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ประชุมหารือเพื่อแก้ไขปัญหาและลงพื้นที่เพ่ือตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง สรุปข้อเท็จจริงได้ว่า หน่วยงานได้ด�ำเนินการ
ยดึ คนื ทดี่ ินแปลงดงั กลา่ วตามกฎหมาย โดยการปฏิบตั ติ ามแนวทางท่กี ำ� หนดแลว้ และจะ
ดำ� เนนิ การจดั สรรทด่ี นิ ทำ� กนิ ใหก้ บั ผยู้ ากไรต้ ามแผนการปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอนอยา่ งเครง่ ครดั
เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาความยากไร้และขาดท่ีดินท�ำกินให้กับประชาชน ซึ่งหน่วยงานได้
ด�ำเนินการปูผังแบ่งแปลงท่ีดิน และประกาศให้เกษตรกรมาขึ้นทะเบียน โดยไม่ตัดสิทธิ
ของผรู้ อ้ งเรยี นทง้ั ๙๓ ราย ทจี่ ะเขา้ มาขอรบั สทิ ธติ ามกระบวนการและขนั้ ตอนของระเบยี บ
และกฎหมาย ซ่ึงในขั้นตอนการด�ำเนินการมีกลุ่มผู้ที่ข้ึนทะเบียนขอรับการจัดสรรที่ดิน
ไวแ้ ลว้ และมกี ลมุ่ เกษตรกรรนุ่ ใหมท่ จ่ี ะเขา้ สกู่ ระบวนการพจิ ารณาคดั เลอื กดว้ ย โดยหนว่ ยงาน
ไดก้ ำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละทำ� การคดั เลอื กบคุ คลทจี่ ะไดร้ บั สทิ ธริ วมถงึ จะดำ� เนนิ การสง่ เสรมิ
อาชีพให้กับผู้ที่ได้รับคัดเลือกต่อไป และภายหลังจากมีการรวมกลุ่มบุคคลแล้วจึงเข้าสู่
กระบวนการจดั ตงั้ สหกรณห์ รอื สถาบนั เกษตรกรเพอ่ื ดำ� เนนิ การขออนญุ าตเชา่ ทดี่ นิ บรเิ วณ
ดังกล่าวจากหน่วยงานของรัฐในลักษณะการเช่าท่ีดินแปลงใหญ่ และเมื่อได้รับอนุญาต
ให้เชา่ ท่ีดนิ เรยี บร้อยแลว้ สมาชกิ สหกรณ์จะบรหิ ารจัดการกจิ การสหกรณก์ นั เองตอ่ ไป
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาข้อเทจ็ จริงดงั กล่าวแล้ว เห็นวา่ การคัดเลือกเกษตรกร
ที่จะได้รับสิทธิในการจัดท่ีดินดังกล่าว จะต้องเป็นไปโดยค�ำนึงถึงความเท่าเทียมกันและ
ความเปน็ ธรรม และผรู้ อ้ งเรยี นทงั้ ๙๓ ราย ตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื ในการแสดงขอ้ มลู คณุ สมบตั ิ

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 173

ของตนเองให้ครบถ้วนและถูกต้องตามหลักเกณฑ์ท่ีก�ำหนด โดยจะต้องมีสถานะเป็น
เกษตรกรอย่างแท้จริงด้วย ท้ังน้ี ขอให้หน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องร่วมกันตรวจสอบ
คุณสมบัติของผู้ร้องเรียนท้ัง ๙๓ ราย ว่ามีคุณสมบัติเป็นเกษตรกรตามหลักเกณฑ์หรือไม่
และหากเข้าหลักเกณฑ์แล้ว ขอให้น�ำรายช่ือผู้ผ่านเกณฑ์และบัญชีรายช่ือเกษตรกรอ่ืน
ที่ขึ้นบัญชีไวแ้ ล้วเข้าสกู่ ระบวนการคัดเลอื กเกษตรกรตอ่ ไป นอกจากน้ี จากการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงในพ้ืนที่สวนส้มมีสภาพเป็นพื้นที่เกษตรกรรมแปลงใหญ่และเข้าหลักการ
ด�ำเนินการเกษตรแปลงใหญ่ ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายของรัฐท่ีส่งเสริมให้มีการท�ำ
เกษตรกรรมแปลงใหญ่ ดังน้ัน การจัดสรรแบ่งแปลงสวนส้มดังกล่าวให้กับเกษตรกรนั้น
จะต้องพิจารณาให้รอบคอบและสอดคล้องกับการส่งเสริมให้ท�ำเกษตรกรรมแปลงใหญ่
โดยเฉพาะแปลงสวนส้มที่มีการบริหารจัดการท้ังระบบแปลง ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ
เป็นลักษณะเกษตรกรรมแปลงใหญ่ที่มีศักยภาพและความพร้อมท่ีจะให้ผลผลิตทาง
การเกษตรแลว้ หากหนว่ ยงานจดั แบง่ ที่ดนิ เปน็ แปลงย่อยอาจเกดิ ผลเสียหายต่อต้นสม้ ทม่ี ี
ความพรอ้ มใหเ้ กษตรกรไดเ้ กบ็ เกยี่ วผลผลติ แลว้ ดงั นน้ั การจดั สรรจำ� นวนเกษตรกรตอ้ งคำ� นงึ
ถึงจ�ำนวนเนื้อท่ีท่ีมีความเหมาะสม และค�ำนึงถึงต้นทุนในการท�ำเกษตรกรรมและผลผลิต
ท่ีจะได้รับต้องมีความสมดุลกัน เพื่อให้เกษตรกรสามารถมีรายได้และผลก�ำไรท่ีเลี้ยงชีพ
ตนเองและครอบครัวได้ตามสมควร ดังนั้น ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงอาศัยอ�ำนาจตามความ
ในมาตรา ๓๒ วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
พ.ศ. ๒๕๕๒ เสนอแนะให้หน่วยงานของรฐั ทีเ่ กีย่ วข้องพจิ ารณาให้ผ้รู อ้ งเรียนท้ัง ๙๓ ราย
ที่ท�ำสวนส้มในพื้นที่ดังกล่าวอยู่ก่อนแล้ว ได้มีโอกาสรับคัดเลือกและจัดสรรแปลงสวนส้ม
รว่ มกบั เกษตรกรรายอนื่ ตามหลกั เกณฑท์ ก่ี ำ� หมด ซง่ึ ผรู้ อ้ งเรยี นมคี วามรู้ ประสบการณ์ และ
ความสามารถในการดูแลและบริหารจัดการสวนส้มดังกล่าวได้อย่างต่อเน่ือง และสมควร
จัดแปลงสวนส้มดังกล่าวในลักษณะเกษตรแปลงใหญ่ โดยสวนส้มมีความพร้อมในทุกด้าน
และมีผลผลิตพร้อมน�ำเข้าสู่ตลาดและเกิดรายได้ให้กับเกษตรกรได้ทันที นอกจากนี้
เกษตรกรแตล่ ะรายสมควรไดร้ บั จดั สรรพน้ื ทสี่ วนสม้ ใหเ้ พยี งพอ เพอื่ ใหเ้ กษตรกรสามารถมี
รายได้และผลก�ำไรท่ีเล้ียงชีพตนเองและครอบครัวได้ตามสมควรโดยค�ำนึงถึงต้นทุนต่อไร่
และผลก�ำไรท่ีจะได้รับ และภาครัฐสมควรติดตามและส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการ
สวนส้มได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื ให้การทำ� เกษตรกรรมสวนสม้ มคี วามยงั่ ยืนสืบตอ่ ไป

174 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ต่อมา หน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องได้น�ำข้อพิจารณาและข้อเสนอแนะของ
ผู้ตรวจการแผ่นดินไปปฏิบัติโดยมีประกาศให้ราษฎรมาย่ืนค�ำร้องขอรับการจัดที่ดินและ
เข้าท�ำประโยชน์ในเขตปฏิรูปท่ีดินดังกล่าว โดยจัดสรรแปลงท่ีดินในลักษณะของเกษตร
แปลงใหญ่ แบง่ เป็น ๕ โซน ในแตล่ ะโซนประกอบด้วย ท่อี ยูอ่ าศัยรายละ ๒ ไรแ่ นวกนั ชน
(Buffer Zone) ถนนและสว่ นกลางของชมุ ชน และพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมแปลงรวมไมไ่ ดใ้ หส้ ทิ ธิ
แก่เกษตรกรรายใด (คิดค่าเฉลี่ยพื้นที่เกษตรกรรมรายละ ๑๓ ไร่) มีแหล่งน้�ำและพ้ืนที่
ส่วนกลาง แต่ละโซนจะมีเกษตรกรได้รับคัดเลือก ๖๐ ราย (รวม ๕ โซน จะมีเกษตรกร
ทง้ั หมด ๓๐๐ ราย) และพนื้ ท่ดี งั กลา่ วต้องทำ� สวนส้มเทา่ น้ันและบริหารจัดการในลักษณะ
ของสหกรณ์การเกษตร โดยผู้ร้องเรยี นทั้ง ๙๓ ราย มีสทิ ธยิ ื่นคำ� ร้องขอเข้ารับการจดั ทด่ี ิน
ดังกลา่ ว ตามคุณสมบัตแิ ละหลกั เกณฑท์ ี่ก�ำหนดไว้ตามประกาศดังกล่าวต่อไป

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ และคณะเจ้าหนา้ ท่สี ำ� นักงานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ ลงพน้ื ที่
เพ่ือตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 175

เร่ืองที่ ๖

ปัญหาการบุกรกุ และนำ� ทางสาธารณประโยชน์ไปใชเ้ พ่อื ประโยชนส์ ว่ นตัว
ผรู้ อ้ งเรยี นซงึ่ พกั อาศยั อยใู่ นชมุ ชนแหง่ หนง่ึ ในเขตกรงุ เทพมหานคร ยน่ื เรอ่ื งรอ้ งเรยี น
ต่อผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้ตรวจสอบกรณีท่ีมีบ้านสองหลังในชุมชนดังกล่าวบุกรุก
ทางสาธารณะบรเิ วณหนา้ บา้ นดว้ ยการปลกู ตน้ ไมข้ นาดใหญไ่ มพ้ มุ่ และจดั สรา้ งเปน็ สว่ นหยอ่ ม
เพื่อความสวยงาม ท�ำให้ประชาชนในพ้ืนที่ไม่สามารถเดินบนทางสาธารณะดังกล่าวได้
ต้องเดนิ บนผิวถนนทำ� ให้เกดิ ความไมป่ ลอดภยั กับคนเดินและผ้ใู ช้รถใชถ้ นน
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงประสานงานกับหน่วยงานที่ดูแลทางสาธารณประโยชน์
ดังกล่าว เพื่อตรวจสอบและแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน เนื่องจากบ้านทั้งสองหลังที่ถูกร้องเรียน
อยู่ตรงข้ามกัน ประชาชนในซอยจึงไม่สามารถเล่ียงไปเดินขอบถนนด้านใดด้านหนึ่งได้
จ�ำเป็นต้องลงไปเดินบนผิวถนน ต่อมาหน่วยงานแจ้งว่าไม่สามารถติดต่อเจ้าของบ้านได้
และจากการตรวจสอบจากทะเบยี นราษฎร พบวา่ บา้ นทงั้ สองหลงั ไมม่ เี จา้ บา้ นและผอู้ าศยั
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงเร่งรัดหน่วยงานให้ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวเพ่ือให้เกิดความชัดเจน
ผลจากการตรวจสอบกรรมสิทธิ์ที่ดินของบ้านท้ังสองหลังกับส�ำนักงานที่ดิน ทราบข้อมูล
ผู้ถือกรรมสิทธ์ิในท่ีดินท้ังสองแปลง และหน่วยงานได้ประสานเจ้าของบ้านท้ังสองหลัง
เพื่อให้ท�ำการร้ือย้ายต้นไม้บริเวณหน้าบ้านให้พ้นแนวเขตทางสาธารณประโยชน์ รวมทั้ง

ภาพการแกไ้ ขของหน่วยงานท่เี กย่ี วข้องตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจการแผ่นดิน

176 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

มอบหมายให้ฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจ และฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ
ของหน่วยงานดังกล่าวเข้ามาควบคุมตรวจสอบการรื้อย้ายต้นไม้หน้าบ้านทั้งสองหลัง
ตลอดจนการปรบั ปรุงพ้ืนท่ีใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อยด้วย
จากการติดตามการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเน่ืองของผู้ตรวจการแผ่นดิน
ประกอบกับการให้ความส�ำคัญและเอาใจใส่ในการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานผู้รับผิดชอบ
ท�ำให้ผู้ร้องเรียนและประชาชนในพื้นท่ีต่างได้รับการแก้ไขปัญหาจนเกิดความพึงพอใจ
สามารถใช้ทางสาธารณประโยชน์ในการสัญจรได้ตามปกติ เรื่องร้องเรียนนี้จึงเป็นกรณีท่ี
หน่วยงานได้แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้แก่ผู้ร้องเรียนและประชาชนตามสมควรแล้ว
ดังน้ัน ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงวินิจฉัยให้ยุติการพิจารณาเรื่องร้องเรียนตามมาตรา ๒๙ (๔)
แหง่ พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒

เร่ืองที่ ๗

ปญั หาการเดนิ รถทบั ซอ้ นเสน้ ทางของผปู้ ระกอบการทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนญุ าตตามกฎหมาย

ผู้ร้องเรียนซึ่งเป็นผู้ได้รับอนุญาตประกอบการขนส่งรถโดยสารประจ�ำทางได้รับ
ความเดอื ดรอ้ นจากการทม่ี รี ถทไี่ มไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ดนิ รถในเสน้ ทางเดนิ รถมาวง่ิ ทบั เสน้ ทาง
เป็นเหตุให้เกิดการแย่งผู้โดยสาร ท�ำให้รายได้จากการประกอบการลดลง ผู้ร้องเรียนเคย
รอ้ งเรยี นไปยงั หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบและสถานตี ำ� รวจในทอ้ งทใี่ หป้ ระสานงานกบั หนว่ ยงาน
ทเี่ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื ปราบปรามรถสองแถวทไ่ี มไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหว้ งิ่ รถในเสน้ ทางดงั กลา่ วโดยดว่ น
แตย่ งั พบรถสองแถวทไ่ี ม่ไดร้ บั อนุญาตว่งิ ทับเสน้ ทางเดนิ รถของผรู้ อ้ งเรียนอยตู่ ลอดมา
ผู้ตรวจการแผ่นดินมีหนังสือให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบช้ีแจงข้อเท็จจริงและส่ง
เอกสารหลกั ฐาน ซงึ่ ไดร้ บั การชแ้ี จงสรุปได้ ดงั น้ี
๑. รถโดยสารประจำ� ทาง (รถสองแถว) เสน้ ทางของผรู้ อ้ งเรยี น มหี า้ งหนุ้ สว่ นจำ� กดั
ของผู้ร้องเรียนเป็นผู้รับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง มีเง่ือนไขจ�ำนวนรถโดยสารวิ่งใน
เสน้ ทางดงั กลา่ วประมาณ ๑๑ – ๑๔ คนั

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 177

๒. กรณีกลุ่มบุคคลน�ำรถโดยสารสองแถวผิดกฎหมายไปวิ่งรับ - ส่งผู้โดยสาร
ในเส้นทางของผู้ร้องเรียนน้ัน หน่วยงานผู้ถูกร้องเรียนได้ด�ำเนินการตรวจสอบและจับกุม
รถผิดกฎหมายดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
หลายฝ่ายจับกุมผู้ฝ่าฝืนกฎหมายไปแล้วจ�ำนวน ๔๘ ราย (ส่งด�ำเนินคดีและฟ้องต่อศาล
จ�ำนวน ๔ ราย)
๓. ต่อมาหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนร่วมกับเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
หลายฝ่าย ดำ� เนนิ การตรวจสอบและจับกุมรถโดยสารสองแถวผดิ กฎหมายดงั กลา่ วจำ� นวน
ทั้งสนิ้ ๑๙ คนั สง่ ด�ำเนนิ คดีทสี่ ถานีต�ำรวจภธู ร
ในการนี้ หน่วยงานผรู้ บั ผดิ ชอบรับว่าจะบูรณาการรว่ มกับหนว่ ยงานผถู้ ูกร้องเรียน
และเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการตรวจสอบและจับกุมรถโดยสารสองแถว
ผดิ กฎหมายอยา่ งต่อเนือ่ งต่อไป
ภายหลงั ท่ผี ตู้ รวจการแผ่นดนิ มีหนงั สือให้หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบชี้แจง ผูต้ รวจการ
แผ่นดินได้รับแจ้งจากผู้ร้องเรียนว่าพบเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมาลงพื้นที่
ตรวจสอบจับและปรับรถโดยสารสองแถวผิดกฎหมายท่ีไม่ได้รับอนุญาตวิ่งรถโดยสาร
ประจำ� ทาง (รถสองแถว) ทบั เสน้ ทางทผ่ี รู้ อ้ งเรยี นไดร้ บั อนญุ าต และตอ่ มาผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ได้ประสานไปยังผู้ร้องเรียนเพ่ือทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมได้รับแจ้งว่า ยังพบเจ้าหน้าท่ี
ของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งมาลงพนื้ ทตี่ รวจสอบจบั และปรบั รถโดยสารสองแถวผดิ กฎหมาย
อยู่อย่างต่อเนื่อง แต่หากไม่มีการลงพื้นท่ีตรวจสอบของเจ้าหน้าท่ีก็จะพบรถโดยสาร
สองแถวผิดกฎหมายวิ่งทบั เสน้ ทางเดินรถของผ้รู อ้ งเรียนและคณะอยู่
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้พิจารณาข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียน ค�ำชี้แจงข้อเท็จจริง
จากหน่วยงานผรู้ ับผิดชอบ ประกอบข้อกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งแล้วมีความเห็นว่า หนว่ ยงาน
ทถ่ี กู รอ้ งเรยี นไดร้ ว่ มกบั เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งดำ� เนนิ การตรวจสอบและจบั กมุ
รถผิดกฎหมายอย่างต่อเน่ือง พบผู้ฝ่าฝืนกฎหมายน�ำรถโดยสารประจ�ำทาง (รถสองแถว)
ผดิ กฎหมายไปวงิ่ รบั – สง่ ผโู้ ดยสารในเสน้ ทางประจำ� ทาง (รถสองแถว) เดนิ รถของผรู้ อ้ งเรยี น
และท�ำการจบั กุมดำ� เนินคดแี ล้วจ�ำนวน ๖๗ ราย และจะด�ำเนินการตรวจสอบและจบั กมุ

178 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

รถโดยสารสองแถวผิดกฎหมายดังกล่าวอย่างต่อเนื่องต่อไป กรณีจึงยังไม่ปรากฏพยาน
หลักฐานหรือข้อเท็จจริงที่พอรับฟังได้ว่าหน่วยงานด�ำเนินการอันเป็นการไม่ปฏิบัติตาม
กฎหมายตามมาตรา ๑๓ (๑) แห่งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ ดงั นัน้ ผู้ตรวจการแผน่ ดินจึงวินิจฉยั ให้ยตุ กิ ารพิจารณาเรอื่ งร้องเรียน
ตามมาตรา ๒๘ (๓) แหง่ พระราชบัญญตั ฉิ บับดงั กล่าว
อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนและ
เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องน้ันสัมฤทธิผลดังท่ีคาดหมายไว้ ผู้ตรวจการแผ่นดิน
จึงเสนอแนะให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบก�ำชับหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนด�ำเนินการตรวจสอบ
รถโดยสารประจ�ำทาง (รถสองแถว) ผิดกฎหมายที่ว่ิงทับเส้นทางเดินรถของผู้ร้องเรียน
อย่างต่อเนื่องทุก ๆ เดือน โดยสลับจุดต้ังตรวจและวันที่ในการตรวจสอบ เพื่อหลีกเลี่ยง
ไม่ใหผ้ ู้ขับขี่รถโดยสารประจ�ำทาง (รถสองแถว) ผดิ กฎหมายคาดการณ์ได้และปอ้ งกนั ไม่ให้
สามารถน�ำรถโดยสารประจ�ำทาง (รถสองแถว) ท่ีผิดกฎหมายกลับมาเดินรถให้บริการ
ในเสน้ ทางดงั กลา่ วได้อกี
ทงั้ น้ี หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบมหี นงั สอื ถงึ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ รายงานผลการปฏบิ ตั ติ าม
ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แลว้ โดยจดั สง่ เจา้ หนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบรว่ มกบั
หนว่ ยงานผถู้ กู รอ้ งเรยี นและเจา้ หนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งหลายฝา่ ยลงตรวจสอบพนื้ ที่
อยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ ๆ เดอื น โดยในเดอื นเมษายนและพฤษภาคม ๒๕๖๐ พบผกู้ ระทำ� ความผดิ
๑ ราย มีความผิดฐานใช้รถท่ีได้รับอนญุ าตทำ� การขนส่งนอกเส้นทาง ตามพระราชบัญญตั ิ
การขนส่งทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และการกระทำ� ความผดิ อ่ืนอกี จำ� นวน ๖ ราย ซึง่ ดำ� เนนิ การ
จบั กมุ ลงโทษตามกฎหมายแลว้

ผูต้ รวจการแผน่ ดิน 179

เรื่องที่ ๘

หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งละเลยไมด่ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หากลน่ิ เหมน็ จากฟารม์ เลย้ี งสกุ ร
ของผู้ประกอบการเอกชนรายหนง่ึ

ผรู้ อ้ งเรยี นรอ้ งเรยี นวา่ หนว่ ยงานเทศบาลและอำ� เภอละเลยไมด่ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หา
กล่ินเหม็นจากฟาร์มเลี้ยงสุกรของผู้ประกอบการเอกชนแห่งหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้ร้องเรียน
และประชาชนในพนื้ ทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อน
ภายหลังจากท่ีได้รับการร้องเรียนเร่ืองดังกล่าว ผู้ตรวจการแผ่นดินมอบหมายให้
คณะเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินเดินทางไปตรวจสอบข้อเท็จจริงในพื้นที่
และรว่ มประชมุ พจิ ารณาเรอื่ งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ วกบั ผแู้ ทนจากหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในจงั หวดั
ดงั กลา่ ว รวมทงั้ เจา้ ของฟารม์ เลย้ี งสกุ ร ผลการประชมุ สรปุ ไดว้ า่ ปญั หากลนิ่ เหมน็ จากฟารม์
เล้ียงสุกรดังกล่าวมีสาเหตุจากการบริหารจัดการท่ีไม่เป็นไปตามมาตรฐานและไม่ถูก
สขุ ลกั ษณะ และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งยงั ไมไ่ ดก้ ำ� กบั ดแู ลการประกอบกจิ การฟารม์ เลย้ี งสกุ ร
ดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังน้ัน ที่ประชุมจึงมีความเห็น
ใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง และเจา้ ของฟารม์ เลย้ี งสกุ ร ดำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วใหแ้ ลว้ เสรจ็
โดยเร็ว
ในเวลาต่อมา ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับแจ้งจากผู้ร้องเรียนว่ายังมีกลิ่นเหม็นจาก
ฟาร์มเลี้ยงสุกรอยู่ เนื่องจากเจ้าของฟาร์มยังไม่ได้ด�ำเนินการตามความเห็นของท่ีประชุม
อีกท้ังในช่วงท่ีมีฝนตกหนัก น้�ำเสียจะล้นจากบ่อพักน�้ำเสียลงสู่ล�ำรางสาธารณะ ท�ำให้
ประชาชนที่พักอาศัยบริเวณดังกล่าวได้รับความเดือดร้อน คณะเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงาน
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงเดินทางไปติดตามและตรวจสอบข้อเท็จจริงในพ้ืนที่อีกคร้ังหน่ึง
พรอ้ มท้งั ร่วมประชมุ พจิ ารณาเรื่องรอ้ งเรยี นดังกล่าวกบั รองผวู้ ่าราชการจังหวดั และผู้แทน
จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งสรุปผลการประชุมได้ว่า หลังจากท่ีได้มีการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงในพ้ืนท่ีก่อนหน้านี้ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในจังหวัดได้เข้าไปก�ำกับดูแลและ
ใหค้ ำ� แนะนำ� ใหเ้ จา้ ของฟารม์ เลยี้ งสกุ รบรหิ ารจดั การฟารม์ ใหด้ ขี นึ้ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หากลน่ิ เหมน็ แลว้
สว่ นกรณที ม่ี กี ารรอ้ งเรยี นในรายตอ่ มาเกยี่ วกบั ปญั หานำ�้ เสยี ลน้ จากบอ่ พกั นำ�้ เสยี ลงสลู่ ำ� ราง

180 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

สาธารณะในชว่ งทมี่ ฝี นตกนนั้ เจา้ ของฟารม์ เลย้ี งสกุ รไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขโดยเสรมิ คนั บอ่ พกั
น้�ำเสีย และขุดร่องน�้ำก้ันอีกช้ันหนึ่งระหว่างแนวเขตของฟาร์มกับล�ำรางสาธารณะ ท�ำให้
ไม่มีน�้ำเสียไหลลงสู่ล�ำรางสาธารณะในช่วงท่ีมีฝนตกแล้ว แต่ยังไม่ได้ด�ำเนินการดูดและ
ขนยา้ ยส่ิงปฏกิ ูลออกจากบอ่ พักน�้ำเสีย และการแยกระบบน้�ำเสีย - นำ้� ดี แตอ่ ยา่ งใด
ผู้ตรวจการแผ่นดินพิจารณาข้อเท็จจริงและกฎหมายที่เก่ียวข้องแล้วเห็นว่า แม้ว่า
คณะเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จะไดป้ ระชมุ หารอื เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรอ้ งเรยี น
ดังกล่าวและตรวจสอบข้อเท็จจริงในพ้ืนท่ีร่วมกับผู้แทนหน่วยงานที่เก่ียวข้องในจังหวัด
โดยหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในจงั หวดั ไดเ้ ขา้ ไปกำ� กบั ดแู ลและใหค้ ำ� แนะนำ� ใหเ้ จา้ ของฟารม์ เลย้ี ง
สกุ รปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การฟารม์ ใหด้ ขี นึ้ เพอื่ แกไ้ ขปญั หากลนิ่ เหมน็ ทำ� ใหป้ ญั หากลน่ิ เหมน็
จากฟาร์มเล้ียงสุกรลดน้อยลง และเม่ือภายหลังได้มีการร้องเรียนเพ่ิมเติมเก่ียวกับปัญหา
น�้ำเสียล้นจากบ่อพักน�้ำเสียลงสู่ล�ำรางสาธารณะในช่วงที่มีฝนตก เจ้าของฟาร์มเล้ียงสุกร
ได้ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อป้องกันไม่มีน�้ำเสียไหลลงสู่ล�ำรางสาธารณะแล้ว
รวมทั้งเทศบาลได้ออกเทศบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เพ่ือควบคุมกิจการท่ีเก่ียวกับการเล้ียงสัตว์ในเขตเทศบาลด้วยแล้วก็ตาม แต่เนื่องจาก
ปรากฏข้อเทจ็ จริงวา่ ฟารม์ เลยี้ งสกุ รดงั กลา่ วยงั ไมไ่ ดด้ �ำเนินการปรบั ปรุงแกไ้ ขใหค้ รบถว้ น
โดยยังไม่ได้ด�ำเนินการดูดและขนย้ายส่ิงปฏิกูลออกจากบ่อพักน้�ำเสีย รวมทั้งไม่มีการแยก
ระบบนำ้� เสยี - นำ้� ดี ใหช้ ดั เจน ซง่ึ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและเปน็ เหตใุ หป้ ระชาชน
ในพ้ืนท่ียังคงได้รับความเดือดร้อนอยู่ ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงอาศัยอ�ำนาจตามความใน
มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง แหง่ พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยผ้ตู รวจการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๕๒ เสนอแนะใหจ้ งั หวัดประสานหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง เพ่อื กำ� กับ ตดิ ตาม แนะน�ำ
และเร่งรัดให้ผู้ประกอบกิจการฟาร์มเล้ียงสุกรด�ำเนินการดูดและขนย้ายส่ิงปฏิกูลออกจาก
บอ่ พกั น�้ำเสยี และแยกระบบนำ้� เสีย – น�้ำดี ใหช้ ดั เจน และเสรมิ คันดินหรือกำ� แพงบริเวณ
บ่อพักน้�ำเสียให้แน่นหนาเพียงพอเพื่อป้องกันน�้ำเสียไหลลงสู่ล�ำรางสาธารณะให้แล้วเสร็จ
โดยเร็ว รวมท้ังก�ำกับดูแลให้ฟาร์มเลี้ยงสุกรดังกล่าวปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ตามเทศบัญญัติเก่ียวกับการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และกฎหมายอ่ืน ๆ
ทเ่ี กีย่ วข้องตอ่ ไป

ผู้ตรวจการแผน่ ดิน 181

ต่อมา จังหวัดได้รายงานผลการด�ำเนินการตามค�ำวินิจฉัยและข้อเสนอแนะของ
ผู้ตรวจการแผ่นดิน สรุปได้ว่า ผู้ประกอบการได้ด�ำเนินการก่อสร้างระบบบ�ำบัดน้�ำเสีย
ตามแบบและแผนผังในการปรับปรุงน้�ำเสียจากส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจังหวัดเสร็จเรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งได้ติดตั้งเคร่ืองปั่นน�้ำเพ่ือเพ่ิมออกซิเจน
ในบ่อพักน�้ำเสีย และจัดท�ำระบบปิดคลุมป้องกันการฟุ้งกระจายของกล่ินเหม็นบริเวณ
บ่อรับน�้ำเสีย นอกจากนี้ ผู้ประกอบการได้เพ่ิมการใช้น�้ำหมักชีวภาพผสมน้�ำเพื่อฉีดล้าง
คอกสุกรวันละประมาณ ๒ - ๓ ครัง้ ตกั มลู สกุ รสดใสถ่ ุงปดิ ผนกึ ไวจ้ ำ� หนา่ ยและใชเ้ ปน็ ปยุ๋
ในสวน และใชจ้ ลุ นิ ทรยี ผ์ สมในอาหารและนำ้� ใหส้ กุ รกนิ ทกุ วนั ทงั้ นี้ ปจั จบุ นั พบวา่ กลนิ่ เหมน็
จากฟารม์ เลี้ยงสกุ รดังกลา่ วลดน้อยลงแล้ว
ในการน้ี เพ่ือเป็นการติดตามและตรวจสอบผลการด�ำเนินการตามค�ำวินิจฉัย
และขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ อบหมายใหค้ ณะเจา้ หนา้ ที่
ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินเดินทางไปติดตามและตรวจสอบผลการด�ำเนินการ
ตามคำ� วนิ จิ ฉยั และขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ รว่ มกบั ผแู้ ทนหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ในจังหวัด ซงึ่ ปรากฏข้อเทจ็ จริงว่า ผู้ประกอบการได้ดำ� เนินการกอ่ สร้างระบบบำ� บัดน�ำ้ เสยี
ตามแบบของส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด พร้อมทั้งได้ติดตั้ง
เครอื่ งปน่ั นำ�้ เพอื่ เพม่ิ ออกซเิ จนในบอ่ แลว้ และไดท้ ำ� ระบบปดิ คลมุ บอ่ พกั นำ�้ เสยี เพอื่ ปอ้ งกนั
การฟุ้งกระจายของกล่ินเหม็น ซึ่งปัจจุบันพบว่ากล่ินเหม็นจากฟาร์มเลี้ยงสุกรดังกล่าว
ลดน้อยลงแล้ว โดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เก่ียวข้องแจ้งว่าได้ก�ำชับให้ผู้ประกอบการ
ตกั มลู สกุ รใสถ่ งุ ไวจ้ ำ� หนา่ ยหรอื นำ� ไปกำ� จดั ทนั ที ไมใ่ หม้ กี ารตากหรอื เกบ็ ไวท้ ฟ่ี ารม์ และใหใ้ ช้
จุลินทรีย์ผสมในอาหารและน้�ำให้สุกรกิน รวมท้ังใช้น�้ำหมักชีวภาพผสมน้�ำเพื่อฉีดล้าง
คอกสุกรอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการได้ท�ำคันดินและขุดร่องน้�ำก้ันระหว่าง
แนวเขตของฟารม์ กบั ลำ� รางสาธารณะเพอ่ื ปอ้ งกนั นำ้� เสยี ไหลลงสลู่ ำ� รางสาธารณะแลว้ ทงั้ นี้
คณะเจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหม่ันตรวจตรา
ฟาร์มเลี้ยงสุกรดังกล่าวอย่างสม�่ำเสมอ เพ่ือป้องกันมิให้เกิดปัญหาความเดือดร้อนร�ำคาญ
แกป่ ระชาชนหรอื ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขึ้นอกี ในอนาคตดว้ ยแล้ว

182 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

การลงพ้นื ทต่ี รวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ณ ฟารม์ เลี้ยงสกุ ร สภาพโรงเลย้ี งสกุ ร

บ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย การปดิ คลุมบอ่ พกั นำ�้ เสีย

คนั ดินและร่องน�ำ้ กนั้ ระหว่างแนวเขต ถงั บำ� บัดนำ้� เสีย
ของฟารม์ กบั ล�ำรางสาธารณะ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 183

๓.๒ ผลการปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ
หรือราชการส่วนท่องถ่ิน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่ไม่ด�ำเนินการตาม
ข้อสังเกตหรอื ขอ้ เสนอแนะของผูต้ รวจการแผน่ ดิน

กรณีปัญหาการให้เช่าพ้ืนท่ีภายในท่าอากาศยานนานาชาติแก่เอกชนเพื่อให้บริการ

ส่งมอบสนิ คา้ ปลอดอากร

ผู้ร้องเรียนได้เสนอเร่ืองร้องเรียนต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน ขอให้ตรวจสอบกรณี
หน่วยงานรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งไม่อนุญาตให้บริษัทเอกชนแห่งหนึ่งเช่าพื้นท่ีบริเวณ
ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู แิ ละทา่ อากาศยานดอนเมอื งเพอ่ื ใชเ้ ปน็ จดุ สง่ มอบสนิ คา้ (Pick up
Counter) ผูร้ อ้ งเรียนเหน็ วา่ การทีห่ น่วยงานของรฐั และรัฐวสิ าหกจิ แห่งนน้ั ไดก้ �ำหนดใหม้ ี
จุดส่งมอบสินค้าปลอดอากรที่ด�ำเนินการโดยเอกชนท่ีชนะการประมูลรายเดียวกัน
ในท่าอากาศยานท้ังสองแห่ง เป็นการเอื้อประโยชน์แก่เอกชนและเป็นการผูกขาดธุรกิจ
รา้ นคา้ ปลอดอากรขาออกในเมอื ง จงึ เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั ิ ถอื เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ ไี่ มช่ อบ
ดว้ ยกฎหมายกอ่ ให้เกดิ ความเดือดร้อนเสียหายอย่างไมเ่ ป็นธรรม
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ไดจ้ ดั ประชมุ หารอื ระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งและผรู้ อ้ งเรยี น
ซง่ึ ทปี่ ระชมุ มมี ตใิ หร้ ฐั วสิ าหกจิ แหง่ นน้ั ดำ� เนนิ การศกึ ษาความเปน็ ไปไดใ้ นการเปดิ จดุ สง่ มอบ
สนิ คา้ ปลอดอากรสาธารณะไดห้ รอื ไม่ แตเ่ นอ่ื งจากไมไ่ ดร้ บั การผลการศกึ ษาจากรฐั วสิ าหกจิ
แหง่ นน้ั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ มคี ำ� วนิ จิ ฉยั กรณดี งั กลา่ วสรปุ ไดว้ า่ กรณที า่ อากาศยานนานาชาติ
ดอนเมือง พบว่า สัญญาได้สงวนสิทธิการอนุญาตให้รัฐวิสาหกิจดังกล่าวมีผู้ประกอบการ
รายอื่นประกอบกิจการจ�ำหน่ายสินค้าปลอดอากร และจุดส่งมอบสินค้าปลอดอากรได้อีก
ยกเว้นพื้นที่ภายในอาคารผู้โดยสาร ประกอบกับไม่สามารถจัดสรรพื้นที่ให้ได้ จึงแจ้งผล
การพิจารณาขอเช่าพื้นท่ีให้บริษัทเอกชนนั้นทราบ ส�ำหรับกรณีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
บรษิ ทั เอกชนทชี่ นะการประมลู และไดร้ บั อนญุ าตจากรฐั วสิ าหกจิ แหง่ นน้ั ใหด้ ำ� เนนิ โครงการ
บริหารจัดการกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ณ อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีพ้ืนที่

184 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ตารางเมตร โดยรฐั วสิ าหกจิ ดงั กลา่ วแจง้ วา่ จดุ สง่ มอบสนิ คา้ เปน็ สว่ นหนง่ึ
ของสญั ญาโครงการ หากผปู้ ระกอบการรายอน่ื ประสงคจ์ ะตง้ั จดุ สง่ มอบสนิ คา้ จะตอ้ งไดร้ บั
ความยินยอมจากเอกชนที่ชนะการประมูลนน้ั กอ่ น จงึ จะสามารถตั้งจดุ สง่ มอบสินค้าได้
กรณีข้างต้น การอนุญาตให้เอกชนท่ีชนะการประมูลมีสิทธิในการให้บริการ
จดุ สง่ มอบสนิ คา้ ปลอดอากรแตเ่ พยี งรายเดยี ว เขา้ ขา่ ยเปน็ การเลอื กปฏบิ ตั หิ รอื เปน็ การปดิ กน้ั
เสรีทางการค้า เนื่องจากจุดส่งมอบสินค้าเป็นเรื่องของการให้บริการประชาชนผู้ซื้อสินค้า
จากร้านค้าปลอดอากรขาออกในเมือง การให้สิทธิผู้ประกอบการแต่เพียงรายเดียวในการ
บริหารจัดการจุดส่งมอบสินค้า เป็นการไม่อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และอาจเป็น
การจ�ำกัดสิทธิของผู้ประกอบการรายอ่ืนในการประกอบกิจการร้านค้าปลอดอากรขาออก
ในเมอื ง ซงึ่ ไมเ่ ปน็ ไปตามนโยบายของรฐั บาลในการสง่ เสรมิ การคา้ การลงทนุ จากตา่ งประเทศ
จากขอ้ เทจ็ จรงิ ดงั กลา่ วถอื ไดว้ า่ รฐั วสิ าหกจิ แหง่ นน้ั ปฏบิ ตั หิ รอื ละเลยไมป่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ
ความเสียหายแก่ประชาชนโดยไม่เป็นธรรมตามมาตรา ๑๓ (๑) (ข) แห่งพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงอาศัย
อ�ำนาจตามมาตรา ๓๒ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว เสนอแนะไปยัง
รัฐวิสาหกิจแห่งนั้นในฐานะเจ้าของพ้ืนที่ พิจารณาจัดหาและก�ำหนดจุดส่งมอบสินค้า
สาธารณะใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการรา้ นคา้ ปลอดอากรขาออกในเมอื งรายอน่ื เพอ่ื ใชใ้ นการสง่ มอบ
สนิ คา้ เนอื่ งจากหากมกี ารกำ� หนดจดุ สง่ มอบสนิ คา้ เพอ่ื เปน็ บรกิ ารสาธารณะจะมกี ารแขง่ ขนั
อย่างเสรีภายใต้กลไกตลาด และเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคจากการมีทางเลือกท่ีมี
ความหลากหลายมากข้นึ รวมทงั้ เป็นผลดตี อ่ การพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม
และยกระดบั ความสามารถทางการแขง่ ขนั ทางการคา้ ของประเทศตอ่ ไป
ต่อมา รัฐวิสาหกิจแห่งน้ันชี้แจงว่า กิจกรรมให้บริการส่งมอบสินค้าปลอดอากร
ถอื เปน็ ส่วนหนึ่งของสัญญาข้างตน้ หากรัฐวสิ าหกิจไปรกุ ล�ำ้ สทิ ธติ ามสัญญาในขณะท่ยี ังไม่
ส้ินอายุสัญญา และยังเป็นสิทธิทั้งทางนิตินัยและพฤตินัยของเอกชน จะเสมือนไปละเมิด
สัญญาและจะกระทบต่อความเช่ือมั่นของคู่สัญญาต่าง ๆ อีกมากมาย รวมถึงกระทบต่อ
ชอ่ื เสียงของประเทศในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานของรฐั

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 185

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พจิ ารณาเหน็ วา่ พนื้ ทด่ี ำ� เนนิ การตามสญั ญาขา้ งตน้ ประกอบดว้ ย
๒ สญั ญาคือ สญั ญาโครงการ ซึง่ ก�ำหนดพน้ื ทโี่ ครงการไว้ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ตารางเมตร
โดยก�ำหนดว่ารัฐวิสาหกิจและเอกชนที่ชนะการประมูลจะต้องไปท�ำสัญญาเช่าพ้ืนท่ีกันอีก
ฉบบั หนง่ึ เมอ่ื ทำ� สญั ญาเชา่ พน้ื ทแี่ ลว้ สทิ ธติ ามสญั ญาโครงการจงึ จำ� กดั พนื้ ทต่ี ามสญั ญาเชา่
เท่าน้ัน มิได้รวมถึงพ้ืนท่ีอ่ืนของรัฐวิสาหกิจแห่งนั้นด้วย เม่ือการประกอบกิจการร้านค้า
ปลอดอากรขาออกในเมืองจะต้องด�ำเนินการตามประกาศกรมศุลกากรท่ี ๒๐/๒๕๔๙
เรอ่ื ง ระเบยี บปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั รา้ นคา้ ปลอดอากร ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยสว่ นทเ่ี ปน็ รา้ นคา้ ปลอดอากร
และส่วนที่เป็นจุดส่งมอบสินค้าตามแบบค�ำขอจัดตั้งร้านค้าปลอดอากรก�ำหนด โดยผู้ย่ืน
ค�ำขอจะต้องระบุสถานท่ีท่ีท�ำเป็นจุดส่งมอบสินค้า ซึ่งหมายถึงสถานที่ ณ ท่าอากาศยาน
นานาชาติ เมอื่ บรษิ ทั เอกชนประสงคข์ อเชา่ พนื้ ทขี่ องรฐั วสิ าหกจิ ณ ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ
จุดส่งมอบสินค้าตามแบบดังกล่าวคือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดยที่จุดส่งมอบสินค้า
ถือเป็นส่วนหน่ึงของการประกอบกิจการร้านค้าปลอดอากรขาออกในเมือง เนื่องจาก
การซอ้ื สนิ คา้ ไดส้ ำ� เรจ็ แลว้ ตงั้ แตม่ กี ารซอื้ ขาย ณ รา้ นคา้ เหลอื เพยี งขน้ั ตอนการสง่ มอบสนิ คา้
เท่าน้ัน จุดส่งมอบสินค้าจึงเป็นบริการอย่างหนึ่ง ซ่ึงมิใช่เป็นบริการท่ีผูกขาดโดยเอกชน
ทีช่ นะการประมูลแตเ่ พียงรายเดียว การที่รฐั วสิ าหกิจกล่าวอ้างว่าไดม้ อบสิทธใิ หแ้ กเ่ อกชน
ไปแล้วผ่านทางสัญญาเช่าพื้นท่ี ทั้งที่ข้อก�ำหนดโครงการและสัญญาโครงการไม่ได้ก�ำหนด
ตามทก่ี ลา่ วอา้ ง คอื เปน็ การจำ� กดั สทิ ธขิ องตนเองเพอื่ ประโยชนข์ องคสู่ ญั ญา โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ
ประโยชนข์ องรฐั เนอ่ื งจากทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู กิ อ่ สรา้ งโดยใชง้ บประมาณของแผน่ ดนิ
เป็นไปเพ่ือประโยชน์ของรัฐและประชาชนโดยส่วนรวม การน�ำทรัพย์สินของรัฐไปหา
ประโยชน์ในลักษณะท่ีเป็นการเอื้อประโยชน์แก่คู่สัญญาจึงไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
แห่งทรัพย์สินของรัฐ และท�ำให้การบังคับใช้พระราชบัญญัติศุลกากรไม่สามารถกระท�ำได้
เป็นการทั่วไป ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน ดังนั้น รัฐวิสาหกิจดังกล่าวจึงมี
หนา้ ทใ่ี นการจดั หาพนื้ ทนี่ อกสญั ญาโครงการเพอื่ จดั ทำ� เปน็ จดุ สง่ มอบสนิ คา้ ในลกั ษณะทเ่ี ปน็
บริการสาธารณะเพื่อที่ผู้ประกอบการรายอื่นสามารถด�ำเนินกิจการร้านค้าปลอดอากรได้
ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงแจ้งไปยังหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลรัฐวิสาหกิจแห่งน้ันเพ่ือพิจารณาให้
สง่ั การตามท่ีเหน็ สมควร

186 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

อยา่ งไรก็ดี รัฐวสิ าหกิจแห่งน้ันยงั คงยืนยันสทิ ธิในการท�ำสัญญาและผลแห่งสญั ญา
ทผ่ี กู พนั คสู่ ญั ญาและปฏเิ สธทจี่ ะดำ� เนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ เหน็ วา่ รฐั วสิ าหกจิ แหง่ นนั้ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามความเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจการ
แผ่นดินโดยไม่มีเหตุอันควร ทั้งเรื่องดังกล่าวเป็นเร่ืองเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย
จึงเป็นเร่ืองท่ีมีความส�ำคัญและเกี่ยวข้องกับประชาชนจ�ำนวนมาก ผู้ตรวจการแผ่นดิน
จึงด�ำเนินการตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง และมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยไดป้ รกึ ษาหารอื และเหน็ ชอบรว่ มกนั
ในกรณีดังกล่าวจัดท�ำรายงานเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นกรณีเร่งด่วนเพื่อ
ดำ� เนนิ การตามหน้าทีต่ ่อไป
ต่อมาคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติแจ้งว่าตามท่ีได้รับ
มอบหมายจากประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพอ่ื พิจารณาด�ำเนนิ การนน้ั ในการประชมุ
คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั กจิ การสภานติ บิ ญั ญตั แิ หง่ ชาตพิ จิ ารณาและเหน็ วา่ พระราชบญั ญตั ิ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลใช้บังคับแล้วจึงส่งเรื่อง
มายังผู้ตรวจการแผ่นดินขอให้พิจารณาทบทวนให้สอดคล้องกับหน้าท่ีและอ�ำนาจ
ตามบทบัญญัติข้างต้น หากพิจารณาแล้วเห็นควรเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เพอ่ื พจิ ารณากส็ ามารถดำ� เนนิ การได้ ซงึ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ อยรู่ ะหวา่ งการพจิ ารณาดำ� เนนิ การ
ตามสมควรตอ่ ไป

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 187



สว่ นท่ี

ความร่วมมือของหนว่ ยงานในการช้ีแจงข้อเท็จจรงิ
และแกไ้ ขปัญหาเร่ืองร้องเรยี น

ในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ดา้ นการพจิ ารณาและสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี น
ตามบทบัญญัติของกฎหมาย และรวมถึงการตรวจสอบกรณีมีการร้องเรียนการฝ่าฝืน
ประมวลจรยิ ธรรมของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง หรอื เจา้ หนา้ ทร่ี ฐั แตล่ ะประเภท ในการ
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการ
แผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๑๕ ไดใ้ ห้อ�ำนาจหน้าที่ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ ในการด�ำเนนิ การ
เพอื่ ให้ได้มาซ่ึงข้อเท็จจรงิ เพือ่ ประกอบการพจิ ารณาวินจิ ฉยั เรอื่ งรอ้ งเรยี น ดงั น้ี
(๑) ให้หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น
มหี นงั สือช้ีแจงขอ้ เท็จจริงหรือให้ความเห็นในการปฏบิ ตั งิ าน หรือสง่ วตั ถุ เอกสาร หลกั ฐาน
หรอื พยานหลกั ฐานอ่ืนทเี่ ก่ยี วข้องเพื่อประกอบการพจิ ารณา
(๒) ให้หัวหน้าหน่วยงานหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานตาม (๑) พนักงานอัยการ
พนักงานสอบสวน หรือบุคคลใด มีหนังสือช้ีแจงข้อเท็จจริง หรือมาให้ถ้อยค�ำหรือส่งวัตถุ
เอกสาร หลักฐาน หรอื พยานหลกั ฐานอืน่ ท่เี กยี่ วขอ้ งเพ่ือประกอบการพจิ ารณา
(๓) ขอให้ศาลส่งวัตถุ เอกสาร หลักฐาน หรือพยานหลักฐานอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง
เพอื่ ประกอบการพจิ ารณา
(๔) ตรวจสถานทที่ เ่ี กย่ี วกบั เรอ่ื งทม่ี กี ารรอ้ งเรยี นโดยแจง้ ใหเ้ จา้ ของหรอื ผคู้ รอบครอง
สถานทีท่ ราบลว่ งหนา้ ในเวลาอันควร
(๕) ออกระเบียบก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการรับค�ำร้องเรียน
ไว้พจิ ารณาและระเบียบว่าดว้ ยการสอบสวนหาข้อเท็จจริง
(๖) ออกระเบียบก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพ่ือด�ำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรม
ของผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมืองและเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐตามาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙
(๗) ออกระเบยี บกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ย เบยี้ เลยี้ งและคา่ เดนิ ทางของ
พยานบุคคลและการปฏบิ ตั หิ น้าทีข่ องเจา้ หน้าท่ี
(๘) ออกระเบียบหรือปฏิบัติการอื่นใดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒ หรอื กฎหมายอนื่ ทกี่ ำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจหนา้ ทข่ี อง
ผูต้ รวจการแผ่นดิน

190 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จากการด�ำเนินงานด้านการสอบสวนหา
ข้อเท็จจริงตามเรื่องร้องเรียนของผู้ตรวจการแผ่นดิน พบว่า หน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนต่าง
ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการแก้ไขปัญหาตามค�ำร้องเรียน ชี้แจงข้อเท็จจริง รวมถึง
เขา้ รว่ มประชมุ หารอื เพอ่ื หาขอ้ ยตุ ใิ นกรณปี ญั หาทต่ี อ้ งพจิ ารณารว่ มกนั ของทกุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ ง
เพ่ือหาแนวทางแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนร่วมกัน และหน่วยงานให้ความส�ำคัญกับ
กระบวนการแกไ้ ขปญั หาตามคำ� ร้องเรียนทม่ี ตี อ่ หนว่ ยงานของตนดว้ ย เพราะตระหนักดวี า่
ค�ำร้องเรียนท่ีเกิดข้ึนน้ันเป็นเสียงสะท้อนจากประชาชนผู้รับบริการท่ีหน่วยงานพึงรับฟัง
ในการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีมีความไม่สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมาย ความไม่เหมาะสม
รวมถึงข้อบกพร่องอ่ืนใดในกระบวนการท�ำงานหรือวิธีปฏิบัติงาน หน่วยงานจึงควรรับฟัง
ค�ำร้องเรียนเหล่านั้น และน�ำไปพิจารณาทบทวนเพ่ือแก้ไขปรับปรุงระบบการปฏิบัติงาน
และวิธีการปฏิบัติให้ถูกต้อง เหมาะสมต่อไป ท้ังน้ี ที่ผ่านมา ยังไม่ปรากฏเร่ืองท่ีไม่ได้
รับความร่วมมือจากหน่วยงานถึงขนาดที่ผู้ตรวจการแผ่นดินจะต้องด�ำเนินมาตรการบังคับ
ทางกฎหมายเพ่ือเร่งรดั ใหห้ น่วยงานชแ้ี จงข้อเทจ็ จรงิ แต่อยา่ งใด
นอกจากความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานทถี่ กู รอ้ งเรยี นและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในการ
สนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการร่วมประชุมระดมความคิดในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ได้ขอความร่วมมือเพ่ือประกอบการวินิจฉัยของผู้ตรวจการแผ่นดิน จะเป็นการแสดงถึง
ความเอาใจใส่ต่อความเดือดร้อนและความไม่เป็นธรรมของผู้ร้องเรียนและประชาชนแล้ว
ยังเป็นหนทางสู่การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนและหน่วยงานของรัฐ ทั้งน้ี
เนอ่ื งจากเรอื่ งรอ้ งเรยี นหลายกรณเี กดิ ขนึ้ จากความไมเ่ ขา้ ใจระหวา่ งผรู้ อ้ งเรยี นกบั หนว่ ยงาน
ของรัฐ ในด้านการสื่อสารข้อมูลที่คลาดเคลื่อนไม่ต้องตรงกัน ดังนั้น ค�ำช้ีแจง ค�ำอธิบาย
ตลอดจนข้อเท็จจริงเพ่ิมเติมของหน่วยงาน ย่อมจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสร้าง
ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนผู้ร้องเรียนได้เป็นอย่างดีเป็นการลดความขัดแย้งและ
ข้อพิพาทท่ีจะน�ำไปสู่กระบวนการยุติธรรม ซ่ึงจะช่วยลดภาระของทั้งสองฝ่ายในการยุติ
ความขดั แย้งโดยสันติวิธี

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 191

แต่ก็ไม่อาจปฏิเสธได้ว่า ยังคงมีเร่ืองร้องเรียนอีกจ�ำนวนหนึ่งที่ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ไม่อาจพิจารณาวินิจฉัยให้เป็นที่สิ้นสุดได้โดยเวลาอันรวดเร็ว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการที่
หน่วยงานชี้แจงข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียน หรือส่งเอกสารหลักฐานที่เป็นข้อมูลประกอบ
การพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ลา่ ชา้ ในกรณดี งั กลา่ วผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
จะแกไ้ ขปญั หาดว้ ยการปรบั ใชม้ าตรการอนื่ ๆ เขา้ มาชว่ ยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการแสวงหา
ข้อเท็จจริงควบคู่กับการติดต่อสื่อสารผ่านช่องทางที่เป็นทางการไปด้วย ไม่ว่าจะเป็น
การประสานอย่างไม่เป็นทางการไปยังเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องผ่านทางโทรศัพท์ หรือระบบ
ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การลงพนื้ ทเี่ พอื่ สำ� รวจขอ้ เทจ็ จรงิ ในพน้ื ทพี่ พิ าท การรบั ฟงั ถอ้ ยคำ�
ของประชาชนผเู้ ดอื ดรอ้ น การจดั ประชมุ รว่ มเพอ่ื ระดมความเหน็ ของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง
ทั้งหมดเพ่ือหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนร่วมกัน รวมถึงการจัดให้มีเวที
เพื่อการเจรจาไกล่เกล่ียข้อขัดแย้งโดยมีผู้ตรวจการแผ่นดินหรือเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงาน
ผู้ตรวจการแผ่นดินเป็นคนกลางในการด�ำเนินการ แต่ในกรณีท่ีหน่วยงานยังคงเพิกเฉย
ไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื กบั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในการชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื การสง่ เอกสารหลกั ฐาน
ทีจ่ �ำเปน็ ต่อการพจิ ารณา ผ้ตู รวจการแผน่ ดินอาจพิจารณาใชม้ าตรการบังคบั ทางกฎหมาย
ตอ่ ไป
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีตัวอย่างเร่ืองร้องเรียนท่ีผู้ตรวจการแผ่นดิน
ไดป้ ระสานงาน เรง่ รดั และตดิ ตามความคบื หนา้ เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั พจิ ารณาดำ� เนนิ การ
แกไ้ ขปญั หาตามคำ� ร้องเรียน ดังนี้

192 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

เร่ืองที่ ๑

ปัญหาการจ�ำหน่ายสูติบัตรของผู้ร้องเรียนโดยไม่ถูกต้องและการไม่ด�ำเนินการ
ยน่ื ขอสัญชาติไทยใหแ้ ก่ผูร้ ้องเรยี นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย

ผู้ร้องเรียนเกิดท่ีอ�ำเภอแห่งหน่ึงเป็นบุตรของผู้ถือบัตรประจ�ำตัวคนซ่ึงไม่มี
สัญชาติไทย มีหมายเลขรหัสบัตรข้ึนต้นด้วยหมายเลข ๖ และผู้ร้องเรียนได้รับสูติบัตร
มีเลขบัตรประจ�ำตัวประชาชนขึ้นต้นด้วยหมายเลข ๗ จากการเกิดในประเทศไทย ซ่ึงอยู่
ในกลุ่มเป้าหมายท่ีจะย่ืนค�ำร้องขอสัญชาติไทยได้ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง
การส่ังให้บุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทยท่ีเกิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาและมารดาเป็นคน
ต่างด้าว ได้สัญชาติไทยเป็นการทั่วไป และการให้สัญชาติไทยเป็นการเฉพาะราย ลงวันท่ี
๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ ต่อมา สถานะทางทะเบียนของผู้ร้องเรียนถูกจ�ำหน่าย ท�ำให้ไม่มี
สถานะทางทะเบียน โดยมีรหัสบัตรข้ึนต้นด้วยหมายเลข ๐ ประเภทกลุ่มบุคคลที่อพยพ
เขา้ มาในประเทศไทย ซง่ึ กลมุ่ บคุ คลดงั กลา่ วไมส่ ามารถยนื่ คำ� รอ้ งขอสญั ชาตไิ ทยตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทยฯ ได้ ผู้ร้องเรียนจึงไดน้ ำ� ปญั หาดงั กลา่ วรอ้ งเรียนตอ่ ผูต้ รวจการแผ่นดิน
ขอใหพ้ จิ ารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง และให้ความช่วยเหลือในกรณดี ังกลา่ ว
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ มหี นงั สอื ขอใหห้ นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งชแ้ี จงในประเดน็ รอ้ งเรยี น
ดังกล่าว และได้รบั การช้ีแจง สรุปได้ดงั น้ี
๑. ประเดน็ สตู บิ ตั รถกู จำ� หนา่ ย ผลจากการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ พบวา่ เนอื่ งจาก
ผู้ร้องเรียนมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ในทะเบียนบ้านกลาง โดยไม่มีการแจ้งย้ายออกจาก
ทะเบียนบ้านกลางเปน็ เวลานาน กล่าวคือ ไมม่ ีการเคลอื่ นไหวทางทะเบยี น จึงถกู จ�ำหนา่ ย
ตามโครงการตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูลรายการทะเบยี นราษฎรเมื่อวันท่ี ๑๔ ธนั วาคม
๒๕๔๗
๒. ประเดน็ หนว่ ยงานผถู้ กู รอ้ งเรยี นไมด่ ำ� เนนิ การเรอื่ งการยนื่ ขอสญั ชาตไิ ทยใหก้ บั
ผรู้ อ้ งเรยี นผลจากการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ พบวา่ สถานะปจั จบุ นั ของผรู้ อ้ งเรยี น คอื บคุ คล
ที่ไมม่ สี ถานะทางทะเบียน หมายเลขบตั รประจ�ำตวั ขึน้ ต้นด้วยหมายเลข ๐ เน่ืองจากไม่ได้

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 193

รบั การสำ� รวจประเภทกลมุ่ บคุ คลทอี่ พยพเขา้ มาในประเทศไทยทม่ี คี วามเกย่ี วพนั กบั ผไู้ ดร้ บั
การจดั ทำ� ทะเบยี นประวตั ชิ นกลมุ่ นอ้ ยไวเ้ ดมิ ซง่ึ กลมุ่ บคุ คลดงั กลา่ วไมส่ ามารถยนื่ คำ� รอ้ งขอ
สัญชาติไทยได้เน่ืองจากบทบัญญัติตามประกาศกระทรวงมหาดไทยฯ ก�ำหนดหลักเกณฑ์
ครอบคลมุ กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะชนกลมุ่ นอ้ ยและกลมุ่ ชาตพิ นั ธซ์ุ งึ่ คณะรฐั มนตรมี มี ตริ บั รอง
สถานะใหอ้ าศัยอยถู่ าวรในประเทศไทยไว้แลว้ รวม ๑๘ กลุม่ แตไ่ ม่ครอบคลมุ กลมุ่ บุคคล
ผไู้ มม่ สี ถานะทางทะเบยี นประเภททอ่ี าศยั อยมู่ านาน ซงึ่ สำ� รวจภายใตย้ ทุ ธศาสตรก์ ารจดั การ
ปญั หาสถานะและสิทธขิ องบคุ คลในระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๕ ด้วยเหตนุ ้ี หนว่ ยงาน
ผู้ถกู ร้องเรยี นจงึ ไม่สามารถดำ� เนินการเรอ่ื งการยน่ื ขอสญั ชาติไทยให้แกผ่ ู้ร้องเรยี นได้
๓. ประเดน็ ทผ่ี รู้ อ้ งเรยี นไดน้ ำ� สตู บิ ตั รทร่ี ะบชุ อื่ ผรู้ อ้ งเรยี น เลขบตั รประจำ� ตวั ประชาชน
ขน้ึ ตน้ ด้วยหมายเลข ๗ ออกโดยหนว่ ยงานทถ่ี ูกรอ้ งเรียนมาแสดงเป็นหลักฐาน โดยอ้างว่า
เปน็ ของตนเองและตนเปน็ ผเู้ กดิ ในประเทศไทย อกี ทง้ั ยงั เคยมสี ถานะบคุ คลอยใู่ นกลมุ่ เปา้ หมาย
ท่ีจะยื่นค�ำร้องขอสัญชาติไทยได้ หน่วยงานได้หารือไปยังหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเก่ียวกับ
การขอคนื รายการสถานะบคุ คลตามสตู บิ ตั รดงั กลา่ ว ผลเปน็ ประการใดจะไดแ้ จง้ ใหผ้ รู้ อ้ งเรยี น
ทราบต่อไป
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้จึงได้ประสานไปยังหน่วยงานที่ถูกร้องเรียนเพ่ือเร่งรัดและ
ตดิ ตามความคบื หนา้ การพจิ ารณาการคนื สถานะบคุ คลผอู้ ยใู่ นกลมุ่ ทจ่ี ะยนื่ คำ� รอ้ งขอสญั ชาติ
ไทยได้ ทราบว่า หน่วยงานทถี่ ูกร้องเรยี นยงั มปี ระเดน็ ข้อเท็จจรงิ ท่ตี อ้ งสอบถามผู้ร้องเรยี น
เพิ่มเติมเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาคำ� ร้อง ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ จึงไดแ้ จ้งให้ผ้รู ้องเรียนทราบ
และประสานงานกับหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนเพ่ือให้ข้อมูลเน่ืองจากผู้ร้องเรียนพักอาศัย
อยู่ในพื้นที่ห่างไกลอันจะช่วยลดภาระในการเดินทางไปติดต่อราชการต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการเดนิ ทางเปน็ จำ� นวนมาก ซงึ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดต้ ดิ ตามการดำ� เนนิ การขอคนื สถานะ
บคุ คลทางทะเบยี นและแจง้ รายละเอยี ดใหผ้ รู้ อ้ งเรยี นทราบอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กระทง่ั หนว่ ยงาน
ทถี่ กู รอ้ งเรยี นไดอ้ อกบตั รประจำ� ตวั คนซงึ่ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยทข่ี น้ึ ตน้ ดว้ ยหมายเลข ๗ ประเภท
บตุ รคนตา่ งดา้ วทเี่ กดิ ในประเทศไทยใหแ้ กผ่ รู้ อ้ งเรยี น และแจง้ วา่ ไดส้ ง่ คำ� รอ้ งขอสญั ชาตไิ ทย
ของผรู้ อ้ งเรยี นไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องแลว้

194 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

จากการตดิ ตามเรอ่ื งในเวลาตอ่ มา พบวา่ เกดิ ความลา่ ชา้ แมว้ า่ ผรู้ อ้ งเรยี นสง่ เอกสาร
ประวตั อิ าชญากรรมใหแ้ กห่ นว่ ยงานทถ่ี กู รอ้ งเรยี นเปน็ ระยะเวลาหนง่ึ แลว้ กต็ าม แตห่ นว่ ยงาน
ยังมิได้ส่งค�ำร้องไปยังหน่วยงานที่เก่ียวข้องโดยอ้างเหตุว่าข้ันตอนการส่งค�ำร้องของผู้ขอ
สัญชาติไทยหน่วยงานท่ีถูกร้องเรียนจะจัดส่งเป็นรอบ โดยอ�ำเภอในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
จะรวบรวมค�ำร้องจนครบจ�ำนวนประมาณ ๕๐ ค�ำร้อง จึงจะจัดส่งไปซึ่งทางอ�ำเภอ
พรอ้ มจดั สง่ เรอ่ื งไปไดภ้ ายในสปั ดาหต์ อ่ ไป ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดต้ ดิ ตามความคบื หนา้ ไปยงั
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ทราบวา่ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งไดร้ บั คำ� รอ้ งจากหนว่ ยงาน
ทถี่ กู รอ้ งเรยี นแลว้ และจะตอ้ งสง่ เอกสารของผรู้ อ้ งเรยี นไปใหห้ นว่ ยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ ทำ� การ
ตรวจสอบประวตั อิ กี ครง้ั หนงึ่ ซงึ่ การสง่ เรอื่ งจะสง่ เปน็ รอบเชน่ กนั ครงั้ ละ ๖๐๐ - ๘๐๐ คำ� รอ้ ง
ใช้เวลาประมาณ ๓ เดือน และหลังจากเรื่องได้รับการพิจารณาอนุมัติแล้ว หน่วยงาน
ผู้รับผิดชอบจะท�ำการก�ำหนดเลขประจ�ำตัวประชาชน ๑๓ หลัก ซึ่งใช้เวลาด�ำเนินการ
อกี ประมาณ ๒ – ๓ เดอื น ถงึ จะมหี นงั สอื แจง้ ใหผ้ รู้ อ้ งเรยี นมาทำ� บตั รประจำ� ตวั ประชาชนใหม่
ณ ภูมิลำ� เนาของผ้รู อ้ งเรยี น ประมาณการระยะเวลาด�ำเนนิ การตามขน้ั ตอนทง้ั หมดคาดว่า
จะแล้วเสร็จภายใน ปี ๒๕๖๐ น้ี ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงเร่งรัดให้หน่วยงานด�ำเนินการ
ตามขนั้ ตอนโดยไม่ชักช้าเพ่ือแก้ไขปญั หาของประชาชนโดยเรว็ ตอ่ ไป
ต่อมา ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับแจ้งจากผู้ร้องเรียนว่าได้รับบัตรประชาชนผู้มี
สัญชาติไทยโดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ขณะน้ีผู้ร้องเรียนมีความรู้สึกเหมือนได้ชีวิตใหม่
และขอขอบคุณผู้ตรวจการแผ่นดินและส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินที่ช่วยประสานงาน
ตดิ ตาม เรง่ รดั และชว่ ยเหลอื แกไ้ ขปญั หาเรอื่ งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ ว จนไดร้ บั บตั รบตั รประจำ� ตวั
ประชาชนไทยถกู ต้องตามกฎหมาย กรณดี งั กลา่ วจงึ เป็นกรณหี น่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งได้แก้ไข
ความเดือดร้อนให้กับผู้ร้องเรียนอย่างเหมาะสมแล้ว ดังนั้น ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงวินิจฉัย
ใหย้ ตุ กิ ารพจิ ารณาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นตามมาตรา ๒๙ (๔) แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
ว่าดว้ ยผู้ตรวจการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 195



ส่วนที่

ผลการดำ� เนินงานดา้ นจรยิ ธรรม
ของผดู้ �ำรงตำ� แหน่งทางการเมอื ง ข้าราชการ

และเจ้าหน้าทข่ี องรฐั

๕.๑ ภารกิจด้านการสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียนที่ปรากฏ
ลักษณะการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมของ
ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมืองและเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มภี ารกจิ ดา้ นการสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี นทป่ี รากฏ
ลกั ษณะการฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื ง
ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐทุกประเภท และผู้ตรวจการแผ่นดินได้ด�ำเนินภารกิจ
ดังกล่าวด้วยความมุ่งหมายที่จะให้หน่วยงานของรัฐแต่ละแห่งตระหนักถึงความส�ำคัญ
ของการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม และการบังคับใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยความมุ่งหวังให้ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และ
เจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นผมู้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเป็นแบบอย่างท่ดี ีใหแ้ กส่ ังคม
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดร้ บั เรอื่ งรอ้ งเรยี นทเี่ พอ่ื สอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี น
ท่ีปรากฏลักษณะการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมอื ง ขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั หลายกรณี ซงึ่ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดด้ ำ� เนนิ การ
ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ตามคำ� รอ้ งเรยี นโดยความละเอยี ด รอบคอบ ใหค้ วามเปน็ ธรรมแกท่ กุ ฝา่ ย
ท่ีเก่ียวข้อง และไม่เปิดเผยสาระส�ำคัญของผู้ถูกร้องเรียนโดยไม่จ�ำเป็น เน่ืองจากหาก
ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงปรากฏว่าผู้ถูกร้องเรียนมิได้มีการปฏิบัติที่มีลักษณะฝ่าฝืน
หรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมตามค�ำร้องเรียน อาจจะถูกสังคมตัดสินว่าเป็นผู้มี
ความประพฤตทิ เ่ี สอ่ื มเสยี จรงิ ตามทมี่ กี ารรอ้ งเรยี น ดงั นน้ั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ จะไมเ่ ปดิ เผย
รายละเอียดของผู้รอ้ งเรยี นและผถู้ กู รอ้ งเรยี นจนกวา่ จะมีผลการวนิ จิ ฉัยเป็นท่ียตุ ิ
ในกรณกี ารรอ้ งเรยี นผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งทป่ี รากฏขอ้ เทจ็ จรงิ วา่ มกี ารกระทำ�
อันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรมจริง
ผู้ตรวจการแผ่นดินจะรายงานต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือสภาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
แลว้ แตก่ รณี เพอ่ื ดำ� เนนิ การบงั คบั ใหเ้ ปน็ ไปตามประมวลจรยิ ธรรม และหากการกระทำ� ของ
ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งดงั กลา่ วเปน็ การกระทำ� ผดิ รา้ ยแรง ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จะสง่ เรอ่ื ง

198 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ให้คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติพิจารณาด�ำเนินการโดยให้
ถือเป็นเหตุท่ีจะถูกถอดถอนจากต�ำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ ซ่ึงจากการด�ำเนินการท่ีผ่านมา
มีกรณีตัวอย่างที่ผลการตรวจสอบของผู้ตรวจการแผ่นดิน พบว่า มีการกระท�ำผิดร้ายแรง
คือ กรณกี ารร้องเรียนอดตี สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร สังกัดพรรคการเมอื งแห่งหนึง่ ใชบ้ ัตร
ลงคะแนนอเิ ลก็ ทรอนกิ สล์ งคะแนนแทนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรคนอนื่ ในการประชมุ รว่ ม
รฐั สภาเพอื่ พจิ ารณารา่ งแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู เปน็ เหตใุ หผ้ ลการลงมตบิ ดิ เบอื นจากความเปน็ จรงิ
ซงึ่ คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตไิ ดด้ ำ� เนนิ การฟอ้ งรอ้ งเปน็ คดอี าญา
และตอ่ มาในปี ๒๕๕๙ ท่ีประชมุ สภานิตบิ ญั ญัติแห่งชาติกไ็ ด้ลงมติถอดถอนบคุ คลดงั กล่าว
ออกจากต�ำแหน่ง และถกู หา้ มดำ� รงต�ำแหนง่ ทางการเมืองและทางราชการ เป็นเวลา ๕ ปี
นอกจากน้ี ผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงเก่ียวกับการกระท�ำของผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมอื งมลี กั ษณะเปน็ การฝา่ ฝนื หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามประมวล
จริยธรรมท่ีผู้ตรวจการแผ่นดินได้พิจารณาและมีค�ำวินิจฉัยแล้วที่ผ่านมาในกรณีอื่น ๆ
เช่น กรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ีเปิดดูภาพที่มีลักษณะอนาจาร
ในห้องประชุมรัฐสภา กรณีร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแก้ไขเพิ่มเติมร่าง
พระราชบัญญัตินริ โทษกรรมขัดตอ่ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐
และการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษาความมนั่ คงภายในราชอาณาจกั ร พ.ศ. ๒๕๕๑
เป็นการฝ่าฝืนจริยธรรมของข้าราชการทางการเมือง กรณีการขาดคุณสมบัติในการสมัคร
รับเลอื กตั้งเป็นนายกเทศมนตรี รวมถึงการมีพฤติกรรมทจุ ริตตอ่ หน้าท่ี เป็นต้น
ในส่วนของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐ หากผลการตรวจสอบข้อเท็จจริง
ตามค�ำร้องเรียนแล้ว ปรากฏว่า ผู้ถูกร้องเรียนมีการปฏิบัติที่มีลักษณะเป็นการฝ่าฝืนหรือ
ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมตามประมวลจรยิ ธรรมของหนว่ ยงาน ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
จะด�ำเนินการให้หน่วยงานบังคับการให้เป็นไปตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวล
จรยิ ธรรมของแตล่ ะหนว่ ยงาน ซงึ่ จะมบี ทลงโทษตามทห่ี นว่ ยงานกำ� หนดตอ่ ไป โดยทผ่ี า่ นมา
หนว่ ยงานไดใ้ หค้ วามรว่ มมอื กบั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ และดำ� เนนิ การ
บงั คบั ตามประมวลจรยิ ธรรมและรายงานผลมายงั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตวั อยา่ งเรอื่ งรอ้ งเรยี น
ทไี่ ดด้ ำ� เนนิ การในระยะเวลาทผี่ า่ นมา เชน่ กรณอี าจารยม์ หาวทิ ยาลยั ใชก้ ริ ยิ าทไ่ี มเ่ หมาะกบั
นกั ศึกษา เป็นต้น

ผตู้ รวจการแผ่นดิน 199

อนง่ึ แมร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จะมไิ ดม้ บี ทบญั ญตั ิ
ทก่ี ำ� หนดใหห้ นา้ ทแี่ ละอำ� นาจแกผ่ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในการดำ� เนนิ การเกยี่ วกบั การตรวจสอบ
จริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของรัฐอีกต่อไป
แต่ผู้ตรวจการแผ่นดินยังจะเป็นกลไกหน่ึงท่ีจะให้ร่วมมือในการขับเคล่ือนการส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรมแก่สังคมไทย ด้วยการให้ความร่วมมือแก่หน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง
เพอ่ื สนบั สนนุ และประสานงานขอ้ มลู ดา้ นจรยิ ธรรมแกอ่ งคก์ รและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป

๕.๒ ภารกิจด้านการเสนอแนะหรอื ให้ค�ำแนะนำ� ในการจดั ทำ� หรือปรบั ปรุง
ประมวลจรยิ ธรรมของผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมอื งและเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั
แต่ละประเภท

ผู้ตรวจการแผ่นดินมีภารกิจด้านการเสนอแนะหรือให้ค�ำแนะน�ำในการจัดท�ำหรือ
ปรับปรุงประมวลจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่ละ
ประเภท ซง่ึ เปน็ ไปตามบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
มาตรา ๒๗๙ และ ๒๘๐ และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
พ.ศ. ๒๕๕๒ มาตรา ๓๖ อันมสี าระส�ำคญั สรุปได้ว่า
๑. มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการ หรือ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐแตล่ ะประเภท ใหเ้ ป็นไปตามประมวลจริยธรรมที่กำ� หนดขนึ้ โดยจะตอ้ งมี
กลไกและระบบในการด�ำเนินงานเพ่ือให้การบังคับใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
กำ� หนดข้ันตอนการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งการกระท�ำ
๒. การฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมตามประมวลจริยธรรม
สำ� หรบั ข้าราชการและเจา้ หน้าที่ของรัฐให้ถือว่าเป็นการกระท�ำผิดทางวนิ ยั
๓. ในกรณีท่ีผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรมตามประมวลจรยิ ธรรม ใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดนิ รายงานตอ่ รฐั สภา คณะรฐั มนตรี
หรือสภาท้องถิ่นที่เก่ียวข้องแล้วแต่กรณี และหากเป็นการกระท�ำผิดร้ายแรงให้ส่งเร่ืองให้

200 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version