The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Omb_Library, 2022-01-05 22:57:23

annual report_2560

annual report_2560

๘.๑.๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้  - ส�ำนักงานผู้ตรวจการ
แผน่ ดนิ มีหนว่ ยสนับสนุนในการจัดการองค์ความรู้ภายในสำ� นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดนิ คือ
สถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินศึกษา ท�ำหน้าท่ีรวบรวมองค์ความรู้ท่ีส�ำคัญของส�ำนักงาน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทกุ ประเภท อาทิ ผลงานทางวชิ าการของเจา้ หนา้ ทส่ี ำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผ่นดิน งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับองค์กรผู้ตรวจการแผ่นดินทั้งในและต่างประเทศ วารสาร
ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ซึ่งผ่านการประเมินคุณภาพจากศูนย์ดัชนีอ้างอิงวารสารไทย
(TCI) เปน็ วารสารวชิ าการกลมุ่ ที่ ๑ (กลมุ่ มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์)
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นทผ่ี ตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ คี ำ� วนิ จิ ฉยั เปน็ ทย่ี ตุ แิ ลว้ ทงั้ จดั เกบ็ ในรปู แบบ
เอกสารและรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงผู้สนใจสามารถขอใช้บริการได้ที่สถาบัน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ศกึ ษา นอกจากนสี้ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ยงั ไดม้ นี โยบายในการสง่ เสรมิ
ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งของเจา้ หนา้ ท่ี เพอ่ื ใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ และพฒั นาการ
ดำ� เนนิ งานของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ องคค์ วามรดู้ า้ นงานสอบสวนเรอื่ งรอ้ ง
เรยี น โดยจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ทสี่ อบสวนในดา้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะในการตรวจ
สอบข้อเท็จจริง ความรู้ในด้านกฎหมาย ความรู้เฉพาะทางอันจะเป็นประโยชน์ต่อการ
พิจารณาเรื่องรอ้ งเรยี น การให้ค�ำปรึกษาแกป่ ระชาชนและผรู้ ้องเรียนได้

ผูต้ รวจการแผน่ ดิน 251

๘.๑.๕ การมงุ่ เนน้ ทรพั ยากรบุคคล - ผู้ตรวจการแผน่ ดินเล็งเห็นถึงความส�ำคัญ
ของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงได้ให้นโยบายด้านการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์
แกส่ ำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ โดยสนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรภายในอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
ทั้งการจัดให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีท้ังในระดับปฏิบัติการและในระดับอาวุโสข้ึนไป
การจัดให้มกี ารให้ความรู้ในรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ การจัดการบรรยายให้ความรู้เฉพาะทางตา่ ง ๆ
การจัดอบรมระยะสั้นในหลักสูตรเจ้าหน้าที่ระดับต้น และระดับกลาง การสนับสนุนให้
บุคลากรไดร้ บั การฝกึ อบรมจากหนว่ ยงานภายนอก ตามความเหมาะสม
๘.๑.๖ การจัดการกระบวนการ เป็นการประเมินการจัดการกระบวนการ
การใหบ้ รกิ าร และกระบวนการอ่ืนท่ีช่วยสร้างคุณคา่ แก่ผรู้ บั บริการและผู้มีสว่ นได้สว่ นเสีย
และกระบวนการสนับสนุนเพ่อื ให้บรรลพุ ันธกจิ ขององคก์ าร
นอกจากน้ี ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้น�ำหลักการปรับอย่างต่อเน่ือง หรือ
ตามแนวคดิ การท�ำงานแบบ Deming Cycle ที่มีขัน้ ตอนการทำ� งาน ๔ ขัน้ ตอนท่คี อื PDCA
ซ่ึงเป็นแนวคิดหนึ่งท่ีไม่ได้ให้ความส�ำคัญเพียงแค่การวางแผน แต่เน้นให้การด�ำเนินงาน
เปน็ ไปอย่างมีระบบ มีเปา้ หมายให้เกดิ การพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง ดงั น้ี
Plan คอื การวางแผน สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดด้ ำ� เนนิ การตามแผน
ยทุ ธศาสตรข์ องสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ฉบบั ท่ี ๓ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๐
และแผนปฏิบัติการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ�ำปี และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ
จดั ท�ำรา่ งแผนยทุ ธศาสตรส์ ำ� นกั งานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ ฉบบั ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เพอื่ ให้
สอดคลอ้ งกบั หนา้ ทแ่ี ละอำ� นาจของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐
Do คือ การปฏิบัติตามแผน เม่ือมีการวางแผนแล้ว ส่ิงส�ำคัญที่สามารถ
ขบั เคล่อื นใหแ้ ผนบรรลุผล คอื การปฏิบัติตามแผน โดยจะต้องมกี ารจัดสรรทรัพยากรทม่ี ี
ใหส้ อดคล้องกับแผนทกี่ �ำหนดไว้
Check คอื การตรวจสอบ การตดิ ตามและประเมนิ ผล ซงึ่ สำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผ่นดนิ ไดม้ กี ารติดตามผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ รายเดือน รายไตรมาส และรายปี

252 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

Act คือ การปรับปรุงการด�ำเนินการอย่างเหมาะสม หรือการจัดท�ำ
มาตรฐานใหม่ ซ่ึงถือเป็นพื้นฐานของการยกระดับคุณภาพ โดยการปรับปรุงการด�ำเนิน
โครงการ/กจิ กรรม ตา่ ง ๆ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ คมุ้ คา่ และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประชาชน
โดยในสว่ นของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จะไดม้ กี ารทบทวนแผนการปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี
ในชว่ งกลางปงี บประมาณ และในชว่ งไตรมาสสดุ ทา้ ยเพอื่ เรง่ รดั และปรบั ปรงุ วธิ กี ารดำ� เนนิ งาน
เพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายตามแผนทไี่ ด้วางไว้
๘.๑.๗ ผลลพั ธ์การดำ� เนินการ - ส�ำนักงานผ้ตู รวจการแผ่นดนิ มีการประเมินผล
การดำ� เนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิงานและแผนการเบกิ จ่ายงบประมาณประจ�ำปี โดยกำ� หนด
ใหห้ นว่ ยงานภายในรายงานความคบื หนา้ การปฏบิ ตั งิ านรายเดอื น รายไตรมาส ตอ่ ผบู้ รหิ าร
และมกี ารสรปุ และประเมนิ ผลตามแผนในชว่ งสน้ิ ปงี บประมาณ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซงึ่ ขอ้ มลู ในการ
จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปใี นรอบปงี บประมาณถดั ไป และนอกจากนี้ สำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ ยงั ดำ� เนนิ การวเิ คราะหค์ วามเสยี่ งในการปฏบิ ตั งิ านเพอื่ หาแนวทางปอ้ งกนั และแกไ้ ข
ดว้ ยการควบคมุ ภายใน เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มปี ระสทิ ธภิ าพ
มากยง่ิ ขึ้น
นอกจากน้ี ในการปฏบิ ตั งิ านตามแผนยทุ ธศาสตรข์ องสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ฉบับท่ี ๓ (ฉบับปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ ส�ำนกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ ได้รายงานผล
การปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณตามตัวช้ีวัด ผลผลิตและข้ันตอนการปฏิบัติงาน
พร้อมทั้งระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข ต่อส�ำนักงบประมาณ โดยรายงานผล
การปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (ระบบ BB
EvMIS) เป็นรายเดือนและรายไตรมาส เพ่ือให้ส�ำนักงบประมาณติดตามความก้าวหน้า
การดำ� เนนิ การของแผนงาน/ โครงการเปน็ รายเดอื น และรวบรวมรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน
และการใช้จา่ ยงบประมาณเสนอต่อคณะรฐั มนตรตี อ่ ไป
จากการด�ำเนินการในมิติต่าง ๆ ข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของ
สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ในการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารงานของสำ� นกั งานผตู้ รวจการ
แผ่นดินให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้นโดยเน้นการท�ำงานอย่างมีทิศทางและเป้าหมายในทุก
มติ ิ ควบคไู่ ปกบั การใหค้ วามสำ� คญั กบั การตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ บั บรกิ าร

ผูต้ รวจการแผน่ ดิน 253

ซึ่งอาจเทียบเคียงได้กับหลักการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการ
ตามทสี่ �ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการมาใช้เป็นตวั ชวี้ ัดกับหน่วยงานราชการ
ในปัจจุบัน ถึงแม้ว่าองค์กรผู้ตรวจการแผ่นดินจะเป็นองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญมิได้
ถกู ตรวจสอบการบรหิ ารงานภายในจากสำ� นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการกต็ าม
แตด่ ว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ เหน็ วา่ การดำ� เนนิ งานในกรอบแนวทางดงั กลา่ ว จะเปน็ เครอื่ งมอื
ในการจัดท�ำกรอบแนวคิดการท�ำงานให้มีทิศทางและเป้าหมายในการท�ำงานในทุกมิติได้
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จงึ ไดย้ ดึ หลกั การบรหิ ารกจิ การภายใน
ตามวสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธต์ า่ ง ๆ ขา้ งตน้ อันจะเปน็ ประโยชนโ์ ดยรวม
ต่อประชาชนผู้รบั บรกิ ารต่อไป

ภาพการจัดกจิ กรรมร่างแผนยทุ ธศาสตร์ของสำ� นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดนิ ฉบับท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๕

254 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

๘.๒ บทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดนิ ในเวทรี ะหวา่ งประเทศ

๘.๒.๑ การประชมุ ระดบั โลกวา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศ ครง้ั ที่ ๑๑

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดเ้ ปน็ เจา้ ภาพจดั การประชมุ ระดบั โลกวา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ระหว่างประเทศครั้งที่ ๑๑ (The 11th IOI World Conference) ซึ่งการเป็นเจ้าภาพ
จัดประชุมระดับโลกในคร้ังน้ี ถือเป็นเกียรติของประเทศไทยที่ได้รับเลือก ซ่ึงจะสามารถ
เสรมิ สรา้ งภาพลกั ษณแ์ ละความเชอ่ื มนั่ ใหก้ บั ประเทศตา่ ง ๆ ทงั้ น้ี สำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ได้พิจารณาด�ำเนินการโดยยึดถือผลประโยชน์และศักดิ์ศรีของชาติในเวทีโลกเป็นส�ำคัญ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประเทศไทย การประชมุ ดงั กลา่ วไดม้ ขี นึ้ ณ กรงุ เทพมหานคร
ระหว่างวันที่ ๑๓ - ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ภายใต้หวั ขอ้ หลัก “วิวัฒนาการของความเป็น
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ” (Evolution of Ombudsmanship) โดยการดำ� เนนิ การจดั การประชมุ
ดังกล่าวประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ๔ ประการ ได้แก่ การประชุมคณะกรรมการบริหาร
(Board of Directors Meeting) ระหวา่ งวันท่ี ๑๓ - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ การประชุม
สมัชชาสามัญ (General Assembly) ในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ การบรรยาย
โดยผู้ตรวจการแผ่นดินและผู้ทรงคุณวุฒิจากประเทศต่าง ๆ ระหว่างวันท่ี ๑๖ - ๑๘
พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙ และการศกึ ษาดงู านเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรม ในวนั ที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๙
ท้ังนี้ ก่อนเริ่มการประชุมดังกล่าวสมาชิกผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมกันถวายความอาลัยแด่
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และไดแ้ สดงความเสยี ใจและความเหน็ ใจ
ตอ่ การสญู เสยี ครั้งยิ่งใหญข่ องประชาชนชาวไทยอีกดว้ ย
ทั้งน้ี ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ ฝ่ายเลขาธิการสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่าง
ประเทศได้จัดสง่ มตทิ ี่ประชมุ คณะกรรมการบริหาร ณ กรุงเทพมหานคร มายงั ผู้ตรวจการ
แผ่นดนิ ไทย โดยส่วนหนง่ึ ของมติที่ประชมุ ดังกล่าวไดม้ ถี อ้ ยค�ำแสดงความช่นื ชมส�ำนักงาน
ผู้ตรวจการแผ่นดินที่ได้วางแผนด�ำเนินงานอย่างยอดเย่ียมในการจัดเตรียมและด�ำเนินการ
ประชุมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าประสงค์ ทั้งน้ี มติที่ประชุม
ดังกล่าวมีสาระส�ำคัญซึ่งได้ถูกน�ำไปบรรจุในวาระการประชุมสมัชชาสามัญของสถาบัน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศเพอื่ เสนอตอ่ สมาชกิ ทม่ี สี ทิ ธอิ อกเสยี งตอ่ ไปสรปุ ได้ ดงั นี้

ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 255

๑. การพิจารณารับสมาชิกใหม่จากคุณสมบัติตามเกณฑ์ข้อบังคับของสถาบัน
ผตู้ รวจการแผน่ ดินระหวา่ งประเทศ
๒. การประเมนิ การดำ� เนินการของสมาชกิ รวมถึงการเตรียมการประชุมสมชั ชา
สามญั โดยทปี่ ระชมุ ไดเ้ หน็ ชอบใหศ้ กึ ษาแนวทางการแกไ้ ขขอ้ บงั คบั ของสถาบนั ผตู้ รวจการ
แผ่นดินระหว่างประเทศบางประการ เช่น บทบัญญัติเก่ียวกับจ�ำนวนองค์ประชุมของ
การประชุมสมัชชาสามัญ และการพิจารณาการอนุญาตให้สมาชิกเข้าร่วมประชุมทางไกล
โดยชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
๓. การรับรองการปฏิรูปโครงสร้างค่าธรรมเนียมสมาชิกให้มีความเป็นธรรม
มากย่ิงขึน้
๔. การจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตรส์ ถาบนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศปี ๒๕๕๙
- ๒๕๖๓ ซึ่งประกอบด้วยเป้าหมาย ๖ ประการ ได้แก่ การขยายฐานสมาชิก การให้
การสนบั สนนุ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทอี่ ยภู่ ายใตภ้ าวการณท์ คี่ กุ คาม การฝกึ อบรมและแลกเปลย่ี น
เรียนรู้ การสอื่ สารและสงิ่ พมิ พ์ การมีสถานภาพทางการเงนิ ทดี่ ี และความทา้ ทายใหม่
๕. แนวทางการสนบั สนนุ องคก์ รผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทอ่ี ยภู่ ายใตภ้ าวการณค์ กุ คาม
ซงึ่ นำ� ไปสกู่ ารนำ� เสนอรา่ งปฏญิ ญากรงุ เทพฯ (Bangkok Declaration) เพอ่ื แสดงจดุ ยนื และ
ความมงุ่ มน่ั ของสถาบนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศในการสนบั สนนุ องคก์ รผตู้ รวจการ
แผ่นดนิ
๖. การรายงานความสำ� เรจ็ ของการศกึ ษาเปรยี บเทยี บองคก์ รผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ในภูมภิ าคเอเชยี และการกำ� หนดใหม้ กี ารศกึ ษาเปรียบเทียบในภมู ภิ าคแอฟรกิ าต่อไป
๗. การรบั ทราบรายงานความเปน็ ไปไดเ้ กย่ี วกบั การเงนิ และสถานภาพทางการเงนิ
ซึ่งอยูใ่ นระดบั ดมี าก
๘. การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งสถาบนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศและ
องค์กรอื่นในรปู แบบการจัดท�ำบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding :
MOU) กับ Forum of Canadian Ombudsman (FCOX) และ Office for Democratic
Institution and Human Rights (ODIHR)

256 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

๙. การจัดฝึกอบรมให้แก่องค์กรผู้ตรวจการแผ่นดินที่มีอ�ำนาจหน้าท่ีด้านกลไก
การปอ้ งกนั ชาติ และสนบั สนนุ โครงการสนบั สนนุ ประชาธปิ ไตยของยเู ครนใต้ โดยการจดั การ
ฝึกอบรมเกี่ยวกับบทบาทอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการคุ้มครองสิทธิของ
ผู้ต้องขังเพ่ือให้สมาชิกได้รับสิทธิประโยชน์อย่างท่ัวถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพ่ือขับเคล่ือน
ใหส้ ถาบนั ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ ระหว่างประเทศเป็นองคก์ รที่ไดม้ าตรฐานสากล
การด�ำเนินการจัดประชุมในฐานะเจ้าภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์และได้รับ
ผลสำ� เรจ็ อยา่ งดยี ง่ิ ประเทศไทยมโี อกาสแสดงถงึ การเปน็ ผนู้ ำ� ในภมู ภิ าคเอเชยี ในทกุ ๆ ดา้ น
โดยมภี าครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชนรว่ มกนั สนบั สนนุ ทงั้ นี้ การจดั ประชมุ ดงั กลา่ ว
ไม่เพียงแต่เป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้ประเทศไทยได้น�ำเสนอตัวอย่างผลการด�ำเนินงานที่ดี
ของภาครฐั ในดา้ นการอำ� นวยความยตุ ธิ รรมและคมุ้ ครองสทิ ธขิ องประชาชน แตย่ งั เปน็ เวที
ในการแลกเปลย่ี นองคค์ วามรแู้ ละประสบการณด์ า้ นธรรมาภบิ าลโดยการนำ� เสนอการดำ� เนนิ งาน
ท่ีเป็นเลิศจากผู้ตรวจการแผ่นดินประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก ไม่ว่าจะเป็นการน�ำเสนอและ
ร่วมแลกเปล่ยี นความเหน็ ในหัวขอ้ Collaboration with civil society -benefits and
challenges และ Ombudsmen in times of crises or under threat ทำ� ใหผ้ ู้เข้าร่วม
ประชุมสามารถน�ำความรู้ดังกล่าวไปปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละประเทศอีกด้วย
ย่ิงไปกว่านั้น เวทีดังกล่าวได้จัดให้มีกิจกรรมการเท่ียวเชิงศิลปวัฒนธรรมส�ำหรับคู่สมรส
ซงึ่ นบั วา่ เปน็ โอกาสสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
ให้เป็นที่ประจักษ์ระดับนานาชาติ ส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนต่างชาติถึง
ความม่ันคงและศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นการเพ่ิม
ศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
ในการน้ี พลเอก วทิ วสั รชตะนนั ทน์ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ทนประธาน
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดป้ ฏบิ ตั ภิ ารกจิ แรกภายหลงั การไดร้ บั เลอื กตง้ั จากสมาชกิ ทม่ี สี ทิ ธอิ อกเสยี ง
ในภูมิภาคเอเชียให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการบริหารระดับภูมิภาคเอเชีย (Asian Director)
ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไทยคนแรกทไี่ ดร้ บั เลอื กตงั้ ใหด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ดงั กลา่ วรว่ มกบั
ผู้แทนจากหน่วยงาน Anti – Corruption and Civil Rights Commission (ACRC)
แหง่ สาธารณรฐั เกาหลี และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แหง่ แควน้ สนิ ธ์ สาธารณรฐั อสิ ลามปากสี ถาน

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 257

ในการเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการบริหารของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่าง
ประเทศร่วมกบั กรรมการบรหิ ารระดบั ภมู ภิ าค ทง้ั ๖ ภมู ิภาค ส�ำหรบั การประชุมสมัชชา
สามญั ซงึ่ เป็นการประชุมในกลมุ่ สมาชกิ ทีม่ ีสทิ ธอิ อกเสียง (Voting Member) ของสถาบนั
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศเปน็ ประจำ� ทกุ ๆ ๔ ปี ควบคไู่ ปกบั การประชมุ ระดบั โลก
ของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่างประเทศ เพ่ือให้เหล่าสมาชิกท่ีมีสิทธิออกเสียง
ไดร้ บั ฟงั ความคบื หนา้ และพจิ ารณาประเดน็ วาระตา่ ง ๆ เกย่ี วกบั การบรหิ ารและการพฒั นา
กิจการภายในของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่างประเทศ ซ่ึงการประชุมในคร้ังน้ี
มอี งคก์ รของสถาบนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศเขา้ รว่ มกวา่ ๘๐ องคก์ ร โดยฝา่ ยบรหิ าร
ได้น�ำประเด็นวาระต่าง ๆ ตามท่ีที่ประชุมคณะกรรมการบริหารมีมติเห็นชอบน�ำเสนอต่อ
เหล่าสมาชิกเพื่อร่วมกันพิจารณา และร่วมเสนอความเห็นในเร่ืองต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง
อาทิ การรายงานความสำ� เรจ็ และโครงการตา่ ง ๆ ในชว่ งระยะเวลา ๔ ปี ทผ่ี า่ นมา การประเมนิ
องค์กรสมาชิก การปฏิรูปกฎการเลือกตั้งฝ่ายบริหาร การศึกษาเปรียบเทียบองค์กร
ผู้ตรวจการแผ่นดินในภูมิภาคเอเชีย สถานภาพทางการเงิน การก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์
การรายงานความคืบหน้าของแต่ละภูมิภาค รวมถึงการประกาศปฏิญญากรุงเทพฯ
(Bangkok Declaration)
ย่ิงไปกว่าน้ัน ความส�ำเร็จประการส�ำคัญของผู้ตรวจการแผ่นดินไทยในเวทีระดับ
นานาชาติ ได้แก่ การได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงอย่างเป็นเอกฉันท์จากท่ีประชุม
คณะกรรมการบริหาร ณ กรุงเทพมหานคร ให้ด�ำรงต�ำแหน่งเหรัญญิก (Treasurer)
โดยเป็นคร้ังแรกที่ผู้ตรวจการแผ่นดินจากภูมิภาคเอเชียได้รับเลือกตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ดังกล่าว และการได้รับเลือกต้ังอย่างเป็นเอกฉันท์ในคร้ังนี้ถือเป็นเคร่ืองบ่งช้ีส�ำคัญให้
นานาประเทศประจักษ์ว่าผู้ตรวจการแผ่นดินไทยได้แสดงศักยภาพอย่างโดดเด่นกระทั่ง
ได้รับการยอมรับจากผู้ตรวจการแผ่นดินในเวทีระดับสากลให้ด�ำรงต�ำแหน่งหน่ึงในห้าฝ่าย
บริหารของคณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) ซ่ึงนับเป็นโอกาสและ
เป็นเกียรติของประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกอีกด้วย

258 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ภาพการจดั งานการประชมุ ระดับโลกว่าดว้ ยผู้ตรวจการแผ่นดนิ ระหวา่ งประเทศ ครั้งท่ี ๑๑

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 259

คณะกรรมการบริหารสถาบนั ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ ระหว่างประเทศ (Executive Committee)

ส�ำหรับผู้ด�ำรงต�ำแหน่งคณะกรรมการบริหารสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่าง
ประเทศ (Executive Committee) ในปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓ ประกอบด้วย
๑. Mr. Peter Tyndall
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ แหง่ ไอรแ์ ลนด ์
ด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานสถาบันผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศ
๒. Ms. Diane Wellborn
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ แห่งเมืองเดยต์ นั และมอนทโ์ กเมอรี
รฐั โอไฮโอ สหรัฐอเมรกิ า
ด�ำรงต�ำแหน่ง รองประธานลำ� ดับท่ี ๑

260 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๓. Mr. Chris Field
ผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งรัฐเวสเทริ ์นออสเตรเลีย เครอื รฐั ออสเตรเลยี
ด�ำรงต�ำแหน่ง รองประธานลำ� ดับท่ี ๒

๔. พลเอก วทิ วสั รชตะนนั ทน์
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แห่งราชอาณาจักรไทย
ปฏิบตั ิหน้าท่ีแทนประธานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ดำ� รงตำ� แหนง่ เหรญั ญิก

๕. Dr. Günther Kräuter
ผตู้ รวจการแผ่นดินแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย
ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขาธกิ าร

ดังนั้น การท่ีผู้ตรวจการแผ่นดินไทยได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบัติน้าที่ในต�ำแหน่ง
เหรัญญิก ของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่างประเทศ จึงนับเป็นโอกาสอันดีท่ี
ผู้ตรวจการแผ่นดินไทยจะได้ร่วมเป็นส่วนส�ำคัญของสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่าง
ประเทศ ในการขบั เคลอื่ นและสนบั สนนุ องคก์ รผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทวั่ โลก เพอื่ ใหเ้ ปน็ กลไก
ในการเสรมิ สรา้ งธรรมาภบิ าลภาครฐั เยยี วยาแกไ้ ขขอ้ ทกุ ขร์ อ้ นแกป่ ระชาชนใหท้ กุ ภาคสว่ น
ได้รับความเป็นธรรมอย่างเท่าเทียมและเหมาะสมตามหลักการและแนวคิดความเป็น
ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ (Ombudsmanship) อนั เปน็ ทีย่ ึดถือตามหลักสากลมาอยา่ งยาวนาน

ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ 261

๘.๒.๒ การแก้ไขปัญหาของนกั ศกึ ษาไทยทีศ่ กึ ษาในสาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย

ด้วยเมื่อปี ๒๕๕๘ ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ ร่วมกับ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แหง่ สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี เพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาระบบการแกไ้ ขปญั หา
เรอ่ื งรอ้ งเรยี น การแลกเปลย่ี นองคค์ วามรแู้ ละประสบการณร์ ะหวา่ งหนว่ ยงาน การแสวงหา
จุดที่เป็นผลประโยชน์ร่วมกัน และการแก้ไขปัญหาของประชาชนของประเทศคู่ภาคี
และเพื่อเป็นการด�ำเนินการภายใต้กรอบความร่วมมือทวิภาคีข้างต้น ผู้ตรวจการแผ่นดิน
(พลเอก วทิ วสั รชตะนนั ทน)์ ปฏิบตั หิ นา้ ทแ่ี ทนประธานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และคณะไดเ้ ดินทาง
เยือนสาธารณรัฐอินโดนีเซียเพ่ือเข้าร่วมการประชุมเชิงนโยบายร่วมกับผู้ตรวจการแผ่นดิน
แห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย และเผยแพร่บทบาทอำ� นาจหน้าท่ีของผู้ตรวจการแผ่นดินและ
รบั ฟังปญั หาของนกั ศึกษาไทยทเ่ี ดนิ ทางมาศกึ ษาในระดบั อดุ มศึกษา ณ กรงุ จาการต์ า และ
จงั หวดั ยอ็ กยาการต์ า ประมาณ ๑,๙๐๐ ราย โดยสถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ กรงุ จาการต์ า
ไดร้ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั นกั ศกึ ษาไทยทไี่ ปศกึ ษาตอ่ ทส่ี าธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี สว่ นใหญศ่ กึ ษา
ในมหาวทิ ยาลยั ในกรงุ จาการต์ า จงั หวดั ยอ็ กยาการต์ า และพนื้ ทโ่ี ดยรอบจงั หวดั ยอ็ กยาการ์
ตา สาขาวชิ าทไี่ ดร้ บั ความนยิ มคอื สายศลิ ปศาสตร์ เชน่ ศาสนาอสิ ลาม ศลิ ปศาสตร์ ครศุ าสตร์
และศึกษาศาสตร์ เป็นต้น และสายวิทยาศาสตร์ เช่น เภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์
พยาบาล และวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น นักศึกษาไทยในสาธารณรัฐอินโดนีเซียส่วนใหญ่
นบั ถือศาสนาอสิ ลามและมีภมู ลิ �ำเนาอยู่ใน ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยร้อยละ ๕๐ ของ
นกั ศกึ ษาไดร้ บั ทนุ การศกึ ษาจากรฐั บาลอนิ โดนเี ซยี ประมาณ ๕๐ ทนุ ตอ่ ปี และทนุ การศกึ ษา
จากองค์กรมูฮัมมาดิยะห์ ซึ่งเปน็ องค์กรทางศาสนา ประมาณ ๘๐ – ๑๐๐ ทุนต่อปี ท้ังนี้
นกั ศกึ ษาจะไดร้ บั การประสานดา้ นทนุ การศกึ ษาผา่ นศนู ยอ์ ำ� นวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ (ศอ.บต.) ซงึ่ พบวา่ นกั ศกึ ษาไทยในสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี มปี ญั หาและความเดอื ดรอ้ น
เกย่ี วกบั ปญั หาดา้ นการเทยี บวฒุ กิ ารศกึ ษาระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ของสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี
และมหาวิทยาลัยของประเทศไทย (กรณีคณะเภสัชศาสตร์) ปัญหาเกี่ยวกับการประกอบ
อาชพี ของผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในสาขาทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงานในประเทศไทย ปญั หา
ด้านค่ารักษาพยาบาลของนักศึกษาไทย และปัญหาการบริหารจัดการฐานข้อมูลของรัฐ
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดด้ ำ� เนนิ การแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ นของนกั ศกึ ษาไทยในสาธารณรฐั

262 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

อินโดนีเซีย โดยไดเ้ ชิญผ้แู ทนจากศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)
ร่วมประชุมหารือเพื่อรับทราบข้อเท็จจริงและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐ และผู้ตรวจการแผ่นดินได้มีการติดตามประสานงานกับ
ศูนย์อ�ำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง
และเป็นรปู ธรรม ซึง่ มรี ายละเอียดผลการดำ� เนินการ ดงั นี้
๑. ปัญหาด้านการเทียบวุฒิการศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยของสาธารณรัฐ
อินโดนีเซียและมหาวทิ ยาลยั ของประเทศไทย (กรณีนกั ศึกษาสาขาวิชาเภสชั ศาสตร์)
ศอ.บต. ดำ� เนนิ การประสานความรว่ มมอื ไปยงั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพอื่ แกไ้ ขปญั หา
โดยสภาเภสัชกรรมได้ให้การรับรองปริญญาเภสัชศาสตร์ของนักศึกษาไทยท่ีจบการศึกษา
จากสาธารณรัฐอินโดนีเซียภายใต้เง่ือนไขคือนักศึกษาต้องด�ำเนินการสอบวัดความรู้
ความสามารถและฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน ส�ำหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาในระยะยาว เหน็ ควรยตุ ิ
การใหท้ นุ นกั ศกึ ษาสาขาเภสัชศาสตร์ทเ่ี รียนหลกั สตู ร ๔ ปี ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ ทงั้ น้ี
ศอ.บต. ได้ประสานให้การช่วยเหลือนักศึกษาให้สามารถกู้ยืมเงินจากกองทุนเงินให้กู้ยืม
เพอื่ การศกึ ษาเปน็ กรณีพเิ ศษ เพอื่ ใชจ้ ่ายระหวา่ งฝึกปฏิบัติงานในประเทศดว้ ย
๒. ปญั หาเกยี่ วกบั การประกอบอาชพี ของผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในสาขาทไ่ี มส่ อดคลอ้ ง
กบั ตลาดแรงงานในประเทศไทย
ศอ.บต. ไดแ้ นะนำ� นกั ศกึ ษาทจ่ี บการศกึ ษาดา้ นศาสนาทย่ี งั ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชพี
ให้เสริมความรู้ด้านภาษาและด้านวิชาชีพอ่ืนๆ เพ่ือให้เป็นช่องทางในการประกอบอาชีพ
ส่วนนักศึกษาท่ีจบการศึกษาในด้านอื่น ศอ.บต. ได้จัดหาแหล่งงานส�ำหรับการประกอบ
อาชีพของนักศึกษาที่จบการศึกษา โดยประสานไปยังเอกชนเพื่อจัดหาแหล่งงาน
ตามภมู ลิ ำ� เนาของนกั ศกึ ษาและแนะนำ� ใหน้ กั ศกึ ษาไปทำ� งานนอกพนื้ ทภี่ มู ลิ ำ� เนาของตวั เอง
ตามสายงานทีจ่ บการศึกษา ส�ำหรบั นกั ศึกษาทก่ี ำ� ลังจะเดนิ ทางไปศกึ ษาต่อในต่างประเทศ
ศอ.บต. ไดจ้ ดั กจิ กรรมมหกรรมดา้ นการศกึ ษาเพอ่ื แนะนำ� ใหศ้ กึ ษาตอ่ ในดา้ นอน่ื ๆ นอกจาก
ด้านศาสนา เช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ เป็นต้น เพื่อให้
นักศึกษาท่ีจบการศึกษากลับมายังภูมิล�ำเนาแล้วสามารถน�ำความรู้ที่ได้มาใช้ในการ

ผู้ตรวจการแผ่นดิน 263

ประกอบอาชพี ต่อไปได้ พรอ้ มท้งั ได้เตรียมความพร้อมดา้ นภาษาตา่ งประเทศ (จนี องั กฤษ
อาหรบั บาฮาซาอนิ โดนเี ซยี ) ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาทจ่ี ะเดนิ ทางไปศกึ ษาตอ่ เพอื่ เปน็ การแกไ้ ขปญั หา
อย่างเปน็ ระบบ
๓. ปญั หาด้านคา่ รกั ษาพยาบาลของนักศึกษาไทย
ศอ.บต. ได้ประสานงานร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือพิจารณาแนวทาง
การจดั ทำ� หลกั ประกนั สขุ ภาพ/ประกนั อบุ ตั เิ หตใุ หแ้ กน่ กั ศกึ ษาไทยในสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี
เพื่อรองรับค่ารกั ษาพยาบาลในกรณฉี ุกเฉนิ
๔. ปัญหาการบรหิ ารจัดการฐานขอ้ มลู ของรฐั
๔.๑ ศอ.บต. ได้จัดตง้ั ศนู ยป์ ระสานงานนกั ศกึ ษาไทยจงั หวัดชายแดนภาคใต้
ในต่างประเทศซึ่งประกอบด้วย ชมรมนักศึกษาไทยที่ศึกษาอยู่ในต่างประเทศ สมาคม
ศิษย์เก่านักศกึ ษาไทยในต่างประเทศ ชมรมผูป้ กครองนักศกึ ษาไทยจังหวดั ชายแดนภาคใต้
ในตา่ งประเทศ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เปน็ หนว่ ยประสานงานเครอื ขา่ ยทงั้ ภาครฐั และเอกชน
และเป็นศูนย์กลางในการดูแลนักศึกษาอย่างทั่วถึงในทุกประเทศและต่อเนื่องต้ังแต่ก่อน
เดนิ ไปศกึ ษา ระหว่างการศึกษา จนกระท่งั ส�ำเร็จการศกึ ษา รวมถงึ การเทียบวฒุ ิการศกึ ษา
และการสนบั สนนุ ขอ้ มลู เพ่ือการประกอบอาชีพ
๔.๒ ศอ.บต. ได้จัดท�ำเว็บไซต์ภายใต้ศูนย์ประสานงานนักศึกษาไทยจังหวัด
ชายแดนภาคใตใ้ นตา่ งประเทศ เพอ่ื เปน็ ชอ่ งทางในการใหข้ อ้ มลู เผยแพร่ และประชาสมั พนั ธ์
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ฯ และจัดท�ำระบบฐานข้อมูล
นักศึกษาไทยจงั หวัดชายแดนภาคใตท้ ่กี �ำลงั ศึกษา ในต่างประเทศ ปจั จุบันได้บนั ทกึ ข้อมลู
นักศึกษาลงในระบบแลว้ จำ� นวนทัง้ ส้นิ ๓,๗๒๔ คน (ขอ้ มูล ณ วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๐)
๔.๓ ศอ.บต.ด�ำเนินการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ
เช่น สถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลใหญ่ ที่มีนักศึกษาไทยไปศึกษาเป็นจ�ำนวนมาก
(สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี สาธารณรฐั อาหรบั อยี ปิ ต)์ เพอ่ื กำ� หนดเงอ่ื นไขการขอตรวจ
ลงตรา (วีซ่า) ก่อนเดินทางไปศึกษาต่อ เพื่อจัดเก็บข้อมูลของนักศึกษาท่ีประสงค์จะไป
ศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศและได้ขอวซี ่าเรียบรอ้ ยแล้ว

264 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

คณะผ้ตู รวจการแผน่ ดินได้ประชมุ หารือร่วมกับเอกอัครราชทูตไทย ณ กรงุ จาการต์ า
ในระหวา่ งวนั ท่ี ๒๗ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐

ผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 265

๘.๒.๓ การแก้ไขปญั หาของผใู้ ชแ้ รงงานชาวไทยในสาธารณรฐั เกาหลี

ผู้ตรวจการแผ่นดินได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจร่วมกับคณะกรรมการต่อต้าน
การทุจริตและสทิ ธพิ ลเมอื งแหง่ สาธารณรฐั เกาหลี (Anti - Corruption and Civil Rights
Commission หรอื ACRC) เม่ือปี ๒๕๕๔ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญ่ีปนุ่ และได้มกี ารลงนาม
ขยายกรอบระยะเวลาต่ออีกจนถึงปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ
ระหวา่ งหนว่ ยงานทงั้ สองในดา้ นการพฒั นาระบบแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นเพอื่ แลกเปลย่ี น
ประสบการณ์ เรยี นรจู้ ดุ เดน่ ของระบบของแตล่ ะภาคี แสวงหาจดุ ทเี่ ปน็ ผลประโยชนร์ ว่ มกนั
และเพ่ือแก้ไขความทุกข์ร้อนและความไม่สะดวกท่ีประชาชนของประเทศคู่ภาคีประสบ
ในการดำ� รงชวี ติ ซงึ่ ทผ่ี า่ นมาสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และหนว่ ยงาน ACRC ไดป้ ระสาน
ความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ
พลเมอื งไทยในสาธารณรฐั เกาหลแี ละพลเมอื งเกาหลใี นประเทศไทยไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง
และเปน็ ธรรม ซง่ึ เปน็ การคมุ้ ครองสทิ ธพิ ลเมอื งไทยและพลเมอื งเกาหลใี หไ้ ดร้ บั ความเปน็ ธรรม
ได้อยา่ งดีย่งิ
ทง้ั นี้ เมอ่ื วนั ที่ ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ (พลเอก วทิ วสั รชตะนนั ทน)์
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ ทนประธานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ (นายบรู ณ์ ฐาปนดลุ ย)์
พร้อมคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน หน่วยงาน ACRC โดย
Mr.Kim In-soo เลขาธิการและรองประธาน ACRC พรอ้ มคณะเจา้ หน้าท่ี และ Mr. Seo
Young-ho เจา้ หนา้ ทก่ี ระทรวงยตุ ธิ รรมแหง่ สาธารณรฐั เกาหลี (ฝา่ ยวางแผนตรวจคนเขา้ เมอื ง)
และไดร้ บั ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดจี ากเอกอคั รราชทตู ไทย ณ กรงุ โซล (นายศรณั ย์ เจรญิ สวุ รรณ)
และคณะเจา้ หน้าทีข่ องสถานเอกอัคราชทูตไทย ณ กรงุ โซล ได้พบปะพดู คุยกบั ผ้ใู ชแ้ รงงาน
ชาวไทยในสาธารณรฐั เกาหลี เกยี่ วกบั สภาพการจา้ งงานและการทำ� งานในสาธารณรฐั เกาหลี
ตลอดจนรบั แจง้ ปญั หาความเดอื ดรอ้ น ซงึ่ คณะผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดป้ ระสานกบั หนว่ ยงาน
ACRC เพื่อรับปัญหาความเดือดร้อนของแรงงานชาวไทยไปด�ำเนินการและแก้ไขปัญหา
ดงั กลา่ ว โดยเฉพาะปญั หามลภาวะทเ่ี ปน็ อนั ตรายในสถานทท่ี ำ� งาน คา่ จา้ งแรงงานทตี่ ำ่� กวา่
มาตรฐาน และกรณีผใู้ ช้แรงงานถูกนายจ้างเอาเปรยี บ เป็นต้น ผลจากการรบั ฟังปัญหาของ
ผูใ้ ชแ้ รงงานชาวไทยในวันดงั กล่าว สามารถสรุปปัญหาได้ ๒ ลักษณะดังน้ี

266 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

๑. ปญั หาผใู้ ชแ้ รงงานชาวไทยลกั ลอบเขา้ ไปทำ� งานในสาธารณรฐั เกาหลโี ดยเดนิ ทาง
เขา้ ไปในลกั ษณะของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ทไ่ี ดร้ บั สทิ ธยิ กเวน้ ตรวจลงตราเพอ่ื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว
และพ�ำนักอยู่ในประเทศได้ถึง ๙๐ วัน ซ่ึงมีผู้ใช้แรงงานชาวไทยหลบหนีเข้าไปท�ำงานใน
สาธารณรฐั เกาหลโี ดยผดิ กฎหมาย มจี ำ� นวนมากกวา่ ๕๕,๐๐๐ คน และเปน็ ปญั หาทตี่ อ้ งหา
แนวทางแก้ไขโดยด่วน เพราะอาจส่งผลกระทบต่อโควตาของผู้ใช้แรงงานชาวไทยท่ีจะได้
รับอนุญาตให้เข้าไปท�ำงานโดยถูกกฎหมาย และส่งผลต่อนักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีอาจไม่ได้
รับอนญุ าตใหผ้ า่ นเขา้ ไปท่องเทีย่ วในสาธารณรัฐเกาหลแี ละต้องถกู ส่งตัวกลับในทนั ที
๒. ผู้ใช้แรงงานชาวไทยที่ถูกกฎหมายและได้ท�ำงานในสาธารณรัฐเกาหลีมาเป็น
เวลานาน จัดเปน็ แรงงานมีฝีมอื มีความร้ภู าษาเกาหลี มคี วามรู้เกี่ยวกับงานทจ่ี ้างเปน็ อยา่ งดี
และมปี ระสบการณใ์ นการทำ� งานถอื เปน็ แรงงานทม่ี คี ณุ ภาพและเปน็ ทไ่ี วว้ างใจของนายจา้ ง
ซึง่ ตอ้ งการว่าจ้างให้ทำ� งานต่อไป แตก่ ฎหมายแรงงานของสาธารณรฐั เกาหลกี �ำหนดใหจ้ ้าง
แรงงานต่างชาติไดถ้ งึ อายุ ๔๐ ปีเท่านัน้ ดังนนั้ เมือ่ ผูใ้ ชแ้ รงงานท่มี ีอายเุ กนิ ๔๐ ปี จงึ ไมไ่ ด้
รับอนญุ าตให้ท�ำงานในสาธารณรฐั เกาหลี เปน็ เหตใุ หม้ ีการลักลอบทำ� งานโดยผิดกฎหมาย
ซึ่งจากสถิติประมาณการของส�ำนักงานตรวจคนเข้าเมืองแห่งสาธารณรัฐเกาหลีคาดว่ามี
ผใู้ ช้แรงงานชาวไทยกลุ่มนก้ี วา่ ๑๗,๐๐๐ คน (ขอ้ มลู ณ กันยายน ๒๕๕๙)
ตอ่ มา เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๖๐ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ไดม้ หี นงั สอื ถงึ นายกรฐั มนตรี
และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงแรงงาน เสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาของผใู้ ชแ้ รงงาน
ชาวไทยในสาธารณรัฐเกาหลี สรุปได้ดังน้ี
๑. ขอใหห้ นว่ ยงานดา้ นแรงงานของประเทศไทยในสาธารณรฐั เกาหลไี ดป้ ระสานงาน
กบั หนว่ ยงาน ACRC เพอ่ื แนะนำ� ใหค้ วามชว่ ยเหลอื กบั พลเมอื งไทยรวมทงั้ ผใู้ ชแ้ รงงานชาวไทย
ในสาธารณรัฐเกาหลีท่ีประสบปัญหาและตอ้ งการความชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยงานของรัฐ
๒. กรณีผู้ใชแ้ รงงานชาวไทยทมี่ ีอายุเกนิ ๔๐ ปี แตเ่ ปน็ แรงงานคณุ ภาพ ซ่อื สตั ย์
และเป็นที่ต้องการของนายจ้าง สมควรที่รัฐบาลของทั้งสองประเทศจะได้ประสานงานกัน
เพื่อหาแนวทางในการช่วยเหลือให้สามารถต่ออายุการท�ำงานให้ถูกต้อง เพื่อผลประโยชน์
รว่ มกนั ของประเทศไทยและสาธารณรฐั เกาหลี ทง้ั ฝา่ ยนายจา้ งและฝา่ ยลกู จา้ ง เชน่ การอนโุ ลม
ใหม้ กี ารตอ่ อายใุ หท้ ำ� งานไดป้ ตี อ่ ปไี ปกอ่ นเพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาผใู้ ชแ้ รงงานทผี่ ดิ กฎหมาย
เพ่มิ ข้ึนอีก

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 267

๓. ผ้ใู ช้แรงงานชาวไทยท้ังประเภทที่ถกู กฎหมายและท่ีไมถ่ ูกกฎหมาย มียอดรวม
ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ คน คำ� นวณจากรายไดข้ น้ั ตำ่� เฉลย่ี ประมาณ ๔๘,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
(สี่หมื่นแปดพันล้านบาท) ต่อปีหากรัฐบาลไทยเห็นเป็นการสมควรท่ีจะรักษาผลประโยชน์
ของผู้ใช้แรงงานชาวไทยน้ีไว้ต่อไป อาจพิจารณาให้ความช่วยเหลือโดยขอเจรจาเป็นการ
เฉพาะกับรัฐบาลสาธารณรัฐเกาหลีในประเด็นนี้ เพื่อให้มีการคัดกรองและนิรโทษกรรม
ให้กับผู้ใช้แรงงานชาวไทยท่ีไม่ถูกกฎหมาย แต่เป็นผู้ใช้แรงงานท่ีมีคุณภาพและมีทักษะ
ในการทำ� งาน ไดม้ ีโอกาสได้รับการจา้ งงานโดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย
๔. ควรมีการพิจารณาจัดต้ังศูนย์ประสานงานของผู้ใช้แรงงานชาวไทยตามเมือง
ตา่ ง ๆ ในสาธารณรัฐเกาหลี โดยเป็นความร่วมมือรว่ มกันของกลุ่มผใู้ ชแ้ รงงาน กระทรวง
การต่างประเทศ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ผลักดันให้มีการรวมกลุ่มผู้ใช้แรงงานชาวไทย
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาทางดา้ นแรงงานและชวี ติ ความเปน็ อยู่ มกี ารใหค้ ำ� ปรกึ ษาและคำ� แนะนำ�
เกย่ี วกบั การดำ� เนนิ ชวี ติ และทำ� งานในสาธารณรฐั เกาหลที ถ่ี กู ตอ้ งและมคี วามเปน็ อยทู่ ด่ี ขี นึ้
ตอ่ ไป
จากการเสนอแนะเพื่อให้มีการช่วยเหลือแรงงานไทยในสาธารณรัฐเกาหลีของ
ผตู้ รวจการแผ่นดิน กอ่ ให้เกดิ ผลการดำ� เนินงานท่เี ป็นรูปธรรมมากขน้ึ กลา่ วคือ กระทรวง
แรงงานของท้ังสองประเทศ ได้จัดท�ำบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการจัดส่งแรงงานไปท�ำงาน
ในสาธารณรัฐเกาหลีภายใต้ระบบการอนุญาตจ้างแรงงานต่างชาติท่ีก�ำหนดโควตาจ�ำนวน
แรงงานชาวไทยทสี่ ามารถเดนิ ทางไปประกอบอาชพี ในสาธารณรฐั เกาหลอี ยา่ งถกู กฎหมาย
ซ่ึงในปี ๒๕๕๙ รฐั บาลของสาธารณรฐั เกาหลีไดก้ ำ� หนดโควตาสำ� หรบั ผู้ใชแ้ รงงานชาวไทย
จ�ำนวน ๖,๑๐๐ ราย โดยแบ่งเปน็ กลุ่มอาชพี หลกั ๕ กลุ่ม ได้แก่ ภาคการผลติ ภาคก่อสร้าง
ภาคเกษตรและการผสมพนั ธส์ุ ตั ว์ ภาคประมง และภาคบรกิ าร อยา่ งไรกด็ จี ากการตรวจสอบ
ข้อมูลของส�ำนักงานตรวจคนเขา้ เมอื งแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ณ กันยายน ๒๕๕๙ ปรากฏวา่
มีพลเมืองไทยเดินทางเข้ามาในสาธารณรัฐเกาหลี จ�ำนวน ๙๔,๙๓๓ คน และพ�ำนักอยู่
เกนิ กำ� หนดเวลาที่ไดร้ ับอนุญาต (๙๐ วนั ) จ�ำนวน ๕๕,๖๓๗ คน (คิดเปน็ ร้อยละ ๕๘.๖)
ซึง่ คาดว่าส่วนใหญ่หรือเกือบทง้ั หมดเปน็ ผใู้ ชแ้ รงงานชาวไทยทีผ่ ิดกฎหมาย

268 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

นอกจากนี้ นายกรฐั มนตรไี ด้มบี ญั ชาให้กระทรวงการตา่ งประเทศ และกระทรวง
แรงงานพิจารณาขอ้ เสนอแนะของผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ แล้ว ซ่ึงการดำ� เนินการของกระทรวง
แรงงานปรากฎผลดังตอ่ ไปน้ี
๑. ฝา่ ยแรงงาน ประจำ� สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ กรงุ โซล ไดห้ ารอื กบั หนว่ ยงาน
ACRC ในเบื้องต้นแลว้ โดยหน่วยงาน ACRC ยนิ ดีที่จะชว่ ยเหลอื ดแู ลผู้ใชแ้ รงงานชาวไทย
และขอให้ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ซึ่งเป็นหน่วยงานฝ่ายประเทศไทยช่วยเหลือดูแล
พลเมืองเกาหลใี นประเทศไทยเชน่ เดยี วกนั
๒. กระทรวงแรงงานไดจ้ ดั ตงั้ อาสาสมคั รแรงงานในสาธารณรฐั เกาหลี เพอ่ื ทำ� หนา้ ที่
ประสานความช่วยเหลือผู้ใช้แรงงานชาวไทยตลอดจนประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านแรงงาน
ปัจจุบนั มีอาสาสมัครแรงงานจำ� นวน ๑๑๙ คน กระจายอยตู่ ามเมอื งต่าง ๆ ในสาธารณรฐั
เกาหลี
๓. กรณีการตอ่ อายุการท�ำงานของผู้ใช้แรงงานชาวไทยทม่ี อี ายเุ กนิ ๔๐ ปี ข้นึ ไป
น้ัน ปัจจุบันกระทรวงการจ้างงานและแรงงานเกาหลีมีระบบการจ้างงานซ�้ำ (Re-entry
System) ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ใช้แรงงานต่างชาติที่ท�ำงานครบสัญญาจ้างแล้ว และอายุ
ยงั ไม่ถึง ๔๐ ปี สามารถต่ออายสุ ัญญาจา้ งไดอ้ ีก ๔ ปี ๑๐ เดอื น เชน่ ผู้ใช้แรงงานตา่ งชาติ
ทที่ �ำงานครบสัญญาจ้างเมื่ออายุ ๓๙ ปี หากตอ้ งการต่อสญั ญาจ้าง จะสามารถอยู่ต่อไดอ้ ีก
๔ ปี ๑๐ เดอื น
๔. กรณเี สนอใหม้ กี ารเจรจากบั รฐั บาลสาธารณรฐั เกาหลี เพอื่ ใหม้ กี ารคดั กรองและ
นิรโทษกรรมให้กับผู้ใช้แรงงานชาวไทยท่ีเข้าไปท�ำงานโดยไม่ถูกกฎหมายนั้น กระทรวง
แรงงานโดยอธิบดีกรมการจัดหางานและคณะได้เจรจากับคณะผู้แทนของส�ำนักงาน
ตรวจคนเขา้ เมอื งสาธารณรัฐเกาหลี เม่อื วนั ท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ โดยฝ่ายประเทศไทย
เสนอให้ฝ่ายสาธารณรัฐเกาหลีอนุญาตให้ผู้ใช้แรงงานชาวไทยกลุ่มดังกล่าวอยู่ท�ำงาน
ได้ช่ัวคราว หรืออนุญาตให้ผู้ที่รายงานตัวและเดินทางกลับประเทศสามารถเดินทางกลับ
เขา้ ไปทำ� งานในสาธารณรฐั เกาหลไี ดใ้ หม่ ซงึ่ ฝา่ ยสาธารณรฐั เกาหลรี บั วา่ จะประสานหนว่ ยงาน
ทเี่ ก่ียวข้อง และจะหารือรว่ มกบั สถานเอกอัครราชทตู ไทย ณ กรงุ โซล ต่อไป

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 269

ทงั้ น้ี กระทรวงแรงงานไดม้ อบหมายใหฝ้ า่ ยแรงงาน ประจำ� สถานเอกอคั รราชทตู ไทย
ณ กรงุ โซลพิจารณาด�ำเนนิ การในส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตามข้อเสนอแนะของผตู้ รวจการแผน่ ดิน
ด้วยแลว้
นอกจากนี้ เม่ือวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ หน่วยงาน ACRC ได้มอบรายงาน
การแกไ้ ขปญั หาเรอ่ื งรอ้ งเรยี นของผใู้ ชแ้ รงงานชาวไทยในสาธารณรฐั เกาหลใี หแ้ กผ่ ตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ ซง่ึ เปน็ กรณตี วั อยา่ งการแกไ้ ขปญั หาใหแ้ กผ่ รู้ อ้ งเรยี นชาวไทยอนั เปน็ ไปตามขอ้ ตกลง
ความร่วมมือของท้งั สององคก์ ร สรปุ ได้ว่า เมอื่ วนั ท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๐ หน่วยงาน ACRC
ได้รับเรื่องร้องเรียนจากผู้ใช้แรงงานชาวไทย ที่ท�ำงานในไร่สตรอเบอรี่ต้ังแต่เดือนสิงหาคม
๒๕๕๘ ในขณะนผ้ี รู้ อ้ งเรยี นตง้ั ครรภอ์ ายคุ รรภ์ ๓ เดอื น และประสงคจ์ ะฝากครรภแ์ ละขอรบั
การรักษาพยาบาลต่าง ๆ ในระหว่างต้ังครรภ์ โดยการเข้ารับบริการดังกล่าวมีอัตรา
ค่าใชจ้ า่ ยประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ วอน (ประมาณ ๖,๐๐๐ บาท) แต่เนอื่ งจากผู้รอ้ งเรยี นได้
โอนเงินเดือนของตนเองเกือบทั้งหมด ให้แก่ครอบครัวของตนเองในประเทศไทยไปแล้ว
จึงไม่มีทรัพย์สินมากพอส�ำหรับการเข้ารับบริการดังกล่าว อีกท้ังผู้ว่าจ้างไม่ได้ท�ำประกัน
สุขภาพให้กับลูกจ้าง หากผู้ร้องเรียนประสงค์ท่ีจะท�ำประกันสุขภาพให้แก่ตนเองตามแผน
ประกนั สขุ ภาพของรฐั บาล เพอื่ เขา้ รบั การฝากครรภท์ มี่ คี า่ บรกิ ารทตี่ ำ�่ ลง ผรู้ อ้ งเรยี นตอ้ งจา่ ย
เงนิ สมทบเพอื่ ทำ� ประกนั ยอ้ นหลงั ตงั้ แตว่ นั แรกทผ่ี รู้ อ้ งเรยี นเรม่ิ ทำ� งานในสาธารณรฐั เกาหลี
ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากและผู้ร้องเรียนไม่มีทรัพย์สินมากพอที่จะน�ำมาช�ำระค่าสมทบ
เพอื่ ทำ� ประกันได้
ในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว หน่วยงานประกันสุขภาพแห่งสาธารณรัฐเกาหลี
ได้ชี้แจงข้อมูลเก่ียวกับการท�ำประกันสุขภาพให้แก่ผู้ว่าจ้างของผู้ร้องเรียน และแนะน�ำให้
ผู้ว่าจ้างท�ำประกันสุขภาพให้แก่ลูกจ้างของตน ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างได้ด�ำเนินการท�ำ
ประกนั สขุ ภาพใหแ้ กล่ กู จา้ งเรยี บรอ้ ยแลว้ เมอ่ื วนั ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๐ และสง่ ผลใหผ้ รู้ อ้ งเรยี น
สามารถเข้ารับการฝากครรภ์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูง โดยในการท�ำประกันสุขภาพ
ผทู้ ำ� ประกนั หรอื ผวู้ า่ จา้ งจะตอ้ งจา่ ยคา่ สมทบเพอื่ ทำ� ประกนั ทอี่ ตั รา ๙๙,๕๐๐ วอนตอ่ เดอื น
(ประมาณ ๓,๐๐๐ บาท) และผรู้ ับประกนั หรือลูกจ้างจะต้องจ่ายคา่ สมทบเพอ่ื ทำ� ประกันท่ี
อัตรา ๓๘,๒๕๐ วอนตอ่ เดอื น (ประมาณ ๑,๒๐๐ บาท)

270 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

การรบั ฟงั ความคิดเหน็ และปัญหาความเดือดรอ้ นของผู้ใช้แรงงานชาวไทยในสาธารณรัฐเกาหลี
ของผู้ตรวจการแผ่นดินและผแู้ ทนจากหนว่ ยงาน ACRC

๘.๒.๔ บทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินในฐานะคณะกรรมการบริหารระดับ
กลมุ่ ภมู ภิ าคเอเชยี และคณะกรรมการบรหิ ารสถาบนั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศ

ในวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ผู้ตรวจการแผ่นดนิ (พลเอกวิทวสั รชตะนันทน์)
ปฏิบัติหน้าท่ีแทนประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน พร้อมด้วยคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่
ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้เข้าร่วมการประชุมสมัชชาสมาคมผู้ตรวจการแผ่นดิน
แห่งเอเชีย (AOA General Assembly) และการประชุมกลุ่มภูมิภาคเอเชียของสถาบัน
ผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่างประเทศ (IOI Asian Region Meeting) ณ ศูนย์การประชุม
Pyeongchang Resort Convention Center เมอื งเปียงชาง จงั หวดั กงั วอน โดยผตู้ รวจการ
แผน่ ดนิ พลเอก วิทวสั รชตะนันทน์ ปฏบิ ัติหนา้ ทแี่ ทนประธานผตู้ รวจการแผ่นดิน ในฐานะ
กรรมการบริหารระดับกลุ่มภูมิภาคเอเชียและเหรัญญิกของคณะกรรมการบริหารสถาบัน
ผตู้ รวจการแผน่ ดินระหว่างประเทศได้รบั เกียรติเปน็ ประธานการประชุมรว่ มกับ Mr. Sung
Yung-hoon ประธานหนว่ ยงาน ACRC แห่งสาธารณรัฐเกาหลี

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 271

โดยในวันท่ี ๑๗ – ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๐ คณะผู้ตรวจการแผ่นดินได้เข้าร่วม
การประชุมใหญ่สามัญสมาคมผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งเอเชีย ครั้งท่ี ๑๕ และการประชุม
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระดบั โลก ณ เมอื งเปยี งชาง (15th AOA General Assembly Meeting
& Pyeongchang Global Ombudsman Conference) ณ ศนู ยก์ ารประชมุ Pyeongchang
Resort Convention Center โดยผู้ตรวจการแผ่นดิน (พลเอก วิทวัส รชตะนันทน์)
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทแ่ี ทนประธานผตู้ รวจการแผน่ ดิน ในฐานะกรรมการบริหารระดบั กลมุ่ ภูมิภาค
เอเชียและเหรัญญิกของคณะกรรมการบริหารสถาบันผู้ตรวจการแผ่นดินระหว่างประเทศ
ไดร้ บั เกยี รตบิ รรยายในพธิ เี ปดิ การประชมุ ในวนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และเปน็ วทิ ยากร
บรรยายในการประชุมย่อย หัวขอ้ “Plans to Create Synergy for True Protectors of
Civil Rights” ในวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ โดยการบรรยายดังกล่าวไดร้ บั ความสนใจ
จากผเู้ ข้าร่วมประชมุ เป็นอยา่ งมาก

ผตู้ รวจการแผ่นดิน (พลเอก วิทวพั ลเอก วิทวัส รชตะนันทน์) ปฏบิ ัตหิ น้าท่แี ทนประธานผูต้ รวจการแผน่ ดนิ
และคณะผู้บริหารเขา้ ร่วมการประชุมสมัชชาสมาคมผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งเอเชีย (AOA General Assembly)
และการประชุมกลมุ่ ภูมภิ าคเอเชยี ของสถาบนั ผูต้ รวจการแผน่ ดินระหว่างประเทศ (IOI Asian Region Meeting)

272 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ (พลเอก วทิ วสั รชตะนันทน์) ปฏบิ ัติหนา้ ที่แทนประธานผู้ตรวจการแผ่นดินบรรยาย
ในพธิ ีเปดิ การประชุมในวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และเป็นวทิ ยากรบรรยายในการประชมุ ยอ่ ย
หวั ข้อ “Plans to Create Synergy for True Protectors of Civil Rights”

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 273

๘.๒.๕ การจัดท�ำบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีระหว่าง
ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยและกระทรวงการตรวจสอบแหง่ สาธารณรฐั
ประชาชนจีน

เมื่อวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ นายเซยี ว เผย (Mr. XIAO Pei) รฐั มนตรีช่วยวา่ การ
กระทรวงการตรวจสอบแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนและคณะได้เย่ียมคารวะผู้ตรวจการ
แผน่ ดินแห่งราชอาณาจกั รไทย และหารือข้อราชการในประเด็นการแลกเปล่ียนองคค์ วามรู้
เกี่ยวกับระบบการตรวจสอบ อ�ำนาจหน้าท่ี กระบวนการทำ� งาน แนวทางการปฏิบัติหนา้ ที่
ในการอ�ำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน และการสถาปนาความร่วมมือระดับทวิภาคี
ระหว่างส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวงการตรวจสอบ
แห่งสาธารณรฐั ประชาชนจนี ให้เป็นรปู ธรรมมากยง่ิ ข้นึ
ในการประชมุ หารอื ขอ้ ราชการขา้ งตน้ ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ (พลเอก วทิ วสั รชตะนนั ทน)์
ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน กล่าวถึง ความร่วมมือระดับทวิภาคีและ
พหุภาคีระหว่างส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินและกระทรวงการตรวจสอบแห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจนี ทมี่ มี านานกวา่ ทศวรรษ ผา่ นการแลกเปลยี่ นการเดนิ ทางเยอื นอยา่ งเปน็ ทางการ
และเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งเอเชีย (Asian Ombudsman
Association: AOA) ซึ่งช่วยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ทางเทคนิค
กระบวนการท�ำงาน การพัฒนาศักยภาพด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ
การตรวจสอบด้านการบริหารจัดการภาครัฐ รวมถึงแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาระบบ
การบริหารราชการ
หลังจากนั้นได้ลงนามในบันทึกความร่วมมือว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีระหว่าง
ผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวงการตรวจสอบแห่งสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสถาปนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างคู่ภาคี
ในการพัฒนาระบบการแก้ไขปัญหาเร่ืองร้องเรียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์เพ่ือที่คู่ภาคี

274 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

อาจเรียนรู้จุดเด่นของระบบแต่ละภาคี และแสวงหาจุดที่เป็นประโยชน์ร่วมกัน ภายใต้
หลักการท่ีคภู่ าคจี ะส่ือสารและรว่ มมือกนั ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อมลู เรยี นรู้
จดุ เดน่ ของระบบของแตล่ ะฝา่ ยและสง่ เสรมิ การทำ� งานของหนว่ ยงานคภู่ าคี ผา่ นการจดั สมั มนา
เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารร่วมกนั หรือแนวทางอนื่ ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพของกระบวนการท�ำงาน โดยมี
กรอบความรว่ มมือ ดงั น้ี
(๑) กรอบความรว่ มมอื ภายใตบ้ นั ทกึ ความเขา้ ใจอาจครอบคลมุ ถงึ งบประมาณและ
ทรพั ยากรบคุ คลทมี่ อี ยู่ ของคู่ภาคีโดยครอบคลมุ ถงึ ประเด็นดังตอ่ ไปน้ี
ก. การแบง่ ปนั วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน ระบบ และระเบยี บวธิ กี ารตา่ ง ๆ ขององคก์ ร
ข. การแลกเปลย่ี นประสบการณด์ า้ นการจดั การเรอ่ื งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การทจุ รติ
ค. การแลกเปลี่ยนนโยบายและประสบการณ์ที่เก่ียวข้องกับเร่ืองร้องเรียน
รวมไปถงึ ทรัพยากรบุคคล
ง. การจดั สัมมนาและสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบทวิภาคี
จ. การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทางเทคนิคและข้อมูลเกี่ยวกับการส่งตัว
เจ้าพนักงานผู้ทุจริตกลับประเทศและการยึดสินทรัพย์ผิดกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับหัวข้อ/
ประเดน็ ของบนั ทกึ ความเขา้ ใจฉบบั น้ี และ
ฉ. กรอบความร่วมมอื อ่นื ๆ ทค่ี ภู่ าคีอาจเหน็ ชอบร่วมกนั
(๒) คู่ภาคีจะให้การสนับสนุนกิจกรรมท่ีทั้งสองฝ่ายด�ำเนินการอยู่และผลสัมฤทธ์ิ
ของกิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ ภายใต้บันทึกความเข้าใจอย่างจริงจัง เม่ือมีการขอ
ความรว่ มมอื จากองคก์ รผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ระหวา่ งประเทศ สถาบนั ทางวชิ าการ และองคก์ ร
เอกชน

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 275

อน่ึง ความร่วมมือระหว่างกระทรวงการตรวจสอบแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
และผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แหง่ ราชอาณาจกั รไทยในครงั้ นี้ เปน็ การผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การวางแผน
เชงิ ยทุ ธศาสตรร์ อบดา้ น เพอ่ื ยกระดบั ความสมั พนั ธใ์ หก้ า้ วหนา้ ไปอกี ระดบั พรอ้ มสรา้ งกลไก
สนับสนุนความเปน็ หุ้นส่วนเพือ่ การปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นรูปธรรมในทุกมิติ ซงึ่ ทงั้ สองประเทศมีการ
เชื่อมสัมพันธไมตรีมาเป็นระยะเวลายาวนาน เปรียบเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน และ
ในการเดินทางมาเยือนและร่วมพธิ ีลงนามในบนั ทกึ ความเข้าใจระหว่างกนั ในครง้ั น้ี ยงั เปน็
เครอื่ งสะทอ้ นถงึ ความเชอ่ื มน่ั และความไวว้ างใจในศกั ยภาพของการตรวจสอบการใชอ้ ำ� นาจรฐั
โดยระบบผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย ซึ่งคาดว่าหลังจากที่ได้มีการลงนามบันทึก
ความเขา้ ใจร่วมกันในครง้ั น้ี จะเปน็ อีกกา้ วสำ� คัญขององค์กรท้ังสองและเป็นการเปิดโอกาส
ส�ำหรับการแลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละองค์ความรู้มากยงิ่ ขน้ึ
ประกอบกับรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนได้พิสูจน์ให้เห็นถึงการมี
ธรรมาภบิ าลทดี่ ใี นแงข่ องการจดั ตงั้ คณะกรรมการปราบปรามทจุ รติ แหง่ ชาตใิ หเ้ ปน็ หนว่ ยงาน
ท่ีมีความเป็นอิสระ มีความเป็นธรรม และได้รับการสรรหาจากสภาประชาชนแห่งชาติ
ซง่ึ จะสอดคลอ้ งกบั แนวทางของสมาคมผตู้ รวจการแผน่ ดนิ นานาชาติ สาธารณรฐั ประชาชนจนี
ก�ำลังก้าวไปสู่มิติใหม่ การลงนามในบันทึกความเข้าใจฉบับน้ีจะเป็นการเปิดศักราชและ
ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ระหว่างผู้ตรวจการแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวง
การตรวจสอบแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เก่ียวกับระบบ
การตรวจสอบ อำ� นาจหน้าท่ี กระบวนการทำ� งาน แนวทางการปฏิบัตหิ น้าทใี่ นการอ�ำนวย
ความยตุ ิธรรมใหแ้ กป่ ระชาชน โดยบันทึกความเข้าใจดงั กล่าวมีผลบงั คบั ใช้ ๓ ปี

276 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

นายเซยี ว เผย (Mr. XIAO Pei) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการตรวจสอบและคณะ
ไดเ้ ยย่ี มคารวะและหารือข้อราชการกบั ผู้ตรวจการแผ่นดินแหง่ ราชอาณาจักรไทย
ในวนั ท่ี ๑๒ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ ณ สำ� นกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดิน

พธิ ีลงนามบนั ทึกความเข้าใจว่าดว้ ยความรว่ มมอื ทวิภาคีระหว่าง
ผู้ตรวจการแผน่ ดินแหง่ ราชอาณาจักรไทยและกระทรวงการตรวจสอบแหง่ สาธารณรฐั ประชาชนจีน

เมื่อวนั ท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ สำ� นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดนิ

ผตู้ รวจการแผ่นดนิ 277



ภาคผนวก

280 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 281

282 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 283

284 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 285

286 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 287

288 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 289

หมายเหตุ : อย่รู ะหวา่ งตรวจสอบเพ่อื รับรองรายงานทางการเงินจากสำ� นักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน
290 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 291

292 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 293

294 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 295

296 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เล่ม ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๓๑ ก หน้า ๑ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา



พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

วา่ ด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๒๔ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปจั จุบนั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า

โดยทเี่ ป็นการสมควรมีกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผูต้ รวจการแผ่นดนิ
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและ
เสรภี าพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๗
ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย บญั ญัตใิ ห้กระทําไดโ้ ดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย
เหตุผลและความจําเป็นในการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ี
เพื่อให้การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ตรวจการแผ่นดินสามารถดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพอันจะเป็นประโยชน์
ต่อสาธารณะ ซ่ึงการตราพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญนี้สอดคล้องกับเงอ่ื นไขท่ีบญั ญัติไว้ในมาตรา ๒๖
ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยแลว้
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญข้ึนไว้โดยคําแนะนํา
และยนิ ยอมของสภานติ บิ ัญญัติแห่งชาตทิ าํ หน้าทร่ี ัฐสภา ดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญนเ้ี รียกวา่ “พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยผตู้ รวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๐”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป

ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 297

เลม่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๓๑ ก หนา้ ๒ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ
(๑) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยผูต้ รวจการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๕๒
(๒) พระราชบัญญตั ิสาํ นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
(๓) ประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒๔/๒๕๕๗ เร่ือง ให้พระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญมีผลบังคับใช้ต่อไป ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ เฉพาะในส่วน
ท่ีเกี่ยวกบั พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยผตู้ รวจการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๕๒
(๔) คําส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๓/๒๕๖๐ เร่ือง มาตรการแก้ไขปัญหา
ความต่อเน่ืองของผู้ดํารงตําแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ลงวันท่ี ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖๐
เฉพาะในสว่ นท่ีเกี่ยวกับผตู้ รวจการแผ่นดิน
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญน้ี
“ผตู้ รวจการแผ่นดิน” หมายความรวมถงึ ประธานผตู้ รวจการแผ่นดินดว้ ย
“กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถ่ิน
ข้อบังคับ ระเบียบ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นการทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด
หรือบุคคลใดเปน็ การเฉพาะ
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน
และมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน
หรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอ่ืนท่ีใช้อํานาจหรือได้รับมอบให้ใช้
อํานาจทางปกครองหรอื ใหด้ ําเนนิ กิจการทางปกครองดว้ ย
“รฐั วิสาหกิจ” หมายความว่า รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณ
“เจ้าหน้าท่ีของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานในหน่วยงาน
ของรัฐ และเจ้าพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ และให้หมายความรวมถึงกรรมการ
อนุกรรมการ และบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งใช้อํานาจหรือได้รับมอบให้ใช้อํานาจทางปกครองหรือให้ดําเนินกิจการ
ทางปกครองด้วย
“สํานักงาน” หมายความว่า สาํ นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดนิ
“เลขาธกิ าร” หมายความว่า เลขาธิการสาํ นักงานผู้ตรวจการแผ่นดนิ
“พนักงานเจ้าหน้าท่ี” หมายความว่า เลขาธิการ พนักงานและลูกจ้างของสํานักงาน
และเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ ซ่ึงผตู้ รวจการแผ่นดนิ แต่งตงั้ เพอื่ ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญนี้
มาตรา ๕ ในกรณีท่ีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้มิได้กําหนดไว้เป็นประการอ่ืน
การใดท่ีกําหนดให้แจ้ง ย่ืน หรือส่งหนังสือหรือเอกสารให้บุคคลใดเป็นการเฉพาะ ถ้าได้แจ้ง ย่ืน หรือส่งหนังสือ
หรือเอกสารให้บุคคลนั้น ณ ภูมิลําเนาหรือที่อยู่ท่ีปรากฏตามหลักฐานทางทะเบียนตามกฎหมาย
วา่ ดว้ ยการทะเบียนราษฎร ให้ถือว่าไดแ้ จ้ง ย่ืน หรือส่งโดยชอบด้วยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้แล้ว
และในกรณีที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญน้ีกําหนดให้ประกาศหรือเผยแพร่ให้ประชาชนทราบ

298 รายงานประจ�ำปี ๒๕๖๐

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๓๑ ก หน้า ๓ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกจิ จานุเบกษา

เป็นการทัว่ ไป ให้ถือวา่ การประกาศหรือเผยแพร่ในระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศหรือระบบหรอื วิธกี ารอ่ืนใด
ที่ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก เป็นการดําเนินการโดยชอบด้วยพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู นีแ้ ล้ว

ในกรณีที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้กําหนดให้ผู้ตรวจการแผ่นดินหรือเลขาธิการ
มีอํานาจกําหนดหรือมีคําสั่งเร่ืองใด ถ้ามิได้กําหนดวิธีการไว้เป็นการเฉพาะ ให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน
หรือเลขาธิการกําหนดโดยทําเป็นระเบียบ ประกาศ หรือคําส่ัง แล้วแต่กรณี และถ้าระเบียบ ประกาศ
หรือคําสั่งน้ันใช้บังคับแก่บุคคลทั่วไป ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และให้ดําเนินการประกาศ
ตามวรรคหน่ึงด้วย ท้ังน้ี ถ้าระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งใดมีการกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานไว้
ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ หรือเลขาธิการต้องกาํ หนดระยะเวลาการดําเนินงานในแต่ละขน้ั ตอนใหช้ ดั เจนด้วย

มาตรา ๖ ในการปฏิบัติหน้าท่ี ผู้ตรวจการแผ่นดินต้องให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือ
องค์กรอิสระทุกองค์กร ในกรณีที่ผู้ตรวจการแผ่นดินเห็นว่ามีผู้กระทําการอันไม่ชอบด้วยกฎหมายแต่อยู่ในหน้าท่ี
และอํานาจขององค์กรอิสระอ่ืน ให้ผู้ตรวจการแผน่ ดินมีหนงั สือแจ้งองค์กรอิสระท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่อื ดําเนินการ
ตามหนา้ ที่และอํานาจตอ่ ไปโดยไม่ชักชา้

ใน ก ร ณี ท่ี ผู้ ต ร ว จ ก า ร แ ผ่ น ดิ น เห็ น ว่ า ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร เร่ื อ ง ใด ที่ อ ยู่ ใน ห น้ า ที่ แ ล ะ อํ า น า จ ข อ ง
ผู้ตรวจการแผ่นดินอาจเข้าลักษณะเป็นการกระทําท่ีอยู่ในหน้าที่และอํานาจขององค์กรอิสระอื่นด้วย
ใหผ้ ู้ตรวจการแผ่นดินปรึกษาหารือร่วมกับองค์กรอสิ ระอื่นทเ่ี กี่ยวข้องเพ่อื กาํ หนดแนวทางในการดําเนนิ งาน
ร่วมกันเพ่ือให้การปฏิบตั ิหน้าทีข่ องแต่ละองคก์ รเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและไม่ซ้ําซ้อนกนั

เพ่ือประโยชน์ในการดําเนินการตามวรรคสอง ให้ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินมีอํานาจเชิญ
ประธานองค์กรอิสระอ่ืนมาร่วมประชุมเพ่ือปรึกษาหารือและกําหนดแนวทางร่วมกันได้ และให้องค์กร
อิสระทุกองค์กรปฏบิ ัตติ ามแนวทางดงั กล่าว

มาตรา ๗ ให้ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบ
รฐั ธรรมนญู น้ี

หมวด ๑
ผูต้ รวจการแผ่นดนิ

มาตรา ๘ ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจํานวนสามคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตามคําแนะนํา
ของวุฒสิ ภา จากบคุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เก่ียวกับการบริหารราชการแผ่นดินไม่ต่ํากว่า
อธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการท่ีเทียบเท่า หรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐท่ีเทียบได้ไม่ต่ํากว่ากรมตามท่ี
คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด โดยต้องดํารงตาํ แหน่งดังกลา่ วเปน็ เวลาไม่นอ้ ยกว่าห้าปี จาํ นวนสองคน

ผตู้ รวจการแผน่ ดิน 299

เลม่ ๑๓๔ ตอนท่ี ๑๓๑ ก หน้า ๔ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐
ราชกิจจานุเบกษา

(๒) ผูม้ ปี ระสบการณใ์ นการดาํ เนนิ กจิ การอนั เป็นสาธารณะมาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ย่สี ิบปี จาํ นวนหนงึ่ คน
ลักษณะการมีประสบการณ์ และกิจการอันเป็นสาธารณะตาม (๒) ให้เป็นไปตามที่
คณะกรรมการสรรหาประกาศกําหนด ในการกําหนดดังกล่าวให้คํานึงถึงการที่จะได้บุคคลท่ีมี
ประสบการณอ์ ันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหนา้ ทีผ่ ูต้ รวจการแผ่นดิน
มาตรา ๙ นอกจากคุณสมบัติตามมาตรา ๘ แล้ว ผู้ตรวจการแผ่นดินต้องมีคุณสมบัติ
ดังตอ่ ไปน้ีด้วย
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(๒) มีอายุไม่ตา่ํ กวา่ ส่สี บิ ห้าปี แต่ไมเ่ กนิ เจ็ดสบิ ปี
(๓) สาํ เร็จการศึกษาไมต่ า่ํ กว่าปริญญาตรีหรอื เทยี บเทา่
(๔) มคี วามซ่อื สัตย์สุจรติ เป็นทป่ี ระจักษ์
(๕) มสี ขุ ภาพทีส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรา ๑๐ ผูต้ รวจการแผน่ ดินตอ้ งไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดังตอ่ ไปนี้
(๑) เปน็ หรือเคยเป็นตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญหรือผดู้ าํ รงตาํ แหนง่ ในองคก์ รอสิ ระใด
(๒) ติดยาเสพติดให้โทษ
(๓) เป็นบคุ คลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บุคคลล้มละลายทจุ ริต
(๔) เป็นเจ้าของหรอื ผถู้ ือหุน้ ในกิจการหนงั สอื พิมพห์ รอื สอื่ มวลชนใด ๆ
(๕) เป็นภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรอื นักบวช
(๖) อยู่ในระหว่างถกู เพิกถอนสทิ ธิเลอื กตง้ั ไมว่ า่ คดีนน้ั จะถงึ ท่สี ดุ แลว้ หรือไม่
(๗) วกิ ลจรติ หรอื จติ ฟ่ันเฟอื นไมส่ มประกอบ
(๘) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นการชั่วคราว หรือถูกเพิกถอน
สิทธิสมัครรับเลอื กตั้ง
(๙) ตอ้ งคาํ พิพากษาใหจ้ ําคกุ และถกู คมุ ขังอยู่โดยหมายของศาล
(๑๐) เคยถูกสั่งให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าท่ี
หรือถือว่ากระทาํ การทจุ ริตหรือประพฤติมชิ อบในวงราชการ
(๑๑) เคยต้องคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน
เพราะรํ่ารวยผิดปกติ หรือเคยต้องคําพิพากษาอันถึงท่ีสุดให้ลงโทษจําคุกเพราะกระทําความผิด
ตามกฎหมายว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ
(๑๒) เคยต้องคําพิพ ากษาอันถึงที่สุดว่ากระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ
หรือต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทําความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของพนักงาน
ในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเก่ียวกับทรัพย์ที่กระทําโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา
ความผิดตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการกู้ยมื เงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดในความผิด

300 รายงานประจำ� ปี ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version