เครื่องมอื ชัน้ สงู ของการวิเคราะหส์ งั เคราะห์
ในงานวิจัยเพ่ือทอ้ งถนิ่ (เล่ม 3)
กาญจนา แก้วเทพ
1
เครอ่ื งมอื ชน้ั สงู ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะห์
ในงานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ (เลม่ 3)
ผูเ้ ขยี น : กาญจนา แก้วเทพ
พิมพค์ รงั้ ที่ 1 : พฤศจิกายน 2562
จำ� นวนพมิ พ์ : 700 เลม่
ออกแบบปก : ตปากร พธุ เกส
ออกแบบจดั หนา้ : ณศิ รา บญุ โพธแิ์ กว้ , วรี วรรณ ดวงแข
ประสานการผลติ : ชษิ นวุ ฒั น์ มณศี รขี ำ� , คำ� รณ นมิ่ อนงค,์ พศนิ เผา่ พงษ์
จดั พมิ พโ์ ดย : บริษทั สร้างสรรคป์ ัญญา จำ� กดั และศนู ยป์ ระสานงานวจิ ยั
เพอื่ ทอ้ งถนิ่ จงั หวดั สมทุ รสงคราม
พิมพท์ ่ี : บรษิ ัท แกรนดอ์ ารต์ ครีเอทฟี จ�ำกัด
149 ซอยวัฒนานเิ วศน์ 7 แยก 3 ถ.สุทธิสารวนิ ิจฉยั
แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรงุ เทพฯ 10310
ISBN : 978-616-93446-2-9
Nข้อaมtลูioทnาaงบl รLรibณrาaนrกุyรoมfขอThงสaำi�lนaกั nหdอสCมaดุ taแหloง่ gชาinตgิ in Publication Data
กาญจนา แกว้ เทพ.
เครอ่ื งมอื ชน้ั สงู ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ (เลม่ 3).
-- สมทุ รสงคราม : สรา้ งสรรคป์ ญั ญา, 2562.
232 หนา้ .
1. วจิ ยั . 2. วจิ ยั --เครอ่ื งมอื . I. ชอ่ื เรอ่ื ง.
001.44
ISBN 978-616-93446-2-9
2
สารบญั
เกริ่นนำ� 4
ส่วนที่ 1 กล้อง 10 ทิศท่ใี ช้สอ่ ง 12 เคร่อื งมือ A/S 10
13
1.1 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ท7ี่ การวเิ คราะหน์ ำ้� หนกั 36
(Weight analysis) -ใยแมงมมุ 58
1.2 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ที่ 8 การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ 74
(Comparison analysis) 100
1.3 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ที่ 9 การวเิ คราะหส์ าเหต-ุ ผลลพั ธ์ 117
(Causal analysis )
1.4 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ที่ 10การวเิ คราะหก์ ระบวนการ 140
(Procedure-Flowchart analysis) 142
1.5 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ที่ 11 การวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ท่ี 156
(Function analysis) 167
1.6 เครอ่ื งมอื A/S ชน้ิ ที่ 12 การวดั ความเปลย่ี นแปลง 181
(change analysis) 192
206
สว่ นที่ 2 ตวั อยา่ งของวธิ กี ารตดิ ตงั้ 220
2.1 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 7 การสาธติ
2.2 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 10 เทคนคิ การใชบ้ ตั รคำ�
2.3 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 12 การตดิ ตงั้ ซำ�้ /เรยี กใช้
2.4 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 15 การออกแบบเนอื้ หาแบบรางคู่
2.5 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 18เทคนคิ การปรบั แก้
2.6 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 19 การจดั การความหลากหลาย
แบบลอู่ อก
2.7 วธิ กี ารตดิ ตงั้ ที่ 20 เทคนคิ การถมตรงทเี่ ปน็ หลมุ
3
เครื่องมือชนั้ สงู ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะห์
ในงานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถิ่น* (เลม่ 3)
กาญจนา แก้วเทพ
เกร่นิ น�ำ
(1) ท่มี าของหนังสอื หนงั สือเลม่ น้เี ป็นหนงั สือเลม่ ที่ 3 ของ
ชดุ หนงั สอื ไตรภาค “การวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถนิ่ ” (ดงั
นนั้ ถา้ ยงั ไมไ่ ดอ้ า่ นเลม่ แรกและเลม่ 2 แลว้ มาอา่ นเลม่ 3 อาจจะงงๆบา้ ง
รบกวนกลบั ไปอา่ นเลม่ 1-2 ดว้ ยนะคะ) เนื้อหาของหนังสอื ทงั้ 3 เลม่ นัน้
สรปุ มาจากงานวิจัยช่ือยาวว่า “นวัตกรรมการเสริมพลงั ชมุ ชนด้วยเคร่อื ง
มอื การวิเคราะหส์ งั เคราะห์งานวจิ ัยเพ่ือทอ้ งถ่ิน: กรณีศนู ย์ประสานงาน
วจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ จงั หวดั สมทุ รสงคราม” (จากนไ้ี ปจะเรยี กชอ่ื เลน่ วา่ ASCBR)
หวั ใจสำ� คญั ของงานวจิ ยั ชนิ้ นกี้ ค็ อื ตอ้ งการจะศกึ ษาวา่ “การวเิ คราะห์
สงั เคราะห”์ (จากนไี้ ป A/S) ทมี่ ฐี านะเปน็ ตวั แปรตน้ นนั้ จะมสี ว่ นชว่ ยใน
“การเสรมิ พลงั ปญั ญา” (ในระดบั บคุ คลคอื เจา้ หนา้ ทีศ่ ูนยฯ์ และนกั วิจัย
ชุมชน) ในฐานะตวั แปรตาม ไดจ้ ริงหรอื ไม่ ไดอ้ ยา่ งไร และจะวัดผลเชงิ
ประจกั ษ์ไดอ้ ยา่ งไร
(2) โจทย์หลกั 3 ขอ้ ของงานวจิ ัย ASCBR ถึงแม้วา่ ทมี วิจัย
จะมีสมมติฐานวา่ ตวั แปรต้นคอื เครอื่ งมือการวิเคราะห์สงั เคราะหน์ ั้น
น่าจะมีส่วนช่วยในการเสริมพลังปัญญาของบุคคลในฐานะตัวแปร
ตาม แต่เนือ่ งจากเคร่อื งมือ A/S นั้นมีมากมายหลายรอ้ ยชนิด ดงั นน้ั
.......................................................
* เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นเกดิ ความเขา้ ใจทช่ี ดั เจนขน้ึ และสามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ ผเู้ ขยี น
ได้น�ำตัวอย่างประสบการณ์จริงมาประกอบ โดยมิได้มีเจตนาจะลบหลู่ดูหม่ินกรณี
ศกึ ษาดังกลา่ วแตอ่ ย่างใด เพราะมที ัศนะวา่ “ผดิ เป็นครู” และขอขอบคณุ บรรดาผู้ทไ่ี ด้
สร้างประสบการณท์ เ่ี ป็นเสมอื น “ครูใหญ่” และ “บทเรียน” ไว้ ณ ท่นี ีด้ ว้ ย
4
เอ๊ะแรกของงานวจิ ัยนี้ก็คอื เครอื่ งมอื A/S ประเภทใดเลา่ ทเี่ ปน็ ตวั ชว่ ย
สำ� คญั ของการเสรมิ พลงั ปญั ญาในงานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถนิ่ นจี่ งึ เปน็ โจทย์
ขอ้ ท่ี 1
ต่อจากน้ัน แม้จะมีตัวเครือ่ งมือแลว้ แต่หากยังไมไ่ ด้ “ตดิ ตง้ั ”
(หรอื “ดาวนโ์ หลด” ในกรณมี อื ถอื ) เขา้ ไปในตวั บคุ คล กค็ งจะยงั ใชก้ าร
ไม่ได้ ดงั นั้น เอะ๊ ท่ี 2 ท่ีตามมากค็ ือ แล้วจะมีวธิ กี ารติดตัง้ เครือ่ งมอื A/S
น้นั ได้อย่างไรบ้าง
ส่วนโจทยข์ ้อท่ี 3 กค็ อื ความต่อเนอื่ งมาจากโจทยท์ ี่ 2 กลา่ วคือ
หลงั จากตดิ ต้งั แลว้ จะเหน็ การเปลีย่ นแปลงพลงั ปัญญาไดใ้ นด้านไหน
บ้าง และจะวัดไดอ้ ยา่ งไร
(3) เนอื้ หาของหนงั สอื ทงั้ 3 เลม่ ส�ำหรับเนอ้ื หาในหนงั สือทัง้
3 เลม่ กม็ าจากผลการแสวงหาคำ� ตอบของโจทย์ท้งั 3 ข้อ โดยเนื้อหาใน
แต่ละเล่มจะค่อยๆทยอยแบ่งน�ำเสนอความรู้ท่ีได้ค้นพบจากงานวิจัย
ASCBR ไปตามระดบั ช้ัน ดงั นี้
เล่มที่ 1 : การวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ในงานวิจยั เพอื่ ทอ้ งถน่ิ :
ความเข้าใจพืน้ ฐาน
เล่มที่ 2 : เครอื่ งมอื ชนั้ ตน้ ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะห์
ในงานวิจัยเพอื่ ทอ้ งถน่ิ
เล่มที่ 3 : เครื่องมือชั้นสูงของการวิเคราะหส์ งั เคราะห์
ในงานวิจยั เพือ่ ท้องถนิ่
หนังสือเล่มท่ี 1 : เนอ่ื งจากเป็นหนงั สอื เล่มแรกของชดุ เนอื้ หา
ของหนงั สือจงึ มลี ักษณะเป็น “การขม่ี า้ ชมเมอื ง” แบบพาโนราม่า โดยมี
เนื้อหา 4 ส่วนหลกั คือ
สว่ นท่ี 1.1 การเคลยี รพ์ ืน้ ที่ความเข้าใจรว่ มกนั โดยเฉพาะใน
5
แนวคดิ หลกั ทีท่ างโครงการวิจัยใช้ เชน่ ความหมายของตวั แปรต้น/ตัว
แปรตาม
สว่ นท่ี 1.2 การเตรียมพน้ื ดินแห่งความเขา้ ใจเรอ่ื งการวิเคราะห์
สงั เคราะหท์ ่ีมองมาจาก 3 สาขาวชิ า และการขีดเส้นใต้ความส�ำคัญและ
ประโยชนท์ ห่ี ลากหลายของการวเิ คราะหส์ งั เคราะห์
ส่วนท่ี 1.3 การตอบโจทย์ท้ัง 3 ข้ออย่างคร่าวๆ เพ่ือปูทาง
สำ� หรับการอา่ นรายละเอยี ดในเลม่ 2 และเล่ม 3 ดังนี้
• โจทย์ข้อ 1: ประเภทของเครื่องมือ A/S ที่งานวิจัยเพ่ือ
ทอ้ งถนิ่ ไดใ้ ชม้ าแลว้ และจำ� เปน็ ตอ้ งใชต้ อ่ อยา่ งหลากหลายและพลกิ แพลง
มากขน้ึ มี 12 เครอ่ื งมอื รายละเอยี ดของแตล่ ะเครอ่ื งมอื จะอยใู่ นหนงั สอื
เล่ม 2 และ 3
• โจทยข์ อ้ 2: ประเภทของวธิ กี ารตดิ ตง้ั ทศ่ี นู ยฯ์ ไดใ้ ช้ รวมทง้ั
ทางโครงการฯไดเ้ สรมิ เพม่ิ เตมิ นวตั กรรมใหมๆ่ เขา้ ไป มี 20 วธิ กี าร โดย
แบ่งน�ำเสนอในหนังสือท้งั 3 เล่ม ดังนี้
20 วิธีการตดิ ตง้ั เคร่ืองมอื A/S ในหนงั สอื 3 เล่ม
ที่ วิธีการติดต้ัง หนังสือ หนงั สือ หนังสอื
เลม่ 1 เล่ม 2 เลม่ 3
1 การทำ� ความเขา้ ใจกันเม่ือเรม่ิ แรก P
2 การบรรยายแบบมสี ่วนรว่ ม P
3 การใช้เกมในหลายๆเปา้ หมาย P
4 การระดมสมอง P
5 การใช้ Workshop (ทำ� งานกลมุ่ ยอ่ ย) P
6 การถอด/สรุปบทเรยี น P
7 การสาธติ P
6
ท่ี วิธกี ารติดตั้ง หนงั สือ หนงั สือ หนงั สือ
เลม่ 1 เลม่ 2 เล่ม 3
8 การฝกึ ปฏิบตั ิและท�ำการบ้าน P
9 เทคนคิ เหน็ รูปถอดนาม P
10 เทคนคิ การใชบ้ ตั รค�ำ P
11 การติดต้ังความรู้ระดับหลกั การ P
12 การตดิ ตัง้ ซำ้� /เรยี กใช้ P
13 การสร้างนยิ ามจากขา้ งลา่ ง P
14 เทคนิคการเผาหวั เคร่อื ง P
15 การออกแบบเน้ือหาแบบรางคู่ P
16 การยกระดับขีดความสามารถ P
17 การสอ่ื สารสองทางและการตั้งชือ่ P
18 เทคนคิ การปรับแก้ P
19 การจดั การความหลากหลายแบบลอู่ อก P
20 เทคนิคการถมตรงทเ่ี ปน็ หลุม P
• โจทยข์ อ้ 3: การวดั ความเปลยี่ นแปลง/ผลทเี่ กดิ ขนึ้ ทมี วจิ ยั
ได้วดั ผลการเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ขึ้น 8 วธิ ดี ้วยกัน ดังน้ี (ดรู ายละเอียดใน
หนงั สือเลม่ 1)
7
ภาพรวมของการวัดผลแบบ 8 ทิศ 360 องศา
ส่วนที่ 1.4 รายละเอียดของวธิ กี ารตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื A/S จาก
ทงั้ หมด 20 วธิ กี าร ในหนงั สือเล่ม 1 นำ� มาแบ่งขายเป็นหนังตัวอย่าง
จำ� นวน 6 วธิ กี าร คือ การ orientation การบรรยายแบบมสี ่วนรว่ ม
การระดมสมอง เทคนิค “เห็นรูป-ถอดนาม” การติดตัง้ ความรูร้ ะดับ
หลกั การ (principle) และการสรา้ งคำ� นยิ ามจากขา้ งล่าง (Bottom-up
definition)
หนังสอื เล่ม 3 นีม้ ีอะไรบา้ ง : จากเคร่ืองมือ A/S ท้ัง 12 ช้ิน
ทีมวิจยั ไดแ้ บ่ง “ระดับชน้ั ” (แตไ่ มม่ ชี นชนั้ ทกุ ระดับชัน้ มคี ณุ ค่าเสมอ
กนั ) โดยใช้เกณฑ์เรอ่ื ง “ความซับซ้อนของเครือ่ งมือ” และแบ่งได้เป็น
2 ระดับชน้ั
ระดบั แรก: ถอื เปน็ เครอื่ งมอื ชนั้ ตน้ ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ น
8
งานวิจัยเพื่อทอ้ งถนิ่ ซงึ่ มีความหมายวา่ เปน็ เครือ่ งมือที่นา่ จะตอ้ งรจู้ ัก
ทำ� ความเข้าใจ และรูจ้ ักวธิ กี ารใช้มาก่อนเป็นพ้ืนฐาน เชน่ เครื่องมือ
ตารูป-ตานาม เครือ่ งมือการจัดกลุม่ (Grouping) เปน็ ตน้ รายละเอียด
ของเคร่อื งมือ A/S ชัน้ ตน้ นี้จะอยใู่ นหนงั สอื เลม่ 2
ระดับสอง : เป็นเครือ่ งมอื ชั้นสงู ของการวเิ คราะหส์ ังเคราะหใ์ น
งานวิจัยเพอ่ื ท้องถน่ิ เช่น การวิเคราะหส์ าเหตุ-ผลลัพธ์ การวเิ คราะห์
กระบวนการ ฯลฯ รายละเอยี ดของเครอ่ื งมอื A/S ชั้นสูงน้จี ะอย่ใู น
หนงั สือเลม่ 3 นี้
เครอื่ งมอื การวิเคราะห์สงั เคราะห์ (A/S) จำ� นวน 12 ชิน้
เครื่องมอื A/S หนงั สือ หนังสือ
เล่ม 2 เลม่ 3
1. ตารูป-ตานาม P
2. การจัดกล่มุ /จดั หมวดหมู่ (Grouping) P
3. การวิเคราะหแ์ บบแผน (Pattern analysis) P
4. แผนผงั ความคดิ (Mind-map) P
5. การท�ำตาราง P
6. Body paint P
7. ใยแมงมุม (Weight analysis) P
8. การเปรยี บเทียบ (Comparison analysis) P
9. การวเิ คราะห์สาเหต-ุ ผลลัพธ์ (Causal analysis) P
10. การวเิ คราะห์กระบวนการ P
(Procedure-Flowchart analysis)
11. การวเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าที่ (Function analysis) P
12. การวดั ความเปลย่ี นแปลง (change) P
9
ดังนั้น โดยสรปุ เน้ือหาในหนงั สอื เลม่ 3 น้ีจะประกอบด้วย 2
ส่วนหลักๆ ดังน้ี
เนือ้ หาในหนังสอื เลม่ 3
ท่ี 12 เครื่องมือการวเิ คราะห์- 20 วธิ ีการตดิ ตงั้ เครื่องมือ A/S
สังเคราะห(์ A/S)
7 การวิเคราะห์น้ำ� หนกั (Weight วธิ กี ารที่ 7. การสาธติ
analysis)-ใยแมลงมุม
8 การวิเคราะห์เปรยี บเทียบ วธิ กี ารที่ 10. เทคนคิ การใช้บัตรค�ำ
(Comparison analysis)
9 การวิเคราะหส์ าเหต-ุ ผลลัพธ์ วิธกี ารที่ 12. การตดิ ตงั้ ซำ้� /เรยี กใช้
(Causal analysis)
10 การวเิ คราะหก์ ระบวนการ วธิ กี ารที่ 15. การออกแบบเนอื้ หาแบบ
(Procedure-Flowchart รางคู่
analysis)
11 การวเิ คราะห์บทบาทหนา้ ที่ วธิ กี ารที่ 18. เทคนิคการปรบั แก้
(Function analysis)
12 การวัดความเปล่ียนแปลง วธิ กี ารท่ี 19. การจัดการความหลาก
(change analysis) หลายแบบล่อู อก
วธิ กี ารท่ี 20. เทคนคิ การถมตรงทเ่ี ปน็ หลมุ
ส่วนท่ี 1: กลอ้ ง 10 ทศิ ท่ใี ช้สอ่ ง 12 เครอ่ื งมอื A/S
เนือ่ งจากเครือ่ งมือ A/S ท้ัง 12 ชิ้นที่ทีมวิจยั ไดค้ ัดเลือกมาเปน็
กรณีตวั อย่างสำ� หรบั ท�ำการศึกษารว่ มกนั นัน้ แมว้ ่าเคร่อื งมือทง้ั 12 ช้นิ
จะมลี ักษณะทแี่ ตกต่างกันไป แตก่ ็มีคุณสมบัติบางอย่างของ “ความ
เปน็ เครอื่ งมือ A/S รว่ มกัน”
10
ดังนั้น ทางโครงการฯจึงไดป้ ระดษิ ฐ์ “กลอ้ ง 10 ทิศ” ขึ้นมา
สำ� หรบั ใชส้ อ่ งดแู งม่ มุ ของเครอ่ื งมอื ทง้ั 12 ชน้ิ และคาดหวงั วา่ ในอนาคต
หากพ่ีเล้ียงหรือนักวิจัยชุมชนคนใดต้องการท่ีจะเลือกศึกษาแยกแยะทำ�
ความรจู้ กั เครื่องมอื A/S ประเภทอ่นื ๆ ก็สามารถจะนำ� เอากล้อง 10 ทิศ
นีไ้ ปใช้งานได้เลย (เหมือนเปน็ template)
(1) What is เปน็ ขน้ั บนั ไดแรก (ตามทัศนะของ B.Bloom) ที่
ตอ้ งรจู้ กั ก่อนวา่ เครือ่ งมอื นนั้ คอื อะไร เป็นการรู้จักธรรมชาตแิ ละคุณ
สมบัตขิ องเครือ่ งมอื นัน้ ๆ เช่น Mind-map เปน็ เคร่ืองมอื ระดมสมอง/
ขอ้ มูลช้นั ต้น เป็นต้น
(2) ท�ำไมจึงส�ำคัญ (Why significance) เครื่องมือน้นั มี
11
ความสำ� คญั อย่างไร ทำ� ไมจึงไมใ่ ช้ไมไ่ ด้ เช่น เครือ่ งมอื การวเิ คราะห์
สาเหต-ุ ผลลัพธ์ (Causal analysis) หากไมใ่ ช้ กแ็ ก้ปญั หาทสี่ าเหตุ
ไมไ่ ด้ เปน็ ตน้
(3) เปา้ หมาย/ประโยชนใ์ นการใช้ เครอื่ งมอื A/S แตล่ ะ
ประเภทถกู ประดษิ ฐส์ ร้างข้ึนมาเพอื่ ใช้ในเป้าหมายท่ีแตกตา่ งกัน เชน่
การจดั หมวดหมู่ (grouping) มเี ป้าหมายเพ่ือจะลดทอนขอ้ มลู จากท่ี
เคยแตกแยกกระจัดกระจายให้รวมเข้าเป็นหมวดหมู่ข้อมูลท่ีน้อยกว่า
เดิม (เชน่ จากขอ้ มลู 15 ชดุ จดั กลมุ่ ไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม) แต่การวเิ คราะห์
เปรียบเทียบ (Comparison) มเี ปา้ หมายที่จะเปรียบเทยี บข้อมลู ต้งั แต่
2 ชุดข้นึ ไปตามเกณฑต์ ่างๆ เป็นต้น
(4) แนวคดิ /หลกั การ back-up อนั ทจี่ รงิ เครอื่ งมอื สำ� หรบั การ
วิเคราะห์สังเคราะห์น้ันก็คือการแปลงร่างของแนวคิด/หลักการ/ทฤษฎี
มาเปน็ การปฏิบัตกิ ารน่ันเอง ตวั อย่างทช่ี ดั เจนคือทฤษฎีหน้าทน่ี ิยมทีใ่ ห้
กำ� เนดิ การวเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าท่ี
(5) ประเภทย่อยของเครอื่ งมอื เครื่องมอื A/S บางชิน้ ยังมี
ประเภททีแ่ ยกยอ่ ยลงไปอีก เช่น เครือ่ งมอื ตารางมีประเภทยอ่ ยๆอกี
หลายแบบ
(6) วิธีการใช้ หมายถึงล�ำดับและขั้นตอนต่างๆที่จะน�ำเอา
เคร่อื งมือ A/S แตล่ ะประเภทไปจดั การกับขอ้ มูล
(7) ชว่ งเวลาการใช้งาน ซึง่ อาจจะแบ่งตามช่วงเวลาของการ
ท�ำวจิ ัยเป็นช่วงต้นน้ำ� ช่วงกลางน�้ำ และช่วงปลายน�้ำ เช่น Mind-map
อาจจะใช้ชว่ งตน้ นำ้� ตารางอาจจะใชช้ ว่ งหลังจากการเก็บขอ้ มลู มาแล้ว
เปน็ ตน้
(8) ฟงั กช์ นั่ การใชง้ าน บางเครอื่ งมอื A/S มี option ใหเ้ ลอื ก
ใช้ได้ในหลายฟังกช์ ัน่ เชน่
(8.1) ใช้แบบเดีย่ วๆ (stand-alone) หรอื ใชผ้ สมรวมกบั
12
เครอ่ื งมอื อ่ืนๆ (Mixed/cross-over)
(8.2) ใช้แบบปล่อยปลายอิสระ หรอื ใช้แบบคมุ เกณฑ/์ โฟกสั
เช่น การวดั ความเปลี่ยนแปลง จะปล่อยอิสระหรือจะ
ระบมุ ิติทจ่ี ะวดั ความเปลยี่ นแปลงให้แนน่ อนไปเลย
(9) ลกั ษณะพิเศษ ตวั อยา่ งเช่น ลักษณะการมีกรอบ/ยดื หยนุ่
ได้ (frame & flexibility) ตัวอย่างเชน่ เครือ่ งมือตาราง มกี รอบในแง่
ฟอร์ม/รูปแบบ แตเ่ นื้อหานน้ั ยดื หยุน่ ได้มาก สามารถนำ� ขอ้ มูลประเภท
ใดมาใสก่ ็ได้
หรือบางเครอ่ื งมือจะมี “ทา่ บงั คับ” เชน่ การวดั ความเปลี่ยน
แปลง จะตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูล “ชว่ ง” กอ่ น (Before) เอาไว้ก่อน เพือ่ มา
เปรียบเทยี บกับ “ชว่ งหลัง” (After)
(10) ปญั หาการใชง้ าน/หลมุ รอ่ งทตี่ อ้ งระวงั เครอื่ งมอื ทกุ ชนดิ
ในโลก เมื่อเวลาใชง้ านจรงิ จะตอ้ งมีปัญหาหรอื หลุมร่องที่ต้องระวงั อยู่
เสมอ จึงเป็นการดีกว่าถ้าได้รู้ล่วงหน้าว่า ในการใช้เคร่ืองมือแต่ละ
ประเภทจะมหี ลุมมรี อ่ งอะไรท่ตี อ้ งระวังบ้าง เช่น เครือ่ งมอื วิเคราะหก์ าร
เปรียบเทียบมักจะถูกใช้ไปในทางเปรียบเทียบว่า “ดีกว่า เหนือกว่า
เปรยี บเทยี บดา้ นเดียว” (ดแู ต่ขอ้ ตา่ ง ไมด่ ขู อ้ เหมือน) เป็นต้น
ตอ่ จากนี้ เราจะดูรายละเอียดของเครอื่ งมือ A/S ช้ันสูงทง้ั 6
ประเภทตอ่ ไป
เครอ่ื งมือA/Sชนิ้ ที่ 7: การวิเคราะหน์ ำ้� หนัก (Weight Analysis)
เครอ่ื งมอื การวเิ คราะหน์ ำ้� หนกั นม้ี ฐี านะเปน็ ตวั สลกั “วธิ คี ดิ แบบ
มนี ำ้� หนกั /มสี ดั สว่ น” ซง่ึ กอ่ นหนา้ ทจ่ี ะมกี ารทำ� โครงการ ASCBR น้ี ทมี
วิจัยได้พบว่า วิธีคิดแบบมีน�้ำหนักนั้นเป็นเครื่องมือทางความคิดที่ขาด
13
หายไปอยา่ งมากทั้งในกลมุ่ พ่เี ลยี้ งและทมี นักวิจยั ชุมชนเมือ่ เข้ามาอยู่ใน
วงโคจรของการทำ� วิจยั ท้งั ๆทใ่ี นแวดวงของชวี ติ ประจำ� วันปกติหรอื ชวี ติ
การทำ� งานอาจจะมีวธิ ีคิดแบบมเี ศษมีสว่ นใชอ้ ยกู่ ต็ าม
ประจักษ์พยานก็คอื ในรายงานการวิจยั CBR โดยทว่ั ไป มักจะ
มกี ารใช้คำ� ว่า “ชาวบา้ นทั่วไป” หรอื เมอ่ื มผี ู้มารว่ มประชมุ ในงานวิจัย
กไ็ มม่ กี ารบอกตวั เลขจ�ำนวนคนท่มี ารว่ ม (ซ่ึงกไ็ ม่ตอ้ งคาดหวังตอ่ ไปที่
จะรวู้ า่ สดั สว่ นของผสู้ นใจงานวจิ ยั เปน็ สกั เทา่ ไหรจ่ ากจำ� นวนคนทงั้ ชมุ ชน)
การขาดวิธคี ิดแบบมนี ้ำ� หนกั ทำ� ใหก้ ารอา่ นรายงาน “ความกา้ วหน้า”
ในชว่ ง 6 เดือน 1 ปี 2 ปี ดไู ม่มี “ความก้าวหน้า” หรือมคี วามแตกตา่ ง
กันเลย เพราะการทำ� งานไมว่ ่าจะเป็นระยะกเ่ี ดอื นล้วนส่งผลให้ “ชาว
บ้านทัว่ ไปเขา้ ใจงานวิจัย CBR” ทั้งนัน้
ดงั นน้ั ในโครงการ ASCBR จงึ ให้ความสนใจทจ่ี ะติดต้ังเครื่อง
มอื A/S ทช่ี อ่ื Weight Analysis มากพอสมควรเพอื่ เตมิ เตม็ เครอ่ื งมอื
ทางความคิดทจ่ี �ำเป็นแต่ขาดหายไป ดังมีขอบเขตเน้ือหาประมาณน้ี
14
(1) วิธีคิดแบบมีนำ�้ หนักคืออะไร
หากกลา่ วอยา่ งเรยี บงา่ ยตรงไปตรงมาอย่างทีส่ ุด “วิธคี ดิ แบบมี
นำ้� หนัก” กค็ ือวธิ คี ิดทพี่ ยายามข้ามพ้นหรอื คิดไปให้มากกว่า “วธิ คี ดิ
แบบ 2 ข้วั ตรงกนั ขา้ ม” (Binary opposition) เชน่ โลกนม้ี ีแต่ Y กบั N
มีแตข่ าวกบั ด�ำ ถ้าไมใ่ ช่ “มิตร” กต็ อ้ งเป็น “ศตั ร”ู เนื่องจากวิธคี ิดแบบมี
นำ�้ หนกั เหน็ วา่ “ระหว่างกลางของ Y/N ขาวกบั ด�ำนน้ั ยงั มีสีอื่นๆ หรือมี
ความขาวมาก-ดำ� นอ้ ย หรือขาวน้อย-ด�ำมาก อยอู่ กี
ในขณะทีค่ ำ� วา่ “การวเิ คราะห์นำ�้ หนัก” - Weight analysis ที่
เปน็ คำ� เชิงวชิ าการน้ัน สำ� หรับคำ� อนื่ ๆทใ่ี ช้กันอย่ใู นชวี ิตประจ�ำวันที่ถอื วา่
อยใู่ นสายตระกลู ของคำ� ชดุ เดยี วกัน (family of words) อาจจะหมาย
ถงึ คำ� เหล่านคี้ ือ
ดกี รี (degree) สัดสว่ น (ratio) อัตราส่วน ชั้น (layer) เชิง
(dimension) สเกล (scale) ความถ่ี (frequency) ลำ� ดับ
ความสำ� คญั (priority) ล�ำดับชน้ั (ranking) การประเมินคา่
(evaluation) เปน็ ตน้
จากถอ้ ยคำ� ทอ่ี ยู่ในวงศต์ ระกูลเดยี วกันนัน้ เราอาจจะสรุปไดว้ ่า
วิธีคิดแบบมนี ้ำ� หนักนนั้ ในเบอื้ งตน้ เลยกต็ ้องเป็นวธิ ีคิด (Mindset) ท่ี
มากไปกวา่ การแยกแยะความแตกตา่ งในเชงิ ประเภท - (Difference
in kind) - คือคดิ แบบ “เรา” V.S “เขา” หากแตเ่ ปน็ การแยกแยะความ
แตกตา่ งในเชงิ ระดบั - (Difference in degree) - ทอ่ี าจจะมี
คุณลักษณะท่หี ลากหลายอย่างน้อย 5 แบบ คอื
15
(1.1) เป็นวิธคี ิดแบบมีน�้ำหนกั /สดั ส่วน วิธคี ดิ แบบเฉดสี
(spectrum) หรือแบบพสิ ยั (range) เชน่ ในการฟังการบรรยายเร่ือง
ตารปู -ตานามในรอบแรก เราเขา้ ใจได้ 10% พอฟงั รอบทีส่ อง ความ
เขา้ ใจก็เพ่ิมเป็น 40% เป็นต้น
(1.2) วิธคี ิดแบบเปน็ ช่วงช้ัน (layer) ซึ่งอาจจะเปน็ ชว่ ง
ชัน้ ตามแนวนอน เช่น การวัดความเปลยี่ นแปลงดว้ ยทฤษฎหี วั หอม ท่ี
วัดช่วงช้ันของการเปล่ยี นแปลงที่เกิดขน้ึ จากวงในสุดคือตวั เอง ออกไปสู่
วงนอกคือชมุ ชน หรืออาจจะเป็นชว่ งชนั้ ตามแนวตงั้ /แนวดง่ิ เช่น ระดบั
การมสี ่วนรว่ มในการประชมุ จากนอ้ ยไปหามาก
16
(1.3) วธิ ีคดิ แบบจัดล�ำดับ (ranking) หรือจดั ล�ำดับ
ความสำ� คัญ (priority) การจัดลำ� ดับความส�ำคญั ก็คอื การเรยี งอนั ดับ
โดยใช้เกณฑ์ “ความส�ำคญั ” (significance) โดยท่คี วามสำ� คัญนนั้ ก็
อาจจะมาจากตวั ช้วี ัดแบบต่างๆ เช่น ส�ำคญั เพราะเร่งดว่ น สำ� คญั เพราะ
ผลกระทบสูง ส�ำคญั เพราะเปน็ เร่อื งคอขาดบาดตาย เป็นต้น สว่ นการ
จัดอนั ดับ (ranking) ก็มตี วั ชว้ี ดั แตกตา่ งกนั ออกไป เช่น จดั อนั ดับ
ภาพยนตร์โดยใช้ตัวช้วี ดั เร่ือง “การท�ำรายได้จากการฉาย” เป็นตน้
วิธีคิดเร่ืองการจัดล�ำดับความส�ำคัญมักจะถูกน�ำมาใช้ใน
ขน้ั ตอนการพฒั นาโจทย์ เนอ่ื งจากเมอ่ื ระบปุ ญั หาตา่ งๆ ในงานวจิ ยั CBR
ออกมาได้อย่างมากมายแลว้ แต่ทีมวิจัยมที รพั ยากรจำ� กัดในการแก้ไข
ปัญหาไม่วา่ จะเปน็ เวลา งบประมาณ กำ� ลังคน ฯลฯ ดังนน้ั ก็ตอ้ งมกี าร
จดั ล�ำดบั ความสำ� คัญของปัญหา เพ่อื “เล่นบอลลท์ ลี ะลูก”
ในชีวติ ประจำ� วัน เรากต็ ้องเลือกตัดสนิ ใจอยตู่ ลอดเวลาวา่
17
“ชว่ งนข้ี องชวี ติ อะไรส�ำคัญทีส่ ดุ ” (จะจดั การกับเรอ่ื งอกหักหรอื จะผอ่ น
หนี้นอกระบบกอ่ น อันไหนถงึ ตายกวา่ กัน) ซึ่งคลา้ ยกบั การท�ำงานกบั
เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ แ่ี มว้ า่ เราจะเปดิ ขน้ึ มาหลายๆหนา้ แตเ่ รากต็ อ้ งเลอื ก
“ท�ำงานกับหน้าใดหนา้ หน่ึงเปน็ หลัก”
(1.4) วธิ คี ดิ แบบมี “เชงิ ” “มมี ติ ”ิ “มแี งม่ มุ ” (dimension)
น่าสนใจว่า ภาษาไทยมีค�ำว่า “ท�ำอะไรอย่างมีชั้น/เชิง” ซึ่งสะท้อน
ว่า วัฒนธรรมไทยมวี ธิ ีคดิ แบบมีน้ำ� หนกั อยู่แลว้ การคิดแบบมี “เชิง”
“มีมิติ” มี “แง่มุม/เหล่ียมมุม” เป็นการขยายมุมมองของสิ่งต่างๆให้
มีรายละเอียดแตกตัวออกไปในลักษณะรัศมี/องศาที่สามารถมีได้ถึง
360 องศา (ตามระบบการวัดมุม)
ตัวอยา่ งในการวัดผลความเปล่ียนแปลงในงานวจิ ยั CBR ก็
เชน่ การวัดผลการเปลย่ี นแปลงทีเ่ กดิ ขน้ึ จากการทำ� เกษตรอนิ ทรีย์ ซึ่งมี
ทัง้ ผลในเชิงเศรษฐกิจ (ตน้ ทุนลดลง) ผลในเชงิ สขุ ภาพ (รา่ งกายคนทำ�
ไมส่ ะสมสารเคม)ี ผลในเชงิ สงิ่ แวดลอ้ ม (ดนิ ไมถ่ กู ทำ� ลาย) ฯลฯ เปน็ ตน้
การมองเหน็ สง่ิ ตา่ งๆในหลายแงห่ ลายมมุ นเ้ี ปน็ วธิ คี ดิ ท่ี “รอบดา้ น” และ
“ละเอยี ดอ่อน” มากกวา่ “การมองเหน็ อยูม่ ุมเดียว” เช่น การท�ำเกษตร
อินทรียน์ ้นั อาจจะไม่ไดผ้ ลมากนกั ในเชิงเศรษฐกจิ แตม่ ผี ลอยา่ งสงู ต่อ
เรือ่ งสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เปน็ ตน้
(1.5) วิธีคดิ แบบประเมินค่า/แบบตัดสนิ (Evaluation)
หากใชก้ รอบแนวคิดเรอ่ื ง 6 บันไดของวธิ คี ดิ ของ B. Bloom คณุ ลักษณะ
นี้ของวิธคี ดิ แบบมีนำ้� หนกั ก็จัดว่าอยูใ่ นบนั ไดข้นั สงู สดุ คอื ช้ันท่ี 6 เลย
เพราะเป็นวธิ ีคดิ ท่นี ำ� ไปสู่ “การตัดสนิ ” (judge) วา่ “สดุ ทา้ ยสรปุ ว่า
ยังไง” เชน่ การเลน่ เกมออนไลน์ สรุปแลว้ เปน็ คณุ หรอื เป็นโทษกนั แน่
เปน็ อะไรมากกวา่ กนั ในแง่ไหน เพราะอะไร ฯลฯ
(2) วธิ ีคดิ แบบ weight มคี วามส�ำคัญอย่างไร จากปญั หาท่ี
เกร่ินมาข้างต้นวา่ ความสำ� คัญของวิธคี ิดแบบมีน้�ำหนักน้ียงั คอ่ นขา้ งอยู่
18
นอกสายตาในกลุ่มพ่ีเล้ียงศูนย์ฯ ดังน้ันหัวหน้าโครงการฯจึงพยายาม
ขดี เสน้ ใตใ้ หค้ วามส�ำคัญกับเครือ่ งมอื วเิ คราะห์น�้ำหนกั ดว้ ยเหตนุ ี้ ใน
ประเดน็ เรอ่ื ง “ความสำ� คัญของวิธคี ิดแบบ weight” หวั หน้าโครงการฯ
จึงออกแบบกิจกรรมการติดตั้งด้วยเทคนิคการใช้บัตรค�ำ โดยให้กลุ่ม
พ่ีเลี้ยงเขียนคำ� ตอบเร่อื งความสำ� คญั ของวธิ คี ิดแบบ weight แล้วบวก
ผสมกบั วธิ กี ารตรวจการบา้ น (เพ่มิ เตมิ ดว้ ยคำ� ตอบทว่ี ทิ ยากรเตรียมมา
ตามหลักวิชา)
ค�ำตอบท่ีประมวลได้ว่าด้วย “ความส�ำคัญของวิธีคิดแบบมี
นำ้� หนัก” จงึ ไดม้ าอย่างหลากหลายแงม่ มุ มดี งั นี้
(i) เปน็ การขยายแนวคิดแบบ “ขาว V.S ด�ำ” ให้กว้างขวาง
ออกไป เพราะวิธีคิดแบบทีว่ า่ ในโลกนมี้ แี ต่ “สขี าวและสดี �ำ” เทา่ นั้น
เป็นแนวคดิ ทห่ี ยาบเกนิ ไป ในโลกนี้มีสอี ีกหลายเฉด หลาย spectrum
แมแ้ ตส่ เี ขยี วสเี ดียวก็ยงั มีอีกหลายเฉด ตั้งแตส่ ีเขียวออ่ น เขียวแก่ เขียว
ข้ีม้า เขียวปกี แมงทับ ฯลฯ
(ii) ในขณะท่วี ิธคี ิดแบบ “ขาว V.S ดำ� ” นัน้ เป็นการเหน็ ความ
แตกต่างเชิงประเภท (difference in kind) ทำ� ให้มที างเลือกน้อย
(มอี ย่แู ค่ 2 ทางเท่านัน้ ) แตว่ ิธคี ดิ แบบมนี ้ำ� หนกั มรี ะดบั มีดีกรี มีเฉด
มีสเปคตรัม ทำ� ให้ขยายการมองเห็นความแตกตา่ งในเชงิ ระดับ (dif-
ference in degree) ได้ ทำ� ให้การพจิ ารณาขอ้ มลู การจัดจำ� แนก
ขอ้ มลู (ในงานวิจัย) สามารถท�ำได้ละเอียดซับซ้อนมากข้ึน ไมท่ ้ิงขอ้ มลู
อนั ใดอันหนึง่ ไป (เพราะเข้ากลุ่มขาวหรือดำ� กบั เขาไม่ได้ จะบอกว่าเป็น
“นก” กม็ ีหู จะบอกวา่ เปน็ “หนู” ก็มปี กี ) ทำ� ใหค้ วามสามารถในการ
จัดการกับขอ้ มลู มีมากขน้ึ มีทางเลอื กมากขนึ้
(iii) การมวี ธิ คี ดิ แบบมนี ำ้� หนกั ชว่ ยใหม้ กี ารสรา้ งสรรคก์ ลยทุ ธ์
การท�ำงานท่หี ลากหลายมากข้ึน เชน่
(ก) กลยุทธ์การเกบ็ ดอกไม้รายทาง/ระหวา่ งทาง ถา้ เรา
19
มีวิธีคดิ แบบ 2 ขวั้ แค่ “จดุ ออกสตารท์ ” กับ “เสน้ ชยั ” เราก็มคี ำ� ตอบ
เพยี ง 2 ค�ำตอบเทา่ นน้ั คือ “ไปถึงเป้าหมายปลายทาง” กับ “ไปไมถ่ ึง”
แต่ถา้ มีวธิ ีคิดแบบมีระดับ เรากจ็ ะมคี �ำตอบเพ่ิมมากขึ้นวา่ แมจ้ ะไปไม่
ถึงปลายทาง เรากเ็ กบ็ เก่ียว “เปา้ หมายรายทาง” ได้บ้างแลว้
(ข) กลยทุ ธ์ Quick win ในขนั้ ตอนของการวางแผน หาก
เปา้ หมายสดุ ทา้ ยทตี่ งั้ ไวน้ นั้ อยสู่ งู และยาวไกล เราอาจจะ “ทอนเปา้ หมาย
ทสี่ งู สดุ และยาวไกล” โดยอาศยั วธิ คี ดิ แบบมนี ำ�้ หนกั ทำ� การแบง่ เปา้ หมาย
น้ันออกเป็นช้ันๆ ให้เป็นเป้าหมายท่ีใกล้มือคว้าและเป็นระยะใกล้ท่ี
สามารถจะบรรลุได้ง่ายและเร็ว เพ่ือค่อยๆเก็บส่ังสมชัยชนะพร้อมท้ัง
เป็นกำ� ลงั ใจสะสมไปจนถงึ จุดหมายทส่ี ูงและยาวไกล
(ค) กลยทุ ธเ์ สอื ขา้ มหว้ ย เป็นเกมละเลน่ พน้ื บ้านของเดก็
ไทยทใี่ ช้กตกิ าการวางระดับการเอาชนะปญั หาทีเ่ ริ่มจาก “ง่ายๆ” และ
ค่อยๆเพม่ิ ระดับความยากมากขนึ้ ไปเรอ่ื ยๆ ซ่ึงกเ็ ป็นการออกแบบเกมที่
ใชว้ ธิ ีคดิ แบบมีระดับอยหู่ นุนหลงั อยเู่ ช่นกนั
การวางแผนแบบมีกลยุทธ์การคิดแบบมีน้�ำหนัก/มีระดับน้ี
จะสง่ ผลมาถงึ ขน้ั ตอนการประเมนิ ผลดว้ ย เชน่ ถา้ การทอ่ งเทย่ี วของไทย
ตั้งเป้าหมายจะเพิ่มกลุ่มนักท่องเที่ยวในเมืองรองโดยน�ำเอาวิธีคิดแบบ
มีระดับ/มีน�้ำหนักมาใช้ว่า จากจุดตั้งต้นที่มีกลุ่มนักท่องเที่ยวในเมือง
รองเพียง 10% ในช่วง 6 เดอื นแรก จะวางแผนให้เพ่มิ เปน็ 15% 6 เดือน
ท่ี 2 เพมิ่ เป็น 30% และ 6 เดือนท่ี 3 เพ่มิ เป็น 50% การวางแผนเช่นนี้จะ
ท�ำให้ติดตามและประเมินผลท�ำได้อยา่ งจรงิ จงั (ในงานวิจัย CBR ยัง
ไม่ค่อยเห็นการตั้งเป้าหมายในการวางแผนโดยใช้วิธีคิดแบบมีน�้ำหนักนี้
เทา่ ใดนกั สว่ นใหญ่มักจะเขียนในแผนงานว่า “ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั คือ
คนในชมุ ชนได้เข้าใจงานวจิ ยั CBR”)
(iv) ทำ� ให้เห็น “มิตทิ งั้ เชิงคณุ ภาพและเชงิ ปริมาณ” ของ
ขอ้ มูล ซึ่งจะชว่ ยเพิม่ มลู คา่ ของข้อมลู ได้ เช่น เวลาทแี่ มช่ อบถามถกู วา่
20
“รักแม่ไหม” คำ� ตอบก็คือ “รกั คะ่ ” ค�ำถามต่อไป แลว้ รกั มากแคไ่ หน
(มติ เิ ชงิ ปริมาณของข้อมูล) กอ็ าจจะยินคำ� ตอบทีแ่ ตกต่างกนั เชิงระดบั
เชน่ น้ี
• รักแม่มากเทา่ ฟ้า (สภาวะปกต)ิ
• รักแม่มากเท่าก้อนเมฆ (หากแม่เรยี กให้มาทำ� การบ้าน)
• รักแม่มากเหลือเทา่ เครอื่ งบนิ แล้ว (เมอ่ื แมเ่ รียกให้
เขา้ นอนท้งั ๆท่ียังเลน่ เกมไม่จบ)
(v) การมวี ธิ คี ดิ แบบมนี ำ้� หนกั /มรี ะดบั /มดี กี รี จะชว่ ยใหเ้ พม่ิ การ
รบั รู้และการจัดการสรรพสงิ่ /เหตุการณต์ า่ งๆอย่างมชี ัน้ (layer) และ
มเี ชงิ (dimension) ดงั ทีไ่ ดก้ ลา่ วมาแล้ว
ตัวอยา่ งการคิดแบบมชี ัน้ ๆก็เชน่ การถ่ายรปู ทอ่ี าจแบ่งเป็นชน้ั ๆ
ตามระยะห่างคือ
โดยทกี่ ารถ่ายในแต่ระยะนั้นมี “จุดเดน่ ” และ “ขอ้ จำ� กัด” ของ
ตัวเอง ถ้าถ่ายระยะไกลก็จะเห็นภาพรวมท้ังหมด แต่มองเห็นราย
ละเอียดไม่ชัด ถ้าถ่ายระยะปานกลางก็จะได้ท้ังภาพรวมและเห็นราย
ละเอียดระดับปานกลาง ถา้ ถ่ายระยะใกล้ จะเห็นรายละเอยี ดไดช้ ดั เจน
21
แตม่ องไมเ่ ห็นภาพรวม ถ้าเราคิดแบบมชี นั้ เรากจ็ ะเลือกระยะถ่ายภาพ
ได้ตามเปา้ หมายท่ีวางเอาไว้
สว่ นการคดิ แบบมเี ชงิ (dimension) กม็ คี วามส�ำคัญดังทีไ่ ด้
กล่าวมาแล้วคือ ท�ำให้การรับรู้สรรพส่ิง/เหตุการณ์ต่างๆว่ามีหลายแง่
หลายมมุ ให้พจิ ารณา ท�ำให้การจดั การหรือการตดั สินใจท�ำข้นึ บน “การ
ชง่ั นำ�้ หนกั ” จากแง่มุมที่หลากหลาย
(vi) วธิ คี ดิ แบบมนี ำ้� หนักทม่ี ีความส�ำคญั มากในการประเมิน
ความสมดลุ ระหว่าง “กำ� ลงั ทมี่ /ี ทนุ ท่ีมี/ศักยภาพท่มี ี” กับ “ขนาดของ
ปัญหา” ซึง่ เปน็ ตัวอย่างในชีวติ ประจ�ำวันท่ัวไป เชน่ นกั กีฬายกนำ้� หนกั
จะตอ้ งประเมินความแข็งแรงของร่างกาย (ขอ้ ต่อ กำ� ลังขา กำ� ลังแขน
ฯลฯ) กับปริมาณนำ้� หนักทจ่ี ะยกวา่ “จะไหวไหมเนย่ี ” หรอื การเปรยี บ
มวยแต่ละรุ่น การต่อเตมิ อาคารให้สูงข้ึนของสถาปนิก-วิศวกร การ
สร้างตอมอ่ เพอื่ ทำ� สะพาน เปน็ ต้น การทำ� กจิ กรรมเหลา่ น้ีต้องมีการ
ตัดสินใจประเมินค่าทุกคร้ัง หากมีการยกน้�ำหนักมากเกินก�ำลังอาจ
ทำ� ให้กลา้ มเนอ้ื ฉีกขาด แตถ่ า้ ยกนำ�้ หนักนอ้ ยกวา่ ความสามารถทีม่ ี ก็
จะแพค้ ู่ต่อสู้
(vii) วิธีคิดแบบมีน้�ำหนักจะช่วยให้วิธีการแทนค่าข้อมูลเชิง
คุณภาพดว้ ยขอ้ มลู เชิงปรมิ าณเป็นไปอย่างให้เหมาะสม เชน่ การจดั
แบ่งกลุ่มความถี่ทั้งหมดออกเป็นกลุ่มมาก ปานกลาง น้อย อย่างมี
หลกั เกณฑ์ เปน็ ต้น
(viii) วธิ คี ิดแบบมีนำ้� หนักบางประเภทชว่ ยน�ำไปสขู่ ัน้ ตอนการ
ตดั สนิ ใจข้ันสดุ ทา้ ยและเดด็ ขาด ลองคดิ ดูง่ายๆว่า หากเรานง่ั ดูการ
ประกวดนางงามโลก แล้วพบวา่ ในรอบสดุ ทา้ ยมผี เู้ ข้ารอบ 5 คน แลว้ ก็
จบโดยไมม่ ีการประกาศว่า ใครได้รองอนั ดับท่ีเท่าไหร่ แลว้ ใครไดเ้ ป็น
นางงามโลก เราจะเกิดอาการเซง็ ขนาดไหน ซ่งึ หมายความวา่ การ
ตดั สินครง้ั นไี้ ม่มีวิธีคิดแบบ “จดั อันดับ” (ranking) ทำ� ใหผ้ ลสดุ ท้าย
22
เรียงออกมาเปน็ หน้ากระดานเชน่ นี้
ตัวอย่างการประกวดนางงามทยี่ กมานี้ เกดิ ขนึ้ มากในรายงาน
ผลการวิจัยท่ีมีโจทย์ว่าจะแสวงหา “ปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับเร่อื งน”้ี แลว้
ก็ไดค้ า� ตอบมาเปน็ 8 ปจั จัย โดยไม่รเู้ ลยวา่ ตกลงปจั จัยไหนท่ีได้มงกุฏ
นางงาม ปจั จัยไหนเป็นรองอนั ดับไหน เนอ่ื งจากไมม่ กี ารใช้เคร่ืองมอื
การจัดอนั ดบั (ranking)
(ix) วิธีคิดแบบมีน้�าหนักจะเพ่ิมความส�าคัญมากข้ึน เม่ือ
ประเดน็ ทจี่ ะศกึ ษาวิจัยมีความส�าคัญมากข้นึ ในหลายๆแงม่ มุ เชน่
ส�าคัญเพราะมีปรมิ าณมากข้ึน ส�าคญั เพราะมีความหลากหลายมากข้นึ
ส�าคัญเพราะมีอนั ตราย/มปี ระโยชนม์ ากขน้ึ ฯลฯ ตัวอย่างเชน่ ประเดน็
เร่อื งผสู้ ูงอายุ ในอดตี ทก่ี ลุ่มผู้สงู อายุยงั มปี รมิ าณไมม่ ากนัก เราก็อาจ
จะศึกษาผ้สู งู อายแุ บบรวมๆ ไมต่ ้องจา� แนกแยกประเภทเป็นช้ันๆ แต่
ปัจจบุ ัน “ปรมิ าณผูส้ ูงอายุมีมากขึน้ ” สง่ ผลให้ “ความหลากหลายของผู้
สงู อายุมีเพิ่มขึ้นตามมา” จงึ จ�าเปน็ ต้องใช้วธิ ีคดิ แบบมนี ้า� หนกั มีเฉด มี
ดกี รี ฯลฯ เข้ามาจา� แนกกล่มุ คนทีเ่ รียกว่า “ผู้สูงอาย”ุ
23
จากความสา� คญั ในแง่มมุ ตา่ งๆของวธิ ีคิดแบบมีน้า� หนัก มรี ะดบั
มีดกี รี ฯลฯ ที่กล่าวมา จงึ ท�าใหเ้ ขา้ ใจได้ว่า ในวฒั นธรรมของไทยได้
พยายามจะตดิ ตง้ั วธิ คี ดิ ดงั กลา่ วโดยตกผลกึ อยใู่ นภาษติ คา� พงั เพยตา่ งๆ
ของไทย เชน่
• ท�าอะไร หดั รจู้ กั ยับยั้งช่ังใจบ้าง
• ตักน้า� ใสก่ ระโหลก ชะโงกดูเงา
• คนรกั เท่าผนื หนัง คนชังเทา่ ผนื เสอ่ื
• อย่าเอาไม้ซกี ไปงดั ไม้ซุง
• ถี่ลอดตาช้าง หา่ งรอดตาเลน
• เสยี ทองเทา่ หัวไมย่ อมเสียผวั ใหใ้ คร
เป็นตน้
(3) แนวคดิ หนนุ หลงั เครอื่ งมอื การวเิ คราะหน์ า�้ หนกั เนอ่ื งจาก
การวเิ คราะหน์ า�้ หนกั (weight) เปน็ แนวคดิ ทตี่ อ่ ยอดมาจากเรอื่ ง “ความ
แตกต่าง” (difference) ดงั นัน้ วธิ คี ิดแบบมีนา�้ หนกั /มรี ะดับจึงเปน็
“ความหลากหลายในแง่มมุ ของความแตกต่าง” นน้ั เอง ดังตวั อยา่ งเชน่
24
แนวคิดหนนุ หลงั ตัวอย่าง
Range/Spectrum/ แกน X มหี ลายเฉดสี
เฉดสี
Different in degree การลด ละ เลิก เหลา้
Different in แตกต่างในเชิงองค์ประกอบยอ่ ยๆ เชน่ พิซซาจากอิตาลี
element เม่ือมาถึงไทย กเ็ ปล่ยี นมาใช้ปลาร้าแทนแองโชว่ี เปน็ ตน้
พิซซาไทยตา่ งจากอิตาลีตรงองค์ประกอบย่อยๆ
Different in rank การทำ�งานของนกั วชิ าการรว่ มกบั ชาวบา้ น (พระเอก / ผชู้ ว่ ย)
(ตำ�แหน่ง/ลำ�ดับที)่ มี 3 แพทเทิร์น ทำ�ให้บทบาทตา่ งกนั ไป ดังนี้
1) นักวชิ าการเป็นพระเอก ชาวบา้ นเปน็ ตวั เสริม
2) ชาวบา้ นเป็นพระเอก นักวิชาการเป็นตัวเสรมิ
3) ทงั้ นกั วิชาการและชาวบ้านเปน็ พระเอกท้งั คู่
Different in เดมิ พอ่ แมเ่ ปน็ ผู้มีพระคณุ ตอนนพ้ี อ่ แม่เปล่ยี นบทบาท
function กลายเป็นตเู้ อทเี อ็มเคลื่อนที่ หรือมหี ลายบทบาท/หนา้ ท่ี
(บทบาท/หน้าที)่ แล้วสลับกนั ไป เชน่ เดียวกับส่อื พ้นื บา้ นเดิมใช้เป็นการ
ละเลน่ แตป่ จั จุบันเปน็ การสื่อสารเรือ่ งราวของชุมชน และ
เปน็ อัตลักษณ์ของชุมชน
Different in form เปน็ เรอ่ื งของนวตั กรรม เชน่ เปลย่ี นการกนิ ขา้ วเหนยี วหมปู ง้ิ
(ฟอร์ม/รปู แบบ) ทเ่ี คยแยกกนั มาเปน็ การเอาหมปู ง้ิ ตดิ บนขา้ วเหนยี วเหมอื น
ซูชิ
Fix v.s. dynamic 1) ตามปกติ เปาบุน้ จ้ินจะใช้เกณฑ์ความเสมอภาค/
mindset (วธิ คี ิด) ยตุ ิธรรมในการตดั สนิ แต่จะมีกรณยี กเว้นทใี่ ชเ้ กณฑ์ความ
เมตตาในการตดั สนิ
2) มีเสน้ ทางหลกั และมเี สน้ ทางรอง มีกรณยี กเวน้ เช่น
การจัดต้ังเขตเศรษฐกจิ พิเศษ แมท่ ท่ี ำ�ความผดิ ระหวา่ ง
ตั้งครรภ์จะได้รับการยกเวน้ บางเร่อื ง (โครงการกำ�ลงั ใจ)
เป็นตน้
ตวั อยา่ งทจ่ี ะยกมาใหด้ ู จะแสดงใหเ้ หน็ วา่ หากปราศจากการใช้
เครอ่ื งมอื วเิ คราะหน์ ำ้� หนกั แลว้ เราจะไมส่ ามารถจดั การกบั ขอ้ มลู ดบิ ทม่ี ี
มาได้เลย รวมถึงจะแสดงให้เหน็ ว่า หากเราใช้เครอ่ื งมือการวเิ คราะห์
25
น้�าหนักแลว้ จะทา� ให้ “เราไปตอ่ /มาตอ่ ยอด/เราสามารถต้งั คา� ถามต่อ
เพอ่ื การศกึ ษาวิจัยเรือ่ งนี้ คือไปตอ่ ได้อกี ยาวไกล
การอ่านตารางและการคิดตอ่ จากตาราง
(1) จากตาราง มี “คณุ ลกั ษณะ” ทท่ี า� ใหค้ นทง้ั 4 รนุ่ (genera-
tion = Y / X / BB / S) แตกตา่ งกนั เช่น การใช้เทคโนโลยี คุณค่า
ศีลธรรม ความซื่อสัตย์ ฯลฯ แตห่ ากไมม่ ีตัวเลขเปอร์เซน็ ต์ (นา้� หนัก)
ประกอบให้เห็น เราจะไมส่ ามารถจดั ล�าดับความส�าคญั (ranking) ของ
แตล่ ะคณุ ลกั ษณะได้เลย
และเมื่อมีตัวเลขน�้าหนักเป็นเปอร์เซ็นต์มาประกอบก็ท�าให้เรา
สามารถจัด “ลา� ดับที”่ ของแตล่ ะคณุ ลักษณะได้ และเราสามารถจะ
“อ่านความหมายจากตารางน”ี้ รวมทั้งสามารถ “ตงั้ คา� ถามตอ่ ยอดต่อ
ไปได”้
(2) คา� ถามคิดตอ่
(i) คนในแตล่ ะรุ่น (เจนเนอเรช่ัน) มีความแตกตา่ งกันอย่างไร
(ii) ตวั แปรเรอื่ ง “การใชเ้ ทคโนโลย”ี มใี นรนุ่ ไหนบ้าง อยูใ่ น
อนั ดบั ท่เี ทา่ ไหร่ และรนุ่ ไหนทีไ่ ม่มตี ัวแปรนี้
26
(iii) มบี างตัวแปรเชน่ “คุณค่าศลี ธรรม” ปรากฏอยู่ในรุน่ เดียว
(BB) (ในรุ่น S อาจจะรวมอยใู่ นความซ่อี สัตยแ์ ละจรยิ ธรรมในงาน) ใน
รุ่น X และ Y ตวั แปรน้ีหายไปเลย
(iv) รุ่น Y มีตัวแปรใหม่คอื วฒั นธรรมดนตรที ่ีไมม่ ใี นรุ่นอนื่ ๆ
เลย และอยใู่ นอันดับ 2
(v) มบี างคุณลักษณะ คือสงครามโลก ทม่ี ีอยใู่ นรุน่ S เท่าน้นั
และอยู่ในอนั ดบั 1 (ปี 1945 สงครามโลกคร้ังที่ 2 เพง่ิ สงบลง)
(vi) มีตัวแปร “การมีลูก” มีความส�ำคัญในรุ่น BB อยู่ใน
อันดับ 4 (อาจเพราะผูค้ นล้มตายมากในช่วงสงครามโลก) แตไ่ มป่ รากฏ
เลยในรุน่ อนื่ ๆ
(vii) ในคนรุ่นหลงั ๆ เช่น รุ่น Y รนุ่ X ตัวแปรเร่อื ง “ความฉลาด”
ไดย้ ้อนกลบั มาใหม่หลังจากทหี่ ายไปในรนุ่ BB แต่ก็มีอันดบั ทต่ี กลงมา
จากอนั ดบั ที่ 2 ในรุ่น S เป็นอันดับท่ี 4 ในร่นุ X และ Y
(4) เครอ่ื งมอื วเิ คราะหน์ ำ้� หนกั ในรปู แบบใยแมงมมุ ยงั เปน็
ทน่ี ่าอนุ่ ใจว่า อยา่ งน้อยในกระบวนการทำ� งานของศนู ย์ฯ ก็ยังมีหลักฐาน
ยนื ยนั วา่ ศนู ยฯ์ ไดใ้ ชเ้ ครอ่ื งมอื วเิ คราะหน์ ำ้� หนกั ทป่ี รากฏตวั ออกมาในรปู
ของ “เครือ่ งมอื ใยแมงมมุ ” (Spider diagram) ทกี่ ล่มุ พี่เลี้ยงและนัก
วิจยั ชุมชนมกั จะใช้ในการวัดความเปลีย่ นแปลง (change analysis)
แบบเปรยี บเทยี บ “ก่อน” และ “หลงั ” โดยให้ “นำ้� หนัก/ระดับ” เปน็
ตวั บ่งชว้ี า่ ได้เกิดการเปล่ยี นแปลงหรือเปลา่ เปล่ียนแปลงมากน้อยเพียง
ใด (กลา่ วคอื ใช้เคร่อื งมือวเิ คราะห์นำ้� หนักบวกผสมกับเครอื่ งมือวดั การ
เปลย่ี นแปลง) ดงั ตวั อยา่ งในภาพ
27
เคร่ืองมือใยแมงมุมน้ีมีคุณสมบัติท่ีโดดเด่นและข้อจ�ากัด
บางประการ ดังนี้
(4.1) สามารถวดั ไดใ้ นหลาย “เชิง” (dimension) เช่น
จากภาพการวัดทนุ ชุมชน จะสามารถวดั ได้ถงึ 6 มิติ เช่น ทนุ มนษุ ย์
ทุนธรรมชาติ ฯลฯ
(4.2) จากขอ้ มลู ทปี่ รากฏออกมาเปน็ ระดบั ในแงม่ มุ /มติ ติ า่ งๆ
ทา� ใหส้ ามารถ “เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างมิติตา่ งๆได้” และ
นา� มาปรับปรงุ /ออกแบบกิจกรรมได้
28
จากภาพข้างบนนี้ ขอ้ มลู ใยแมงมุมทปี่ รากฏในเร่ืองปริมาณ
ข้อมูลท่ีเก็บมาได้แล้วจาก 6 ด้าน ปรากฏวา่ ข้อมูลดา้ นประวัติศาสตร์
ชุมชนยังมีอยู่น้อยมาก ดงั น้นั จงึ ควรวางแผนเก็บข้อมูลดา้ นนเ้ี พม่ิ เติม
(4.3) หากนำ� เครอื่ งมอื ใยแมงมมุ ไปบรู ณาการผสมผสาน
กบั เครื่องมือวัดความเปล่ียนแปลง โดยวดั ระดบั ทง้ั “ช่วงก่อน/ชว่ ง
เรม่ิ ตน้ ” และวัดระดับใน “ชว่ งหลงั /ชว่ งสดุ ทา้ ย” โดยกำ� หนดชว่ งชน้ั ให้
เปน็ ปรมิ าณ (สเกล) เชน่ จากคะแนนเตม็ 10 หรอื 5 หรือ 7 (เป็นส่วน)
ไดค้ ะแนนเทา่ ไหร่ (เป็นเศษ) เชน่ ได้ 3 จาก 10 (ก่อน) ได้ 7 จาก 10
(หลัง) เปน็ ต้น จะทราบ “ปริมาณของความเปลย่ี นแปลงท่ีมีดกี ร”ี
29
(4.4) การใชภ้ าพเปน็ ใยแมงมมุ เปน็ ภาพเปรยี บเทยี บทงี่ า่ ย
ตอ่ ความเขา้ ใจ เป็นสิ่งท่ีชาวบ้านรูจ้ ักอยู่แลว้ ในชีวติ ประจำ� วนั วธิ ีการใช้
กง็ า่ ยไมย่ งุ่ ยาก จงึ เหมาะอยา่ งยง่ิ ทจ่ี ะนำ� มาใช้ แตข่ อ้ จำ� กดั ของเครอ่ื งมอื
ใยแมงมุมนี้กม็ อี ยูข่ อ้ หน่งึ คือเป็นการวัดแบบอัตวิสัย (subjective) ใช้
ความคดิ เห็น/ความร้สู ึกของกล่มุ เปา้ หมายเปน็ ตัวให้คะแนน ดังนนั้ จงึ
อาจมอี คตปิ ระเภทตา่ งๆเข้ามาเจือปน ในช้ันต่อไป จงึ ควรพฒั นาวิธกี าร
ใช้เครอ่ื งมือนีเ้ พอ่ื ลดทอนอคตใิ หน้ อ้ ยลง เชน่ ใชว้ ิธกี ารวัดแบบตรวจ
สอบกนั (ใหเ้ จา้ ตวั ประเมนิ เองกบั ใหค้ นภายนอกประเมนิ แลว้ เอาคะแนน
มาเทยี บกนั ) หรอื การใหร้ ะบเุ หตุผลประกอบ (ข้อมูลเชิงคณุ ภาพ) วา่
เพราะเหตใุ ดจงึ ใหค้ ะแนน (ขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณ) ในระดบั ดงั กลา่ ว เปน็ ตน้
(5) ฟังกช์ ั่นการใชง้ าน สามารถจะใชไ้ ด้ 2 ฟังก์ช่ันหลกั ๆ
(5.1) ใชแ้ บบช้ันเดยี ว เช่น การใหค้ ะแนนความถก่ี บั ตวั
เลอื กประเภทตา่ งๆทเ่ี ราพบเห็นในชวี ิตประจ�ำวัน เช่น การลงคะแนน
30
เลือกตง้ั อบต. สส. เป็นต้น
(5.2) ใชแ้ บบหลายชัน้ ตวั อยา่ งของการใช้ weight แบบ
หลายชั้น เชน่ รูปแบบการทา� งาน 14 ขนั้ ตอน (เปน็ เกณฑ)์ ของกองสง่
เสรมิ การมีส่วนรว่ มฯ กรมชลประทาน จะมขี นั้ ตอนทีท่ �าได้และทา� ไมไ่ ด้
วดั จากกลมุ่ ทา� งาน 6 กลุม่ ดังข้อมูลทแ่ี สดงในภาพ
31
วธิ กี ารจดั การกับขอ้ มลู มดี ังนี้
(1) ให้กลุ่มท�ำงานท้ัง 6 กลุ่ม ต๊ิกว่าข้ันตอนใดท่ีท�ำได้ (P)
ขนั้ ตอนใดทำ� ไมไ่ ด้ให้ว่างเอาไว้ (ใส่ความถ่)ี
(2) รวมคะแนนข้ันตอนทท่ี ำ� ได้ และทำ� ไม่ได้ (ประเมนิ รวม)
(3) นำ� คะแนนรวมขน้ั ตอนทท่ี ำ� ไดแ้ ละทำ� ไมไ่ ดม้ าแบง่ ระดบั เปน็
“มาก ปานกลาง น้อย” (การจัดแบง่ กลมุ่ )
(4) นำ� คะแนนจากการจดั แบง่ ระดบั ยอ้ นกลบั ไปตรวจสอบขอ้ มลู
ดบิ เรอื่ ง 14 ข้นั ตอนเพื่อตอบโจทย์วา่ “ข้นั ตอนใดทีท่ ้ัง 6 กลุ่มท�ำไม่ได้
มากทส่ี ุด ทำ� ไม่ได้ปานกลาง ทำ� ไม่ไดน้ ้อย” เพอื่ นำ� เอาข้อมลู นี้มา
ปรบั ปรงุ “ขนั้ ตอนที่มปี ัญหาในการด�ำเนินงานตอ่ ไป”
(6) ประโยชนข์ องเครอ่ื งมอื วเิ คราะหน์ ำ้� หนกั อนั ทจ่ี รงิ เรา
ได้แตะๆเรื่องประโยชน์ของเครื่องมือวิเคราะห์น�้ำหนักที่อยู่บนฐานคิด
เรือ่ ง “วธิ ีคดิ แบบมเี ศษมสี ่วน มรี ะดบั มีดกี ร”ี มาบ้างแลว้ ตัง้ แต่ต้น ดงั ท่ี
ปรากฏขอ้ มลู อยู่ในหัวข้อ “ความสำ� คัญ 9-10 ประการของเครอ่ื งมอื ชน้ิ
นี้” รวมทัง้ ได้ชี้ใหเ้ ห็นว่า หากไมม่ ีการใช้เคร่อื งมือวิเคราะห์นำ้� หนักแล้ว
ไซร้ จะท�ำใหก้ ารจดั การข้อมลู การคัดเลือกปัญหา การวางแผนการทำ�
กิจกรรม การติดตามและประเมินผลของการท�ำงานจะเกิดข้อขัดข้อง
หรอื ไปต่อไม่ได้ หรอื ไปได้กไ็ ปแบบไมส่ วยยงั ไงบา้ ง (เป็นแนวเขยา่ ขวญั
เลก็ นอ้ ย) ในทน่ี จ้ี งึ จะตอกยำ้� ประโยชนข์ องเครอื่ งมอื Weight analysis
เพม่ิ เตมิ จากที่ไดก้ ล่าวมาแล้ว ดงั น้ี
(6.1) ประโยชน์เบ้ืองแรกเลยของเคร่อื งมือวเิ คราะห์นำ้� หนัก
กค็ อื การจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของปญั หา (Prioritization of problems)
เนอ่ื งจากปญั หาต่างๆมีมากมาย ดงั นั้น เราจงึ ตอ้ งจัดลำ� ดับความส�ำคัญ
เพ่อื จะวางแผนการจดั การกอ่ น-หลงั โดยการจัดลำ� ดบั ความสำ� คัญนน้ั
ก็จะมี “เกณฑ์” (Criteria) แบบต่างๆ ที่ไดก้ ลา่ วมาแลว้ เป็นตวั มาให้
32
อันดบั
(6.2) เป็นประโยชน์ในแง่การจดั การกบั ขอ้ มูลเพอื่ การ
วางแผนกิจกรรมในขั้นตอ่ ไป เชน่ กรณงี านวิจยั เร่อื งหน้ีสนิ ของบ้าน
สามขา จ.ลำ� ปาง (เปน็ กรณีในตำ� นานของ CBR กรณีหนึ่ง) หลงั จาก
ส�ำรวจหนีส้ ินทุกประเภทของชมุ ชนแลว้ ก็มีการใช้เกณฑ์วดั นำ�้ หนักของ
ประเภทหน้สี นิ หลายๆแบบ
• แบบแรก คอื วดั นำ้� หนักเชิงปริมาณ ก็จะแบ่งเปน็ หนีส้ นิ ท่ี
สงู มาก หน้ีสนิ ขนาดปานกลาง และหนี้สนิ ระดับเล็กนอ้ ย
• แบบทส่ี อง คอื ใชเ้ กณฑเ์ รอ่ื ง “การปรบั หนสี้ นิ ” กจ็ ะแบง่
หน้ีสินออกเปน็ 3 ประเภท คือ หนี้สินตวั ไหนท่สี ามารถปรบั ได้ (เช่น
หนี้สนิ ทเ่ี กดิ จากการซื้อหวย กนิ เหล้า สูบบหุ ร่ี เครอ่ื งแตง่ ตวั ) หนส้ี ิน
ตัวไหนทไ่ี ม่ตอ้ งปรบั (เช่น หนส้ี ินทีเ่ กิดจากการลงทุนประกอบอาชพี )
และหนี้สินตวั ไหนที่ปรับไมไ่ ด้ (เชน่ ค่าการศึกษาของบตุ รหลาน) ซงึ่
การจัดประเภทดังกล่าวจะน�ำไปสู่การวางแผนท�ำกิจกรรมในล�ำดับต่อ
ไปได้
(6.3) เปน็ ประโยชนท์ ชี่ ว่ ยใหก้ ารตดั สนิ ใจของกลมุ่ เปน็ ไป
อย่างมีหลกั เกณฑ์ ตัวอย่างเช่น ในโครงการวจิ ยั ตวั อยา่ งเรอ่ื งการ
จัดการนำ�้ ของบา้ นคา จ.ราชบรุ ี ทีมวจิ ยั ชุมชนได้จัดกจิ กรรมให้มกี ารไป
ศกึ ษาดงู านเรอื่ งการสร้างฝายมีชีวติ ที่จ.นครศรีธรรมราช และหลังจาก
กลบั จากการดงู านมาแลว้ ทมี วจิ ยั กไ็ ดม้ าตดั สนิ ใจวา่ ในกรณขี องบา้ นคา
จะใชท้ างเลอื กแบบใดในการจดั การนำ้� โดยมีตัวเลือก 3 ตวั คอื ฝายมี
ชวี ติ ทำ� ท�ำนบ หรือท�ำคลองส่งนำ้�
วิธีการตัดสินใจของกลุม่ น้ันใช้วิธีการแบบประชาธิปไตย คอื
ให้คณะกรรมการจดั การนำ้� ยกมอื โหวตแล้วใช้มตขิ องเสียงข้างมาก ซง่ึ ก็
นบั วา่ เปน็ การใช้เคร่อื งมือ Weight analysis อย่างไรกต็ าม วธิ กี าร
ใช้เคร่ืองมือน้ีก็มีหลายช้ัน ท้ังแบบธรรมดา (basic) แบบประณีต
33
(advanced) เช่น
(i) วิธีการใช้แบบธรรมดา กค็ ือวธิ กี ารที่เราใชห้ ย่อนบตั ร
ลงคะแนน คือกรรมการทกุ คนกจ็ ะยกมือโหวตใหก้ ับตัวเลือกทงั้ 3 ตวั
วธิ กี ารนี้มขี ้อออ่ นตรงท่ี “เกณฑ์” ท่กี รรมการแต่ละคนใชต้ ดั สินใจนนั้
อาจจะแตกต่างกนั การตดั สินใจยกมือเปน็ เพยี งตัวเลอื กแบบคู่ตรงกนั
ข้าม (binary opposition) วา่ “จะเลอื กเอาหรือไมเ่ อาตัวเลือกตวั ใด
เทา่ นัน้ ”
(ii) วิธีการใช้แบบประณตี (advanced) ทมี วจิ ัยบา้ นคา
ได้เลือกวธิ ีการใช้เครือ่ งมอื weight แบบประณีตมากขนึ้ ดังน้ี
ทางเลอื ก ประโยชน์ ความ ระบบ งบ รวม
ย่งั ยนื นเิ วศ ประมาณ
1. ฝายมีชีวติ 3
2. ท�ำนบ 2 3 3 2 11
3. คลองส่งน้ำ� 1 2 2 39
1 1 14
สำ� หรบั วธิ กี ารทป่ี ระณตี แบบน้ี ทมี วจิ ยั บา้ นคาไดส้ รา้ งเกณฑ์
ในการประเมนิ ขนึ้ มา 4 เกณฑค์ อื ประโยชน์ ความยั่งยืน ระบบนเิ วศ
และงบประมาณ แลว้ ใหค้ ณะกรรมการทกุ ทา่ นลงคะแนนในแตล่ ะเกณฑ์
จากนั้นก็รวมคะแนนทั้งหมด และเลือกตัวเลือกที่มีคะแนนสูงสุด วิธี
การใช้แบบประณีตเช่นนี้จะท�ำให้คณะกรรมการทุกคนตัดสินใจอยู่บน
“เกณฑเ์ ดยี วกนั และครบถว้ นทง้ั 4 เกณฑ”์ ซง่ึ สามารถแกไ้ ขจดุ ออ่ นของ
วธิ ีการแบบธรรมดาไปไดเ้ ปลาะหน่ึง
(6.4) ประโยชนข์ องการคดิ แบบมนี ำ้� หนกั จะชว่ ยใหข้ า้ มพน้
วธิ กี ารตดั สนิ ใจแบบ “ตอ้ งเลอื กขา้ งใดขา้ งหนงึ่ ” เชน่ เวลาจะประเมนิ
“คุณหรือโทษของการเล่นเกมออนไลน์” เราก็จะแยกแยะแง่มุมของ
คุณและโทษออกไปให้หลากหลายมิติ/หลายเชงิ มากขนึ้ แลว้ เลือกเกบ็
34
รกั ษาดา้ นท่เี ป็นคณุ ประโยชน์เอาไว้ พร้อมทง้ั ปรบั แก้หรือจดั การกบั ดา้ น
ท่ีเปน็ ปญั หา เปน็ ต้น
(6.5) เราสามารถจะนำ� เอาวธิ คี ดิ แบบมนี ำ�้ หนกั มาใชผ้ สม
ผสานกบั เคร่ืองมอื อื่นๆ เช่น เครอ่ื งมือ SWOT analysis โดยการ
วัดระดบั ขององคป์ ระกอบท้ัง 4 ของ SWOT คอื จดุ แข็ง จดุ ออ่ น โอกาส
และอนั ตราย ในแตล่ ะช่วงเวลาทีไ่ ดม้ ีการทำ� งานวิจัยและพัฒนาว่า มี
อะไรเปล่ยี นแปลงไปบ้าง มากน้อยเพียงใด โดยมีเงื่อนไขว่า ตอ้ งยึดผล
การวเิ คราะห์ SWOT จากอนั เดิมใหต้ อ่ เนอ่ื งไปตลอด ไมข่ ้ึนย่อหน้า
ใหมใ่ นการทำ� SWOT ใหมท่ กุ คร้งั
(6.6) การแก้ปญั หาภาคปฏบิ ตั ดิ ้วย “การมีมาตรการ
ราคากลาง/คา่ เฉลยี่ ” ปัญหาภาคปฏิบตั ิประการหนง่ึ ท่ีมกั จะเกิดข้ึน
ในการท�ำงานของศูนย์ฯ อนั เนอื่ งมาจากการขาดเครือ่ งมือ Weight
analysis ก็คอื นักวจิ ัยชมุ ชนมกั จะต้องมาถามพี่เลยี้ งศูนยฯ์ อยู่เสมอว่า
“ต้องเกบ็ ขอ้ มลู อีกสกั เท่าไหร่จงึ จะเพยี งพอ” “ต้องจดั ประชมุ อีกกี่ครง้ั จงึ
จะเพยี งพอ” “จะตอ้ งท�ำกิจกรรมน้อี กี สักกคี่ ร้ังจึงจะเพยี งพอ” การจะ
ตอบคำ� ถามเหลา่ นไี้ ด้ พเี่ ลยี้ งศนู ยฯ์ จะตอ้ งมี “ตวั เลขคา่ เฉลยี่ หรอื ราคา
กลาง” เอาไว้เปน็ เพดานเทียบ เชน่ จากประสบการณ์ท่ผี ่านมาของ
พี่เลยี้ งศนู ยฯ์ การจัดกิจกรรมเวทีทำ� ความเขา้ ใจเรือ่ งงานวจิ ัย CBR กับ
ปริมาณชาวบา้ นจ�ำนวน ... คน โดยเฉลยี่ มักจะตอ้ งท�ำสักกค่ี ร้ัง หรือ
ใหต้ วั เลขที่เป็นพสิ ยั (range) เชน่ จำ� นวนคร้งั ท่จี ดั เวทจี ะอยู่ระหว่าง
3-7 ครงั้ เปน็ ต้น
(6.7) การมีวิธีคิดแบบมีน้�ำหนักหรือมีระดับจะช่วยให้การ
ต้ังเป้าหมายมีหลายระดับให้บรรลุได้เช่นกัน ตัวอย่างท่ีดีท่ีสุดคือ
บรรดาแนวทางการปรับเปล่ียนพฤติกรรมตามหลักพุทธศาสนาท่ีตั้ง
เป้าหมายไวเ้ ป็นระดับช้ันต่างๆเช่น การเลอื กด่ืมสุรา กว็ างเปา้ หมาย
เป็น “ลด ละ เลกิ ” เป็นตน้
35
เครอื่ งมอื A/Sชน้ิ ที่ 8 : การวเิ คราะหเปรียบเทยี บ
เน่ืองจำกวธิ ีคดิ แบบเปรียบเทยี บ (Comparison Analysis)
เปน็ วธิ คี ิดทีใ่ ชอ้ ยเู่ ป็นปกตทิ ว่ั ไปในชีวติ ประจำ� วัน ดังนน้ั เคร่ืองมอื กำร
วิเครำะห์เปรียบเทียบจึงมิใช่เคร่ืองมือที่แปลกหน้ำส�ำหรับพี่เลี้ยงศูนย์ฯ
และนักวิจัยชุมชนแต่อย่ำงใด และสว่ นนี้ ถอื เปน็ ตน้ ทุนหนำ้ ตักทมี่ ีอยู่
ดังน้ัน ในโครงกำรฝึกอบรมของ ASCBR นจ้ี งึ ได้ท�ำกำรตอ่ ยอด
และต่อเติมจำกต้นทุนควำมรู้และทักษะเรื่องกำรใช้กำรวิเครำะห์เปรียบ
เทียบท่ีศูนย์ฯและนักวิจัยชุมชนมีอยู่ ซ่ึงส่วนใหญ่ยังเป็นเครื่องมือใน
ระดับพื้นฐานให้ขึ้นมำเป็นเครื่องมือท่ีมีระดับสูงข้ึน มีหลำกหลำย
ประเภทมำกข้ึน รวมท้ังยกระดับวิธีการใช้งานเครื่องมือกำรวิเครำะห์
เปรยี บเทียบทีศ่ นู ย์ฯและนักวจิ ัยชุมชนมอี ยู่ใหม้ ีระดบั สงู ขึ้นเชน่ กัน ดงั นี้
(1) การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บหรอื วธิ คี ดิ เปรยี บเทยี บคอื อะไร
ดังทีไ่ ด้เกร่ินมำแลว้ ว่ำ ควำมรแู้ ละทักษะเรอ่ื งกำรเปรียบเทยี บนนั้ เปน็
36
ต้นทุนที่พี่เลี้ยงและนักวิจัยชุมชนมีอยู่ ดังนั้น “การท�ำความรู้จักและ
เข้าใจ” (บนั ไดข้ัน 1 และ 2 ของ B. Bloom) เร่อื ง “การเปรียบเทียบ”
วทิ ยากร (หวั หน้าโครงการฯ) จงึ ใช้วิธีการติดต้ังดว้ ยเทคนคิ “เหน็ รปู
ถอดนาม” ผสมกบั วธิ กี ารติดต้ังแบบ “การสร้างคำ� นยิ ามจากข้างลา่ ง”
(ส�ำหรบั ผู้ที่สนใจรายละเอยี ด โปรดอ่านจากหนังสอื เลม่ 1 ในชดุ ไตร
ภาคนี้ “การวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถนิ่ : ความเขา้ ใจ
พืน้ ฐาน”)
หากเราตอ้ งการให้ค�ำนิยามวา่ “การเปรียบเทยี บคอื อะไร” ที่
ผ้เู ขียนอยากจะแปลงคำ� ถามใหมว่ า่ “เมือ่ ไหรถ่ ึงจะเกดิ การเปรียบเทียบ
ไดเ้ ลา่ ” ค�ำตอบคอื การเปรียบเทยี บจะเกิดข้นึ ได้ เมอื่ ต้องมีเงื่อนไข/
ปจั จัยเหลา่ น้มี าชมุ นมุ กนั อย่างครบครนั ดังนี้
(i) ตอ้ งมีข้อมูลตง้ั แต่ 2 ชดุ ขึ้นไป จึงจะเกิดการเปรยี บเทียบ
ได้ ดังน้ัน หากเราได้ข้อมูลว่า “อ.สมชายสงู 175 ซม.” มาชดุ เดียว เรา
จะไม่สามารถตอบไดว้ า่ “ตกลงแล้ว อ.สมชายสูงหรอื เปล่า” เพราะมี
ขอ้ มลู เพยี งชุดเดียว ยงั ไม่สามารถจะเปรยี บเทยี บได้ ยงั ไม่ผา่ นดา่ นแรก
(ii) ต่อจากน้ัน ข้อมูลท้ัง 2 ชุดน้ันก็ต้องเข้ามามี “ความ
สมั พนั ธ์กัน มาเกี่ยวดองเป็นญาติกันขา้ งใดข้างหนง่ึ ” เช่นมาเก่ยี ว
ดองกนั วา่ “สูงกวา่ ดีกว่า มากกว่า หนักกวา่ เบากว่า ขาวกวา่ เลวนอ้ ย
กวา่ ฯลฯ ตัวอยา่ งเชน่
• อ.สมชายสงู 175 ซม.
• อ.สมหญิงสงู 155 ซม.
• เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั อ.สมหญงิ แลว้ อ.สมชายจะสงู กวา่
(iii) เงอื่ นไขที่ 3 ก็คอื ขอ้ มลู ต้ังแต่ 2 ชดุ ขน้ึ ไปนน้ั จะตอ้ งอย่ใู น
หน่วยเดียวกนั จึงจะเปรยี บเทยี บกนั ได้ หากอยู่คนละหนว่ ยกจ็ ะเทียบกนั
37
ไมไ่ ด้ เช่น
• อ.สมชายสงู 175 ซม.
• อ.สมหญิงหนกั 50 กโิ ลกรมั
เราไมส่ ามารถบอกไดว้ า่ อ.สมชายสงู กวา่ อ.สมหญงิ หรอื ไม่
ในกรณีท่ขี อ้ มูลมาจากคนละหนว่ ย กต็ อ้ งแปลงขอ้ มูลให้มา
เปน็ “หน่วยกลาง” เดยี วกัน แล้วจงึ จะเปรยี บเทยี บกนั ได้ ตวั อย่างใน
ชวี ติ ประจ�ำวันกเ็ ช่น การแปลงค่าเงนิ สกลุ ต่างๆให้เปน็ “สกลุ ดอลลาร”์
แลว้ จึงนำ� มาเทยี บเคยี งกันได้ ในงานวิจัยเพื่อทอ้ งถน่ิ ก็ได้มตี วั อยา่ งการ
แปลงมูลค่าของทรัพยากรนานาประเภทท่ีเก็บได้จากป่าชุมชน เช่น
หนอ่ ไม้ นำ้� ผงึ้ ผักหวาน เห็ด ฯลฯ ท่ีมีหน่วยตา่ งกันใหม้ าเปน็ หนว่ ย
กลาง คอื “ขายแลว้ ไดก้ บ่ี าท” ตอ่ จากนัน้ จงึ นำ� มูลคา่ จากราคาขาย
(เปน็ บาท) มาบวกรวมหรอื เปรยี บเทยี บกนั ได้ เปน็ ตน้
(iv) เงอ่ื นไขสดุ ทา้ ยก็คอื จากข้อมูลต้ังตน้ ต้งั แต่ 2 ชดุ ข้นึ ไป
เมื่อมีการน�ำมาเปรียบเทยี บกันแล้ว จะตอ้ งเกิดผลลพั ธเ์ ปน็ ขอ้ มูลชุด
ใหมข่ ้ึนมา เชน่ จากตัวอย่างข้างบน ขอ้ มูลชุดใหม่ก็คอื “อ.สมชายสงู
กว่าอ.สมหญิง 20 ซม.” เปน็ ต้น
จากเงอ่ื นไขปัจจัยทงั้ 4 ประการนี้ เม่อื นำ� มาร้อยเรยี งเขา้ ดว้ ย
กัน เราก็พอจะใหค้ �ำนยิ ามสั้นๆได้ว่า การเปรยี บเทยี บกค็ อื การ
น�ำเอาข้อมูลตัง้ แต่ 2 ชุดขน้ึ ไปที่อยู่ในหนว่ ยเดยี วกนั มาสร้าง
ความสมั พนั ธใ์ นเชงิ เปรยี บเทยี บกนั ในหลายๆแงม่ มุ (ดแู งม่ มุ
ทหี่ ลากหลายในตอนตอ่ ไป) โดยผลจากการเปรียบเทียบจะทำ�
ใหเ้ กดิ ข้อมูลชดุ ใหม่ข้ึนมา
38
(2) การเปรยี บเทยี บมคี วามสา� คญั อยา่ งไร เนอ่ื งจากการมี
ตน้ ทนุ ความร/ู้ ความเขา้ ใจเรอ่ื งการเปรยี บเทยี บอยแู่ ลว้ ดงั นน้ั ทง้ั ในการ
ประชมุ ฝกึ อบรมกลุ่มพีเ่ ลยี้ งศนู ยฯ์ และนักวจิ ยั ชุมชน วิทยากรจงึ ไดใ้ ช้วธิ ี
การระดมสมองบนหัวข้อย่อยท่ีว่า “การเปรียบเทียบน้ันมีความส�าคัญ
อย่างไร” และได้ค�าตอบทีห่ ลากหลายนบั เป็นสบิ ๆข้อ ดงั ในภาพ
จากความสา� คัญของการเปรยี บเทยี บทีม่ ีหลายแง่มุม สามารถ
จะจัดกลุม่ ได้เป็น 3 กลุม่ ใหญๆ่ ดังนี้
(ก) ความส�าคัญในแงข่ องการจดั การขอ้ มลู ท้ังในงานวจิ ยั
39
และงานท่วั ไป เช่น
(i) การเปรียบเทียบท�ำให้เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลเพราะ
คุณสมบัติท่มี อี ยใู่ นตัวของการเปรยี บเทยี บเอง
(ii) ช่วยเพ่ิมมลู คา่ ของขอ้ มูลในหลายๆดา้ น เช่น ทำ� ให้
ข้อมลู มีความหมายมากขน้ึ เขา้ ใจได้มากข้นึ หรอื พดู ตามหลกั วิชาวา่
ได้ยกระดบั ข้อมลู จาก data ให้ข้นึ มาเปน็ information และ know-
ledge หรือยกระดบั ขอ้ มูลจาก “การพรรณนา” (descriptive) มา
เปน็ “การเหน็ ความสมั พนั ธแ์ ละการใหค้ ำ� อธบิ าย” (understanding &
explanation)
(iii) ในแงง่ านวจิ ยั การเปรยี บเทยี บจะชว่ ยคน้ หาและทดสอบ
ตัวแปร เชน่ แตเ่ ดมิ เราเคยเข้าใจวา่ หากชาวบา้ นยากจนและมหี นีส้ นิ
จะรักษาปา่ ชุมชนไม่ได้ เพราะจำ� เปน็ ต้องตัดไมไ้ ปขาย แต่เมอ่ื เปรยี บ
เทียบข้อมูลจากบ้านสามขา จ.ลำ� ปาง ทชี่ าวบ้านยากจนและเปน็ หน้ีสนิ
มากมาย แต่กย็ ังคงรกั ษาปา่ ชุมชนอย่ไู ด้ หมายความวา่ “ในกรณนี ้ี
ความยากจนไม่ใชต่ ัวแปรที่เกยี่ วข้องกับการรักษาปา่ ” เปน็ ต้น
(iv) การเปรียบเทียบเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการข้อมูล
เพ่อื ตอบโจทย์การวิจัย โดยเฉพาะโจทยท์ ีร่ ะบไุ ว้อยา่ งชดั เจนว่า ตอ้ งการ
คำ� ตอบในเชงิ การเปรียบเทยี บ
(ข) ความส�ำคัญในแง่ของกระบวนการท�ำงาน คือการเป็น
เครอื่ งมือช่วยท�ำงาน เช่น
(i) ช่วยในเรอื่ งการเขยี นรายงานด้วยขอ้ มูลใหมๆ่ ทีเ่ กดิ จาก
การเปรียบเทยี บข้อมูลเดิมๆ
(ii) ชว่ ยในการตงั้ เปา้ หมายในการท�ำงาน และเปรียบเทียบ
กับผลงานทีอ่ อกมาจริง
(iii) ชว่ ยเปน็ สะพานเชอื่ มเพอื่ ไปหาชดุ ขอ้ มลู มาเปรยี บเทยี บ
(หา benchmark)
40
(iv) ใหภ้ าพทช่ี ดั เจนในการนำ� ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์ ตวั อยา่ ง
เชน่ ตวั เลขรายไดจ้ ากการเก็บของปา่ จากปา่ ชมุ ชน ทำ� ใหเ้ กิดความรัก
และหวงแหนปา่ ชมุ ชนที่มคี า่ มากขน้ึ
(v) ช่วยในการประเมินผลความก้าวหน้าเม่ือมีการเปรียบ
เทียบระหวา่ งอดตี กับปัจจบุ ัน
(ค) ความสำ� คญั ในแงข่ องการสรา้ งผลลพั ธใ์ หมๆ่ ใหเ้ กดิ ขน้ึ
เชน่ ความรใู้ หม่ๆ อนั เนื่องมาจากคุณสมบัตปิ ระจำ� ตัวของการเปรียบ
เทยี บทไ่ี ด้กลา่ วมาแล้ว
(i) ชว่ ยใหเ้ กิดความรู้ใหมๆ่ เชน่ ตัวแปรสำ� คัญของการ
รกั ษาป่า คือจิตสำ� นกึ ของชาวบ้าน (ไมใ่ ชค่ วามยากจน)
(ii) ชว่ ยให้เกดิ การตง้ั คำ� ถามใหมๆ่ เพ่ือนำ� ไปสกู่ ารศกึ ษา
ค้นคว้าต่อไป เชน่ แตเ่ ดิมเราเคยเข้าใจว่า นักกฬี าวอลเลย์บอลหญิง
ไทยตัวเลก็ กวา่ นักกฬี าชาตยิ โุ รป/อเมรกิ า จงึ พา่ ยแพ้ แต่เมื่อมีกรณีท่ี
ทมี ไทยเอาชนะทีมนักกีฬายโุ รปได้ เรากต็ ้องมาต้ังคำ� ถามใหม่ตอ่ ไปวา่
ท้ังๆทก่ี ารมตี ัวเลก็ เป็นขอ้ เสียเปรียบ แตเ่ พราะตัวแปรอะไรทที่ ำ� ใหเ้ รา
ชนะ หรือเราสามารถแปร “การมีตัวเล็ก” ใหก้ ลายเป็นข้อไดเ้ ปรยี บได้
อยา่ งไร เป็นตน้
(iii) ได้เหน็ ท้ัง “ความเหมือน” และ “ความแตกต่าง” ของ
ขอ้ มลู ชุดตา่ งๆ
(iv) ชว่ ยใหแ้ ตกกรอบ แตกประเด็นได้หลากหลายเพมิ่ ขนึ้
เช่น เม่ือเปรียบเทยี บกับประเทศอน่ื ๆแลว้ ทัง้ ๆที่ประเทศไทยมีทรพั ยา-
กรธรรมชาตทิ อ่ี ดุ มสมบรู ณ์ แตเ่ พราะอะไร ประเทศเราจงึ มคี วามยากจน
เปน็ ตน้
(v) ใช้ในการตดั สนิ ใจโดยการเปรยี บเทียบความเสี่ยงดา้ น
ตา่ งๆ เชน่ ในโครงการวจิ ัยตวั อย่างเรอ่ื งสวสั ดิการชุมชน กลมุ่ บางนางลี่
จ.สมุทรสงคราม การเปรียบเทียบตวั เลขรายรบั และรายจ่ายจะชว่ ยให้
41
ตัดสินใจได้ว่า ควรจะเพิ่มประเภทของสวัสดิการใด เป็นเงินจ�ำนวน
เทา่ ใด เป็นตน้
จากความส�ำคัญของวิธีคิดแบบมีการเปรียบเทียบที่ยก
ตัวอย่างมาข้างตน้ เราจึงพบว่าในวัฒนธรรมของไทย มวี ธิ คี ดิ เรื่องการ
เปรียบเทียบตกผลกึ อยู่ในคำ� คม ภาษติ ค�ำเตือนสอนใจ ฯลฯ ท่ที �ำ
หนา้ ท่ีเป็นเคร่ืองมือติดตั้งวิธีคิดแบบเปรียบเทยี บอยมู่ ากมาย เช่น
• แขง่ เรือแขง่ พาย แข่งกนั ได้ แข่งบุญแข่งวาสนา
แข่งกนั ไม่ได้
• ตักน�้ำใส่กระโหลก ชะโงกดูเงา
• เหน็ ช้างขี้ อยา่ ขี้ตามช้าง
• อยา่ เห็นข้ดี กี วา่ ไส้
เปน็ ต้น
(3) ภาพรวมของประเภทของการเปรียบเทยี บ เพื่อขยาย
ความเขา้ ใจโดยท่ัวไปทม่ี กั จะนกึ วา่ เมอ่ื มกี ารเปรยี บเทียบเกดิ ข้ึน ณ ที่
ใด กต็ อ้ งมผี ลลพั ธอ์ อกมาวา่ “มใี ครดกี วา่ ใคร มอี ะไรเหนอื กวา่ อะไร....”
เท่านัน้ เพราะทจ่ี รงิ แล้ว การเปรียบเทยี บน้นั ทำ� ไดห้ ลายแง่มุม โดยใช้
เกณฑห์ ลายๆเกณฑ์ ดังตัวอย่างในทนี่ ้ี
42
1) การเปรยี บเทยี บขอ้ เหมอื น/จุดรว่ ม (common) V.S. ขอ้
ตา่ ง/จุดตา่ ง (Difference) ซ่งึ จะเป็นประเภทยอ่ ยของการเปรียบเทยี บ
ทเ่ี ราจะดใู นรายละเอียดในต่อๆไป (C+D Analysis)
2) การเปรยี บเทียบ “หลักการ/ทฤษฎี/แนวคดิ /สิ่งท่คี วรจะ
เป็น V.S. “ขอ้ มูลจริง/ขอ้ มูลท่เี กิดข้ึนจากการปฏิบัต”ิ ตวั อยา่ งเชน่
ในงานวิจยั เพือ่ ทอ้ งถน่ิ มกั จะมีการประมวลภาพรวมวา่ โดยหลกั การ
แล้ว พี่เลี้ยงงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นควรจะมีบทบาทอะไรบ้าง ซึ่งผลการ
ประมวลอาจจะได้มาสัก 30 บทบาท แตใ่ นสถานการณท์ เ่ี ปน็ จรงิ พ่ี
เลยี้ งทเี่ ปน็ ตวั คนเปน็ ๆในแตล่ ะศนู ยป์ ระสานงานฯกค็ งทา� ทงั้ 30 บทบาท
ไม่ได้ บทบาทที่ท�าได้จริงๆก็คือข้อมูลจากการปฏิบัติที่เวลาวิเคราะห์
อาจจะเอาข้อมูลตามหลักการมาเทียบเคียงกับข้อมูลท่ีปฏิบัติได้จริง
เพอื่ ดูว่า “มีชอ่ งวา่ งระหว่างขอ้ มลู ทงั้ 2 ชุดมากน้อยเพยี งใด”
การเปรียบเทยี บระหวา่ ง “หลกั การ/แนวคดิ /ทฤษฎ”ี (ซ่งึ ในงาน
วจิ ัยเชิงวชิ าการ ข้อมูลส่วนนี้จะเขยี นอยใู่ นบทท่ี 2) กับ “ขอ้ มลู ทเ่ี กดิ ขึ้น
จรงิ ” (ซง่ึ ขอ้ มลู สว่ นนจ้ี ะอยใู่ นบทท่ี 4) กเ็ ปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ในการวเิ คราะห์
43
ข้อมูลตามหลกั การวจิ ัยทว่ั ไป
3) การเปรยี บเทียบระหว่างขอ้ ดี V.S. ข้อเสยี ตัวอย่างเช่น
การเปรียบเทียบข้อดีของสมาร์ทโฟนในการใช้ของผู้สูงอายุท่ีช่วยให้มี
เพ่ือนและหายเหงา แต่ก็อาจมีข้อเสีย เช่น เกิดการเสพติดส่ือ ถูก
หลอกลวงทางอินเทอร์เน็ตเพราะรู้ไม่เท่าทันส่ือ เม่ือวิเคราะห์เปรียบ
เทยี บข้อด/ี ขอ้ เสียแล้ว ถ้าเอาไปผสมรว่ มกับเคร่อื งมือวเิ คราะห์นำ้� หนกั
(Weight analysis) ก็จะสามารถช่ังน้�ำหนักฟันธงได้ว่า “สรุปแล้ว
ขอ้ ดีกับขอ้ เสยี มีอะไรมากกวา่ กนั ” เป็นตน้
4) การเปรยี บเทยี บระหวา่ งรปู แบบ V.S. เนอ้ื หา สรรพสง่ิ
ทกุ อย่างจะมสี ่วนประกอบ 2 สว่ น คือส่วนทีเ่ ปน็ “รปู แบบ/ฟอรม์ ” กับ
ส่วนทเ่ี ป็น “เนอ้ื หา” เช่น พวกขนมหวานของญ่ปี ุ่นจะมหี นา้ ตาน่ากิน
แตร่ สชาตอิ าจจะไมค่ อ่ ยอร่อย ตรงกนั ข้ามกับอาหารอสี านทหี่ นา้ ตาดู
ไม่น่ากิน แตร่ สชาติอรอ่ ยมาก
การเปรยี บเทียบระหว่าง “รูปแบบ” กับ “เนอื้ หา” นี้ มอี ยมู่ าก
ในวิธคี ดิ ของคนไทย เช่น ฟอร์มดี มีชัยไปกวา่ ครึง่ ขา้ งนอกสกุ ใส ข้างใน
เป็นโพรง พูดไม่ค่อยเก่ง แต่รักหมดใจ เป็นต้น
5) การเปรยี บเทยี บระหวา่ งประโยชน์ V.S โทษภยั เปน็ การ
เปรียบเทยี บทีพ่ บเห็นอยใู่ นชีวติ ประจำ� วนั ทว่ั ไป เชน่ รายงานวจิ ยั ถึง
ประโยชนแ์ ละโทษของการดื่มกาแฟ เป็นตน้
6) การเปรยี บเทยี บความคมุ้ คา่ ซ่งึ เป็นการเปรยี บเทียบเชงิ
เศรษฐศาสตร์ระหว่าง “การลงทุน” (cost) และ “ผลประโยชน์ท่ไี ด้รับ”
(benefit) ถ้าการลงทนุ สูง แต่ผลตอบแทนได้มานอ้ ย ก็ไม่คมุ้ เป็นตน้
(ส�ำนวน ขี่ชา้ ง จับตก๊ั แตน ฆ่าช้างจะเอางา )
7) การเปรียบเทยี บโดยใช้เกณฑ์ “กาลเวลา” กอ่ นและ
หลงั (Before V.S. After) ก็เปน็ การเปรียบเทยี บท่เี ห็นอยูเ่ ปน็ ประจำ�
ในชวี ติ ประจำ� วนั การเปรียบเทียบแบบน้เี กีย่ วข้องกับ “ความเปลี่ยน
44
แปลง” ระหวา่ ง “ข้อมลู ก่อน” และ “ขอ้ มลู หลัง” วา่ มีความแตกต่างกัน
หรือไม่ มากนอ้ ยเพียงใด ในแงม่ ุมไหน
8) การเปรยี บเทียบโดยใชเ้ กณฑ์ “สถานที่” (space) ใน
ขณะที่ข้อ 7 น้นั เป็นเรื่อง “กาละ” ในขอ้ 8 นีจ้ ะเปน็ “เทศะ/สถานที่”
เช่น การเปรียบเทยี บระหว่าง “ชนบท” กับ “เมอื ง”
9) การเปรยี บเทียบระหว่าง “ต้นแบบ” กับ “กรณที ว่ั ไป”
ในสังคมไทยมักจะนิยมการสร้าง “โมเดลต้นแบบ” ข้ึนมาเพ่ือเป็น
ตัวอย่างส�ำหรับให้กรณีอ่ืนๆมาประยุกต์เลียนแบบไปท�ำตาม ดังน้ัน
เราจงึ สามารถเปรียบเทียบ “คุณลักษณะต่างๆ” (attribute) ระหวา่ ง
“ต้นแบบ” กับ “กรณที ว่ั ไป” วา่ เหมือนหรือตา่ งกนั อยา่ งไร
10) การเปรียบเทยี บโดยใชเ้ กณฑเ์ ร่อื ง “ความเข้มแขง็ ”
(Strength) เชน่ การเปรยี บเทียบระหวา่ งกล่มุ วิสาหกิจชุมชนท่ีมรี ะดบั
ความเข้มแขง็ แตกตา่ งกัน เปน็ ต้น
ที่ยกมานี้เป็นเพียงตัวอย่างที่จะยืนยันว่าในเรื่องของการเปรียบ
เทียบน้ัน เราสามารถจะใช้เกณฑ์หลายแบบมาใช้เป็นตัวเทียบเคียง
ความแตกตา่ งในหลายๆแงม่ ุมได้
ในล�ำดับต่อไป ประเภทของการเปรียบเทียบท่ีจะขอดูในราย
ละเอยี ดใหม้ ากขน้ึ คอื การเปรยี บเทยี บขอ้ เหมอื น/ขอ้ ตา่ ง (Common &
Difference analysis)
ภาพจาก: Ddraw / Freepik
45
(4) ประโยชนข์ องเครือ่ งมือการเปรียบเทียบ อันทจ่ี รงิ ใน
เร่ืองประโยชน์ของเครื่องมือการเปรียบเทียบน้ันได้กล่าวถึงไปบ้างแล้ว
เมอื่ พดู ถงึ “ความสำ� คญั ของเคร่ืองมือการเปรียบเทยี บ” ที่มที งั้ ในงาน
วิจัย ในการปฏบิ ัติงาน และในแงข่ องการสร้างใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์ใหมๆ่ /
ความรู้ใหม่ๆ/สง่ิ ใหมๆ่ ขน้ึ มา ในท่ีนี้ จึงจะขมวดขีดเส้นใต้ประโยชนข์ อง
เคร่อื งมือการเปรียบเทยี บอกี สักครั้งหนึง่ ดงั น้ี
(4.1) ประโยชนใ์ นการช่วยตดั สนิ ใจ ตัวอย่างใกลต้ วั ทสี่ ุด
ท่ีถกู น�ำมาเป็นแบบฝกึ หัด (drill) ในการฝึกอบรมกล่มุ นักวจิ ยั ชมุ ชน ก็
คือเรอื่ งการตัดสินใจในการไปศึกษาดูงานวา่ ไปดมู าแลว้ ควรจะทำ� ตาม
ต้นแบบไหม ทั้งนี้ เนอื่ งจากในประวตั ขิ องการทำ� งานของโครงการวจิ ยั
กลุ่มตัวอย่างท่ีท�ำงานด้านสวัสดิการชุมชนน้ัน เช่น โครงการของ
ต.แมก่ ลอง ไดม้ ปี ระสบการณก์ ารไปดงู านกลมุ่ ออมทรพั ยท์ เ่ี ปน็ ตน้ แบบ
ทจี่ งั หวัดตราดมาแล้ว (และสว่ นใหญใ่ นโครงการวจิ ยั CBR กม็ กั ใช้
“กลยุทธ์การไปศึกษาดูงาน” เป็นกิจกรรมหน่ึงในการด�ำเนินงานอยู่
แลว้ ประสบการณก์ ารไปดงู านจงึ เปน็ ประสบการณร์ ่วมของกลุ่มนกั วจิ ัย
ชมุ ชน)
ในภาษติ ค�ำคมของไทย มีค�ำพูดเกย่ี วกับ “การดแู บบอย่าง
ของคนอื่น แล้วกจ็ ะมาเลียนแบบท�ำตาม” อยอู่ ยา่ งน้อย 3 ชดุ คือ
ชุดท่ี 1: เดินตามหลังผู้ใหญ่ หมาไม่กัด (ใหท้ ำ� ตามแบบอยา่ ง
ทด่ี ี จะปลอดภัยได้ด)ี
ชุดท่ี 2: เห็นชา้ งข้ี อย่าข้ตี ามช้าง (ดูคนอื่นแลว้ ไม่ควรเลยี น
แบบ)
ชุดท่ี 3: หดั ตกั น�้ำใสก่ ระโหลก ชะโงกดูเงา (ต้องพิจารณาตวั
เองกอ่ นทจ่ี ะตดั สนิ ใจ)
46
ค�ำถามทถ่ี ูกโยนให้กลมุ่ ย่อยให้หาค�ำตอบมากค็ ือ หลังจาก
ได้ศกึ ษาดูงานจากท่อี ่ืนๆมาแลว้ ทีมวจิ ัยชมุ ชนควรจะเลือก “ภาษติ ชุด
ไหนจาก 3 ชดุ นมี้ ายดึ เปน็ สรณะ” เพราะเหตผุ ลอะไร คำ� เฉลยจะอยู่ใน
หัวขอ้ ถดั ไป
(4.2) ประโยชนใ์ นการชว่ ยใหม้ องเหน็ “ความเปน็ ไปได”้
จาก “เรอื่ ง/สงิ่ ทดี่ จู ะเปน็ ไปไมไ่ ด”้ (from impossible to possible)
เรามักจะได้ยินคำ� นิยามของ “การเมือง” วา่ เปน็ การทำ� ส่งิ ที่เป็นไปไม่
ได้ให้กลายเป็นส่งิ ที่เปน็ ไปได้ ผู้เขียนอยากจะเพิ่มเตมิ ว่า ไมใ่ ช่มีแต่
“การเมือง” เทา่ นน้ั ที่ทำ� แบบนไ้ี ด้ งานวจิ ัยเพอ่ื ทอ้ งถน่ิ กท็ ำ� แบบการ
เมืองไดเ้ หมือนกัน คือทำ� การแปลงรา่ ง “ชาวบา้ นธรรมดา” ให้กลาย
มาเป็น “นกั วิจัยชุมชน” โดยไม่ตอ้ งไปสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั หรอื ไม่
ต้องไปลงทะเบียนเรยี นวิชาวิจัย 1 วิจยั 2 ซ่งึ เป็นเรื่องท่ีไมน่ า่ จะเปน็ ไปได้
ให้เปน็ ไปได้
แต่แน่นอนว่า ในการรับร้เู ริม่ แรกของชาวบ้านทีพ่ ีเ่ ลี้ยงไป
ชักชวนใหม้ าทำ� งานวจิ ยั นน้ั ชาวบ้านก็ยงั รับรู้วา่ “ไม่นา่ จะเปน็ ไปไดท้ ี่
พวกเขาซ่ึงจบแค่ป.4/ป.6 จะสามารถทำ� วิจยั ได”้ ในการฝา่ ข้ามกับดกั
ทางความคิดดังกลา่ ว เมอื่ มกี รณตี วั อยา่ งของจรงิ เกิดขนึ้ เช่นมีชาวบา้ น
ท่ีเป็นชนเผ่าต่างๆท่พี ูดภาษาไทยยังไม่ชดั เลย จบแค่ป.4 เหมือนกัน
เขียนหนงั สอื ได้ทลี ะตวั แตก่ ็ยงั เป็น “นักวจิ ยั ชุมชน” ได้ พเ่ี ล้ียงกไ็ ด้ใช้
กลยทุ ธก์ ารเปรยี บเทียบว่า “ขนาดคนจากชนเผา่ เขายงั เปน็ นักวิจัย
ชุมชนไดเ้ ลย แล้วท�ำไมพวกเราจะทำ� บ้างไมไ่ ด้” การใชเ้ ครอ่ื งมือการ
เปรียบเทียบในลกั ษณะนีเ้ ปน็ การเขยิบเล่ือน “เสน้ ขอบฟา้ แหง่ ความเปน็
ไปได”้ (Horizon line of possibility) ใหข้ ยายออกไป
(4.3) ทำ� ใหเ้ กดิ “ขอ้ มลู ความรชู้ ดุ ใหม”่ ทเี่ ปน็ นวตั กรรม
ใหม่ๆ ในกรณีของโครงการวิจัยตัวอย่างเร่ืองการบริหารจัดการน้�ำท่ี
บ้านคา จ.ราชบุรี ทีมวิจยั ชมุ ชนเคยมกี ารสร้างฝายแบบกอ่ นท�ำวิจยั
47
CBR มาก่อน หลงั จากน้ันทีมวจิ ัยไดเ้ ดนิ ทางไปศึกษาดูงานการสร้าง
ฝายมชี วี ิตท่ีจ.นครศรธี รรมราช และเมอ่ื กลับมา ทีมวิจัยไดใ้ ช้เครือ่ งมอื
Weight analysis เพ่อื ออกแบบฝายมชี ีวิตแบบบา้ นคาข้ึนมา หลัง
จากด�ำเนินการสร้างฝายแบบมชี ีวิตท่บี ้านคาเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว ทมี วิจยั
ชุมชนได้ใช้เครื่องมือการวิเคราะห์เปรียบเทียบข้อเหมือนและข้อต่าง
ระหวา่ งฝายทัง้ 3 แบบ คอื ฝายบ้านคาแบบกอ่ นไปดงู าน ฝายมีชีวิตที่
จ.นครศรฯี และฝายมีชีวิตแบบบ้านคาเมื่อทำ� วจิ ัย CBR ซึ่งผลจากการ
เปรยี บเทยี บท�ำใหท้ ีมวจิ ยั ได้ “ชุดความรูเ้ กยี่ วกับการสรา้ งฝายแบบชีวติ
ให้เหมาะสมกับสภาพในแตล่ ะทอ้ งท”ี่ เปน็ ต้น
(4.4) ใช้เพื่อการทดสอบ “ตัวแปรท่ีตอ้ งสงสยั ” ในงาน
วจิ ยั ทว่ั ไป ในช่วงเรมิ่ ต้นของงานวจิ ยั น้นั นกั วจิ ยั จะสรา้ ง “ตัวแปรที่ต้อง
สงสัยขนึ้ มา” เพอื่ เก็บข้อมูลมาทดสอบวา่ “ใชต่ ัวแปรตวั น้หี รอื เปล่าท่ี
เปน็ ตวั การ” ดังน้นั การออกแบบงานวจิ ยั รปู แบบหนง่ึ ทีม่ กั จะใชก้ นั คือ
“การเปรยี บเทียบ” เปน็ การวิจัยเชงิ ทดลอง (Experimental design)
ทอ่ี อกแบบใหม้ ี “กลุ่มควบคมุ ” (ไม่ใสต่ ัวแปร) และ “กล่มุ ทดลอง” ทใี่ ส่
ตวั แปรเข้าไป แลว้ วัดผลว่ามีความแตกต่างระหว่าง 2 กลุ่มหรือเปลา่
ถา้ ไมแ่ ตกต่าง กแ็ ปลว่าตวั แปรทีใ่ ส่เขา้ ไปน้นั ไม่ใช่ “ตวั การ” (ตัวแปรที่
เกยี่ วขอ้ ง) แตถ่ า้ มคี วามแตกตา่ งเกดิ ขนึ้ กแ็ ปลวา่ “เปน็ เพราะตวั แปรนนั้ ”
ในงานวิจยั CBR กม็ ักจะใชก้ ารออกแบบงานวจิ ัยเชงิ ทดลอง
ทางสงั คม (social experiment design) โดยมกั จะมกี ารทดลอง
ออกแบบ “ใสก่ ิจกรรมใหมๆ่ (ตัวแปรที่ต้องสงสยั )” เข้าไป แล้วกว็ ดั ผล
ว่า มีความแตกตา่ งระหวา่ ง “ก่อนการทดลอง” กบั “หลังการทดลอง”
หรอื ไม่ ดงั นัน้ ในการออกแบบงานวจิ ัย CBR วิธีการเปรียบเทยี บจงึ
น่าจะเป็น “ไฟลทบ์ ังคับ” อยแู่ ล้ว
(4.5) การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ “ขอ้ เหมอื น” และ
“ขอ้ ตา่ ง” ไมว่ า่ จะเปน็ การวเิ คราะหผ์ คู้ น การวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ สถานที่
48
ส่งิ ของ ฯลฯ การวิเคราะหด์ ังกล่าวจะป้องกัน “โรคการใช้วิธีการจดั แบบ
สำ� เรจ็ รปู /สตู รเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ” โดยมหี ลกั การวา่ “คนทแ่ี ตกตา่ งกนั
พน้ื ทแ่ี ตกตา่ งกัน ... ยอ่ มตอ้ งการวธิ กี ารบริหารจดั การทแี่ ตกตา่ งกัน”
นอกจากนั้น การวเิ คราะห์ข้อเหมือนและข้อต่างก็ยงั จำ� เป็น
สำ� หรบั “การประยกุ ตจ์ ากตน้ แบบไปสกู่ รณที วั่ ไป” (ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้
ในหัวขอ้ “ความส�ำคัญของการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ”) เพราะเครอ่ื งมือ
การเปรียบเทียบจะช่วยให้ค�ำตอบว่า การประยุกต์ครั้งนั้นจะเป็นไปไม่
ได้หรอก (เพราะต้นแบบกับกรณีท่ีจะประยุกต์ต่างกันราวฟ้ากับเหว)
หรือการประยุกต์ครั้งนั้นน่าจะเป็นไปได้สูงเพราะทั้งต้นแบบและกรณีที่
จะประยกุ ตค์ ลา้ ยกนั ราวกับฝาแฝด เปน็ ต้น
ภาพจาก: rawpixel.com
(5) การท�ำความรู้จกั กบั การวิเคราะห์ C+D อย่างละเอียด
จากทไ่ี ดก้ ล่าวมาแลว้ เราสามารถจะวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บได้
ในหลายแง่มุม จากหลายๆเกณฑ์ แต่ทว่า ในงานวิจัย CBR น้ัน
ประเภทย่อยของเคร่ืองมือการเปรียบเทียบท่ีถูกน�ำมาใช้มากท่ีสุด คือ
การวิเคราะห์ขอ้ เหมือน/จุดรว่ ม (Common) และขอ้ ตา่ ง/จุดตา่ ง (Dif-
ference) ท่ีเรยี กชอ่ื เล่นว่า การวเิ คราะห์ C+D
ในทีน่ ี้ เราจึงจะ browse มาดูรายละเอยี ดของ การวิเคราะห์
C+D กันดังน้ี
49
(5.1) วธิ คี ดิ C+D แบบธรรมดา ในการเปรยี บเทียบเรื่อง
Common & Difference หากส่ิงของ 2 ส่ิงที่จะเปรยี บเทยี บมลี กั ษณะ
“คล้ายกนั มาก” เชน่ กรณขี องฝาแฝด คนทว่ั ไปมักจะมองเห็น “ความ
เหมือนมากกวา่ ความแตกต่าง” ทำ� ใหแ้ ยกไม่ค่อยออก เชน่ ในละคร
โทรทศั น์ทนี่ างเอกเป็นฝาแฝด เปน็ ตน้
ในทางตรงกนั ขา้ ม ถา้ ของ 2 อย่างทจ่ี ะเทยี บกันมีลกั ษณะ
แตกต่างกนั อย่างมาก เช่น รถเบนซก์ บั รถซาเล้ง คนท่วั ไปก็มกั จะมอง
เหน็ “ความแตกตา่ งมากกว่าขอ้ เหมือน” ทำ� ใหห้ าจดุ รว่ มไมไ่ ด้
แตใ่ นทั้ง 2 กรณที ย่ี กมาน้ี แมจ้ ะดู “แตกต่างกัน” แต่ก็
มี “จุดรว่ มกัน” คือ ผู้เปรียบเทยี บยังขนึ้ ต่อวตั ถวุ ่าจะมาแบบไหน
การท่ีผู้เปรียบเทียบจะมองเห็นข้อเหมือนหรือข้อต่างก็ยังข้ึนอยู่กับ
“ความเหมือนหรือความต่างของของ 2 ส่ิง” และเป็นการเห็นเพียง
“ด้านเดยี ว: เหมือนหรอื ต่าง”
นเี่ ปน็ “ความสามารถในการเปรยี บเทยี บแบบธรรมดา”
(5.2) วธิ คี ดิ C+D แบบพเิ ศษ แตถ่ ้าเป็นการเห็นในระดับ
50