พิเศษ ไม่ว่าส่ิงของ 2 ส่ิงจะเหมอื น (กรณฝี าแฝด) หรือจะต่างกัน (กรณี
รถเบนซ์กับรถซาเล้ง) ผู้เปรียบเทียบจะมองเห็นท้ัง “ข้อเหมือนและ
ข้อตา่ ง” (ท้ัง C+D) โดยไม่ต้องข้ึนตอ่ วตั ถุ
เช่น การเปรียบเทยี บงานวิจัยเพ่อื ท้องถิน่ กับงานวจิ ยั ท่ัวไป
หากเป็นวธิ ี C+D แบบธรรมดา เราอาจจะเห็นเพยี งดา้ นเดียววา่ “งาน
วจิ ัยเพ่อื ท้องถนิ่ แตกตา่ งจากงานวิจยั ทวั่ ไป” แตห่ ากเป็นวธิ ี C+D แบบ
พเิ ศษ เราจะเหน็ ทง้ั “ความเหมอื น” และ “ความแตกตา่ ง” ระหวา่ ง
งานวจิ ัยท้ัง 2 ประเภท
(5.3) ประเภทของ Difference ผู้เขยี นได้เคยกล่าวมา
บ้างแล้วถึงเร่อื ง “ประเภทย่อยๆของความแตกต่าง” (Difference) ใน
ท่นี จี้ ะแยกประเภทย่อยของความแตกต่างออกเปน็ 2 ชนิดคือ
(ก) ความแตกตา่ งเชงิ ชนดิ /เชงิ ประเภท (Difference in kind)
(ข) ความแตกตา่ งเชงิ ระดบั (Difference in degree)
ดภู าพประกอบ
รปู ซา้ ยมอื คอื A กบั B นนั้ เปน็ ความแตกตา่ งเชงิ ประเภท
51
(เป็นตวั อักษรคนละตัวเลย) ส่วนขวามือหรอื รปู วงกลมเปน็ ความแตก
ตา่ งเชงิ ระดับ คอื เปน็ ประเภทวงกลมเหมือนกัน ตา่ งกันที่ระดับ/ขนาด
เทา่ น้ันวา่ เปน็ วงกลมเล็ก/วงกลมใหญ่
ส่วนภาพข้างล่าง ตัวอย่างของความแตกต่างเชิงระดับ
ไดแ้ ก่ ตวั เลขแถวบน ตวั เลข 1-2-..6 เพราะเปน็ ประเภทตวั เลขเหมอื นกนั
ตา่ งกนั ทร่ี ะดบั เทา่ น้นั
สว่ นแถวลา่ งทมี่ ผี สมทงั้ “ตวั เลข--พยญั ชนะไทย” “ตวั อกั ษร
องั กฤษ” นนั้ เปน็ ตวั อยา่ งของความแตกตา่ งเชิงประเภท
หากมคี ำ� ถามว่า เพราะเหตใุ ดเราจึงต้องสนใจวา่ อะไรเป็น
ความแตกต่างเชิงประเภทและความแตกต่างเชิงระดับ คำ� ตอบกอ็ ยทู่ ่ี
บันไดข้ัน 3 ระดับวิธีคิดของ B. Bloom คอื เร่อื งของการประยกุ ต์ใช้
นัน่ เอง โดยมหี ลักการท่ัวไปวา่ หากความแตกตา่ งระหว่าง “ตน้ แบบ”
กบั “กรณที จี่ ะประยกุ ต์” เป็นความแตกตา่ งเชิงประเภท (พูดภาษา
ชาวบ้านคือเป็นคนละเผา่ พันธ์ุ คนละสปีซ่ีส์) แบบนี้จะประยกุ ต์ไม่ได้
แตห่ ากเป็นแค่ “ความแตกตา่ งเชงิ ระดับ/เชงิ ขนาด/เชงิ ดีกรี” (แตย่ ังเปน็
เผา่ พนั ธเ์ุ ดียวกนั สปีซี่สเ์ ดยี วกัน) ในกรณนี ีจ้ ะประยุกตจ์ ากต้นแบบได้
Tip: คำ� ถามลองใจ
• ในงานวิจัย CBR ท่าน (พี่เล้ียง) คิดว่าความสามารถในการ
วิเคราะห์สังเคราะห์ของนักวิชาการกับชาวบ้านน้ันเป็นความ
แตกตา่ งเชงิ ประเภทหรอื ความแตกตา่ งเชิงระดับ
• คำ� ตอบนจี้ ะสง่ ผลถงึ วิธกี ารทำ� งานของพเ่ี ลย้ี งอยา่ งไร
(5.4) ฟงั กช์ น่ั การใช้ C+D Analysis เรามวี ธิ แี บง่ ฟงั กช์ นั่
การใช้เครอ่ื งมือ C+D ตามระดับความซบั ซ้อนได้เป็น 2 ฟงั ก์ชน่ั คอื
(5.4.1) ใชแ้ ต่ Common หรอื Difference เพยี งดา้ น
52
เดยี ว เปน็ วิธีใช้แบบธรรมดาดังท่ไี ด้กลา่ วมาแลว้
(5.4.2) ใช้ทัง้ Common และ Difference พร้อมๆกนั
ท้ัง 2 ดา้ น ซง่ึ เป็นแบบพิเศษดงั ที่ได้กลา่ วมาแลว้
(5.5) ฟงั กช์ นั่ การใช้ C+D Analysis แบบม/ี ไมม่ เี กณฑ์
(5.5.1) การเปรยี บเทยี บขอ้ เหมอื นและ/หรอื ขอ้ ตา่ งแบบ
ไมม่ เี กณฑ์ กค็ ือ การระบุถงึ ข้อเหมอื นหรอื ข้อตา่ งแบบอสิ ระ ไมไ่ ด้
ควบคุมว่าตอ้ งเปรียบเทียบตามเกณฑอ์ ะไรบา้ ง ซ่ึงมักจะเป็นวธิ ีการที่
พ่ีเลย้ี งศูนย์ฯ และนกั วิจัยชมุ ชนใชอ้ ยู่
วิธีการเปรียบเทียบแบบไม่ระบุเกณฑ์นี้อาจจะเหมาะที่จะ
เลือกใช้ในระยะแรกๆ ท่ีเร่ิมมีการใช้เคร่ืองมือน้ี เพ่ือให้การคิดหา
ข้อเหมือน/ข้อต่างเป็นไปแบบสบายสบาย ยังไม่ต้องถูกก�าหนดด้วย
“เกณฑ”์ แต่ทว่าข้อจ�ากดั กค็ อื เมอ่ื นา� มาเทียบกันแบบ “หมัดต่อหมัด”
จะพบวา่ บางเกณฑ์ก็มีขอ้ มลู แต่บางเกณฑ์ก็อาจจะไมม่ ีข้อมูล (ในการ
เปรยี บมวย จงึ ต้องมกี ารตัง้ เกณฑ์เอาไว้)
(5.5.2) การเปรยี บเทยี บขอ้ เหมอื นและ/หรอื ขอ้ ตา่ งแบบ
มเี กณฑ์ ในการเปรยี บเทยี บแบบนี้ จะมกี ารเปดิ ตานามหรือต้องสรา้ ง
53
“เกณฑ์” สา� หรับการเปรียบเทียบขน้ึ มา วิธกี ารน้ีก็อาจจะท�าให้ผู้เปรยี บ
เทียบ “คิดหนัก/คิดยากหน่อย” เพราะต้องหาข้อมูลมาใส่ให้ตรงกับ
เกณฑ์ แตข่ อ้ เด่นก็คอื จะมีขอ้ มูลท่ีเปรยี บเทยี บครบถ้วนในทกุ เกณฑ์
ดงั ตวั อยา่ ง
ตานาม การประชมุ งานวจิ ยั CBR การประชุมงานท่วั ไป
1) การเปดิ โอกาสใหม้ ี 1) ไดเ้ ปิดโอกาสให้ชาว 1) ชาวบา้ นไดแ้ ตม่ านง่ั ฟงั และ
ส่วนรว่ ม บา้ นแสดงความคิดเห็น แสดงความคดิ เห็นนอ้ ย
2) ความเสมอภาคใน 2) การนง่ั คุย นัง่ เป็นทีม 2) แบ่งแยกกนั น่ังในการ
การท�าความรจู้ ัก เดียวกัน นงั่ เสมอกัน ประชุม
ไม่แยกสถานะ
3) ความเสมอภาคใน 3) ชาวบ้านกลา้ แนะน�าตัว 3) ไม่มกี ารแนะน�าตวั ของ
การสอื่ สาร เองไปพรอ้ มกบั ทมี งาน ชาวบ้าน แตจ่ ะมีการแนะ
น�าตัวแตค่ ณะกรรมการ
หรอื สว่ นราชการ
4) จ�านวนครั้งในการ 4) ได้โอกาสประชมุ ยอ่ ยๆ 4) ในการประชมุ ในทผ่ี า่ นมา
ประชมุ ในหมู่บา้ น ในชุมชน จะมีการประชมุ พดู คุยเร่อื ง
หลายคร้งั ของกองทนุ สวัสดกิ าร
เพียงปลี ะ 1 ครงั้
5) กระบวนการจัด 5) ได้พูดคุยกับชาวบ้าน 5) ต่างคนต่างท�า
ประชุม เพิม่ ข้ึน ใกล้ชดิ มากข้ึน หมบู่ า้ นใครหมบู่ า้ นมนั
และร้จู ักชาวบา้ นเพ่ิม
มากขึ้น
(5.6) ประโยชน์ของการใชเ้ คร่ืองมอื C+D analysis
ตอนน้ีถึงเวลาช�าระหน้ีค�าถามท่ีค้างเอาไว้ต้ังแต่ต้นเร่ืองการไปศึกษา
ดงู าน สา� หรบั ประโยชนข์ องการใชเ้ ครอื่ งมอื C+D นนั้ ในฐานะที่ C+D เปน็
เครอื่ งมือยอ่ ยของเคร่อื งมอื การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ ดงั น้ัน เคร่ืองมอื
C+D ก็จะมีประโยชน์โดยทว่ั ไปร่วมกับเครือ่ งมอื การเปรยี บเทยี บชิ้นอื่นๆ
และส�าหรับในงานวิจัย CBR เคร่ืองมือ C+D จะเป็น “ผ้ชู ่วยพระเอก”
54
คนสา� คัญในกิจกรรมประเภทหนึ่งของ CBR คือ การไปศกึ ษาดงู าน
จากปรศิ นาคาใจเดมิ ของทมี วจิ ยั ชมุ ชน โครงการวจิ ยั สวสั ด-ิ
การชุมชน กลุ่มบางนางล่ี ท่ีไปศึกษาดูงานกลุ่มออมทรัพย์พระสุบิน
ท่ีจ.ตราด แล้วมีค�าถามว่า ควรจะยึดภาษิตไทยชุดไหนเป็นสรณะดี
ในกรณีน้ี หากเราใช้เคร่ืองมือการวิเคราะห์ C+D แบบระบุเกณฑ์มา
เก็บข้อมูลภายในทีมวิจัยชุมชน เพ่ือหาค�าตอบว่าระหว่าง “ต้นแบบ”
(กลมุ่ ออมทรพั ยพ์ ระสุบิน) กบั “กรณีทีจ่ ะประยุกตใ์ ช”้ (กลุ่มบางนางล่)ี
มีขอ้ เหมอื นและข้อต่างอะไรบ้าง ตามตารางข้างลา่ งนี้
จากนน้ั เรากใ็ ชห้ ลักการ C+D ในการประยกุ ต์ใชว้ า่ ถ้าของ
2 สง่ิ / 2เหตกุ ารณ์/ 2 คน/ 2 สถานการณม์ จี ดุ ร่วม/ขอ้ เหมอื นมากหรือ
มากกวา่ ขอ้ แตกต่าง กจ็ ะสามารถประยกุ ต์ใชก้ ันได้ (คือภาษิต เดนิ
55
ตามหลังผู้ใหญ่….) แตห่ ากมขี ้อแตกตา่ งกนั มาก/มากกว่าขอ้ เหมอื น ก็
ไมน่ า่ จะประยุกตก์ นั ได(้ ถือภาษิต เห็นช้างข้ี...) โดยทัง้ น้ีก็ตอ้ งทั้งตักนำ้�
ของตน้ แบบและนำ�้ ของตวั เรามาใสก่ ระโหลก แลว้ ชะโงกมาดทู งั้ ขอ้ เหมอื น
และขอ้ ต่างดังทกี่ ล่าวมาแลว้
ดังน้นั ในกรณนี ้ี เครือ่ งมือ C+D จะชว่ ยใหแ้ นวทางในการ
ตัดสินใจหลังจากไปดูงานของคนอ่ืนมาแล้วว่า เราควรจะจัดการงาน
ของเราเองต่อไปอยา่ งไร
(6) ปญั หาการใช้งานเครื่องมือการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บ
เนอ่ื งจากในกลุ่มพเี่ ล้ยี งศนู ย์ฯ และนักวจิ ัยชุมชนมปี ระสบการณ์การใช้
เครอ่ื งมอื การเปรยี บเทยี บมาบา้ งแลว้ และหลงั จากทว่ี ทิ ยากรไดเ้ พม่ิ เตมิ
ต่อยอดความรู้ใหม่ของเคร่ืองมือนเี้ ข้าไปในกลมุ่ ในช่วงสดุ ท้ายของการ
ฝึกอบรม วิทยากรจึงใชว้ ิธีการระดมสมองประเด็น “ปญั หาการใชง้ าน
เคร่ืองมือวเิ คราะห์เปรียบเทยี บ” จากกลมุ่ พี่เล้ียง ไดผ้ ลดังแสดงในภาพ
56
(i) ปญั หาแรกเรม่ิ ตั้งแตต่ น้ ทางเลยก็คอื เม่อื มกี ารแบง่ กลมุ่
ขอ้ มูลออกเปน็ หลายๆชุดแล้ว ไม่มีการใช้เครือ่ งมอื การเปรียบเทียบ
เขา้ ไปวิเคราะห์ ทำ� ใหก้ ารแบ่งกลุ่มน้นั “เสียของ” เปลา่ ๆ เช่น แบง่ กลุ่ม
สมาชิกกองทนุ สวัสดกิ ารเปน็ ผสู้ งู อายุ กลมุ่ ผ้ใู หญ่ กลุ่มวยั รุน่ กลุม่ เด็ก
ฯลฯ แล้วกไ็ ม่ไดน้ �ำมาเปรียบเทยี บกัน (เชน่ เทียบกนั ตามเกณฑ์
“จ�ำนวน คน เพศ ฯลฯ” )
(ii) ปัญหาเปลาะท่สี องกค็ ือ แมจ้ ะผา่ นดา่ น “การแบง่ กลุ่ม
ข้อมูล” (ท�ำให้มีข้อมูลเกิน 1 ชุด) มาแล้ว และน�ำมาใช้เคร่ืองมือ
วิเคราะห์เปรียบเทียบแล้ว แต่ก็ไม่ได้น�ำ “ข้อมูลใหม่ท่ีเกิดจากการ
วิเคราะห์เปรียบเทียบ” ไปใช้ประโยชน์อะไรต่อไป ปัญหาน้ีอาจจะ
เก่ยี วโยงกับปัญหาในขอ้ (iii)
(iii) ใชเ้ ครอื่ งมอื การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บอย่างไม่ทะลใุ นเร่ือง
เป้าหมาย กล่าวคือไม่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้ล่วงหน้าก่อนว่า จะ
วเิ คราะห์เปรียบเทียบไปเพอื่ อะไร และดังทเี่ ราได้เหน็ แล้ววา่ แง่มมุ ของ
การวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บน้นั ทำ� ไดห้ ลากหลายแงม่ มุ ดังนั้น หากไม่ได้
ตง้ั เป้าหมายเอาไว้กอ่ น ผ้วู ิเคราะห์จะไมร่ ้วู ่า “จะเขา้ ทางมุมไหนดี”
(iv) ไม่ได้ก�ำหนด “เกณฑ์” ที่จะเปรียบเทียบเอาไวต้ ัง้ แต่แรก
ส่งผลตอ่ เน่อื งมาทำ� ใหเ้ กบ็ ขอ้ มูลไม่ครบถ้วนทกุ เกณฑ์ จึงเปรยี บเทียบ
กันไม่ได้ ปัญหาน้ีจะรุนแรงมากข้ึนในการวิเคราะห์เปรียบเทียบบาง
ประเภท เช่น ถา้ ต้องการจะวดั “การเปลีย่ นแปลง” ซึ่งตอ้ งการข้อมลู
“ก่อน” (before) และ “หลงั ” (after) ในทุกเกณฑ์
(v) ปัญหาการแปลงข้อมูลหลายชุดให้มามีหน่วยกลาง
ตัวอย่างเช่น การท�ำนาเกษตรอินทรีย์กับเกษตรเคมี หากต้องการ
เปรยี บเทียบดว้ ยหลายๆเกณฑ์ เชน่ มิติดา้ นเศรษฐกิจ ดจู ากคา่ ลงทุน/
ผลผลิตที่ได้ (คดิ คำ� นวณแปลงเปน็ ราคาขาย) กับมิติด้านสุขภาพ ซ่ึง
มติ นิ อี้ าจจะหา “หนว่ ยกลาง” เพอ่ื ไปเทียบกับมิตดิ า้ นเศรษฐกจิ (คดิ
57
คำ� นวณเป็นตวั เงิน) ไม่ได้ เปน็ ตน้
(vi) ปญั หาเรอ่ื งการวเิ คราะหแ์ บบดา้ นเดยี ว เชน่ ทมี วจิ ยั ชมุ ชน
โครงการสวสั ดิการกองทุนได้วิเคราะห์แต่ “ขอ้ ดี” ของการมกี องทนุ
โดยไมว่ ิเคราะห์ “ข้อจำ� กัดหรอื ข้อเสยี ” ของกองทนุ หรือการวิเคราะห์
แตด่ า้ นทแ่ี ตกตา่ งดา้ นเดยี ว/หรอื ในทางตรงกนั ขา้ ม วเิ คราะหแ์ ต่ “ดา้ น
ทเ่ี ป็นขอ้ เหมือนอย่างเดยี ว”
(vii) ปญั หาเรอื่ งขอ้ จำ� กดั ในดา้ นความเขา้ ใจเครอื่ งมอื การเปรยี บ
เทยี บของนกั วจิ ยั เอง เชน่ กอ่ นหนา้ ทจ่ี ะมาอบรม ทมี พเ่ี ลย้ี งยงั ไมร่ จู้ กั วา่
“ความแตกตา่ งนน้ั ยงั มคี วามแตกต่างเชิงประเภทและเชิงระดับ” ซง่ึ จะ
มีผลตอ่ เน่อื งไปถึงเร่อื งการประยกุ ต์เลียนแบบจากตน้ แบบตอ่ ไปอกี
เครอื่ งมอื A/Sช้ินที่ 9: การวเิ คราะห์สาเหตุ-ผลลพั ธ์
การวิเคราะห์สาเหตุ-ผลลัพธ์ (Causal analysis) เป็นอีก
เครื่องมือหนึ่งที่ทั้งทีมพี่เลี้ยงศูนย์ฯ และนักวิจัยชุมชนมีความรู้และ
ประสบการณ์อยา่ งอ่นุ หนาฝาค่งั มาก ทัง้ น้ีเพราะในกระบวนการทำ� งาน
วจิ ัย CBR โดยเฉพาะช่วงต้นนำ้� นัน้ กิจกรรมที่พเี่ ลี้ยงและทมี วิจยั ชมุ ชน
จะดำ� เนนิ การในขัน้ ตอนการพัฒนาโจทย์อยา่ งเปน็ ล�่ำเปน็ สนั กค็ ือ การ
ประมวลปญั หาตา่ งๆ ทชี่ มุ ชนกำ� ลังเผชญิ หน้า ซึ่งในสว่ นนี้ก็คือ ส่วน
ของ “ผลลพั ธ”์ (Effect) ต่อจากนัน้ ทีมวิจัยกจ็ ะสาวยอ้ นกลับมาหาว่า
ผลลพั ธต์ า่ งๆนน้ั เกดิ มาจาก “สาเหตอุ ะไรบา้ ง” ซง่ึ ในสว่ นนกี้ ค็ อื Cause
ตวั อยา่ งทช่ี ดั เจนทส่ี ดุ กค็ อื การจดั ทำ� เวทปี ระวตั ศิ าสตรก์ ารเปลย่ี นแปลง
ของชุมชนวา่ เกิดมาจากเหตปุ ัจจยั อะไรบา้ ง เป็นต้น
จากต้นทุนที่มีอยู่อย่างมากพอสมควรของพี่เลี้ยงและนักวิจัย
ชุมชน ในโครงการ ASCBR จงึ ได้ต่อยอดเพม่ิ ความหลากหลาย ความ
58
ละเอียด และความประณีตใหแ้ กก่ ารใชเ้ ครอื่ งมือการวิเคราะห์สาเหตฯุ
ดังน้ี
(1) สาเหตุ-ผลลพั ธค์ อื อะไร (Cause-effect) เนื่องจากทมี
พี่เลยี้ งศนู ย์ฯ มีประสบการณเ์ ร่ืองสาเหต-ุ ผลลัพธแ์ ลว้ วิทยากรจึงใช้
เทคนิค “เหน็ รปู -ถอดนาม” บวกผสมกับเทคนิค “การสร้างนิยามจาก
ขา้ งลา่ ง” เพอ่ื ใหท้ มี พเ่ี ลย้ี งสามารถตกผลกึ คำ� นยิ ามวา่ “สาเหต-ุ ผลลพั ธ์
นน้ั คอื อะไร” โดยใชค้ ำ� ถามคัดทา้ ย (Steering question) ตาม
ขน้ั ตอนเหล่าน้ี
(i) ราคาน้ำ� มนั ที่สงู ข้ึน ท�ำให้ มีการใช้รถนอ้ ยลง
(ii) ถา้ ราคาน้ำ� มันลดลง ท�ำให้ มกี ารใช้รถมากขนึ้
คุณสมบัตขิ ้อ 1 จากตวั อย่างทีย่ กมา มตี วั แปร 2 ตัวท่เี กย่ี ว
ข้องคอื “ราคาน�ำ้ มัน” และ”ปริมาณการใชร้ ถ”
59
(iii) ราคานำ้� มนั สงู ขึน้ คนจงึ ไมอ่ อกก�ำลังกาย
ขอ้ มลู ชดุ ท่ี (iii) น้ี ตัวแปร 2 ตวั คือ “ราคานำ้� มัน” กับ “การออก
กำ� ลงั กาย” ไม่ได้มีความเก่ียวขอ้ งกนั (โปรดสงั เกตวา่ ไม่มีลกู ศรเชอ่ื ม
โยง) ข้อความน้จี งึ ไมผ่ า่ นด่าน “สาเหต-ุ ผลลพั ธ์”
คุณสมบัติ ข้อ 2 หลงั จากมีตวั แปรทงั้ 2 ตวั แล้ว ตวั แปรทงั้ 2 น้ัน
ต้องมีความเก่ยี วขอ้ ง/สัมพนั ธ์กนั จึงจะผ่านด่านท่ี 2 ได้
(iv) เพราะมีลูกมาก ท�ำให้ จงึ ยากจน
(v) เพราะยากจน ท�ำให้ จึงมลี กู มาก
ในข้อ (iv) และ (v) ในขณะทม่ี ีตวั แปร 2 ตวั คือ “ปริมาณลกู ”
และ “ความยากจน” นัน้ จากตัวอยา่ งท่ยี กมา จะเห็นไดว้ า่ ท้งั 2 ตัวแปร
สามารถท่จี ะเป็นได้ทัง้ “สาเหตุ” และ “ผลลัพธ”์ ดงั นนั้ การทจ่ี ะรู้วา่
ตัวไหนเป็นสาเหตุ ตวั ไหนเปน็ ผลลพั ธ์ จะต้องดูท่ี “ต�ำแหนง่ แห่งที่”
กลา่ วคอื ตวั แปรสาเหตจุ ะตอ้ งมากอ่ น สว่ นผลลพั ธน์ น้ั จะตามมาทหี ลงั
(ภาษาวชิ าการเรียกว่า Time Series) ดว้ ยเหตนุ ้ี ในสมยั พุทธกาล
พระพุทธเจา้ จึงระบุกฎของสาเหตุ-ผลลัพธเ์ อาไวว้ า่ “ผลทงั้ หลายยอ่ ม
(ตาม)เกดิ มาแตเ่ หต”ุ โดยทส่ี าเหตนุ น้ั ตอ้ งมคี วามสมั พนั ธก์ บั ผลลพั ธ์
ในเชิง “เปน็ ตัวกำ� หนด (ให้เกิดผลตามมา)” (determine)
คุณสมบตั ิข้อ 3 ลักษณะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรท้ัง 2
เปน็ ลักษณะแบบ “ตวั ก�ำหนด” (ภาษาหนงั จีนฮ่องกงเรยี กว่า “ส่งั ตาย
เปน็ ตาย”) โดยตวั แปร “สาเหต”ุ เปน็ ตวั ก�ำหนดตวั แปร “ผลลัพธ”์
คณุ สมบัติขอ้ 4 ตัวแปร “สาเหตุ” จะต้องมาก่อนตัวแปร
“ผลลพั ธ์” (Time series)
คณุ สมบัติขอ้ 5 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปร “สาเหต”ุ และ
60
“ผลลพั ธ”์ ตอ้ งเป็น “การก�ำหนด” ไม่ใชค่ วามสมั พันธแ์ บบบังเอิญ
(Coincidence)
คณุ สมบตั ิขอ้ 6 ในบางกรณอี าจจะมี “ตวั แปรทท่ี �ำทา่ คล้าย
จะเป็นสาเหต”ุ เข้ามาพวั พนั ทำ� ให้คดิ วา่ เป็นสาเหตุ แต่แทจ้ ริงแลว้ ไมใ่ ช่
เช่น เวลาจ้ิงจกทัก (สาเหตุ) ทำ� ให้โชคร้าย (ผลลัพธ)์ เวลามดี าวหาง
โคจรมา (สาเหต)ุ ท�ำให้ผูน้ ำ� ประเทศถงึ แก่อสัญกรรม (ผลลัพธ)์ ตัวแปร
ประเภทนเ้ี รียกว่า “ตวั แปรลวง” (Spurious variable) ซึ่งเกดิ ขึน้ มาก
ในชีวติ ประจ�ำวันทว่ั ไป
(2) ความสำ� คญั ของการวเิ คราะห์สาเหตุ-ผลลัพธ์ หาก
ถามว่าทำ� ไมเราจึงต้องวเิ คราะหส์ าเหตุของปญั หาต่างๆ คำ� ตอบน้นั ก็
แทบจะรับรูก้ นั เป็นสามญั สำ� นึกทัว่ ไป ดังที่ในชวี ติ ประจำ� วัน คนไทยเรา
มักจะมคี �ำพดู ติดปากวา่ “เรื่องน้ีมีทม่ี าท่ีไปยังไง” ค�ำว่า “ทมี่ า” น้กี ็คือ
“สาเหตุน่ันเอง” (ส่วน “ทีไ่ ป” นัน้ กน็ ่าจะเป็น “ผลลัพธ์/ผลสบื เนอ่ื ง”)
ดังน้นั ความสำ� คญั ของการทตี่ ้องวิเคราะห์สาเหตุและผลลัพธจ์ ึงนา่ จะมี
61
ดงั น้ี
(i) เมอื่ เวลาทเ่ี ราพบปัญหา สว่ นของ “ปญั หา” นค้ี ือ “ผลลพั ธ์”
ซ่ึงหากเราต้องการจะแก้ปัญหา ต้องสาวย้อนไปแก้ที่ “สาเหตุ” ใน
เบอ้ื งต้น เราจงึ ตอ้ งวิเคราะห์สาเหตุเสยี กอ่ น
(ii) แต่การวเิ คราะห์หาสาเหตุ กม็ ปี รากฏการณ์ใหเ้ ราเดนิ ผิด
เส้นทางหรือ “จับผดิ ตวั ” ไดม้ ากมายดังท่ีไดก้ ลา่ วถงึ คุณลกั ษณะของ
“สาเหต-ุ ผลลัพธ”์ เชน่ เปน็ ตวั แปรท่ีบังเอญิ เขา้ มาพัวพัน (coinci-
dence) เปน็ พวกตวั แปรลวง/สาเหตุปลอม ดังน้นั การวิเคราะหส์ าเหตุ
จงึ หมายถงึ ความสามารถทจ่ี ะแยกแยะ/ตรวจสอบหา “ตวั การทแ่ี ทจ้ รงิ ”
(iii) ในลำ� ดบั ต่อไป เราจะเห็น “ความซับซอ้ นของสาเหต”ุ ท่ี
ตอ่ เนื่องระโยงระยางกันเป็น “สายโซแ่ ห่งสาเหต”ุ ทท่ี ำ� ให้เราตอ้ งสาว
ไปหา “ปฐมสาเหต”ุ เพอ่ื แกป้ ญั หาให้สน้ิ ซาก
(iv) และหลงั จากมกี ารวเิ คราะหส์ าเหตแุ ลว้ กใ็ ชว่ า่ เราจะสามารถ
“จัดการ” กับทุกสาเหตุได้ ดงั นั้นจึงต้องมกี าร “ประเมนิ ค่าสาเหตุแต่ละ
ประเภท” เพอ่ื ตดั สนิ ใจว่าจะด�ำเนนิ การกับแต่ละสาเหตุอย่างไร
การวเิ คราะหส์ าเหตุและผลลัพธ์จงึ มที ั้งแบบ “ธรรมดา” และ
“แบบภาคพิสดาร/หลายชัน้ ” ซง่ึ เราจะสามารถวเิ คราะหแ์ บบมีลลี าทา่
ม้วนตัวหลายตลบได้ก็ต่อเมื่อเรารู้จัก “ธรรมชาติและคุณลักษณะของ
สาเหตุ-ผลลัพธ์อยา่ งรอบด้าน” ดงั ท่ีจะกล่าวถงึ ตอ่ ไป
(3) ประเภทของสาเหต-ุ ผลลพั ธ์ มวี ธิ แี บง่ ประเภทของสาเหต-ุ
ผลลัพธ์ได้หลายวิธี ในทน่ี ้ีจะแบง่ โดยใช้เกณฑ์ 2 เกณฑค์ ือ
(3.1) เกณฑค์ วามซบั ซ้อน
(3.2) เกณฑแ์ หลง่ ก�ำเนิด
(3.1) ประเภทของสาเหตแุ บ่งตามระดบั ความซับซ้อน
62
อาจจะแบ่งไดเ้ ปน็ 5 แบบแผน ดังนี้
63
แบบแผน C : หลายสาเหตุเรยี งเป็นล�าดับชน้ั เชน่ ต้นไม้ปญั หา
(Problem Tree)
ตวั อย่างของแบบแผน C ท่ีมหี ลายสาเหตแุ ละเรยี งตวั เปน็
ล�าดับชนั้ เช่น ต้นไม้ปัญหา (Problem Tree) เช่น เร่มิ ต้นจากปัญหา
“เยาวชนเปน็ โรคเอดส”์ ก็ตอ้ งสาวลงไปหาสาเหตุยอ่ ยๆว่ามอี ะไรบ้าง
เช่น เกดิ จากเยาวชนไมม่ ีความร้คู วามเขา้ ใจเร่อื งเอดส์/เพศศกึ ษา และ
มเี พศสมั พนั ธโ์ ดยไมป่ อ้ งกนั เปน็ ตน้ จากนน้ั กไ็ ลจ่ ากปญั หาใหญล่ งมา
เป็นปัญหาเลก็ จากปัญหาเล็กไล่ลงมาจนเปน็ ปญั หายอ่ ย จนกระทง่ั
เวลาออกแบบกิจกรรม สามารถจะค่อยๆ “แก้ไขไปทีละเปลาะ” (ปัญหา
ยอ่ ย) ดงั ในภาพ
64
ตัวอย่างของแบบแผน E เป็นแบบแผนของหลายสาเหตุที่
เช่ือมโยงตอ่ เน่ืองกนั เปน็ สายโซ่แหง่ สาเหตุ (Chain of causes) เชน่
เพลงร้องเล่นของเด็กไทยสมัยกอ่ นวา่ “ฝนเอย๋ ทา� ไมจึงตก ก็เพราะกบ
มันร้อง กบเอ๋ยทา� ไมจงึ ร้อง...” ในภาษาของพทุ ธศาสนาเรยี กวา่ “ปฏิจจ
สมปุ บาท” ส่วนในภาษาวชิ าการสมัยใหมเ่ รยี กว่า why-why analysis
65
ตวั อยา่ งเชน่ ปญั หาน�้าจากคลองชลประทานส่งไปไม่ถึงปลาย
คลอง เม่ือสาวหาสาเหตุจะพบ “กลุ่มสาเหตุแรกมี 5 สาเหตุย่อย
(1. วัชพืช 2. รากไม้ข้ึนปกคลุม...) แต่เม่ือสาวจากสาเหตุย่อยลงไป
เรื่อยๆ จะพบว่าทกุ สาเหตุยอ่ ยมี “ปฐมเหตุจากเร่อื งเดียวกัน” คือความ
ไม่รู้ของตัวคนท่ีเก่ียวข้อง (ท้ังชาวบ้านและเจ้าหน้าท่ีรัฐ) ดังน้ัน การ
แก้ไขปญั หากต็ อ้ งลงไปแกท้ ี่ปฐมเหตุ ดังในภาพ
66
(3.2) ประเภทของสาเหตแุ บง่ ตามแหลง่ กำ� เนดิ จะแบง่
ไดเ้ ปน็ 2 ประเภทหลักๆคือ
3.2.1 สาเหตจุ ากธรรมชาติ เชน่ ภเู ขาไฟระเบดิ กระแสนำ�้
เซาะชายฝ่งั ฯลฯ
3.2.2 สาเหตจุ ากมนษุ ยส์ รา้ งขน้ึ มา เชน่ จำ� นวนประชากร
ท่ลี ดลงเพราะมีการคมุ กำ� เนดิ การระเบดิ ให้ภูเขาไฟระเบิดกอ่ น เปน็ ตน้
ปญั หาทเ่ี กิดจากสาเหตุท้งั 2 ประเภทตามแหล่งกำ� เนดิ นี้
มผี ลสืบเนอ่ื งมาถึงการจัดการกบั ปัญหาที่แตกตา่ งกนั เช่น สาเหตุจาก
ธรรมชาตินน้ั มนษุ ย์ไมส่ ามารถจะหลีกเลีย่ งได้ หรอื ขจดั ใหห้ มดไปโดย
ส้ินเชิงได้ คงท�ำได้เพียงป้องกันหรือชะลอความเร็ว ส่วนสาเหตุจาก
มนษุ ย์สรา้ งขน้ึ มานั้นสามารถจะหลกี เลีย่ งหรอื หยุดยงั้ ได้ ในทางปฏบิ ตั ิ
จงึ มกั มขี อ้ ถกเถยี งกนั วา่ ปญั หาตา่ งๆทเ่ี กดิ ขน้ึ นน้ั มสี าเหตมุ าจากธรรม-
ชาติหรือมนุษย์สร้างข้ึน เช่น ปัญหาเร่ืองอุณหภูมิของโลกท่ีร้อนข้ึน
เปน็ ตน้
(4) ฟงั กช์ ่นั การใช้งาน
(4.1) แบ่งฟงั ก์ชน่ั ตามประเภทของสาเหตุ จากการจดั
แบง่ ประเภทของสาเหต-ุ ผลลพั ธเ์ ป็นแบบแผนต่างๆ นำ� มาสูฟ่ ังกช์ นั่ การ
ใช้งานเครื่องมือการวิเคราะห์สาเหตุ-ผลลัพธ์ตามลักษณะประเภทของ
สาเหตไุ ดส้ กั 4-5 ฟงั กช์ น่ั ดังนี้
67
(4.2) การแบ่งฟงั กช์ ่นั ตามเกณฑ์การประเมนิ ค่า นอก
จากจะมีวิธีการใช้เครื่องมือวิเคราะห์สาเหตุตามลักษณะประเภทของ
สาเหตุแล้ว เรายังอาจจะนา� เคร่ืองมอื การวเิ คราะหส์ าเหตมุ า “ประเมนิ
คา่ ” ดว้ ยเกณฑต์ ่างๆ เชน่ การจดั ล�าดับความสา� คัญของปญั หา ความ
สามารถในการควบคุม ความเรง่ ดว่ น ฯลฯ เพอื่ จะตัดสินใจในการเลอื ก
“วธิ ีแกป้ ญั หา” หลายๆวธิ กี ารเพ่อื แก้ไขสาเหตยุ ่อยๆเหล่านน้ั
68
(5) ประโยชนข์ องเคร่ืองมือการวิเคราะห์สาเหตุ เนอื่ งจาก
ต้นทุนความรู้และประสบการณ์ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ของพี่เลี้ยงศูนย์ฯ
ในเรอ่ื งการวเิ คราะห์สาเหตุ ดังน้ัน ในหวั ขอ้ “ประโยชนข์ องเครือ่ งมอื
วเิ คราะหส์ าเหต”ุ จงึ จะแบง่ การนำ� เสนอเปน็ 2 สว่ น (ตามหลกั กระบวน
การ “ร่วมด้วยช่วยกันสรา้ งความรู้” - Co-creation of knowledge)
ส่วนแรกเป็นความรู้เร่ืองประโยชน์ของการวิเคราะห์สาเหตุตามหลัก
วิชาการ สว่ นทีส่ อง เป็นความร้ทู ี่มาจากภาคปฏบิ ัติการ
(5.1) ประโยชนข์ องเคร่อื งมือการวเิ คราะหส์ าเหตตุ าม
หลักวชิ าการ สามารถแบ่งเปน็ ลำ� ดบั ชั้นไดด้ งั นี้
(i) การวเิ คราะหส์ าเหตุจะช่วยใหร้ ู้ว่าอะไรเป็นสาเหตทุ ีแ่ ท้
จริง กล่าวคือ รูว้ ่าคันตรงไหน จะไดเ้ กาให้ถกู ที่คัน
(ii) ในกรณที ่ีสาเหตุมหี ลายสาเหตุ ก็จะสามารถจดั การได้
ทกุ สาเหตุ
(iii) กรณที ี่สาเหตมุ ีหลายลำ� ดับช้นั เปน็ สายโซ่ กจ็ ะได้สาว
ตามสายโซ่ไปจนถงึ ปฐมเหตุ
ในทางวชิ าการมหี ลกั การวา่ “ถา้ เราสาวหาสาเหตขุ องปญั หา
ไปได้ต้นื ลึกแค่ไหน เรากจ็ ะจัดการปัญหาได้ตน้ื ลกึ แค่นน้ั ตัวอยา่ งเชน่
• ปัญหาคอื ยุงกัด ครง้ั แรก เราวเิ คราะหป์ ญั หาแค่ระดบั สาเหตุ
แรก “ยุงกดั ” - เรากจ็ ะแกไ้ ขโดยการตบยงุ /ฉดี ยุง
• ตอ่ มาพบวา่ ไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ เพราะตบยงุ
ตัวเก่าตายไป ยุงตวั ใหม่กม็ ากดั อีก จึงวิเคราะหส์ าเหตุช้ันสอง
พบว่าเกดิ จากการเปดิ หน้าตา่ งทงิ้ เอาไว้ - เราก็จะแกป้ ัญหา
ดว้ ยการปดิ หนา้ ตา่ ง
• ต่อมาพบวา่ แม้จะปดิ หน้าตา่ งแล้ว ยุงก็ยงั เขา้ มาได้ จงึ
วิเคราะห์สาเหตุขัน้ สามพบวา่ เพราะมชี ่องลมเปิดอยู่ เราจะแก้
ปญั หาด้วยการปดิ ชอ่ งลมไมไ่ ด้ จึงตอ้ งสาวออกไปหาปฐมเหตุ
69
• เมื่อเกบ็ ข้อมูลต่อไปกพ็ บปฐมเหตวุ า่ มีอ่างทีม่ ลี ูกน�้ำอยู่ จึง
แกป้ ญั หาดว้ ยการช้อนลูกนำ้� ท้งิ ใส่ทรายอะเบส คว�่ำหรอื หา
ฝามาปดิ อ่างน้ำ� เปน็ ตน้
(5.2) ประโยชนข์ องเครื่องมอื วิเคราะห์สาเหตุ: ทศั นะ
จากภาคปฏบิ ัติ วทิ ยากรใชว้ ิธกี ารระดมสมองดว้ ยบตั รคำ� โดยให้กลุ่ม
พี่เลย้ี งเขียนประโยชน์ของเครอื่ งมอื วเิ คราะหส์ าเหตลุ งในบตั รค�ำ 4 ใบ
ตาม 4 หัวข้อดงั นคี้ ือ
(ก) ประโยชนใ์ นเชงิ การจดั การกบั ขอ้ มลู (data manage-
ment)
(ข) ประโยชนใ์ นการชว่ ยงานในกระบวนการวจิ ยั (research-
process assistance)
(ค) ประโยชนใ์ นฐานะเครอื่ งมอื ช่วยการปฏบิ ตั งิ าน (work-
process assistance)
(ง) ประโยชน์ในฐานะเครือ่ งมือพัฒนาสมองทง้ั 2 ซีก
ผลการระดมสมองมดี ังในภาพ
70
หัวขอ้ ประโยชน์ของการวิเคราะหส์ าเหต-ุ ผลลัพธ์
1. การจดั การขอ้ มลู
1) มองเหน็ ความเชอื่ มโยงของข้อมลู ทีม่ ีความซบั ซอ้ น
2. กระบวนการวจิ ยั 2) อธบิ ายผลทเี่ กดิ ขึน้ จนน�าไปสทู่ ฤษฎใี หม่
3) ท�าให้เห็นความซับซ้อนของขอ้ มูล/ปญั หา
4) ท�าใหท้ ราบถงึ ล�าดบั ชน้ั ของขอ้ มลู เมอ่ื ท�าการจดั หมวด
หมูข่ อ้ มูล
5) ชว่ ยก�าหนดขอ้ มลู ที่ควรเกบ็ เพ่อื ตอบโจทย์
1) ค้นหาสาเหตเุ พ่อื น�าไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาทตี่ รงจุด
2) ออกแบบกระบวนการ/วิธกี ารแกไ้ ขปัญหาไดต้ รงจุด
เพ่มิ /ลดกิจกรรม
3) ออกแบบการวิจัยได้ตอบโจทย์การวจิ ัยที่ชัดเจนและ
วัดผลได้ตรงจุด
4) เหน็ ความเช่อื มโยงของการออกแบบการวจิ ัยกับการ
ปฏิบตั กิ าร
71
หวั ข้อ ประโยชน์ของการวเิ คราะห์สาเหต-ุ ผลลัพธ์
3. การปฏบิ ตั งิ าน 1) เป็นเขม็ ทศิ ในการทำ�งานอยา่ งเป็นลำ�ดับข้นั ตอน
2) ปรบั วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทตี่ รงกบั ปัญหา
3) กำ�หนดขอบเขตและระดับการแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ ง
ชัดเจนเพ่ิมขึ้น
4) จดั กิจกรรมทีแ่ กป้ ญั หาได้ตรงจดุ ทำ�ใหก้ ารปฏบิ ตั ิ
งาน/การทำ�งานมงุ่ เป้าชัดจน
4. การเสรมิ สมอง 1) ปรับทัศนคต/ิ วธิ คี ดิ จากการแก้ไขปญั หาจากการใช้
2 ขา้ ง ข้อมูลในการแก้ไขปัญหา (สาเหต-ุ ผลลพั ธ์)
2) ยกระดบั พฒั นาความคดิ ในการแกไ้ ขปญั หาทย่ี ากขน้ึ ได้
3) คาดเดาผลทีจ่ ะเกิดในอนาคตได้หลากหลายรูปแบบ
4) เกดิ ความคดิ ปง๊ิ แวบจากการวเิ คราะหแ์ ละการสงั เคราะห์
ช่วยเสรมิ พลงั ปญั ญา
(6) ชว่ งเวลาในการใช้เครอ่ื งมือการวิเคราะหส์ าเหตุ โดย
ทว่ั ไป เรามักจะคิดว่าเครอ่ื งมือการวิเคราะห์สาเหตนุ ั้นจะใชแ้ ต่เฉพาะใน
ชว่ งตน้ นำ้� คอื ขน้ั ตอนการพฒั นาโจทยเ์ ท่านัน้ แตจ่ ากคุณลกั ษณะและ
ประเภททีห่ ลากหลายของสาเหตุท่ีได้กลา่ วมาแลว้ ดังนนั้ การวเิ คราะห์
สาเหตุ-ผลลพั ธ์จงึ สามารถใชไ้ ด้ตลอดท้ังสายนำ้� ดงั น้ี
72
(6.1) ช่วงต้นน�้ำ ก็คอื ชว่ งพัฒนาโจทย์ แตกโจทยย์ อ่ ย ซง่ึ
สามารถใช้เคร่ืองมือการวิเคราะห์สาเหตุแยกแยะประเภทของสาเหตุ
ย่อยๆ (ตามแบบตน้ ไม้แหง่ ปัญหาที่ไดก้ ลา่ วมา)
(6.2) ช่วงกลางน�้ำ เปน็ ชว่ งของการสรา้ งเครอ่ื งมือและไป
เก็บข้อมูลมา ในชว่ งน้สี ามารถจะใช้เคร่ืองมือวเิ คราะห์สาเหตุมาตรวจ
สอบจากขอ้ มลู ท่เี กบ็ มา (เพราะสาเหตทุ ่วี ิเคราะห์เอาไว้ในชว่ งตน้ นำ้� นน้ั
เปน็ เพยี งการต้งั สมมตฐิ านเทา่ น้ัน) ตวั อย่างเช่น ในโครงการกองทนุ
สวัสดิการชมุ ชน ต.แมก่ ลอง ในชว่ งตน้ น�้ำ ทีมวจิ ัยคาดว่า สาเหตุที่
สมาชกิ ไมค่ อ่ ยส่งเงนิ ค่าสมาชิก เปน็ เพราะสมาชิกไมเ่ ข้าใจความสำ� คัญ
ของกองทนุ แตเ่ ม่ือลงมือเก็บขอ้ มลู ก็พบ “สาเหตุใหม่” ว่าเป็นเพราะ
สถานท่ีเก็บเงินรวมศูนย์มีแห่งเดียว ท�ำให้ไม่สะดวกท่ีจะมาช�ำระค่า
สมาชกิ เป็นตน้
(6.3) ชว่ งปลายน�้ำ สามารถนำ� เอาผงั ตน้ ไม้แหง่ ปญั หาที่
ได้วิเคราะห์เอาไว้ และการลงมือท�ำกิจกรรมแก้ไขปัญหาท้ังหมดมา
ประมวลสรุปอีกครั้งหนง่ึ ว่า “ได้เกาถกู ทคี่ ันไปอย่างครบถ้วนหรอื เปลา่
ตรงไหนท่หี ายคันบา้ ง ตรงไหนท่เี กาไปแลว้ เกดิ อักเสบบ้าง” เปน็ ตน้
(7) ปญั หาการใชง้ าน นอกเหนอื จากปัญหาที่ไดก้ ลา่ วแตะๆ
ไปบ้างแลว้ อาจจะมีปญั หาเพ่ิมเตมิ ในการใช้เครือ่ งมือดังนี้
(i) ปญั หาแรกเริ่มเลย คอื ความรู้เรอื่ งประเภทของสาเหตขุ อง
ปัญหายังไม่แตกฉาน คิดแต่ว่าปัญหาหน่ึงๆจะมีสาเหตุเดียวเท่าน้ัน
ดงั นนั้ จึงใช้วิธแี กเ้ พียงวิธเี ดยี ว ท้งั ๆทส่ี าเหตุของปญั หาอาจจะเชอ่ื มรอ้ ย
กนั เปน็ สายโซ่
(ii) ฟังกช์ ั่นการใช้เคร่ืองมือไม่ถึงท่ีสุด เช่น หลงั จากทมี่ กี าร
ระดมสาเหตุของปัญหาแล้ว ไม่ได้น�ำมา “ประเมนิ คา่ ” วา่ ปญั หาใด
สามารถจดั การได้ ปญั หาใดไมค่ มุ้ คา่ ที่จะจัดการ ปญั หาใดที่ไมต่ อ้ ง
จดั การก็สลายตัวไปเอง เป็นต้น
73
เคร่อื งมือA/Sชนิ้ ที่ 10: การวิเคราะหก์ ระบวนการ
มขี ้อท่นี า่ สังเกตประการแรกเลยกค็ ือ งานวจิ ยั เพอื่ ท้องถ่นิ นน้ั มี
จุดเนน้ และจดุ ขายท่ีแตกต่างไปจากงานวจิ ยั ประเภทอ่นื ๆคอื ในขณะที่
งานวจิ ัยประเภทอน่ื ๆนน้ั จะขาย “ผลผลติ คอื ผลงานวจิ ัย” แต่งานวิจัย
CBR นน้ั จะเนน้ “ขายกระบวนการ” (Procedure/Process) และ
“กระบวนการแบบที่ CBR น�ำมาขายน้ัน กค็ อื กระบวนการมสี ว่ น
ร่วม” (Participatory process) ซงึ่ มสี ถานะเป็น 1 ใน 3 ของคาถา
ประจำ� ของ CBR
แตท่ วา่ ในการทบทวนเอกสารรายงานโครงการวจิ ยั และรายงาน
การประชุมของศูนย์ฯ หัวหน้าโครงการฯซ่ึงเป็นบุคคลภายนอกศูนย์ฯ
กลับพบว่า มีข้อมูลที่เก่ียวกับ “การวิเคราะห์กระบวนการมีส่วนร่วม”
อยนู่ อ้ ยมาก รวมทง้ั เมอ่ื มกี ารตรวจสอบความเขา้ ใจของคนทำ� งานศนู ยฯ์
เกย่ี วกบั เร่ือง “กระบวนการ” ก็พบว่า ยงั มีความเข้าใจเร่อื งกระบวนการ
ท่กี ะพรอ่ งกะแพรง่ และองคป์ ระกอบของ “ความเปน็ กระบวนการ” ก็
ยงั มาไมค่ ่อยครบองคป์ ระชมุ
ด้วยเหตุน้ี แนวทางท่ีใช้ในการศึกษาร่วมกันในเร่ือง “การ
วิเคราะหก์ ระบวนการ” ในโครงการวจิ ัย ASCBR น้ี จึงต้องเริม่ ตน้ ด้วย
การ “ขันนอ๊ ต” (fixing) ความเขา้ ใจว่า “กระบวนการนนั้ คืออะไร” ให้
กระชับแนน่ เป็นอันดับแรกกอ่ นทจ่ี ะก้าวไปถึงเรอ่ื งอ่นื ๆตอ่ ไป
74
(1) คำ� ว่า “กระบวนการ” คอื อะไร คำ� วา่ “กระบวนการ” น้นั
เปน็ คลา้ ยๆปลายจมกู ของเรา คอื มันอยใู่ กล้มาก มนั ค้นุ เคยกบั เรามาก
จนเราคิดว่า เราเข้าใจมนั ดีแล้ว แต่เอาจริงๆ เราก็ไมค่ อ่ ยได้เหน็ มนั
อยา่ งจริงจัง ดงั น้นั ก้าวแรกท่ีจะเรมิ่ ตน้ มองให้เห็นปลายจมูกก็คือ การ
หนั หนา้ มาดูกันอยา่ งจริงๆจังๆว่า “สิ่งทเี่ รียกว่า “กระบวนการ” นัน้ มนั
คอื อะไรกนั แน่
หวั หนา้ โครงการฯ ใชเ้ ทคนิคการกา้ วลงจากบนั ไดแหง่ รูป-นาม
ลงมา 1 ขัน้ เนื่องจากคำ� วา่ “กระบวนการ” น้นั มีความเป็นนามธรรมสูง
มองไมเ่ ห็นตวั เปน็ ๆ จบั ต้องไมไ่ ด้ วิทยากรจึงตอ้ งกา้ วลงมายืนในขนั้
บนั ไดท่ีเป็นรปู ธรรมมากขึน้ โดยเทียบวา่ ค�ำว่า “กระบวนการ” ทใี่ กล้
เคยี งกับคำ� วา่ “ขบวน(รถไฟ)” ต่อจากนน้ั ก็ใช้ “เทคนิคการวเิ คราะห”์
แกะส่วนประกอบของขบวนรถไฟออกมาเป็นองคป์ ระกอบยอ่ ยๆ
75
ส่ิงท่ีเรียกว่า “ขบวนรถไฟ” นั้นจะต้องมีองค์ประกอบย่อยๆ
4 สว่ นดังนี้
(1) Part ตโู้ บกร้ี ถไฟจะต้องมีมากกวา่ 1 ตขู้ ้ึนไป จงึ จะเรียกวา่
“มากันเป็นขบวน”
(2) Position แตล่ ะโบกจ้ี ะตอ้ งมตี ำ� แหนง่ แหง่ ทท่ี แ่ี นน่ อน เชน่
หัวรถจกั รต้องอยตู่ ้นขบวน ตูท้ ้ายขบวน ต้เู สบยี ง เป็นต้น ตำ� แหน่งแห่งที่
นอ้ี าจจะหมายถงึ “สถานท่/ี พืน้ ท่ี และชว่ งเวลา/ลำ� ดบั ขน้ั ตอน” (Time
and Space)
องค์ประกอบเร่ือง “ล�ำดับที่” หรือ “ลำ� ดับเวลา” นมี้ คี วาม
สำ� คัญมากในเรือ่ ง “ขบวนการ” หรอื “กระบวนการ” ตวั อยา่ งง่ายๆก็
เชน่ หากสลับเอาหัวรถจกั รไปไว้ทา้ ยขบวน ทิศทางการว่งิ ของรถไฟก็จะ
เปลี่ยนไปทันที
ในกระบวนการ “ผัดกะเพราไกไ่ ขด่ าว” หากเราสลับล�ำดับ
ขน้ั ตอนของการผัด เชน่ เอากะเพราลงกะทะก่อน แลว้ ค่อยใสน่ ำ�้ มนั
ตามลงไป หน้าตาของผดั กะเพราที่ออกมาก็คงจะดไู ม่จดื ในกรณีของ
การทำ� อาหาร เราจะเหน็ ความสำ� คัญของ “กระบวนการ” ท่สี ง่ ผลตอ่
รสชาติของอาหารได้อยา่ งชดั เจน
(3) ข้อตอ่ /เหล็กเชือ่ ม/ตวั เชื่อมตอ่ (Connector/relation)
เป็นอีกองคป์ ระกอบย่อยหนง่ึ ท่ีเปน็ หวั ใจของเรอื่ ง “ขบวน” “กระบวน
76
การ” เลยทีเดียว ในกรณขี องขบวนรถไฟ หากในแตล่ ะโบกีข้ าด “เหล็ก
เชื่อม” ก็ไม่อาจจะไปกันเป็นขบวนได้อย่างแน่นอน เวลาที่เราได้ยิน
ค�ำบรรยายว่า “ไทยแตกทัพถอยร่นอย่างไม่เป็นขบวน” ก็เน่ืองจาก
การขาด “ข้อตอ่ /เหล็กเชอื่ ม” นเี้ อง
สำ� หรับ “ขอ้ ต่อ/เหล็กเชื่อม/ตัวเชือ่ ม” นี้ ในกรณีของขบวน
รถไฟ อาจจะมองเห็นเปน็ รูปธรรมคือตวั เหล็กเช่ือม แต่ในกรณีของ
“กระบวนการ” ตัวเชอ่ื มต่ออาจจะเปน็ “นามธรรม” อาจจะมองไม่เห็น
จบั ต้องไมไ่ ด้ แต่สามารถ “ทำ� หน้าท่ไี ด้” (มีฟงั กช์ ่นั ) ทกุ วันน้ี พวกเรา
คุ้นเคยกับการเลน่ มอื ถอื ท่มี ี “การเช่ือมต่อ” เพอ่ื เลน่ เนต็ ก็คงพอเทียบ
เคียงได้วา่ “หากปราศจากการเชือ่ มต่อแลว้ การท�ำงานของมอื ถือจะ
เป็นอยา่ งไร”
ตวั เชอ่ื มต่อจงึ สามารถเป็นไปได้ทัง้ “รูป” และ “นาม” และ
สรรพสง่ิ ทกุ อยา่ งในโลกไมว่ ่าจะเปน็ เหล็ก ข้อต่อกระดูก คน (นาง
นกต่อ) ฯลฯ สามารถจะเป็น “ตวั เช่ือมต่อ” ไดห้ ากถกู “มอบหมาย
บทบาทหน้าที”่ (role assignment) ใหท้ �ำหน้าทเี่ ป็นตวั เชื่อมตอ่
ดังน้ัน นายต�ำรวจท่านหนึง่ ซึ่งปกติกเ็ ป็นคนธรรมดา แต่เมอื่ ถูกมอบ
หมายบทบาทใหไ้ ปเปน็ “ตัวไปลอ่ ซ้อื ” ยาบ้า นายตำ� รวจทา่ นน้นั ก็
เลน่ บทเปน็ “ตัวตอ่ เช่ือม” ไปแล้ว
องคป์ ระกอบยอ่ ย “ตวั เชื่อมตอ่ ” นี้เองทเ่ี ปน็ ตวั อธบิ ายปรากฏ
การณ์ “หัวกระดิก แต่กลางไมก่ ระดกุ และหางกไ็ มส่ า่ ยเลย” เชน่ ใน
กลุ่มออมทรพั ย์ กจ็ ะมแี ต่คณะกรรมการกลมุ่ เทา่ น้ัน (สว่ นหัว) ที่เขา้ ใจ
เปา้ หมายของกลุ่ม แตส่ มาชกิ นน้ั (สว่ นกลาง) มอง “กลุ่มออมทรัพย์”
เปน็ เพียง “กลุ่มกูท้ รพั ย”์ (เขา้ กลมุ่ เพ่อื หวงั กู้) เท่านนั้ สว่ นคนอน่ื ๆใน
ชุมชน (ส่วนหาง) ไมไ่ ดม้ ีความสนใจเรื่องกลุ่มออมทรพั ย์เลย เป็นต้น
และองคป์ ระกอบเรอ่ื งตวั เชอ่ื มตอ่ นเ้ี องทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความแตกตา่ ง
ระหวา่ ง “การจดั กิจกรรมแบบเปน็ คร้งั ๆ เปน็ event” กับ “การดำ� เนนิ
77
กิจกรรมอย่างต่อเนอ่ื งเชือ่ มโยงเปน็ กระบวนการ” หรอื การทำ� งานเป็น
โครงการย่อยๆกับการวางแผนยุทธศาสตร์ท่ีต้องให้แต่ละโครงการย่อย
เชอื่ มต่อเปน็ โครงข่ายทั้งหมด
(4) เปา้ หมาย/ทศิ ทาง (Purpose) ในขณะทอี่ งคป์ ระกอบยอ่ ย
ทั้ง 3 ที่ไดก้ ล่าวมาแล้วเป็นเนอื้ เป็นตวั ของกระบวนการ/ขบวนการอย่าง
แท้จรงิ แต่องค์ประกอบที่ 4 น้จี ะเป็นตัวกำ� หนดวา่ หนา้ ตาของขบวน/
กระบวนการนน้ั จะออกมาเปน็ อย่างไร
ตัวอยา่ งเชน่ ในกรณขี องขบวนรถไฟ เป้าหมายวา่ จะมุ่งหน้าไป
สทู่ ไ่ี หนกจ็ ะเปน็ ตวั กำ� หนดวา่ หวั รถจกั รรถไฟจะตอ้ งอยตู่ รงไหน ในกรณี
ของกระบวนการทำ� กบั ขา้ ว หากเรามี 3 เปา้ หมายทแ่ี ตกตา่ งกนั คือ ทำ�
กับข้าวเพื่อให้อร่อย ท�ำกบั ข้าวอยา่ งเรว็ ๆ (เพอ่ื ประหยดั เวลา) ทำ� กบั ข้าว
เพือ่ รักษาคุณคา่ ของอาหาร (เพือ่ หลักโภชนาการ) เป้าหมายทั้ง 3 แบบ
นจ้ี ะทำ� ให้ “กระบวนการท�ำกับขา้ วออกมามหี นา้ ตาที่แตกต่างกัน”
สำ� หรบั การตดิ ตงั้ ความเขา้ ใจวา่ ดว้ ยเรอื่ ง “กระบวนการคอื อะไร”
นน้ั เพอ่ื ให้แนใ่ จวา่ กลมุ่ ทีมพ่เี ล้ยี งจะมีความเข้าใจท่ีสมบูรณแ์ ขง็ แรง
ไมก่ ะพรอ่ งกะแพรง่ ในเรอื่ งนี้ ดงั นนั้ หลงั จากทไี่ ดต้ ดิ ตงั้ เรอื่ งองคป์ ระกอบ
ยอ่ ยท้ัง 4 ของกระบวนการไปแล้วว่า “หากขาดไปซึง่ องค์ประกอบใด
องค์ประกอบหนง่ึ หรอื หากผดิ ไปจากองคป์ ระกอบทง้ั 4 แล้ว ไม่ถือวา่
น้ันเป็นกระบวนการ” วิทยากรก็ได้ทดสอบความเข้าใจดังกล่าวด้วย
การ “หาเหยอ่ื มาล่อ” โดยเอากรณที ้งั ท่ี “ใช”่ และ “ไมใ่ ช”่ มาใหก้ ล่มุ
พเี่ ลยี้ งเลือกคำ� ตอบ พร้อมใหค้ �ำอธิบายว่า “เพราะอะไรจึงใช/่ ไม่ใช”่
กระบวนการ ดังน้ี
78
79
80
เวทชี แี้ จงและวางแผน
ของคณะท�างาน
เวทสี ร้างความร/ู้ เขา้ ใจ มาจากการวิเคราะห์
เร่อื งสื่อพน้ื บ้านร่วมกัน คุณลักษณะ
เวทขี ยายความรสู้ ู่
กลุม่ เป้าหมาย-เยาวชน
เวทีวางแผนแกไ้ ขปญั หาชุมชน
หมอ วัฒอศนนลิุรธกัปรษรม์ ดเมพนือ้นืตงรี งาน สสไมพวนุนร ผกั ปลอด
เหยา ฝีมอื สารพิษ
6 กลุม่ กิจกรรม
เวทวี างแผนท�างานใน
6 กลุ่มยอ่ ย
กล่มุ ยอ่ ย 6 กลุ่มท�างาน
เวทีแสดงผลงานของเยาวชน-ชุมชน
การจดั ท�าหลักสูตรท้องถนิ่
คาราวานกจิ กรรมของโครงการสืบสานพิธีเหยา
81
82
83
(2) ความสา� คญั ของการวเิ คราะหก์ ระบวนการ เพอ่ื เปน็ การ
ตรวจสอบซ้า� (แต่ไมซ่ ้า� ซาก- เป็นเทคนคิ Repetition with variety)
วิทยากรได้ใช้วิธีการระดมความคิดเห็นของทีมพ่ีเล้ียงในประเด็น
“กระบวนการมีความสา� คญั อยา่ งไร ท�าไมเราจงึ ต้องวิเคราะห์” และได้
ขอ้ มูลมาดงั นี้
(i) ความสา� คัญของ Position ของแตล่ ะองค์ประกอบย่อย
หากวางต�าแหน่งไม่ถกู ที่ เช่นการผิดขนั้ ตอนหรือสลบั ขัน้ ตอน จะน�าไปสู่
เปา้ หมายไม่ไดเ้ ลย เชน่ กวา่ ถั่วจะสกุ งากไ็ หม้
(ii) ความส�าคญั ของ Sequence ในกิจกรรมบางประเภท
เชน่ การผา่ ตัดหรือการประกอบพิธีกรรม ล�าดับขั้นตอนวา่ ขัน้ ตอนไหน
ตอ้ งท�าอะไร ต้องทอดช่วงเวลาระหวา่ งข้ันตอนต่างๆอยา่ งไร ในแต่ละ
84
ขั้นตอนต้องใชอ้ งคป์ ระกอบย่อย (part) อะไรบา้ ง จะมีความสำ� คญั
ระดบั คอขาดบาดตายเลย
(iii) ความสำ� คญั ของการสรา้ งอารมณ์ ในบางกจิ กรรมทเี่ กยี่ ว
ข้องกับการสร้างอารมณ์ เช่น การสรา้ งหนงั ผี ขน้ั ตอนต่างๆกอ่ นทีจ่ ะ
เปิดตวั ผนี ัน้ ต้องมีลำ� ดบั ขน้ั ทแี่ น่นอน เช่น เป็นช่วงเวลากลางคืน มลี ม
พดั ใบไมไ้ หว หมาหอน แล้วผีจึงจะโผลห่ นา้ ออกมา หากสลับขัน้ ตอน
เช่นเอาผโี ผลห่ นา้ ออกมาก่อนเพื่อน ความน่ากลวั จะอนั ตรธานไปเลย
(iv) ความส�ำคัญในแง่การเป็นคู่มือการปฏิบัติงาน เป็น
ตัวอย่างท่ีเราเห็นกันอยู่ในชีวิตประจ�ำวัน คือ “ข้อแนะน�ำในการใช้”
(instruction) ที่จะระบุ “ขน้ั ตอน/กระบวนการอยา่ งเปน็ ลำ� ดับขน้ั ”
(v) ช่วยเปน็ เขม็ ทศิ /แผนท/ี่ GPS น�ำทางไปสู่เป้าหมาย ซึ่งก็
เป็นตัวอย่างในชีวิตประจ�ำวันของการเดินทางที่เรารู้เป้าหมายที่แน่ชัด
แล้ว กระบวนการเดินทางจะชว่ ยเปน็ เขม็ ทิศ/แผนท่ี/GPS ทีช่ ้ที างใหเ้ รา
เดินทางไปไดท้ ีละจดุ ๆจนถึงเป้าหมาย
(vi) กระบวนการเปน็ ตัวตดั สิน “คุณภาพของผลผลติ ทอ่ี อก
มา” ตวั อย่างเช่น กระบวนการกินเมยี่ งคำ� เราอาจจะใช้ 2 กระบวนการ
คอื เอาส่วนผสมทกุ อยา่ งมาผสมกันอย่างละนดิ แล้วกนิ รวมกนั เป็นคำ� ๆ
หรอื ใชว้ ธิ ีกนิ แบบกินสว่ นผสมแต่ละอย่างใหห้ มดไปเปน็ ส่วนๆ (กินถ่วั
ลิสงใหห้ มด กินมะพร้าวควั่ ให้หมด กินน�้ำกระปคิ ัว่ ใหห้ มด ฯลฯ) แนน่ อน
ว่า รสชาติจากวิธกี ารกินทัง้ 2 แบบ (ผลผลิต - output) ทีเ่ กิดขน้ึ ยอ่ ม
แตกต่างกนั อยา่ งแนน่ อน
(vii) การทำ� ความเขา้ ใจกบั “กระบวนการบางอยา่ งทเี่ ปน็ ไป
ตามธรรมชาติ เช่น พัฒนาการการเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์ จะเริ่มจาก
การนอนหงายแบเบาะ การควำ่� การคืบ การคลาน ... โดยทมี่ นุษย์จะไป
สลับล�ำดับข้ันเหล่าน้ีไม่ได้ และจากการเข้าใจล�ำดับข้ันตอน ท�ำให้
มนุษย์สามารถจดั กิจกรรมเสรมิ ในแต่ละขนั้ ได้อย่างถูกต้อง
85
(viii) ในกรณที มี่ ีการเปล่ียน “วตั ถ/ุ คน/element” ย่อย
แต่หากเรายงั ยึดกมุ “กระบวนการ” เอาไว้ได้ กจ็ ะทำ� ใหส้ ามารถบรรลุ
เปา้ หมายได้ เช่น กระบวนการสร้างบา้ นทตี่ ้องมลี ำ� ดบั ข้นั ตอนอยา่ ง
แนน่ อน (ปรับหนา้ ดนิ ก่อน ลงเสา...) แมจ้ ะเปลยี่ นวสั ดทุ ่ีใชก้ ่อสร้าง
(เชน่ ไม้ ปนู กระจก พลาสติก...) แตห่ ากยงั คงยดึ กระบวนการแบบเดิม
ก็จะยงั คงบรรลเุ ปา้ หมาย
(ix) เมอ่ื เปลย่ี น “เปา้ หมาย” กต็ อ้ ง “เปลย่ี นกระบวนการ”
หรอื ในทางกลบั กนั กเ็ ชน่ กนั ในการทำ� กจิ กรรมซง่ึ มที ง้ั กจิ กรรมหลกั และ
กจิ กรรมยอ่ ยในแตล่ ะขน้ั ตอน ดงั ทเ่ี ราไดท้ ราบหลกั การแลว้ วา่ “มคี วาม
สัมพันธร์ ะหว่างเปา้ หมายกับกระบวนการ” ดงั นั้น หากเราตอ้ งการจะ
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมหลัก/กจิ กรรมยอ่ ย/ในแต่ละกระบวนการ เราต้อง
ตรวจสอบวา่ กจิ กรรมดงั กลา่ วนน้ั สง่ ผลกระทบทำ� ให้ “เปา้ หมาย” เปลย่ี น
แปลงไปหรอื ไม่
(x) เราจำ� เป็นตอ้ งวิเคราะหก์ ระบวนการ เมื่อ “สว่ นของ
ตัวเนอื้ หา” ดเู หมอื นจะคงท่ี แต่สว่ นของ “กระบวนการ”ไดเ้ ปลี่ยนแปลง
ไป ตัวอย่างของการกินเมี่ยงค�ำท่ียกมาแล้วก็เป็นตัวอย่างหน่ึง โดยท่ี
องค์ประกอบท่ีเป็นเน้ือหาของเม่ียงค�ำน้ันไม่ได้เปล่ียนแปลงเลย แต่
“กระบวนการกินเปล่ยี นแปลงไป”
และการเปลย่ี นแปลงในกระบวนการอาจจะบง่ บอกถึง “สถาน
ภาพความสำ� คญั ของแต่ละองค์ประกอบยอ่ ย” ตวั อย่างเช่น ลำ� ดบั การ
เผยแพรข่ า่ วผา่ นส่อื ประเภทตา่ งๆ เชน่ สือ่ ใหม่ออนไลนก์ บั ส่ือโทรทศั น์
ในอดีต ข่าวต่างๆจะเผยแพร่ทางโทรทัศนก์ ่อน แล้วสื่อออนไลน์จึงนำ�
เอาไปเผยแพร่ต่อเปน็ ส่ือเสริม แตใ่ นปัจจบุ นั ลำ� ดับขั้นตอนจะสลับกนั
เสียแล้ว โดยส่ือออนไลน์จะเป็นสื่อท่ีเปิดประเด็นข่าวก่อน แล้วส่ือ
โทรทศั น์จงึ นำ� มาเผยแพรต่ อ่ การเปลีย่ นกระบวนการดงั กล่าวนสี้ ะทอ้ น
ใหเ้ หน็ “สถานภาพและความสำ� คญั ของสือ่ ออนไลน์และสื่อโทรทัศน์”
86
ที่เปล่ยี นไป
ในตัวอย่างของงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ิน ก็อาจจะมีกรณีดังกล่าว
เชน่ กัน เชน่ การจดั กิจกรรม “การศกึ ษาดูงาน” เอาไวใ้ นลำ� ดับข้ันตอน
ท่ีแตกตา่ งกนั ของกระบวนการวจิ ัย เช่น เอาไวต้ น้ นำ้� เอาไวก้ ลางๆน้�ำ
เอาไว้เกอื บถึงปลายๆนำ้� ฯลฯ จะสะท้อนให้เหน็ เป้าหมายท่ีแตกต่างกนั
ของการศึกษาดูงาน เปน็ ตน้
อกี ตัวอยา่ งหนงึ่ คอื “ข้ันตอนของการใชก้ ารบรรยายแบบมสี ว่ น
ร่วม” (Participatory lecturing) โดยท่ตี ามปกติ เรามักจะนึกถึงขนั้
ตอนการใชก้ ารบรรยายใน “ข้ันเรมิ่ ต้น” ขน้ั นำ� ความคดิ แล้วจึงจะต่อ
ดว้ ยขน้ั ตอนการแบง่ กลมุ่ ยอ่ ยเพอ่ื ฝกึ ปฏบิ ตั ิ แตท่ วา่ ในโครงการ ASCBR
นี้ได้สลับเอาขั้นตอนการบรรยายแบบมีส่วนร่วมไปไว้เป็นตัวปิดท้าย
หลังจากที่ได้ทำ� กิจกรรมอืน่ ๆ เช่น เลม่ เกม ระดมสมอง แบง่ เป็นกลุม่
ย่อย workshop ฯลฯ มาแลว้ โดยการบรรยายมไิ ดท้ ำ� หนา้ ที่ “น�ำ
ความคดิ ” หากแตท่ ำ� หนา้ ท”่ี สรปุ ใหเ้ กดิ การตกผลกึ ทางความคดิ ” แทน
3
2
1 ภาพจาก: Tirachard / Freepik
(3) หลากหลายรูปแบบของกระบวนการ ในขณะที่ “กระ
บวนการ” เป็นแนวคิดที่ค่อนข้างเปน็ “นามธรรม” ดงั นนั้ หากจะสัมผสั
จบั ต้องได้ จะต้องแสดงออกใน “รปู แบบต่างๆ” ในกิจกรรมฝึกอบรม
เรอ่ื ง “การวเิ คราะหก์ ระบวนการ” ใหก้ บั กลมุ่ นกั วจิ ยั ชมุ ชน (ม.ิ ย. 2562)
87
ทีมวิทยากรพ่ีเล้ียงได้ใช้วิธีติดต้ังประเด็น “รูปแบบท่ีหลากหลายของ
กระบวนการ” ดว้ ยการเล่นเกมแบง่ กลุ่มย่อย 3 กลมุ่ และใหโ้ จทย์วา่
“เม่ือได้ยินค�ำว่า “กระบวนการ” หรือ “ขบวนการ” เรานึกถึงอะไร”
(เป็นเทคนคิ “ให้นามไปแสวงหารปู ”) โดยใหเ้ วลา 3 นาที ผลการค้นหา
รปู แบบกระบวนการ/ขบวนการทอี่ ย่ใู นชีวติ ประจำ� วัน ไดม้ าอยา่ งหลาก
หลายดงั น้ี
กระบวนการ/ขบวนในชวี ติ ประจำ�วนั
กลุ่มที่ 1 กล่มุ ท่ี 2 กลุ่มท่ี 3
1) แหน่ าค 1) ทำ�อาหาร 1) กระบวนการโกงกิน
2) ขันหมาก 2) ทำ�นา 2) กระบวนการทำ�สวน
3) แหเ่ ทยี น 3) ทำ�วจิ ยั 3) กระบวนการทำ�อาหาร
4) วงโยธวาทติ 4) ทำ�สวน 4) กระบวนวงโยธวาทติ
5) กลองยาว 5) ก่อสรา้ ง 5) ขบวนพาเหรด
6) รถไฟฟา้ 6) เลี้ยงลูก 6) กระบวนเสดจ็
7) รถไฟใตด้ นิ 7) ประกวด 7) กระบวนรถไฟ
8) รถไฟความเรว็ สงู 8) แตง่ หนา้ 8) กระบวนแห่เรือ
9) เดินรณรงค์ยาเสพตดิ 9) กระบวนการคอมมวิ นิสต์
10) เดนิ รณรงคร์ กั ษ์โลก 10) กระบวนการทำ�แผน
11) ขบวนรถจักรยาน 11) กระบวนการทำ�สวน
12) ขบวนรถมอเตอรไ์ ซค์ 12) แห่นาค
13) ขบวนรณรงค์ใช้กญั ชา 13) งานแต่ง
รกั ษาโรค 14) ปลูกทเุ รียน
14) แหผ่ า้ ปา่
15) แห่กฐนิ
16) แหพ่ ระ
17) ขบวนการประชุม
18) ขบวนแห่กีฬาสี
19) ขบวนแหว่ ิ่งเพ่อื สขุ ภาพ
20) กระบวนการวิจยั
21) กระบวนการปลูกบา้ น
22) กระบวนการเสรมิ สวย
23) กระบวนการตัดเยบ็
เสอ้ื ผา้
88
(4) กระบวนการแบบมสี ่วนร่วมของ CBR นอกเหนือจาก
งานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถน่ิ จะเนน้ เรอ่ื ง “กระบวนการ” เปน็ สำ� คญั แลว้ ประเภท
ของกระบวนการท่ี CBR ใหค้ วามสนใจมากเปน็ พเิ ศษกค็ อื “กระบวนการ
แบบมสี ว่ นร่วม” (Participatory process) แตเ่ นือ่ งจาก “การมสี ่วน
รว่ ม” นน้ั มไี ดห้ ลายรปู แบบ หลายระดบั หลายดกี รี ดงั นนั้ ในโครงการ
ASCBR จงึ ไดพ้ ูดคยุ แลกเปลย่ี น “ลักษณะเฉพาะของการมสี ่วนรว่ ม”
ในงานวิจัย CBR ดังน้ี
(4.1) เอกลักษณ์ของการมีสว่ นร่วม (PAR) ในงาน
CBR มีคุณลกั ษณะเดน่ 7 ประการทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ของการมีส่วนรว่ ม
ในงานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถนิ่ ดงั นี้
89
(i) ในแงส่ ถานภาพ ในขณะทีใ่ นงานวจิ ยั แบบอื่นๆ การมี
ส่วนรว่ มอาจจะเป็นเพียงทางเลอื ก (option) ซงึ่ อาจจะเลือกใชห้ รือไม่
ใช้ก็ได้ แต่ในงานวิจัย CBR น้ัน การมีส่วนร่วมเป็น “the must”
(ตอ้ งทำ� )
(ii) ฟงั กช์ นั่ ในฐานะเคร่อื งมือเก็บขอ้ มูล การมีส่วนร่วม
ในงานวิจยั ทว่ั ไปอาจจะใชเ้ ปน็ สว่ นหน่ึงของเคร่ืองมอื การเกบ็ ขอ้ มูล เช่น
การสังเกตการณ์แบบมีสว่ นรว่ ม การท�ำแผนท่ชี ุมชนมสี ว่ นรว่ ม ซง่ึ ใน
ฐานะเคร่ืองมือการเก็บข้อมูลน้ี งานวิจัย CBR ก็ยังคงใช้ในฟังก์ช่ันน้ี
ดว้ ยเช่นกัน
(iii) ฟงั กช์ นั่ อ่ืนๆ และนอกจากจะเปน็ เคร่ืองมือการเก็บ
ขอ้ มลู แลว้ งานวจิ ัย CBR ยังใช้การมีสว่ นร่วมเป็นเครือ่ งมือในการสร้าง
ความสมั พนั ธร์ ะดบั ตา่ งๆ เชน่ เวทชี ้แี จงโครงการแบบมสี ่วนรว่ มเปน็
เครอื่ งมอื สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างพเี่ ลี้ยงกบั ทีมวิจยั ระหว่างภายใน
ทมี วจิ ยั กนั เอง ระหว่างทมี วจิ ยั กบั ภาคที ่ีเกย่ี วขอ้ ง เปน็ ต้น
90
(iv) ขน้ั ตอนการใช้ ในขณะทง่ี านวิจยั ประเภทอน่ื ๆ มักจะ
ใชก้ ารมสี ่วนร่วมเฉพาะในข้นั ตอนของการเก็บข้อมูล (ช่วยเปน็ เคร่อื งมอื
เกบ็ ข้อมูล) แตง่ านวจิ ยั CBR จะใช้การมสี ่วนร่วมแบบ “ยาดำ� ” คอื ใชใ้ น
ทกุ ข้ันตอนของโครงการ
(v) ปรชั ญาเบอ้ื งหลังการมีส่วนร่วม แนวคดิ เบ้อื งหลัง
การมสี ว่ นร่วมนน้ั มใิ ชม่ เี พยี งเพือ่ “เพิม่ ประสิทธภิ าพของการเกบ็ ขอ้ มลู
หรือการทำ� วจิ ยั เท่านัน้ ” หากแตป่ รัชญาเบอื้ งหลงั การมีส่วนรว่ มนั้นยงั
มาจากความเช่อื ในศกั ยภาพของชมุ ชนวา่ เม่อื เกิดปัญหาขึน้ ในชมุ ชน
ชมุ ชนจะมศี กั ยภาพในการแกป้ ญั หานนั้ อยา่ งแนน่ อนเมอื่ มกี ระบวนการ
แก้ไขปัญหาท่ีมีประสทิ ธภิ าพ ไมใ่ ช่ “คนจากข้างนอกจะเป็นคนเขา้ ไป
แก้ไขให”้ บทบาทของคนข้างนอกจงึ มิใช่ “วรี บรุ ษุ ” ที่เหนือกว่าชมุ ชน
หากแตจ่ ะเป็น “การรว่ มมอื กนั อย่างเสมอภาค เคียงบ่าเคียงไหล”่
(vi) การมสี ่วนรว่ มในงานวิจยั CBR หมายถงึ การมี
พนั ธะสญั ญาของการรับผิดชอบรว่ มกนั (Accountability) ของทุกฝา่ ย
ที่เก่ียวขอ้ ง ร่วมรบั ทั้งผลได้และผลเสีย รวมทั้งความสำ� เรจ็ และความ
ล้มเหลว
(vii) การมสี ่วนร่วมในงานวจิ ัย CBR นัน้ สามารถจะ
ใชไ้ ดท้ ง้ั การใชว้ ิธีการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ (เชน่ การจัดเวทปี ระเภทตา่ งๆ)
และวธิ ีการวิจัยเชงิ ปรมิ าณ (เชน่ การสร้างแบบสอบถามแบบมสี ว่ นร่วม)
91
(4.2) การออกแบบการวเิ คราะห์การมีสว่ นร่วม เนอ่ื ง
จากแนวคิดเรอื่ ง “กระบวนการแบบมีส่วนรว่ ม” ค่อนข้างมลี ักษณะเปน็
นามธรรม ดงั น้ันจึงควรมเี ครื่องมือชว่ ยในการเก็บขอ้ มลู ให้เป็นระบบ
เพอื่ น�ามาวเิ คราะหใ์ นขน้ั ตอนตอ่ มา จากประสบการณข์ องหวั หน้าโครง
การวจิ ัยฯ ซ่ึงได้เคยทดลองสร้างแบบบนั ทกึ การมีสว่ นรว่ มทีป่ ระกอบ
ดว้ ยรายละเอียดสา� คญั ๆ เช่น ลา� ดับขน้ั ตอนกิจกรรมทั้งหมดมีอะไรบ้าง
ในแตล่ ะกจิ กรรมยอ่ ย/ขน้ั ตอนยอ่ ยมใี ครเขา้ มารว่ มบา้ ง ในบทบาทอะไร
เอาทรพั ยากรอะไรมารว่ มบ้าง เกิดผลอะไรตามมาจากการมสี ว่ นร่วม
และยงั มขี อ้ จ�ากดั อะไรบ้าง แบบบันทึกการมีสว่ นร่วมน้ีได้ทดลองใช้กบั
กลุ่มเจ้าหนา้ ท่ีของกรมชลประทานมาแลว้ และพบวา่ ใชง้ านไดจ้ ริง ใน
โครงการ ASCBR น้ีจึงได้มีการศึกษาแบบบนั ทกึ การมสี ว่ นร่วมดังกลา่ ว
รว่ มกนั
92
93
94
ตารางวเิ คราะห์ PAR ในแตล่ ะขนั� ตอน “โครงการวางแผนพัฒนาลมุ่ นํ�าแบบประชารัฐ”
(4.3) ประเภทกจิ กรรมในงานวจิ ยั CBR ตัวอยา่ งของ
ตารางแบบบนั ทกึ การมสี ่วนร่วมทย่ี กมาในข้อ (4.2) น้นั เปน็ ตวั อยา่ ง
ของกจิ กรรมทเี่ ป็นล�ำดบั ขนั้ ตอนของ “การวิจัย” เทา่ นนั้ แตท่ วา่ ในงาน
วิจยั เพือ่ ทอ้ งถนิ่ น้ัน นอกจากจะมี “กิจกรรมการวิจยั ” แล้ว ก็ยงั มี
“กจิ กรรมแบบอื่นๆ” อีกหลายประเภท (ทท่ี ำ� ใหแ้ ตกต่างจากงานวิจยั
ประเภทอนื่ ๆ) และใน “กิจกรรมแบบอื่นๆ” นีแ้ หละเปน็ พน้ื ที่ทเี่ ปดิ
กวา้ งใหค้ นอน่ื ๆในชมุ ชนที่อาจจะไมม่ ีทรพั ยากรมากพอ (ไมม่ เี วลา ไม่
เขา้ ใจงานวิจัย ฯลฯ) ได้มโี อกาส “มาเข้าถงึ และเข้าร่วม” ในงานวจิ ยั ได้
ตวั อย่างของกจิ กรรมอนื่ ๆในงานวิจัย CBR ท่ีเคยท�ำมากม็ เี ช่น
1) กจิ กรรมวิจยั เชน่ การต้งั โจทย์ การทบทวนความรเู้ ดมิ
การคดิ และสร้างเครอ่ื งมอื การวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล
และการวเิ คราะห์สังเคราะหข์ ้อมูล เปน็ ตน้
95
2) กจิ กรรมเสรมิ ศกั ยภาพ เชน่ การศกึ ษาดงู านทม่ี สี ว่ นรว่ ม
การอบรมของวทิ ยากร และการพาไปนำ� เสนอผลงาน/แลก
เปล่ียนเรียนรู้ในพ้ืนท่อี ืน่ ๆ เป็นต้น
3) กจิ กรรมแกป้ ญั หา เปน็ กจิ กรรมเพอื่ สรา้ งการเปลย่ี นแปลง
โดยการทดลอง ปรบั โครงสรา้ ง จดบนั ทึกบัญชคี รวั เรือน
ฯลฯ
4) กจิ กรรมเสรมิ ความเขม้ แข็งของกลมุ่ /กลไก เชน่ การ
ออกมาตรการชมุ ชน การร่าง พรบ.รกั ษาป่า การต้ังกลมุ่
เยาวชน จัดงานประเพณี เปน็ ต้น
5) กิจกรรมสร้างความยัง่ ยืน/สบื ทอด เช่น การตง้ั กองทุน
ดูแลป่า การจดั ค่ายเยาวชนสบื ทอดจากรนุ่ ต่อรุ่น เปน็ ต้น
เป็นการหวงั ผลระยะยาว
(4.4) ทรพั ยากรทจ่ี ะเอามามีส่วนร่วม ในแบบบันทึกการ
มีสว่ นร่วมในขอ้ (4.2) น้ัน จะมชี ่อง “เอาอะไรมารว่ ม” ได้บา้ ง เราอาจ
ใช้ template น้เี พอื่ เปน็ ตวั ช่วยกรุยทางทางความคิดเวลาระดมสมอง/
ระดมขอ้ มลู จากชุมชน ดังน้ี
96
(4.5) ทาง 3 แพรง่ ของการมสี ว่ นรว่ ม โดยปกติ เวลาพดู ถงึ
การมีสว่ นรว่ ม เรามกั จะนึกถงึ แต่ “การเอารา่ งกาย” มาร่วม เช่นตอ้ ง
มาเขา้ ร่วมประชุม จงึ จะถือวา่ “ได้มสี ่วนรว่ ม” ซง่ึ แนวคดิ ดงั กลา่ วอาจจะ
เปดิ ประตูไว้แคบเกินไปจนคนส่วนใหญ่ไมส่ ามารถจะ “เขา้ ถงึ ” (Ac-
cessibility) ได้ ในหัวข้อ (4.4) เรากจ็ ะเห็นว่า ส่งิ ทจ่ี ะเอามาร่วมนน้ั มี
ได้หลากหลายมากขึ้น ดงั นั้น การเปิดช่องทางใหมข่ องการมสี ว่ นร่วมให้
กว้างขวางขน้ึ จึงมกี ารตดั ถนนแหง่ การมีสว่ นร่วมเปน็ 3 เลน ดงั น้ี
(ก) PAR through Person คอื การมีสว่ นรว่ มผา่ นตวั
บคุ คล ซึ่งหมายถงึ การทผ่ี เู้ ข้าอบรมมารว่ มประชมุ รว่ มตัง้ แตต่ ้นจนจบ
ในระหว่างทางกไ็ มห่ นหี ายไป เปน็ ต้น
(ข) PAR through Content คอื การน�ำเอาเนือ้ หาการ
ท�ำงานของผู้เข้าร่วมอบรม น�ำเอาประสบการณ์ท้ังท่ีส�ำเร็จและท้ังท่ี
เพล่ียงพล้ำ� มาเปน็ เนื้อหาการประชุม ซึ่งในโครงการ ASCBR น้ี ได้
ทดลองใช้การมสี ว่ นร่วมผ่านช่องทางน้อี ยู่ตลอดเวลา ไมว่ า่ จะเป็นการ
บรรยายก็จะยกตวั อย่างของโครงการวิจยั ทงั้ 6 ตวั อย่าง ในการทำ� งาน
ของกล่มุ ยอ่ ย (workshop) กจ็ ะใชแ้ บบฝึกหดั ทีเ่ ปน็ “ของจริง” ของ
แต่ละโครงการ
97
(ค) PAR through Process คอื การนำ� เอากระบวนการ/
วิธีการ/เครื่องมือการประชุมที่ผู้เข้าร่วมคุ้นเคยมาใช้เป็นกระบวนการใน
ฝึกอบรม เช่น ในโครงการ ASCBR นักวิจัยชุมชนจะคุ้นเคยกับ
กระบวนการ/เครื่องมือบางอยา่ งเช่น การ check-in การทำ� AAR การ
เล่นเกม การแบง่ กลมุ่ ยอ่ ย การระดมสมอง ฯลฯ การใช้กระบวนการ/
วิธีการท่ีผู้เข้าร่วมคุ้นเคยจะช่วยย่นย่อเวลาท่ีจะต้องใช้อธิบายกระบวน
การฝึกอบรมอย่างมาก
(5) วธิ กี ารใชเ้ ครอื่ งมอื วเิ คราะหก์ ารมสี ว่ นรว่ ม มี 2 วธิ หี ลกั ๆคอื
(5.1) การวเิ คราะหแ์ ตก่ ระบวนการมสี ว่ นรว่ มเพยี งอยา่ งเดยี ว
ตวั อยา่ งเชน่ การใช้ตารางแบบบนั ทึกการมสี ่วนรว่ มในหวั ข้อ (4.2)
(5.2) การใช้การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมแบบผสมผสาน
(mixed) กบั เครื่องมอื อน่ื ๆ เชน่ การน�ำ PAR ไปผสมกบั วงจรควบคมุ
คุณภาพ PPCA เพ่ือตรวจสอบวา่ ในแตล่ ะข้ันตอน (Plan-Po-Check-
Act) มใี ครมสี ว่ นรว่ มบา้ ง เอาอะไรมารว่ ม รว่ มในบทบาทอะไร เกดิ ผล
อะไร ต้องปรบั ปรงุ ต่อไปอย่างไร เป็นตน้
98
(6) ปญั หาการใช้งาน ในการใช้เครือ่ งมือการวิเคราะห์การมี
สว่ นร่วมเท่าที่ผา่ นมา มปี ญั หาทพ่ี อจะประมวลได้ดงั น้ี
(i) ปญั หาแรกเรมิ่ คอื ปญั หาเรอื่ งความเขา้ ใจแนวคดิ “กระบวน
การ” อยา่ งทะลปุ รุโปรง่ ซ่งึ เม่อื เร่มิ ตน้ จากปัญหานี้ กจ็ ะทำ� ใหเ้ กดิ “การ
ตดิ หลม่ ทางความคดิ ” จนขบั เคล่ือนการปฏิบตั ิตอ่ ไปไมไ่ ด้
(ii) ปญั หาตอ่ เนอ่ื งมา กค็ อื แมว้ า่ จะมคี วามเขา้ ใจวา่ กระบวน
การคืออะไรแล้ว แต่ก็ยังขาดความตระหนักถึงความส�ำคัญและความ
จ�ำเป็นท่ีจะต้องวิเคราะห์เร่ืองการมีส่วนร่วมให้เป็นเร่ืองเป็นราว หรือ
อาจยังมองไม่เห็นความเชือ่ มโยงวา่ การวิเคราะหส์ ว่ นนจ้ี ะไปเก่ียวขอ้ ง
กับตวั แปรอ่นื ๆ (เชน่ ผลลพั ธ์ของการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างไร)
(iii) ปัญหาลำ� ดบั ตอ่ มา ท่ีแมจ้ ะเขา้ ใจแลว้ เห็นความส�ำคัญ
แล้ว แต่ก็ยังขาด “ตัวช่วยน�ำทางการปฏิบัติ” (operational tool)
ว่า แล้วจะวัดการมีส่วนร่วมได้อย่างไร (หวังว่าหลังจากจบโครงการ
ASCBR แล้ว ปัญหานี้น่าจะคล่ีคลายไปบา้ ง)
(iv) ปัญหาระดับการบันทึกข้อมูล เนื่องจาก “พฤติกรรม/
กจิ กรรมการมสี ่วนรว่ ม” นน้ั เกดิ ไดต้ ลอด 24 ช่วั โมง และในทกุ ทที่ กุ
เวลา ดงั นนั้ ผทู้ ีบ่ ันทกึ ข้อมลู อาจจะต้องเป็นคนท่เี กาะติดอยู่กบั พน้ื ที่ จึง
จะรู้ข้อมูลว่าไดเ้ กดิ การมีส่วนร่วมในรูปแบบไหน จากใคร เปน็ ตน้
(v) การวิเคราะหก์ ารมีส่วนร่วมแบบฝนตกไม่ทั่วฟ้า อนั ที่
จริง งานวิจัย CBR น้นั ตอนเรมิ่ ตน้ งานวิจยั จะมีการวิเคราะหผ์ ทู้ มี่ สี ่วน
เก่ยี วขอ้ ง” (stakeholder analysis) ที่จะมีหลายกลมุ่ เชน่ ทมี วิจัย
ชาวบ้านในชุมชน ตวั แทนสถาบันในชมุ ชน ตวั แทนหน่วยงานรฐั ทอ้ งถ่ิน
ฯลฯ แต่โดยสว่ นใหญ่แล้ว เม่อื มาถงึ ขั้นตอนดำ� เนินการหรอื ประเมินผล
ทีมวิจัยมักจะมุ่งความสนใจวัดและวิเคราะห์แต่การมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชนเท่าน้ัน โดยมองข้ามการมีส่วนร่วมผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องภาค
ส่วนอืน่ ๆทไ่ี ด้วเิ คราะห์เอาไว้
99
เครอื่ งมือA/Sช้ินท่ี 11 : การวิเคราะห์บทบาทหน้าท่ี
แนวคดิ เรอื่ งบทบาทและหนา้ ที่ (Role & Function) เปน็ แนวคดิ
ทพี่ ีเ่ ล้ยี งศูนย์ฯมคี วามคุน้ เคยมากพอสมควร เพราะในการทำ� งานเป็น
“พ่ีเลีย้ ง” น้ัน จะมกี ารฝึกอบรมเกี่ยวกบั “บทบาท/หนา้ ทข่ี องการเป็น
พ่เี ล้ียง” ทงั้ ในเบ้ืองตน้ ในเบือ้ งกลาง และในเบื้องปลาย
ดังนน้ั ในโครงการ ASCBR น้ี ส�ำหรบั เรือ่ งการวิเคราะหบ์ ทบาท
หนา้ ท่จี ึงมเี ปา้ หมายปักเปน็ ธงเอาไว้ 3 ธงคือ
(i) ท�ำการทบทวนร่วมกันเก่ียวกับความเข้าใจและวิธีการใช้
เคร่ืองมอื การวเิ คราะห์บทบาท-หน้าท่ีของศูนยฯ์ ทผี่ ่านมา
(ii) เพอ่ื ขยบั ขยาย/ตอ่ ยอดความเขา้ ใจและประสบการณเ์ ดมิ วา่
ด้วยเรือ่ งการวเิ คราะห์บทบาทหน้าท่ีให้กวา้ งขวางข้นึ
(iii) เพอ่ื เตมิ เต็มแง่มุมใหมๆ่ หรอื อาจจะปรบั แกแ้ ง่มมุ เดมิ ๆ ท่ี
ยงั ไมเ่ ขา้ รปู เข้ารอยในเรอื่ งการวเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าที่
เนอ้ื หาทท่ี มี วจิ ยั ทง้ั กลมุ่ พเ่ี ลย้ี งและนกั วจิ ยั ชมุ ชนไดศ้ กึ ษารว่ มกนั
มีประมาณน้ี
100