The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasrinp2009, 2022-12-10 03:11:28

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

ไปถา่ ยรปู ตรงตำ� แหนง่ อนื่ ๆ ในกรณขี องเรอื่ งการวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่
กต็ อ้ งยกตวั อยา่ ง “สงิ่ อนื่ ๆทไี่ มใ่ ชค่ น แตก่ ท็ ำ� หนา้ ทไี่ ด”้ เชน่ กฎระเบยี บ
กองทนุ สงิ่ ศักดิส์ ิทธิ์ ฯลฯ เพราะในทา้ ยทสี่ ุดแลว้ หลกั การสำ� คญั ใน
เรอ่ื งการแสดงบทบาทหน้าทีก่ ็คอื “สรรพสงิ่ ในโลกทกุ ชนดิ สามารถทจ่ี ะ
แสดงบทบาทหนา้ ทไ่ี ดห้ ากมกี ารมอบหมาย” (Role assignment) ซง่ึ
เป็นมุมมองท่ีเห็นภาพได้กว้างขวางและหลากหลายที่สุด

(2.7) ขอ้ ผดิ พลาดทเี่ กดิ จากการขาดทกั ษะบางอยา่ ง ใน
เร่ืองการออกแบบเน้ือหาน้ัน (Message design) มีหลักการท่ีเป็น
ทักษะ (skill) ท่ีนักออกแบบเน้ือหาจะต้องฝึกฝนก็คือ การคัดเลือก
เนอ้ื หา (Message selection) และการออกแบบประกอบเนอื้ หา
(Message design) ซ่ึงข้ันตอนการใช้ทักษะท้ัง 2 อย่างน้ี ปกติ
นกั ออกแบบจะทำ� ใน “ชว่ งกอ่ นจะน�ำเสนอเนอื้ หา”

อยา่ งไรก็ตาม ก็มีกรณที ีใ่ น “ชว่ งการน�ำเสนอเนอื้ หา” ได้
เกดิ การเปลย่ี นแปลงสถานการณ์ เชน่ เวลาท่ีใหน้ ำ� เสนอถูกลดทอนลง
ในกรณนี ี้ หากผ้อู อกแบบเน้ือหามีทักษะอยู่ในระดบั “ทำ� หมดหรอื ไม่ทำ�
เลย” (All or None Principle) กจ็ ะเหลอื ทางเลอื กเดียวคอื ไมไ่ ดพ้ ูด
นำ� เสนอเลย (เลือก None) เพราะเวลาไม่พอทีจ่ ะพูดให้หมดได้ (ไม่มี
สิทธิเ์ ลือก All)

แต่หากนักออกแบบเน้ือหามีทักษะการคัดเลือกเน้ือหาเอา
ไวเ้ ปน็ ระดับชั้นแบบ กงิ่ -กา้ น-สาขา ดังในภาพ

201


ภายใตเ้ งอื่ นไขเวลาท่ถี ูกลดทอนให้มนี อ้ ยลง ก็สามารถที่
จะคดั เลอื กเนื้อหาให้น�ำเสนอในระดับ “กง่ิ ” ได้อย่างเตม็ ท่ี นำ� เสนอใน
“ระดับก้าน” ได้บางสว่ น แลว้ ตดั เนอื้ หาส่วนทเ่ี ป็น “ระดับสาขา” ออก
ไปเลย เปน็ ต้น
(3) ชว่ งเวลาการใช้งาน ตามหลักอดุ มคติแลว้ การปรบั แก้
นั้นนา่ จะทำ� ณ จดุ ท่เี กดิ ข้อผิดพลาดน้นั เลย กลา่ วคอื เมือ่ พบปญั หาข้อ
ผิดพลาด กแ็ ก้ไขเลยทนั ที อย่างไรกต็ าม ในสถานการณท์ เ่ี ป็นจรงิ ก็
อาจจะไม่มีเงอื่ นไขทีเ่ หมาะสมทจ่ี ะปรับแก้ทนั ที (เชน่ กำ� ลงั อย่ใู นชว่ ง
เวลาปฏบิ ัตงิ าน) หากแต่ตอ้ งมาปรบั แกใ้ นชว่ งเวลาท่เี หมาะสม ซง่ึ จาก
ประสบการณข์ องโครงการ ASCBR ช่วงเวลาท่เี หมาะสมที่สุดของการ
ปรับแก้ข้อผิดพลาดต่างๆก็คือช่วงเวลาของการถอดบทเรียน/หรือสรุป
บทเรียนการทำ� AAR นน่ั เอง
ส�ำหรับเร่ืองช่วงเวลาของการใช้งานน้ัน แทนท่ีเราจะใช้เกณฑ์
เร่ือง “จังหวะ/เวลา” เพียงอย่างเดียว เราอาจจะใช้เกณฑ์อ่ืนๆ เช่น

202


“มาตรการการจดั การกับขอ้ ผิดพลาด” ซง่ึ หากใชเ้ กณฑ์มาตรการนี้
เราอาจจะจดั แบ่งไดเ้ ปน็ 3 มาตรการดงั นี้
(i) มาตรการเยียวยา (Curative strategy) เปน็ มาตรการท่ี
จะใชใ้ นชว่ งเวลาทเ่ี กดิ ขอ้ ผดิ พลาดนน้ั มาแลว้ หากเปรยี บกบั เรอ่ื งสขุ ภาพ
อนามยั กห็ มายความวา่ ไดเ้ กดิ อาการเจบ็ ปว่ ยแลว้ เรากจ็ ะทำ� การรกั ษา
เยยี วยาเปน็ การแกไ้ ข การใชม้ าตรการนใ้ี นเรอ่ื งการตดิ ตง้ั เครอ่ื งมอื A/S
ก็หมายถึงการแก้ไขความเข้าใจผิดหลังจากที่ผู้เข้าอบรมได้ลงมือท�ำไป
แลว้ เช่น การให้ feedback ข้อผิดพลาดท่ีเกดิ จากการทำ� การบ้าน
เป็นตน้
(ii) มาตรการการป้องกัน (Preventive strategy) หาก
เทยี บกับเรื่องสุขภาพอนามยั กไ็ ด้แกก่ ารฉดี วัคซนี ปอ้ งกันกอ่ นทจ่ี ะเกิด
โรคหรืออาการเจบ็ ป่วย การใช้มาตรการน้ใี นเรอ่ื งการตดิ ตั้งเคร่อื งมือ
A/S กห็ มายถงึ การใหค้ วามรถู้ งึ ขอ้ ผดิ พลาดทอ่ี าจจะเกิดขึ้นไว้ลว่ งหน้า
กอ่ นเลย เชน่ การใชต้ ารูป-ตานามไมต่ อ้ งตัง้ คำ� ถามว่า “อะไรเปน็ รูป
เปน็ นาม” เป็นตน้
(iii) มาตรการส่งเสริม (Promotional strategy) หากเทียบ
กบั เรอ่ื งสุขภาพอนามยั ไดแ้ ก่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหเ้ ขม้ แข็ง ไมว่ ่าจะ
เปน็ การกนิ อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ การออกกำ� ลงั กายใหเ้ พยี งพอ ฯลฯ เมอ่ื
รา่ งกายมสี ขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรง แมว้ า่ จะมเี ชอ้ื โรคเขา้ สรู่ า่ งกาย กส็ ามารถจะ
ตา้ นทานได้ การใชม้ าตรการนใี้ นการฝกึ อบรมเครอ่ื งมอื A/S กค็ อื การ
ติดตั้งความรใู้ นระดับหลักการตา่ งๆ เพื่อให้มีหลกั ยึดเกาะท่ีม่ันคง การ
หมั่นเรียกใช้ความรู้ที่ติดตง้ั ไปแลว้ การตอก-ยำ�้ -ซำ�้ -ทวนทีไ่ ดก้ ลา่ วถึง
ไปแลว้ เป็นต้น
(4) แบบวิธีการปรบั แก้ ผเู้ ขียนไดก้ ล่าวถงึ เทคนิคย่อยๆต่างๆ
ทีน่ ำ� มาใช้ในการปรบั แกข้ อ้ ผดิ พลาดต่างๆ ซ่ึงต้องเปน็ ไปตาม “อาการ

203


หรอื โรคทเี่ ปน็ ” และสำ� หรบั แบบวิธีของการใช้เทคนคิ ต่างๆเหลา่ นอ้ี าจ
จะมี 2 เสน้ ทางหลักๆ คอื

(4.1) การใหค้ ้นพบดว้ ยตัวเอง มกี ารเรยี นรูบ้ างอยา่ งท่ี
แมจ้ ะมคี นจากภายนอกมาตอกยำ�้ มากสกั เพยี งใด แตก่ อ็ าจจะไมส่ ามารถ
สรา้ งความตระหนกั ซาบซงึ้ ไดเ้ ทา่ กบั การไดค้ น้ พบดว้ ยตวั เอง ดงั ตวั อยา่ ง
ทไี่ ดก้ ลา่ วไปบา้ งแลว้ เรอื่ งความเขา้ ใจผดิ วา่ ไมม่ ชี อ่ งหา่ ง (gap) ระหวา่ ง
“ความเข้าใจ” กบั “การท�ำได้” (from knowledge to perfor-
mance) โดยเฉพาะคนทำ� งานท่มี ปี ระสบการณ์สูง เมอื่ เรียนรู้หลักการ
เรอื่ ง “การจัดกลุ่ม (grouping) จนเข้าใจล�ำดับขน้ั ตอนอย่างกระจ่าง
แลว้ กจ็ ะคิดต่อไปว่า “หากเขา้ ใจแล้ว ก็น่าจะทำ� ได้ไมม่ ปี ญั หา” การ
จะแก้ไขความเขา้ ใจผิดน้ี กไ็ ม่มีวิธีใดท่ีจะดีไปกว่าให้ไปลงมอื ทำ� การจดั
กลุม่ ดว้ ยตวั เองจริงๆ เพอ่ื จะได้ค้นพบ “ระยะหา่ งจาก K ถงึ P” ดว้ ย
ตนเอง

หรอื อีกตวั อย่างหน่งึ ก็คือ เมื่อหัวหน้าโครงการฯมองเหน็ ข้อ
ผดิ พลาดในการใช้เคร่ืองมือ Body Paint ท่ไี ม่ครบองค์ประกอบ แต่
ทวา่ ยังไม่แน่ใจว่าพีเ่ ลี้ยงที่มีความรูแ้ ละประสบการณใ์ นการใชเ้ ครื่องมอื
นี้จะมองเห็น “ช่องโหว”่ นีห้ รือไม่ หวั หน้าโครงการฯจึงมอบหมายใหพ้ ่ี
เล้ยี งทเ่ี คยใช้เครือ่ งมอื นไ้ี ปตระเตรียมเนอ้ื หาเพอื่ มา lead session นี้
จากการตระเตรยี มเน้อื หาและทบทวนความเป็นมาของเครือ่ งมอื Body
paint ด้วยเครอ่ื งมือ Timeline กท็ ำ� ให้พ่เี ล้ยี งไดค้ น้ พบดว้ ยตัวเองวา่
ความเข้าใจผิดเร่ืองเคร่อื งมอื Body paint ไดเ้ กดิ ขึ้น ณ จดุ ใด

(4.2) การช้ีแนะจากภายนอก วิธีการปรับแก้ข้อผิดพลาด
ทค่ี ่อนข้างใช้เป็นวิธกี ารหลักอีกวธิ หี นึ่งก็คอื การชแ้ี นะจากภายนอก ไม่
ว่าจะเปน็ จากวิทยากร จากรนุ่ พีท่ ่ีมีประสบการณ์ จากเพอื่ นรว่ มงานใน
รนุ่ เดยี วกนั ฯลฯ ทงั้ นเี้ พราะเปน็ หลกั การโดยทวั่ ไปวา่ “ผงเขา้ ตาตวั เอง
มกั จะเขยี่ ออกเองไมค่ อ่ ยได้ ตอ้ งอาศยั คนอนื่ เขยี่ ให”้ ดงั นนั้ บทบาท

204


หน้าทีพ่ ืน้ ฐานประการหนึง่ ของการเป็นวิทยากรแบบโค้ช (coaching)
ก็คือ การวเิ คราะห์หาขอ้ ผิดพลาดจากการทำ� งานของทีมพ่เี ลย้ี งหรอื นกั
วิจัยชุมชน เชน่ การท�ำตารางที่ไม่สมบรู ณ์ ท�ำใหอ้ ่านความหมายไม่ได้
ฯลฯ วิทยากร/โค้ชกจ็ ะนำ� มาเปน็ กรณตี วั อย่างศึกษารว่ มกันและให้ข้อ
เสนอแนะเลย
(5) เงอ่ื นไขการใชเ้ ทคนคิ การปรบั แก้ จากเนอ้ื หาทไ่ี ดก้ ลา่ วมา
ดูเหมือนจะเป็นเน้ือหาท่ีว่าด้วย “ด้านท่ีเป็นคุณประโยชน์ของเทคนิค
การปรับแก้” แต่อันที่จริงแล้ว เทคนิคการปรับแก้นั้นก็เปรียบเสมือน
ดาบสองคม หากใชใ้ นด้านที่ไม่ถกู ต้องกอ็ าจจะท�ำให้บาดเจ็บได้
ตวั อยา่ งของการบาดเจบ็ ทางความคิด หากใช้เทคนคิ การปรบั
แก้แบบไม่ถกู ตอ้ งกเ็ ช่น
• เกดิ อาการเกรง็ ไมก่ ลา้ ลงมอื ทำ� อะไรเลย เพราะกลวั จะทำ� ผดิ
• เกดิ อาการตงึ เครยี ดในระหวา่ งลงมอื ทำ� เพราะคอยระแวงระวงั
วา่ จะเกดิ ผลทผี่ ดิ พลาด
• ยิ่งเกร็งมาก ก็ย่งิ ทำ� ผิดมากยิ่งขึ้น เหมอื นการพดู ภาษาไทย
ยิ่งระวงั วา่ จะไมก่ ระดกลิ้นตรงตัว “ร เรอื ” ก็จะย่งิ พูดผดิ
• ไมส่ นใจทจี่ ะทำ� ใหถ้ กู ตอ้ งดว้ ยตัวเอง เพราะมที ัศนคตวิ า่ “ต่อ
ใหท้ ำ� ดียังไง กต็ ้องถูกปรับแก้อยดู่ ี”
ดังนัน้ การจะใช้เทคนิคการปรบั แกใ้ ห้ไดผ้ ลดแี ละหลกี เล่ยี ง
ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ดังเช่นที่กล่าวมาจึงควรมีเงื่อนไข/หลักการใน
การใช้เทคนิคนี้ประมาณนี้
(i) ตอ้ งสรา้ งทศั นะใหม่ต่อ “การทำ� ผดิ ” วา่ “การทำ� ผิดพลาด
ไม่ใช่เรื่องร้ายแรงอะไร และยังเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ค่อยได้ด้วยเมื่อมี
การเรยี นรู้ครง้ั ใหม่ๆ” ไม่มีใครเลน่ ฟุตบอลเปน็ โดยไม่เคยลม้ หรือถอื วา่
“ผดิ เป็นครู” เปน็ ต้น

205


(ii) สำ� หรบั “การท�ำความผดิ คร้ังแรกๆนนั้ ” เปน็ เร่อื งควรให้
อภัย ไมถ่ อื สาและยอมรบั ได้ แตก่ ารทำ� ผดิ แบบเดมิ อย่างซ�้ำซากโดย
ไม่มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขตา่ งหากท่ไี มน่ ่าจะได้รับการยอมรับ
(iii) ไม่ควรให้ความสนใจกับ “ผู้กระทำ� ความผดิ ” (นัน่ นา่ จะ
เปน็ หนา้ ทข่ี องตำ� รวจ) ในเรอื่ งการเรียนรู้ เราจะสนใจ “ตวั การกระทำ�
ผดิ เพอื่ นำ� มาเปน็ บทเรยี น” สว่ นตวั ผกู้ ระทำ� ผดิ นนั้ ถอื วา่ ทกุ คนกม็ โี อกาส
ทำ� ได้ทง้ั น้นั
(iv) สำ� หรับผปู้ รับแก้ กอ็ ยา่ จรงิ จงั กบั ทกุ ขอ้ ผดิ พลาดมากจน
เกินไป จนกลายเป็น “การจบั ผิด” จะก่อใหเ้ กิดปัญหาการเกรง็ นานา
ประเภทท่ีไดก้ ลา่ วมาแลว้
(v) สร้างบรรยากาศทีเ่ ปน็ กลั ยาณมติ รสำ� หรับการปรบั แก้ ทั้ง
ฝา่ ยทเี่ ปน็ ผใู้ ห้ข้อแนะน�ำและผ้ทู ี่ถูกปรับแก้ ใหม้ ีทศั นคติวา่ การปรับแก้
นนั้ เกดิ มาจากเจตนาทเี่ ปน็ กศุ ล มใิ ชม่ เี ปา้ หมายทมี่ งุ่ รา้ ยอยากจะหกั หนา้
หรือจ้ีจุดออ่ นของผู้กระทำ� ขอ้ ผดิ พลาดแต่อยา่ งใด

วธิ กี ารตดิ ตง้ั ท่ี 19 : การจดั การความหลากหลายดว้ ยแนวทางลอู่ อก
ปัจจุบนั นี้ เราอาจจะเรมิ่ คนุ้ เคยกับแนวคดิ เร่อื ง “ความหลาก
หลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ฯลฯ และทา่ ทที ่ีเรา
มตี อ่ “ความหลากหลาย” (ความแตกตา่ ง) - Diversity ก็เรม่ิ เป็นไป
ในทางบวก เช่น มองเห็นวา่ เป็นการเพมิ่ ทางเลอื กใหม้ ากข้ึน เปน็ หลัก
ประกนั ความเส่ยี ง (เชน่ การปลูกพืชหลายๆชนดิ )
อยา่ งไรกต็ าม เน่ืองจากคนในยคุ ปจั จบุ ันไดผ้ า่ นชว่ งเวลาแห่ง
“การมีคำ� ตอบเพยี งหน่งึ เดยี ว” “การท�ำทุกอยา่ งใหเ้ หมอื นๆกนั ” (เช่น
ชายหาดทะเลของทั่วโลกจะมีหน้าตาคล้ายๆกัน) ซึ่งเป็นแนวโน้มของ

206


การลเู่ ข้าหาเพื่อใหเ้ หมอื นกัน (Convergence approach) มาอยา่ ง
ยาวนานพอสมควร ตวั อย่างทช่ี ดั เจนทสี่ ดุ ก็คอื การทำ� ขอ้ สอบในระบบ
โรงเรียนทจ่ี ะมีค�ำตอบทถี่ ูกต้องเพยี งค�ำตอบเดียวเทา่ น้ัน ดังน้ัน แมว้ า่
เราจะเรยี นจบจากโรงเรยี นมานานแลว้ แตซ่ ากทะมนึ ของวธิ คี ดิ แบบ “ไม่
ชอบความหลากหลาย” ทุกอยา่ งมีเพียงคำ� ตอบเดยี ว” กอ็ าจจะยังฝังลึก
อยู่ในวธิ ีคดิ และวิธที �ำงานของเรา แตว่ ธิ ีคดิ และวธิ ีทำ� งานแบบดังกล่าว
เมอ่ื นำ� มาใชใ้ นชวี ติ การทำ� งานทเ่ี ปน็ จรงิ มกั จะมปี ญั หามากกวา่ การทำ�
ขอ้ สอบ เพราะโลกแหง่ ความเป็นจริงเป็นโลกทแี่ ตกต่างหลากหลาย
ดงั นน้ั ในโครงการ ASCBR นจ้ี งึ ไดท้ ดลองเทคนคิ วธิ กี ารตดิ ตง้ั
แบบหน่งึ ที่เปน็ สว่ นผสมแบบยาดำ� ตลอดทัง้ โครงการ คือการเรียนรทู้ ี่จะ
ยอมรับใหม้ คี วามแตกตา่ งหลากหลายให้เกิดขน้ึ รวมทงั้ แสวงหาวธิ กี าร
บริหารจดั การความหลากหลายใหไ้ ด้ผลดที ส่ี ุด ด้วยการใชแ้ นวทางการ
จัดการความหลากหลายแบบลู่ออก (Divergence approach) ดงั
บทเรยี นที่จะร่วมแชร์ในที่น้ีดงั นี้

207


(1) ทศั นะตอ่ ความหลากหลายและแบบวธิ ใี นการจดั การ ใน
ขณะท่ีในกรณขี องการปลกู พชื นั้น เรามักจะชัดเจนกับคณุ ประโยชน์และ
โทษภัยของการปลูกพืชเชิงเดี่ยวและการปลูกพืชแบบไร่-นา-สวนผสม/
การปลกู พชื หลายชนดิ ทห่ี ลากหลาย ซงึ่ การปลกู พชื แตล่ ะแบบนนั้ ตอ้ งการ
วิธกี ารบรหิ ารจดั การและมีผลลัพธท์ ่ีแตกต่างกนั ขอ้ ดีของการปลูกพชื
เชิงเด่ียวกค็ อื จดั การง่ายและได้ผลผลิตปริมาณมาก แตข่ อ้ เสียก็คือ มี
ความเส่ียงสูง ถ้ามแี มลงมาท�ำลายกต็ ายยกไรเ่ ลย เรยี กวา่ เป็นไปตาม
หลกั “เสย่ี งสงู กไ็ ดม้ าก” (High risk high gain) เปน็ ตน้ สว่ นการปลกู
พืชแบบผสมผสานก็จะเปน็ ไปตามหลกั การทต่ี รงกนั ขา้ มคอื “เสยี่ งน้อย
กไ็ ด้น้อย”
แม้ว่าปัจจุบัน ในเรื่องความหลากหลายทางชีวภาพจะมีการ
ยอมรบั กันได้มากในระดบั ความคิด (แต่ในทางปฏิบัตจิ ะทำ� ไดม้ ากนอ้ ย
เพยี งใดกต็ อ้ งมาดเู ง่ือนไขกนั อีกที) แตห่ ากเปน็ เรอื่ ง “ความหลากหลาย
ทางดา้ นสังคม” นน้ั แมแ้ ตด่ า่ นแรกคือ การยอมรับในระดบั ความคิด
ก็ยังไมอ่ าจจะแนใ่ จได้

ภาพจาก: Freepik.com

ยกตัวอยา่ งเช่น หากใหเ้ ราเป็นผูอ้ อกแบบการจดั ฝกึ อบรมแบบ
ท่ี 1 ทผี่ เู้ ขา้ รว่ มเปน็ ผชู้ ายทงั้ หมด อายุ 30-35 ปี และเรยี นจบปรญิ ญาตรี
ทง้ั หมด ส่วนแบบท่ี 2 มคี วามหลากหลายมาก ผู้เขา้ รว่ มมที ั้งผู้หญงิ

208


และผ้ชู าย อายุตัง้ แต่ 20 ตน้ -60 กว่าๆ เรียนจบต้งั แตป่ ระถมศึกษา-
ปรญิ ญาโท หากตั้งคำ� ถามวัดใจว่า ถ้าเราเปน็ วิทยากร เราอยากจะได้
ผูเ้ ขา้ อบรมเป็นแบบไหน ค�ำตอบส่วนใหญ่กน็ า่ จะเป็นแบบที่ 1 เพราะ
บรหิ ารจดั การไดง้ า่ ยกวา่ ด้วยเหตุน้ี แมแ้ ตใ่ นระบบโรงเรียนจึงมีการจัด
เดก็ เรียนเปน็ เกรด A เกรด B หอ้ งคงิ หอ้ งควีน ห้องบ๊วย เพือ่ ใหง้ ่ายต่อ
การจัดการเรยี นการสอน
ส่วนวธิ ีคดิ เบอ้ื งหลังการเลอื กแบบที่ 1 หรือแบบที่ 2 นน้ั กม็ อี ยู่
2 แบบ วธิ ีคดิ แบบแรกเรยี กวา่ Convergence (วิธคี ดิ แบบลู่เขา้ )
คือวิธีคิดท่ีอยากจะท�ำให้ทุกๆอย่างมีแนวโน้มเป็นแบบเดียวกันหมด
ตวั อยา่ งเช่น วิธคี ิดแบบสูตรเดียวกนั ทว่ั ประเทศ มาตรฐานผูห้ ญงิ สวย
การท�ำกรุงเทพฯให้เหมือนนิวยอร์ค เป็นต้น วิธีคิดแบบน้ีจะบริหาร
จดั การทุกอยา่ งด้วยสูตรเดียวกนั มาตรฐานเดียวกนั
ส่วนวธิ คี ดิ แบบท่สี อง คอื Divergence (วธิ คี ิดแบบลอู่ อก)
เปน็ วธิ คี ดิ ทย่ี อมรบั วา่ ทกุ ๆอยา่ งมลี กั ษณะเฉพาะตวั ตวั อยา่ งเชน่ อาหาร
ท่จี ะอร่อยนน้ั กแ็ ล้วแตส่ ตู รใครสูตรมัน คนแถวน้เี ขาทำ� กนั แบบน้ี ลาง
เน้ือชอบลางยา เปน็ ต้น วธิ คี ิดแบบนี้จะเลอื กการบริหารจดั การหลายๆ
แบบ ส�ำหรบั แตล่ ะกล่มุ คน
ส�ำหรบั โครงการ ASCBR นนั้ ทีมวิจยั เลือกท่จี ะใชว้ ิธคี ิดแบบ
Divergence เปน็ วธิ ีคิดในการบริหารจัดการ
(2) ลักษณะ 2 ด้านของ “ความหลากหลาย” ก่อนที่จะไป
บริหารจดั การกบั สิ่งใด เรากค็ วรจะมีความเขา้ ใจอยา่ งกระจา่ งตอ่ สงิ่ น้นั
เสียกอ่ น ดังนนั้ ก่อนจะไปบริหารจัดการ “ความหลากหลาย” เราอาจ
จะตอ้ งทบทวนความเข้าใจเกยี่ วกับ “ความหลากหลาย” กนั เสยี กอ่ น
แนวคดิ เร่อื ง “หลากหลาย” นั้น คลา้ ยคลงึ กบั แนวคิดเร่อื ง
“วกิ ฤติ” (crisis) คือมีลกั ษณะ 2 ด้าน ดา้ นหนง่ึ วกิ ฤตคิ อื สภาวะทเี่ ปน็

209


อันตราย แตใ่ นอกี ด้านหนึ่ง วกิ ฤตกิ ห็ มายถึงโอกาสทจ่ี ะเกิดสง่ิ ใหม่ๆ
เกดิ การเรียนรู้ใหม่ๆ

เมือ่ เกิดวกิ ฤตินนั้ หากเราปลอ่ ยให้วิกฤตดิ �ำเนนิ ไปตามธรรม-
ชาติ ผลลัพธ์สุดท้ายอาจจะน�ำมาซ่งึ อันตราย หรอื หากเราบรหิ ารจัดการ
อยา่ งขาดความรอบรู้ ก็อาจจะยง่ิ เรง่ “วิกฤต”ิ ใหก้ ลายเปน็ “หายนะ”
ไดเ้ ร็วข้นึ น่คี อื ด้านแรกท่ีวกิ ฤตมิ ีความหมายถงึ “อนั ตราย” แต่ในอีก
ดา้ นหน่ึง หากเรามคี วามร้คู วามชำ� นาญในการบริหารจดั การกบั วิกฤติ
หากเรารจู้ กั บรหิ ารจดั การกับวกิ ฤติจนผา่ นพน้ ไปได้ ผลลัพธ์สุดทา้ ยที่
เกิดขน้ึ กค็ อื เรากจ็ ะมบี ทเรยี นท่จี ะรบั มือกับวิกฤติในอนาคต หรือรู้วิธีที่
จะป้องกนั กอ่ นจะเกิดวิกฤติ หรอื มภี ูมิต้านทานท่สี ูงขน้ึ ตอ่ วกิ ฤติ นี่เป็น
ดา้ นท่เี ปน็ โอกาส
ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั ความหลากหลายกม็ ี 2 ดา้ นเชน่ กนั ในด้านหน่ึง
หากเราปลอ่ ยใหค้ วามหลากหลายด�ำเนินไปเองตามธรรมชาติ อาจจะ
ท�ำให้เกิดภาวะสับสนอลหม่าน (ตวั อย่างเชน่ เวลาเกดิ ภัยพิบัติ แล้ว
ทกุ คนตา่ งบรหิ ารจดั การตวั เองไปอยา่ งโกลาหลอลหมา่ น) หรอื หากจดั การ
ความหลากหลายอย่างไม่ถูกต้องหรือขาดความรู้ เชน่ บริหารจัดการ
แบบสูตรเดียวกนั ทั้งประเทศ ผลลพั ธส์ ุดทา้ ยกค็ งดไู มจ่ ืดเช่นกัน
แตห่ ากเรามคี วามรใู้ นการบรหิ ารจดั การความหลากหลายอยา่ งดี

210


ก็จะกลายเป็นโอกาสท่ีเกิดผลลัพธ์อย่างดี เช่น ภูมิปัญญาเกษตรกร
ไทยที่มคี วามรูท้ ี่จะบริหารจัดการดิน นำ้� ประเภทพืชท่จี ะปลกู ในท่ีลมุ่
ท่ีดอน ที่โคก หรือแม้แตท่ ีแ่ ห้งแล้ง เป็นต้น
ดังน้นั หากเราได้เปน็ นกั ออกแบบฝึกอบรมกลุ่มเปา้ หมายทม่ี ี
ลักษณะเหมือนกันทั้งหมด เราก็คงไม่ต้องใช้ฝีมือในการจัดหลักสูตร/
เนื้อหา/กระบวนการมากนกั (เชน่ การปลูกพชื เชิงเดี่ยว) แต่หากจำ� เป็น
ตอ้ งจดั การฝกึ อบรมกลุ่มเปา้ หมายท่มี าแบบ “ร้อยพ่อพันแม่” นี่กเ็ ปน็
โอกาสท่ีเราจะไดย้ กระดบั ฝมี ือการจดั หลกั สูตรให้ข้นึ “ระดบั ขั้นเทพ”
จึงจะสามารถ “เอากลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มใหอ้ ยไู่ ด”้ นี่คือความหมาย
ของค�ำวา่ “โอกาส” ของความหลากหลาย
(3) กอ่ นทจี่ ะจดั การกบั “ความหลากหลาย” ตอ้ งจดั การกบั
“ความคดิ เรอื่ งความหลากหลาย” เสยี กอ่ น ตอ่ เนอื่ งจากทกี่ ลา่ วมาใน
ข้อ 2 ข้อสรปุ ก็คือ กอ่ นท่เี ราจะไปจัดการกบั “ความหลากหลาย” นัน้
เราคงตอ้ งจัดการกบั “ความคดิ ตอ่ เรื่องการจดั การความหลากหลาย”
เสียก่อนดังน้ี
(i) ตัวปญั หาน้นั อย่ทู ี่ไหน/ตรงไหน ในเรื่องความแตกตา่ ง
หลากหลาย เช่น ในกรณขี องการเปน็ ผู้รบั ผิดชอบการฝึกอบรม เรามัก
จะพบ “ธรรมชาตทิ ่ีแทจ้ ริงของโลก” ว่า “โลกนม้ี คี วามแตกต่างหลาก
หลายเปน็ พ้ืนฐาน” ดังน้นั ในกรณขี องโครงการ ASCBR น้ี ความ
แตกตา่ งอันดบั แรกของทมี พี่เลย้ี งซง่ึ นอกจากตัวแปรดา้ นประชากร เช่น
อายุ เพศ สาขาการศึกษา ความสนใจ ครอบครัว ฯลฯ แลว้ ตวั แปรท่ี
เกยี่ วขอ้ งกับการอบรมมากท่ีสุดกค็ อื ประสบการณ์การทำ� งานของผู้เข้า
อบรมมมี ากนอ้ ยไม่เทา่ กัน
แต่ดังท่ไี ดก้ ลา่ วมาแลว้ ว่า “ความแตกต่างหลากหลาย” นน้ั ยงั
ไมใ่ ช่ “ตัวปญั หาทีแ่ ทจ้ รงิ ” เพราะความหลากหลายเป็นท้ังอนั ตรายและ

211


โอกาส ตวั ปญั หาท่ีแทจ้ รงิ น่าจะอยู่ที่ “วิธกี ารจัดการกับความหลาก
หลายน้ัน” ต่างหาก เชน่ ถา้ มวี ิธกี ารจดั การแบบเดียวกันหมด (con-
vergence approach) หรอื จดั การแบบปลอ่ ยใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาติ
(ใครมือยาวก็สาวเอาความรู้ไป ใครมือสั้นก็อดเรียนรู้) หรือจัดการ
แบบฝนตกไม่ทั่วฟา้ (เชน่ ออกแบบการเรียนร้ใู ห้แก่ผมู้ ปี ระสบการณ์สงู
เท่านั้น โดยละเลยพวกมอื ใหมห่ ัดขับ) เป็นตน้
เช่นเดยี วกับแนวคิดเรื่อง “วิกฤติ” ทไี่ ดก้ ลา่ วมาแล้ว ในเรือ่ ง
ความแตกต่างหลากหลายนัน้ กม็ ีลกั ษณะ 2 ด้าน คอื เปน็ ท้งั อันตราย
และโอกาส ถา้ หากเราใชว้ ิธกี ารจดั การกับความหลากหลายของกลุม่ ผู้
เขา้ อบรมในแบบวธิ ีทกี่ ล่าวมาข้างบนน้นั ยอ่ มเปน็ การพลกิ ดา้ นทเ่ี ป็น
“อนั ตราย” ของความหลากหลายให้ปรากฏ ในทางตรงกันข้าม หาก
เราใชแ้ บบวธิ กี ารจดั การทพี่ ลกิ โฉมหนา้ อกี ดา้ นหนง่ึ ของความหลากหลาย
คือ “โอกาส” มาจัดการ ผลลพั ธก์ จ็ ะออกมาอีกแบบหนึ่ง
ยกตัวอย่างเช่น จากความหลากหลายหลายด้านภูมิหลงั และ
ประสบการณ์การทำ� งานวจิ ัย CBR ของผูเ้ ขา้ อบรมในโครงการ ASCBR
น้ี (บางทา่ นเปน็ อาจารย์ หลายทา่ นเป็นเจ้าหน้าทข่ี อง สกว. แตล่ ะคน
เรียนจบกนั มาคนละสาขาวิชา มีอายแุ ละอายกุ ารทำ� งานทีแ่ ตกตา่ งกนั )
ในการจดั การกบั ความแตกต่างหลากหลายดงั กลา่ วน้ี หน่งึ ในกลยุทธท์ ่ี
หัวหนา้ โครงการฯได้ใชค้ ือ “กลยุทธท์ ง้ั รวมทั้งแยก”
“ทง้ั รวม” นน้ั หมายความวา่ สำ� หรบั เนือ้ หาและทกั ษะท่ีทกุ คน
จ�ำเปน็ ต้องรู้ กต็ ้องเรยี นให้เหมือนกันหมด การบ้านบางอย่างทจี่ ำ� เป็น
ทุกคนก็ต้องท�ำเหมือนกันหมด การท�ำข้อสอบก็ต้องท�ำทุกคน ส่วน
“ทั้งแยก” หมายความถึง การจัดการเป็นพิเศษส�ำหรับแต่ละบุคคล
หรอื แต่ละกล่มุ เชน่ ส�ำหรับพ่เี ล้ียงร่นุ ใหม่ต้องเสริมการบ้านเพอื่ เติม
ประสบการณ์ให้เป็นพิเศษ ส�ำหรับพ่ีเล้ียงรุ่นอาวุโสต้องท�ำการบ้าน
ขัน้ สงู เป็นตน้

212


(ii) การจดั การความสมั พนั ธข์ องคนทมี่ คี วามแตกตา่ งหลาก
หลาย ในกรณีทเ่ี ปน็ การจัดการกับคนและความสมั พันธ์ระหวา่ งคนที่มี
ความแตกตา่ งหลากหลายนัน้ มหี ลกั การสำ� คัญบางประการทจี่ ะตอ้ ง
ยดึ ถือ หากต้องการพลิกความหลากหลายให้เป็น “โอกาส” และ “ไม่
เป็นอันตราย” เช่น ต้องไม่จัดการให้ความสัมพันธ์มีลักษณะขัดแย้ง
แข่งขัน เปรียบเทียบ ฯลฯ (Conflictual relationship) แต่ต้อง
จดั ความสัมพนั ธ์ใหเ้ ป็นแบบเอ้อื เฟ้ือชว่ ยเสริมเพ่ิมเตมิ กนั (symbiotic/
Mutual aid) ถ้าจะมกี ารแขง่ ขนั กใ็ ห้แขง่ กบั ตัวเอง (ในกรณีของพเ่ี ลีย้ ง
ศนู ยฯ์ บรรยากาศของวฒั นธรรมองคก์ รชว่ ยใหจ้ ดั การเรอ่ื งความสมั พันธ์
แบบนีไ้ มย่ ากนกั แตใ่ นสงั คมทัว่ ไป อาจจะทวนกระแสพอสมควร)
(iii) ตอ้ งปลดลอ็ คความคดิ เรอื่ ง “การเปรยี บเทยี บวา่ อะไรดกี วา่
ในตวั เอง” (good or bad in itself) ซงึ่ ปรากฏการณด์ งั กลา่ วจะพบ
ในการอบรมอยู่ตลอดเวลา เช่น เม่ือมีการระดมสมองว่า “เวลาต้ัง
ประเดน็ ใหค้ ุยในกลมุ่ ยอ่ ย มีวธิ กี ารท่ีหลากหลายให้เลือก คือ จะ “คุม
เกณฑ์คุมหัวขอ้ ” (focused topic) หรือจะ “ปลอ่ ยอิสระ” (topic-free)
กม็ กั จะมคี ำ� ถามตามมาเสมอว่า “วิธีไหนจะดีกวา่ กนั ”
ในการปลดลอ็ ควธิ คี ดิ แบบ “เปรยี บเทยี บในตวั เอง” นนั้ วทิ ยากร
ไดใ้ ชว้ ัคซีน 2 ชนิดในการฉดี ป้องกนั โรคเปรยี บเทียบในตัวเองน้ี วัคซีน
แรกคือ “การพจิ ารณา “ทวีลักษณ”์ ของเครื่องมอื ” วา่ เครือ่ งมือ
ทุกชนิดลว้ นมี 2 ดา้ น คือด้านทมี่ ี “คุณประโยชน์” อีกดา้ นหนึ่งกค็ ือ
“ขอ้ จำ� กดั ” (Contribution & limit) วคั ซนี ท่ี 2 คอื เรอ่ื งเงอ่ื นไขการใช้
เชน่ การระดมสมองแบบปลอ่ ยปลายน้นั จะเหมาะกบั กลมุ่ ใหมท่ ีย่ ังไม่
ค้นุ เคยกบั การแสดงความคดิ เห็น และวทิ ยากรมคี วามชำ� นาญในการ
จัดกลมุ่ คำ� ตอบท่ีกระจดั กระจาย เป็นต้น การใช้อยา่ งถูกเงอ่ื นไขนี้เอง
จะนำ� ไปสู่การเปดิ ปมุ่ ที่มีคุณประโยชนอ์ อกมา และปิดปุ่มข้อจำ� กดั ของ
เคร่อื งมอื น้ันๆ

213


(iv) ต้องลดทอนความคดิ ท่ีจะตัดสนิ “ผิด/ถูก” ลงไปบา้ ง
เนื่องจากในการฝึกอบรมของโครงการ ASCBR นกี้ ำ� ลงั อยู่ในโหมด
“ของการเรยี นร้”ู ซ่งึ ย่อมมกี ารตกหลุมตกร่องบา้ งเป็นสจั ธรรม ดงั นัน้
ผู้รบั ผดิ ชอบการฝึกอบรมตอ้ งเพลาๆความคดิ ทีจ่ ะตดั สนิ “ผดิ /ถกู ” หรือ
มงุ่ เปา้ ท่ีจะต้องทำ� ให้สำ� เร็จมากจนเกินไป (เราไม่ได้กำ� ลังอย่ใู นโหมด
การแขง่ ขนั ฟตุ บอลรอบตัดเชือกเพือ่ ไปแข่งบอลโลกนะ)
ตวั อย่างทน่ี า่ ประทับใจที่ทีมวจิ ยั ได้เรียนรู้กค็ ือ ใน Session
เคร่ืองมอื Body paint หลงั จากทีไ่ ด้ท�ำ Timeline ของเครื่องมอื Body
paint แล้วกพ็ บว่า แนวคิดเรื่อง “Body” ได้เกิดการผดิ เพ้ียนจาก
ตน้ ทางของแนวคดิ เมอื่ ไปถงึ ปลายทางอยา่ งมาก อยา่ งไรกต็ าม ทมี วจิ ยั
กไ็ ดช้ ว่ ยกนั จดั การ “ความผดิ เพย้ี น” นใ้ี หก้ ลายเปน็ ฟงั กช์ น่ั การใช้ Body
paint ท่ีหลากหลายใน 3 แบบ (โดยถือว่า ฟงั กช์ น่ั การใช้เคร่อื งมือน้ี
เพอื่ ความสนกุ สนานสันทนาการก็ไมใ่ ชค่ วามผิดอะไร แถมยังไดร้ บั การ
ขนานนามวา่ Body Fun) นบั วา่ เปน็ นโยบาย “คนื เครอ่ื งมอื เพย้ี นกลบั สู่
วงการ” อกี ดว้ ย
(4) แนวคดิ หนุนหลงั (Back-up concepts) สำ� หรับ “ความ
คดิ ตัวแม่” (Main concept) ที่เป็นแกนใหญค่ ำ้� ยนั แนวคดิ เร่อื ง การ
จัดการกับความหมายก็คอื แนวคิดท่ีว่า “ในโลกน้มี ิไดม้ แี บบวธิ คี ิดอยู่
เพียงแบบเดยี วเท่านัน้ ” หากแต่มวี ธิ ีคดิ อยหู่ ลายแบบวธิ ี เช่น

(i) วิธคี ดิ แบบ “เลอื กได้เพยี งอันใดอนั หนง่ึ ” (Either-or)
เชน่ ถา้ ไม่ใชม่ ติ ร ก็ต้องเปน็ ศตั รู คนอยกู่ บั ปา่ ไม่ได้ ถา้ ไมใ่ ช่
ขาวกต็ ้องเปน็ ดำ� เปน็ ตน้
(ii) วิธีคิดแบบ “เปน็ ทงั้ สองอย่าง” (Both) เชน่ มนุษยเ์ รามี
ทัง้ ส่วนทเ่ี หมือนและสว่ นท่แี ตกต่างจากสัตว์ เรามที ง้ั “ความ

214


เป็นหญงิ ” และ “ความเป็นชาย” อยู่ในตัว ความสัมพนั ธแ์ บบ
ท้ังรกั ทง้ั ชัง เปน็ ทงั้ ศัตรแู ละมติ ร ฯลฯ
(iii) วธิ ีคิดแบบ “ไม่เปน็ ทง้ั สอง” (Neither nor) เชน่ วิธคี ดิ
แบบลทั ธเิ ตา๋ ว่า เตา๋ ก็ไม่ใช่น่ัน แลว้ ก็ไมใ่ ช่นี่
(iv) วธิ คี ดิ แบบ “จะเป็นอะไรกข็ ้ึนอยู่กับ Mode” เป็นวธิ ี
คดิ แบบคอมพิวเตอร์วา่ เม่อื เราคลิกขวาแล้วจะไดอ้ ะไรข้ึนมา
กข็ นึ้ อยูก่ ับวา่ “เรากำ� ลงั อยูบ่ น Mode อะไร”
(v) มบี างอยา่ งต้องใช้ “วิธคี ดิ แบบสตู รเดียวกนั ทว่ั ประเทศ”
(Universality) แต่บางอยา่ งก็ตอ้ งใช้ “วธิ ีคดิ แบบถิ่นใครถน่ิ
มัน” (Particularism)
(5) ตวั อยา่ งของรปู แบบความหลากหลาย ในชวี ติ ประจำ� วนั
เราจะเห็นตัวอย่างของการจัดการความหลากหลายเพ่ือให้ได้ประโยชน์
อย่างสูงสุดของผู้จัดการความหลากหลายน้ัน ตัวอย่างเช่น การจัด
คอนเสริ ์ตของพเ่ี บิรด์ ธงไชย ท่มี กี ลุ่มผู้ชมมากมายหลายรุน่ วยั (เกอื บ
5-6 รุ่น) หลายเพศ หลายอาชพี ฯลฯ ดงั นัน้ การเลอื กเพลงมารอ้ งจึงมี
ทง้ั เพลงช้า เพลงเรว็ เพลงเต้น เพลงนง่ั ฟงั เฉยๆ เพลงฮติ ของแต่ละร่นุ วัย
เป็นต้น หรอื ตัวละครในหนงั สอื “แฮรี่ พอตเตอร์” ก็เช่นกนั มที ้ังเดก็
ผู้ชาย เดก็ ผู้หญิง นักเรียนกอ็ ่านได้ อาจารยใ์ หญ่กม็ ี อนั เป็นกลยุทธ์
เดียวกับละครโทรทัศน์ “บ้านทรายทอง” ท่ีดูกันได้ต้ังแต่คุณหญิง
คุณนายไปจนถึงคนรบั ใช้ในบา้ น ฯลฯ ตวั อยา่ งเหล่าน้แี สดงให้เห็นวา่
หากมีฝมี อื ในการจดั การความหลากหลายไดด้ ี กจ็ ะ “เอาอย่ทู กุ กลุ่ม
เปา้ หมาย” “ทำ� ได้ทกุ เวท”ี
สำ� หรบั การฝกึ อบรมในโครงการ ASCBR ไดแ้ สวงหาและทดลอง
วิธีการจัดการความหลากหลายในหลายๆแงม่ ุม ดงั น้ี
(i) ความหลากหลายเชงิ ภาษา เน่ืองจากบรรดาค�ำศพั ทท์ ่ีใช้

215


ในแวดวง CBR น้ัน มแี หล่งที่มาอย่างหลากหลายกระจายตวั มที ั้งศพั ท์
ท่ีเป็นวชิ าการ และศพั ท์ที่ใชก้ นั ในภาคปฏบิ ตั ิ ดงั นั้น ในการฝกึ อบรม
คร้งั นีจ้ ึงได้มีการประมวล “วงศาคณาญาตขิ องคำ� ศัพท”์ (family of
word) อันได้แก่คำ� ที่มคี วามหมายคลา้ ยคลึงกนั หรอื ใกล้เคยี งกันมา
แสดงให้เห็น เชน่ คำ� ว่า Pattern Analysis นน้ั ค�ำว่า “แบบแผน” นน้ั
อาจจะใชค้ ำ� ว่า “รูปแบบ แนวทาง โมเดล สูตร” ฯลฯ เพอื่ ป้องกันโรค
สบั สนระดบั ถอ้ ยคำ�
(ii) ความหลากหลายของวธิ ีวดั ซงึ่ เป็นเป้าหมายหน่งึ ของ
การเสรมิ พลงั และการยกระดบั ของกลมุ่ เปา้ หมาย ซงึ่ แตเ่ ดมิ มกั จะมี “วธิ ี
การวดั ผลอยทู่ า่ เดียว” ให้เพิม่ วธิ กี ารลลี าใหม้ หี ลายทา่ มากขึ้น ตัวอยา่ ง
เชน่ วธิ กี ารวดั “ความเปล่ียนแปลง” ซ่งึ เป็นหัวใจหอ้ งหน่ึงของ CBR
วิทยากรไดเ้ สนอวิธีวดั ถงึ 4 แบบ ซึ่งแต่ละแบบจะตอบโจทยท์ ตี่ ้องการ
ถามไปคนละอย่าง เช่น ตอบโจทยเ์ ร่ืองกลมุ่ คน (ทฤษฎีหวั หอม) ตอบ
โจทยเ์ รือ่ งมิตติ า่ งๆ (dimension) - ทฤษฎดี าวสิบเอ็ดแฉก หรือตอบ
โจทยเ์ รอื่ งทิศทางของการเปลย่ี นแปลง (direction) เป็นตน้
(iii) ความหลากหลายของช่วงเวลา (Moment) เช่น การ
วเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าท่ี (Function analysis) ซึ่งมี Moments ของ
การวัดถงึ 3 Moments (วิทยากรเข้าใจว่าพี่เลย้ี งศูนย์ฯยังคงมองเรอ่ื ง
บทบาทหน้าที่ ณ จดุ เดยี ว Moment เดียว) เป็นตน้
(iv) ความหลากหลายของการทำ� รายงานกลุ่มย่อย ถงึ แม้
ในการท�ำการประชมุ กลมุ่ ย่อย (workshop) ทกุ กลุ่มจะไดโ้ จทยแ์ บบ
เดยี วกัน เช่น ไดโ้ จทย์เร่อื ง “การจดั กล่มุ ” (grouping) แตเ่ นือ่ งจาก
ความหลากหลายด้านภูมิหลังของสมาชิกในแต่ละกลุ่ม ท�ำให้ผลงาน
ของกลุ่มย่อยมีความแตกต่างกัน เช่น บางกลุ่มใช้เกณฑ์ในระนาบ
เดียวกัน (แบบเรียงหน้ากระดาน) บางกลุ่มใช้เกณฑ์เรียงตัวแบบมี
ล�ำดบั ช้ัน (แตกกงิ่ -ก้าน-สาขา) เม่อื ปรากฏความแตกต่างดังนี้ เป็น

216


หน้าท่ีของวิทยากรที่จะใช้ผลงานดังกล่าวเป็นบทเรียนด้วยการวิเคราะห์
โครงสร้าง 2 แบบของเกณฑไ์ ดอ้ ย่างหลากหลาย
(6) ตัวอย่างของกลยุทธ์ในการจัดการความหลากหลาย
เน่อื งจากในโครงการ ASCBR น้ียังไม่ไดม้ ุง่ ประเดน็ หลกั ไปท่เี ร่อื งการ
จดั การความหลากหลายมากนกั ดงั นน้ั บทเรยี นทไ่ี ดใ้ นประเดน็ นจ้ี งึ เปน็
เพยี ง “ของแถม/เงนิ ติดปลายนวม” เทา่ น้ัน ในอนาคต ยังสามารถท่จี ะ
พัฒนาบทเรียนเร่ืองกลยุทธ์ในการจัดการความหลากหลายได้มากข้ึน
หนงั ตวั อย่างของกลยทุ ธ์ทีจ่ ะนำ� ฉายในที่น้ีมี 2-3 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี
(i) กลยทุ ธ์ “การสลบั เลนซข์ องจดุ รว่ มและจดุ ตา่ ง” กลยทุ ธ์
นจี้ ะนำ� เอาเลนซ์จากเคร่ืองมือ Common & Difference analysis
มาใช้ แตจ่ ะสลบั ตวั เลนซก์ นั เสยี ตวั อยา่ งเชน่ ตามปกติ เวลาเราดคู วาม
สมั พนั ธร์ ะหวา่ งผูส้ งู อายุกับวัยรุ่น เรามักจะเปิดเลนซป์ ุม่ “ความแตก
ตา่ งเปน็ หลกั ” และปดิ ปุ่มเลนซ์ “จุดร่วม” ดงั นั้น เราจึงมองเหน็ ความ
แตกตา่ งด้านรา่ งกาย ความสามารถ ความสนใจ การเปน็ คนแหง่ อดีต/
คนแหง่ อนาคต ฯลฯ ของคน 2 รุน่ น้ี จากการมองดา้ นความแตกต่าง
เป็นหลกั ทำ� ให้รูปแบบความสมั พันธร์ ะหวา่ งผสู้ ูงวัยกบั วัยรุ่นมีลักษณะ
เปน็ ความสัมพันธแ์ บบขดั แย้งหรือตรงกนั ข้าม
หากเราบรหิ ารจดั การความหลากหลายดว้ ยการเปดิ ปดิ ปมุ่ เลนซ์
สลบั กนั โดยปิดปมุ่ “ความแตกต่าง” และเปดิ ปุ่ม “จุดร่วม” เราก็จะ
มองเหน็ ว่า ผสู้ งู อายแุ ละวยั รุ่นนั้นเปน็ “คนหัวอกเดียวกัน” ในหลายๆ
ด้าน เชน่ กำ� ลังเปน็ ชว่ งวัยทมี่ ีการเปล่ยี นแปลงทางร่างกายเหมอื นกนั
ก�ำลังมวี กิ ฤติเร่อื งรอยตอ่ ของชว่ งวยั กำ� ลังพบกับสถานการณใ์ หมท่ ตี่ ้อง
มกี ารปรบั ตวั เปน็ ตน้ หากเนน้ การมองจดุ รว่ ม กจ็ ะเปลยี่ นแปลงลกั ษณะ
ความสัมพันธ์ระหว่างสองวัยจากท่ีเคย “ขัดแย้ง” มาเป็น “คนหัวอก
เดียวกัน” เป็นตน้

217


(ii) กลยุทธ์ “ประสานเกลียว” ส�ำหรับความแตกตา่ งหลาก
หลายที่มลี กั ษณะ “ตา่ งกนั แบบสุดข้วั ” เหมือนเกลยี ว 2 เกลียวน้นั ใน
ภาษาไทยมถี อ้ ยคำ� ทต่ี กผลกึ วธิ กี ารจดั การกบั ความแตกตา่ งหลากหลาย
เอาไว้ 2 แบบคือ หากจดั การประสานเกลยี วแบบไมเ่ หมาะสม เอา
ปลายแหลมมาชนกนั ท�ำใหข้ บกัน กจ็ ะเกิด “การปีนเกลียว” แต่หาก
ประสานเกลียวแบบเหมาะสม เอาปลายแหลมของเกลียวหน่ึงใส่ตรง
ช่องวา่ งของอีกเกลยี วหน่งึ ก็จะเกิด “ความกลมเกลียว” กันขึ้น

จากตวั อยา่ งเดิมของความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผูส้ ูงวัยกบั วัยร่นุ หาก
นำ� เอาความแตกต่างที่มีมาบรหิ ารจดั การใหเ้ กิดความกลมเกลยี ว เช่น
วยั รนุ่ เป็นพวกคดิ ไวแต่ประสบการณ์ชวี ติ มนี ้อย ก็ใหอ้ าศยั การผา่ นโลก
มามากของผสู้ ูงวัยมาเปน็ ตัวช่วย และในเวลาเดียวกันก็ดึงผ้สู ูงวยั ให้คดิ
เร็วขึน้ วยั ร่นุ อาจจะสอน “เทคนคิ การใช้ IT ให้ผู้สูงอายุ” สว่ นผสู้ งู อายุ
ก็ถา่ ยทอดประสบการณเ์ รือ่ ง “การรเู้ ท่าทนั คนรเู้ ท่าทันส่อื ” ใหว้ ัยรุ่น
เป็นตน้
(iii) กลยุทธ์ “ทงั้ รวมทัง้ แยก” ทไ่ี ดก้ ลา่ วถงึ มาแล้วในกรณี

218


ตัวอย่างของการมอบหมายการบ้านให้กลุ่มพ่ีเล้ียงที่มีประสบการณ์ต่าง
กนั ในที่นจี้ ะขอเพ่มิ เตมิ ว่า ในการใช้กลยทุ ธ์แบบนี้ ผ้ใู ช้จะมคี วาม
สะดวกสบายน้อยกว่าการใช้กลยุทธ์แบบ “สูตรเดียวกันทั่วประเทศ”
เพราะจะตอ้ งมานงั่ ออกแบบกจิ กรรมอยหู่ ลายรอบ ทงั้ รอบของ “กจิ กรรม
แบบรวมๆ” ทงั้ รอบของ “กจิ กรรมแบบเฉพาะกลมุ่ ” ดังน้นั ในการท่ีจะ
บรหิ ารจดั การความหลากหลายนั้น ผ้ใู ช้กต็ อ้ งลบค�ำว่า “งา่ ยๆสะดวก
สบาย” ออกไปจากพจนานกุ รมของตวั เองดว้ ย
(iv) กลยุทธก์ ารคดิ แบบมี “พลวัตรของกาละ/เทศะ” (dy-
namic of time & space) ผเู้ ขยี นเรยี นรกู้ ลยุทธน์ ี้มาจากภมู ปิ ญั ญา
พ้ืนบ้านของคนโบราณท่ีจัดการความหลากหลายโดยดูกาละ/เทศะเป็น
สำ� คญั ตวั อย่างเชน่ เวลาดกู ารแสดงพ้นื บา้ น เชน่ ลำ� ตัด ในช่วงเลน่
ตอนหวั คำ่� (ทผี่ ชู้ มมีทง้ั เด็กและผู้ใหญ่ ผู้หญิงและผู้ชาย) เพลงท่เี ล่นน้นั
มกั จะเปน็ เรื่องการอบรมสัง่ สอนตา่ งๆ จะไม่มีการรอ้ งท่หี ยาบโลน ไม่
รอ้ งเรอื่ งเพศหรอื เรอื่ งลามกเลย แตพ่ อชว่ งดกึ ๆทเี่ ดก็ และผหู้ ญงิ กลบั บา้ น
ไปนอนแล้ว ช่วงน้ีจะมีการเล่นเพลงท่ีมีเน้ือหาเร่ืองเพศแบบสองแง่
สามง่าม เป็นต้น
หรอื การวาดภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในวัดก็เชน่ เดยี วกนั จะมีการ
จดั แบง่ “พ้นื ที่” เอาไว้ เชน่ ถ้าเป็นภาพข้างบนหรือตรงกลางซึ่งมองเหน็
ได้โดยงา่ ย ก็จะเป็นภาพเทวดา นางฟา้ พระพทุ ธเจา้ แต่ในพน้ื ท่ีตรง
มุมๆด้านลา่ ง (ท่ีมองเหน็ ได้ยาก) กจ็ ะเปน็ ภาพอีโรตกิ ตา่ งๆ ท่ีเรยี กวา่
“ภาพกาก” เปน็ ต้น

219


วิธีการติดต้งั ท่ี 20 : เทคนคิ การถมตรงท่ีเป็นหลุม
เน่ืองจากทีมพ่ีเล้ียงและนักวิจัยชุมชนท่ีเข้ามาฝึกอบรมในคร้ังน้ี
ไมใ่ ช่ “ผู้ทว่ี ่างเปลา่ ” ทัง้ ในเร่ืองความร้แู ละประสบการณ์การใชเ้ คร่อื ง
มือ A/S ในทางตรงกนั ข้าม กลุม่ เปา้ หมายท้งั 2 กลมุ่ ลว้ นแต่เป็น
“คนมีของ” มาแล้วท้ังน้นั ดงั นน้ั โจทยใ์ หญข่ ้อหนง่ึ สำ� หรับหัวหน้า
โครงการวิจยั กค็ อื ในขณะทวี่ ิทยากรก็มีความรแู้ ละทักษะใหมๆ่ ที่จะเติม
เต็มเขา้ ไป แลว้ จะจัดการอย่างไรระหว่าง “ของใหม”่ กบั “ของเดิมทมี่ ี
อยู่” และน่ีจงึ เปน็ ท่ีมาของเทคนิคเล็กๆของวธิ กี ารติดต้งั เทคนคิ หนงึ่ คอื
การถมตรงบรเิ วณทเี่ ปน็ หลมุ (Fill the gap) ดงั มบี ทเรยี นประมาณนี้

(1) 3 แบบวธิ ีของการพบกนั ระหวา่ งของใหม่และของเดิม
ในการพบกันระหว่าง “ของ 2 ส่งิ ” ประสบการณ์ 2 ชดุ ความรู้ 2 เรื่องทง้ั
เกา่ และใหม”่ น้นั มีหลักแนวคดิ เสนอว่า มรี ปู แบบการพบกันอยา่ งน้อย
3 รปู แบบ ซึ่งในโครงการฝกึ อบรม ASCBR น้ไี ด้เลือกใช้ท้ัง 3 รูปแบบ

220


โดยวเิ คราะหค์ วามเหมาะสมในแตล่ ะกรณี
(1.1) กลยทุ ธ์การแทนท่ี (Substitution) เป็นรปู แบบที่

ทำ� การลบประสบการณเ์ กา่ ทง้ั หมดทง้ิ ไป และเตมิ ประสบการณใ์ หมเ่ ขา้
ไปทดแทน เชน่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติของประเทศ
ไทยตัง้ แตแ่ ผนที่ 1-6 ไดใ้ ช้กลยุทธ์น้ีเปน็ หลัก ดงั น้นั ประเทศไทยจงึ
เปลีย่ นจากการท�ำนาโดยใชค้ วายไถ มาเป็นใช้รถไถ เปล่ียนจากการใช้
ปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกมาเป็นปุ๋ยเคมี เปล่ียนจากการเดินทางสัญจรทางน้�ำ
ดว้ ยแมน่ �้ำล�ำคลองมาเปน็ ถนน เปล่ียนจากการใชย้ าสมุนไพรมาเปน็ ยา
แผนปจั จบุ ัน เป็นต้น

ในการใชก้ ลยทุ ธก์ ารแทนทน่ี ม้ี ขี อ้ พงึ ระวงั กค็ อื เราตอ้ งแนใ่ จ
วา่ ในขณะทเ่ี รา delete ความร/ู้ ประสบการณเ์ ดมิ ทง้ิ ไปนน้ั เราจะไม่
โยนบรรดาข้อดีและประโยชน์ของของเดิมทิ้งไปด้วย และต้องแน่ใจว่า
ของใหม่ท่ีน�ำมาใช้น้ันมีประโยชน์ท่ีมากกว่า/เหนือกว่าของเดิม (เช่น
ประโยชน์ของ 4G ต้องสูงกว่า 1G 2G 3G เป็นตน้ )

ในการฝึกอบรมโครงการ ASCBR นี้ ใช้กลยทุ ธก์ ารแทนที่
น้อยมากเน่ืองจากข้อเตือนใจท่ีกล่าวมา ส�ำหรับกรณีท่ีวิทยากรได้
delete ความรู/้ ความเข้าใจ หรือวิธีปฏบิ ตั ิแบบเดิมของกลุ่มเปา้ หมาย
ทง้ิ ไปบา้ ง และสอดใสข่ องใหมเ่ ขา้ ไปแทนที่ กเ็ ชน่ ความเขา้ ใจทว่ี า่ “เมอ่ื
มเี ครื่องมอื ก็ต้องเอามาใช้โดยไม่รู้เป้าหมายของการใช้” (โรค tool for
and in itself) เป็นตน้

221


(1.2) กลยุทธก์ ารเกบ็ ไวท้ งั้ คู่ (Addition) เป็นรปู แบบ
ท่ีเก็บเอาของเก่าไว้ท้ังหมด แล้วก็เพ่ิมเติมของใหม่ใส่เข้าไปท้ังหมด
ตวั อย่างในดา้ นสขุ ภาพอนามยั กเ็ ชน่ การรักษาโรคมะเร็งท่ใี ชก้ ารรกั ษา
ด้วยสมุนไพรแบบด้ังเดิมบวกผสมกบั วิธีการรกั ษาแบบแผนใหมด่ ้วยการ
ฉายเคมีบำ� บดั เป็นต้น

ในโครงการฝกึ อบรม ASCBR คร้ังน้ี ไดใ้ ช้กลยทุ ธ์การเก็บ
ทงั้ ของเดิมและเพม่ิ เตมิ ของใหมเ่ ขา้ ไปทงั้ คู่ เชน่ เก็บวธิ ีการทำ� การสรุป
บทเรียน (AAR) เพื่อวดั ความเขา้ ใจแบบท่ีศูนยฯ์ เคยใช้อยเู่ อาไว้ และ
เสริมเพิ่มเติมวิธีการท�ำข้อสอบซึ่งเป็นวิธีวัดความเข้าใจแบบใหม่ไว้
เข้าไป เป็นตน้

(1.3) กลยทุ ธล์ กู ผสม (Hybridization) กลยทุ ธน์ เ้ี กอื บจะ
คล้ายกับกลยทุ ธ์ Addition คือมกี ารเกบ็ ทั้งของเก่าและของใหม่เอาไว้
ทงั้ คู่ แต่ความแตกต่างก็อยูต่ รงท่ี กลยทุ ธ์ Addition นั้นจะเกบ็ ทงั้ ของ
เดมิ และใส่ของใหม่เขา้ ไปท้ังหมด แต่กลยุทธ์ลกู ผสมนัน้ จะตอ้ งแกะ
ของเกา่ และของใหมอ่ อกมากอ่ น แลว้ จึงคอ่ ยเลือกเอาเฉพาะบางคณุ -
ลกั ษณะของเดมิ และบางคณุ ลกั ษณะของของใหมเ่ อามาผสมกนั โดย
ต้องเลือกคัดเลือกเอาบางคุณลักษณะทั้งของเก่าและของใหม่ทิ้งไป
ท�ำให้เกดิ “ของใหม่ทม่ี ีลักษณะเปน็ ลกู ผสม”

222


ตัวอย่างเช่น ในขณะทศี่ ูนยฯ์ มวี ธิ กี ารถา่ ยทอดความรู้ดว้ ย
“การแลกเปลยี่ นแบบมสี ว่ นรว่ ม” สว่ นหวั หนา้ โครงการฯมวี ธิ กี ารถา่ ยทอด
ความรแู้ บบ “การบรรยาย” การใชก้ ลยทุ ธแ์ บบลกู ผสมกค็ อื การแกะเอา
คุณลักษณะบางอย่างของท้ังการแลกเปล่ียนแบบมีส่วนร่วมและท้ังวิธี
การบรรยาย โดยเลอื กตดั ทง้ิ คณุ ลกั ษณะบางอยา่ งออกไป แลว้ นำ� สว่ น
ทค่ี ดั เอาไวม้ าผสมกนั ใหมเ่ ปน็ วิธีการลูกผสม คือ “การบรรยายแบบมี
สว่ นร่วม” (ดรู ายละเอยี ดในหนงั สอื เล่ม 1: การวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ น
งานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถนิ่ : ความเขา้ ใจเบอื้ งตน้ ของชดุ หนงั สือไตรภาคน)้ี

ส�ำหรับกลยุทธ์ลูกผสมน้ีมีกระบวนการคล้ายการตอนต่อ
ยอดก่ิงไม้ โดยมีความรู้เดิมเป็นลำ� ต้น และนำ� เข้าความรู้ใหมซ่ ง่ึ เปรียบ
เสมอื นกง่ิ ใหมท่ จ่ี ะเอาเขา้ ไปทาบ กลยทุ ธน์ ด้ี เู หมอื นจะใหผ้ ลลพั ธท์ ย่ี ง่ั ยนื
เพราะกิ่งที่ทาบต่อยอดจะมีความมั่นคงยั่งยืนและให้ผลรวดเร็วกว่าการ
เรม่ิ ตน้ ปลูกต้นใหมจ่ ากเมลด็ อยา่ งไรกต็ าม การทจ่ี ะใชก้ ลยทุ ธ์น้ไี ด้ก็
ต้องมชี ุดความรู้หลายชุด เชน่ ต้องรทู้ ง้ั วธิ ีการบากท้ังลำ� ตน้ และกิง่ ใหม่

223


เพอื่ ทาบกันใหส้ นิท ต้องรวู้ ธิ กี ารขันชะเนาะจึงจะต่อยอดส�ำเร็จ
ในกรณขี องการติดตัง้ เครือ่ งมอื A/S ชุดต่างๆ กต็ ้อง “แกะ

คณุ ลักษณะ” ของเครือ่ งมือ A/S แตล่ ะชิน้ ออกเปน็ สว่ นประกอบย่อยๆ
ตอ้ งรู้วา่ จะเลอื กเก็บคุณลักษณะอะไรไว้ จะตอ้ งเลือกคุณลักษณะไหน
ท้งิ ไป รวมท้งั ตอ้ งร้วู ่า “จะมวี ธิ ีการผสมผสานกนั อยา่ งไรให้ลงตวั ” ซ่งึ
กลยุทธน์ ีค้ ือ “เทคนิคการถมตรงทเ่ี ป็นหลมุ ” (Fill the gap) ซึ่งตอ้ ง
มีความรู้ตัง้ แต่รวู้ ่า “หลมุ /ชอ่ งโหวข่ องเดิมนน้ั อยูต่ รงไหน” “จะเอาของ
ใหม่อะไรมาถม” และ “จะตอ้ งมีวิธกี ารถมอยา่ งไร” กลยุทธ์นจ้ี งึ นบั ว่า
เปน็ ข้อท้าทายในชดุ โครงการน้ี
(2) เงอ่ื นไขการใช้ ในการที่จะเลือกกลยุทธก์ ารถมหลุมใน
รูปแบบใดนน้ั ทีมวิจัยก็มขี อ้ คน้ พบวา่ จะมีเงื่อนไขการใชด้ งั น้ี

(2.1) การส�ำรวจต้นทุนทีก่ ลมุ่ เปา้ หมายมอี ยูก่ ่อน หาก
เทยี บในกรณขี องการตอนตอ่ กงิ่ เรากต็ อ้ งคน้ หาตวั ลำ� ตน้ เสยี กอ่ น วธิ กี าร
สำ� รวจต้นทนุ น้กี ็ใช้บรรดาเครอ่ื งมอื การวิจัยแบบทวั่ ไป เช่น แบบสำ� รวจ
ระดับการร้จู ักเคร่ืองมือ A/S ประเภทต่างๆของพ่ีเลย้ี ง การวเิ คราะหจ์ าก
เอกสารรายงานการวิจยั ของโครงการกลุ่มตวั อยา่ งทั้ง 6 โครงการวา่ มี
วธิ ีการตดิ ต้ังเครอ่ื งมอื A/S ประเภทตา่ งๆดว้ ยวธิ ีการอะไรบา้ ง

(2.2) การสำ� รวจ “ขอ้ จำ� กดั ” หรอื “ชอ่ งโหว/่ หลมุ บอ่ ” ที่
กลมุ่ เปา้ หมายยงั มอี ยู่ วธิ กี ารสำ� รวจขอ้ จำ� กดั ของกลมุ่ เปา้ หมายนี้ กจิ กรรม
ที่จะได้ขอ้ มลู มามากที่สุดก็คอื การทำ� สรุปบทเรยี น/ถอดบทเรยี น (AAR)
ซึ่งกลมุ่ เปา้ หมายมกั จะระบุว่า ตนเองยงั มขี ้อจำ� กัดอะไรบา้ ง

จากขอ้ มูลต้นทนุ และข้อจ�ำกัด (ซ่ึงเปน็ ของเดมิ ทีม่ อี ยู่) ผู้
ออกแบบกระบวนการ “ถมหลุม” ก็จะน�ำมาเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นท่ีจะ
ตดั สินใจเลอื กว่าจะใชก้ ลยทุ ธ์ 3 รปู แบบน้ันอยา่ งไร และในกรณีท่เี ลือก
ใชก้ ลยุทธล์ กู ผสม ก็ต้องลงมอื วิเคราะห์แยกแยะและทดลองผสมส่วน

224


ประกอบยอ่ ยๆจากท้ังของเดิมและของใหมด่ ว้ ยสูตรต่างๆ อย่างไรกต็ าม
ในภาคปฏบิ ตั กิ ารทเี่ ปน็ จรงิ หวั หนา้ โครงการฯกม็ ไิ ดร้ ลู้ ว่ งหนา้ ทงั้ หมดวา่
ควรจะผสมสูตรลูกผสมอยา่ งไรดี หากแตไ่ ดอ้ าศยั กระบวนการทดลอง
หลายๆแบบหลายๆคร้ัง รวมทั้งขอคำ� ปรึกษาจากทมี พ่ีเลี้ยงอาวโุ ส

(2.3) กรณที ม่ี เี งอ่ื นไขของการทำ� ตอ่ เน่ือง ส�ำหรับ
กิจกรรมการอบรมในโครงการ ASCBR นม้ี ีหลายคร้ัง และในแต่ละคร้ัง
กม็ หี ลาย Session ดงั นน้ั หากการถมหลมุ ครัง้ แรกยังไม่เต็ม กย็ งั มี
โอกาสท่จี ะไดเ้ ติมเตม็ ในครั้งที่ 2,3,.. อีก ตวั อย่างเชน่ ในการอบรม
หวั ขอ้ การจดั กลมุ่ (grouping) ให้กับกลุ่มนักวิจัยชมุ ชนครั้งที่ 1 (เม.ย.
2562) เน่อื งจากทีมวทิ ยากรพี่เล้ียงใช้เวลาคอ่ นขา้ งมากกับการเล่นเกม
การจัดกลมุ่ ขอ้ มูลดิบซงึ่ มจี �ำนวนมาก ทำ� ให้เนือ้ หาในเร่อื ง “ความ
สำ� คญั ของเกณฑ์ท่จี ะใช้จัดกลมุ่ ” ไมไ่ ด้รับการเน้นย้�ำ ใน Session
ตอ่ มาเปน็ หัวขอ้ “การวเิ คราะหน์ ำ้� หนัก” (Weight analysis) กไ็ ด้ถม
เพม่ิ ความสำ� คัญของเกณฑ์ในชว่ งนี้ เปน็ ตน้

(2.4) ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ตน้ ทนุ เดมิ ของกลมุ่ เปา้ หมายแตล่ ะ
กลมุ่ โดยตอ้ งมวี ิธกี ารส�ำรวจตน้ ทุนของแต่ละกลมุ่ เปา้ หมายดว้ ยหลกั
ฐานเชงิ ประจกั ษ์ อยา่ เคลมหรอื คดิ เอาเองไวล้ ว่ งหนา้ เชน่ ทมี วจิ ยั คน้ พบ
ว่า วิธีการ save ความรู้ของกลุ่มพ่ีเล้ียงและกลุ่มนักวิจัยชุมชนน้ัน
แตกต่างกัน กลุ่มพ่ีเล้ียงอาจจะพร้อมท่ีจะ save ความรู้ในรูปของ
template สรุปภาพรวม แตน่ ักวจิ ยั ชาวบ้านพรอ้ มจะ save ความรู้
ในรปู ของคำ� คมภาษติ หรือจากการเล่นเกม เปน็ ต้น

อีกกรณหี นึ่ง หวั หนา้ โครงการฯ “คิดเอาไวล้ ่วงหน้าว่า” นกั
วจิ ัยชุมชนคงจะมี “ช่องโหว่/หลมุ ทก่ี วา้ ง” ในเรอ่ื งของการวเิ คราะห์
เปรยี บเทียบระหวา่ งของ 2 สงิ่ โดยน่าจะมีการวเิ คราะห์เพยี งด้านเดยี ว:
จดุ รว่ มหรอื จดุ ตา่ ง แตค่ งไมม่ ตี น้ ทนุ ทจี่ ะวเิ คราะห์ “ทงั้ จดุ รว่ มและจดุ ตา่ ง”
รวมทัง้ “เกณฑท์ ่จี ะใชว้ ิเคราะห์กค็ งจะมไี ม่มากนัก แตท่ ว่าเมือ่ ลงมือ

225


เลน่ เกมวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ หวั หนา้ โครงการฯกไ็ ดพ้ บวา่ ในเชงิ ปรมิ าณ
นกั วจิ ยั ชมุ ชนมเี กณฑท์ พ่ี รง่ั พรมู าใชใ้ นการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บถงึ เกอื บ
30 เกณฑ์ ในเชงิ คณุ ภาพ นกั วจิ ยั ชมุ ชนสามารถวเิ คราะหไ์ ดท้ งั้ จดุ รว่ มและ
จดุ ตา่ งอยา่ งแพรวพราวมาก นก่ี ็เปน็ บทเรยี นท่ีสอนใจหัวหน้าโครงการฯ
วา่ “เป็นนักวิจัย อยา่ มโนไปเอง”

(3) ตวั อยา่ งการตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื A/S ที่ fill the gap จากนี้
จะน�ำเสนอตัวอย่างของวิธีการติดตั้งแบบการถมตรงที่หลุมที่เกิดขึ้นใน
โครงการ ASCBR นี้

(3.1) การขยายแกน X ใหล้ ะเอยี ด และตง้ั แกน Y ให้
เป็น Matrix ในชุดความรู้เดมิ ของพเ่ี ลี้ยงจะมีวธิ ีคดิ แบบแกน X อยู่แล้ว
แตบ่ นแกน X น้ันกอ็ าจจะมแี ค่ 2 ปลายข้วั เทา่ น้ัน (คือ Y กบั N) ในการ
ฝกึ อบรมคร้งั นี้ไดส้ าธติ ผลจากการ pretest วา่ (และทำ� ซ้�ำในแนวคิด
เดยี วกนั นใ้ี นอกี หลายกรณ)ี บนแกน X นนั้ ยงั มไี ดอ้ กี หลายๆ patterns
ระหวา่ ง 2 ปลายขวั้

และในขณะที่ในแกน X น้นั เป็นการคิดแนวระนาบ หาก
เพ่ิมแกน Y เขา้ ไป ก็จะท�ำให้เกดิ การคณู ไขว้ระหว่าง 2 ตัวแปร ท�ำให้มี
คำ� ตอบไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 4 Quadrants เปน็ หลายกรณี เชน่ การวดั ความ
เปลย่ี นแปลงจำ� เปน็ ตอ้ งใช้ 4 Quadrants น้ี (ตวั แปรเรอ่ื งความตง้ั ใจ x
ผลลัพธ์ท่ีพึงปรารถนา) หรือกรณีเด็ก/ผู้ใหญ่ท่ีมีความเป็นเด็ก-ความ
เป็นผ้ใู หญท่ ่ีจะสง่ ผลตอ่ ความเต็มใจในการเล่นเกม กต็ ้องใชว้ ธิ ีคดิ แบบ
4 quadrants เชน่ กนั

(3.2) การเพมิ่ เตมิ คณุ สมบตั ิ “การวเิ คราะหส์ งั เคราะห”์
จากทยี่ งั ขาดอยู่ ในการส�ำรวจ pretest ความเข้าใจของทีมพเี่ ลี้ยงและ
นกั วิจยั ชมุ ชนว่า “A/S คอื อะไร” วิทยากรพบวา่ ค�ำตอบมี 4 ระดบั คอื

226


• ระดบั ท่ี 1 เข้าใจว่าการวเิ คราะห์คอื อะไร แต่ยงั ไมเ่ ขา้ ใจ
วา่ การสงั เคราะห์คืออะไร (เป็นกล่มุ สว่ นใหญ)่
• ระดบั ที่ 2 เข้าใจท้ังการวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ แต่เข้าใจ
ในแงเ่ ปน็ เครอื่ งมอื -กระบวนการ แตย่ งั มองไมเ่ หน็ ถงึ ผลลพั ธ์
ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ (ไม่เห็น “ทไี่ ป”) (เปน็ กลมุ่ สว่ นใหญ่)
• ระดับที่ 3 เข้าใจทง้ั การวิเคราะห์-การสังเคราะหใ์ นแง่
กระบวนการ และเขา้ ใจผลลพั ธท์ ี่จะเกิดขึ้น แต่ยงั ไม่เหน็
ท่ีมา/เป้าหมายของการวิเคราะห์ว่าท�ำไปท�ำไม/เพ่ืออะไร
(เปน็ กลุม่ สว่ นน้อย)
• ระดบั ท่ี 4 เขา้ ใจท้ังการวิเคราะห์-การสังเคราะหใ์ นแง่
กระบวนการ และยังเขา้ ใจทงั้ ที่มา (เปา้ หมาย) และทไี่ ป
(ผลลัพธ์ทีจ่ ะเกดิ ขึน้ ) (มเี พียง 1-2 คน)

จากการสำ� รวจพบหลมุ ร่องในเรอ่ื ง ความเขา้ ใจ A/S ทมี่ ีอยู่
ของกลมุ่ เปา้ หมาย ทมี วจิ ยั จงึ ตงั้ เปา้ หมายทจี่ ะเตมิ เตม็ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย
ส่วนใหญ่ยกระดับความเข้าใจเรือ่ ง A/S มาจนถงึ ระดบั ที่ 4

(3.3) การเพิ่มเติมวิธีคิดแบบมีน�้ำหนักด้วยเครื่องมือ
Weight analysis ผลจากการอา่ นวเิ คราะหเ์ อกสารรายงานโครงการ
วิจัยกล่มุ ตัวอย่างทงั้ 6 โครงการ พบวา่ ปัญหาร่วมกนั ประการหน่ึงทง้ั
กล่มุ พี่เลีย้ งและนักวิจัยชมุ ชน คือการทำ� รายงานแบบขาดการประเมิน
นำ�้ หนกั “ซึง่ สะทอ้ นใหเ้ ห็นช่องโหวใ่ นวธิ ีคิดของทงั้ สองกลมุ่ เปา้ หมายวา่
ยังไม่มวี ิธีคดิ แบบมีระดับ มนี �้ำหนัก มสี ัดส่วน มีเศษมีสว่ น เชน่ ใน
รายงานจะเขยี นว่า ท�ำงานกับเยาวชน 30 คน ซึง่ เปน็ “เศษ” แตไ่ ม่
ทราบวา่ มาจากเยาวชนทง้ั หมดกคี่ น (เป็นสว่ น)

การขาดวิธีคิดแบบมีระดับ/มีน้�ำหนักส่งผลหลายประการ
ตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน เชน่ ในการตง้ั เปา้ หมายของการวจิ ยั จะตง้ั แบบรวมๆ

227


วา่ “จะใหช้ าวบา้ นเขา้ ใจ” ทำ� ใหเ้ วลาประเมนิ ผล จะไมร่ วู้ า่ “ไดผ้ ลมาก
น้อยเพียงใด (มชี าวบ้านกเ่ี ปอรเ์ ซ็นต์ทเี่ ข้าใจ CBR) ดังน้นั ในการทำ�
รายงานความก้าวหนา้ ในรอบ 6 เดือน 1 ปี 2 ปี จะมองไมเ่ หน็ ความ
แตกต่างเชงิ ระดับ (Difference in degree) ท่เี กดิ ข้ึน

วิธีการถมตรงหลุมท่ีโหว่เร่ืองการคิดแบบมีระดับ/มีน้�ำหนัก
น้ีได้ท�ำกันอย่างเป็นเร่ืองเป็นราวด้วยการจัดกิจกรรมการลงมือปฏิบัติ
แบบ “เผาจริง” กันเลย ด้วยการเอารายงานของโครงการวิจัยกลุ่ม
ตวั อยา่ งมาเปน็ แบบฝกึ หดั ปรบั แก้กันจริงๆ

(3.4) การเพ่ิมเติมต่อยอดในเคร่ืองมือการวิเคราะห์
เปรียบเทยี บ ในเคร่ืองมอื การวิเคราะห์เปรยี บเทยี บซง่ึ เป็นเครอื่ งมอื
พื้นฐานทีจ่ ำ� เปน็ ส�ำหรับทีมพเ่ี ล้ียงและนักวิจยั ชมุ ชน ไดม้ ีการใชก้ ลยุทธ์
ทงั้ 3 รูปแบบในการถมตรงทเ่ี ปน็ หลุม เชน่ การใช้กลยทุ ธ์เสริมเพมิ่ เตมิ
(addition) จากการท่ีพ่ีเล้ียงและนักวิจัยชุมชนอาจจะรู้จักการเปรียบ
เทียบความแตกตา่ งอยู่แลว้ แต่ยังไมร่ ้วู ่า “ความแตกต่างนนั้ ยงั ตอ่ ยอด
ออกไปถงึ ประเภทยอ่ ยคอื ความแตกตา่ งเชงิ ประเภท และความแตกตา่ ง
เชงิ ระดับได้อกี ดว้ ย จึงได้มกี ารเพิ่มเติมความรดู้ งั กล่าวออกไป

• ใน spec ของการเปรียบเทยี บนน้ั ต้องแปลงขอ้ มูลดิบให้
มาอยใู่ น “หน่วยประเภทเดียวกนั ” เสียกอ่ น จงึ จะเปรียบเทียบได้ ซึง่
มักจะเป็นปัญหาของนักวิจัยชุมชนท่ีไปเก็บข้อมูลดิบมาจากคนละหน่วย
เช่น ในอดีต การท�ำนาน้ันใช้แรงงานตนเองยังไม่มีการว่าจ้าง แต่
ปจั จบุ นั ตอ้ งมรี ายจา่ ยเรอื่ งการวา่ จา้ ง จงึ ไมร่ วู้ า่ เปรยี บเทยี บกนั ไดอ้ ยา่ งไร
ในการฝกึ อบรมนกั วจิ ยั ชมุ ชนเรอื่ งการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ (ม.ิ ย. 2562)
ได้มีการออกแบบเกมเพื่อตอกย�้ำความส�ำคัญของการมีหน่วยกลาง
สำ� หรับแปลงเพอื่ ใหเ้ ปรยี บเทียบขอ้ มลู ดิบใหไ้ ด้

(3.5) การถมความเข้าใจเรื่อง Procedure analysis
ความเขา้ ใจเร่ือง “กระบวนการ” ดูเหมอื นจะเป็นหลมุ โหว่ทม่ี ขี นาดใหญ่

228


ของศนู ย์ฯ ทั้งๆที่เปน็ จดุ ขายส�ำคัญของ CBR ท้ังนีเ้ ร่มิ มาตั้งแต่ตน้ ทาง
คือ “ความเขา้ ใจวา่ กระบวนการคอื อะไร” ยงั ไมค่ อ่ ยแจ่มแจ้งแทงตลอด

วทิ ยากรได้เลอื ก Subset บางชดุ ของ Procedure analy-
sis ทตี่ รงกบั ความตอ้ งการใชง้ านของศนู ยฯ์ คอื (i) การเขยี น flowchart
ซงึ่ เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของ Procedure และ (ii) การวเิ คราะหก์ ระบวนการ
แบบมสี ว่ นรว่ ม (PAR)

(i) การถมเรื่อง “กระบวนการใน flowchart” วิทยากร
ใชว้ ิธีการระบุ “spec/สว่ นประกอบย่อยทงั้ หมดทตี่ ้องมีของ “ความเป็น
กระบวนการ” ซึ่งหากขาดองคป์ ระกอบใดองค์ประกอบหนง่ึ ไมว่ า่ จะ
เป็นขอ้ ต่อ/ตวั เช่ือม (link/connect) การจัดวางตำ� แหน่งแหง่ ท่ี (posi-
tion) ฯลฯ ก็จะขาดคณุ สมบตั ิของ “ความเปน็ กระบวนการ”

ต่อจากน้ัน ก็ท�ำการทดสอบด้วยการน�ำตัวอย่างท่ีหลาก
หลายมาฝกึ หัด ท้งั ทใ่ี ชก่ ระบวนการ (ทีเ่ หน็ ได้อย่างชดั เจน) ท้ังท่ไี มใ่ ช่
กระบวนการ (ที่เห็นไดอ้ ย่างชดั เจน) ท้ังทด่ี เู หมอื นจะใช่ (แตไ่ มใ่ ช)่ ท้งั ที่
ดเู หมอื นจะไม่ใช่ (แตค่ วามจรงิ ใช่) ทง้ั นีเ้ พื่อให้แน่ใจว่า ได้ถมหลมุ ที่
โหวใ่ ห้เตม็ มากข้นึ รวมท้งั การนำ� ตัวอย่าง flowchart ทม่ี กี ารแตกก่งิ -
ก้าน-สาขาในระหว่างทางมาเพื่อขยายความเข้าใจของกลุ่มพี่เลี้ยงให้
กว้างขวางขนึ้

(ii) การถมเพ่ิมเรื่อง “การมีส่วนร่วม” เนื่องจากใน
ปัจจุบนั นี้ แนวคิดเรือ่ ง PAR กลายเปน็ แนวคิดท่แี พรห่ ลายอย่างมาก
ดงั นั้น หากพจิ ารณาอยา่ งผวิ เผินอาจจะคดิ ว่า งานวิจัยเพอ่ื ทอ้ งถ่ินนั้น
มไิ ดม้ เี อกลกั ษณพ์ เิ ศษในการใช้ PAR ทแี่ ตกตา่ งไปจากงานวจิ ยั ประเภท
อนื่ ๆ ดว้ ยเหตนุ ้ี วทิ ยากรจงึ สกดั เอาคณุ ลกั ษณะพิเศษของ PAR ที่มอี ยู่
ใน CBR ทอี่ าจจะแตกตา่ งจาก PAR ในงานวจิ ยั ทัว่ ๆไป และนำ� มาศกึ ษา
รว่ มกันในทีมวิจัย ดงั นี้

229


(3.6) การถมเพ่ิมเครอื่ งมือการวิเคราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่
ถงึ แม้ CBR จะใช้เครื่องมือการวเิ คราะห์บทบาทหน้าทอ่ี ยา่ งมาก โดย
เฉพาะประเดน็ “บทบาทหนา้ ทขี่ องพเี่ ลยี้ ง” (แตย่ งั พบขอ้ มลู การวเิ คราะห์
บทบาทหนา้ ที่ของทมี วิจยั ชุมชนไมม่ ากนัก) แต่ในภาคปฏิบัตกิ าร การ
วเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าที่นนั้ เป็นเสมอื นมอื ขา้ งซา้ ย แต่หากขาดมือข้าง
ขวา ก็จะตบไม่ดงั มือข้างขวานัน้ กค็ อื การสรา้ งเงอ่ื นไขปจั จยั ท่เี อือ้
อา� นวยตอ่ แสดงบทบาทหน้าที่ เชน่ ทรัพยากรเร่อื งเวลา งบประมาณ
สถานท่ี การฝึกอบรมพเิ ศษ ปริมาณงานที่รับผิดชอบ การมีบทบาทอื่นๆ
ทต่ี ้องเลน่ ฯลฯ ซึง่ ในการอบรมครงั้ นไี้ ดเ้ ติมเต็มเร่อื งมอื ขวาที่หายไป

(3.7) การเพม่ิ ขยายการใชเ้ คร่อื งมอื Causal analy-
sis โดยปกติทมี พีเ่ ลย้ี งและนักวจิ ัยชมุ ชนมกั จะใช้ causal analysis
เฉพาะในช่วงท่ี “วิเคราะหป์ ัญหา/พฒั นาโจทย”์ เท่านั้น แต่เม่ือถงึ ชว่ ง
การลงมอื ทา� กจิ กรรม (ซงึ่ มสี ถานะเปน็ “ปจั จยั สาเหตทุ กี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธ์
การเปล่ียนแปลง”) หรอื การสร้างข้อเสนอแนะ (เพื่อแกป้ ัญหาซึ่งก็

230


เปน็ ปจั จยั สาเหตเุ ชน่ กนั ) จะยงั ไมม่ กี ารเชอ่ื มโยงระหวา่ งสาเหต-ุ ผลลพั ธ์
ในข้ันตอนหลังๆน้ี การติดตั้งเครือ่ งมอื Causal Analysis ไดเ้ พ่ิมเตมิ
เรื่องช่วงเวลาการใชใ้ ห้มากข้ึน

(3.8) การต่อยอดจากการใช้ SWOT เน่อื งจาก SWOT
เป็นเครื่องมือการวิเคราะห์ที่ทีมพี่เลี้ยงและนักวิจัยชุมชนมีความคุ้นเคย
ทจี่ ะใช้ดงั ทป่ี รากฏในรายงานการวจิ ยั CBR ทุกช้ิน แต่ทย่ี ังเป็นชอ่ งโหว่
ขนาดใหญ่ก็คือ แม้จะมีการวิเคราะห์ไปแล้ว แต่ก็ไม่ได้น�ำผลการ
วเิ คราะห์ไปใชง้ านอะไรต่อไป แม้วา่ ในโครงการ ASCBR จะไมไ่ ด้เลือก
ศกึ ษาเครอื่ งมอื SWOT ในฐานะเครอื่ งมือตวั อย่าง แต่ทวา่ กไ็ ดน้ ำ� เอา
เครือ่ งมอื SWOT มาใช้ Mixed กบั เครือ่ งมืออื่นๆ เชน่ เคร่อื งมือวัดการ
เปลีย่ นแปลง โดยใช้ SWOT เปน็ กรอบหนึง่ สำ� หรบั วัดการเปลีย่ นแปลง
กอ่ น-หลงั เปน็ ตน้

เอกสารอา้ งองิ
1. กาญจนา แก้วเทพ (2560)
การวิจัย: จากจดุ เริม่ ตน้ จนถงึ จดุ สดุ ท้าย (พิมพ์คร้ังที่ 4),
สำ� นกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
2. Gibson, C.H. (1991)
A Concept Analysis of Empowerment2nd ed. : An
Aspen Publication.

231


232


Click to View FlipBook Version