(1) ค�าว่า “บทบาท” และ “หน้าที่” คอื อะไร
(1.1) กอ่ นอน่ื เรำคงเคลยี รค์ วำมเขำ้ ใจควำมหมำยของคำ�
2 ค�ำน้ีเสยี กอ่ น
(ก) บทบาท (Role) คอื ตำ� แหนง่ ของคนหรอื สรรพสง่ิ ตำ่ งๆ
แนวคิดน้ีมีท่ีมำจำกสำยกำรละครที่ในละครเร่ืองหน่ึงๆจะประกอบด้วย
ตวั ละครท่มี บี ทบำทตำ่ งๆ เชน่ เปน็ พระเอก นำงเอก ผูร้ ้ำย ผู้ชว่ ยเหลอื ผู้
ก�ำควำมลับ ฯลฯ หรือในสำ� นวนไทย เรำมกั จะยนิ ค�ำว่ำ “ลูก(เล่นบท)
เปน็ โซท่ องคล้องใจพอ่ แม”่
(ข) หน้าที่ (Function) เป็นสง่ิ ท่จี ะต้องทำ� หรือกิจกรรมท่ี
จะต้องด�ำเนินกำร ซง่ึ กำรทำ� หนำ้ ท่นี ั้นจะเช่ือมโยงกบั “บทบำททเ่ี ป็น”
เช่น ถ้ำได้รบั บทเปน็ นำงเอก กิจกรรมทจ่ี ะต้องทา� ก็คือ ตอ้ งกินน้�ำสม้
ต้องรกั เดก็ ต้องมีจิตใจเมตตำ และกิจกรรมท่จี ะตอ้ งไมท่ �า ก็คือ ต้อง
ไม่ยว่ั ยวนพระเอก ต้องไม่ฆ่ำคนตำย เป็นตน้ ในภำคปฏบิ ัติ ส่วนนี้
อำจจะเปน็ ส่วนทเ่ี รียกว่ำ “รำยละเอยี ดของภำระงำนทีต่ อ้ งทำ� ” - (Job
101
description)
จากความหมายของคา� ทัง้ 2 ค�า จงึ จะเหน็ ไดว้ ่า “บทบาท”
และ “หน้าท่ี” เปน็ 2 แนวคิดทีแ่ ยกขาดจากกันไมไ่ ด้ เพราะ “บทบาท”
จะเป็นตัวไปกา� หนด “หนา้ ท”่ี ว่าต้องท�าอะไรบ้าง เราจงึ มักใชค้ า� 2 ค�าน้ี
ควบคูก่ นั ไปหรือทดแทนกนั ได้
(1.2) การวัดบทบาทหน้าท่ี ใน 3 โมเมนต์ (Moment)
ในทางวชิ าการสามารถจะวัดบทบาทหนา้ ทไ่ี ดใ้ น 3 ช่วงเวลา ดงั น้ี
(i) เปา้ หมาย เปน็ การวัดบทบาททค่ี าดหวังวา่ จะท�า
(expected role) เชน่ การวดั จากการมีแผน มีนโยบาย มกี ฎระเบยี บ
มีคณะกรรมการ ฯลฯ เปน็ การวดั จากต้นทาง การวดั จากเป้าหมายน้ี
มักจะพดู ถึง “ประโยชน์” ท่จี ะเกิดจากการแสดงบทบาทน้นั
(ii) กจิ กรรมที่ท�าจริง (Real function) เปน็ การวัด
บทบาทตรงกลางน้�า คือวัดจากตัวกิจกรรม การลงมือกระท�าการ
การปฏบิ ัติการ ฯลฯ วา่ ได้ “ลงมือแสดงตามบท/ทา� หน้าท่อี ะไรจรงิ ๆ”
102
บ้างแล้ว ในงานวิจัยบางช้ิน อาจจะวัด “ช่องห่าง” (gap) ระหว่าง
บทบาททค่ี าดหวงั กบั บทบาททท่ี ำ� จรงิ เพอ่ื ดวู า่ มชี อ่ งหา่ งอยา่ งไร
(iii) ผลลัพธท์ ีเ่ กิดข้ึน เป็นการวัดทปี่ ลายนำ้� คือวดั ว่า
หลังจากท่ีได้ท�ำหน้าท่ีตามบทบาทท่ีได้รับมอบหมายมาแล้ว ได้เกิด
ผลลัพธ์อะไรขึ้นมาบ้าง
การแยกแยะท้ัง 3 Moments นี้มีความส�ำคัญในแงท่ ่วี ่า
“จะต้องไม่ปะปนกัน” เช่น การต้ังคณะกรรมการแล้ว ยังเป็นเพียง
Moment แรกเทา่ นน้ั โดยที่อาจจะ “สิ้นอายขุ ัย” ท่ี Moment แรก
โดยไมม่ ี Moment ที่ 2 และ 3 ตามมา
ในเรื่องการศึกษาวจิ ยั “บทบาทพีเ่ ลี้ยงของงานวิจัย CBR”
กเ็ ชน่ เดยี วกัน ผลการวิจยั ที่ออกมาอาจจะเปน็ การประมวล “บทบาทท่ี
คาดหวงั ” ใน Moment ที่ 1 แตท่ ว่า “บทบาททไ่ี ดด้ �ำเนนิ การจรงิ ” ใน
Moment ท่ี 2 นน้ั มอี ะไรบา้ ง เปน็ ไปตามบทบาททค่ี าดหวงั ไวม้ ากนอ้ ย
เพยี งใด และแมจ้ ะแสดงบทบาทใน Moment ที่ 2 แล้ว ได้เกดิ ผลลัพธ์
อยา่ งไรใน Moment ที่ 3 บ้าง
Tip : เวลาอ่านงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองบทบาทหน้าท่ี
ตอ้ งตรวจสอบดว้ ยวา่ เปน็ การเกบ็ ขอ้ มลู มาจาก Moment ไหน
(2) แนวคิดหนุนหลงั (Back-up concept)
เน่ืองจากเคร่ืองมือการวิเคราะห์บทบาทหน้าท่ีน้ีถูกผลิตออก
มาจากสำ� นกั วิชาการทถี่ อื ว่าเปน็ “ขาใหญ่” ทง้ั ในแวดวงวทิ ยาศาสตร์
ธรรมชาติและสงั คมศาสตร์ ดงั นั้นจงึ มแี นวคิดหนนุ หลังจากหลายสาขา
วชิ า ตวั อยา่ งทจ่ี ะยกมาดูในทีน่ ้ี จะยกมา 3 สาขาวชิ าดังนี้
103
(2.1) สายวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติ โดยส่วนใหญ่ แนวคดิ
เรื่องบทบาทหน้าที่จะมาจากสายชีววิทยาที่ศึกษาร่างกายของสิ่งมีชีวิต
ทัง้ หลาย เนอ้ื หาในแนวคิดหลักน้ีก็คือ ร่างกายคน (the whole) จะ
ประกอบด้วยอวยั วะต่างๆ (the part) หรอื ตัวอยา่ งของนาฬกิ า (the
whole) จะมสี ว่ นประกอบยอ่ ยๆ (the part) มาประกอบรวมกนั แตล่ ะ
สว่ นยอ่ ยจะถกู กำ� หนดบทบาท (role) และหนา้ ทใ่ี หป้ ฏบิ ตั ิ เชน่ ฟนั มี
บทบาทเปน็ “ผบู้ ดเคย้ี ว” กจิ กรรมทฟ่ี นั ตอ้ งปฏบิ ตั กิ ค็ อื ขบ เคย้ี ว บด ฉกี
อาหาร เป็นตน้
ในการวิเคราะห์นั้น จะมีค�ำถามหลักๆส�ำหรับน�ำทางการ
วเิ คราะห์ ดงั น้ีคือ
(i) ในสว่ นรวมทั้งหมด มีสว่ นยอ่ ยอะไรบ้าง (ลองคิดเทียบ
กบั ทมี ฟตุ บอล มผี ูเ้ ล่นในต�ำแหนง่ ไหนบา้ ง)
(ii) แต่ละส่วนย่อยมีการก�ำหนดบทบาทและหน้าที่อะไร
104
บ้าง (ใครถูกวางตัวให้ยืนต�ำแหนง่ ไหน)
(iii) สว่ นยอ่ ยท้ังหลายได้ปฏบิ ัติตามบทบาทและหนา้ ที่ไดด้ ี
หรอื ไม่ อยา่ งไร (ประตูทำ� หนา้ ทด่ี หี รือไม่)
(iv) การประสานงานกันระหวา่ งสว่ นย่อยๆนั้น (part-part
relationship) เป็นอย่างไร (การทำ� งานประสานกนั ระหว่างกองกลาง
กบั กองหนา้ เป็นอย่างไร)
(v) การประสานงานระหวา่ งสว่ นยอ่ ยๆกับส่วนรวมทง้ั หมด
เป็นอยา่ งไร (part-whole relationship) เป็นแนวคดิ ทีเ่ รามกั ไดย้ ิน
บอ่ ยๆในชีวติ ประจำ� วนั ว่า ถ้าคนในชาตแิ ตล่ ะคนทำ� ตวั ไม่สมกับบทบาท
หนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมายมา ประเทศชาตกิ จ็ ะเสยี หายไปดว้ ย หรอื ในกรณี
ของรา่ งกาย เพียงแค่หวั ใจไม่ท�ำงาน ร่างกายทงั้ หมดกจ็ ะตายไปดว้ ย
(2.2) สายสงั คมศาสตร์ มสี ำ� นักคดิ ใหญ่คอื ส�ำนักหน้าที่
นยิ ม (Functionalism) เปน็ แหลง่ นำ� เสนอวธิ กี ารวเิ คราะหบ์ ทบาทหนา้ ที่
สำ� นกั หนา้ ทนี่ ยิ มพฒั นาหลกั คดิ สำ� คญั ๆมาจากสาขาวทิ ยาศาสตรธ์ รรม-
ชาติน่นั เอง แตไ่ ด้เปลีย่ นส่ิงที่วเิ คราะห์จาก “ร่างกายของสง่ิ มีชวี ิต” มา
เป็น “สังคม กลมุ่ องค์กร” แทน
ดังนั้น เวลาวิเคราะห์ “ชมรมผ้สู ูงอาย”ุ (ซงึ่ เปรยี บเสมือน
ส่วนรวมทั้งหมด - The whole) จงึ มีคำ� ถามย่อยๆน�ำทางการวิเคราะห์
เชิงบทบาทหนา้ ท่ดี ังนี้
(i) ชมรมนมี้ ีสว่ นประกอบยอ่ ยๆ คอื จำ� นวนคนสักจำ� นวน
เท่าไหร่
(ii) ในชมรม มีบทบาท/ต�ำแหนง่ (สว่ นย่อย)อะไรบ้าง หรือ
มกี ารแบง่ บทบาทกนั อย่างไร เช่น ปฏิคม ประชาสมั พนั ธ์ ประธาน
เหรัญญิก ฯลฯ
(iii) ต�ำแหน่ง/บทบาทเหล่านี้ถูกมอบหมายให้ท�ำหน้าที่
อะไรบ้าง
105
(iv) บทบาทเหล่าน้ีมีการประสานงานกันอย่างไร ผ่าน
กลไกอะไร (part-part relationship)
(2.3) สายการละคร วชิ าการสาขาน้ีในโลกตะวนั ตกมีตน้
กำ� เนิดมาตงั้ แตย่ ุคกรกี ดงั ที่ได้กลา่ วมาแล้ววา่ ในละครแต่ละเรอ่ื ง จะ
ประกอบด้วยตวั ละครที่มบี ทบาทตา่ งๆกัน เช่น พระเอก นางเอก คนใช้
ผชู้ ่วยเหลอื ฯลฯ และในระหวา่ งการแสดง ตวั ละครแตล่ ะตวั จะตอ้ งมี
“การรับสง่ บทกัน” (part-part relationship)
ในการวิเคราะห์บทบาทหน้าท่ีของตัวละครน้ันจะมีได้หลาย
แบบ เชน่
(i) เลน่ ตามบท ก็เป็นการแสดงอากปั กิริยา คำ� พูด ท่าทาง
ตามบททีไ่ ด้รับมอบหมายมา
(ii) เล่นได้สมบทบาท ตบี ทแตก แปลว่าปฏิบัตติ ามหน้าท่ี
ได้อยา่ งดีเย่ยี ม
(iii) เล่นนอกบท/เล่นเกินบท แปลว่าท�ำหน้าท่ีนอกเหนือ
จากทีไ่ ด้รบั มอบหมายมา
(iv) เลน่ ผดิ บท แปลว่าไปท�ำหน้าทข่ี องตวั ละครตวั อน่ื
(v) ไมเ่ ล่นตามบท
ภาพจาก: brgfx / Freepik
106
(3) ความสำ� คญั ของการวิเคราะหบ์ ทบาท-หน้าท่ี
เน่ืองจากเรื่องการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่น้ันเป็นความรู้ที่ใช้
กันอยา่ งแพร่หลายทัง้ ในแวดวงวชิ าการ และในการทำ� งานของศูนย์ฯเอง
ดังน้ัน ในการฝึกอบรมของโครงการ ASCBR ครั้งน้ี จงึ ได้มกี ารประมวล
ชุดความรู้เร่ือง “ความส�ำคัญหรือประโยชน์ของการวิเคราะห์บทบาท-
หนา้ ท”่ี ทงั้ จากภาควชิ าการ และจากคนทำ� งานทีเ่ ปน็ ทง้ั กลมุ่ พเ่ี ล้ียง
ศนู ยฯ์ และนักวิจัยชุมชน
(3.1) ความสำ� คญั ของการวิเคราะหบ์ ทบาท-หนา้ ท่จี าก
หลักวิชาการ ในทางวิชาการมีหลักการส�ำคัญเก่ียวกับเร่ืองบทบาท
หน้าท่ีดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ ข้างตน้ ดังนนั้ ความสำ� คญั การวเิ คราะห์บทบาท
หน้าที่ก็คือการตรวจสอบ/ติดตามการท�ำหน้าที่ของส่วนย่อยต่างๆตาม
สภาพการณท์ ี่เกิดข้นึ จรงิ
(ก) ถา้ ส่วนย่อยๆไม่ทำ� หน้าท่ีของตัวเอง ก็จะไมเ่ พียงสร้าง
ความเสยี หายใหเ้ กดิ แตเ่ ฉพาะกบั สว่ นยอ่ ยเทา่ นน้ั แตส่ ว่ นรวมทง้ั หมดก็
จะเสยี หายไปดว้ ย เช่น เวลาเบรคแตก/ไม่ทำ� งานตามท่ีได้รับมอบหมาย
ถา้ เป็นชว่ งระหวา่ งขบั รถลงเขา ผลลัพธ์ก็คือ รถทั้งคันจะพงั หมด
(ข) ในบางกรณีทีย่ ่งิ รุนแรงไปกวา่ การไมท่ ำ� หน้าท่ี เช่น
เบรคไม่ทำ� งาน แต่เป็นการทำ� หน้าทีผ่ ดิ ไปจากที่ไดร้ บั มอบหมาย เชน่
กรณที เ่ี ม็ดเลอื ดขาวไม่ท�ำหน้าทีท่ �ำลายเช้อื โรค แต่กลับมาทำ� ลายเมด็
เลือดแดงที่ท�ำใหเ้ กิดโรค LSE
(ค) ในกรณขี องทางสังคม มกี ารเลน่ บทแบบผดิ บทไปแบบ
360 องศาเลย เชน่ การทก่ี รงุ ศรแี ตกพา่ ยนน้ั มไิ ดเ้ ปน็ เพราะขา้ ศกึ แต่
เป็นเพราะไส้ศึกซึ่งเป็นคนไทยดว้ ยกันเอง ท่ีเรียกวา่ “เกลอื เป็นหนอน”
(ปกตเิ กลือมีบทบาทหนา้ ท่ีป้องกนั การมหี นอนขึ้น)
(ง) ส�ำหรบั การวเิ คราะห์ “โครงสร้างโดยรวมของบทบาท
หน้าที่” คอื การตอบคำ� ถามวา่ ในร่างกายหน่ึงๆ (ส่วนรวมทัง้ หมด) ต้อง
107
มีอวยั วะ (สว่ นย่อย) เพอื่ มาทา� บทบาทหนา้ ท่ีอะไรบ้าง ตัวอยา่ งเช่น ใน
ชมรมผสู้ ูงอายทุ กี่ า� ลงั วจิ ัย มีบทบาทต�าแหนง่ อะไรบ้างแลว้ หากจ�าเป็น
ตอ้ งมบี ทบาทตา� แหนง่ ทส่ี า� คญั แตย่ งั ไมม่ กี ารแตง่ ตงั้ กต็ อ้ งเพมิ่ ตา� แหนง่
นั้นข้ึนมา หรือมีต�าแหน่ง/บทบาทอยู่แล้ว แต่ไม่ท�างาน (ไปสะดุดท่ี
Moment 2) กต็ อ้ งคน้ หาวา่ เพราะเหตใุ ดจงึ ไมท่ า� งาน ตอ้ งปรบั เปลย่ี น
หรอื เพมิ่ เตมิ อะไร เพอื่ ใหส้ ว่ นรวมทงั้ หมด (ทงั้ ชมรมฯ) สามารถขบั เคลอื่ น
ต่อไปได้
(3.2) ความสา� คญั ของการวเิ คราะห-์ สงั เคราะหบ์ ทบาท-
หนา้ ทจ่ี ากทศั นะของคนทา� งาน วทิ ยากรไดใ้ ชว้ ธิ กี ารระดมสมองจาก
กลมุ่ พเี่ ลยี้ งศนู ยฯ์ และนกั วจิ ยั ชมุ ชนในหวั ขอ้ “ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์
บทบาท-หน้าท”ี่ และไดข้ อ้ มลู ดงั น้ี
108
(i) ทำ� ใหเ้ หน็ บทบาท/หน้าท่ีทช่ี ดั เจน (จากโครงข่ายรวมของ
บทบาทหนา้ ทที่ ั้งหมด) ร้วู า่ มบี ทอะไรขาดไป บทอะไรมากเกิน มใี คร
เลน่ ผิดบท ฯลฯ เชน่ ประธานกองทนุ ฯเล่นผดิ บททำ� ใหก้ ารทำ� งานไม่
เตม็ ประสิทธิภาพ เป็นตน้
(ii) ทำ� ใหเ้ ห็นบทเรียนวา่ “หลังจากวเิ คราะหบ์ ทบาท-หนา้ ที่
แล้ว” แตก่ ย็ ังไมไ่ ดน้ ำ� มาใช้ประโยชนอ์ ะไร เชน่ หลังจากวิเคราะห์
บทบาทหนา้ ที่ของ “พเ่ี ล้ยี งต้นฉบบั ” (พี่เลยี้ งของสกว.) กบั “พ่เี ล้ยี ง
ตวั คูณ” (พี่เล้ียงที่อย่ใู นพ้ืนท่/ี องค์กร) ไปแล้ว แตก่ ็ยังไม่ได้นำ� มาใช้
ประโยชน์ว่า พเี่ ลย้ี งแตล่ ะประเภทจะแบง่ กันเลน่ บทบาท/แสดงหน้าท่ี
อยา่ งไร หรอื จะมกี ารประสานเช่อื มโยงระหวา่ งพ่ีเลย้ี งทง้ั 2 ประเภท
อยา่ งไร (part-part relationship) เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพของ “ระบบ
พเ่ี ลี้ยงทงั้ ระบบ” (the whole)
(iii) ต้องมีการระบุ “หน้าท”ี่ ของแต่ละบทบาทใหช้ ัดเจน
เช่น บทบาทของสกว. สว่ นกลางกบั บทบาทของศูนย์ประสานงานฯ เพื่อ
ป้องกนั โรค “บทบาทซ้�ำซ้อนกนั ” หรือในทางตรงกนั ข้าม “มีรูโหวใ่ น
บทบาทใด” (เช่น ไมม่ ีตวั คนเลน่ บท)
(iv) ผลจากการวิเคราะหบ์ ทบาท/หนา้ ที่ท่ีมีอยู่ จะสามารถ
สร้าง “บทบาทใหม่ หน้าท่ีใหม่” ให้เป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมกับ
สถานการณ์ทเ่ี ปลย่ี นไป
(v) เพอ่ื การพฒั นาศกั ยภาพของชาวบ้านในการทำ� หนา้ ที่
ตามบทบาททรี่ บั ผิดชอบ (เชน่ บทบาทต่างๆของทมี วจิ ัยชุมชน) โดย
อาจจะประยุกต์เอาแนวคดิ 3 Moments ของการวดั บทบาทหนา้ ทีม่ า
เป็น “หวั ขอ้ ย่อยทก่ี �ำหนดเอาไว”้ (focused topic) ในชว่ งเวลาของ
การท�ำการสรุปบทเรยี น ถอดบทเรยี น (AAR) โดยตระหนกั ว่า การมา
เล่นบทต่างๆในการท�ำงานวจิ ัย CBR นั้น ถอื ไดว้ า่ “เปน็ ละครเรื่องใหม่/
แนวใหม่” (จากเดิมท่ีเคยเล่นละครแนวพีเรียดเปล่ียนมาเป็นแนวบู๊
109
แอคชั่น) ท่ีตอ้ งเรยี นรเู้ รื่องบทบาทใหม/่ หน้าที่ใหม่
(vi) แง่มุมหนง่ึ ท่ีสำ� คญั ของการวิเคราะหบ์ ทบาทหน้าท่คี อื
การวเิ คราะห์ “การรับส่งบทกนั ” หรือทีเ่ ข้าใจกนั โดยทวั่ ไปวา่ คือการ
ประสานงานระหวา่ งสว่ นยอ่ ย ทมี่ กั จะเปน็ จดุ ออ่ นของระบบการทำ� งาน
ในสังคมไทย
(vii) เปน็ การเสริมพลงั (empowerment) ของคนท�ำงาน
ให้มีความเข้าใจในบทบาทหนา้ ท่ขี องตัวเอง รวมทงั้ มีความตระหนกั ใน
ความส�ำคัญของบทบาทของส่วนย่อยๆทุกส่วน เนื่องจาก “หัวใจของ
ทฤษฎีหนา้ ทีน่ ิยม” น้นั คือการใหค้ วามสำ� คญั กบั สว่ นประกอบยอ่ ยทุก
ส่วนวา่ “มคี ณุ ค่าและความสำ� คัญเสมอหน้ากนั ” แมจ้ ะเป็นเพยี งเฟือง
ตัวเลก็ ๆในเครื่องจกั ร แต่ถา้ ขาดหายหรอื ไม่ท�ำหนา้ ท่ี ก็ท�ำใหเ้ ครือ่ งจักร
ท้งั เคร่ืองทำ� งานไม่ได้
(4) อะไรจะทำ� หนา้ ทไ่ี ดบ้ า้ ง เนอ่ื งจากเวลาพดู ถงึ เรอ่ื งบทบาท
หนา้ ท่ี โดยเฉพาะเวลาเปรยี บเทียบกบั การเลน่ ละคร หรือในศูนย์ฯ กม็ กั
จะพดู ถึงบทบาทของพเี่ ล้ียงซึ่งเป็นตวั คนเป็นๆ ทำ� ให้เกิดการสรุปเหมา
รวมวา่ “ส่งิ ทีจ่ ะทำ� หน้าท่ีได้นัน้ ต้องเป็นตัวคนเท่านนั้ ” ซง่ึ เป็นความ
เขา้ ใจทย่ี งั ไมส่ มบรู ณ์ ดงั นน้ั ในการฝกึ อบรมครง้ั นจ้ี งึ ไดม้ ี “คำ� ถามหลมุ
พราง” ถามผเู้ ขา้ อบรมวา่ “มอี ะไรบา้ งทจ่ี ะมบี ทบาท/หนา้ ทไ่ี ดบ้ า้ ง”
และไดค้ �ำตอบมาดังนี้
110
สิง่ ที่จะทา� หน้าท่ไี ด้ ก็คือ
(i) คน
(ii) สงิ่ ของ ชนิ้ ส่วน เคร่อื งมืออปุ กรณ์ต่างๆ เชน่ เครอ่ื งคดิ เลข
(iii) สิ่งแวดลอ้ มตามธรรมชาติ เชน่ แมน่ �้าท�าหน้าทหี่ ล่อเลย้ี ง
ชวี ิต พชื ทา� หนา้ ทีเ่ ปน็ แหลง่ ผลติ อาหาร
(iv) สถาบนั ทางสงั คม เชน่ ศาสนาท�าหนา้ ที่มากมายหลาย
อยา่ ง ครอบครัวทา� หนา้ ท่ีเล้ียงดูสมาชิกใหมข่ องสังคม เป็นต้น
(v) ความเชอื่ /สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ ทา� หนา้ ที่ปลอบขวญั ให้กา� ลังใจ
(vi) เอกสารสญั ญา/กฎระเบยี บ/กตกิ า
(vii) ปรากฏการณท์ างสงั คม เช่น กรณีพ่ีตูน บอด้สี แลม “วงิ่
คนละกา้ ว” กรณีช่วยชีวิต “หมปู ่าถ้า� นางนอน”
เป็นต้น
111
หลงั จากใช้คำ� ถามหลมุ พรางมาสักระยะหนึ่ง ผู้เข้าร่วมประชมุ ก็
เรมิ่ ตกผลกึ ทางความคิดว่า “อนั ท่ีจริงสรรพสง่ิ ทกุ อยา่ งในโลกสามารถ
จะมบี ทบาท/หนา้ ทไี่ ดท้ งั้ นนั้ บนเงอื่ นไขทวี่ า่ ไดม้ กี ารมอบหมายบทบาท
และหน้าทใ่ี ห”้ (Role & function assignment) ตวั อยา่ งใกล้ๆตัว
ก็เช่น ดีเจวิทยุ เช่น พ่ีฉอดและพ่ีอ้อย แต่เดิมก็มีบทบาทเป็นเพียง
“คนเปิดเพลงทางวิทยุ” แต่ต่อมาก็ได้ขยายบทบาทมาเป็น “คนคอย
ใหก้ �ำลังใจคนที่อกหักรักคดุ ” และปจั จบุ ันได้ยกระดับมาเปน็ “ผู้ใหค้ ำ�
แนะน�ำปญั หาเร่อื งความรัก” (ทีเ่ ดก็ วยั รนุ่ อาจจะเช่ือฟังมากกวา่ พ่อแม่
และครูเสียอกี ) ในรายการ Club Friday จึงเหน็ ไดว้ ่า เร่อื งบทบาท
หนา้ ท่เี ป็นเร่อื งไม่หยุดน่ิงตายตวั แตอ่ าจเพิ่มใหม่ อาจหายไป อาจฟื้นฟู
ได้ใหม่ และเป็นเร่อื งไม่เขา้ ใครออกใคร (แปลว่าอะไรๆก็สามารถจะทำ�
บทบาทหน้าทีใ่ หมๆ่ ทไี่ ม่เคยคาดคดิ หรอื เคยมีมาก่อนได้ ถ้าหาก “มี
รายการมอบหมายกันขน้ึ มา”)
(5) วธิ กี ารวดั บทบาท-หนา้ ที่ เราอาจจะแบง่ วธิ กี ารวดั บทบาท-
หน้าท่อี อกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่
(5.1) วดั ตามเกณฑค์ วามซบั ซอ้ นของบทบาท-หนา้ ที่ ซงึ่
กจ็ ะแบง่ เป็น 2 ประเภทยอ่ ย
(ก) มอี ยู่หนา้ ทเี่ ดยี ว (Single function) เช่น พอ่ แม่
มีหน้าท่ีเลี้ยงดลู กู อย่างเดียว เรากว็ ัดวา่ บทบาทนีย้ งั อย่หู รอื ไม่ ทำ� ได้
มากน้อยเพียงใด หรือหากสูญหายไปเป็นเพราะปัจจัยอะไร จะฟื้นฟู
ได้ไหม เปน็ ต้น
(ข) การมหี นา้ ทท่ี ห่ี ลากหลาย (Multi-function) ซง่ึ หาก
มบี างหนา้ ทท่ี ข่ี าดหายไป แตก่ ย็ งั อาจยงั คงเหลอื หนา้ ทอ่ี น่ื ๆอยู่ ตวั อยา่ ง
เชน่ ในงานวจิ ยั เรอื่ งบทบาทของวดั ในอดตี พบวา่ มถี งึ 12 ฟงั กช์ นั่ ดงั นนั้
แมใ้ นปจั จบุ นั บทบาทดา้ นเปน็ ผใู้ หก้ ารศกึ ษาจะถกู โรงเรยี นรบั ไปทำ� แทน
112
บทบาทการเป็นผู้รักษาพยาบาลจะถูกโรงพยาบาลรับไปท�าแทน แตว่ ดั
กย็ งั คงเหลอื “บทบาทหน้าท่ขี องผปู้ ระกอบพธิ ีกรรม” อยู่
(5.2) วดั ตามเกณฑท์ ฤษฎี/เกณฑว์ ชิ าการ จะมีวธิ ีการ
แบ่งประเภทการวัดออกเป็น 3 แบบยอ่ ยๆ ดังน้ี
(5.2)
(5.2.1) วดั ตามประสทิ ธิผล (Effectiveness) วา่ การ
ทา� หน้าท่ีน้ันเป็นไปตามเปา้ ทตี่ ง้ั ไว้หรอื เปลา่ ผลท่ีออกมาจากการวดั ก็
จะมดี งั น้ี
(ก) ท�าหน้าท่ีได้อย่างดีตามที่ถูกมอบหมาย (Well-
function)
(ข) ไม่ท�าหน้าท่ีตามท่ีถูกมอบหมาย (Non-function)
(ค) ทา� ผดิ หน้าท่ี (Mal-function) ภาษาไทยใช้ค�าวา่
“ใช้หนง่ึ เป็นสอง” หรือแทนที่จะเป็น “ผแู้ กไ้ ขปญั หา” กลบั ไปเล่นบท
“เพม่ิ ปญั หาใหห้ นักขึน้ ”
113
(ง) การทำ� หน้าท่ที ดแทน (equivalence) ตวั อย่างเชน่
ปัญหาการจราจรในกรุงเทพ ควรจะแก้ไขด้วยการบริหารจัดการถนน
สญั ญาณไฟ วินัยในการขับขี่ ฯลฯ แต่กลบั ปรากฏว่าในกรุงเทพได้มี
“สถานวี ิทยเุ ชน่ จส.100” ทีเ่ ข้ามาทำ� หนา้ ทท่ี ดแทนเป็นกลไกหนึง่ ใน
การบรรเทาปัญหา (เชน่ รถยังไม่เคล่ือนตัวเลย ก็ฟงั เพลงไปกอ่ น เรา
เพงิ่ ติดแค่ 2 ชั่วโมง มคี นรายงานมาว่าเขาตดิ มาแล้ว 3 ชัว่ โมง กร็ ู้สึกวา่
เรายงั ดกี ว่า ตดิ น้อยกวา่ เขา)
(5.2.2) การวดั พลวตั รของการทำ� หนา้ ที่ โดยใชต้ วั แปร
เร่ือง “กาลเวลา” - อดตี -ปจั จุบัน-อนาคต เขา้ มาพจิ ารณาการทำ� หน้าท่ี
กจ็ ะแบ่งไดเ้ ปน็
(ก) บทบาทท่ีเหมือนเดิม เช่น ไปรษณยี ท์ ำ� หน้าทส่ี ง่
จดหมาย วัดทำ� หนา้ ทเ่ี ผาศพ ต้งั แตอ่ ดตี มาจนถงึ ปจั จุบัน
(ข) บทบาททห่ี ายไป เชน่ โทรเลขหายไปแลว้ โดยมอี เี มล์
เขา้ มาแทนที่
(ค) บทบาททเ่ี พิม่ ใหม่ เช่น ปจั จบุ ัน ไปรษณียท์ ำ� หน้าที่
ส่งพัสดุภัณฑ์ทุกประเภทเป็นหลัก หรือวัดได้เพิ่มบทบาทของการเป็น
สถานที่จัดงานเลีย้ ง/งานแตง่ งาน/เปน็ ที่พกั ให้นักทอ่ งเทย่ี ว
(ง) บทบาททีค่ ลคี่ ลาย เช่น ในอดีต ชาวบ้านก็เคยมีการ
ใช้วัดเป็นสถานท่ีจัดประชุมจัดกิจกรรมต่างๆของวัดอยู่แล้ว ปัจจุบัน
บทบาทนก้ี ไ็ ดค้ ลค่ี ลายขยายตวั ออกมาเปน็ เวทกี ารประชมุ ของประชาคม
การประชุมของอบต. และอนื่ ๆ
(5.2.3) การวดั ตามลกั ษณะการแสดงออก แบง่ ไดเ้ ปน็
2 ประเภทยอ่ ย เชน่
(ก) หนา้ ท่เี ปิดเผย เช่น เม่อื มีการขยายช่องทวี ดี ิจทิ ลั
หน้าทีเ่ ปิดเผยกค็ อื เพม่ิ ชอ่ งทางการเลอื กดูให้ผชู้ มมากขึน้
(ข) หน้าท่ีแฝงเร้น แตใ่ นการเพมิ่ ช่องทางทีวีดจิ ิทัลน้นั
114
หน้าที่แฝงนั้นก็คือเพิ่มช่องทางโฆษณาแบบขายตรงให้มากขึ้นมากกว่า
เปน็ ต้น
(6) วธิ ีการใช้เครอื่ งมือวเิ คราะหบ์ ทบาท-หน้าท่ี อาจจะแบง่
วิธกี ารใช้เปน็ 2 แบบคือ
(6.1) วิธีการใช้แบบเด่ียวๆ (Stand-alone) คือการ
วเิ คราะหเ์ ร่อื งบทบาท-หน้าทเี่ พียงอยา่ งเดยี ว
(6.2) วิธีการใช้แบบผสมผสาน (Mixed) กับเคร่ืองมือ
ประเภทอ่ืนๆ เช่นใช้การวิเคราะห์บทบาทหน้าท่ี X การให้น้�าหนัก
(Weight analysis) X Timeline ตวั อยา่ งเชน่ การเปรยี บเทยี บบทบาท
ของคณะกรรมการกองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนในแตล่ ะชว่ งปวี า่ ทา� อะไรไดด้ ี
ท�าอะไรพอใช้ได้ และไมไ่ ด้ท�าอะไร ตามตารางข้างล่างน้ี
ส�าหรับเร่ืองวิธีการใช้เครื่องมือการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่นี้
115
มีขอ้ สังเกตบางประการจากทีมวิจยั ดงั น้ี
(i) การวเิ คราะห์บทบาท-หน้าท่ีในกรณขี องกลมุ่ คน ไม่ควร
จะจบลงตรงแค่เปา้ หมายทร่ี ูว้ า่ ในกลมุ่ ชมรม องค์กร ชุมชน จะต้องมี
บทบาทหน้าท่ีอะไร (ซ่ึงเป็นแค่ Moment ท่ี 1 เท่านั้น) แต่ควรจะ
วเิ คราะหล์ งไปถงึ “การแบง่ บทบาทหนา้ ทใ่ี หก้ บั บคุ คลแตล่ ะคน (ขยบั ไป
สู่ Moment ท่ี 2) และควรเน้นการประสานงาน/รับสง่ บทซ่งึ กนั และกัน
(ii) จากประสบการณ์ของชาวบ้าน แม้จะมีการมอบหมาย
บทบาทหนา้ ที่ให้แต่ละบคุ คลไปแล้ว แตเ่ นอ่ื งจากในสภาพชีวิตจรงิ ของ
ชาวบา้ น บางคร้ังผูท้ ่ีไดร้ ับมอบหมายไปอาจจะไม่สามารถปฏิบตั ิหน้าท่ี
ได้ ดงั นั้นจงึ เกิด “กระบวนการสลบั บทบาทกันบ้างเปน็ ครัง้ คราว” หรอื
“มีการชว่ ยเลน่ บทแทน” ซ่งึ กต็ ้องถอื วา่ เปน็ “การยืดหย่นุ ของชาวบ้าน”
(iii) ในขณะท่ีในช่วง Moment 1 ได้มกี ารแบ่งบทบาท-
หนา้ ที่ใหก้ รรมการแตล่ ะคน แต่เม่อื ถงึ Moment2 (ช่วงดำ� เนินการ) ก็
มเี พียงกรรมการ 2-3 ท่านท่รี บั ผดิ ชอบหนา้ ท่ีแทนคนอ่นื ๆ (โดยอาศยั
ความคิดเร่อื งชว่ ยๆกันในหวั ข้อ ii) แตห่ ากรูปแบบการแสดงบทบาท
หน้าท่ีเปน็ ดังนีไ้ ปตลอด กจ็ ะท�ำให้ “เกิดภาวะไมส่ มดลุ ในกล่มุ ” คล้าย
รถทีม่ ี 4 ลอ้ แตเ่ วลาวิ่งจริง วิ่งเพยี งลอ้ เดียว การวิเคราะห์บทบาท-
หน้าทจ่ี ึงควรก้าวมาถึงการแกป้ ัญหาดังกลา่ วน้ดี ว้ ย
(iv) สำ� หรบั ในแต่ละบุคคล บางคนอาจจะมบี ทบาทใหเ้ ลน่
หลายบท (สวมหมวกหลายใบ) ดังนนั้ ทกั ษะความสามารถท่จี ำ� เปน็
ต้องมคี ือ การจัดลำ� ดับความส�ำคัญของแตล่ ะบทบาทในแต่ละชว่ ง
เวลา
(7) เงอื่ นไขของการสวมบทบาทและทำ� หนา้ ที่ หากเราเปรยี บ
เทยี บการสวมบทบาทและทำ� หนา้ ทว่ี า่ เปน็ มอื ซา้ ย กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งมมี อื ขวา
คอื การมเี งือ่ นไขทเี่ ออ้ื อ�ำนวยตอ่ การสวมบทบาทน้นั ตอ้ งตบมือทัง้
116
ขวาและซ้ายจึงจะเกดิ เสยี งดงั ได้
ตวั อยา่ งเชน่ หากผกู้ ำ� กบั เปลยี่ นบทบาทนางเอกทเี่ คยสวยหวาน
มาสวมบทบาทใหมเ่ ปน็ สวย เผด็ ดุ กต็ อ้ งสร้างเงือ่ นไขให้ เชน่ ตอ้ งมี
การไปเรียนและฝึกซอ้ มควิ บู๊ (ต้อง retrain)
บรรดาเง่ือนไขท่ีเอ้ืออ�ำนวยให้สวมบทบาทและท�ำหน้าท่ีได้
ตามทม่ี อบหมายก็คือ การจัดหาทรพั ยากรตา่ งๆ ทง้ั สถานท่ี เวลา งบ
ประมาณ การฝกึ อบรม อุปกรณ์เครื่องมือ เปน็ ต้น มาสนับสนุนใหแ้ สดง
บทบาทหนา้ ท่ไี ด้
เครือ่ งมอื A/Sช้นิ ท่ี12 : การวิเคราะหค์ วามเปลี่ยนแปลง
การวิเคราะหค์ วามเปลย่ี นแปลง (Change analysis) เป็น
เคร่อื งมอื ท่เี ป็น “ไฟลท์บงั คบั ” ของงานวจิ ยั CBR เลยทีเดยี ว เพราะเป็น
ท้ังคาถา เปน็ ท้งั จุดขาย เป็นท้ังเอกลักษณ์ และยงั อีกหลายๆ “เป็น”
ของ CBR โดยเฉพาะอย่างยิง่ “การวัดความเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั
คนท�ำวิจัย” ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุดของงานวิจัย CBR (ท่ีอาจจะหา
ไมพ่ บในงานวิจยั ประเภทอ่นื ๆ)
จากตน้ ทนุ ท่ีอุดมสมบูรณข์ องศนู ยฯ์ และนกั วิจัยชมุ ชนในเรือ่ ง
การวเิ คราะหค์ วามเปลีย่ นแปลง ในการฝึกอบรมของโครงการ ASCBR
จึงได้ต่อเติมเพ่ิมความซับซ้อนซ่อนเง่ือนในเร่ืองของการวิเคราะห์ความ
เปล่ียนแปลง โดยต่อยอดจากตน้ ทนุ ทศี่ นู ย์ฯมอี ยู่ เชน่ อย่างนอ้ ยกใ็ ห้
พิจารณาความซับซ้อนของเรื่องการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงเป็น
2 ระดับชัน้
ระดับชน้ั แรก การวิเคราะหค์ วามเปล่ยี นแปลงจะมีสถานะเปน็
เครอ่ื งมอื จดั การกบั ขอ้ มลู ดบิ ทเ่ี กบ็ มา (tool for data management)
117
ระดับชนั้ ทสี่ อง การวิเคราะห์ความเปลีย่ นแปลงจะมสี ถานะเปน็
เครอื่ งมอื จดั การกบั วธิ คี ดิ ทมี่ อี ยู่ (tool for mindset management)
เน้ือหาท่ีทีมวิจัยศึกษาร่วมกันเก่ียวกับเคร่ืองมือการวิเคราะห์
ความเปลย่ี นแปลงมปี ระมาณน้ี
(1) การเปลยี่ นแปลงมคี วามสำ� คญั อย่างไร จากข้อตกลง
เบอ้ื งตน้ ทไ่ี ดก้ ลา่ วไปแลว้ วา่ เราจะมอง “การวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลง”
ใน 2 สถานะคือ เครอ่ื งมอื จดั การกบั ข้อมลู และเครื่องมือจัดการกับ
วิธีคดิ ดงั น้ัน ความส�ำคัญของเคร่ืองมอื นีจ้ ึงมอี ยู่ใน 2 ระดบั เช่นกนั คือ
(1.1) ในการวัดความเปล่ียนแปลงน้ัน ก็คือเคร่ืองมือ
ประเภทหน่ึงที่เราจะใช้ตดิ ตามผลทเ่ี กิดขน้ึ วา่ กจิ กรรมตา่ งๆทไี่ ดล้ งมือ
ทำ� ไปแลว้ นนั้ ไดท้ ำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงอะไรขนึ้ มาบา้ ง เชน่ สามารถ
บรรเทา/คลคี่ ลายปญั หาไปได้บ้างหรอื ไม่ โดยดูเทยี บขอ้ มูลก่อนและ
หลงั จากทำ� กิจกรรมแล้ว ความสำ� คญั ของการวดั ความเปลีย่ นแปลงใน
แง่นีเ้ ป็นที่รับรู้กันโดยทวั่ ไป เชน่ คำ� ถามที่วา่ “ทำ� ไปแล้ว มันมีอะไรดขี นึ้
118
มาบ้างหรือเปล่า” “เราได้เกาแล้ว อาการคันหายไปหรือเปลา่ ” เปน็ ต้น
(1.2) ความส�ำคญั ในระดับที่สองเปน็ ความส�ำคญั ท่ีเจาะลกึ
ลงไปถงึ “ระดบั วธิ คี ดิ ” (Mindset) ตวั อยา่ งเชน่ ชมุ ชนแพรกหนามแดง
จ.สมุทรสงคราม ท่ชี าวบ้านจากเขตนำ้� เค็มและเขตน้�ำจดื เคยมีปญั หา
ความขดั แย้งเร่อื งการบรหิ ารจัดการน้ำ� (เปดิ ประตนู ้ำ� ) มานานนับเป็น
เวลา 20 กวา่ ปี และแมว้ า่ ในระหว่างนน้ั จะมีความพยายามมากมายท่ี
จะแก้ไขความขัดแย้งน้ี แต่กล็ ้มเหลวมาตลอด ประสบการณด์ ังกลา่ ว
สั่งสมมาจนทำ� ใหเ้ กดิ การตกตะกอนทางความคิดวา่ “ปัญหานีไ้ มม่ ที าง
แกไ้ ขได้หรอก” เป็น “ปัญหาเจด็ ช่วั โคตร”
หากเปรียบเทียบปรากฏการณ์ดังกล่าวกับทฤษฎีภูเขา
น�้ำแขง็ (Iceberg phenomenon) หรือการซมึ ลึกลงไปของเชือ้ โรค
เขา้ สผู่ ิวหนัง โดยในชน้ั แรก การตดิ เช้อื จะอยรู่ ะดบั ผิวหนงั (เหตกุ ารณ/์
ปรากฏการณ์) ระดับนี้ แก้ปญั หาดว้ ยการทายากห็ าย ช้ันท่ี 2 เช้อื เร่มิ
ลงสใู่ ต้ผิวหนงั (เปน็ Pattern) ชนั้ ที่ 3 เชือ้ โรคเข้าสู่โครงกระดูก (เปน็
ระดบั โครงสรา้ งสงั คม) วธิ กี ารแก้ไขก็ต้องผ่าตดั กระดูก และช้นั ที่ 4 เปน็
ข้นั ติดเชอ้ื ในสมอง (Mindset) ซึง่ จะแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงได้ยากทสี่ ุด
ดังนนั้ ประสิทธภิ าพสงู สุดของเครอ่ื งมือการวเิ คราะหค์ วาม
เปลย่ี นแปลงก็คอื การปรบั เปล่ยี นหรอื ข้ามไปใหพ้ น้ วธิ คี ิดทว่ี ่า “ปัญหา
นีไ้ มม่ ที างแกไ้ ขได”้ ใหก้ ลายเปน็ “ปญั หานยี้ งั มีทางพอแกไ้ ขได”้ ซ่ึง
เป็นการแก้ไขปญั หาระดบั ผ่าตัดเอาเชื้อในสมองออกเลย
(1.3) ตอ่ เนอื่ งจากขอ้ (1.2) เม่ือมีการใชเ้ ครอื่ งมอื การ
วิเคราะหค์ วามเปล่ียนแปลงรว่ มกับเครือ่ งมือเส้นแหง่ กาลเวลา (Time-
line) ผลลพั ธท์ ีเ่ กิดขึน้ จึงมิใชม่ เี พียง “ไดข้ อ้ มูลอดตี -ปจั จุบัน-อนาคต”
เทา่ นน้ั ซงึ่ เปน็ เพยี งผลลพั ธแ์ บบนำ�้ ผวิ ดนิ แตท่ วา่ ยงั มผี ลลพั ธแ์ บบนำ้�
ใต้ดินคือการเปลี่ยนแปลงวิธีคิด/ทัศนะต่อเหตุการณ์/ปรากฏการณ์/
ส่ิงของ/ผู้คนอีกดว้ ย ตวั อย่างเช่น การท�ำ Timeline เรือ่ ง “การงดเหลา้
119
ในงานศพทบ่ี า้ นดง จ.ลำ� ปาง” ชาวบา้ นสะสมความคิดวา่ “ในงานศพ
จะเลิกเอาเหล้ามาเลีย้ งแขกไม่ไดห้ รอก เปน็ ไปไม่ได้ แล้วใครจะมาช่วย
งาน...” แตเ่ ม่อื ทำ� Timeline จึงพบว่า ในอดตี บ้านดงไมเ่ คยมีการ
เล้ียงเหล้าในงานศพมาก่อนเลย การเล้ียงเหล้าในงานศพเพ่ิงจะมีมา
เมอื่ 30 ปีนเ้ี อง ขอ้ มูลจากการจัดเวทีประวตั ิศาสตรด์ ังกลา่ วไดเ้ ขยา่ หรือ
ถึงระดับสลายความคดิ เรือ่ ง “เลิกเหล้าในงานศพไม่ได”้ ไปเลย และ
นี่คือความสำ� คญั อย่างย่ิงยวดของการวิเคราะห์ความเปลีย่ นแปลง
(2) การเปลย่ี นแปลงคืออะไร ในการฝกึ อบรมทั้งในกลุ่มพ่ี
เลยี้ งและทมี นกั วิจัยชุมชน ทางโครงการ ASCBR ไดท้ ดลองวธิ กี ารสรา้ ง
ความเขา้ ใจว่า “การเปลยี่ นแปลงคอื อะไร” ดว้ ยหลายๆวธิ ีการติดต้งั ท่ี
นา่ สนใจ ตัวอยา่ งเชน่
(2.1) แปลง “คำ� นยิ ามในใจ” มาเปน็ “คำ� นยิ ามขา้ งนอก
ร่วมกัน” ในกลุ่มนักวิจัยชุมชน เน่ืองจากทีมวิทยากรพ่ีเล้ียงคิดว่า
นักวิจยั ชมุ ชนมคี วามเข้าใจอยู่แล้ววา่ การเปล่ียนแปลงคืออะไร เพียงแต่
ความเขา้ ใจน้ี “ยงั อยูใ่ นใจ” (เป็น implicit definition) ทมี วิทยากร
จึงไดใ้ ชค้ �ำถามคดั ทา้ ยขดุ เจาะใหค้ �ำนิยามในใจ (ซ่งึ แต่ละคนอาจจะมี
แตกต่างกัน) ให้ไหลออกมาขา้ งนอก แลว้ สรปุ รวมเปน็ “คำ� นิยามข้าง
นอกรว่ ม (collective explicit definition)
วิธีการที่ทีมวิทยากรใช้ก็คือการระดมความคิดเห็นของนัก
วิจัยชุมชนในประเด็น “ความเปล่ียนแปลงของชุมชนท่ีเห็นได้จากอดีต
มาสูป่ ัจจบุ ัน” ขอ้ มูลท่ีได้มดี ังนี้
120
อดีต ปัจจบุ ัน
1) ลงแขก 1) จา้ งงาน
2) แลกเปลีย่ น 2) ซ้อื กนิ
3) อ่อนน้อมถอ่ มตน มีสมั มาคารวะ 3) ไมม่ ีสัมมาคารวะ
4) ใชน้ ้ำ� ฝน 4) ซ้ือน้ำ� กนิ
5) ไปมาหาสกู่ ันพดู คยุ 5) โทรศพั ท์พูดคยุ กัน
6) กินขา้ วพรอ้ มหนา้ พรอ้ มตากนั 6) ต่างคนตา่ งกินข้าว
7) ใจเย็น 7) หัวร้อน
8) ใช้ไม้เรียว 8) ต่อวา่ ไมไ่ ด้
9) ใชต้ ะเกียง 9) ใชไ้ ฟฟ้า
10) เรียนรจู้ ากคน 10) เรียนรูจ้ ากมอื ถอื
11) ใชเ้ งินเหรียญสลึง 11) ใช้เงนิ เหรยี ญบาท
12) ท�ำนาใช้วัวควาย 12) ทำ� นาใช้รถไถ
13) เปน็ ห่วงเมยี 13) เปน็ ห่วงหมา
14) นงุ่ โจงกระเบน 14) นงุ่ กางเกง
15) ท�ำอาหารกินเอง 15) กนิ แกงถุง
หลังจากนั้นวิทยากรก็ได้ต้ังค�ำถามคัดท้าย (steering
question) เพื่อสกดั คุณลักษณะของการเปล่ยี นแปลงออกมา ตวั อยา่ ง
ของค�ำถามคดั ทา้ ยก็เช่น
(i) ขอ้ มลู ทจ่ี ะวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงตอ้ งมกี ช่ี ดุ ขน้ึ ไป (2 ชดุ
ข้ึนไป)
(ii) เกณฑท์ จ่ี ะใชด้ ึงขอ้ มูลท้ัง 2 ชุดคอื อะไร (คอื กาลเวลา)
(iii) เราจะทำ� อะไรกบั ขอ้ มูลท้งั 2 ชดุ น้ัน (เราจะต้องเอามา
เปรียบเทียบกัน)
(iv) ถ้าเกดิ การเปล่ยี นแปลง ข้อมูลทัง้ 2 ชดุ จะตอ้ งเปน็ อยา่ งไร
(ตอ้ งแตกตา่ งกัน)
(v) ถ้าไมเ่ กดิ การเปลีย่ นแปลง ขอ้ มูลทงั้ 2 ชดุ จะเปน็ อยา่ งไร
(จะเหมอื นกนั )
เป็นตน้
121
(2.2) สรปุ คำ� นยิ ามของการเปลย่ี นแปลง จากตวั อยา่ งท่ี
ยกมาข้างตน้ เราจึงสามารถสรปุ ค�ำนยิ ามของค�ำว่า “การเปลย่ี นแปลง”
ได้ว่า
การเปลย่ี นแปลง (change) เปน็ ประเภทยอ่ ยประเภทหนึ่งของ
การเปรียบเทยี บ (comparison) (ดรู ายละเอียดในเครื่องมอื ชิน้
ที่ 8: การเปรียบเทียบ) ทม่ี กี ารก�ำหนด “เกณฑเ์ บือ้ งต้น” ท่ีจะนำ�
มาเปรยี บเทียบ คอื “กาลเวลา/ช่วงเวลาตงั้ แต่ 2 ช่วงขน้ึ ไป”
(Time) เช่น อดตี -ปจั จบุ นั เม่อื ก่อน-เด๋ยี วน้ี ก่อน-หลัง โดย
ข้อมูลที่จะน�ำมาเปรียบเทียบในแง่กาลเวลานั้นก็มีได้ทุกประเภท
ไม่วา่ จะเป็น ตวั คน เหตุการณ์ สถานท่ี โครงสรา้ งทางกายภาพ
ความสมั พันธท์ างสงั คม ฯลฯ
(3) แนวคดิ หนนุ หลัง (Back-up concepts) ในท่ีน้ีจะลอง
ประมวลแนวคิดหลายๆแนวคิดท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองการเปล่ียนแปลง
ดังน้ี
122
(3.1) กลมุ่ ทไี่ มเ่ ชอื่ วา่ “โลกน/ี้ สรรพสงิ่ /มนษุ ยจ์ ะมคี วาม
เปลี่ยนแปลงได้ หรอื แม้จะเปลย่ี นไปแล้ว ในทา้ ยทีส่ ุดกจ็ ะย้อนกลับ
มาเหมือนเดิม เช่น ทศั นะท่ีว่า “นิสยั นกั การเมืองนัน้ กต็ อ้ งคดโกงบ้าน
เมอื งไม่มีวนั เปลยี่ นแปลง” “น้วิ มอื คนเรายงั สน้ั ยาวไม่เท่ากนั เพราะ
ฉะนนั้ ความไมเ่ ท่าเทียมกนั ทางสังคมก็ไม่มที างเปล่ยี นแปลงได”้ (คนท่ี
มคี วามเชอ่ื เชน่ นก้ี ็เช่น คนทีร่ ้องเพลง “รักไมย่ อมเปลยี่ นแปลง”)
(3.2) กลมุ่ ทเี่ ชอื่ วา่ “โลกน/ี้ สรรพสงิ่ /มนษุ ยท์ กุ อยา่ งลว้ น
เปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา เชน่ คำ� กลา่ วทวี่ า่ “ใดใดในโลกลว้ นอนจิ จงั ”
“เราไมส่ ามารถกระโดดลงน้�ำในทเ่ี ดมิ ได้ 2 คร้งั ” (เพราะสายนำ้� ไหลไป
อยู่ตลอดเวลา)
(3.3) กลมุ่ ทเ่ี ชอ่ื วา่ “ในขณะทม่ี บี างสง่ิ บางอยา่ งเปลยี่ น
แปลงไป กจ็ ะมบี างอยา่ งทเี่ ปน็ แกน่ แทท้ จี่ ะคงอยเู่ หมอื นเดมิ ไมเ่ ปลยี่ น
แปลง” ตัวอย่างเชน่ ในโฆษณาสินค้าแบบยาหมอ่ งหรือนมขน้ หวานที่
เกา่ แกท่ ่พี ูดว่า ไมว่ า่ กาลเวลาจะผ่านไปนานเท่าใด แมต้ วั สนิ คา้ กอ็ าจ
จะปรบั เปลีย่ นรูปโฉมไปบ้าง แต่ส่ิงท่ไี มเ่ ปลย่ี นแปลงกค็ อื สินคา้ นี้จะยัง
คงอยคู่ กู่ ับผู้บรโิ ภคเสมอ
(3.4) กลมุ่ ที่สนใจกบั ตัวแปรอนื่ ๆที่เขา้ มาเกี่ยวขอ้ งกับ
การเปล่ยี นแปลง เชน่ ใคร/อะไรเป็นตัวสรา้ งการเปลี่ยนแปลง เชน่
การเปล่ยี นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศในโลก เกิดจากธรรมชาติ หรอื
ฝีมือมนุษย์ หรือตวั แปรวา่ สาเหตขุ องการเปล่ียนแปลงนั้น สามารถ
ควบคมุ ได/้ หรอื ควบคมุ ไมไ่ ด้ (controllable/uncontrollable) ตวั อยา่ ง
เชน่ ในอดีต การต้งั ครรภเ์ ป็นปรากฏการณ์ท่ีควบคุมไม่ได้ แตป่ ัจจบุ นั
การต้ังครรภ์ (หรอื แมแ้ ต่การกำ� หนดเพศของทารก การกำ� หนดชว่ งเวลา
คลอด ฯลฯ) ก็ยงั สามารถควบคมุ ได้
(3.5) กลุ่มท่สี นใจเร่อื ง “ความสามารถในการสร้างการ
เปล่ียนแปลง” เชน่ ความตงั้ ใจทจ่ี ะสร้างการเปล่ยี นแปลงกบั ผลลพั ธ์ท่ี
123
เกิดข้นึ ไดเ้ ป็นไปตามความตง้ั ใจ/พงึ ปรารถนาหรือไม่ (desirable/un-
desirable result) ซึง่ หากน�าตัวแปรทั้ง 2 คอื ต้นทาง-ความตง้ั ใจ และ
ปลายทางคอื ผลลัพธท์ ่พี ึงปรารถนาหรอื ไม่มาทา� เปน็ Matrix ก็จะได้
4 Quadrant ดงั นี้
(i) Quadrant 1 ต้ังใจและได้ผลลัพธ์ที่พึงปรารถนา
ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ การท�างานพัฒนาที่ได้ผล เพราะการพัฒนาคือ
การสร้างความเปลี่ยนแปลงอย่างตั้งใจใหเ้ ปน็ ไปในทางทีด่ ี (planned
change for good or desirable result)
(ii) Quadrant 2 มีความตง้ั ใจจะสร้างการเปลย่ี นแปลง
แต่ผลลพั ธท์ ่ีออกมาไมน่ า่ พึงปรารถนา เช่น ตงั้ ใจจะลดความอ้วน แต่
ผลลัพธท์ ีอ่ อกมาคอื ความอว้ นไม่ลดเลย หรือกลบั ยงิ่ อ้วนมากข้นึ
(iii) Quadrant 3 ไมไ่ ด้ตง้ั ใจแต่กลับไดผ้ ลลพั ธ์ทนี่ ่าพึง
พอใจ เชน่ ไม่ไดต้ ง้ั ใจจะเขา้ ประกวดร้องเพลง แตพ่ อไปประกวด กลับ
124
ชนะเลิศ
(iv) Quadrant 4 ไม่ได้ตัง้ ใจและผลลพั ธท์ ี่ได้ก็ไม่น่าพงึ
พอใจ เช่น ชาวบ้านไมไ่ ด้ต้งั ใจเข้าร่วมโครงการรณรงค์สวมหมวกกัน
นอ๊ ค และผลลพั ธท์ อ่ี อกมากค็ อื มชี าวบา้ นทเ่ี ปลย่ี นมาใสห่ มวกกนั นอ๊ ค
น้อยมาก
(4) หลายวธิ ขี องการวดั การเปลยี่ นแปลง ในทนี่ ขี้ อยกตวั อยา่ ง
สกั 4 วธิ ี
125
(4.1) ทฤษฎีหวั หอม การวัดการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นเปน็
ลา� ดับช้นั (level/layer) เชน่ เร่ิมเกิดการเปล่ียนแปลงกับตัวเองกอ่ น
แลว้ คอ่ ยๆขยายตัวออกไปเปน็ ช้ันๆ
(4.2) ทฤษฎดี าวสบิ เอด็ แฉก เปน็ การวดั มติ ขิ องการเปลยี่ น
แปลงวา่ เกดิ ในแงม่ มุ ใดบา้ ง เชงิ ไหนบา้ ง (dimension) ตวั อยา่ งดงั ในภาพ
126
ส�ำหรบั ทม่ี าของ template การวัดการเปล่ียนแปลงท่เี กดิ
ขนึ้ ใน 11 แงม่ ุมน้ี เป็นการประมวลการวัดการเปลย่ี นแปลงที่เกดิ ข้ึน
จากการทำ� งานวจิ ัยเพ่ือท้องถน่ิ ที่เกดิ ขนึ้ ในสงั คมไทย โดยหวั หน้าโครง
การวจิ ยั ฯ ซ่ึงมปี ระสบการณ์การฝึกอบรมนักวิชาการเพือ่ สงั คมไดเ้ ลอื ก
เอางานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน/เพ่ือสังคมท่ีนักวิชาการไทยได้ร่วมมือกับชุมชน
(คดั เลอื กมาจากวารสารการวิจยั เพือ่ ท้องถน่ิ ของสกว.) จากทกุ สาขา
วชิ าการ และครอบคลุมประเด็นท้ัง 10 ประเด็นท่ี CBR ทำ� งานอยู่ (เช่น
การจดั การหนี้สนิ ปา่ ชมุ ชน การบริหารจัดการนำ้� ขยะ ฯลฯ) จำ� นวน
50 ชิน้ แลว้ นำ� มาสกดั ประมวลเพ่อื ตอบโจทยว์ า่ งานวิจยั เพ่อื ท้องถนิ่
สามารถสรา้ งการเปล่ียนแปลงอะไรได้บ้าง และค�ำตอบก็คือ template
นเี้ อง
(i) การเปลย่ี นแปลงท่เี กดิ ข้ึนกบั คน ซ่งึ เป็นเป้าหมาย
สงู สดุ ของงานวิจัย CBR ที่ตอ้ งการใหค้ นเกง่ ข้ึน ดขี ึน้ มีความภาคภมู ใิ จ
ในตนเองมากขึน้ “คน” ในทนี่ ้หี มายรวมถึงคนทุกกลมุ่ ทเ่ี ข้ามามีส่วน
เกยี่ วขอ้ งกบั งานวิจัยเพื่อทอ้ งถิ่น
(ii) การเปลย่ี นแปลงของวตั ถ/ุ สง่ิ ของ ซง่ึ กจ็ ะแปรไปตาม
ประเดน็ ทศ่ี กึ ษาวจิ ยั เชน่ ถา้ เปน็ เรอื่ งการบรหิ ารจดั การนำ้� ความเปลย่ี น
แปลงของวัตถ/ุ ส่ิงของท่ีเกิดข้นึ ก็คอื มปี ริมาณน้�ำมากพอให้ทุกคนไดใ้ ช้
คุณภาพของน้ำ� ประปาสะอาดขน้ึ เปน็ ตน้
(iii) การเปลยี่ นแปลงของปัญหา สำ� หรบั งานวจิ ยั ที่เริ่ม
ต้นจาก “ปัญหา” เชน่ หนีส้ ิน หลังจากดำ� เนนิ กจิ กรรมการวจิ ัยแลว้
ความเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดขึ้นกค็ ือ ปญั หาอาจจะบรรเทาลง ปัญหาได้
คลี่คลายไป หรือสามารถแกไ้ ขปญั หาให้ลลุ ว่ งไปได้
(iv) การเปลย่ี นแปลงในระดับกลุ่มคน เนอ่ื งจากงาน
วจิ ัย CBR นัน้ มักไม่ได้ตั้งเปา้ การท�ำงานไว้ท่ี “ตวั คนเป็นรายบคุ คล”
เท่าน้นั แตม่ กั จะเนน้ “การทำ� งานร่วมกนั เป็นกล่มุ เปน็ ชมรม เป็น
127
องคก์ ร” ดังนั้น ในขณะท่ีหัวขอ้ (i) น้นั เปน็ การวัดผลการเปล่ียนแปลงใน
หน่วยระดบั บคุ คล (เหมอื นการวดั ระดบั น้ิวแต่ละนิว้ ) ในหัวข้อ (iv) นี้จะ
เป็นการวัดหน่วยในระดับของกลมุ่ (เหมือนการวดั ระดบั ก�ำปั้น)
การวัดระดับกลมุ่ น้นั จะมคี ุณสมบัตบิ างอยา่ งของ “ความ
เปน็ กล่มุ ” เพมิ่ ข้ึนมาสำ� หรับเปน็ ตัวช้วี ดั เช่น พลังหรอื ความสามารถ
ของกล่มุ เช่น ชมรมผสู้ งู อายุท่ีมคี วามเขม้ แขง็ มากขึ้น สามารถเขียน
โครงการขอรบั การสนบั สนุนจากหน่วยงานต่างๆได้เอง หรอื การเปล่ยี น
แปลงลกั ษณะความสมั พนั ธข์ องกลมุ่ เช่น จากการทะเลาะเบาะแว้งกัน
ระหว่างคนตน้ น้ำ� กลางน้ำ� และปลายน้ำ� หลงั จากท�ำวิจยั แลว้ เกดิ
การเปลย่ี นแปลงเป็นความสมั พนั ธ์แบบสามัคคกี นั เป็นเครอื ข่ายลุ่มนำ้�
ตลอดทั้งลมุ่ เป็นต้น
(v) การเปลี่ยนแปลงกลไกการจัดการ สำ� หรบั งานวิจยั ท่ี
เกยี่ วข้องกับประเด็นการจดั การทัง้ หลาย ไมว่ ่าจะเปน็ การจดั การทรพั -
ยากรธรรมชาติ การจดั การปญั หาขยะ การจดั การกองทุนสวสั ดิการ
ฯลฯ การจดั การเหลา่ นจี้ �ำเปน็ ต้องมี “กลไกการจัดการ” เนอื่ งจากตอ้ ง
เกย่ี วขอ้ งกบั ผคู้ นจำ� นวนมาก ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมกี ฎระเบยี บ กตกิ า ธรรมนญู
ชมุ ชน บทลงโทษ รูปแบบการบริหารจัดการ เป็นตน้
(vi) การรับรูค้ วามหมายทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป เนอื่ งจาก
มนุษย์เราเป็นสัตว์ที่รู้จักใช้สัญลักษณ์ ซึ่งหมายความว่าเป็นส่ิงท่ีมี
ความหมาย ตวั อยา่ งเชน่ คนโบราณมไิ ดม้ องพน้ื ดนิ เปน็ แคว่ ตั ถเุ ทา่ นน้ั
แตม่ คี วามหมายวา่ “เปน็ สง่ิ ใหช้ วี ติ แกม่ นษุ ย”์ (แมพ่ ระธรณ)ี ดงั นน้ั การ
เปล่ียนแปลงในระดับท่ีลึกซ้ึงมากกว่าแค่ลักษณะทางกายภาพภายนอก
กค็ อื การเปลย่ี นแปลงภายใน/การเปลย่ี นแปลงความหมาย ดงั นน้ั หลงั
จากดำ� เนนิ การวิจยั แล้ว เราอาจจะวัดการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ จากการ
เปลี่ยนแปลงความหมายที่คนในชุมชนรับรู้ว่า “ขยะคืออะไร” “ผู้เฒ่า
ผู้แก่ในชมุ ชนคือใคร” “แมน่ ้�ำล�ำคลองมีคณุ ค่าอยา่ งไร” เปน็ ตน้
128
(vii) การเปลยี่ นแปลงบทบาทหนา้ ที่ (Function) ตวั อยา่ ง
เช่น ก่อนทำ� วิจยั อบต.อาจจะไม่มีบทบาทหน้าทเี่ กย่ี วกบั การดแู ลชวี ติ
เยาวชน แตห่ ลงั จากท�ำวิจยั จบแลว้ อบต.ไดเ้ พิม่ บทบาทความรบั ผดิ ชอบ
ต่อเยาวชนมากข้ึน
(viii) การเปลยี่ นแปลงสถานทหี่ รอื เวลา ตวั อยา่ งของจรงิ
กเ็ ชน่ ในโครงการวจิ ยั กลมุ่ ตวั อยา่ งเรอ่ื งการบรหิ ารจดั การกองทนุ สวสั ด-ิ
การชมุ ชน ต.แมก่ ลอง ซึง่ แต่เดมิ มสี ถานทีเ่ ก็บเงนิ คา่ สมาชกิ รวมศนู ย์
อยู่เพยี งแหง่ เดยี ว (มสี มาชิกใน 44 ชมุ ชน) หลังจากการทำ� วิจยั ทาง
คณะกรรมการกองทนุ ฯกไ็ ดข้ ยายและกระจายสถานทเ่ี กบ็ เงนิ คา่ สมาชกิ
ใหม้ ากขึ้น
(ix) การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งของกลมุ่ หรอื ชมุ ชน ซงึ่
นบั วา่ เปน็ การเปลยี่ นแปลงระดบั “ชนั้ ใน/คลา้ ยๆการเปลยี่ นโครงกระดกู
ของรา่ งกาย” เช่น มกี ารเพ่ิมหรือลดตำ� แหน่งต่างๆของกลุ่ม มีการจดั ตง้ั
กลุ่มบรหิ ารจัดการน้ำ� ขึน้ มาใหมใ่ นชมุ ชน
(x) การปรบั เปลยี่ นกจิ กรรมการพฒั นา เช่น ในกรณีของ
การรกั ษาปา่ ชุมชน หลังจากทำ� วิจยั แล้ว ไดม้ กี ารเพิ่มกจิ กรรมการบวช
ป่าเปน็ ประจ�ำทกุ ปี เปน็ ต้น
(xi) การปรบั เปลย่ี นล�ำดบั ความสำ� คัญ (การจัดอันดับ)
ตวั อย่างเช่น แตก่ ่อน อบต.ไมเ่ คยจัดสรรงบประมาณให้กบั การขุดลอก
คคู ลอง/ล�ำประโดง แตห่ ลังจากท�ำการวจิ ัย ชุมชนมองเห็นความส�ำคัญ
ของล�ำประโดงท่มี ีบทบาทสำ� คัญในการบรหิ ารจดั การน้ำ� ของชุมชน และ
อบต.กไ็ ด้จดั สรรงบประมาณเพื่อขดุ ลอกล�ำประโดง เป็นตน้
จาก template ดาวสบิ เอด็ แฉกนเ้ี ปน็ การประมวลภาพรวม
ทั้งหมดของการเปลี่ยนแปลงที่สามารถเกิดขึ้นได้จริงจากการท�ำงาน
วจิ ัย CBR เม่อื เวลามกี ารน�ำ template นม้ี าใช้งานในแตล่ ะประเดน็ ท่ี
ศึกษา ก็ไม่จ�ำเป็นตอ้ งใช้ให้ครบสูตรทั้ง 11 หัวข้อ แต่อาจจะมกี ารลด
129
การเพ่ิม การปรบั เปลย่ี นให้เหมาะสมกบั งานวจิ ัยแตล่ ะเร่ือง
(4.3) ตวั ชว่ ยทางวิชาการ (มิติของการเปลีย่ นแปลง) ใน
ทางวชิ าการ มีการวดั ความเปล่ียนแปลงตามมติ ิเหล่าน้ี
(i) วัดการเปลย่ี นแปลงขององคป์ ระกอบย่อย เช่น ถ้า
เราลดการกนิ เค็ม ก็จะเพิม่ การท�างานของสมอง ทา� ให้โรคไตหายไป
แต่ความสวยยังคงเท่าเดมิ
(ii) วัดการเปลย่ี นแปลงของรูปแบบความสัมพันธ์ ใน
สาขาชีววิทยาได้จัดแบ่งรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
ออกเป็นหลายรูปแบบ เช่น
(ก) แบบพ่ึงพาอาศัยกนั (Symbiosis)
(ข) แบบกาฝาก มฝี ่ายไดป้ ระโยชน์อยูฝ่ ่ายเดยี ว (Parasite)
(ค) แบบผลประโยชน์ต่างตอบแทน (Reciprocal) แบบหมู
ไปไก่มา
(ง) แบบขดั แย้งกนั (Conflictual)
ตัวอย่างของโครงการวิจัยเร่ืองการบริหารจัดการน้�าท่ี
130
แพรกหนามแดง ผลการวิจยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ กค็ อื การเปลี่ยนแปลงรปู แบบ
ความสัมพันธ์จากท่ีเคยขัดแย้งกันให้กลายมาเป็นแบบพ่ึงพาอาศัย/
เอื้อเฟ้อื /ชว่ ยเหลอื กัน
(iii) การวดั การเปล่ยี นแปลงในแงก่ าลเวลา เช่น อดีต
ปจั จุบนั อนาคต
(iv) วัดการเปลี่ยนแปลงของสถานที่ ตัวอย่างในชีวิต
ประจา� วัน กเ็ ช่นความเชื่อเร่ืองฮวงจุย้
(v) วัดการเปล่ยี นแปลงของล�าดับความสา� คญั ซงึ่ อาจ
จะเป็นได้ทั้งทางบวกและทางลบ ตัวอย่างในชีวิตประจ�าวันที่เรามักจะ
ได้ยินข่าวว่า ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีอยู่ในอันดับสูงของการเกิด
อุบัติเหตุทางถนน หรอื การมคี วามเหลอ่ื มล้�าในสงั คม เปน็ ต้น
(vi) วดั การเปลยี่ นแปลงของบทบาทหนา้ ที่ เช่น บทบาท
ของพ่อแม่ เปน็ ต้น
(4.4) การวดั การเปลยี่ นแปลงในแงข่ องทศิ ทางและความ
เรว็ (direction & speed) ตวั อยา่ งเชน่ 7 แบบแผนของทศิ ทางและ
ความเรว็ ของการเปลยี่ นแปลง
131
1) แพทเทิรน์ ท่ี 1 เสน้ กราฟทะแยงขน้ึ เชน่ ความสงู เพิ่ม
ขนึ้ ถา้ เป็นด้านบวก แสดงถงึ ความกา้ วหน้า ส่วนดา้ นลบ
กเ็ ชน่ ความดนั สงู ขนึ้ มะเร็งที่มอี าการลกุ ลามเพิม่ ขน้ึ
2) แพทเทริ น์ ที่ 2 เส้นกราฟไตร่ ะดับแลว้ คงท่ี เช่น การขน้ึ
เคร่อื งบนิ อารมณ์ของคน การสรา้ งหนังผี แลว้ ค่อยๆพุ่ง
ทะยานขึน้ เป็นช่วงๆ
3) แพทเทิรน์ ท่ี 3 เสน้ กราฟขึ้นแลว้ ลงด้วยความเร็วเทา่ ๆกนั
เช่น หุน้ ไทยขาขน้ึ ขาลง
4) แพทเทิร์นท่ี 4 ขาขึน้ ข้นึ ไดช้ ้า แตข่ าลง ตกอย่างรวดเร็ว
เชน่ ช่ือเสียงของนางงาม
5) แพทเทิร์นที่ 5 ขาขน้ึ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ แต่ขาลง ตกอยา่ ง
ชา้ ๆ เช่น ซปุ เปอรส์ ตารส์ ายฟ้าแลบ
6) แพทเทิร์นท่ี 6 พายเรือวนในอา่ ง เช่น การเขยี นรายงาน
วนไปวนมา
7) แพทเทริ ์นท่ี 7 วงเกลยี วพุ่งขน้ึ เชน่ การหมุนเกลียวของ
ความรู้
(5) ฟงั กช์ นั่ /วธิ กี ารใชง้ าน ตวั อยา่ งของฟงั กช์ นั่ การใชเ้ ครอื่ งมอื
วดั ความเปลี่ยนแปลงอาจจะทำ� ไดห้ ลายวิธี เชน่
132
1) ใชแ้ บบไมค่ มุ เกณฑเ์ ลย การวดั แบบนีจ้ ะท�าใหผ้ ลการสรุป
ไม่ค่อยน่าเช่ือถอื เชน่ ถ้าแหล่งข้อมลู /คนตอบคา� ถามก่อน-หลังเป็น
คนละคน จะสรุปไดย้ ากว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึน้ จรงิ หรอื เปล่า
2) ใช้แบบคุมเกณฑ์ ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีหวั หอม เปน็ การคุม
เกณฑ์ในแง่ระดบั “ตวั คน ทีมวิจยั ชมุ ชน” ดังตวั อย่าง
133
3) ใชแ้ บบผสมผสานกับเครื่องมืออืน่ ๆ เชน่ แบบวัดใย
แมงมมุ (Spider diagram) ทผี่ สมผสาน 2 เครอ่ื งมือ คือการวดั
การเปลีย่ นแปลง x การใหน้ �้ำหนัก โดยตอบโจทย์ระดับแรกว่ามกี าร
เปลย่ี นแปลงเกดิ ขน้ึ หรือไม่ และตอบโจทยร์ ะดบั 2 ว่า การเปลีย่ นแปลง
ทเ่ี กดิ ข้นึ นน้ั มีดกี รมี ากนอ้ ยเพียงใด
หรอื อาจใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั การเปลยี่ นแปลงผสมกบั SWOT analy-
sis โดยวัด “ระยะกอ่ น” กับ “ระยะหลงั ” วา่ องคป์ ระกอบทั้ง 4
Strength/Weak/Opportunity/Threat นน้ั มกี ารเปลยี่ นแปลงหรอื ไม่
อย่างไร มากนอ้ ยเพยี งใด เปน็ ไปในทศิ ทางทพ่ี ึงปรารถนาหรอื เปลา่
เป็นไปตามท่ตี งั้ ใจ/วางแผนเอาไว้หรือไม่ เปน็ ต้น
4) การสร้างเครื่องมอื วดั การเปลยี่ นแปลงขนึ้ มาใชเ้ อง ท่ี
ภาษาคอมพิวเตอรเ์ รียกวา่ เป็นเคร่อื งมอื แบบ customised เชน่ การ
ดดั แปลง template ดาวสิบเอด็ แฉกให้เหลือสกั 5-6 แฉก หรอื เพิ่ม
แฉกใหม่ๆเข้าไป เปน็ ตน้
(6) กติกาพิเศษ: การท�ำงาน 2 ขนั้ ตอนกับขอ้ มลู ดังที่ได้
ระบุ Spec สำ� คัญของการวิเคราะห์ความเปลย่ี นแปลงแลว้ ว่า เปน็
ประเภทย่อยประเภทหนึง่ ของการเปรยี บเทียบข้อมลู อย่างน้อย 2 ชุด
โดยใชเ้ กณฑ์เรือ่ ง “ชว่ งเวลา” อย่างน้อย 2 ช่วงเวลาข้นึ ไป จากทา่ บงั คับ
ของค�ำนยิ ามดังกล่าว ในการวเิ คราะห์ความเปล่ียนแปลงจึงต้องมกี าร
ตั้งกติกาพิเศษตัง้ แต่ข้ันตอนการเกบ็ ข้อมลู เพราะหากไมค่ รบตาม
spec ที่ระบุเอาไว้ เช่น ไม่มีข้อมลู ชุดแรกมาเปน็ ตัวตง้ั คงมีแต่ข้อมลู
ชุดที่ 2 ชดุ เดยี ว ก็จะสรุปไมไ่ ดว้ ่า ขอ้ มลู ชุดที่ 2 มีการเปลยี่ นแปลงจรงิ
หรือเปล่า ดงั น้นั จงึ ตอ้ งมกี ารวางแผนตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บข้อมลู
134
(6.1) ขนั้ ตอนการเกบ็ ขอ้ มลู มี option ใหเ้ ลอื ก 3 แบบแผน
(A) แบบปล่อยอิสระ ควรใชก้ ับกลุ่มตวั อย่างที่เพ่ิงเริม่ เขา้
วงการ แต่ทว่าทีมวิจัยจะต้องทา� งานหนกั ในข้นั ตอนการจัดระบบขอ้ มูล
(B) แบบประณตี /กา� หนดหวั ขอ้ ทจี่ ะเปรยี บเทยี บตามหวั ขอ้
ในชว่ งเวลากอ่ น-หลงั (หรือตามชว่ งเวลาทต่ี ้องการศกึ ษา เชน่ รายปี
ราย 6 เดือน ฯลฯ)
(C) อยกู่ งึ่ กลางระหวา่ ง A กบั B โดยอาจจะมกี ารกา� หนด
หัวข้อกวา้ งๆ แล้วเปดิ ใหพ้ ดู คุยตามกรอบบา้ งเพ่ือช่วยในการบนั ทกึ
(6.2) ขนั้ การจดั ระบบขอ้ มลู สามารถทา� ไดห้ ลายขนั้ ตอน
ย่อย ซงึ่ แล้วแต่การตั้งโจทย์วา่ จะไปให้ถึงขัน้ ไหน เช่น
135
Step 1 : จะจัดหมวดหมู่ของข้อมูลว่า มีอะไรบ้างท่ีเปล่ียน
แปลง มีอะไรบ้างท่ีไม่เปล่ียนแปลง โดยอาจจะต้ัง
เกณฑห์ ลายๆแบบ เช่น ตวั บุคคล ประเดน็ แงม่ มุ ฯลฯ
Step 2 : ทา� การให้น้า� หนกั (weight) เช่น เปน็ การเปลีย่ น
แปลงมาก ปานกลาง น้อย หรือวัดเป็นดกี รี
Step 3 : ทา� การวเิ คราะห์ว่าอะไรเปน็ ตวั แปร/ปจั จยั ท่ที �าให้เกดิ
การเปล่ียนแปลงน้ัน (factor of change)
(7) การประเมินการเปล่ียนแปลง ดังท่ีได้กล่าวแล้วถึง
ประเภทตา่ งๆของการเปล่ยี นแปลงวา่ มที งั้ แบบที่เกิดขน้ึ โดยต้งั ใจหรือ
ไม่ได้ต้ังใจ และอาจจะใหผ้ ลลัพธท์ พี่ งึ ปรารถนาหรือไมน่ า่ พอใจก็เปน็ ได้
ดงั นน้ั แม้ว่าจะเกิดการเปล่ยี นแปลงขนึ้ มาแล้ว เราก็ยงั คงต้องตามไป
ประเมินวา่ การเปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ มาน้ันเปน็ อย่างไร
แงม่ มุ ที่จะประเมินการเปลยี่ นแปลงอาจจะมไี ด้ ดงั น้ี
136
(i) เป็นการประเมนิ การเปลยี่ นแปลงเชิงปริมาณ เชน่ จาก
เดิมไมม่ นี ้�ำใช้ เปล่ยี นมาเปน็ มีนำ�้ ใช้ หรือจากท่เี คยมนี ำ�้ นอ้ ย กเ็ ปลย่ี น
มาเปน็ มีมากขนึ้ (แต่นอกจากวดั เชิงปริมาณแลว้ ควรวดั เชิงคุณภาพ
ควบคไู่ ปด้วย เชน่ นำ้� หนกั ลดแลว้ แตส่ ุขภาพดขี นึ้ ดว้ ยหรือไม่)
(ii) เปน็ การประเมินการเปลย่ี นแปลงเชิงคุณภาพ เช่น
(ก) มคี ณะกรรมการ แต่ไมท่ ำ� หนา้ ท่ี (function) เปล่ียน
เป็นมาทำ� หนา้ ทอ่ี ยา่ งดี
(ข) เปลีย่ นแปลงอยา่ งมเี สถยี รภาพ เช่น จำ� นวนสมาชิก
ของกองทนุ สวสั ดิการเพิ่มไม่มากนกั แต่เพิม่ อยา่ งสมำ�่ เสมอ
(ค) เปลี่ยนอย่างยัง่ ยืน คือเปลยี่ นแลว้ ไมก่ ลบั ไปเป็นอย่าง
เดมิ เชน่ การหยุดใช้สารเคมฉี ดี ผลไม้
(ง) เปน็ การเปล่ยี นแปลงอย่างครอบคลมุ เชน่ การให้
สวัสดิการชมุ ชนทำ� กบั คนทกุ กลุ่มทกุ รนุ่ อายุ เป็นตน้
(จ) เปน็ การเปลีย่ นแปลงในเชงิ ประสิทธภิ าพ เช่น ท�ำบญั ชี
กองทนุ ไดเ้ ร็วข้นึ คณะกรรมการท�ำงานสะดวกขึน้ การใช้นำ้� ประหยัด
มากข้นึ เปน็ ตน้
(iii) การประเมนิ ในแงท่ ิศทางของการเปล่ยี นแปลง เช่น
เป็นการเปลีย่ นแปลงในทิศทางที่เป็นบวก อย่กู ลางๆ หรือเป็นลบ (เรา
ได้ยนิ การประเมินทศิ ทางนอ้ี ยทู่ กุ วันเวลาฟงั รายงานตลาดหุ้น)
(iv) การประเมินด้านประสิทธิผลของการเปล่ียนแปลง
(Effectiveness) คอื การประเมนิ วา่ ผลของการเปลยี่ นแปลง “ตอบโจทย/์
เขา้ เป้าทต่ี ้ังเอาไว้หรือไม”่ เช่น กองทุนสวัสดิการชุมชน ต.แมก่ ลอง
ตงั้ เป้าเอาไวว้ า่ จำ� นวนสมาชิกจะเพ่ิมข้ึนจากปีแรก 20% ปที ี่ 2 เพมิ่ เป็น
30% เป็นตน้
(v) การประเมนิ ว่าผลจากการเปลี่ยนแปลงนัน้ ไดเ้ กิดขึ้น
แก่ใครบ้าง เป็นผลแบบไหน เช่น การท�ำวิจัยเรื่องการปรับตัวของ
137
เกษตรกรในพน้ื ทีร่ ับนำ้� ต.บางชะนี จ.พระนครศรอี ยุธยา มใี ครไดร้ บั ผล
ทเี่ กิดขึ้นอย่างไรบ้าง เรมิ่ ต้ังแตท่ มี วจิ ยั ชาวบา้ นในชุมชน นักวิชาการที่
เข้ามาเกยี่ วข้อง พี่เลี้ยงของศูนยฯ์ เจ้าหน้าที่หนว่ ยงานรัฐท่ีเก่ยี วข้อง
อบต. ฯลฯ การประเมนิ วา่ “ใครบา้ งทไี่ ดผ้ ลนี้” มคี วามส�ำคัญมาก เพ่อื
จะได้ “ไม่ยิงผดิ ตวั ” (ในความหมายทดี่ )ี
(vi) การประเมนิ ความคุม้ ค่า (Cost-benefit/Cost-effec-
tiveness) ไดแ้ กก่ ารเปรยี บเทยี บระหวา่ ง “ต้นทุน (ทุกอย่าง) ท่ีลงไป”
กบั “ผลลัพธท์ เ่ี กิดข้นึ ” วา่ คุ้มกนั หรอื ไม่ คนไทยโบราณมขี อ้ คดิ เตือนใจ
เกีย่ วกบั การประเมนิ ความคุม้ คา่ น้ีมากพอสมควร เชน่ อยา่ ขชี่ า้ งจับ
ตก๊ั แตน ตำ� นำ้� พริกละลายแมน่ ้�ำ ฆ่าช้างจะเอางา เปน็ ต้น
(vii) การประเมินผลสืบเน่ืองทีจ่ ะตามมา ในกรณที ่กี าร
เปลย่ี นแปลงไมไ่ ด้เกิดแบบ “จดุ ประทดั ” “มว้ นเดียวจบ” หากแต่เกดิ
แบบ “ไฟลามทุ่ง” ซง่ึ หมายความว่า นอกจากจะมี “ผลลัพธ์” แล้ว ก็
ยังอาจจะมี “ผลสืบเนอื่ ง/ผลสะเทอื น” เป็นลูกตามมาอีกด้วย ซึ่งผล
สืบเน่ืองน้ีอาจจะเป็นผลลัพธ์/การเปล่ียนแปลงท่ีผู้ด�ำเนินการไม่ได้คาด
คิดมาก่อน อาจจะเป็นผลลัพธ์ไปทางบวก/ทางลบ พึงปรารถนา/ไม่พึง
ปรารถนาก็ได้ ตัวอย่างเช่น เม่ือมีการท�ำวิจัยเร่ือง “การแปลงขยะ
ให้เป็นเงิน” โดยให้เด็กๆเก็บขยะเพ่ือเอามาฝากธนาคารขยะเป็นเงิน”
ผลสืบเน่ืองท่ีไม่คาดคิดว่าจะตามมาก็คือ เด็กๆพยายามสร้างขยะให้
มากขนึ้ ซ่ึงเป็นผลสบื เนือ่ งทไี่ มน่ ่าพึงปรารถนา เปน็ ต้น
(viii) การประเมนิ ตระกลู ของผลลัพธ์ ปจั จบุ ันมีแนวคดิ เรื่อง
การประเมนิ สายตระกลู ของผลลัพธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ดงั น้ี
(ก) ผลผลติ (output) เป็นผลท่เี กดิ ขึน้ จากความต้งั ใจ
ของผทู้ ำ� วจิ ัย/โครงการ X ภายในระยะเวลาส้ัน (เชน่ หลังจากจบ
โครงการ)
(ข) ผลลัพธ์ (outcome) เปน็ ผลทเี่ กิดจากความต้ังใจ
138
ของผทู้ ำ� วจิ ยั /โครงการ X เมื่อระยะเวลาผา่ นไปช่วงหนง่ึ (ระยะกลาง-
ระยะยาว)
(ค) ผลกระทบ (Impact) เปน็ ผลทไี่ ม่ไดเ้ กิดจากความ
ตง้ั ใจของผทู้ ำ� วจิ ยั /โครงการ (ดงั นน้ั จงึ อาจจะเปน็ ผลกระทบทง้ั ดา้ นบวก-
ดา้ นลบ) X ระยะเวลาอาจจะเปน็ ชว่ งใดกไ็ ด้ (ระยะส้นั -กลาง-ยาว)
(ง) ความยั่งยนื (Sustainability) หมายถึง การอยูต่ วั
ของการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ข้ึน หรือการแตกยอด ตอ่ ขยาย แตกตวั
สบื ทอดผลการเปล่ยี นแปลงนัน้ ออกไปไม่สนิ้ สดุ
(8) ปญั หาของการใชเ้ ครอื่ งมอื การวเิ คราะหค์ วามเปลยี่ นแปลง
ในการฝึกอบรมของโครงการ ASCBR ได้ระดมสมองเพ่ือประมวล
ประสบการณ์และปัญหาของการใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ความเปลี่ยน
แปลงไดด้ ังนี้
(i) วิธีการวัดยังมจี �ำกดั เท่าที่ผ่านมาจะใชแ้ ต่ทฤษฎีหวั หอม
เท่าน้นั (เกิดการเปลี่ยนกับตัวเอง ทีมวจิ ัย ชุมชน) ยังไมไ่ ด้วดั ด้วยวธิ ี
การอ่นื ๆ เชน่ ทฤษฎีดาวสิบเอด็ แฉก
(ii) ไม่ไดเ้ ก็บข้อมูล “ชว่ งกอ่ น” (Before) เอาไว้ มแี ตก่ ารเก็บ
ขอ้ มูล “ชว่ งหลงั ” (After) ทำ� ใหเ้ คลมไดย้ ากกว่า เกดิ การเปลีย่ นแปลง
จริงๆ เพราะไมม่ ีตวั เทียบ
(iii) ในการทำ� งานวจิ ยั CBR ซง่ึ เปน็ การทำ� งานในสภาพการณท์ ่ี
เปน็ จริง (ไมใ่ ชห่ ้องทดลอง) จะมีตวั แปรที่ควบคมุ ไมไ่ ดจ้ �ำนวนมาก มี
ความไม่เสถยี รเกิดขน้ึ ตลอดเวลา เชน่ ความไม่แนน่ อนของ “แหล่ง
ข้อมูล” คือคนทใ่ี หข้ ้อมลู เปลยี่ นไปตลอดเวลา ทำ� ใหข้ อ้ มูลชว่ งก่อนกบั
ชว่ งหลงั มาจากคนละแหล่งข้อมูล และไม่สามารถเปรียบเทยี บกนั ได้
(iv) การวดั การเปลย่ี นแปลงดว้ ยการใชเ้ ครอ่ื งมอื เกบ็ ขอ้ มลู เพยี ง
อย่างเดียว เช่น ใชแ้ บบสอบถามอยา่ งเดยี ว ใช้จดั เวทีพดู คุยอย่างเดียว
139
ฯลฯ คงนา่ จะขาดความน่าเชอ่ื ถอื ซึ่งการแก้ไขปัญหาน้ี คงต้องใช้หลกั
การของการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ คอื ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู หลายๆวธิ ี (เพราะ
แหล่งข้อมูลมปี รมิ าณน้อย) แล้วนำ� ข้อมลู หลายๆชดุ มาตรวจสอบกัน
(v) การวัดความเปลีย่ นแปลง ยังคงวดั ดา้ นเดยี ว คือวัดแต่
ดา้ นท่เี ปล่ยี นแปลงไป แตย่ ังขาดการวัด “ดา้ นท่ีไม่เปลีย่ นแปลง” และ
หากจะสาวไปถงึ ต้นตอแลว้ กค็ งต้องวเิ คราะหไ์ ปใหถ้ งึ สาเหต/ุ ปจั จัย/
เง่อื นไขทีท่ ำ� ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงและไมเ่ ปล่ียนแปลงดว้ ย
(vi) เม่ือมีการวัดการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนแล้วในช้ันแรก
ยังขาดการประเมนิ การเปลย่ี นแปลง (ตาม template ทีใ่ หต้ วั อย่างไว้
ขา้ งหนา้ ) ท�ำใหย้ ังไมอ่ าจฟนั ธง (ซึ่งก็ตอ้ งตง้ั ธงเอาไว้ลว่ งหน้าส�ำหรับให้
ฟันดว้ ย) ไดว้ า่ “ใช่ทตี่ ้องการหรือเปลา่ ดีหรอื เปลา่ ที่เปล่ียนไป”
สว่ นท่ี 2 : ตวั อย่างของวิธีการตดิ ต้งั
สำ� หรบั โจทย์ข้อ 2 ของโครงการวจิ ัย ASCBR นคี้ อื การทบทวน
วิธีการติดต้ังเคร่ืองมือ A/S ประเภทต่างๆท่ีศูนย์ฯได้มีประสบการณ์
และได้สั่งสมชุดความรู้ไว้แล้วในระดับหนึ่งเพื่อน�ำมาต่อยอดยกระดับให้
สงู ขึน้ พร้อมทัง้ เติมเต็มวธิ ีการติดตั้งแบบใหม่ๆ เพอ่ื เสริมศกั ยภาพของ
กลุ่มพเี่ ลี้ยงและนักวจิ ยั ชมุ ชนให้มมี ากข้ึน
ในหนังสือท้ัง 3 เล่มของชุดหนังสือไตรภาคน้ี ได้ทยอยน�ำ
เสนอ 20 วธิ กี ารตดิ ต้ังเครื่องมอื A/S ท่คี ้นพบจากงานวจิ ัยครัง้ นี้ ดงั นี้
140
ท่ี วิธีการติดตั้ง หนงั สือ หนงั สือ หนังสอื
เลม่ 1 เลม่ 2 เลม่ 3
1 การทำ� ความเข้าใจกนั เม่ือเรม่ิ แรก P
2 การบรรยายแบบมีสว่ นร่วม P
3 การใช้เกมในหลายๆเป้าหมาย P
4 การระดมสมอง P
5 การใช้ Workshop (ทำ� งานกลมุ่ ยอ่ ย) P
6 การถอด/สรปุ บทเรยี น P
7 การสาธิต P
8 การฝกึ ปฏิบตั แิ ละท�ำการบ้าน P
9 เทคนิคเห็นรูปถอดนาม P
10 เทคนคิ การใชบ้ ัตรค�ำ P
11 การติดตั้งความรู้ระดับหลักการ P
12 การตดิ ตงั้ ซำ้� /เรียกใช้ P
13 การสรา้ งนิยามจากข้างลา่ ง P
14 เทคนคิ การเผาหวั เคร่อื ง P
15 การออกแบบเนอื้ หาแบบรางคู่ P
16 การยกระดับขีดความสามารถ P
17 การส่ือสารสองทางและการต้ังชอ่ื P
18 เทคนคิ การปรับแก้ P
19 การจดั การความหลากหลายแบบลอู่ อก P
20 เทคนคิ การถมตรงท่เี ปน็ หลมุ P
141
วิธกี ารติดตัง้ ที่ 7 : การสาธติ
การสาธติ (demonstration) เปน็ วิธกี ารตดิ ตั้งความรทู้ ี่มใี ช้
อยทู่ วั่ ไปในสถาบนั การศกึ ษา และกม็ กี ารนำ� มาใชก้ นั อยา่ งมากในแวดวง
การพฒั นาในการถ่ายทอดความรแู้ ละทักษะใหมๆ่ ให้แก่ผเู้ รียนรู้ซงึ่ เปน็
ชาวบ้านธรรมดาทั่วไป ในประสบการณ์ของศูนย์ฯเองก็มีการใช้วิธีการ
ติดต้ังด้วยการสาธิตอยู่อย่างสม่�ำเสมอ แม้แต่ในช่วงก่อนท่ีจะเร่ิมท�ำ
โครงการวิจัย ASCBR นี้ เพื่อประเมินความเป็นไปได้ (feasibility
study) ของการทำ� โครงการ ASCBR ทมี วจิ ยั กไ็ ดท้ ำ� การทดสอบเบอื้ งตน้
(pretest) ถงึ 3 คร้ังใน 3 กลมุ่ ตวั อยา่ ง และในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว ทมี
วิจัยก็ไดค้ น้ พบเทคนิคย่อยใหม่ๆ ของการสาธิตอกี หลายรปู แบบ ในท่นี ้ี
จึงจะประมวลความรวู้ า่ ดว้ ยวธิ กี ารตดิ ต้งั ด้วย “การสาธติ ” ที่ทีมวจิ ยั ได้
ค้นพบร่วมกนั ในโครงการนี้ ดังนี้
142
(1) การสาธิตคืออะไร โดยทัว่ ไป มีค�ำอธบิ ายวธิ ีการเรยี นการ
สอน/การจัดการฝึกอบรมด้วยวธิ ีการสาธิตว่า
“เปน็ วธิ กี ารตดิ ตงั้ ถา่ ยทอดความรดู้ ว้ ยการผสมผสานการสอื่ สาร
หลายๆรปู แบบเขา้ ดว้ ยกัน กล่าวคือ ในฝ่ายผสู้ อน/ผสู้ าธติ จะ
ใช้การพูดอธิบายพร้อมๆไปกับการแสดงการลงมือปฏิบัติให้ดู
ไปด้วยพร้อมๆกัน ส่วนฝ่ายผู้เรียนนั้นก็จะเรียนรู้ด้วยการสังเกต
(observational learning) การปฏิบตั ทิ กี่ ำ� ลังเกิดข้นึ พร้อมท้งั
รบั ฟงั คำ� บรรยายไปพรอ้ มๆกนั ”เปน็ การประสานทง้ั “หนง่ึ ปากวา่ ”
และ “สองตาเหน็ ” เขา้ ด้วยกัน
การสาธิตบางประเภทจะแตกต่างจากการเรียนรู้จากของจริง
เนอื่ งจากในการสาธติ นนั้ ผฝู้ กึ สอน/ผสู้ าธติ จะจำ� ลองสภาพการณข์ นึ้ มา
(simulating situation) ต้ังแต่ตน้ จนจบ
ในแง่ของการมีส่วนร่วม การสาธิตมีข้อเด่นตรงที่สามารถมี
การส่ือสารสองทางได้ เน่ืองจากผู้สอนและผู้เรียนอยู่ในสถานท่ีและ
เวลาเดยี วกนั ผเู้ รยี นจงึ สามารถสอบถาม ซกั ถาม แสดงความคดิ เหน็ ได้
รวมทง้ั ยังอาจเข้าร่วมลงมอื ทำ� กจิ กรรมได้อีกดว้ ย
ดว้ ยวธิ กี ารผสมผสานรปู แบบถา่ ยทอดความรดู้ ว้ ยวธิ กี ารสอื่ สาร
หลายๆแบบ ทง้ั การดแู ละการฟงั และเปน็ รปู แบบการสอ่ื สารแบบสองทาง
ท�ำให้ผลท่ีเกิดข้ึนจากการเรียนรู้แบบการสังเกตบวกผสมกับการมี
โอกาสได้ซกั ถามและมสี ่วนรว่ มเชน่ น้ี จึงมโี อกาสสูงท่จี ะเกดิ ทง้ั ความรู้
ความเขา้ ใจ (Knowledge) ทศั นคติ (Attitude) และการลงปฏบิ ตั ิ
(Practice) ได้ครบทั้ง K-A-P ซึ่งเป็นจุดเด่นท่ีหาได้ยากในวิธีการ
ถา่ ยทอดความรแู้ บบอ่นื ๆ
ตามหลกั วิชาการไดแ้ บ่งประเภทของการสาธิตเอาไว้ 2 แบบ
143
(i) การสาธติ วิธีการ (Method demonstration) เปน็ การ
ส่ือสารเพ่ือแสดงวิธีการหรือทักษะในการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหน่ึง
อย่างเป็นขั้นเป็นตอนไปตามล�ำดับพร้อมท้ังบรรยายประกอบตามขั้น
ตอนการแสดงนน้ั กลา่ วคอื เป้าหมายหลักก็คอื ตอบค�ำถามวา่ “ทำ� ได้
อยา่ งไร” (How to do) การสาธิตประเภทนจ้ี ะพบเหน็ อยเู่ สมอใน
รายการโทรทศั น์ (เช่น รายการท�ำอาหาร) หรอื ในสอื่ ออนไลน์ (เชน่ การ
สอนแต่งหนา้ ) หรอื ในสายการเกษตร เชน่ แปลงสาธติ ศนู ยส์ าธิต
เป็นตน้
(ii) การสาธติ ผล (Result demonstration) เปน็ สอ่ื กจิ กรรม
ที่ใช้การสาธิตเพื่อจะพิสูจน์ให้เห็นความแตกต่างระหว่างวิธีการหรือสิ่ง
ใหมท่ ต่ี อ้ งการแนะนำ� กับวิธีการ/ส่ิงเกา่ ท่ีผเู้ รียนเคยใชอ้ ยู่ เพ่อื ใหผ้ ู้
เรียนสามารถประเมนิ ข้อดีและขอ้ จ�ำกัดของผลท่จี ะได้รบั จากทั้ง 2 วธิ ี
จากรปู แบบทงั้ 2 นี้ ทางโครงการ ASCBR ได้น�ำมาประยกุ ตใ์ ช้
และต่อยอดขยายรูปแบบยอ่ ยๆออกมาอีกหลายรปู แบบ (ดูตอนต่อไป )
(2) คุณลกั ษณะส�ำคญั ของการสาธิต เพอ่ื ใหเ้ ห็นเอกลักษณ์
ที่ชัดเจนของ “การสาธิต” ในสายวิชาการสื่อสารได้ระบุคุณลักษณะ
(Attribute/Specification - เรียกเล่นๆวา่ spec) ของ “วิธีการสาธิต”
ไว้ 12 spec ดังนี้
144
เอกลกั ษณส์ ำ� คญั ในแงก่ ารสอื่ สารกค็ อื การสาธติ เปน็ การสอื่ สาร
แบบสองทาง เป็นการสื่อสารแบบพูดจากัน เป็นการสื่อสารแนวนอน
(ผู้ส่งสารและผู้รับสารมีศลี เสมอกัน) และสง่ สารไดจ้ ากคนๆเดียว (ผู้
สาธติ ) ไปยังผู้รับสาร (ผมู้ าดูงาน/ผเู้ รยี น) ได้ทลี ะหลายๆคน แตท่ ว่า
การสอื่ สารแบบนกี้ ต็ อ้ งมขี นั้ ตอนการเตรยี มตวั (pre-production) ที่
ดีจากทง้ั 2 ฝา่ ย คือทั้งด้านผสู้ าธติ (ผู้สง่ สาร) และผมู้ าเรียน (ผูร้ ับสาร)
ต้องมีการตระเตรียมสถานท่ี อุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ก�ำหนดเวลาให้พรอ้ ม
สำ� หรบั เนอื้ หาทเี่ หมาะกบั วธิ กี ารสาธติ กค็ อื “การแสดงกระบวน
การ” (process) ซง่ึ เปน็ เนอ้ื หาทย่ี ากทจ่ี ะใชว้ ธิ กี ารถา่ ยทอดความรดู้ ว้ ย
รูปแบบอนื่ ๆ โดยอาจจะใช้ “กรณีของจริง” หรือ “สรา้ งสถานการณ์
จ�ำลอง” ขน้ึ มาก็ได้
ขอ้ เดน่ ของวธิ ีการสาธิตกค็ ือ เหมาะท่ีจะใช้ถ่ายทอดเนอ้ื หาสาร
145
ทเ่ี ป็นเรอ่ื ง “การเรียนการสอน” แบบทต่ี อ้ ง/ลงมือทำ� (Instructional
content) หรอื การให้ค�ำแนะน�ำเพ่ือปรบั ปรุงการปฏิบตั งิ านไดด้ ี และยงั
สามารถผนวกเอาสอ่ื ประเภทอน่ื ๆ เชน่ วดิ ีโอ แผน่ พับ PowerPoint
รูปภาพ ฯลฯ เขา้ ไปชว่ ยประกอบได้
อยา่ งไรก็ตาม ข้อท่ีตอ้ งระวังก็คือ ปรมิ าณ/จำ� นวนคนท่ีจะไป
เรยี นรู้ หากมีปรมิ าณมากเกนิ ไป อาจมปี ัญหาเรือ่ งการเขา้ ถงึ (มอง
ไม่เห็นส่ิงท่ีจะสาธิต) และเน่ืองจาก “การสาธิต” เป็นการมาดู
“ตัวอยา่ งของคนอนื่ ” ดังนน้ั เม่อื เวลาจะนำ� กลับไปประยุกตใ์ ช้ ก็ตอ้ ง
ใชเ้ คร่ืองมืออีกชน้ิ หน่ึงมาตรวจสอบคือ การวเิ คราะหข์ อ้ เหมอื นและ
ข้อต่าง (Common-Difference analysis) ระหวา่ ง “ของเรา” กับ
“ของคนอ่ืน” อกี คร้งั หน่งึ
(3) ความสำ� คญั ของวธิ กี ารสาธติ อนั ทจ่ี รงิ ผเู้ ขยี นไดโ้ ฆษณา
แฝงความสำ� คญั ของวธิ กี ารสาธติ มาบา้ งแลว้ ตงั้ แตต่ น้ วา่ วธิ กี ารนสี้ ามารถ
จะจดั การ “ถ่ายทอด/ตดิ ตัง้ ความร”ู้ ในระดับทว่ี ิธกี ารแบบอื่นๆทำ� ไม่
คอ่ ยได้ (ท่เี ดด็ ขาดที่สดุ ก็คือ การขับเคลอื่ นจาก “รแู้ ละเขา้ ใจ” (Know-
ledge) ไปสู่ “การท�ำได้จรงิ ” (Performance) ซ่ึง from K to P นี้
มชี ่วงหา่ งทก่ี ว้างมากพอสมควร) ในท่นี จ้ี งึ จะตอกย้�ำอีกคร้งั หนึง่ เพ่ือให้
ม่นั ใจวา่ “เร่อื งนี้ไม่ใช้การสาธิตไมไ่ ดแ้ ล้ว”
(3.1) กบั เนอื้ หาบางประเภท ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารสาธติ เทา่ นนั้
จะใช้การส่งเอกสารมาใหอ้ ่านเอาเอง หรือแคก่ ารพูดอธบิ ายอย่างเดียว
(โดยไมม่ กี ารทำ� ทา่ ประกอบไมไ่ ด)้ ตวั อยา่ งในชวี ติ ประจำ� วนั กเ็ ชน่ เวลา
ขนึ้ เครื่องบนิ แอรโ์ ฮสเตสจะต้องสาธิตวิธกี ารใชอ้ ปุ กรณค์ วามปลอดภัย
เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินเสมอ เน่ืองจากเน้ือหาประเภทน้ีเป็นเร่ืองคอขาด
บาด(ถึง)ตายเลยนน่ั เอง
(3.2) กับคนบางกลุ่ม ก็ต้องใช้วิธีการสาธิตเท่านั้น
146
ตัวอยา่ งเช่นกลุ่มคนทีเ่ ปน็ ชาวบา้ น ซงึ่ มีวัฒนธรรมการเรียนรู้ดว้ ยการ
“ดูตวั อย่างเปน็ หลกั ” โดยจะไม่คอ่ ยเรียนรดู้ ้วย “การฟังค�ำอธบิ ายเพยี ง
อย่างเดยี ว” ในขณะที่ฟัง (โดยเฉพาะเร่อื งราวทไ่ี ม่มปี ระสบการณ์จรงิ
รองรับ) ชาวบา้ นจะไม่สามารถสร้าง “ภาพในใจ” ขนึ้ มาได้ ดงั น้ัน
จำ� เปน็ ต้องมี “ภาพนอกใจ” มาประกอบการพดู ดังนนั้ การส่อื สารโดย
เปดิ 2 ช่องทาง คือทั้ง(หู)ฟังและทัง้ (ตา)ดู (ซึ่งกค็ ือแก่นหลักของการ
สาธิต) จะเหมาะในการเรียนรู้ของชาวบา้ น
(3.3) กบั เนอ้ื หาทม่ี คี วามยากและสลบั ซบั ซอ้ น การสาธติ
จะช่วยได้ เนือ่ งจากการสาธิตสามารถใช้การสรา้ งสถานการณ์จำ� ลอง
ข้นึ มาได้ ดงั นนั้ เราจงึ สามารถจะ “ขยายเวลาใหช้ า้ กวา่ ของจริง” (หรอื
แมแ้ ตห่ ยดุ เวลาได)้ “ขยายภาพใหใ้ หญข่ น้ึ กวา่ ของจรงิ ” “เขา้ มาดรู ะยะ
ใกลๆ้ ” และอีกสารพดั วธิ ขี องการจ�ำลอง ดงั นั้น ส�ำหรบั เนอื้ หาท่ียากที่
จะเข้าใจหรือมีความสลับซับซ้อน เราจึงสามารถจะใช้การสาธิตค่อยๆ
“แกะข้ันตอน/ช้ินส่วนท่ีซับซ้อนออกมาท�ำความเข้าใจอย่างช้าๆ อย่าง
ละเอียด อย่างซำ้� ไปซำ�้ มาได”้
ภาพจาก: Freepik.com
(4) ฟงั ก์ชัน่ การใช้งานจากวธิ กี ารสาธิต ดังไดก้ ลา่ วถึง 2 รูป
แบบของการสาธิตตามหลักวชิ าการ ในโครงการ ASCBR น้ีได้ประยกุ ต์
ใช้การสาธิตทง้ั 2 รปู แบบในฟังกช์ ่ันต่อไปนี้คือ
(4.1) การแสดง “วา่ ทำ� อยา่ งไร” (how to) ซง่ึ เปน็ รปู แบบ
147
“การสาธติ วธิ กี าร” (Method demonstration) ตวั อยา่ งเชน่ เครอ่ื งมอื
การจัดกลุ่มท่ีมีข้อมูลดิบหลายสิบชุดกระจัดกระจายเป็นเบ้ียหัวแตก
วิทยากรกไ็ ด้สาธิต “ข้ันตอน” วา่ จะจัดกลุ่มขอ้ มูลดบิ ท่ีกระจดั กระจาย
นัน้ ได้อย่างไร
(4.2) การแสดงว่า “ของใหม่/วธิ ีการใหม่ดีกว่าของเกา่ /
วิธีเกา่ อยา่ งไร” ซึ่งเป็นรูปแบบการสาธติ ผลลัพธ์ (Result demon-
stration) เชน่ แตเ่ ดิมท่ีศูนย์ฯ เคยมีวธิ กี ารสรุป/จดั กลุ่มขอ้ มลู ด้วยวิธี
การ “เลอื กเก็บเฉพาะขอ้ มูลดิบบางชุดเท่านน้ั มาจัดกลุม่ ” และเลอื ก
ท้งิ ข้อมูลดบิ บางชนดิ ไป ในการฝึกอบรมครัง้ น้ีได้แสดงใหเ้ หน็ “วธิ กี าร
จดั กลมุ่ แบบใหม”่ ทไี่ มม่ กี ารเลอื กเกบ็ /เลอื กทงิ้ ขอ้ มลู ดบิ ชดุ ใดไปเลย”
แต่สามารถจัดกลมุ่ แบบครอบคลมุ ข้อมูลดิบทุกชุด
(4.3) การใชเ้ พื่อการตอกฝาโลง เมอ่ื วทิ ยากรมีหลักการ
วา่ “ขอ้ มูลดบิ ” นั้นจะยงั นำ� ไปใช้งานไม่ได้ ต้องน�ำเอาขอ้ มลู ดิบมาผา่ น
กระบวนการวเิ คราะหส์ ังเคราะห์ให้กลายเป็น “ข้อมูลสังเคราะห์” เสยี
กอ่ น จึงจะนำ� ไปใช้งานได้ เช่น ขอ้ มูลความคาดหวังของผ้เู ขา้ รว่ มท่ี
กระจัดกระจายเปน็ เบ้ียหัวแตก จะไม่ช่วยใหผ้ ้จู ดั การฝกึ อบรมทราบได้
เลยวา่ จะจดั กจิ กรรมการอบรมใหต้ อบสนองความคาดหวงั ของผเู้ ขา้ รว่ ม
ได้อยา่ งไร ในกรณนี ตี้ อ้ งสาธิตกระบวนการแปลงร่าง “ข้อมูลดบิ ” ให้
กลายมาเปน็ “ข้อมลู สงั เคราะห”์ ท่ีมหี น้าตาไม่เหมอื นกนั และนำ� เอา
ขอ้ มลู สงั เคราะหไ์ ปวางแผนออกแบบกจิ กรรมไดจ้ รงิ ๆ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ อบรม
“จบสิน้ ขอ้ สงสัยตา่ งๆ” เช่น ขอ้ มลู ดบิ กบั ข้อมูลสังเคราะห์มีหนา้ ตา
แตกตา่ งกนั อยา่ งไร จรงิ เหรอทขี่ อ้ มูลดบิ ตอ้ งสังเคราะหก์ ่อนจึงจะใชง้ าน
ได้ ฯลฯ
(4.4) การใชเ้ พ่อื การเป็นพยาน (Testimony) เพ่อื การ
ยืนยันรับรอง (Confirmation) ในชวี ติ ประจำ� วนั เราคงคุน้ ชินกบั คำ�
โฆษณาขายเครื่องไม้เครื่องมือต่างๆที่ระบุสรรพคุณว่าจะท�ำใช้อะไรได้
148
สารพัด (เช่น กระทะไมต่ ้องใช้นำ้� มนั เครื่องปัน่ น้�ำผลไมอ้ เนกประสงค์
ฯลฯ) ซงึ่ มกี ารสาธิตใหเ้ หน็ วธิ กี ารใช้ แตท่ ว่าเมอ่ื เราซ้ือเครื่องมือเหล่า
นนั้ มาใช้จรงิ ก็อาจจะไม่เกดิ สรรพคณุ ดังกลา่ วเลย บรรยากาศแบบน้ี
ย่อมตามมาหลอกหลอนในโครงการ ASCBR นี้เชน่ กันเม่อื วิทยากรได้
นำ� เอาเครื่องมอื A/S 12 ช้ินมาขายใหแ้ ก่ทมี พี่เล้ยี ง และทีมพีเ่ ลี้ยงนำ�
ไปขายตอ่ ใหก้ ับทมี นักวจิ ยั ชมุ ชน
ดงั น้ัน เพือ่ ยนื ยันหรือให้การรับรองว่า บรรดาเครือ่ งมอื และ
หลักการต่างๆทีต่ ดิ ตั้งไปแล้วจะสามารถน�ำไปใชง้ านได้จรงิ ๆ หลงั จาก
ติดตง้ั เคร่ืองมอื ชุดต่างๆไปแลว้ เชน่ การวเิ คราะห์ข้อเหมือน-ข้อตา่ ง
การวิเคราะหแ์ บบแผน ฯลฯ วทิ ยากรก็ต้องนำ� เอาเครือ่ งมือเหล่าน้มี า
สาธิตการใชเ้ พ่อื จดั ระบบ “ข้อมูลสดๆท่เี กิดขึน้ ในระหว่างการฝกึ อบรม
อยตู่ ลอดเวลาเมือ่ มโี อกาส” เพ่อื สร้างความมน่ั ใจให้กลุม่ เปา้ หมายเชื่อ
วา่ “ของเขาใช้งานได้จรงิ ๆ ไม่ใช่แคร่ าคาคยุ ”
(5) ชว่ งเวลาการใช้ จากบทเรยี นของการใช้วิธกี ารตดิ ต้งั ดว้ ย
การสาธิตน้ัน พบวา่ วธิ กี ารตดิ ตง้ั แบบน้ีสามารถจะไดใ้ ช้ในทกุ ช่วงเวลา
เพียงแต่ว่าการใช้ในแต่ละช่วงเวลานั้นอาจจะมีเป้าหมายที่แตกต่างกัน
ไป เชน่
(i) ใชใ้ นชว่ งเวลาท่ีตอ้ งการการตอกยำ้� ซ้�ำทวนแนวคดิ /หลัก
การน้ันๆ เช่น เมอ่ื ต้องการตอกยำ้� เครอ่ื งมอื การวเิ คราะหแ์ บบแผนซงึ่
เปน็ เครอ่ื งมอื ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งใชบ้ อ่ ยในงานวจิ ยั CBR ทม่ี งุ่ แสวงหา “รปู แบบ
ใหมๆ่ ” แตค่ วามเข้าใจเรือ่ ง “แบบแผน” ยงั ไมค่ ่อยเหน็ แจ้งแทงตลอด
ก็ตอ้ งนำ� เอาเครือ่ งมือการวิเคราะหแ์ บบแผนมาสาธติ บ่อยๆ
(ii) ใชใ้ นช่วงเวลาของเร่ืองเฉพาะๆบางเรอ่ื งทต่ี ้องการความ
แมน่ ย�ำ เชน่ เมอ่ื ตอ้ งการแสดงให้เหน็ อยา่ งชัดเจนว่า รปู แบบยอ่ ยๆของ
การระดมสมองท่แี ตกต่างกนั จะใหผ้ ลลพั ธ์ที่แตกต่างกัน การพดู สรุป
149
แตห่ ลักการเทา่ นค้ี งจะไม่เพยี งพอ หากทวา่ จะตอ้ งสาธติ ดว้ ยการระดม
สมองหลายๆรูปแบบใหเ้ หน็ กับตาถึงผลลพั ธ์ทีต่ า่ งกันเลย
(iii) ควรนำ� มาใชใ้ นชว่ งเวลาทเี่ กดิ ข้อผดิ พลาด/เกดิ ความไม่
เข้าใจ/ความไม่สมบูรณ์ครบวงจรของวธิ กี ารใชเ้ ครือ่ งมอื เช่น การใช้
เครื่องมือ SWOT analysis ท่หี ลงั จากวิเคราะห์แล้ว ก็ไม่สง่ ลกู ผา่ นต่อ
ไปในวงจรตอ่ ไป คือการน�ำผลการวิเคราะห์มาวางแผนกิจกรรมหรอื ใช้
เปน็ เครือ่ งมือตดิ ตามประเมนิ ผล เป็นต้น
(6) ขนั้ ตอนและกติกาในการด�ำเนินการ โดยทวั่ ไป เราจะ
แบง่ ขั้นตอนการตดิ ต้งั ความรูอ้ อกเปน็ 3 ชว่ งหลักๆคือ
(6.1) ขั้นเตรียมตัว (Pre-production) สำ� หรบั การสาธิต
นัน้ จะต้องมีการเตรียมตวั จากทง้ั 2 ฝา่ ยคอื ทงั้ ฝา่ ยผู้สอนและฝา่ ย
ผูเ้ รียน โดยเฉพาะในฝ่ายผู้สอนน้นั จะต้องมีการเตรียมตัวอยา่ งมากถงึ
มากทสี่ ดุ โดยทต่ี วั แปรเรอื่ งการเตรยี มตวั ของฝา่ ยผสู้ อนนค้ี อื หลกั ประกนั
ความสำ� เรจ็ ของการสาธติ เลยทเี ดียว
สิ่งท่ีฝ่ายผู้สอนต้องเตรียมนั้นมีต้ังแต่การเตรียมสถานท่ี
อุปกรณ์ เคร่อื งมือ เอกสารประกอบตา่ งๆ นอกจากน้นั กจ็ ะตอ้ งเป็นการ
เตรยี มกระบวนการวา่ ล�ำดบั ขัน้ ตอนตา่ งๆจะมอี ะไรบ้าง จะเรว็ ชา้ ในขนั้
ตอนไหน จะตอ้ งอธบิ ายอะไร/อย่างไร จะตอ้ งแสดงอะไรใหด้ ู ฯลฯ และ
โดยทั่วไปแลว้ ควรมกี ารซักซ้อมกระบวนการอยา่ งนอ้ ย 1 รอบ
ส่วนสิ่งท่ีฝา่ ยผู้เรยี นต้องเตรียมตัวกค็ อื การเตรียมความรู้
และข้อมลู เบือ้ งตน้ กบั ประเดน็ ทจี่ ะไปดูการสาธติ ท้งั นเ้ี พราะการสาธิต
มสี ่วนประกอบยอ่ ยส่วนหน่ึงของการเรียนรคู้ ือการดู (seeing) แต่ทวา่
ในการดูนนั้ หากไม่มี “ความร/ู้ ความคิดเป็นเขม็ ทิศนำ� ทาง” (เช่นรวู้ า่
จะต้องดูอะไร) กอ็ าจจะเกดิ ปรากฏการณ์ “แม้จะดู แตก่ ม็ องไมเ่ หน็ ”
หรือ”ได้เห็นสง่ิ ทไี่ ม่จำ� เป็น แตไ่ มไ่ ด้เหน็ สง่ิ ทีจ่ �ำเปน็ ต้องด”ู ก็เป็นได้
150