The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasrinp2009, 2022-12-10 03:11:28

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

3.เครื่องมือชั้นสูงการวิเคราะห์สังเคราะห์

(6.2) ข้นั ด�ำเนนิ การ (Production) ข้ันตอนของขั้น
ด�ำเนินการควรมีดังน้ี

(i) ควรมกี าร “ปฐมนิเทศ/เกรน่ิ นำ� ” (introduction) เพอ่ื
ต้ังคา่ ความเข้าใจของทั้งฝ่ายผูส้ าธิตและผเู้ รยี นว่า “เรากำ� ลังจะทำ� อะไร
เรากำ� ลังจะทำ� อย่างไร และจะมอี ะไรเกดิ ขึ้นบ้าง”

(ii) ในระหว่างดำ� เนนิ การ ตอ้ งควบคุมข้ันตอนตามทีไ่ ด้
วางแผนเอาไว้ (อยา่ ทำ� สดๆ ต้องทำ� ตามท่ีซอ้ ม) ตอ้ งระมดั ระวังความ
สับสนในขนั้ ตอนตา่ งๆ

(iii) ควรมกี ารตง้ั คำ� ถามนำ� ทงั้ กอ่ น-ระหวา่ ง-หลงั การดำ� เนนิ
การ คำ� ถามดังกล่าวจะช่วยทง้ั น�ำทางการสงั เกตและกระตุ้นความสนใจ
ในการดแู ละการฟังคำ� บรรยาย (ไมใ่ ช่การดไู ปเร่อื ยๆเม่อื ยก็หยดุ แตม่ ี
ปรศิ นาให้หาคำ� ตอบ)

(iv) ในระหว่างการสาธิต ควรมีการจดั ช่วงเวลาส�ำหรับ
“การซักถาม-ตอบคำ� ถาม” ซง่ึ อาจจะท�ำได้ตลอดเวลา หรือแยกออกมา
เป็นช่วงเวลาพิเศษแล้วแต่ว่าการสาธิตน้ันสามารถจะเข้มงวดหรือ
ยืดหย่นุ ใหม้ ีการแทรกแซงไดม้ ากน้อยแคไ่ หน

(v) ในบางข้นั ตอนที่มีความส�ำคัญมากๆ อาจจะมกี ารหยุด
เพือ่ ตอกยำ้� หรอื มีการท�ำซำ�้ ทวนใหด้ อู กี หลายๆรอบ

(6.3) ขั้นหลงั ด�ำเนนิ การ (Post-production) เปน็ อีกข้ัน
ตอนหนึ่งที่มีความส�ำคัญ เนื่องจากการสาธิตเป็นรูปแบบผสมระหว่าง
การฟังบรรยายประกอบการสังเกต ซ่ึงผู้เรียนแต่ละคนจะมีอัตราการ
ซึมซับและดดู กลืนความรู้ไดไ้ มเ่ ท่ากัน บางคนชา่ งสังเกตก็เหน็ ไดม้ าก
บางคนก็ผา่ นเลยสายตาไปหมด หรอื มีการสงั เกตทผ่ี ดิ พลาด/พลาดเปา้
ดังนน้ั การประมวลสรปุ สิ่งทไี่ ด้เรียนรู้จากการสาธิตจึงเปน็ การจัดระบบ
ความรู้ของกลมุ่ ผ้เู รียนให้เขา้ ทเ่ี ข้าทาง ด้วยการประกอบความร้คู นละ
เล็กละน้อยจากกลุ่มผู้เรยี นให้เป็นชดุ ความรทู้ ่ีสมบรู ณม์ ากข้นึ

151


ส่วนกติกาคร่าวๆที่ช่วยให้การติดตั้งด้วยวิธีการสาธิตใน
แตล่ ะคร้งั ไดผ้ ลบรรลุเป้าหมายมปี ระมาณนี้

(i) ผู้สาธิตต้องออกแบบการวางล�ำดับข้ันตอนให้ถูกต้อง
และชดั เจน ควรมกี ารซอ้ ม ควรมกี ารท�ำสครปิ ตข์ ้นั ตอน

(ii) ในขน้ั ตอนการนำ� เสนอ ตอ้ งใหค้ วามสนใจกบั จงั หวะเรว็
ช้า (rhythm) เพอ่ื ให้แน่ใจวา่ ผูเ้ รยี นจะสามารถติดตามได้

(iii) ต้องมีกระบวนการกระตุ้นความสนใจอยู่ตลอดเวลา
เช่น การช้ชี วนให้ดู ไมป่ ลอ่ ยใหผ้ เู้ รยี นดูชมเอาเอง หรือดูอยา่ งเงียบๆ

(iv) ตอ้ งเตรยี ม “คำ� ถามชีแ้ นะ” ที่ทำ� หน้าท่ีคลา้ ยๆปา้ ย
บอกทาง/ไกดก์ ารดู เพ่ือให้ “เหน็ ” สิง่ ทก่ี ารสาธติ ต้องการ

(v) ถา้ เปน็ ไปได้ การเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดเ้ ข้ามามีสว่ น
รว่ มดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ดว้ ยจะไดผ้ ลดยี งิ่ ขนึ้ เพราะเปน็ การประสาน
3 ชนั้ ทั้ง “หนึ่งปากวา่ ” “สองตาเหน็ ” และ “สองมือคลำ� ”

(vi) ในขน้ั ตอน Post-production ผู้สาธติ ควรจะมวี ธิ กี าร
ทจ่ี ะตรวจสอบว่าผู้เรียนมี “ภาพในหวั ” ของเรือ่ งราวท่สี าธติ อย่างครบ
ถว้ นกระบวนการ

(vii) การสาธติ นั้น ใช้ได้กบั เนือ้ หาทุกประเภท ไม่ว่าจะ
เปน็ การสาธิตการท�ำอาหาร การเล่นกีฬา การใช้เครือ่ งมือ ฯลฯ
(7) ใครเป็นคนสาธติ ไดบ้ ้าง ถึงแมว้ ่าโดยหลักการแล้ว การ
สาธติ จะดำ� เนนิ การโดยฝา่ ยผูส้ อน แตท่ วา่ หลักการนกี้ ส็ ามารถจะยดื
หยุ่นได้ด้วยการเปิดโอกาสให้คนหลายๆกลุ่มมาด�ำเนินการสาธิตได้
โดยยดึ เกาะอย่กู ับกตกิ าของการสาธิตให้มากท่ีสดุ เทา่ ที่จะเป็นไปได้
ผู้ท่จี ะมาสาธติ ได้อาจจะเป็น
(i) วทิ ยากรคนเดยี ว
(ii) วทิ ยากรรว่ มกับผเู้ รียนบางคน

152


(iii) กลุ่มผเู้ รียนเป็นผู้สาธติ เอง
(iv) ผเู้ ช่ียวชาญ/กลุ่มผเู้ ช่ยี วชาญ/วทิ ยากร (แบง่ บทบาทกนั เลน่
โดยวิทยากรอาจจะเล่นบทเป็นตัวแทนผู้เรียนด้วยการต้ังคำ� ถามต่อการ
สาธิต ดังเชน่ ในรายการท�ำอาหารทางโทรทศั นท์ ม่ี ีพิธีกรค)ู่
(8) ตัวอย่างรูปแบบของการสาธิตในโครงการ ASCBR
จากหลักการเบ้ืองต้นของวิธีการสาธิต ในการฝึกอบรมของโครงการ
ASCBR ได้น�ำ “แก่นของวิธีการสาธิต” มาประยุกต์ใช้ในหลายๆ
รูปแบบ ดังนี้
(i) การสาธติ ใหเ้ หน็ รายละเอียด เช่น เมอื่ ต้องการติดตัง้ วิธี
คดิ แบบมรี ะดบั (degree/ weight) ก็สาธิตด้วยการนำ� เสนอ Mind-
map 3 ระดับ คือ แบบพน้ื ฐาน แบบขัน้ สูง (advanced) และแบบ
ประณตี (deliberative) และเพือ่ แสดงใหเ้ หน็ รายละเอียดทแี่ ตกต่าง
กันในแต่ละระดับ ในการฝึกอบรมก็ได้สาธิตวธิ กี ารทำ� Mind-map
แบบประณีต (ซึ่งเปน็ ประสบการณใ์ หมข่ องทมี พ่เี ล้ียง) ไปด้วย
(ii) การสาธติ ให้เหน็ กระบวนการทส่ี รา้ งผลลพั ธ์ใหม่ๆ เชน่
สาธติ การสร้าง pattern ใหมจ่ ากหลายๆ pattern เดมิ ท่ีมอี ยูแ่ ลว้ ใน
โครงการวจิ ยั การแสวงหารปู แบบใหมข่ องการทำ� สวนผลไม้ บา้ นศาลเจา้
จ.ระยอง หรอื วิทยากรตอ้ งการจะ “เพิม่ วธิ ีการประเมินผลแบบใหม่เร่อื ง
การเสริมพลังปญั ญา” ที่เป็นวธิ กี ารทม่ี ีระบบ มที มี่ าจากหลกั การ/แนว
คดิ /ทฤษฎี หรอื การประเมินผลแบบที่มีระดับ/มดี ีกรี วทิ ยากรกส็ าธติ
ด้วยการท�ำใหด้ ูพรอ้ มทัง้ อธบิ าย “เบอ้ื งหลังการถา่ ยทำ� ประกอบด้วย”
(iii) การสาธติ ใหเ้ หน็ กระบวนการทสี่ รา้ งการเปลยี่ นแปลงอยา่ ง
เปน็ ล�ำดบั ขนั้ ซ่ึงกเ็ ป็นเอกลักษณข์ องวิธีการสาธิตอยแู่ ล้ว เช่น ลำ� ดับ
ขั้นตอนของการสรา้ งคำ� นิยามจากข้างลา่ ง (bottom-up definition)
(ดรู ายละเอยี ดในหนังสือชุดนีเ้ ล่ม 1: การวเิ คราะห์สังเคราะห์ในงาน

153


วจิ ัยเพ่อื ท้องถิ่น :ความเขา้ ใจเบ้อื งต้น)
(iv) การสาธิตวิธกี ารใชเ้ คร่อื งมือจากขอ้ มูลใหมๆ่ สดๆทเี่ กิด
ขึน้ ในระหว่างการฝกึ อบรม เช่น ขอ้ มูลจากการบ้านท่ที มี พเี่ ล้ียงส่งมา
วิทยากรไดส้ าธิตใช้เครือ่ งมือ pattern จดั แบ่งประเภทของวธิ กี ารทำ�
การบ้านให้ทีมพีเ่ ลย้ี งดู
(v) การสาธติ การแปลงรปู หลักการ/แนวคดิ ไปเป็นรปู แบบ
อน่ื ๆ เชน่ การสาธติ การแปลงแนวคดิ เรอื่ ง “การคดิ อย่างมีระดับ/มี
นำ�้ หนัก” ใหก้ ลายเป็นแบบทดสอบ การสาธติ การแปลงหลัก “ตารปู -
ตานาม” ให้เปน็ นิยามศัพทป์ ฏิบัตกิ าร การสาธติ การแปลงการ “มี
ขอ้ สอบโดยไม่ตอ้ งมีการสอบ” ใหก้ ลายเป็นกิจกรรมของกลุม่ เปน็ ต้น
(vi) การสาธิตให้เห็นความเป็นไปได้ของการยกระดับ/เพ่ิม
มูลค่าของการวเิ คราะห์สงั เคราะห์ เชน่ การนำ� เอาตวั อย่างรายงานของ
ศนู ยฯ์ ทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื การเปรยี บเทยี บเพยี งดา้ นเดยี ว (ดแู ตค่ วามแตกตา่ ง)
มาสาธิตให้เห็นว่า จากรายงานช้ินเดิม สามารถจะยกระดับเป็นการ
วิเคราะห์ท้ัง “จุดร่วมและจุดต่าง” และยังสามารถเปรียบเทียบแบบ
“คุมเกณฑ์” ดว้ ยการหาตานามมาต้งั เปน็ เกณฑ์ ซ่งึ จะทำ� ใหส้ ามารถ
เปรียบเทียบข้อมูลไดห้ ลายๆชดุ
(vii) การสาธิตด้วยการน�ำกรณีของจริงมาเปน็ ตัวอย่าง เชน่
การใชต้ ารปู -ตานามในการพฒั นาโจทยเ์ รอื่ ง “การบรหิ ารจดั การนำ�้ เสยี ”
ทีเ่ ปน็ ตวั อย่างของจรงิ ของศนู ยฯ์
(viii) การสาธติ ดว้ ยรูปแบบการอุปมาอปุ ไมย (Metaphor)
เช่นการสาธิตกรณีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของยุงกัดท่ีแสดงว่า
“ระดับความลำ้� ลึกของการวิเคราะหป์ ัญหา” จะส่งผลถึง “ระดับความ
ซบั ซ้อนของวธิ แี กป้ ญั หาดว้ ย”
(ix) การสาธติ “วิธกี ารสร้าง/ปรบั ประยกุ ต์เครื่องมอื ขึน้ มาใช้
เอง” (ทภี่ าษาคอมพวิ เตอรเ์ รยี กวา่ การ customize) ผ่านการสร้าง

154


แบบทดสอบชดุ ต่างๆ เช่น แบบวดั การเสรมิ พลังปญั ญาใหค้ รบสมองทั้ง
2 ขา้ ง เปน็ ต้น
(9) ข้อเดน่ และข้อจ�ำกดั ของวธิ ีการสาธิต ผ้เู ขยี นไดก้ ลา่ ว
แตะๆถึงคุณสมบัติท่ีดีและโดดเด่น รวมท้ังกติกาในการใช้ของวิธีการ
สาธิตมาในหลายๆที่แล้ว ดังนั้นข้อเด่นและข้อจ�ำกัดของวิธีการสาธิตก็
มกั จะเกิดขึน้ เมอ่ื ผใู้ ชไ้ มส่ ามารถทำ� ตามกตกิ าที่วางเอาไว้ได้ ในทน่ี ้จี งึ
จะขอเสรมิ ขอ้ เดน่ และขอ้ จำ� กัดของวธิ ีการสาธติ เพิ่มเติมดงั นี้

(9.1) ขอ้ เด่น การสาธิตมีข้อเดน่ หลายประการ เช่น เปน็
การเรยี นรผู้ ่านประสบการณ์ตรงของผเู้ รยี น ทำ� ให้เรยี นรไู้ ด้เรว็ และจดจ�ำ
ได้ และสามารถเรยี นไดค้ ร้ังละหลายๆคน โดยทีก่ ารใช้วิธีการสาธิตนั้น
ก็ยังเป็นกระบวนการทางอ้อมที่ช่วยฝึกฝนให้ผู้เรียนเพ่ิมพูนทักษะใน
การสังเกตและจดบนั ทึก และสำ� หรบั ในกรณที ่ีการเรยี นรูน้ ั้นอาจจะไม่
ปลอดภยั (เชน่ การขนึ้ เครอื่ งบิน) การเรียนรู้ผ่านการสาธติ ก็ชว่ ยใหเ้ กดิ
ความปลอดภยั มากข้ึน

(9.2) ขอ้ จำ� กดั ดงั ทก่ี ลา่ วมาแลว้ การเรยี นรผู้ า่ นการสาธติ
จะตอ้ งมีการเตรยี มความพร้อมท้ังฝา่ ยผ้สู าธติ และฝา่ ยผ้เู รยี น ซึง่ ฝ่าย
แรกนน้ั อาจจะมองเหน็ ความจ�ำเปน็ ได้ชดั เจน แต่การเตรียมตวั ในฝ่าย
ผเู้ รยี นนน้ั ยงั อาจมองไมเ่ หน็ ความจำ� เปน็ เทา่ ใดนกั และเมอ่ื มกี ารตบมอื
ขา้ งเดยี ว กค็ งจะดงั ไปไมไ่ ด้ เพราะมแี ตก่ ารเตรยี มตวั ทด่ี ขี องฝา่ ยผสู้ าธติ
แตผ่ ู้เรียนกลบั มองไมเ่ ห็น

สว่ นขอ้ จำ� กดั ทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ จากฝา่ ยผสู้ าธติ กค็ อื การไมท่ ำ�
ตามกติกาท่ีไดก้ ล่าวมาแล้ว รวมทง้ั อาจจะเกิดจาก spec บาง spec
ของการสาธิต เชน่ จำ� นวนผ้เู รียนมีมากเกนิ ไป ทำ� ให้การเข้าถึงพ้ืนท่ขี อง
การสงั เกตเป็นไปอย่างไม่ทว่ั ถึง เป็นตน้

155


วธิ ีการตดิ ต้ังที่ 10 : เทคนคิ การใชบ้ ัตรค�ำ
เทคนิคการใชบ้ ัตรค�ำ (Card technique) เป็นเทคนคิ เล็กๆที่
มีการใชอ้ ย่างแพร่หลายทง้ั ในสถาบันการศกึ ษา และในการจดั ประชมุ
การฝึกอบรม การสมั มนาทว่ั ๆไป รวมท้งั ศูนยฯ์ เองก็มปี ระสบการณ์การ
ใชบ้ ัตรค�ำมาอยา่ งต่อเน่ือง อยา่ งไรกต็ าม อาจจะเนอื่ งจากเทคนคิ การ
ใช้บตั รค�ำเปน็ เทคนคิ ที่เป็น “ตวั ประกอบเล็กๆ” ในการใช้งาน จึงอาจจะ
ใช้เพียงแค่เป็น “ระดับเทคนิค” เท่าน้ัน หากทวา่ ยงั ไม่ลงลกึ ไปถึง
“หลักการ/แนวคดิ ” (principle) ที่อยขู่ า้ งหลงั ทำ� ใหม้ ีการใชใ้ นรูปแบบ
เดมิ ๆ ไมม่ กี ารพลกิ แพลงหรอื พัฒนาให้มรี ปู แบบทห่ี ลากหลายขน้ึ หรอื
น�ำไปใช้แบบไมค่ รบวงจร ใช้เทคนคิ นอี้ ย่างไมเ่ ต็มศักยภาพ เป็นต้น
ดงั นน้ั ในการทบทวนประสบการณเ์ รอ่ื งวธิ กี ารตดิ ตง้ั ความรเู้ รอ่ื ง
เครอ่ื งมือ A/S ผา่ นวธิ ีการเทคนคิ การใช้บตั รคำ� ในโครงการ ASCBR นี้
จึงพยายามเสริมด้านแนวคิดท่ีก�ำกับอยู่ข้างหลังเทคนิคการใช้บัตรค�ำ
และไดท้ ดลองสรา้ งรปู แบบและฟงั ก์ชัน่ ใหมๆ่ ของเทคนคิ นไ้ี ปพร้อมๆกัน

156


(1) เทคนคิ การใชบ้ ตั รคำ� คืออะไร เทคนคิ บัตรค�ำเป็นรูปแบบ
ยอ่ ยประเภทหน่งึ ของการระดมสมอง (Brainstorm) ดงั นั้นจงึ มีคณุ -
สมบตั ิโดยท่วั ไปเหมอื นการระดมสมองแบบอ่นื ๆ เช่น สามารถสร้าง
การมสี ว่ นรว่ มของผเู้ ข้าประชุมได้ดี (สนใจเรือ่ ง “การระดมสมอง” โปรด
ย้อนกลบั ไปอา่ นหนังสือเลม่ 1: การวิเคราะห์สงั เคราะห์ในงานวจิ ัย
เพ่อื ทอ้ งถ่นิ : ความเข้าใจพื้นฐาน ในหนังสอื ชุดไตรภาคนี)้ หากทว่า
“คณุ ลกั ษณะพเิ ศษ” ของการระดมสมองแบบใชบ้ ตั รคำ� ก็คอื วธิ กี าร
แสดงความคดิ เหน็ /การมสี ว่ นรว่ มนนั้ แทนที่จะใช้ “รูปแบบการพดู
แสดงความคิดเห็น” ก็เปล่ียนไปใช้ “การเขียนความคิดเห็นลงใน
กระดาษการ์ดทวี่ ทิ ยากรได้จัดเตรียมมาให้”
การเปลย่ี นรปู แบบการแสดงการมสี ว่ นรว่ ม/ความคดิ เหน็ ดงั กลา่ ว
สง่ ผลสบื เน่อื งตามมาหลายประการ เชน่
(i) เป็นการกระจายและขยายเวลาของการมีส่วนร่วมออกไป
หลายเท่าตัว เพราะเวลาพูดนั้น เราต้องพูดทีละคน แต่เวลาเขียน
แต่ละคนเขียนได้พร้อมๆกัน การกระจายและขยายเวลาน้ีเท่ากับเปิด
โอกาสใหท้ กุ คนได้มีส่วนรว่ ม (ในขณะทีร่ ูปแบบการพดู นั้น คนทข่ี อ้ี าย
อาจจะไมก่ ลา้ พูด)
(ii) เมอ่ื ทกุ คนไดม้ โี อกาสแสดงความคดิ เหน็ ปรมิ าณข้อมลู ท่ี
ไดจ้ ากผู้เขา้ รว่ มจึงมีมากข้นึ หลายเทา่ ตัวไปดว้ ย
(iii) ในขณะทกี่ ารพูดนัน้ ขอ้ มูลอาจจะสญู หายไปหากไมม่ ีการ
จดบนั ทึก ท�ำให้นำ� เอาขอ้ มลู ไปใชง้ านตอ่ ไม่ได้ แตเ่ ทคนคิ การใช้บัตรค�ำ
นนั้ ขอ้ มูลจะถกู บันทกึ อย่แู ล้วในบตั รคำ� ดังน้ันจึงสามารถนำ� เอาขอ้ มูล
ไปใชง้ านต่อได้
(iv) แต่ในขณะทีม่ ีขอ้ ดขี องการใชบ้ ัตรค�ำหลายประการทีก่ ลา่ ว
มา แต่การใช้บัตรค�ำน้ันก็ต้องมีเง่ือนไขพิเศษเบ้ืองต้นบางประการ
เช่น จะใช้ได้กับกลุ่มเป้าหมายท่ีมีความสามารถในการเขียนเท่าน้ัน

157


และวธิ กี ารเขยี นกต็ อ้ งมลี กั ษณะพเิ ศษคอื เขยี นสรปุ ความคดิ เปน็ ขอ้ ความ
สั้นๆ มิใช่การพรรณนาหรือบรรยายอย่างยืดยาว เนื่องจากกระดาษ
การด์ มีพื้นทจ่ี ำ� กัด ซ่ึงเงอ่ื นไขการเขยี นเหล่าน้ี วทิ ยากรจะต้องอธบิ ายให้
ชัดเจน และผู้เขา้ ร่วมประชุมก็ต้องมีความสามารถทีจ่ ะสรปุ ความคดิ ได้
ในระดับหนึ่ง
(2) เปา้ หมายของการใชเ้ ทคนคิ บตั รคำ� การใชเ้ ทคนคิ บตั รคำ�
น้นั สามารถใช้ไดใ้ นหลายเปา้ หมายทง้ั ในฐานะ “เคร่อื งมือสร้างการมี
สว่ นรว่ ม” (tool for participation) เครอ่ื งมอื แสดงความคดิ เหน็ (tool
for opinion expression) เครอ่ื งมือส�ำหรบั เก็บข้อมลู (tool for
data collection) ฯลฯ ดงั นนั้ ในการใช้แตล่ ะครงั้ ผ้ใู ชเ้ ทคนคิ นจี้ ึงควร
ระบเุ ป้าหมายของการใช้บัตรค�ำในครัง้ นัน้ ๆให้ชัดเจน เพราะเปา้ หมาย
ดังกล่าวจะส่งผลไปถึงข้ันตอนการออกแบบกระบวนการ/ขั้นด�ำเนินการ
ตัวอย่างง่ายๆก็เช่น หากใช้บัตรค�ำเป็นเพียงการสร้างบรรยากาศของ
การมีส่วนร่วม วิทยากรก็คงไม่ต้องเอาจริงเอาจังกับข้อมูลท่ีเขียนใน
บตั รคำ� มากนัก แต่หากใชเ้ ทคนิคนเ้ี พ่ือเป็นเครอื่ งมือเกบ็ ขอ้ มลู ก็ตอ้ ง
จริงจงั กับข้อมลู ทเ่ี ขียนในบตั รค�ำใหม้ ากขึน้ เป็นตน้
ตวั อยา่ งของเปา้ หมายในการใชเ้ ทคนิคบัตรคำ� อาจมไี ดด้ งั น้ี
(i) เพอื่ สรา้ งบรรยากาศของการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ
ดว้ ยการ “เปดิ ชอ่ งให้ขอ้ มลู จากผูเ้ ข้าร่วมประชมุ ” ไหลเขา้ มาเป็นส่วน
หนึง่ ของเนอ้ื หาของการประชมุ
(ii) เพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ การมสี ว่ นรว่ มนจี้ ะเปน็ ไปอยา่ งกวา้ งขวาง
และครอบคลมุ ทกุ คนโดยไมถ่ ูกจ�ำกดั ด้วยเงือ่ นไขของเวลา จำ� นวนผู้เขา้
รว่ ม และบุคลกิ ส่วนตัวของผู้เข้ารว่ มประชมุ (ทเ่ี ปน็ ปัญหาหลกั ของการ
พดู นำ� เสนอความคดิ ภายในเวลาทีจ่ �ำกดั และมีผู้เขา้ ร่วมมาก หรอื คนที่
ขีอ้ ายไมก่ ล้าพดู ในทป่ี ระชุม)

158


(iii) เพ่ือสรา้ งความค้นุ เคยในการแสดงความคิดเหน็ อยา่ ง
มสี ่วนรว่ มอย่างตอ่ เนอื่ ง สำ� หรับผเู้ ข้ารว่ มประชมุ ครัง้ แรกๆท่มี กี ารใช้
เทคนิคน้ี อาจจะยงั ไม่คุน้ เคย แต่เมื่อผ้จู ดั การประชุมใชเ้ ปน็ ประจ�ำ ผ้เู ข้า
ร่วมกจ็ ะเริม่ คนุ้ เคยมากขนึ้
(iv) สรา้ งความคนุ้ เคยในการเขยี นแสดงความคดิ เหน็ ดงั ท่ี
ได้กลา่ วมาแล้ว การใช้บตั รคำ� นัน้ กำ� หนดรูปแบบการแสดงออกดว้ ยการ
เขยี นความคดิ เห็น/ขอ้ มูลเป็นขอ้ ความสน้ั ๆ เน่อื งจากพื้นท่ีอันจำ� กัดของ
กระดาษการ์ด ซ่ึงในระยะแรกๆ กล่มุ เป้าหมายโดยเฉพาะที่เปน็ ชาวบา้ น
อาจจะยงั ไม่คนุ้ เคยและยงั ไมส่ ามารถจะปฏิบัติตามได้ แต่เมอื่ มกี ารใช้
บ่อยคร้ัง ผู้เข้าร่วมประชุมทุกกลุ่มก็จะเร่ิมส่ังสมความช�ำนาญในการ
แสดงออกผา่ นชอ่ งทางการเขยี นความคิดเหน็ แบบสัน้ ๆ
(v) สร้างความเทา่ เทยี มในการแสดงความคดิ เหน็ ในการ
แสดงความคิดเห็นด้วยวธิ กี ารพดู น้ัน วิทยากรจะควบคมุ กระบวนการได้
คอ่ นขา้ งยาก เพราะผเู้ ข้าร่วมทีช่ ่างพูด พดู เก่ง หรอื กลา้ พูด ฯลฯ กจ็ ะ
ไดใ้ ช้โอกาสแสดงความคดิ เหน็ เป็นส่วนใหญ่ และปดิ กัน้ โอกาสคนทพ่ี ูด
ไม่เกง่ คนไม่กล้าพูด (ซึ่งอาจจะมคี วามคิดเหน็ ดีๆ) ดงั นน้ั รปู แบบของ
การใชบ้ ตั รคำ� จงึ ช่วยสรา้ งความเท่าเทียมในการแสดงความคดิ เห็น และ
ยังท�ำให้เกดิ ความรอบดา้ นและความสมดุลของขอ้ มลู อกี ดว้ ย
(vi) เปา้ หมายสุดท้ายก็คือ หากวทิ ยากรตอ้ งการน�ำขอ้ มูลจาก
ผเู้ ข้าร่วมไปใชง้ านตอ่ ไป รูปแบบการเขียนในบัตรคำ� ก็เปน็ หลักประกันที่
ดที ส่ี ดุ วา่ ขอ้ มูลจะไม่สญู หายหรือตกหล่นในระหวา่ งทาง นอกจากนั้น
“แหล่งข้อมูล”ทบ่ี ันทึกกย็ ังเป็น “แหล่งขอ้ มลู ตน้ ทาง” (เจ้าของขอ้ มลู
บันทึกเอง) ไมผ่ า่ นการดดั แปลงหรือตีความจาก “ผ้บู นั ทึกการประชมุ ”
ซ่ึงไมใ่ ชเ่ จา้ ของขอ้ มลู
จากเปา้ หมาย 5-6 ประการทีก่ ล่าวมานี้ หากผู้ด�ำเนนิ การ
ต้องการท�ำให้บรรลุเป้าหมายก็ต้องยึดกติกาส�ำคัญๆของการใช้บัตรค�ำ

159


เชน่
(ก) ต้องให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น (ไม่ใช้หลักสมัครใจ

“ใครใคร่เขียนกเ็ ขียน” ควรขอร้องให้เขียนทกุ คน)
(ข) เหน็ คุณค่าของทุกความคิดเหน็ ท่แี สดงออก
(ค) ไมต่ ดั ความคดิ เห็นของใครทิ้งไป
(ง) อธิบายวิธีการเขียนแบบพิเศษของการเขียนบัตรค�าให้ผู้เข้า

ร่วมประชุมเขา้ ใจอย่างกระจา่ ง
(ฉ) อาจมีชาวบ้านบางคนพกพาทัศนคติ
“ลายมอื ไมด่ ี ตอ้ งขอโทษทเี พราะความรตู้ า�่ ”
ท�าให้ไม่กล้าเขียนเพราะลายมือไม่สวย
วิทยากรควรช้ีแจงว่า เร่ืองน้ีไม่ใช่ประเดน็
สลักสา� คญั เลย

(3) ชว่ งเวลาของการใช้งาน เทคนิคการใชบ้ ัตรคา� กเ็ ป็นอีก
เทคนิคหน่ึงท่ีมีความคล่องตัวและยืดหยุ่นมากในเร่ืองช่วงเวลาของการ
ใชง้ าน เพราะสามารถจะนา� ไปใช้ในชว่ งเวลาใดของการท�าวิจัยหรอื การ
จัดประชมุ ก็ได้ โดยดดั แปลงรูปแบบการใชใ้ ห้เหมาะกบั แต่ละช่วงเวลา
ตัวอยา่ งเช่น

(3.1) ช่วงตน้ น�้า สามารถใชบ้ ัตรคา� ในการระดมความคิด
เหน็ (เชน่ ความคิดเหน็ ต่อโครงการวิจยั ) การระดมความคาดหวัง การ
ระดมความเข้าใจ (เช่น คิดวา่ งานวิจัยคอื อะไร ชาวบา้ นจะทา� ไดไ้ หม
คิดว่างานวจิ ัยจะมีประโยชนอ์ ะไรกบั ชาวบ้าน ฯลฯ) ในการจัดฝกึ อบรม
หลักสูตรต่างๆของศนู ย์ฯ ก่อนท่ีจะมีการทา� กิจกรรมอืน่ ๆ กิจกรรมเปดิ
มา่ นอนั ดบั แรกเลยมกั จะเปน็ การระดมความคาดหวงั และความตอ้ งการ
ของผเู้ ข้ารว่ มอบรม อยา่ งนอ้ ยกเ็ ปน็ การแสดงเจตนารมย์วา่ ฝา่ ยผจู้ ดั
อบรมพร้อมจะเปิดหูเปิดตารับฟังความคาดหวังและความต้องการของผู้

160


เข้าร่วมอบรมเพื่อน�ำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบกิจกรรมที่จะ
ร่วมเดินทางไปด้วยกนั

(3.2) ชว่ งกลางนำ้� สำ� หรบั ในงานวิจยั ช่วงนจ้ี ะเป็นชว่ ง
การสรา้ งเครอ่ื งมอื เกบ็ ขอ้ มลู และไปเกบ็ ขอ้ มลู มา สว่ นในการจดั ประชมุ
หรอื ฝกึ อบรม ก็อาจจะเปน็ ชว่ งกลางๆของการประชุม ดงั น้ันการใช้
บตั รคำ� ในงานวจิ ยั กม็ กั จะเปน็ ไปเพอ่ื น�ำเอาขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ มาไดม้ าประมวล
สรุป มาจัดการหาความถี่ มาจดั กลุ่ม ฯลฯ ซง่ึ การใช้บัตรคำ� สามารถ
ช่วยในการจดั กลมุ่ ขอ้ มลู ได้

ในกรณีของการจัดประชุม อาจจะใช้บัตรค�ำเพื่อส�ำรวจผล
การเรียนรู้ท่ีผ่านมาคร่ึงทางว่า ผู้เข้าประชุม/อบรมได้เรียนรู้อะไรบ้าง
ในการนี้ บัตรค�ำก็จะท�ำหน้าท่ีเป็น “เคร่ืองมือในการติดตามผล/
ประเมินผล” (Monitoring tool) หรอื ใชส้ ำ� รวจความคิดเห็นเกย่ี วกบั
“กระบวนการฝึกอบรมท่ีผ่านมาคร่ึงทาง” เพ่ือน�ำเอาข้อมูลจากผู้เข้า
ประชุม/อบรมมาปรบั กระบวนการทีเ่ หลือตอ่ ไป

(3.3) ช่วงปลายน�้ำ ในงานวจิ ยั CBR ช่วงปลายนำ้� ระดับ
ต้นๆอาจจะเป็นช่วงรอยต่อของการค้นคิดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาที่
สำ� รวจข้อมลู มาได้ ซ่ึงก็อาจจะใช้บตั รคำ� เพ่ือการระดมความคิดเหน็ ใน
การออกแบบกจิ กรรม หรอื หากเปน็ ช่วงสดุ ทา้ ยของการวจิ ัยหรือการจดั
ประชุม/ฝึกอบรม กส็ ามารถจะใชเ้ ทคนคิ บัตรคำ� ในการประมวลสรปุ การ
เรยี นรูท้ ี่เกิดข้ึน รวมทั้งใช้เปน็ เคร่ืองมือการประเมนิ ผลการประชุม เช่น
เทคนคิ “การขอ 3 คำ� ส�ำหรบั สรุปว่าการประชมุ น้เี ปน็ อย่างไร” เปน็ ตน้
หรอื การแจกดาวให้กับการประชมุ (1 ดาว 2 ดาว 4 ดาว) พรอ้ มช้แี จง
เขียนเหตุผลในบตั รค�ำ เป็นต้น
(4) ขั้นตอนการดำ� เนนิ การ เปน็ ไปในลักษณะเดียวกบั การ
ระดมสมองโดยท่วั ไป คอื มีการแบ่งเป็น 3 ขน้ั ตอน

161


(4.1) ขน้ั เตรียมการ (Pre-production) นอกเหนือจาก
การเตรยี มการแบบการระดมสมองท่ัวๆไปแล้ว ลักษณะพิเศษทีต่ ้องมี
เพิม่ เตมิ ในเทคนิคการใช้บตั รค�ำก็คอื

(i) การเตรยี มอปุ กรณ์ เนอ่ื งจากเทคนคิ น้ี มกี ารใชอ้ ปุ กรณ์
บางอยา่ งเป็นตวั ช่วยส�ำคัญ เชน่ บัตรทจ่ี ะใช้เขียนขอ้ ความ ปากกาที่
จะใช้เขียน ฯลฯ ดงั นั้น จงึ ตอ้ งมกี ารเตรียมอปุ กรณ์เหลา่ น้เี ปน็ อย่างดี
เร่ิมต้ังแต่ปริมาณ/จ�ำนวนของบัตรค�ำและปากกาจะต้องมีให้เพียงพอ
ส�ำหรับผเู้ ขา้ ร่วม

(ii) ในกรณที ม่ี หี ลายหวั ขอ้ ทจ่ี ะใหเ้ ขยี น ควรใชบ้ ตั รคำ� คนละ
สสี ำ� หรับแต่ละหัวข้อ และในการให้คำ� สง่ั กบั ผ้เู ข้าประชมุ ควรจะตอกย�้ำ
ใหช้ ดั เจนว่า หัวขอ้ อะไรเขียนลงในบัตรสอี ะไร

(iii) ในกรณีท่ตี อ้ งการเอาข้อมลู ในบัตรค�ำมาใชใ้ นงานต่อ
เชน่ มาจัดหมวดหมู่ ควรใชก้ ระดาษการ์ดทีม่ กี าวด้านหลังเพอ่ื สะดวก
ต่อการโยกยา้ ยบตั รค�ำไปยังจุดอื่นๆได้ จะไดง้ า่ ยตอ่ การจดั กล่มุ

(iv) ต้องเตรียมโจทย์/ค�ำถามย่อยให้ชัดเจน ในกรณีท่ีมี
หลายค�ำถาม ควรเขยี นลง powerpoint พรอ้ มระบสุ ขี องบัตรคำ� ของ
แต่ละโจทย์ย่อยก�ำกับไว้ เวลาด�ำเนินการ จะได้ฉาย powerpoint
ประกอบไปดว้ ย

(v) เตรยี มคดิ ไวล้ ว่ งหนา้ วา่ จะตอ้ งใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มประชมุ เขยี น
ชอื่ ของตนเองกำ� กบั เอาไวบ้ นบัตรคำ� หรอื ไม่ (ซึง่ กแ็ ลว้ แต่วตั ถุประสงค์
ของผู้จดั ประชมุ )

(vi) เตรยี มออกแบบกระบวนการวา่ จะให้เขียนบตั รคำ� เปน็
รายบุคคลหรือเป็นกลุม่ ในกรณีเป็นกลุม่ จะแบ่งกลมุ่ อย่างไร

(4.2) ขน้ั ด�ำเนินการ (Production)
(i) ก่อนจะเริ่มปลอ่ ยโจทย์ ต้องบอกหลักการเขียนใหช้ ดั เจน
เชน่ เขียนแนวนอน เขยี นด้วยปากกาหัวใหญ่ เขียน 1 ข้อมลู ต่อบัตรคำ�

162


1 ใบ
(ii) การปล่อยโจทย์ ต้องปล่อยโจทย์/ค�ำถามย่อยอย่าง

ชัดเจน อาจมกี ารยกตัวอยา่ งประกอบให้เหน็ ภาพ
(iii) มกี ระบวนการกระตนุ้ แบบการระดมสมอง เชน่ ขอ้ ความ

ที่เขยี นไม่มผี ิดไม่มถี ูก ไม่ต้องกังวลเรอื่ งลายมอื ไม่สวย หรอื กลวั เขียน
ภาษาผดิ ๆ เปน็ ตน้

(iv) บอกกตกิ าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ ตอ้ งเขยี นชอ่ื หรอื ไม่ ใหเ้ วลา
เทา่ ไหร่

(v) อาจใชเ้ ทคนิคกระตนุ้ หรอื เตรียมความพร้อมก่อนจะให้
ลงมือเขียน เชน่ การฉายวดิ โี อ การเล่าเร่อื ง การบอกทีม่ าทไ่ี ปของการ
เขยี นบตั รคำ� หรือท่มี าท่ไี ปของโจทย์ เปน็ ตน้

(4.3) ข้นั หลงั ด�ำเนินการ (Post-production) มีวิธีการ
จดั การในข้นั หลังดำ� เนินการหลายแบบ ซ่งึ แลว้ แต่เปา้ หมายของการใช้
บตั รค�ำดงั ที่ไดก้ ลา่ วมาแลว้ ดังน้ี

(i) หลงั จากวทิ ยากรเกบ็ รวบรวมบตั รคำ� จากผเู้ ขา้ ประชมุ แลว้
กไ็ ม่ไดท้ �ำอะไรตอ่

(ii) หลงั จากทเี่ กบ็ รวบรวมบตั รคำ� จากผเู้ ขา้ รว่ มแลว้ ในกรณี
ท่ีจำ� นวนบัตรค�ำมีไม่มาก วทิ ยากรอาจจะอ่านข้อความในบัตรคำ� ทกุ ใบ
ใหก้ ลุ่มผูเ้ ขา้ ประชมุ ไดร้ บั ฟังร่วมกนั ซง่ึ ทำ� ให้ทกุ คนไดฟ้ งั ข้อมูลท้งั หมด
ของกลมุ่ แตห่ ากมีจำ� นวนบตั รค�ำมาก ก็อาจจะเลอื กบางบัตรคำ� มาอ่าน
ใหฟ้ ัง

และในระหว่างท่ีอ่านบัตรค�ำ อาจมีการซักถามเพ่ิมเติม
หากวิทยากรไม่เข้าใจหรือเข้าใจไม่ชัดเจนในข้อความที่เขียนมา หรือ
อาจจะใชเ้ ปน็ ประเดน็ เพ่ือการพูดคุยอภปิ รายในกลมุ่ ไปเลย

(iii) มกี ารน�ำบตั รค�ำไปจัดกล่มุ ใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ แล้วน�ำไป
ตดิ บนบอรด์ /ฝาผนงั หอ้ งเพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ ประชมุ ไปศกึ ษาเรยี นรู้ (ถา่ ยรปู ดว้ ย)

163


ตามอัธยาศัย (เป็นการคืนขอ้ มูลแบบตามธรรมชาติ)
(iv) มีการน�ำบัตรค�ำไปจัดกลุ่มให้เป็นหมวดหมู่ แล้ว

วทิ ยากรน�ำมาคืนขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบให้กบั ผู้เข้าร่วมประชมุ เพ่ือเรยี นรู้
ร่วมกนั
(5) นานารปู แบบของการใชบ้ ตั รคำ� ดงั ทไ่ี ดเ้ กรน่ิ มาในตอนตน้
แล้วว่า เทคนิคการใช้บัตรค�ำเป็นวิธีการติดตั้งที่ศูนย์ฯมีต้นทุนความรู้
และทกั ษะการใชม้ าพอสมควรแลว้ ดงั นนั้ ในการฝึกอบรมในโครงการ
ASCBR จงึ ได้ทดลองต่อยอดและพัฒนารปู แบบการใชบ้ ัตรคำ� ในหลายๆ
รปู แบบดังน้ี

(5.1) แบบธรรมดา ตัวอย่างคลาสสิกท่ีมักจะพบเห็น
โดยท่ัวไปก็คือ วิทยากรจะต้ังหัวข้อ/โจทย์(ย่อย)ท่ีต้องการจะให้เขียน
(วทิ ยากรอาจจะตอ้ งอธบิ ายกฎกตกิ าเสยี กอ่ นในกรณที เ่ี ปน็ สมาชกิ ใหม)่
แล้วกป็ ลอ่ ยใหส้ มาชิกกล่มุ เขียนลงในกระดาษการด์ บตั รค�ำ

หลงั จากสมาชิกเขียนเสร็จแลว้ อาจจะให้สมาชิกน�ำบัตรคำ�
ท่เี ขยี นไปติดบนกระดาษฟลิบชาร์ตแผ่นใหญ่ โดยครง้ั แรกๆ อาจจะ
ปล่อยให้สมาชกิ ติดเองอย่างอสิ ระหรอื ทมี วิทยากรเปน็ ผตู้ ิดให้ แตเ่ ม่อื
สมาชกิ คุ้นเคยแลว้ ในระยะหลังๆวิทยากรอาจจะ “ตั้งกล่องจัดหมวด
หม”ู่ เอาไวใ้ ห้ แลว้ ให้สมาชกิ ติดให้ถูกกลอ่ ง หากใช้วิธกี ารแบบหลงั น้ี
ก็เทา่ กับเป็นการฝึกฝนการใช้เคร่ืองมอื การจดั กล่มุ ไปในตวั

แมแ้ ต่วธิ กี ารใชบ้ ตั รคำ� แบบธรรมดาน้ี ก็ยังอาจจะมกี ารเตมิ
ลีลาบางอย่างเข้าไป เชน่ ชว่ งก่อนจะปลอ่ ยโจทย์ อาจจะมีการฉายวดิ ีโอ
ให้ดูก่อนเปน็ การกระตุ้นรอบแรก หลงั จากดูจบ กใ็ ห้มกี ารพูดคยุ เกยี่ ว
กบั วิดโี อทด่ี เู ปน็ การกระตุน้ รอบสองแล้วจงึ ปิดทา้ ยดว้ ยการเขียนบตั รคำ�
ด้วยวิธกี ารเช่นน้ี ความคดิ เห็นหรอื ข้อมลู ท่สี มาชกิ ผู้เขา้ ประชมุ จะบนั ทกึ
ลงไปในบตั รคำ� น้ันจะ “ผ่านการขยี้มาหลายๆรอบ”

164


เชน่ เดียวกบั วธิ กี ารบันทกึ ก็สามารถทำ� ไดห้ ลายรปู แบบ รปู
แบบธรรมดาก็คือการเขยี นด้วยตวั อกั ษรเป็นขอ้ ความ หรอื หากตอ้ งการ
“บทสรุปดา้ นความรูส้ ึก” อาจจะให้เขียนเป็น “ภาพ/สัญลักษณ”์ หรอื
การใช้ “เทคนคิ ขอ 3 คำ� ทแี่ สดงคณุ ลกั ษณะสำ� คญั ๆของเรอื่ งทตี่ อ้ งการร”ู้
“การเปรียบเทียบการประชุมเหมือนรถยนต์ย่ีห้ออะไร หรือเป็นผลไม้
ชนิดไหน” เปน็ ตน้

(5.2) แบบตรวจข้อสอบ ส�ำหรับรูปแบบน้ี วิทยากรจะ
ตอ้ งเตรยี มตอบโจทยท์ ต่ี ง้ั เอาไวล้ ว่ งหนา้ มากอ่ น โดยอาจจะอา่ นมาจาก
หนังสือแนวคิดทฤษฎีหรืองานวิจัยอ่ืนๆ เช่น ประโยชน์ของเคร่ืองมือ
การจัดกลุ่ม (grouping) มอี ะไรบ้างตามหลกั วชิ าการ ส่วนในขั้นตอน
การดำ� เนินการกป็ ล่อยโจทย์ใหส้ มาชิกกลุ่มเขียนค�ำตอบลงในบัตรคำ�

หลังจากนนั้ วิทยากรก็เฉลยคำ� ตอบทั้งหมดทีเ่ ขยี นลงบน
กระดาษชารต์ แล้วให้สมาชิกกล่มุ ตรวจคำ� ตอบของตนเองกับคำ� เฉลย
โดยการตรวจร่วมกันทีละค�ำตอบ

อาจมีกรณที ค่ี ำ� ตอบของผเู้ ข้าอบรม “มีเกนิ มากกวา่ ” ค�ำ
ตอบเฉลย ซง่ึ กรณีนี้ถือวา่ เป็นความคิดสรา้ งสรรค/์ ชุดความรู้ใหม่ที่มา
จากประสบการณ์ทเี่ ปน็ จริง วทิ ยากรจะเขยี นเตมิ “ค�ำตอบเกนิ ” เพม่ิ
เข้าไปในกระดาษชารต์ เฉลยคำ� ตอบ สุดทา้ ยจะได้การประมวลคำ� ตอบ
ทง้ั หมด กระบวนการเชน่ น้ีคือตวั อย่างของแนวคิด “ร่วมดว้ ยช่วยกัน
สร้างความร”ู้ (Co-creation of knowledge) ที่ผสมผสานความรู้
จากทฤษฎี/หลักการเข้ากับความรู้จากประสบการณ์การทำ� งานที่เป็น
จริง และได้ “ขยายความรู้จากภายนอก” ใหม้ ากกวา่ “การแลกเปลยี่ น
ความรรู้ ะหว่างคนทำ� งาน” เทา่ นนั้

สำ� หรบั การเลือกใชเ้ ทคนคิ บตั รค�ำแบบตรวจขอ้ สอบนี้ กม็ ี
เงอื่ นไขวา่ วทิ ยากรจะตอ้ งมคี ำ� ตอบเฉลยทที่ บทวนเตรยี มตวั มาลว่ งหนา้
พอสมควร กลา่ วคอื วทิ ยากรตอ้ งทำ� การบา้ นดา้ นเนอื้ หาในขนั้ เตรยี มการ

165


มาก่อน (ซ่ึงแตกตา่ งจากการใช้บัตรคำ� แบบธรรมดา ซึง่ วิทยากรสามารถ
จะใช้กลยทุ ธ์ “จับเสือมอื เปล่า” ได้) และเปา้ หมายสำ� คญั ของรปู แบบน้ี
ก็คือ การขยายฐานความรู้ของผู้เข้าอบรมให้ “เกนิ กวา่ ” ความรูท้ ีไ่ ด้มา
จากผู้เขา้ อบรมด้วยกนั แตก่ ม็ ไิ ด้ “ละเลย/มองข้าม” ความร้ทู ผ่ี เู้ ข้า
อบรมพกติดตวั มาดว้ ยเชน่ กัน

(iii) แบบลงทุนร่วม (joint project) รูปแบบน้ีจะ
คลา้ ยคลึงกับรปู แบบท่ี 2 คือการตรวจขอ้ สอบ หากทวา่ ความแตกต่าง
จะอยทู่ ี่ “จำ� นวนคำ� ตอบทวี่ ทิ ยากรคน้ ควา้ มานนั้ มปี รมิ าณเพยี งเลก็ นอ้ ย”
ดังน้ัน ความรู้ของวิทยากรจึงไม่ห่างช้ันจากผู้เข้าอบรมมากนัก โดย
วิทยากรจะเขยี นบตั รคำ� จำ� นวนหน่ึงเหมือนเปน็ ผู้เขา้ รว่ ม (โดยวทิ ยากร
ทบทวนมาจากแนวคดิ ทฤษฎ/ี งานวิจยั อืน่ ๆ) และรว่ มสมทบคำ� ตอบของ
วทิ ยากรรว่ มไปกบั ค�ำตอบของผ้เู ข้าอบรม

รูปแบบนี้เหมาะจะเลือกมาใช้เมื่อข้อมูล/ความรู้ในประเด็น
ท่กี �ำลงั ศกึ ษากันอยูน่ ้นั มอี ยบู่ ้างแล้วในระดบั หนงึ่ แตย่ ังไมม่ ากนัก ตอ้ ง
อาศยั การสมทบรว่ มกนั ระหวา่ งความรจู้ ากผเู้ ขา้ อบรมกบั ความรจู้ ากทอี่ นื่ ๆ
(6) ข้อจำ� กัดของวิธีการใชบ้ ัตรค�ำ ถงึ แม้เทคนคิ การใชบ้ ตั ร
คำ� จะดูเป็นเทคนคิ เล็กๆทใี่ ช้ง่ายๆ แตแ่ ม้กระนั้น ในการใช้เทคนคิ น้ีก็
อาจเกิดขอ้ จำ� กัดในการใชห้ รือมเี งอื่ นไขในการใช้ (ดังท่ไี ดก้ ลา่ วมาบา้ ง
แลว้ ) ซ่ึงหากไมป่ ฏบิ ัติตามเงอื่ นไข/กตกิ า ก็ทำ� ให้การน�ำเทคนิคนม้ี าใช้
ถงึ แม้จะดำ� เนินการไปแล้ว แตไ่ มอ่ าจจะบรรลุเป้าหมาย ตัวอย่างเช่น
(i) ข้อจ�ำกัดท่ีเกิดจากฝ่ายผู้จัดประชุม/วิทยากรท่ีไม่ท�ำตาม
กติกา/เงอื่ นไขท่ไี ดต้ ้งั เอาไว้ เชน่ การเตรียมตวั ไม่พรอ้ ม อปุ กรณ์ไม่
เรยี บรอ้ ย ทำ� ใหเ้ กิดความขลุกขลักในระหว่างด�ำเนินงาน
(ii) ขอ้ จำ� กดั ด้านผู้เข้าร่วมประชมุ เน่อื งจากเป็นเทคนคิ ที่ต้อง
อาศัยรูปแบบการส่ือสารในการเขยี น และต้องเปน็ การเขยี นแบบกระชับ

166


ให้ได้ใจความภายในกระดาษแผน่ เดยี ว ซงึ่ อาจทำ� ให้กลุ่มเปา้ หมายบาง
กลุ่มไม่สามารถเข้าร่วมได้ (อาจจะต้องพลกิ แพลงโดยมผี ู้ช่วยเขียนให้)
(iii) ปัญหาเร่อื งการต้งั เป้าหมายเอาไว้ แตว่ ธิ ีการไปไม่ถึง
เชน่ ตง้ั เปา้ วา่ จะเอาขอ้ มลู จากบตั รคำ� มาใชง้ านตอ่ แตก่ ระบวนการทใ่ี ช้
กค็ อื หลงั จากไดบ้ ตั รคำ� ทบ่ี นั ทกึ แลว้ กไ็ มไ่ ดเ้ อามาทำ� อะไรตอ่ ไป (ซงึ่
เปน็ ปรากฏการณ์ทีพ่ บได้บอ่ ยในการใช้บัตรค�ำ)
(iv) หากเลือกใชว้ ิธกี ารปล่อยโจทยแ์ บบกวา้ งๆไม่คุมประเดน็
แลว้ จะตอ่ ด้วย “กระบวนการจัดกลุ่มขอ้ มลู ” วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มูลแบบ
ปล่อยปลายเมื่อต้นทาง แล้วจะมารวบสรุปตอนปลายทางนน้ั ตอ้ งได้
มือสังเคราะห์ระดับเซียนมากๆมาท�ำ จึงจะจัดหมวดหมู่ข้อมูลจ�ำนวน
มากๆภายในระยะเวลาสั้นๆได้

วธิ ีการติดตง้ั ที่ 12 : การติดตงั้ ซำ�้ และการเรยี กใช้
ในชีวติ ประจำ� วนั เป็นเรอ่ื งปกตมิ ากท่เี วลาเราตอกตะปูจนมดิ
แลว้ เพ่อื ให้แน่ใจว่าตะปจู ะถกู ตรงึ อย่างแนน่ หนาจริงๆ ส่ิงทเ่ี ราจะทำ� ก็
คอื “การตอกย�้ำท่หี วั ตะปอู กี 3-4 ครั้ง” เชน่ เดียวกบั การทาสี ซึ่งโดย
ทั่วไป เราจะไม่ทาเพียงคร้ังเดียว แต่จะทาซ้�ำหลายๆคร้ังเพอ่ื ใหม้ ่ันใจว่า
สีจะตดิ ทนอย่างย่ังยืน และเม่อื กาลเวลาผา่ นไป สกี ย็ ่อมซีดจางหรอื
หลดุ ลอกไปบา้ ง จึงต้องมกี ารทาทบั ซำ�้ อกี
ปรากฏการณ์ในชวี ิตประจำ� วนั เช่นน้ี กลายมาเปน็ กลยทุ ธ์ใน
การถ่ายทอดความรู้ท่ีมหี ลักการสำ� คัญวา่ “ต้องตอกย้�ำ ซำ้� ทวน” เพ่ือ
เปน็ หลกั ประกันว่า ความรทู้ ถี่ า่ ยทอดไปน้นั จะยดึ ติดอย่กู บั ผเู้ รยี นอย่าง
ม่ันคงถาวร และโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในกรณีของโครงการวิจัย ASCBR นี้
ระดบั ของความรู้ท่ตี ดิ ต้ังนัน้ เป็นความร้รู ะดับ “วิธีคดิ ” ซึง่ ก็เหมือนการ

167


ทาสซี งึ่ คงจะตดิ ไมท่ วั่ หรอื ทาเพยี งครงั้ เดยี วคงจะไมไ่ ดท้ งั้ หมด การตดิ ตงั้
“ซ้�ำ” (repetition) กย็ ง่ิ มคี วามจ�ำเป็นย่งิ ขน้ึ รวมท้งั เมอื่ ติดตั้งไปแล้ว
ก็ตอ้ งมกี ารเรียกมาใชง้ าน (retrieving) อยู่ตลอดเวลา เพราะ “วิธคี ิด”
มีคณุ สมบตั เิ ปน็ “ทกั ษะ” แบบหน่ึง แม้จะร้แู ละเคยทำ� ได้ แต่ถา้ ไม่ได้ใช้
ไปนานๆกอ็ าจจะลืมวิธีใช้จนใช้การไม่ได้
และจากประสบการณก์ ารสงั เกตวธิ กี ารตดิ ตง้ั ความรขู้ องพเ่ี ลย้ี ง
ศนู ย์ฯใหก้ บั นกั วจิ ยั ชุมชน หัวหนา้ โครงการวจิ ยั ฯ (ทเ่ี ป็นบุคคลภายนอก)
กส็ งั เกตเหน็ แบบแผนหนง่ึ ทพ่ี เ่ี ลยี้ งศนู ยฯ์ ใชอ้ ยเู่ ปน็ ประจำ� กค็ อื “การตอก
ยำ้� ซ�้ำ ทวน” นเ้ี อง (ดรู ายละเอยี ดตอ่ ไป) อย่างไรก็ตาม การทำ� ซำ้� น้ันก็
จะก่อให้เกดิ ผลทไ่ี ม่นา่ พึงปรารถนาประการหน่งึ ตามมา คอื ความน่า
เบื่อหนา่ ย ดงั น้ัน ลลี าทีต่ อ้ งเพม่ิ เติมเขา้ ไปในกลยุทธ์ “การตอกยำ�้ ซ�้ำ
ทวน” ก็คือ “จะซ้�ำอย่างไร/แต่ไม่ให้ซ้�ำซาก” (repetition with
variety) และนี่คือบทเรียนที่ท้าทายของเทคนิคเสริมเล็กๆเทคนิคนี้ที่
ทีมวจิ ัยไดค้ น้ พบในระหว่างการด�ำเนนิ งานวิจัย ASCBR น้ี

168


(1) ทำ� ไมตอ้ งมกี ารตอกยำ้� ซำ้� ทวนและเรยี กมาใช้ มเี หตผุ ล
เบ้ืองหลังหลายประการท่ีเป็นความจ�ำเป็นของการใช้เทคนิคเสริมพิเศษ
“repetition with variety and retrieving” ดงั น้ี

(1.1) ลกั ษณะเฉพาะของระดับความรู้ เนื่องจากระดับ
ความรทู้ ่ีตดิ ต้ังในงานฝึกอบรมของโครงการ ASCBR นีเ้ ปน็ ความรู้
ระดบั “วธิ คี ดิ ” ซ่งึ หากเปรียบเทยี บกับคอมพิวเตอรห์ รอื มอื ถอื การตดิ
ต้ังความร้รู ะดับน้ีคอื การดาวนโ์ หลด Application ตา่ งๆน่นั เอง

อย่างไรกต็ าม การติดตง้ั /ดาวนโ์ หลด App. ในคนกบั ใน
มือถือนั้นมีความแตกต่างกันบางประการคือ ในมือถือนั้น เราติดตั้ง
เพียงครั้งเดียว หากติดตั้งส�ำเร็จก็จะใช้งานได้เลยทันที (มีทางเลือก
เพยี งแค่ 2 ทาง คือตดิ ตงั้ ส�ำเร็จ 100% ใชง้ านได้ ติดต้ังล้มเหลว 0%
ใช้งานไม่ได)้

แต่การติดต้ัง “วิธีคิด” ในคนน้ันมีลักษณะเป็น “ดีกรี”
(degree) เช่นตดิ ตั้งคร้งั แรก เราอาจจะได้ 30% (และกใ็ ช้งานไดแ้ ล้ว
แบบ 30%) ครัง้ ท่ี 2 ได้ 50% ... คร้ังท่ี 3 ได้ 70% ... ดังนั้น การตดิ ตัง้
วธิ คี ิดในคนให้ได้ผลสมบูรณ์ 100% น้ัน ตอ้ งใชส้ ูตรวา่ “ครั้งเดียวไม่
เคยพอ ไมว่ า่ จะมปี ระสบการณใ์ นเรอ่ื งนน้ั ๆมามากนอ้ ยเพยี งใด ตอ้ ง
ตดิ ตัง้ หลายๆครั้งจงึ จะสมบูรณ์” หากทวา่ หลุมพรางของการตดิ ต้งั วธิ ี
คดิ ในคนกค็ อื แม้จะติดต้ังยังไม่สมบรู ณ์ แต่ก็ “ใชง้ านได้แล้ว” (แบบไม่
สมบรู ณ์) นก่ี ็เปน็ อุปสรรคด่านแรกของ “การตอก ย้�ำ ซำ�้ ทวน” เพราะ
ผเู้ รียนจะเหน็ ว่า “ไมจ่ ำ� เปน็ ต้องทำ� ซำ้� เพราะทำ� ได้แลว้ ”

(1.2) ความจำ� เปน็ ของการเรยี กใช้ (retrieving) เครอื่ งมอื
การวเิ คราะหส์ งั เคราะห์ ซงึ่ มเี ปา้ หมายจะตดิ ตงั้ วธิ คี ดิ ระดบั สงู (higher-
order thinking) คือวิธคี ดิ ข้นั ที่ 4-5 ของ B.Bloom นน้ั เปน็ เครอ่ื งมือ
ที่ “ปราศจากรปู ” เนอ่ื งจากมลี กั ษณะเป็น “กระบวนการ” (process)
มองไม่เห็นแบบค้อน ขวาน เล่ือย รีโมทคอนโทรล ฯลฯ แต่ทวา่ ก็มี

169


คุณสมบัติบางประการเหมือนเครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆของงาน
ชา่ ง กลา่ วคอื ถงึ แมจ้ ะมไี วแ้ ลว้ (และอาจจะเคยใชม้ าบา้ งแลว้ ) แตถ่ า้ ไม่
ไดใ้ ช้งานเลย เวลาเรยี กมาใช้งานจรงิ ๆ ก็อาจจะลมื วธิ ีใชไ้ ปแลว้ ทำ� ให้
ใช้ไมถ่ ูก ใชไ้ มค่ ล่อง ตัวเคร่ืองมอื เองกอ็ าจจะข้นึ สนิม ติดไวรัส หรอื
โปรแกรมอาจจะหายไปแล้วดว้ ยซำ�้

ด้วยเหตนุ ้ี เพอื่ ป้องกันอาการต่างๆทก่ี ล่าวมาข้างตน้ การ
ตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื A/S จงึ มเี งอื่ นไขการใชเ้ หมอื นการใชเ้ ครอื่ งมอื ทกุ ประเภท
วา่ “นอกจากจะมีเงอื่ นไขเบอ้ื งตน้ ดังในข้อ (1.1) แล้ว ก็ยังมีเงอ่ื นไขเพิ่ม
เตมิ ในขอ้ (1.2) คือ “ต้องหมั่นเรยี กมาใช้งานบ่อยๆ (retrieving) เพ่ือ
ป้องกันปัญหาทกี่ ลา่ วมาท้งั หมด

(1.3) ต้องท�ำซ้�ำจงึ จะตกผลกึ เวลาเราใชค้ �ำวา่ “ตกผลึก”
(crystallized) กบั สิ่งใด ก็จะบ่งบอกคณุ สมบัติบางอย่างท่อี ยูเ่ บอ้ื งหลัง
ทันทีวา่ ประการแรก สงิ่ ใดจะตกผลึกไดต้ ้องใชเ้ วลานานพอสมควร
อย่างไรก็ตาม ลำ� พังเพียงแต่มีเวลานานๆก็ยงั ไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ การตกผลึก
ได้ จำ� เปน็ ต้องมปี ัจจยั ประการที่สองเพิ่มเติมคือในระหว่างช่วงเวลาทีจ่ ะ
ตกผลกึ นนั้ ต้องมี “การใส่พลังงาน ใส่ไฟ ใสก่ จิ กรรม” อย่างสมำ่� เสมอ
เข้าไปตลอดชว่ งระยะเวลานั้น

จากหลักการข้างตน้ เมื่อทางโครงการ ASCBR ตั้งเป้า
หมายจะให้ทีมพ่เี ลี้ยงและนักวิจยั ชุมชน “ตกผลึก” บรรดาเครือ่ งมอื
A/S ทัง้ 12 ชน้ิ กต็ อ้ งผ่านด่านคณุ สมบัตทิ ัง้ 2 ขอ้ ทก่ี ล่าวมาขา้ งต้น
ดว้ ยเหตนุ ี้ การฝึกอบรมเรอื่ งเคร่ืองมอื จงึ ไม่ได้ทำ� แบบ “มว้ นเดียวจบ”
“ครงั้ เดียวกพ็ อแลว้ ” แต่อยา่ งน้อยต้องใชก้ ารฝึกอบรมประมาณ 5 คร้งั

และในทกุ ๆครงั้ ในหนา้ Main Menu ของเครื่องมือ A/S
ทกุ ช้ิน จะมีหัวข้อยอ่ ยที่เปน็ template ที่คล้ายคลึงกนั เป็น template
ซำ้� ๆ (template นเี้ ป็นสาขาย่อยมาจากตวั แม่คอื กลอ้ ง 10 ทศิ ท่ใี ช้
สอ่ งเครอ่ื งมือ A/S 12 ชน้ิ โดยดดั รปู ใหเ้ ข้ากับเครอ่ื งมอื A/S แตล่ ะชิน้ )

170


ทป่ี ระกอบด้วย (1) เครอ่ื งมอื นน้ั คืออะไร (2) ส�ำคญั อย่างไร ทำ� ไมต้อง
ใช้ ท�ำไมไมใ่ ช้ไม่ได้ (3) มกี ่ีประเภทยอ่ ย (4) มีแนวคดิ หนุนหลังอะไร
บา้ ง (5) มฟี ังก์ช่ันการใชง้ าน/ประโยชน์ของเคร่ืองมอื (6) ขน้ั ตอน/ลำ� ดับ
ขนั้ /กตกิ าหรอื เงือ่ นไขของการใช้งาน (7) รูปแบบการใช้ (8) ปญั หาการ
ใชง้ าน เป็นตน้

ผลจากการใช้หวั ข้อย่อยๆ “ตอก ยำ้� ซ้�ำ ทวน” (อยา่ งน้อย
ก็ครบ 1 รอบนักษัตร 12 ช้ินพอดี) น่าจะช่วยให้ผู้เข้าอบรมค่อยๆ
“ดดู กลืนซึมซับ” (internalized) template ดงั กล่าวใหเ้ ขา้ ไปตกผลึก
อยใู่ นวิธีคดิ ของทมี พีเ่ ล้ียง ในอนาคต ไมว่ ่าจะไปศกึ ษาเคร่ืองมอื อะไร
ต่อไป กส็ ามารถจะเปดิ software ทมี่ ี template ดงั กล่าวมาใช้งาน
ไดเ้ ลย (มหี ลกั ฐานเชิงประจกั ษว์ า่ ทีมพี่เล้ียงทุกคนตกผลึก template
กลอ้ ง 10 ทศิ น้ีแลว้ เม่ือมีการจัด Session ให้พี่เลยี้ งทุกคน “แบ่งและ
ผลัดกันมาเป็นผู้บรรยายวิธีการติดตั้งเครื่องมือ A/S อย่างถ้วนหน้า”
ซ่งึ ปรากฏว่า พเ่ี ลีย้ งทกุ คนสามารถใช้ template นี้ท�ำงานได้อย่างด)ี

(1.4) เพื่อผลลพั ธส์ ดุ ท้ายทีว่ าดหวัง เนอ่ื งจากเป้าหมาย
สงู สดุ ของโครงการ ASCBR นคี้ อื การวาดหวงั เอาไวว้ า่ บรรดาเครอื่ งมอื
A/S ตา่ งๆท่ีติดตงั้ ไปนัน้ นอกจากจะเปน็ “ตัวช่วย” ในการประกอบ
ภารกจิ ต่างๆของผู้เข้าอบรมแลว้ ในท้ายท่ีสดุ บรรดาตัวชว่ ยเหลา่ นีก้ ็จะ
“กลายเปน็ ยาเสรมิ พลงั ทางปัญญา” ใหก้ บั ผูเ้ ข้าอบรมในระยะยาวอยา่ ง
ยั่งยืนต่อไป

และตามขอ้ เสนอของ C.H. Gibson (1991) ซงึ่ ได้น�ำเสนอ
ขัน้ ตอนส�ำคัญ 4 ขน้ั ตอนของกระบวนการเสรมิ พลงั ท่ถี อดบทเรยี นมา
จากการทำ� งานกบั แมข่ องเด็กทป่ี ่วยเป็นโรคเรือ้ รัง ข้นั ตอนท้ัง 4 มีดังน้ี

171


จากภาพดังกล่าว ส�ำหรับขน้ั ตอนสุดทา้ ยข้ันที่ 4 คอื การ
ธำ� รงรกั ษาวธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ไี่ ดผ้ ลนนั้ กเ็ หน็ จะมแี ต่ “ปฏบิ ตั กิ ารตอก ยำ�้
ซำ้� ทวน” เทา่ น้นั ทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ ดินมาจนถึงขั้นสุดทา้ ยนไี้ ด้

(1.5) ส�ำหรับกลุม่ เปา้ หมายเฉพาะ ผเู้ ขยี นไม่อาจยนื ยัน
ไดว้ ่า ส�ำหรับกล่มุ เปา้ หมายอ่นื ๆ เช่น กลุ่มนกั เรยี น นกั ศึกษา กลมุ่ นกั
วชิ าชพี ฯลฯ จำ� เปน็ จะตอ้ งใชย้ ทุ ธการการตอก ยำ้� ซำ้� ทวนสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้
ไปใหม่ๆหรือไม่ แต่ส�ำหรับกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นชาวบ้านท่ีก�ำลังจะมา
ผา่ น “กระบวนการแปลงรา่ ง” จากการเป็น “ชาวบา้ นธรรมดา” ให้
กลายมาเป็น “นักวิจัยชุมชน” ซ่ึงอาจจะถือว่าเป็นการแปลงร่างแบบ
360 องศาเลยน้ัน ผู้เขียนพบว่า วิธีการออกแบบการติดตง้ั ความรูข้ อง
กลมุ่ พเ่ี ลยี้ ง (ซงึ่ เปน็ กลมุ่ ผชู้ ำ� นาญการทมี่ คี วามคนุ้ เคยกบั วฒั นธรรมการ
เรียนรขู้ องชาวบ้าน) ให้กบั นกั วิจัยชุมชนนนั้ จะมี “แบบแผนทีแ่ น่นอน”

172


และเปน็ “แบบแผนทม่ี กี ารซำ้� แตไ่ มซ่ ำ้� ซาก” ทกุ ครง้ั ดงั นน้ั ไมว่ า่ จะเปน็
การติดตง้ั เคร่อื งมอื A/S ชนิ้ ไหน วทิ ยากรพ่เี ลี้ยงจะใชก้ ารตดิ ต้งั 3 ครง้ั
(พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ พอดี) โดยทกุ คร้ังจะยดึ template เดมิ
แตเ่ ปลีย่ น “เนอื้ หา” ไป (ภาษาเพลงลกู ทุ่งเรียกว่า “รอ้ ยเน้ือ ทำ� นอง
เดียว”) ดังน้ี

(1.6) จำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ มอ่ื เรยี นสงิ่ ทค่ี ลา้ ยหรอื ตา่ งกนั มาก
ดังท่ีได้กล่าวถึงเคร่ืองมือการวิเคราะห์เปรียบเทียบ (Comparison
Analysis) โดยเฉพาะการเปรียบเทียบ “ข้อเหมอื นและข้อตา่ ง” (Com-
mon & Difference) แลว้ ว่า ระดับของการใช้เคร่ืองมือเปรยี บเทยี บ
โดยท่วั ไปน้นั จะอยู่ในระดับธรรมดา คอื มองเห็นแตข่ ้อเหมือนหรอื ขอ้
ตา่ งเพยี งด้านเดียว ซึ่งกข็ น้ึ อยู่กับของ 2 อย่างทจี่ ะเปรียบเทยี บน้นั มี
“ระดับความคลา้ ยคลงึ กนั มากหรอื นอ้ ย” แต่ในการฝกึ อบรมคร้งั นี้ ทาง
โครงการฯต้องการยกระดับให้ผู้เข้าร่วมสามารถใช้การเปรียบเทียบใน
ระดับพิเศษ คอื สามารถมองเหน็ “ทั้งจุดรว่ มและจดุ ต่าง” ไมว่ า่ ของที่
เปรยี บเทียบนัน้ จะมาอีท่าไหนกต็ าม

173


ด้วยเหตุน้ี ในเครอื่ งมือทั้ง 12 ช้ินทอ่ี าจจะมีท้ังขอ้ เหมือน
และขอ้ ต่าง (ทง้ั ทีเ่ หน็ ไดอ้ ย่างชดั เจนเปดิ เผยหรอื ซ่อนเรน้ ) เช่น เครือ่ ง
มือการจดั กลุ่มกบั เครือ่ งมือการจัดแบบแผน Mind-map กับการท�ำ
ตาราง วิธกี ารติดตง้ั ด้วยการเลน่ เกมกับการท�ำการบ้าน ฯลฯ เพื่อทจี่ ะ
ให้บรรลเุ ปา้ หมาย “ความสามารถท่ีจะเปรียบเทียบได้ในระดบั พิเศษ”
เทคนิคการตอกย้ำ� ซ้ำ� ทวนกจ็ ะถกู น�ำมาใชเ้ ปน็ ตวั ช่วยเพ่อื ภารกิจนี้
(2) เกณฑท์ ่ีจะเลือก template ทีค่ วรจะ “โชวต์ ัวซ�้ำ”
เนอื่ งจากเราไมส่ ามารถจะฉายหนงั ซำ้� ไดท้ กุ เรอื่ งเพราะเวลามจี ำ� กดั ดงั นน้ั
จึงต้องมเี กณฑ์บางเกณฑ์ท่ี template/เคร่อื งมือบางชิน้ ท่ไี ด้ติดตงั้ ไป
แลว้ ควรจะเรยี กมาใชซ้ ้ำ� ในทีน่ ้จี ะยกตวั อยา่ งเพ่ือให้เปน็ ไอเดียเทา่ นน้ั
(i) เคร่ืองมอื /แนวคิดที่เปน็ หัวใจของโครงการวิจยั เช่น
แนวคดิ เรือ่ ง “บันไดวิธคี ดิ 6 ข้นั ของ B. Bloom” ซ่งึ เป็นหัวใจของงาน
วจิ ยั ชิน้ นที้ ต่ี อ้ งการจะพิสจู นว์ ่า เครือ่ งมือ A/S จะสามารถยกระดบั วธิ ีคดิ
ใหข้ นึ้ มาถงึ ระดบั สงู ไดห้ รอื ไม่ ดงั นน้ั ในการแนะนำ� เครอื่ งมอื A/S ทกุ ชนิ้
วทิ ยากรจะมี “คำ� ถามตดิ ปลายนวม” (แตส่ ามารถทำ� ใหผ้ ตู้ อบนอ้ คเอาท์
ได)้ อย่เู สมอวา่ เคร่ืองมอื ชิ้นน้ันสังกัดอยบู่ นบันไดข้ันใดของ B. Bloom
เชน่ Weight/Evaluation อยู่บันไดขั้น 6 (การตอกย�้ำนี้สง่ ผลใหผ้ ู้เขา้
อบรมถงึ กบั กล่าวว่า “ถึงตายไป กไ็ มอ่ าจจะลมื Bloom ได้เปน็ แน่แท้)
(ii) เครอื่ งมอื ปอ้ งกนั โรคตบั แขง็ ของการเขยี นรายงาน โรค
เรอ้ื รังโรคหนึง่ ของการนำ� เสนอขอ้ มลู เพื่อการเขียนรายงานของศูนย์ฯ ก็
คือ มกั จะนำ� เสนออยู่ในระดบั การพรรณนา (description) แตย่ ังไม่
ไดล้ งลึกถงึ ระดบั การสร้างความเขา้ ใจ (understanding) และยังไม่
ดำ� ด่ิงใหล้ ึกซงึ้ ถงึ ขัน้ การให้ค�ำอธิบาย (explanation) (สนใจการดำ� นำ้�
3 ระดบั ความลกึ โปรดดหู นงั สอื เลม่ 1 : การวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงาน
วจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถน่ิ : ความเข้าใจพ้ืนฐาน)

174


ดังน้นั ความหมายของการวิเคราะห์สังเคราะห์ตามระดบั ช้นั
ของการสื่อสารที่เปรียบเทียบกบั การด�ำนำ้� 3 ขน้ั จงึ ถูกเรียกมาใชเ้ สมอ
เมือ่ มกี รณีศกึ ษาตัวอย่างเกดิ ขนึ้ เช่น เวลาเหน็ ขอ้ มลู ในตารางแบบน้ี
แลว้ อ่านความหมายวา่ อยา่ งไร เป็นต้น
(iii) เครอ่ื งมือท่สี ร้าง surprise ถึงแมผ้ เู้ ข้าอบรมอาจจะรู้จกั
“การวเิ คราะห์จดุ รว่ มและจุดต่าง” มาบ้างแล้ว แต่วทิ ยากรกไ็ ด้พาผู้เขา้
อบรมเดนิ ทางไกลตอ่ ไปถึงแนวคิดเร่อื ง “ความแตกตา่ งเชิงประเภท”
(Difference in kind) และ “ความแตกต่างเชงิ ระดบั ” (difference in
degree) ซึ่งแนวคดิ ท่ที อดยาวไกลต่อมานี้น่าจะเป็น Surprise และ
อาจจะยงั ไม่เป็นที่คุน้ เคยของผเู้ ขา้ อบรม ดังนัน้ จงึ ต้องมีการเรียกมาฝกึ
ใชอ้ ยบู่ ่อยๆ
(iv) template ทเี่ ปน็ กระดกู สนั หลงั ของโครงการ อนั ไดแ้ ก่
flowchart กจิ กรรมยอ่ ยทั้งหมดของโครงการ ซึง่ จะถกู เปิดนำ� มาใชว้ ดั
พกิ ดั อยทู่ กุ ครงั้ ทเี่ รม่ิ กจิ กรรมใหม่ เพอื่ ใหท้ กุ คนทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การประชมุ
ตั้งคา่ ให้เปน็ แบบเดียวกนั
(v) template ทผี่ เู้ ขา้ อบรมยงั “ไกลเกนิ เออื้ ม” มเี ครอื่ งมอื
template บางชิน้ ท่ี “ดูเหมือนใกล้แสนใกล้ แต่กลบั ยิ่งไกลแสนไกล”
เชน่ การวิเคราะห์แบบแผน (Pattern analysis) ซง่ึ มกั จะเปน็ โจทย์
หลักของงานวิจัย CBR เช่น การแสวงหารูปแบบใหม่ของการท�ำนา
รปู แบบการทำ� สวน รปู แบบใหมๆ่ ของการปรบั ตัวในพ้ืนท่ีรบั นำ�้ เปน็ ต้น
แต่ทมี พ่ีเลยี้ งกย็ ังคิดไมท่ ะลุเร่อื ง “แบบแผน/รูปแบบ” ดงั น้นั จึงตอ้ ง
ตอก-ยำ้� -ซำ้� -ทวน ต้องเรียก template นม้ี าใช้ในหลายๆ format
เช่น เป็นเสน้ กราฟ เปน็ ตารางจ�ำแนก ฯลฯ
(vi) template ทีใ่ ช้ทดสอบความเข้าใจเป็นระยะๆ เช่น
หลังจากติดตั้ง template เรื่อง Common & Difference (C&D)
ระดับพิเศษ (เห็นท้ังจุดร่วมและจุดต่าง) และติดต้ังความเข้าใจเร่ือง

175


Mind-map ไปแลว้ เมอ่ื ถงึ Session ทเ่ี รยี นเรอ่ื งตาราง ซง่ึ อาจจะเหน็
“ความคลา้ ยคลงึ ” กบั Mind-map ไดโ้ ดยง่าย วิทยากรจึงลองใหผ้ ้เู ขา้
อบรมฝึกวิเคราะหข์ อ้ เหมือน-ขอ้ ต่างตามเกณฑต์ ่างๆ (ตารปู -ตานาม)
ระหว่างเคร่ืองมือท้ัง 2 ชุด เป็นการตอก-ย้�ำ-ซ้�ำ-ทวน และเรียก
template มาใช้งาน กิจกรรมน้ีเปน็ การตรวจสอบความเขา้ ใจของผเู้ ข้า
อบรมในเร่ืองเครือ่ งมอื A/S ทงั้ 2 ประเภทไปด้วยในตัว
(vii) การนำ� ขอ้ มูลดิบจาก 6 โครงการตัวอยา่ งมาเป็นหนู
ทดลอง เพอ่ื กระชบั ให้การฝกึ อบรมไมห่ า่ งเหินจากโครงการตวั อยา่ งทัง้
6 โครงการ ในการฝกึ อบรมทั้งกล่มุ พี่เลีย้ ง และโดยเฉพาะทีมนักวิจัย
ชุมชนที่มาจาก 6 โครงการวจิ ยั ตัวอยา่ ง เมอ่ื มีโอกาสเอ้ืออำ� นวย
วทิ ยากรจะนำ� เอาข้อมลู ดิบจากโครงการตวั อย่างท้ัง 6 โครงการมาเป็น
ข้อมูลทดลองใช้ template ต่างๆอยูต่ ลอดเวลา เชน่ การวเิ คราะห์
กระบวนการมีส่วนร่วมของโครงการสวสั ดกิ ารชมุ ชน (ม.ค.2562) การ
วิเคราะห์แบบแผน/รูปแบบของการทำ� สวนผลไม้ (เม.ย.2562) เป็นตน้
(3) รูปแบบท่ใี ช้ จาก keyword ในชอื่ ของเทคนคิ เสริมนค้ี ือ
“มีการซำ้� ” (repetition) หากแตไ่ ม่ “ซำ้� ซาก” (แต่หลากหลายหรอื
แปลกใหม่) ซ่งึ หมายความว่า ในการท�ำซำ�้ ครั้งท่ี 2 น้ันจะมบี างอย่าง
“ทซี่ ำ�้ ของเดมิ ” (convention) แตก่ ม็ บี างอยา่ งที่ “แปลกใหมอ่ อกไป”
(invention)
อาศยั หลกั การน้ี ทั้งการซำ้� แตไ่ มซ่ ำ�้ ซากแต่แปลกใหมน่ น้ั จงึ
เกดิ การน�ำเอาคุณสมบตั ติ ่างๆมาไขวส้ ลบั กัน ตัวอยา่ งเช่น คณุ สมบัติ
ของ “ฟอรม์ /รูปแบบ” กับ “เนอ้ื หา” เราอาจจะใชฟ้ อร์มเดมิ แต่เปลี่ยน
เนอ้ื หาใหม่ หรอื ใชเ้ น้ือหาเดิมในหลายๆฟอรม์ -รูปแบบ หรอื หากใช้
เกณฑ์ “ตารปู -ตานาม” กอ็ าจจะซ้�ำแตไ่ มซ่ ้�ำซากเป็น “รปู เดิม-แต่นาม
ใหม”่ หรอื “รปู ใหมๆ่ แตอ่ ยู่ใต้นามเดิม” เป็นตน้ กลยทุ ธ์ทั้งหมดนี้จะ

176


ปรากฏออกมาเป็นรูปแบบท่ีหลากหลาย และไม่ส้ินสุดแล้วแต่การ
สรา้ งสรรค์ของผู้ใชง้ าน ตัวอย่างของรปู แบบท่เี กดิ ขน้ึ ในระหวา่ งการฝึก
อบรมของโครงการ ASCBR มีดงั น้ี
(i) รูปแบบทีเ่ กดิ ตามธรรมชาติ หากเรายึดแก่นความหมาย
ของ “การซำ้� แต่ไม่ซำ้� ซาก” วา่ หมายถงึ “การซำ้� ในสว่ นของเน้ือหา
ขอ้ มลู แต่ไปปรากฏในรูปแบบ-รูปฟอรม์ อืน่ ๆ เราก็จะพบวา่ กระบวน
การนี้เกิดขนึ้ โดยธรรมชาติอยูแ่ ล้ว เชน่ เวลาท่ีวิทยากรบรรยายหรือชวน
ผู้เขา้ รว่ มท�ำกจิ กรรม ส่งิ ที่ผู้เข้าร่วมจะทำ� ซ�้ำเนื้อหาขอ้ มลู ทีบ่ รรยายหรือ
การทำ� กิจกรรมก็คือ รูปแบบของการจดบนั ทกึ ด้วยตัวเอง หรือหากพี่
เลีย้ งศนู ยฯ์ ใช้การบรรยายประกอบดว้ ย powerpoint หากทำ� ส�ำเนา
powerpoint แจกใหช้ าวบา้ นกลบั ไป เมอื่ ไปอยทู่ บี่ า้ น ชาวบา้ นสามารถ
จะเอาเอกสาร powerpoint มาทบทวนซำ้� ได้ เป็นตน้
(ii) แบบเนอ้ื (หา)เดียว รอ้ ย(ทำ� นอง)รูปแบบ รูปแบบท่ี
สามารถนำ� เอาเนอ้ื หาแทบจะทกุ ประเภทมาบรรจใุ สไ่ ดน้ น้ั มหี ลายรปู แบบ
แตร่ ปู แบบทเ่ี หมาะกับการติดตัง้ ใหน้ กั วิจยั ชุมชนมากท่สี ดุ คอื รูปแบบ
การเล่นเกม ดังน้ัน เนือ้ หาเครอื่ งมอื ทกุ ชนดิ ทีผ่ ่านรูปแบบการบรรยาย
แบบมสี ่วนร่วมใน PDCA รอบท่ี 1 (จากหัวหนา้ โครงการฯสพู่ เ่ี ลย้ี ง) จะ
ถูกน�ำมาท�ำซ้�ำในรูปแบบของเกมใน PDCA รอบท่ี 2 (จากวิทยากร
พีเ่ ล้ียงสนู่ กั วิจัยชมุ ชน)
(iii) รปู แบบทำ� นอง/(ฟอรม์ )เดยี ว รอ้ ยเนอื้ (หา) เปน็ รปู แบบ
ทีส่ ลับกันกบั รปู แบบที่ (ii) คือการใช้ฟอรม์ เดมิ แตเ่ อาไปทำ� ซำ้� ในเนือ้ หา
ใหม่ ซ่งึ มกี ารใชร้ ปู แบบน้อี ยู่ตลอดเวลาในการอบรมคร้งั น้ี เนอ่ื งจาก
template (ฟอร์ม) ของการศึกษาเครื่องมือทุกช้ินน้ันจะเป็นฟอร์ม
เดยี วกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั สว่ นทถี่ กู ปรบั เปลยี่ นไปกค็ อื เนอื้ หาคณุ ลกั ษณะ
ของแตล่ ะเครอ่ื งมือนัน่ เอง
(iv) รูปแบบการทำ� ซ�้ำผ่าน “วงศต์ ระกลู ของคำ� ” (family

177


of word) เป็นการทำ� ซ้�ำโดยผ่าน “การใชถ้ ้อยคำ� ที่มีความหมายใกล้
เคยี งกัน” ที่เรยี กว่า “วงศต์ ระกลู ของค�ำ” เช่นค�ำวา่ “แบบแผน” จะอยู่
ในตระกลู เดยี วกับคำ� วา่ “รปู แบบ แบบว่า พรรคน์ นั้ ...” การทำ� ซำ้� แตไ่ ม่
ซำ�้ ซากแบบนี้จะชว่ ยลดความสับสนจากการใช้ค�ำทหี่ ลากหลายไดด้ ้วย
(v) รปู แบบการทำ� ซำ้� ผา่ นการใช้ภาษิต คำ� คม อปุ มา
อุปไมย เปน็ เทคนคิ การสรา้ งความหลากหลายผา่ นรูปแบบของภาษา
อีกประเภทหน่งึ ตัวอย่างเชน่ ในเคร่อื งมอื Weight analysis นั้น มี
ภาษิตไทยหลายค�ำท่ีแฝงแนวคิดน้ีอยู่ภายในเน้ือใน เช่น รู้จักยับย้ัง
ชง่ั ใจ หรือตัวอย่างการแข่งขนั ยกนำ�้ หนัก เปน็ ต้น
(vi) การทำ� ซ้�ำด้วยวธิ กี ารสาธิตที่อาจจะ “(เกือบ)ใหม่ทั้ง
รปู แบบ และใหม่ดว้ ยเน้ือหา” เชน่ เม่ือมกี ารตดิ ตั้งเรือ่ งการวิเคราะห์
แบบแผนไปแลว้ เมอ่ื มาถงึ เครอ่ื งมอื การวเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลง (เนอ้ื หา
ใหม)่ วทิ ยากรไดส้ าธิตเร่ืองการจัดแบบแผนของการเปลีย่ นแปลงดว้ ย
เกณฑใ์ หม่ๆ เชน่ “ทศิ ทางและความเร็ว” ท่ที ำ� ใหจ้ ัดมาไดถ้ ึง 7 แบบแผน
เป็นต้น
(vii) การทำ� ซำ�้ ดว้ ยการตรวจสอบจากกรณตี วั อยา่ ง เมอื่ ตดิ
ตงั้ เร่อื งคณุ ลักษณะ/องค์ประกอบส�ำคัญ/spec ของกระบวนการไปแลว้
ในการทำ� ซำ�้ แตไ่ ม่ซำ้� ซาก “ความเขา้ ใจเรื่องกระบวนการ” วิทยากรก็
นำ� เอากรณีตัวอย่างรูปธรรมท้ังที่เห็นเป็นกระบวนการอย่างชัดเจน เห็น
เป็นกระบวนการไมค่ ่อยชดั เจน หรอื ดไู ม่ค่อยเหมือนว่าจะเป็นกระบวน
การ หรอื ที่ไมใ่ ช่กระบวนการแต่ดลู ะมา้ ยคล้ายวา่ จะใช่ ฯลฯ เอามาให้
ตรวจสอบ
(viii) รปู แบบการทำ� ซ้�ำท่ใี ช้มากทีส่ ดุ คือการลงมือทำ� แบบ
ฝกึ หดั (Drill) (ดูรายละเอียดในหนงั สอื เลม่ 2 เครือ่ งมอื ชนั้ ต้นของ
การวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงานวจิ ยั เพอื่ ทอ้ งถนิ่ ของหนงั สือชุดน้ี )
(ix) รปู แบบการทำ� ซำ�้ ดว้ ยการตงั้ คำ� ถามตรวจสอบ ตวั อยา่ ง

178


เช่นในการติดต้ังเคร่ืองมือเร่ือง “ความแตกต่างเชิงประเภท” และ
“ความแตกตา่ งเชงิ ระดบั ” (ธ.ค.2561) วิทยากรต้องการจะตอกยำ�้
ความสำ� คญั และความจำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งแยกแยะความแตกตา่ ง 2 ประเภท
นี้ เนอ่ื งจากจะมผี ลตอ่ เน่ืองมาถึงเร่ืองการบริหารจดั การ วทิ ยากรได้ใช้
ตัวอย่างค�ำถามวา่ ทมี พเ่ี ล้ียงคดิ วา่ ระหวา่ งนกั วิชาการกับชาวบ้านนั้นมี
ความแตกตา่ งในเรอ่ื งความรวู้ า่ ดว้ ยการวเิ คราะหส์ งั เคราะหเ์ ปน็ แบบใด
และถา้ คำ� ตอบเป็นความแตกตา่ งเชงิ ประเภทหรอื เชิงระดับ จะสง่ ผลตอ่
การออกแบบรูปแบบการฝึกอบรมอย่างไร เป็นตน้
(x) รปู แบบการทำ� ซ�้ำด้วย “นามเดยี ว แตห่ ลายรูป” และ
“รูปเดียว แต่หลายนาม” ตวั อยา่ งเชน่ ในการฝกึ อบรมนักวิจัยชุมชน
เร่ืองการวเิ คราะห์แบบแผน (นามธรรม) (เม.ย.2561) วทิ ยากรพ่ีเล้ยี ง
ไดใ้ ช้กรณตี ัวอย่างรูปธรรมถงึ 3 ตวั อย่างคือ แบบแผนการไปจ่ายตลาด
แบบแผนคนเกดิ วันตา่ งๆ และแบบแผนการทำ� สวนผลไม้ เพอ่ื ตอกยำ�้
แนวคดิ เรื่อง “แบบแผน” ใหช้ ดั เจน
(xi) รูปแบบการสรปุ เชิงวิชาการ เนอื่ งจากในการฝึกอบรม
นักวิจัยชุมชนน้ัน มักจะใช้วิธีติดต้ังผ่านรูปแบบการลงมือท�ำกิจกรรม
(action learning) มากกวา่ จะใชก้ ารบรรยาย เชน่ การเลม่ เกม การ
แบ่งกลมุ่ ยอ่ ย การลงมือปฏิบัติ ฯลฯ ดังนั้น หลงั จากท่ีทำ� กจิ กรรมจบ
แล้ว วทิ ยากรพเ่ี ลีย้ งมักจะ “ตอกฝาโลง” เปน็ ช่วงสุดทา้ ยด้วยการอธิบาย
template สรุปประมวลแบบเป็นวิชาการ(หน่อยๆ) เพ่ือให้ความรู้ท่ี
กระจายตวั อยู่ตามกิจกรรมต่างๆมา “ระดมพล” ใหพ้ ร้อมเพรยี งกนั
(xii) รูปแบบการเพิ่มการมีส่วนร่วมของผู้เรยี น ตวั อยา่ งใน
โครงการ ASCBR กค็ อื การติดตั้งความรเู้ รื่อง “20 วธิ ีการตดิ ตง้ั เครอ่ื ง
มอื A/S” ซึ่งในการสรุปประมวลความรรู้ อบแรก หัวหนา้ โครงการฯเป็น
ผดู้ ำ� เนนิ การทง้ั หมด ใชร้ ปู แบบการเขยี นเอกสารสรปุ เนอ้ื หา 20 วธิ กี าร
ตดิ ตัง้ ในการทำ� ซำ�้ รอบที่ 2 วทิ ยากรไดเ้ ปลยี่ นรปู แบบใหม่ โดยเพ่ิม

179


การมสี ว่ นร่วมของผเู้ รียน (พีเ่ ลยี้ ง) โดยแบ่งใหพ้ เ่ี ลยี้ งทกุ คนขึ้นมาเป็นผู้
บรรยายเนอ้ื หาเดิมใหท้ มี ท้งั หมดฟัง การตอกยำ้� ซ้�ำทวนโดยเพม่ิ การมี
ส่วนร่วมมากข้ึนของผู้เขียนเช่นน้ีน่าจะมีการพัฒนาต่อไปในอนาคต
เพราะน่าจะเปน็ รปู แบบท่รี บั ประกนั ได้อย่างดีวา่ ความร้ทู ่ตี ิดต้งั ไปนัน้
จะธ�ำรงคงอยู่อยา่ งแน่นอน
(4) บทเรยี นเพ่มิ เติม

(4.1) ส�ำหรับเทคนิคการติดตั้งซ�้ำและการเรียกมาใช้นี้
สามารถดำ� เนินการได้ 2 รปู แบบ รปู แบบท่ี 1 คอื มกี ารวางแผนล่วง
หนา้ เอาไวก้ อ่ น รปู แบบที่ 2 คอื การทำ� สดเลยเมอื่ เหน็ สถานการณเ์ ออื้
อ�ำนวย โดยท่หี ากผใู้ ชม้ ีการฝกึ ฝนท�ำบ่อยๆในรปู แบบแรก กจ็ ะชว่ ยให้
เกดิ “โอกาส” ทจ่ี ะทำ� รูปแบบที่ 2 ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เหมือนกบั
เครื่องคอมพวิ เตอรท์ หี่ ากเราเรียกใช้โปรแกรมอะไรบ่อยๆกจ็ ะมี short-
cut ใหเ้ ขา้ ถึงโปรแกรมนน้ั ได้อยา่ งรวดเรว็

(4.2) เกณฑส์ ำ� คญั ในการตดิ ตงั้ และเรยี กมาใชก้ ค็ อื (i) เปา้
หมายหลักของวิทยากร (ii) จุดอ่อนของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม (iii) เปน็
ประเด็นใหม่ๆที่ก�ำลังจะศึกษาร่วมกัน (iv) เป็นประเด็นที่ยากและ
ซับซ้อน เปน็ ต้น

ภาพจาก: brgfx / Freepik

180


วธิ ีการติดตัง้ ที่ 15 : การออกแบบเน้อื หาแบบรางคู่
การออกแบบเน้ือหาแบบรางคู่ (Double-track content
design) เป็นเทคนิคเสริมท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองการส่ือสารซ่ึงเป็นกลไก
สำ� คญั ในการตดิ ตง้ั ความรเู้ รอ่ื งเครอ่ื งมอื การวเิ คราะหส์ งั เคราะห์ เทคนคิ
การติดตั้งนี้จะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการตอบค�ำถามของการสื่อสาร
ขาออก (expressive communication) ว่าเวลาทเี่ ราจะพูดจะเขียน
นั้น เราควรจะออกแบบเนื้อหา (Message design) แบบไหนจึงจะ
บรรลเุ ป้าหมายที่ตง้ั เอาไว้
สาระส�ำคัญท่ีทีมวิจัยได้เรียนรู้เก่ียวกับเทคนิคการออกแบบ
เน้อื หาแบบรางคู่มีดงั นี้

(1) ทีม่ าของเทคนิค ทมี่ าของเทคนคิ การออกแบบเน้ือหา
แบบรางคู่น้ันมาจากท้ังทางหลักการ/แนวคิดทฤษฏีด้านการส่ือสาร
และมาจากประสบการณ์ภาคปฏิบัติท่เี ป็นจรงิ ของศนู ยฯ์ เอง
ตามหลกั วชิ าการสอ่ื สาร เมอ่ื มกี ารสอ่ื สารในรปู แบบการพดู คยุ
สนทนากนั ระหวา่ งคน 2 คน ถา้ หากคน 2 คนนน้ั มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั

181


(homophily) ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเพศ อายุ อาชีพ ฐานะเศรษฐกจิ แนว
ความคดิ รสนิยม ความสนใจ ฯลฯ ก็จะทำ� ใหส้ ่ือสารกันง่ายขึ้น เขา้ ใจ
ตรงกนั ฯลฯ ในทางตรงกันข้าม หากคน 2 คนน้ันมคี วามแตกตา่ งกัน
(heterophily) โอกาสท่ีจะส่ือสารใหเ้ ข้าใจตรงกันกจ็ ะมนี ้อยลง หรือ
การพดู คยุ กันไม่ราบรืน่ และสะดดุ ตดิ ขดั ก็จะมมี ากข้นึ

homophily
heterophily
และในบรรดาเกณฑ์ท่ีสร้างความเหมือนและความแตกต่างท้ัง
หลายน้ี หากเราน�ำเกณฑ์ “บันไดแห่งรปู -นาม” มาวดั ความเหมอื นและ
ความต่างบา้ ง เรากค็ งจะใช้สตู รเดมิ ท่กี ลา่ วมาได้ คือ หากคสู่ นทนาหรือ
ผสู้ ง่ สาร-ผรู้ บั สารยนื อยใู่ นบนั ไดรปู -นามเดยี วกนั กค็ งพดู คยุ -อา่ นเขยี น
กันได้เข้าใจง่าย แต่หากผสู้ ่งสาร-ผู้รับสารร้องเพลง “เรามนั คนละชน้ั ”
ยืนอยบู่ นบันไดรูป-นามคนละชนั้ การสื่อสารกค็ งเป็นไปได้ยากข้นึ

182


ยกตวั อยา่ งเช่นการส่อื สารทีเ่ กิดข้ึนในการจัดการฝกึ อบรม อาจ
จะมหี ลายรปู แบบของการสอ่ื สารเกิดขึ้นดังนี้

ผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากการสือ่ สารทัง้ 4 รปู แบบ (Effect of commu-
nication) กจ็ ะมีตง้ั แต่
(1) คนฟงั ทีม่ ีตารปู -ตานามเหมอื น/ตา่ งจากคนพูด จะสามารถ
ฟงั สงิ่ ทีพ่ ูดไดร้ ู้เรื่องไหม ซง่ึ กเ็ ป็นไปตามสูตรที่กลา่ วมาแล้ว ถ้าอยใู่ นขนั้
บนั ไดเดยี วกนั หรอื ใกล้ๆกัน ก็คงพอฟังกนั ไดร้ ู้เร่ือง/เขา้ ใจ ถา้ อยคู่ นละ

183


ช้ันหรือห่างชน้ั กนั มากๆ กค็ ง “ฟังไมร่ ูเ้ รอื่ ง”
(2) และในกรณีงานฝกึ อบรม ซึ่งต้งั เปา้ หมาย “ให้ฟัง/เรยี นเพอ่ื
ไปลงมือปฏิบตั ดิ ้วย” ในข้ันตอนของการฟังใหร้ ้เู รื่องเขา้ ใจนัน้ ยงั อาจ
จะพอผา่ นดา่ นแรกไปได้ แต่เมอื่ ถงึ “ด่านนำ� ไปปฏิบัต”ิ ก็อาจจะทำ� ไม่
ไดอ้ กี (ปญั หานอ้ี าจจะเกดิ ขน้ึ มากในการสอ่ื สารรปู แบบการศกึ ษาดงู าน)
ดังนน้ั ในการน�ำวทิ ยากรจากภายนอกมาอบรมผปู้ ฏบิ ตั ิงาน หลายคร้งั
จึงเกิดอาการตดิ ขดั ในด่านท่ีสองนี้ เพราะฟงั บรรยายอบรมมาแล้ว แต่
เอามาปฏบิ ัตไิ ม่ได้ เปรยี บเสมือนหัวแจค๊ กับเต้ารับไฟฟ้าที่รูปรา่ งไม่
เหมือนกนั เสียบเขา้ กนั ไมไ่ ด้ เพราะคนบรรยาย (หัวแจค๊ ) กับผฟู้ ัง
(เตา้ รบั ไฟฟา้ ) ยนื อยู่บนขนั้ บันไดรปู -นามคนละข้ัน
เพือ่ ขา้ มไปให้พ้นปัญหาทก่ี ลา่ วมานี้ เราก็ตอ้ งใส่เกียร์ถอยหลงั
ย้อนกลบั ไปที่ “การออกแบบเน้อื หาสาร” วา่ เราจำ� เปน็ ตอ้ งเลือกว่า
“จะพูดแบบเป็นนามหรือเป็นรูปแตเ่ พียงอย่างเดยี ว” ซงึ่ จะทำ� ให้ “เสียบ
เขา้ ได”้ กบั ผู้ฟังบางประเภทเท่านนั้ หรอื ทำ� ไมเรา (ผู้พดู หรอื ผูเ้ ขียน)
ไมใ่ ชก้ ลยทุ ธ์ “ขอเก็บเธอไวท้ ง้ั ค่”ู คือพดู เป็นทงั้ รูปทง้ั นาม ซ่ึงเปรยี บ
เสมอื นเตา้ รบั ไฟฟา้ ทมี่ หี ลายๆแบบทำ� ใหส้ ามารถใชไ้ ดก้ บั หวั แจค๊ ทกุ แบบ
แนวคิดท่ีฝ่าข้ามปัญหาแบบน้ีแหละเป็นท่ีมาของแนวคิดเร่ือง “การ
ออกแบบแบบรางคู”่ (Double-track message design)
(2) ความหมายของคำ� วา่ “track” เนอื่ งจากกลยุทธก์ าร
ออกแบบเนอื้ หาแบบรางคนู่ นั้ ในภาษาองั กฤษใชค้ ำ� วา่ “double-track”
จึงอยากจะเคลียรค์ วามหมายของคำ� วา่ “track” สกั เลก็ นอ้ ย
คำ� วา่ “track” แตเ่ ดิมนนั้ ใชใ้ นความหมายถึง “รอยเท้าสัตว์”
และตอ่ มากข็ ยายความหมายวา่ “เปน็ ทางเดนิ หรือทางเทา้ ” และตอ่ มา
กข็ ยายมาอกี ถึง “เส้นทาง/รางรถไฟ” ในวงการสอื่ สารมวลชน เมือ่ มี
การอดั เสยี งลงในช่องเสยี ง เราจงึ ร้จู ักคำ� ว่า “Soundtrack”

184


สำ� หรับคำ� วา่ “double-track” น้ี ผ้เู ขยี นใช้ในความหมายท่ี
เขา้ ใจง่ายๆว่า “เหมอื นรถไฟรางคู่” ซึ่งกแ็ ล้วแตว่ า่ “จะรางค่รู ะหวา่ ง
อะไรกบั อะไร” เชน่ จากตวั อยา่ งเรอ่ื งบนั ไดรปู -นามทย่ี กมา ปญั หาเดมิ
ของเราก็คอื ถา้ เราใช้รถไฟรางเดยี ว เช่น พดู แบบเปน็ รางรูปธรรมหรอื
รางนามธรรมอย่างเดียว อาจจะไม่ work กับกลุ่มเป้าหมายหลายๆแบบ
แต่ถา้ เราออกแบบเนื้อหาสารให้เป็นรางคู่ คอื มที ง้ั รปู และนาม เราก็จะ
เข้าถงึ ผูร้ บั สารได้ทุกกลุม่ เป็นตน้
(3) แนวคิดหนนุ หลงั ในหลักวิชาการส่ือสารเชอื่ วา่ กิจกรรม
การส่ือสารทกุ ครัง้ ไม่ไดเ้ กดิ ขนึ้ แบบบังเอิญหรือไรก้ ฎเกณฑ์ หากแตว่ ่า
การท่ีเราจะพดู จะเขยี น จะอา่ น จะฟงั จะท�ำท่าแบบไหนนั้น เราจะมี
“แบบวธิ /ี โหมดของการคิด” (Mode of thinking) เปน็ ตวั กำ� กบั อยู่ ดงั
นนั้ การที่เราเลือกพูดเป็นนามหรือรปู อย่างเดียวนน้ั ก็เพราะเราอยู่ใน
โหมดของวธิ คี ดิ แบบ “either or” ตอ้ งเลอื กเอาแบบใดแบบหนง่ึ โหมด
วิธีคิดแบบน้เี ชอ่ื ว่า “อะไรทเี่ ป็น X แลว้ จะไปเปน็ Non-X อกี ไม่ได้ ตอ้ ง
เลือกขา้ งใดข้างหนง่ึ ” ในชีวติ ประจำ� วนั กค็ อื “ถ้าไมใ่ ชม่ ิตร ก็ตอ้ งเป็น
ศัตร”ู “ใหเ้ ลือกมาเลยว่าเธอจะอยู่กับใคร” (คำ� สงั่ ของพระพันวษาทมี่ ี
ต่อนางวันทอง) เป็นตน้
แตท่ วา่ หากเราตดั สนิ ใจจะเลอื กใชก้ ลยทุ ธ/์ เทคนคิ การออกแบบ
เนอื้ หาแบบรางคู่ เราก็ตอ้ งเปลีย่ นไสโ้ หมดวธิ ีคิดจาก “either or” มา
เปน็ “Both” (ต้องเปล่ยี นเพลงร้องมาเปน็ เพลงของทาทายัง - อยาก
เกบ็ เธอไว้ทั้งค่)ู - เราจงึ จะสามารถใชเ้ ทคนิคนไี้ ด้ และเราต้องยกเลกิ
ขอ้ ตกลงเดิมของ either-or มาเป็นขอ้ ตกลงใหมว่ า่ ทั้ง X และ Non-X
ทง้ั ตารปู -ตานาม ทั้งขาวและด�ำ ฯลฯ สามารถจะอยูร่ ว่ มกันได้
ตอ่ จากนัน้ โหมดวธิ ีคดิ แบบ Both กจ็ ะสร้างค�ำอธิบายหลายๆ
ชดุ ขึน้ มายนื ยนั ให้ความชอบธรรมหรอื สนบั สนนุ ขอ้ ตกลงของตนเอง เชน่

185


การเลอื กเพยี งขา้ งใดขา้ งหนง่ึ แบบ either-or กเ็ หมอื นกบั “การยนื ดว้ ย
ขาขา้ งเดยี ว” ท่ีท�ำใหล้ ม้ ได้งา่ ย การยืนท่ีมนั่ คงควรจะยนื ด้วย 2 ขา
ตา่ งหาก โดยเฉพาะเวลาทเ่ี รากำ� ลงั จะตอ้ งเขา้ ปะทะ เชน่ เวลาดมู วยปลำ้�
ซูโม่ เขากย็ นื 2 ขากนั ท้งั น้ัน
และการส่อื สารท่มี กี ล่มุ เปา้ หมายท่หี ลากหลาย ทงั้ ตลาดบน
(พวกท่ีมีตานามธรรม 2 ขา้ ง) พวกตลาดกลางๆ (มีท้งั ตารปู -ตานาม)
และพวกตลาดล่าง (พวกมีตารูปทงั้ 2 ข้าง) กเ็ หมอื นคนขับรถเมลท์ ่มี ี
ผโู้ ดยสารหลายประเภท สภาพการณ์ท่คี นขับตอ้ งพบเจอกค็ ือ “ขบั เรว็
หลวงพ่กี ว็ า่ ขบั ช้าจ๊กิ โก๋ก็บน่ ” เราจึงควรขับเร็วๆช้าๆเพอ่ื เอาใจผโู้ ดยสาร
ทุกกล่มุ (กลยทุ ธน์ ี้ ภาษาการตลาดเรียกว่า “กลยทุ ธก์ ารขายพ่วง”)
(4) ประเภทของรางคู่ ผู้เขยี นได้เปดิ ฉากแนวคิดเรื่อง “รางคู”่
คือรางของรูปธรรมคู่กับรางของนามธรรมที่จะแสดงให้เห็นเป็น
ตวั อย่างต่อไป แตก่ ็ขอขาย “ยาขยายมา่ นตาแหง่ ความเข้าใจ” เอาไว้
ล่วงหนา้ ก่อนว่า การใช้รางคคู่ วบ 2 track ระหว่างรปู กับนามน้นั เปน็
เพียงตวั อยา่ งหนึง่ เท่านั้น เรายงั สามารถจะเปลี่ยนรางครู่ ะหวา่ ง “อะไร”
กับ “อะไร” (ทไ่ี มน่ า่ จะมาพบกันได)้ ในอีกหลายๆคู่
ตัวอย่างของการออกแบบเนื้อหาแบบรางคู่ที่ได้เกิดขึ้นแล้วใน
ระหวา่ งการฝึกอบรมของโครงการ ASCBR มีดงั น้ี
(i) ผ่านเทคนคิ ทางภาษาที่เป็นรปู และนาม เชน่ การตดิ ต้งั
ความเข้าใจค�ำว่า “กระบวนการ” ซึ่งเปน็ นามธรรม วทิ ยากรได้โยงคำ� ว่า
“กระบวนการ” ไปยงั คำ� ท่มี าจากรากศพั ทค์ ำ� เดียวกนั และมีความหมาย
เหมอื นกนั แตเ่ ปน็ รปู ธรรมมากกวา่ คอื คำ� วา่ “ขบวน” แลว้ โยงตอ่ ไปถงึ
คำ� วา่ “ขบวนรถไฟ” ซึ่งเป็นรูปธรรม ทำ� ให้แยกแยะองคป์ ระกอบได้งา่ ย
แลว้ ตยี ้อนกลบั ข้นึ มาทค่ี ำ� วา่ “กระบวนการ” ทีเ่ ปน็ นามธรรมอีกครง้ั
(กลยทุ ธ์น้ีพสิ จู นว์ า่ work มากในการฝึกอบรมนกั วจิ ัยชมุ ชนที่

186


เป็นชาวบ้าน เพราะเมอื่ ท�ำงานกลุ่มย่อยด้วยการกดป่มุ คำ� วา่ “ขบวน”
ชาวบ้านก็จะสามารถจะหาตัวอย่างในชีวิตประจำ� วันมาเล่นเกมได้อย่าง
มากมาย เช่น ขบวนแห่ขนั หมาก ขบวนกฐิน.... ซง่ึ หากเปิดป่มุ ความ
เข้าใจด้วยคำ� ว่า “กระบวนการ” คงจะเลน่ เกมตอ่ ไปไมไ่ ดแ้ นน่ อน)
(ii) ผา่ นรางคู่ที่เป็น “วิชาการ” กบั “ชวี ติ ประจำ� วัน” เช่น
ในขณะท่คี ำ� ว่า “การวิเคราะห์สังเคราะห”์ นั้นเปน็ ค�ำทอ่ี ยูใ่ น “รางของ
วิชาการ” ซ่ึงรถไฟความคิดของชาวบ้านคงจะมาว่ิงบนรางเด่ียวแบบน้ี
ไม่ไหว วิทยากรจึงได้สร้าง “รางคู่ขนานท่ีเป็นประสบการณ์ในชีวิต
ประจำ� วันของชาวบ้าน” คือการทอดชะอมชบุ ไข่ และเทียบใหเ้ ห็นว่าใน
การทำ� ชะอมชบุ ไขน่ นั้ ตรงไหนเป็น “การวิเคราะห์” ตรงไหนเปน็ “การ
สังเคราะห”์ เทคนิคนก้ี ็ work มากเลย
(iii) ผ่านรางคูร่ ะหว่าง “หลกั ทฤษฎ”ี กบั “อปุ มาอุปไมย”
ตวั อยา่ งเชน่ ในหลกั วธิ คี ดิ เรอื่ งการวเิ คราะหจ์ ดุ รว่ มและจดุ ตา่ งๆ (Com-
mon & Difference) ทจี่ ะสง่ ผลมาถงึ เรอื่ ง “การประยกุ ต”์ (Applica-
tion) วา่ จะเลยี นแบบตน้ แบบได้หรือไม่ วิทยากรได้ยกตวั อย่างอุปมา
อปุ ไมยเปน็ ภาษติ 3 ภาษติ คอื เหน็ ชา้ งขี้ อยา่ ขตี้ ามชา้ ง เดนิ ตามหลงั
ผใู้ หญ่ หมาไมก่ ดั และตกั นำ�้ ใสก่ ระโหลกชะโงกดเู งา ซงึ่ ชว่ ย shortcut
ความเข้าใจชาวบ้านได้อย่างรวดเร็วเพราะชาวบ้านเข้าใจเนื้อหาและ
ความหมายของอปุ มาอปุ ไมยเหลา่ นอ้ี ยแู่ ล้ว เมือ่ นำ� มา “ขายพว่ ง” กบั
หลกั ทฤษฎี กเ็ ลยพลอยได้ซ้ือหลกั คิดทฤษฎตี ดิ ไปด้วย
(iv) ใช้ท้งั เทคนคิ ภาษาบวกผสมกับตัวอย่างรปู ธรรม เชน่
เม่ือแบ่งแบบแผนย่อยของการสังเคราะห์ออกเป็น 3 แบบแผนย่อย
ก็ต้ังช่ือแบบแผนย่อยด้วยตัวอย่างและภาษาท่ีชาวบ้านใช้อยู่ในชีวิต
ประจำ� วัน คือ

(ก) รวมแต่ไมห่ ลอม “โมเดลขยะ”
(ข) รวม หลอม แต่ไม่เป็นเนอ้ื เดยี ว “โมเดลเฉาก๊วยนมสด”

187


(ค) รวม หลอม และเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั “โมเดลกาแฟ”
หรอื เมอื่ ตอ้ งการจะระบุ “ผลลพั ธส์ ำ� คญั ” ของการสงั เคราะห์
ทแี่ ปลงขอ้ มลู ดบิ ใหเ้ ปน็ ขอ้ มลู สงั เคราะห์ ซงึ่ จะทำ� ใหเ้ กดิ “คณุ ภาพใหม่
ของขอ้ มลู ” (พูดแบบนี้ เดาได้เลยวา่ ผูพ้ ูดยนื อยูใ่ นขัน้ บันไดสงู มาก)
วทิ ยากรก็ใช้วธิ กี ารเลา่ นทิ านเรอ่ื ง “หนิ วเิ ศษต้มซุป” ทีเ่ ม่ือเอา “ขอ้ มูล
ดบิ ” (บรรดาเศษผกั เศษเนื้อ น�้ำ หัวหอม มนั ฝรัง่ เกลือ เตาไฟ ฯลฯ
ท่ีแตเ่ ดิมชาวบ้านมีอย่กู นั คนละเลก็ ละน้อย แตก่ ินไม่ได้ จึงหวิ โหย) มา
ผา่ น “กระบวนการต้มด้วยหนิ วเิ ศษ” (สงั เคราะห)์ ทำ� ให้ได้ “ของใหม่
คอื ซุป” (ขอ้ มูลสงั เคราะห)์ เกดิ ข้นึ มา และแก้ปญั หาความหวิ โหยของ
ทกุ คนได้ การเลา่ นทิ านนแี้ มจ้ ะดเู รยี บงา่ ยแตก่ ม็ คี วามลกึ ซง้ึ แฝงอยดู่ ว้ ย
(v) การเปิดมมุ เข้าจากหลายๆทาง ถ้าเราสงั เกตวธิ กี าร
สรา้ งเมอื งในสมยั โบราณ (หรือแมแ้ ต่ในสมัยปัจจบุ นั ) เราก็จะพบว่ามี
“ทางเขา้ ” (entry point) อยูห่ ลายๆทางเขา้ เพือ่ ใหค้ นแต่ละกลุม่ ทีเ่ ดนิ
มาจากหลายทิศหลายทางมีทางเลอื กท่จี ะเขา้ ฉันใดก็ฉนั น้นั ในเรื่อง
การสือ่ สาร คนแตล่ ะกลุ่ม แต่ละรนุ่ วยั แต่ละอาชีพ แตล่ ะภมู ลิ ำ� เนา
แตล่ ะชนชน้ั ฯลฯ มเี สน้ ทางการเดนิ ทางที่มาจากคนละทิศคนละทาง
ในการออกแบบเน้ือหาสาร เราจึงควรเปดิ “ทวารบาน” ออกไปหลายๆ
ทศิ ให้ผู้รับสารมที างเลือกท่ีจะเดินเข้ามา
ผู้เขียนเคยมีประสบการณ์เม่ือท�ำงานวิจัยเร่ืองการฟื้นฟูผีปู่ย่า
เวลาเราใชค้ �ำวา่ “ผีปยู่ า่ ” น้ัน กลุ่มผเู้ ฒา่ ผแู้ กแ่ ละผ้ใู หญ่ท่ีเคยเข้าใจ
คำ� วา่ “ผ”ี จะเดินเขา้ ประตูนีไ้ ดท้ ันที เพราะร้วู ่า “ผีน้ันมหี ลายประเภท
ทง้ั ผดี ีและผีรา้ ย” แต่ส�ำหรับกลุ่มเด็กที่เคยรจู้ กั “บรรดาผจี ากผปี อบ
ผกี ระสอื ผีตายโหง...” ตา่ งไมก่ ลา้ เดนิ ผา่ น “ประตผู ”ี น้มี าได้ ผเู้ ขยี นจงึ
จดั การรวมหัวบรรดา “เด็กผี” ท้งั หลาย แล้วอธิบายบทบาทหน้าที่ของ
ผีปู่ยา่ ว่า มอี ยูเ่ พอ่ื ปกป้องลกู หลาน แล้วกต็ งั้ คำ� ถามวา่ ถา้ จะพูดถงึ
“ผปี ่ยู ่า” ในศตวรรษที่ 21 เรานา่ จะเรียก “ผีปยู่ า่ ” วา่ อะไรดี และแล้ว

188


เด็กๆที่โตขึ้นมาท่ามกลางโลกของการอ่านการ์ตูนญี่ปุ่นก็ลงมติว่าให้
เรียกผีป่ยู ่าว่า “ผู้พิทักษต์ ่างภพ” เปน็ อันว่าจบขา่ ว
หลกั การทส่ี ำ� คญั ในเรอ่ื งนก้ี ค็ อื ควรจะสอ่ื สารมาจาก “มมุ มอง
ของผรู้ บั สาร” (audience-oriented) และเมอ่ื ผรู้ ับสารมีหลายกลุ่ม
หลายขนาด หลายประเภท ฯลฯ เน้อื หาสารกค็ วรจะมีหลาย track
เช่นกัน และสง่ิ ท่ไี ม่ควรท�ำก็คอื (Please don’t) อยา่ คดิ ว่า “ผู้รบั สาร
ทกุ กล่มุ จะคิดเหมอื นผู้ส่งสารเสมอไป”
(vi) การควบรวมระหวา่ ง “ขอ้ มลู ระดบั มหภาคกบั จลุ ภาค”
“ขอ้ มลู แบบสมองซกี ซา้ ยและซกี ขวา” ตวั อยา่ งเชน่ เวลาฟงั รายงานขา่ ว
เกี่ยวกับเรอ่ื งอุบัตเิ หตบุ นทอ้ งถนน เราอาจจะไดย้ ินขอ้ มูลที่เป็นตวั เลข
สถติ ิแบบภาพรวม (logical data) ขอ้ มลู แบบนจ้ี ะทะลเุ ข้าไปท่สี มอง
ซีกซ้ายซึ่งเปน็ ด้านที่ทำ� งานเกย่ี วกบั การใชเ้ หตุใชผ้ ล แต่ถา้ นำ� เสนอแต่
ข้อมูลแบบ Macro และเป็นเหตุเป็นผลเชน่ นีด้ ้านเดยี ว อาจจะยังไม่มี
พลังพอให้เกดิ “ความตระหนัก” หรอื “ความตระหนกร้สู ึกรสู้ ม รู้ร้อน
ร้หู นาว” ขน้ึ มาได้
จงึ ควรควบรวมกบั ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ กรณเี ฉพาะ เปน็ เหตกุ ารณเ์ ฉพาะ
บคุ คล (Micro) แต่ทว่าเป็นเหตุการณท์ ่ีมีสีสัน เตม็ ไปด้วยอารมณ์
ความรู้สกึ (sensational/dramatized data) เช่น มชี ายหนมุ่ ที่
ก�ำลังจะเตรียมตัวบวชพระทดแทนบุญคุณให้พ่อแม่อันเป็นกุศลอย่าง
มหาศาล แตก่ ารขับรถโดยประมาทของคนอ่ืนกม็ าปลิดชวี ติ ปดิ เส้นทาง
บญุ ของเขาไปเสยี เป็นต้น ขอ้ มูลแบบมีอารมณ์อยา่ งน้ีจะพงุ่ เข้าสมอง
ซีกขวาใหท้ ำ� งานสั่งการทันที
(vii) การควบรวมระหว่าง “เรอื่ งเลน่ ” ให้ “เปน็ การเปน็
งาน” เป็นตัวอยา่ งท่ีโดดเดน่ ท่ีสดุ ในวิธีการตดิ ตงั้ ของศูนยฯ์ คอื การใช้
เกมซ่ึงเปน็ “เร่ืองเล่นๆ” แต่มาทำ� ให้ “เปน็ การเปน็ งาน/มีสาระ” โดย
ควบรวมเนอ้ื หาในสว่ นทเ่ี ปน็ การเลน่ เกมกบั การมาถอดหลกั การแนวคดิ

189


ต่างๆท่ีอยู่เบ้ืองหลัง ซ่ึงตรงกับหลักวิชาการเร่ืองการถ่ายทอดความรู้
ดว้ ยกลยุทธก์ ารควบรวมระหว่าง “Education” กบั “Entertainment”
ท่ีเรยี กว่า “Edu-tainment” (สนใจโปรดดหู นงั สอื เลม่ 2: เครอื่ งมอื ขนั้
ตน้ ของการวเิ คราะหส์ งั เคราะหใ์ นงานวจิ ยั เพอ่ื ทอ้ งถนิ่ ในชดุ หนงั สือ
ไตรภาคน)ี้

ที่กล่าวมานี้เป็นเพียงหนังตัวอย่างของการออกแบบเนื้อหาแบบ
รางคู่ซึง่ เป็นรางระหว่าง “รปู ธรรม” กบั “นามธรรม” แต่ดังท่ีได้เกรน่ิ มา
แล้ววา่ เราสามารถจะวางรางครู่ ะหว่างเกณฑ์อนื่ ๆของเนือ้ หาได้อีกมาก
มายหลายแบบ เช่น ระหวา่ งภาพรวมกบั รายละเอียด ระหวา่ งวชิ าการ
กับชีวติ ประจ�าวนั ระหว่างเรือ่ งเล่นกับเรอื่ งจรงิ จัง เป็นต้น

(5) ประโยชน์ของเนือ้ หาแบบรางคู่ อนั ทจี่ ริง ผู้เขียนได้พดู
อ้อมๆเกี่ยวกับประโยชน์ของการออกแบบเนื้อหาแบบรางคู่มาบ้างแล้ว
ว่า จะช่วยลดทอนหรือแก้ปัญหาการน�าเสนอเน้ือหาแบบรางเด่ียวได้
อยา่ งไรบา้ ง ในทนี่ จี้ งึ จะขมวดขดี เสน้ ใหต้ อกยา�้ ประโยชนข์ องการออกแบบ
เนื้อหาแบบนอ้ี ีกคร้ังหนงึ่

(5.1) เป็นกลยุทธ์การจับปลา 2 มือ ในความหมายเดิม
ของภาษติ น้ีอาจจะสอ่ื นัยยะไปในทางลบ เพราะหมายความว่า เราจบั

190


ปลา 2 ตัวดว้ ยมือซา้ ย 1 ตัว มือขวา 1 ตัว แต่เมื่อนำ� ภาษิตนม้ี าใช้ใน
เรอ่ื งเนอ้ื หารางคู่ ความหมายจะเปลย่ี นไปวา่ เราจบั ปลา 1 ตวั ดว้ ย 2 มอื
ซึ่งจะทำ� ใหเ้ กิดความมน่ั ใจได้มากขึน้ วา่ จะจบั ได้อย่างแน่นหนา การใช้
เนื้อหาแบบรางคู่จึงนา่ จะชว่ ย “จบั ความเข้าใจ” ของผรู้ บั สารไดห้ นาแน่น
มากข้นึ

(5.2) ทำ� ให้ “โดน” กลุ่มเป้าหมายได้หลายกลุม่ เพราะมี
เน้ือหาหลายประเภทใหส้ �ำหรับแตล่ ะกลุม่ เป้าหมาย

(5.3) ในกรณขี องเนือ้ หาที่เป็นทัง้ รูปและท้ังนามนั้น เนอ้ื หา
แต่ละประเภทจะมฟี ังกช์ ั่นทแ่ี ตกตา่ งกัน เนอ้ื หาที่เปน็ นามธรรมนัน้ จะมี
ฟงั ก์ชนั่ เก่ียวกบั เรอื่ งความเข้าใจหลักการ (principle) สว่ นเน้อื หาท่ี
เป็นรปู ธรรมนั้นจะมีฟงั กช์ น่ั ทเี่ กีย่ วกับการนำ� เอาไปลงมือปฏบิ ตั ิ การมี
เนอื้ หาทงั้ 2 ประเภทควบรวมกันไปจงึ จะทำ� ให้เกิดการใช้ประโยชนใ์ น
หลายฟงั ก์ช่ัน

(5.4) ท�ำให้เกิดการผสมผสานคณุ ลักษณะบางอย่างที่แต่
เดมิ เคยจบั คกู่ นั ในแบบหนง่ึ เชน่ อะไรทงี่ า่ ยกม็ กั จะผวิ เผนิ อะไรทย่ี าก
กม็ กั จะลกึ ซง้ึ อะไรทส่ี นกุ กม็ กั จะไมส่ รา้ งการเรยี นรู้ (ไรส้ าระ) อะไรท่ี
มสี าระกม็ ักจะไม่สนกุ เปน็ ตน้ แตห่ ากเรามฝี มี ือในการสรา้ งเนื้อหา
แบบรางคู่ เรากอ็ าจจะสลับไขวค้ ูเ่ ดิมๆเหล่านี้ได้ เช่น แม้จะฟงั งา่ ยแตก่ ็
ลึกซึง้ แมจ้ ะสนุกแตก่ ไ็ ดส้ าระ เปน็ ตน้
(6) ขอ้ จำ� กดั ของการออกแบบเนื้อหาแบบรางคู่ ขอ้ จ�ำกัด
หรอื ปญั หาทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ เพราะการใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารตดิ ตง้ั แบบน้ี สว่ นใหญ่
เปน็ ปญั หาในเรื่องความช�ำนาญและประสบการณใ์ นข้นั ตอนของ “การ
ออกแบบ” เชน่
(i) มีการวางรางค่กู ็จรงิ แตร่ างทั้งสองหนั หน้าไปคนละทิศ
คนละทาง เชน่ ในการอบรมเรื่องการวเิ คราะห์นำ้� หนกั (Weight

191


analysis) ทม่ี ี “การเล่นเกม” ก็เลน่ แบบหน่งึ แต่เม่อื บรรยายสรปุ
กลบั สรุปอกี แบบหนึง่ โดยไมไ่ ดเ้ ก่ยี วข้องกบั เน้ือหาเกมทเี่ ลน่ ทำ� ให้เกิด
ปัญหารางคู่ท่หี ันหนา้ ไปคนละทศิ
(ii) ปญั หาการวางรางห่างกนั เกนิ ไป เช่น การออกแบบเกม
ของการอบรม Procedure A/S ทีม่ กี ารเล่นเกม แต่เนน้ ชว่ งเวลาการ
อธบิ ายกตกิ าอยา่ งนานมาก แลว้ เหลอื เวลาเลน่ เกมเพยี งเลก็ นอ้ ย ทำ� ให้
ผู้เข้าอบรมได้สมั ผัสกบั การเรยี นรู้โดยตรงน้อยเกินไป
วิธีการตดิ ต้งั ที่ 18 : การปรบั แก้
ในชีวิตประจ�ำวัน บางครั้งเมื่อมีการประกอบเครื่องมือหรือ
อุปกรณ์บางอย่าง หลังจากประกอบเรียบร้อยแล้ว เม่ือเร่ิมลงมือใช้
เรากอ็ าจจะพบวา่ มีนอ๊ ตบางตวั ท่ยี งั หลวมหรอื ไม่เข้าท่ี ส่ิงทเ่ี ราตอ้ งทำ�
กค็ อื “การขันน๊อต” หรอื อาจมกี ารใสน่ ๊อตผิดตัว กต็ ้องเปลี่ยนน๊อตใหม่
การกระทำ� ทั้งหมดนี้ภาษาองั กฤษเรยี กวา่ Fixing ซ่งึ ในท่ีน้ีขอแปลว่า
“การปรบั แก้”
ในการฝกึ อบรมตดิ ต้งั ความรู้ใหม่ๆ เช่นในโครงการ ASCBR น้ี
กเ็ ชน่ เดียวกบั การประกอบเครอ่ื งมอื หรืออปุ กรณต์ า่ งๆ ที่เป็นเรือ่ งปกติ
ธรรมดาวา่ ในการติดตั้งเครือ่ งมอื A/S ครง้ั น้ี ยอ่ มมขี อ้ ผดิ พลาด/ข้อ
ขัดข้องทางเทคนิค/การติดไวรัสเกิดขึน้ ในหมู่ผู้เขา้ อบรม ดังนน้ั บทเรยี น
ทส่ี ำ� คัญบทหน่ึงของผ้ทู ีร่ บั ผิดชอบการฝกึ อบรมกค็ ือ “การขนั น๊อตทาง
ความคิด” หรือ “การปรับแก”้ ทจี่ ะประมวลเป็นเน้อื หาต่อไปนี้

192


(1) ทีม่ าของเทคนคิ เนอ่ื งจากการมาท�ำงานวิจัยเพ่อื ท้องถิ่น
นนั้ ในด้านหนงึ่ ก็ถอื วา่ เป็น “กระบวนการเรียนรสู้ งิ่ ใหม่ๆ” ที่ผู้เรยี น
(รวมทัง้ ผู้สอนด้วย) ยงั ไม่เคยรูม้ าก่อน ดังนนั้ คุณสมบตั ิหลายประการ
ของการเรยี นรู้จงึ แฝงฝังอยใู่ นกระบวนการนี้ เชน่ การเรียนรูอ้ ย่างผดิ ๆ
(ไม่ง้นั กค็ งไม่มีการสอบตกน่ะส)ิ การเรียนรูอ้ ยา่ งไมค่ รบวงจร (เป็นการ
สนั ดาปทีไ่ ม่สมบรู ณ)์ การเรียนรทู้ ่ีผิดเป้า การเรยี นแล้วแตย่ งั ไมเ่ ขา้ ใจ
ฯลฯ ที่เรียกได้วา่ “เป็นขอ้ ผดิ พลาดของการเรียนร้”ู ดังทไี่ ด้กลา่ วมาแลว้
ข้อผดิ พลาดทีเ่ กิดข้นึ เหลา่ นม้ี ีสาเหตมุ าได้จากหลายทาง ดา้ น
แรกอาจจะติดมาจากต้นทุนความรู้เดิม (ท่ียังไม่ถูกต้อง) ของผู้เข้า
อบรมเอง โดยเฉพาะในการฝกึ อบรมครงั้ นี้ ผู้เข้าอบรมไม่ได้ว่างเปล่า
ในเรอื่ งเครอ่ื งมอื A/S หากแตม่ กี ารสง่ั สมต้นทุนความร้มู าแลว้ ในระดับ
หนงึ่ ดา้ นทสี่ อง กอ็ าจจะเกดิ มาจากขอ้ ผดิ พลาดหรือความไมร่ ้ขู องผู้ฝกึ
อบรมจากการตดิ ตัง้ ครง้ั ใหมน่ ีเ้ อง เปน็ ตน้
และถึงแม้เราจะหลกี เลี่ยง “การเกดิ ข้อผดิ พลาดต่างๆของการ

193


เรียนรู”้ ไมไ่ ดท้ ง้ั หมด แตเ่ รากส็ ามารถทจ่ี ะ “ปรับแก้ แกไ้ ข แก้มือ”
บรรดาขอ้ ผดิ พลาดทกี่ ลา่ วมาได้ และนจี่ งึ เปน็ ทมี่ าของเทคนคิ เสรมิ เลก็ ๆ
ในการติดต้งั ความรเู้ รอ่ื งเครอื่ งมือ A/S ในโครงการ ASCBR ครัง้ นี้
(2) ประเภทของข้อผดิ พลาด เงื่อนไขแรกในการปรับแกข้ อ้
ผดิ พลาดกค็ อื ตอ้ งระบุ (identify) เสยี กอ่ นวา่ เปน็ ขอ้ ผดิ พลาดประการ
ใด แล้วจงึ แก้ไขไปตามประเภทของขอ้ ผดิ พลาดน้นั ๆ (ดังน้ัน การ
วินิจฉัยประเภทของข้อผิดพลาดให้ถูกต้องเสียก่อนจึงเป็นหลักประกัน
อันดบั แรกของการแกไ้ ข เพราะหากวินิจฉยั โรคผิดเสยี แลว้ จะมโี อกาส
ไปกนิ ยาให้ถกู โรคกไ็ มน่ ่าจะเป็นไปได้)
ในโครงการ ASCBR นี้ได้พบประเภทของข้อผิดพลาดเกยี่ วกบั
เครื่องมอื A/S ประมาณน้ี

(2.1) ขอ้ ผดิ พลาดระดับแนวคิด (concept) เนื่องจาก
การติดตัง้ ความรวู้ ่าดว้ ยเครือ่ งมอื A/S นี้ ต้องมีการใช้แนวคดิ ตา่ งๆ

194


มากมาย โดยทีห่ ลายแนวคิดก็เปน็ แนวคิดทผี่ ูเ้ ข้าอบรมรู้จกั มากอ่ นแล้ว
แต่ก็เป็นการรู้จกั ทอี่ าจจะยงั ไมถ่ ่องแท้ ไม่กระจา่ ง ไมล่ ะเอียด ฯลฯ เมือ่
นำ� เอาแนวคิดเหลา่ นนั้ มาใช้จึงท�ำใหเ้ กิดข้อผิดพลาดขนึ้ ตวั อย่างเช่น

• ตวั อยา่ งแนวคดิ SWOT ทอี่ าจจะเรยี นรตู้ วั เตม็ ของอกั ษร
แตล่ ะตวั มาแล้วว่าเป็น Strength Weakness Opportunity Threat
แต่ความเข้าใจในตัวอักษรแต่ละตวั ยงั ไมท่ ะลไุ ปถึงข้ันท่วี ่า S&W นัน้
เป็นเร่ืองภายในกลุ่ม/ชุมชน/องค์กร จึงเป็นตัวแปรท่ีอยู่ในวิสัยท่ีจะ
ควบคุมหรือบริหารจัดการได้ (Controllable/manageable) แต่
O&T นั้นเป็นเรื่องของปัจจัยภายนอกที่กลุ่ม/ชุมชน/องค์กรไม่สามารถ
จะควบคุมได้ แต่อาจจะเตรยี ม “รบั มือ” (deal with) ได้ เป็นตน้

• ตวั อยา่ งแนวคดิ เรอ่ื ง “ความแตกต่าง” แมผ้ เู้ ขา้ อบรม
อาจจะรู้จกั เรื่อง “ความแตกตา่ ง” แลว้ แต่กย็ งั ไปไมถ่ ึงรายละเอยี ดว่า
ความแตกต่างนน้ั ยังมปี ระเภทย่อยอกี 2 ประเภท คือ ความแตกต่าง
เชิงประเภท (Difference in kind) และความแตกต่างเชิงระดับ
(Difference in degree) และอาจจะยังไม่รู้เหตผุ ลดว้ ยวา่ ทำ� ไมจงึ
ตอ้ งแยกความแตกตา่ งท้ัง 2 ประเภทน้ี ซงึ่ เป็นเรอ่ื งทเ่ี ก่ียวข้องกบั การ
สรุปรวม (generalization) การประยกุ ต์ใช้ (application) หรอื การ
ขยายผล

วธิ ีการปรับแกค้ วามร้ทู ี่ยงั ไปไม่สุดหรอื ไมท่ ะลนุ ้ี กค็ อื การ
เตมิ เต็มความรู้ที่ยังมาไดไ้ ม่ถึงปลายทางให้สมบรู ณ์ (completion)

(2.2) ข้อผดิ พลาดในความรเู้ รือ่ ง “การวจิ ยั ” เน่อื งจาก
งานวิจัย CBR ก็เป็นสายพันธุย์ ่อยสายหนง่ึ ของงานวจิ ัยพ้นื ฐาน/งานวจิ ยั
ทวั่ ไป (Basic research) ดงั นน้ั บรรดา “แก่น” ของงานวจิ ัยพ้ืนฐานก็
ยงั คงเปน็ แนวคดิ ที่นักวจิ ยั CBR ต้องยดึ กุมให้ได้ ตัวอยา่ งความรเู้ ร่ือง
“แก่นของงานวิจัย” ที่ผิดเพี้ยนไปทีพ่ บก็มีดงั นี้

• เรมิ่ ตงั้ แตค่ วามเขา้ ใจเรอื่ ง 3 ชว่ งจงั หวะ (Rationality 1 -

195


Empirical - Rationality 2) ของการวจิ ัย โดยทีใ่ นช่วง R1 น้ันจะยงั
เปน็ ช่วงท่ีพัฒนาโจทย์ การอา่ นงานวิจัยของผอู้ ื่น แต่ยงั จะไมม่ ีการลงมือ
เกบ็ ข้อมูลจากกรณีทศี่ ึกษา แตเ่ นอื่ งจากทมี วจิ ยั CBR อาจจะตีความวา่
“งานวจิ ัยคอื การเกบ็ ขอ้ มูล” ดังน้ันจงึ เขา้ ใจผดิ ไปว่า ทั้ง 3 ชว่ งจงั หวะ
R1-E-R2 มกี ารเกบ็ ขอ้ มลู ในทกุ ชว่ ง ตา่ งกนั ทป่ี ระเภทขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ เทา่ นน้ั

• เกิดการปะปนหรือคิดว่าเป็นเร่ืองเดียวกันระหว่าง
“หนว่ ยของการเก็บขอ้ มลู ” (unit of data collection) เชน่ เก็บ
ขอ้ มูลเป็นรายบุคคล คนท่ี 1/2/3 กับ “หนว่ ยของการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ”
(unit of data analysis) เชน่ ถอื ว่า 1 ความคดิ / 1 ข้อคดิ เห็น เปน็ 1
หน่วยของการวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยท่ีคน 1 คน อาจจะมี 4-5 ความคิด/
ขอ้ คดิ เหน็ กไ็ ด้ ในการวเิ คราะหส์ งั เคราะหเ์ ชน่ การจดั กลมุ่ (grouping)
ตอ้ งใช้ข้อมลู จากหนว่ ยการวิเคราะห์ขอ้ มูลเทา่ นนั้ มิฉะนัน้ จะจดั กลมุ่
ขอ้ มูลไมไ่ ด้

ส�ำหรับวิธีการปรับแก้ความเข้าใจผิดที่เกิดจากการปะปน/
สบั สนเชน่ นกี้ ็ตอ้ ง “ลา้ งไพก่ นั ใหม่” โดย “ลบล้าง (delete) ชดุ ความ
รเู้ ดิมท่เี ขา้ ใจผิด” และ “ใสใ่ หม”่ (reload) ความร้ใู หมเ่ ข้าไป ส่วน
ในกรณีมีความสบั สนเรอ่ื ง “หน่วยของการศกึ ษา” ก็ตอ้ ง “แยกแยะ
รายละเอยี ด” (elaborate) ใหเ้ หน็ ความแตกตา่ ง (ทผี่ เู้ รยี นเคยเขา้ ใจ
ผิดคดิ วา่ “เหมือน”)

(2.3) ขอ้ ผดิ พลาดในระดับการใช้เครอ่ื งมือ ในชวี ติ
ประจำ� วนั ก็เปน็ เร่อื งปกตธิ รรมดามากทแ่ี มจ้ ะมเี ครื่องมืออยู่แลว้ แต่เรา
กย็ งั มวี ิธีการใช้ท่ีผิดพลาด เช่น ใชผ้ ดิ ดา้ น ใส่กลบั ข้างกนั (ตวั อยา่ ง
งา่ ยๆทสี่ ดุ คือการใสบ่ ัตร ATM เขา้ ไปในเคร่อื ง) และสำ� หรบั บรรดา
เครื่องมอื การวิเคราะห์สังเคราะห์ซงึ่ โดยสว่ นใหญ่เป็น “กระบวนการ” ท่ี
เปน็ นามธรรม กค็ งยงิ่ มโี อกาสสงู ทจี่ ะเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดในการใชเ้ ครอื่ งมอื
ตวั อยา่ งเชน่

196


การวัดความเปลีย่ นแปลง (Change analysis) การวดั
การเปลย่ี นแปลงนนั้ ต้องใช้ขอ้ มลู 2 ชดุ (ท่ีเกิดมาจากคณุ ลกั ษณะ -
spec ของการเปลีย่ นแปลงน่ันเอง) คือ before และ after การใส่
กิจกรรมเข้าไป (treatment/intervention) ดังน้ัน หากไม่ได้เก็บ
ข้อมูล before เอาไว้ ก็ยากท่ีจะวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงได้หรือ
สรปุ ว่าเกดิ การเปลีย่ นแปลงไดอ้ ย่างเตม็ ปากเตม็ ค�ำ

ส�ำหรบั วิธีการปรบั แก้เรอื่ งการวัด change นี้ ทางโครงการ
ASCBR ไดใ้ ชท้ ้งั “มาตรการปอ้ งกนั ” และ “มาตรการแกไ้ ข” สำ� หรับ
มาตรการปอ้ งกนั คอื การเพม่ิ หวั ข้อยอ่ ยเร่ือง “ข้นั ตอนการเกบ็ ข้อมลู ”
เอาไวใ้ นเนอื้ หาเลย เปน็ กลยทุ ธ์ “การขดี เสน้ ใตใ้ หค้ วามสำ� คญั ” (high-
light) หรอื “การผนวกเขา้ ไวใ้ นระบบของการทำ� วจิ ยั เลย” (structuring)

ส่วนมาตรการแก้ไขในกรณีท่ีไม่ได้เก็บข้อมูล before
เอาไว้ก่อน กใ็ ชว้ ธิ กี ารเก็บข้อมลู ในช่วง after ดว้ ยการออกแบบคำ� ถาม
ให้กล่มุ ตัวอยา่ งสรา้ งขอ้ มูลเปรียบเทียบ “ก่อน-หลงั ” มาให้ เปน็ วิธกี าร
ทเ่ี รียกว่า subjective evaluation (ให้กลมุ่ ตวั อย่างเปน็ ผ้ปู ระเมนิ
เปรยี บเทียบกอ่ น-หลงั ด้วยตัวเอง) ซึ่งวิธกี ารแบบนอี้ าจจะมีระดบั ความ
น่าเช่อื ถือนอ้ ยกวา่ วธิ ีการ objective evaluation (การเปรียบเทียบ
ขอ้ มลู ดิบกอ่ น-หลังดว้ ยตวั นกั วจิ ัย) แต่กย็ ังดีกว่าการตีความจากข้อมูล
after เพยี งอย่างเดยี ว

• การต้ังค�ำถามผดิ ในเครื่องมือตารปู -ตานาม ข้อผิด
พลาดนเี้ กดิ จากความไมต่ ระหนกั ของฝา่ ยผฝู้ กึ สอนเอง เพราะเมอื่ ตดิ ตงั้
เครื่องมือตารปู -ตานามด้วยขน้ั บันไดแห่งตารูป-ตานามแลว้ กเ็ ขา้ ใจ
เอาเองโดยปรยิ าย (taken for granted) ว่าผู้เข้าอบรมสามารถจะนำ�
เคร่อื งมอื น้ไี ปใชไ้ ดเ้ อง (อยา่ งถูกตอ้ ง) โดยอัตโนมตั ิ จนกระท่งั ไดเ้ ห็น
“วธิ กี ารใชเ้ ครือ่ งมอื นข้ี องผู้เขา้ อบรม” ดว้ ยการไลต่ ั้งคำ� ถามวา่ “ส่ิงน้ี/
สิ่งนัน้ เป็นรปู หรอื เปน็ นาม” ซงึ่ โดยหลกั การแลว้ สรรพส่งิ แทบจะทุก

197


อยา่ ง ลว้ นมี “ความเป็นรูปเป็นนามอยู่ในตวั เองทัง้ สิ้น” แตก่ ารที่จะ
แสดง “สถานะ” (status) เป็นรปู หรือนามออกมานนั้ ข้ึนอยกู่ ับว่าจะไป
เทียบกับอะไร (เทยี บแบบ “มองสงู ” หรอื “มองตำ่� ”ของขนั้ บนั ไดแห่ง
รปู -นาม)

เมอื่ วทิ ยากร (หวั หนา้ โครงการฯ) คน้ พบขอ้ ผดิ พลาดดงั กลา่ ว
กไ็ ดป้ รบั แกโ้ ดยยกสถานะเรอ่ื ง “วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ตารปู -ตานาม” ขน้ึ
มาเป็นเนื้อหาที่จะต้องขยี้ความเข้าใจโดยการศึกษาร่วมกันอีกครั้งหนึ่ง
มีการถอดหลักการการตั้งค�ำถามรูป-นามและค�ำตอบที่จะได้ออกมา
รวมท้ังมีการหวนกลับไปท่ี “จุดออกสตาร์ท” ใหม่อีกคร้ังหน่ึงว่า
“ประเด็นหลักที่เราใช้เครื่องมือตารูป-ตานามนั้นคือการพัฒนาความ
สามารถทจี่ ะวงิ่ ขนึ้ -วงิ่ ลงระหวา่ งบนั ได” และการผา่ ตดั ตาแบบธรรมดา
ให้มี “ตาซา้ ยรปู -ตาขวานาม” เปน็ เรอ่ื งส�ำคัญ

(2.4) ขอ้ ผิดพลาดทีเ่ กิดจาก “วธิ ีการเรียนรู้” ดังไดเ้ คย
กลา่ วมาบา้ งแลว้ ว่า โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ วิธกี ารเรียนรทู้ ่ีใช้กันอยู่ภายใน
ศนู ยฯ์ เปน็ วธิ กี ารเรยี นร้แู บบ “ครพู กั ลักจ�ำ” หรือ “การเลยี นแบบด้วย
การดูรุ่นพ่ีแล้วก็ท�ำตาม” วิธีการเรียนรู้เช่นน้ีในด้านหน่ึงก็เป็นวิธีการ
เรยี นรทู้ มี่ ปี ระโยชน์ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การไดค้ วามรใู้ นระดบั ทสี่ ามารถ
นำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ (how to) แตท่ วา่ รปู แบบการเรยี นรเู้ ชน่ นกี้ ย็ งั มขี อ้ จำ� กดั
หรือชอ่ งโหว่ที่ตอ้ งเสรมิ ดว้ ยการเรยี นรูแ้ บบอนื่ ๆเข้ามาชว่ ยปรับแก้

ข้อจ�ำกัดของการเรยี นร้แู บบครพู ักลักจ�ำกเ็ ช่น
• ผเู้ รยี นไมท่ ราบว่า ในเนอ้ื หาความร้ทู งั้ หมดน้นั ส่วนไหน
เปน็ แกน่ ส่วนไหนเปน็ เปลือกหรอื กระพี้ ดังนน้ั จงึ อาจเลือกเกบ็ เอาสว่ น
ทเี่ ป็นเปลอื ก/กระพมี้ าใช้ แลว้ ตัดส่วนทเ่ี ป็นแกน่ ทงิ้ ไป
• การเรยี นรู้แบบนีม้ ักจะไดค้ วามรู้ 1-2 ข้นั ตน้ ๆ คือขั้นที่ 1
รวู้ ่าอะไรเปน็ อะไร (What is) และขั้นที่ 2 รู้ว่าจะทำ� อย่างไร (how to)
แตม่ กั จะขึ้นไปไมถ่ งึ ความร้ขู ั้นท่ี 3 คือความร้รู ะดับแนวคดิ /หลักการ

198


(principle)
• ผลสืบเน่ืองต่อจากระดับข้ันของความรู้ หากข้ึนไม่ถึง

ความรู้ระดับ 3 คือหลกั การ ก็จะทำ� ให้แนวคดิ ต่างๆทเ่ี ปน็ แก่นนั้นเพย้ี น
ไปได้โดยง่าย หรือการท�ำได้เท่า “ต้นแบบ” เท่าน้ัน (เพราะเป็น
การลอกเลียน) แต่ไม่สามารถดัดแปลง/ปรับประยุกต์ได้ (ขาดการ
สร้างสรรค)์

ส�ำหรับการแกไ้ ขข้อจ�ำกดั น้ี ในโครงการ ASCBR ไดต้ ดิ ต้ัง
“วิธกี ารเรียนรอู้ ีกแบบ” เสริมเพ่ิมเตมิ จากวิธกี ารเรียนรแู้ บบครูพกั ลกั จำ�
ดว้ ยการปกั ธงเอาไวต้ งั้ แตต่ น้ ทางเลยวา่ ตลอดเสน้ ทางของการฝกึ อบรม
ในโครงการฯ จะเนน้ “การเรยี นรรู้ ะดับข้ันหลกั การเป็นสำ� คัญ” โดย
ผ่านวิธีการเรยี นรหู้ ลายๆแบบ เช่น การฟังคำ� บรรยาย การทำ� การบ้าน
(แบบมีหลักการ) การฝกึ ปฏิบัติ (แบบมแี นวคดิ ) รวมทั้งมีการติดตง้ั
หลกั การของ 3 ระดบั ข้ันของการลอกเลยี น-สรา้ งสรรคเ์ อาไวด้ ้วย

(2.5) ข้อผิดพลาดท่เี กดิ จากโครงสร้างวธิ คี ิด สำ� หรบั ผู้
เขา้ อบรมบางท่านมโี ครงสร้างวิธีคดิ อยู่แบบเดียวคือ แบบเรียงเป็นหน้า
กระดาน ตวั แปร/แนวคดิ ทุกอย่างอย่ใู นระดบั หรือระนาบเดยี วกันหมด
แต่เม่อื ตอ้ งพบกับหลักการ แนวคดิ ชุดของขอ้ มลู ทีไ่ ม่ได้เรียงตวั แบบ

199


หน้ากระดาน หากแตเ่ รียงตัวเปน็ ก่งิ -กา้ น-สาขา หรือ set-subset ก็จะ
อ่านข้อมูลไมไ่ ดห้ รืออ่านไมอ่ อก และเกิดความสับสนระหวา่ งขอ้ มูล
เหล่านั้น เชน่ มกี ารต้ังคำ� ถามวา่ “กระบวนการ” กบั “การมีสว่ นรว่ ม”
ตา่ งกนั อยา่ งไร โดยวางแนวคดิ เรื่อง “กระบวนการ” กบั “การมสี ่วน
ร่วม” ไวบ้ นหน้ากระดานเดียวกนั แต่ความจรงิ แลว้ “กระบวนการ” มี
สถานะเปน็ “กิง่ ” (set) สว่ น “การมีสว่ นร่วม” มีสถานะเปน็ “ก้าน”
(subset) จึงนำ� มาเทยี บกนั แบบที่ถามมาไมไ่ ด้

วิธีการปรับแกน้ น้ั ก็ตอ้ งเร่ิมตง้ั แตต่ ้อง Add เพมิ่ โครงสรา้ ง
วิธคี ิดแบบมีล�ำดบั ชั้น ก่งิ -ก้าน-สาขาเข้าไป และเมอ่ื มขี อ้ มูลดิบมาให้
ทดสอบ กแ็ สดงใหเ้ หน็ ว่าในข้อมลู แตล่ ะชุดนนั้ ต้องใชโ้ ครงสรา้ งวธิ ีคิด
แบบไหน: หนา้ กระดาน/หรอื ลำ� ดบั ช้นั

(2.6) ขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ จาก “การมองมาจากมมุ ทแ่ี คบ
ทำ� ใหเ้ หน็ ภาพแบบเดยี วหรือเหน็ ภาพท่บี ดิ เบ้ียว ตวั อย่างเชน่ การ
วิเคราะห์บทบาทหน้าที่ (function analysis) เนือ่ งจากผูเ้ ขา้ อบรม
เรียนรเู้ รื่องการวิเคราะหบ์ ทบาทหนา้ ทีม่ าจาก “กรณีศึกษา” ท่ีเปน็ “ตัว
คน” ท้งั หมด เชน่ บทบาทของพเ่ี ล้ยี ง บทบาทของคณะกรรมการ ฯลฯ
การท่เี คยยนื ถา่ ยรูปจากมมุ น้ีมมุ เดยี ว ทำ� ให้เกดิ ภาพสรุปว่า “ส่งิ ทจ่ี ะทำ�
หนา้ ที่ได้กม็ ีแตต่ วั คน” เทา่ น้ัน

วิธีการปรับแก้เรอ่ื ง “มุมทแ่ี คบ” นกี้ ็ต้องพาผูเ้ รยี นยา้ ยทยี่ ืน

200


Click to View FlipBook Version