การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดบั คุณภาพผูเ้ รียน
โรงเรียนการกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวดั ภาคใต้
Model Development of the Academic Administration to
Enhance the Student Quality in the Charitable Schools of
Buddhist Temples in Areas of Southern Provinces
ธรศิ ร เทยี บปาน
Tharisorn Tiebpan
วทิ ยานพิ นธ์น้ีเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สูตรปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรดุษฎีบณั ฑิต
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Doctor of Education Degree in Educational Administration
Hatyai University
2562
การพฒั นารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน
โรงเรียนการกศุ ลของวัดในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
Model Development of the Academic Administration to
Enhance the Student Quality in the Charitable Schools of
Buddhist Temples in Areas of Southern Provinces
ธรศิ ร เทยี บปาน
Tharisorn Tiebpan
วทิ ยานพิ นธน์ เี้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญาศกึ ษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่
A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Doctor of Education Degree in Educational Administration
Hatyai University
2562
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหาดใหญ่
Copyright of Hatyai University
(3)
ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์ การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน
โรงเรยี นการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
ผู้วิจัย ธริศร เทยี บปาน
สาขาวชิ า การบริหารการศึกษา
ปีการศกึ ษา 2561
คาสาคญั
รูปแบบการบริหารงานวิชาการ, คณุ ภาพผูเ้ รยี น, โรงเรยี นการกศุ ล
บทคดั ย่อ
การวิจัยเร่ืองการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน
มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของรูปแบบ การสร้างรูปแบบ และนารูปแบบไป
ทดลองใช้ เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัด
ภาคใต้
การศึกษาใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานโดยการศึกษาเชิงคุณภาพใช้วิธีการสัมภาษณ์
เชิงลึกจากผู้บริหารสถานศึกษาที่มีคุณภาพ ประสบความสาเร็จและเป็นแบบอย่าง 5 โรงเรียน จานวน
20 คน เพ่ือทราบสภาพปัจจุบันของรูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ีมีคุณภาพ และการศึกษาเชงิ ปริมาณ
โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสุ่มอย่างง่าย จานวน 13 โรงเรียน เพ่ือสอบถามจาก
ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หัวหน้างานวิชาการ และหัวหน้ากลุ่มสาระ รวมท้ังส้ิน
52 คน เพ่ือนาข้อมูลมาสร้างองค์ประกอบรูปแบบการบริหารงานวชิ าการท่ีมีคุณภาพ แล้วนาผลท่ีได้
ไปจัดสนทนากลุ่มจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 9 คน เพื่อตรวจสอบรูปแบบการ
บริหารวิชาการท่ีมีคุณภาพ จากน้ันนารูปแบบที่ได้ไปทดลองใช้จริงในโรงเรียนแจ้งวิทยาระยะเวลา
1 ภาคเรียน โดยทาการประเมนิ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และประโยชน์
ผลการวิจัยพบวา่
1. สภาพปจั จุบันการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรยี น ผลการศกึ ษา พบว่า องคป์ ระกอบ
ของรูปแบบการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนได้ใช้รูปแบบของกระทรงศึกษาธิการ ทั้ง 12 ด้าน ได้แก่
การบรหิ ารหลักสูตร กระบวนการพฒั นาการเรยี นรู้ การวัดประเมนิ ผล การวิจยั เพอื่ การพฒั นา การพัฒนาส่ือ
นวัตกรรม การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนวการศึกษา การพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพการศึกษา การส่งเสริมความรู้ทางด้านวิชาการ การประสานความร่วมมือและการส่งเสริมสนับสนนุ
วิชาการกับโรงเรยี นอ่ืน และบางโครงการได้ร่วมกับ สสวท. และโครงการอ่ืนที่สามารถนาไปยกระดับคุณภาพ
ผเู้ รยี น
2. รูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ีสร้างขึ้น ประกอบด้วย ขอบข่ายการบริหารงาน
วิชาการ มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านภาวะผู้นาทางวิชาการ 2) ด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน
วิชาการ 3) ด้านการพัฒนาทีมงานวิชาการ 4) ด้านกระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวคิด
ดุลยภาพ และ 5) ด้านขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย องค์ประกอบย่อย
(4)
12 องค์ประกอบ และองค์ประกอบย่อยท่ี 5.13 การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนได้เพ่ิมเติม
จากขอ้ เสนอแนะจากการสนทนากล่มุ ของผลการวิจยั
3. ผลการนารปู แบบไปทดลองใช้ โดยการนาคมู่ อื รปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการไป
ทดลองใช้กับโรงเรียนแจ้งวิทยา ได้ผลการประเมินคุณภาพการทดลองใช้รูปแบบการบริหารงาน
วชิ าการ มีตวั บง่ ชรี้ ายการประเมินทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับคุณภาพดีและดีมาก มีเพยี งประเด็นเดียวที่
อยู่ในระดับพอใช้คือ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ งานวิจัย หรือพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
กบั โรงเรียน หนว่ ยงานและสถาบันอ่ืน ผลการระดมความคิดเห็นของผู้สอนแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้
พบว่า ควรบูรณาการการสอนความรู้คู่คุณธรรม อีกทั้งการนาไปใช้ควรคานึงถึงบริบทของแต่ละ
สถานศกึ ษา ตลอดจนมกี ารวัดและประเมนิ ผล เพื่อปรับปรุงอยา่ งต่อเน่อื ง
(5)
Dissertation Title Model Development of the Academic Administration to
Enhance the Student Quality in the Charitable Schools of
Researcher Buddhist Temples in Areas of Southern Provinces.
Major Program Mr.Tharisorn Teappan
Academic Year Educational Administration
Keywords 2019
Academic Administration Model, Student Quality, Charity
schools
ABSTRACT
The research is aimed to investigate the current model, to develop and
to subsequently experiment using the model to elevate student quality in charity
schools at Buddhist temples in southern provinces.
This study was a mixed methods research. Qualitative research was
conducted by means of in-depth interviews with 20 subjects at five successful quality
schools to ascertain the current quality of academic administration. Questionnaires
were distributed to 13 schools by means of simple random sampling to obtain data
through the directors, deputy directors, heads of academic affairs, and heads of
departments. In the aggregate, there were 52 respondents. To obtain quality elements
of the academic administration model, the focus group of the nine experts and
educational administrators was conducted based on the questionnaires result in order
to evaluate the quality academic administration model. The model was subsequently
used in an experiment at Chaeng Witthaya School for one semester to evaluate
suitability, feasibility, and usefulness.
The study revealed that:
1. The current academic administration of the 13 schools indicated
elements of academic administration model used in schools are under the authority
of The Ministration of Education. The 12 aspects are as follows: curriculum
administration, learning development processes, assessment, research on
development, innovative media development, learning resource development,
educational supervision, educational guidance, system development for quality
assurance in education, academic knowledge enhancement, academic collaboration,
support from other schools, projects in collaboration with IPST, and other projects
used to elevate student quality.
(6)
2. The model of academic administration is comprised of five
administration frameworks namely a) academic leadership, b) participation in academic
administration, c) academic team development, d) the process of an academic
administration underlying a concept of equilibrium, and 5) the 12 elements of
academic administration framework. Element 5.13, ethics and morality in schools, was
added to the research suggestions in line with the results of the focus group.
3. In order to obtain an evaluation of the experiment for academic
administration, a manual of academic administration was developed as a result of the
experiment and used with Chaeng Witthaya School. An individual indicator of each
element pointed to good and excellent levels. The only one element (i.e., publishing
academic papers, research, improving quality of teaching and learning in the schools,
corporation supports, and other institutions) was at the fair level. After the study, the
model of academic administration was developed in means of brainstorming sessions
with teachers from different departments and integrated ethics into teaching. The
model implementation, along with evaluation and assessment for continual
improvement, can vary according to the condition of each school.
(7)
กิตตกิ รรมประกาศ
วิทยานิพนธฉ์ บบั น้สี าเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรณุ าให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื และเอาใจ
ใส่อย่างดียิ่งจากท่านอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คือ รองศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร์ จุลทรัพย์ และ
รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ธรรมสัจการ ที่กรุณาให้ความรู้ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆ ดแู ลเอาใจใส่และให้กาลงั ใจดว้ ยดีเสมอมา ผ้วู ิจัยรสู้ ึกซาบซึ้ง
และขอบพระคณุ อยา่ งสงู มา ณ โอกาสน้ี
ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา จรจิตร ประธานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
ดร.อศิ รฏั ฐ์ รินไธสง กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิที่ชว่ ยตรวจสอบและเสนอแนวคดิ ท่เี ปน็ ประโยชน์ เพื่อให้
วิทยานิพนธ์มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน และคณาจารย์มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ทุกท่านท่ีได้กรุณา
ถา่ ยทอดความรู้และประสบการณ์ทม่ี ีคุณค่ายง่ิ แก่ผ้วู ิจยั
ขอขอบพระคุณผเู้ ชย่ี วชาญ ผ้ทู รงคุณวุฒแิ ละผูใ้ ห้ข้อมูลทกุ ทา่ นทีส่ ละเวลาอันมีค่ายิ่ง
ในการให้ข้อมูลที่เปน็ ประโยชนจ์ นกระท่งั การวจิ ัยในครัง้ นี้สาเรจ็ ไดด้ ้วยดี
ขอกราบนมัสการ ขอบพระคุณ พระพศิ าลสิกขกิจ เจ้าอาวาสวัดแจง้ ผรู้ บั ใบอนุญาต
โรงเรียนแจ้งวิทยา ท่ีไดใ้ หก้ ารสนบั สนุนการศกึ ษาด้วยดีเสมอ
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อล่า เทียบปาน คุณแม่สร้าง เทียบปาน ผู้กาเนิดที่อบรม
บ่มเพาะปลูกฝังความดี และคุณถนอม บุญโชติ ท่ีเป็นกาลังใจและอยู่เคียงข้างตลอดจนพี่น้องที่ให้
กาลังใจท่ดี เี สมอมา
ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ครู บุคลากรโรงเรียนแจ้งวิทยา เพ่ือน พ่ี น้องทุกๆ ท่านท่ี
คอยใหค้ วามช่วยเหลือ ใหค้ าปรึกษาและเป็นกาลังใจที่ดีแกผ่ ู้วิจัยเสมอมา รวมทงั้ ขอบคณุ ผู้ทเี่ กี่ยวข้อง
ทกุ ท่านที่ไมไ่ ดก้ ล่าวมา ณ ท่ีน้ีดว้ ย
ธริศร เทยี บปาน
(8)
สารบญั
หน้า
บทคัดย่อ...................................................................................................................................... (3)
ABSTRACT.................................................................................................................................. (5)
กิตตกิ รรมประกาศ........................................................................................................................ (7)
สารบญั ......................................................................................................................................... (8)
สารบญั ตาราง............................................................................................................................... (10)
สารบัญภาพ ................................................................................................................................. (12)
บทท่ี
1 บทนา .................................................................................................................................... 1
ความเป็นมาของปัญหา................................................................................................... 1
คาถามของการวจิ ัย......................................................................................................... 4
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ................................................................................................ 4
ประโยชนข์ องการวจิ ยั ..................................................................................................... 5
ขอบเขตของการวจิ ยั ....................................................................................................... 5
นยิ ามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................ 7
2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ยี วข้อง................................................................................. 10
แนวคดิ และหลักการเก่ียวกบั การบริหารโรงเรียนการกุศลของวัดพระพุทธศาสนา........... 10
แนวคดิ และทฤษฎเี กยี่ วกบั การบรหิ ารงานวชิ าการ.......................................................... 17
องคป์ ระกอบการบริหารงานวิชาการ............................................................................... 28
แนวคดิ เก่ยี วกบั รูปแบบและการพัฒนารปู แบบการบริหารงานวิชาการ ........................... 63
แนวคิดเก่ียวกบั ค่มู ือการบริหารงานวิชาการ.................................................................... 73
การวิเคราะห์สถานการณ์การบริหารงานวิชาการโรงเรียนการกุศลของวดั ใน
พระพุทธศาสนา.............................................................................................................. 77
งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง ......................................................................................................... 79
กรอบแนวคิดทีใ่ ช้ในการวจิ ัย........................................................................................... 81
3 วธิ ีดาเนนิ การวิจยั .................................................................................................................. 84
ขนั้ ตอนที่ 1 การศึกษาองคป์ ระกอบเก่ยี วกับการบรหิ ารวิชาการเพ่ือยกระดับ
คณุ ภาพผ้เู รียนโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขต
จงั หวัดภาคใต้ .............................................................................................. 85
เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล.................................................................................. 86
ขนั้ ตอนท่ี 2 การสรา้ งรปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการเพื่อยกระดบั คุณภาพผู้เรยี น
โรงเรยี นการกศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ ................. 87
เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ................................................................................................. 89
การหาคุณภาพเครื่องมือ................................................................................................. 90
(9)
สารบญั (ตอ่ )
หน้า
ขน้ั ตอนที่ 3 การประเมินผลการใช้รปู แบบการบริหารงานวชิ าการเพื่อยกระดับ
คณุ ภาพผเู้ รยี นโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขต
จงั หวดั ภาคใต้………………………………………………………………………………….... 94
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ................................................................................................. 98
การหาคุณภาพเครื่องมือ................................................................................................. 99
สรุปผลการประเมินผลหลงั การใช้ ................................................................................... 100
4 ผลการวิจยั ............................................................................................................................ 102
1 ผลการศกึ ษาสภาพปจั จบุ ันของการบรหิ ารงานวชิ าการเพ่ือยกระดบั คุณภาพผเู้ รียน
โรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวดั ภาคใต้................................. 102
2 ผลการยกร่างรปู แบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน โรงเรียน
การกุศลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ .............................................. 104
3 ผลการนารูปแบบไปใช้ ................................................................................................ 110
5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ................................................................................... 119
สรุปผลการวิจยั ............................................................................................................... 119
อภิปรายผลการวจิ ัย........................................................................................................ 121
ข้อเสนอแนะ................................................................................................................... 123
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้..................................................................... 123
ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป............................................................................. 124
บรรณานกุ รม................................................................................................................................ 125
ภาคผนวก..................................................................................................................................... 133
ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพ่ือการวิจยั .......................................................................... 133
ภาคผนวก ข คู่มือการทดลองใช้...................................................................................... 143
ภาคผนวก ค แบบประเมินการใชร้ ปู แบบ........................................................................ 175
ภาคผนวก ง ผลการประเมินคู่มอื การทดลองใช้ .............................................................. 199
ภาคผนวก จ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ ........................................................................... 208
ภาคผนวก ฉ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ................................................................................ 225
ภาคผนวก ช หนังสอื ขอความอนเุ คราะห์ ........................................................................ 274
ภาคผนวก ซ รายนามผทู้ รงคุณวฒุ ิ.................................................................................. 279
ประวัติผู้วิจยั ................................................................................................................................. 288
(10)
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หน้า
1 BSC มุมมองดา้ นสถาบันการศกึ ษา..................................................................................... 41
2 วิธกี ารดาเนนิ งานตามรปู แบบการบริหารงานวิชาการเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพผูเ้ รียน
โรงเรยี นการกุศลของวัดในพระพทุ ธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ ........................................ 95
3 ผลการประเมนิ คุณภาพการทดลองใชร้ ปู แบบการบริหารงานวชิ าการ................................. 110
4 ผลการวเิ คราะหป์ จั จยั ภายในและปจั จยั ภายนอกการบริหารโรงเรียนการกุศลของ
วดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจงั หวดั ภาคใต้ ด้านภาพรวมของการบริหาร
โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ (SWOT Analysis) .................................................................. 211
5 ผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา
ในเขตจงั หวัดภาคใต้ ดา้ นภาพรวมของการบรหิ าร โดยใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะห์
(TOWS Matrix) ............................................................................................................... 213
6 ผลการวิเคราะห์ปจั จยั ภายในและปัจจัยภายนอกการบริหารโรงเรียนการกุศล
ของวัดในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ดา้ นภาพรวมของการบรหิ าร
โดยใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์ (SWOT Analysis) .................................................................. 216
7 ผลการพฒั นากลยุทธก์ ารบรหิ ารโรงเรียนการกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนา
ในเขตจังหวัดภาคใต้ ดา้ นภาพรวมของการบรหิ าร โดยใช้ (TOWS Matrix) ....................... 217
8 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปจั จยั ภายนอกการบรหิ ารโรงเรยี นการกศุ ล
ของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ด้านภาพรวมของการบริหาร
โดยใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์ SWOT Analysis)……………………………………………………………..219
9 ผลการพฒั นากลยทุ ธ์การบริหารโรงเรียนการกศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศาสนา
ในเขตจังหวัดภาคใต้ ดา้ นภาพรวมของการบรหิ าร โดยใช้ (TOWS Matrix).........................220
10 ผลการวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายในและปจั จัยภายนอกการบริหารโรงเรยี นการกศุ ล
ของวัดในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์
(SWOT Analysis).................................................................................................................222
11 ผลการพัฒนากลยุทธว์ ิเคราะห์ปัจจยั ภายในและปจั จยั ภายนอกการบรหิ ารโรงเรยี น
การกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ ด้วยการเขา้ ถึงโดยใช้
(TOWS Matrix).................................................................................................................... 223
12 จานวนและร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 13 โรงเรยี น....................................................226
(11)
สารบัญตาราง (ต่อ)
13 คา่ เฉลี่ยของสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของการพฒั นารปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการ
เพือ่ ยกระดบั คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขต
จังหวัดภาคใต้ และค่า t แยกตามเพศ…………………………………………………………………………228
14 คา่ เฉลี่ยของสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของการพฒั นารูปแบบการบริหารงานวิชาการ
เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพผเู้ รยี น โรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขต
จังหวดั ภาคใต้ และค่า t แยกตามอายุ…………………………………………………………………….....235
15 คา่ เฉล่ียของสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของการพฒั นารูปแบบการบริหารงานวชิ าการ
เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขต
จังหวัดภาคใต้ และค่า t แยกตามวฒุ ิการศึกษา....................................................................242
16 ค่าเฉล่ียของสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของการพฒั นารปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการ
เพ่อื ยกระดบั คุณภาพผู้เรียน โรงเรยี นการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขต
จังหวดั ภาคใต้ และค่า t แยกตามประสบการณ์……………………………………………………………249
17 คา่ เฉลีย่ ของสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของการพัฒนารปู แบบการบริหารงานวิชาการ
เพ่ือยกระดับคณุ ภาพผู้เรียน โรงเรยี นการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขต
จงั หวัดภาคใต้ และค่า t แยกตามตาแหน่ง............................................................................255
18 ค่าเฉลย่ี ของส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของการพัฒนารปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการ
เพ่ือยกระดบั คุณภาพผู้เรยี น โรงเรยี นการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขต
จงั หวดั ภาคใต้ และค่า t แยกตามคา่ จ้าง/เงนิ เดือน……………………………………………………….262
19 แสดงความสอดคล้องของความคดิ เห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญท่มี ตี ่อการดาเนนิ งานของ
โรงเรยี นในการพฒั นารูปแบบการบริหารงานวิชาการ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพผู้เรยี น
โรงเรยี นการกศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้…………………………………….268
(12)
สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา้
1 แผนท่ี 14 จงั หวดั ภาคใต้................................................................................................. 17
2 กรอบแนวคิดการวิจัยการพฒั นารปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการเพื่อยกระดบั คุณภาพ
ผเู้ รียนโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ .......................... 83
3 ข้ันตอนการวจิ ัยการพฒั นารูปแบบการบริหารงานวชิ าการเพื่อยกระดบั คุณภาพผเู้ รียน
โรงเรียนการกศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวดั ภาคใต้………………………………… 84
4 ร่างรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผูเ้ รียนโรงเรียนการกุล
ของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ .............................................................. 103
5 รูปแบบการพฒั นารปู แบบการบริหารงานวชิ าการเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพผู้เรียน
โรงเรยี นการกศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ............................................ 105
6 รปู แบบการพฒั นารูปแบบการบริหารงานวชิ าการเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพผเู้ รียน
โรงเรยี นการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้…………………………………….....106
1
บทที่ 1
บทนำ
ควำมเป็นมำของปญั หำ
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษท่ี 2 (พ.ศ.2552-2561) รัฐบาลมุ่งเน้นให้คนไทยได้
เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายภายใน พ.ศ.2561 มีความสาคัญคือ พัฒนาคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาในการเรียนรู้ของคนไทย ให้ผู้เรียนสามารถรู้ถึงสภาพของโรงเรียนแหล่ง
เรยี นร้สู ภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อหลักสูตรและเน้ือหา พัฒนาวิชาชพี ครูใหเ้ ป็นวชิ าชีพท่ีมีคุณค่า สามารถ
ให้คนเก่ง คนดี มีใจรักมาเป็นครูอย่างย่ังยืน และภายใต้ระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึง เพื่อให้ประชาชนทุกคนมีโอกาสเข้า ถึง
การศึกษาและเรียนรู้ทุกภาคส่วนของสังคม การบริหารการศึกษาต้องเช่ือมโยงกับการพัฒนา ท้ังด้าน
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง อันส่งผลให้คนไทยยุคใหม่เป็นบุคคลที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง รักการ
อ่านและมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการสื่อสาร คิดวิเคราะห์แก้ปัญหาได้อย่าง
สร้างสรรค์ และมจี ิตสาธารณะ มีระเบียบวินัยเห็นแก่ประโยชนส์ ว่ นรวม สามารถทางานเป็นกลุ่มเป็น
ทีมได้ อันมีศีลธรรมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม จิตสานึกในความภาคภูมิใจความเป็นไทยและ
สามารถก้าวทันโลก จากกรอบแนวคิดในการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 11 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงมีความต่อเนื่อง
จากแผนพัฒนาฉบับท่ี 8-10 โดยยึดหลักการปฏิบัติตาม“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”และสร้างความ
สมดุลทางการศึกษา ขับเคล่ือนให้เกิดผลท่ีมีความชัดเจนยงิ่ ขึ้น ในทุกส่วนภูมิภาคทุกระดับยึดคนเป็น
ศูนย์กลางในการพัฒนาอย่างบูรณาการ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้มีความพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะ
เกิดข้ึนท้ังในระดับครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ แต่ในขณะเดียวกันให้ความสาคัญกับการ
มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการพัฒนาประเทศ ภารดี อนันต์นาวี (2553, น. 243) เป้าหมายสาคัญ
ของการจัดการศึกษาในปัจจุบันให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอานาจการบริหารและการจัด
การศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ไปยัง
คณะกรรมการและสานักงานการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เขตพื้นท่ีการศึกษา และโรงเรียนใน
เขตพื้นทโ่ี ดยตรง หลักเกณฑ์และวธิ ีการกระจายอานาจดงั กลา่ วใหเ้ ปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
โรงเรียนเอกชนมีส่วนท่ีเหมือนและส่วนท่ีต่างในเร่ืองของการแบ่งโครงสร้างการบริหาร ซึ่งมีความ
สอดคล้องกับ สมั มา รธนิธย์ (2556, น. 113) การปฏิรปู การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 มุ่งกระจายอานาจ
สู่สถานศึกษา เขตพ้ืนที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนและ
ภาคเอกชน ทุกภาคส่วนมีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดยยึดหลักนิติธรรม หลัก
คุณธรรม การมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า มีความโปร่งใสเป็นธรรม ตรวจสอบ
ได้ นาระบบและวิธีการบริหารแนวใหม่ มาควบคู่กับการบริหารการศึกษาให้มีคุณภาพเกิดข้ึนอย่าง
เป็นรูปธรรม และเสมอภาคกับคนไทยทุกคน มาตรา 43 การบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
1
2
ให้มีความเปน็ อิสระโดยมีการกากับ ติดตาม การประเมนิ คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรฐั และ
ต้องปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑ์การประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเช่นเดียวกบั ของรัฐ
การบรหิ ารโรงเรียนใหม้ คี ณุ ภาพ ผู้บริหารต้องศึกษารปู แบบ (Model) ในการบริหาร
จะพัฒนาอย่างไรไปสู่เป้าหมายให้มีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมกับบริบทและปัจจัยต่างๆ ของ
โรงเรียน ตอ้ งเข้าใจงานขององค์กรอย่างเป็นระบบ หรือองคป์ ระกอบย่อยของระบบภายในและระบบ
ภายนอกขององค์กร ซ่ึงมีความสอดคล้องกับ ธีระ รุญเจริญ (2550, น. 98) การบริหารการศึกษามี
ความแตกต่างจากการศกึ ษาในอดีต เป็นการบริหารที่สามารถเปิดเผยใหแ้ ก่สาธารณชน และบุคคลท่ีมี
สว่ นไดส้ ่วนเสียทเี่ ก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยให้รบั ทราบและตรวจสอบได้ ซึง่ เปน็ ผลดีกบั โรงเรยี นว่า จะไดร้ ับการ
ยอมรับความเชื่อถือ ความมั่นใจด้านคุณภาพจากผู้ปกครองและชุมชน ซ่ึงการบริหารโรงเรียนใน
ปัจจุบัน ต้องมีการปรับเปล่ียนวิธีการบริหารให้ความสาคัญกับการพัฒนา ซึ่งมีความสอดคล้องกับ
สถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลง จึงจาเป็นที่ผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องมีความรู้ ความ
เข้าใจใฝ่รู้และพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ เพ่ือมุ่งพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มุ่งเน้นความ
เปน็ เลศิ ทางการศึกษา เพอื่ ให้ผู้เรียนเปน็ คนดีมีปญั ญาและก่อให้เกดิ ความสุขตามศกั ยภาพ การบรหิ าร
การศึกษามุ่งให้เกิดผลดีบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ จึงเป็นหน้าท่ีของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนท่ีต้องรู้
และเขา้ ใจจุดมงุ่ หมายของการจัดการศึกษาและรว่ มมือกนั
สถานการณ์ในปัจจุบัน โรงเรียนเอกชนมีการแข่งขันกันในระดับสูง เนื่องจากหลาย
หน่วยงานท่ีจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น จัดการศึกษาในระดับอนุบาล ระดับ
ประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในแต่ละโรงเรียนต้องพยายามพัฒนาด้านการ
บริหารงานในทุกด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวิชาการอันเป็นหัวใจสาคัญของการบริหาร เพื่อมุ่งสู่การ
พัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพย่ิงข้ึน ผู้ปกครองที่มีความสนใจท่ีจะส่งบุตรหลานเข้ามาเรียน เช่น การเน้น
เรื่องภาษาต่างประเทศ มีภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น โครงการห้องเรียนพิเศษ English
Program (EP) และ Mini English Program (MEP) หรือการเรียนการสอนระบบสองภาษา
การสนับสนุนโดยให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่จะช่วยสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน เพราะ
ผู้ปกครองจะนานักเรียนเขา้ ศึกษาในโรงเรียนเอกชน มคี วามหวงั ว่าบตุ รหลานของตนจะได้รบั การดูแล
เอาใจใส่และรับความรู้อย่างเต็มความสามารถ ถึงแม้ว่าจากการศึกษาในโรงเรียนเอกชนโดยทั่วไป
จะต้องเสียค่าใชจ้ ่ายมากกวา่ ของรฐั บาล ผู้บริหารควรมีวิสัยทัศน์ทางการบริหารการศึกษาในเชิงรกุ ให้
เป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพ การบรหิ ารโรงเรยี นเอกชน มคี วามคล้ายคลึงกันกับการบริหารธุรกิจ ต้องอาศัย
บุคคลที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ได้รับงบประมาณในการสนับสนุน การดาเนินงานต้องมีวัสดุ
สิ่งของตามความต้องการของหน่วยงาน เพ่ือตอบสนองต่อโครงการและแผนงาน ต้องมีระบบการ
บรหิ ารทดี่ ีใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อยา่ งจากัด ใหป้ ระหยดั และเกดิ ประโยชน์สูงสุด
โรงเรียนเอกชน มีคณะกรรมการบริหาร อันประกอบด้วย ผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ
ผู้อานวยการ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู และผู้ทรงคุณวุฒิเป็นกรรมการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโรงเรียน
การกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา เป็นโรงเรียนอีกกลุ่มหนึ่งที่อยู่ในภาระหน้าท่ีของรัฐบาลมี
โครงสร้างการบริหารที่มีความสอดคล้องกับโรงเรียนเอกชนท่ัวไป โดยมีเจ้าอาวาสเป็น
ผู้รับใบอนุญาต (เจ้าของ) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลตามรายหัวนักเรยี น 100 เปอร์เซ็นต์
ของแต่ละปีการศึกษา โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ มีจานวน
3
14 โรงเรียน เป็นโรงเรียนท่ีมีลักษณะพิเศษต่างจากโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทั่วไปคือ เป็น
การเพ่ิมโอกาสให้กับนักเรียนกลุ่มที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาและขาดแคลนทุนทรัพย์ให้มีคุณภาพ
เท่าเทียมกับนักเรียนในโรงเรียนอื่นๆ ซ่ึงส่งผลต่อการบริหารให้มีมาตรฐานเช่นเดียวกับโรงเรียนใน
ระดับเดียวกันที่สังกัดหน่วยงานอ่ืน โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
ต้องใช้ระบบการบริหารท่ีมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เปล่ียนแปลงและพัฒนาคุณภาพ
โรงเรยี นอยา่ งต่อเนื่อง เน้นให้ผเู้ รียนมเี จตคติที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน มคี ุณธรรม จริยธรรม รักการเรียนรู้
รักความมุ่งม่ันในการพัฒนาประเทศ มีโครงสร้างหลักสูตรระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ผลจากการทดสอบระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (0-net) ปีการศึกษา 2557-2559 ไม่บรรลุผลตามเปา้
ทไี่ ดว้ างไว้ ท่จี ะยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนใหส้ งู ขน้ึ แตท่ งั้ น้กี ข็ ึน้ กับความพรอ้ มของ
โรงเรียนในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนทุกคนได้รับความรู้อย่างทั่วถึง โดยการจัดการเรียน
การสอน เน่ืองจากความพร้อมของนักเรียนและโรงเรียน โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีครูจานวน
ไม่เพียงพอและไม่ตรงกับกลุ่มสาระย่อมส่งผลต่อคุณภาพการสอนของครู ซ่ึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของผู้เรียนน้ันเป็นส่วนหน่งึ ของการบริหารงานวิชาการ อันเป็นเคร่ืองชคี้ วามสาเรจ็ และความสามารถ
ของผู้บริหารโรงเรียน เป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหาร ครู และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจะต้องรับรู้
เร่ืองราวและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน เพ่ือนาไปพัฒนาได้ตาม
เป้าหมายและให้เกิดประโยชน์อันสูงสดุ แก่ผู้เรียน (สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16,
2556)
การบริหารงานวิชาการ เป็นงานท่ีต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์มาประยุกต์
ใช้ให้เหมาะสมกับการพัฒนาองค์กร เพราะงานวิชาการถือเป็นงานหลักของโรงเรียน ซ่ึงปรียาพร
วงศ์อนุตรโรจน์ (2553), กาญจน์ เรืองมนตร และธรินธร นามวรรณ (2554) กล่าวว่า งานวิชาการถอื
เป็นหัวใจของการบริหารการศึกษา เพราะจุดมุ่งหมายของสถานศึกษาคือ การจัดการศึกษาให้มี
คุณภาพซึ่งข้ึนอยู่กับวิชาการท้ังส้ิน งานวิชาการเป็นกิจกรรมการจัดการเก่ียวกับงานด้านหลักสูตร
การนาหลักสูตรไปใช้แบบเรียน งานการเรียนการสอน งานสื่อการเรียนการสอน งานวัดผลและ
ประเมินผล งานห้องสมุด งานนิเทศการศึกษา งานวางแผนการศึกษา และงานประชุมอบรมทาง
วิชาการ เพ่ือส่งเสริมให้ผูเ้ รียนบรรลุจดุ มุ่งหมายของการจดั การศึกษาท่ีกาหนดไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ของโรงเรียน
รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิผล จึงเป็นหัวใจหลักสาคัญในการจัด
การศกึ ษาในระดับโรงเรียน ผู้บริหารย่อมผลักดนั ให้คุณภาพทางวชิ าการเป็นรูปแบบในการปฏบิ ัติงาน
ที่จะส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ การพัฒนาทีมงานวิชาการให้เกิดขึ้นใน
โรงเรียน ตลอดจนการนากระบวนการบริหารที่ทันสมัย ความเป็นผู้บริหารมืออาชีพ พร้อมท่ีจะ
ขับเคลื่อนภารกิจและขอบข่ายการดาเนินงานวิชาการ เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิผลทางวิชาการใน
โรงเรียน ย่อมแสดงให้เห็นได้ว่า รูปแบบหรือวิธีการบริหารวิชาการที่ผ่านมายังไม่เป็นแบบท่ีชัดเจน
โดยเฉพาะผู้บริหารต้องได้รับการพัฒนาและมีความเป็นผู้นาทางวิชาการที่สามารถนาผลไปสู่การ
จัดการเรียนการสอนให้มคุณภาพในหลายวิธีการ ในการยกระดับคุณภาพของครูและผู้บริหาร ผู้วิจัย
จึงมีความสนใจศึกษา การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ว่ามี
องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อยและตัวบ่งชอ้ี ะไรบ้าง ตลอดจนมีแนวทางในการปฏิบัติอย่างไรใน
4
การบรหิ ารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรยี น โดยนาเอาแนวคิดความเป็นผ้นู าทางวชิ าการ การ
มีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ การพัฒนาทีมงานวิชาการในโรงเรียน และกระบวนการ
บริหารงานวิชาการ ท่ีมีความสอดคล้องกับองค์ประกอบขอบข่ายการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิจัยการพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการ
กุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ จะเป็นเครื่องมือในการบริหารงานวิชาการใน
โรงเรียนอ่นื ๆ
จากสภาพปัญหาและเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงความสาคัญของการ
บริหารงานวิชาการท่ีมีส่วนเก่ียวข้องตระหนักและให้ความสาคัญกับการบริหารงานวิชาการ กล่าวคือ
จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดาเนินการศึกษาสภาพของปัญหา แนวทางในการพัฒนางานวิชาการ
เพ่ือแก้ปัญหาและเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึน ผู้วิจัยในฐานะผู้บริหารโรงเรียน สังกัด
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาและพัฒนาแนวทางใน
การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนเอกชน เพื่อจะได้ข้อมูลมาเป็นแนวทางสาหรับการบริหารงาน
วิชาการให้ประสบผลสาเร็จต่อไป
คำถำมของกำรวิจัย
การวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผ้เู รียน
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ผู้วิจัยได้กาหนดคาถามการวิจัยไว้ 3
ประการดังนี้
1. สภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนการ
กศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวดั ภาคใต้ เปน็ อยา่ งไร
2. รปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรยี น โรงเรยี นการกศุ ลของ
วดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ ควรเป็นอยา่ งไร
3. ผลการนารูปแบบไปทดลองใช้เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนการกุศลของ
วัดในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวัดภาคใต้ เป็นอยา่ งไร
วตั ถปุ ระสงค์ของกำรวจิ ัย
การวิจัยครัง้ น้มี ีวัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั ดงั นี้
1. เพ่ือศึกษาสภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
2. เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน โรงเรียน
การกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
3. เพื่อนารูปแบบไปทดลองใช้เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนการกุศลของวัด
ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวดั ภาคใต้
5
ประโยชน์ของกำรวิจยั
ผลของการวจิ ัยในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ในดา้ นการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน
การกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนา ดงั น้ี
1. ทาให้ทราบสภาพปัจจุบันและปัญหาของรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อ
ยกระดบั คณุ ภาพผู้เรยี น โรงเรยี นการกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวดั ภาคใต้
2. ผู้บริหารโรงเรียนทราบแนวทางรูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดับ
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ นาไปประยุกต์ใช้ใน
การบริหารตามสภาพของโรงเรียน
3. สานักงานการศึกษาเอกชนนารูปแบบการบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับ
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ขยายผลให้เกิด
ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี นมากยิง่ ข้นึ
ขอบเขตของกำรวิจยั
งานวิจัยครง้ั นี้ เป็นการศึกษาการพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการเพ่ือยกระดับ
คุณภาพผู้เรียน โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ผู้วิจัยได้กาหนด
ขอบเขตทจ่ี ะศกึ ษาดงั นี้
ศึกษาสภาพปัจจุบันการบริหารงานวชิ าการเพ่ือยกระดบั คุณภาพผู้เรียนโรงเรยี นการ
กศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจงั หวดั ภาคใต้
ขอบเขตดำ้ นตัวแปรและเน้ือหำ
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาถึง การบริหารงานวิชาการโรงเรียนการกุศลของวัดใน
พระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ ตามมาตรา 39 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 โดยครอบคลุมเนื้อหา การบริหารวิชาการท้ัง 12
ประการ อันประกอบด้วย การบริหารหลักสูตร กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ การวัดประเมินผล
การวิจัยเพ่ือการพัฒนา การพัฒนาสื่อนวัตกรรม การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การ
แนะแนวการศึกษา การพัฒนาระบบประกัน การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ การประสานความ
ร่วมมือ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนวิชาการกบั โรงเรียนอ่ืน
ขอบเขตประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
ประชากร (Population)
ผู้วจิ ยั ได้กาหนดประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เปน็ ผู้บริหารโรงเรียนการกุศลของ
วัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ จานวน 13 โรงเรียน โดยพิจารณาผู้ปฏิบัติหน้าท่ีบริหาร
ตามโครงสร้างการบริหารที่พระราชบัญญัติการศึกษาของโรงเรียนเอกชนกระทรวงศึกษาธิการ
6
โดยผู้วิจัยกาหนดใช้เกณฑ์ต่าสุดของแต่ละโรงเรียน ในการคานวณหาจานวนประชากรที่เป็นผู้ปฏิบัติ
หน้าที่ในโรงเรียนแต่ละแหง่ ตามขนั้ ตอนของการวจิ ยั ทั้ง 3 ข้นั ตอนดงั นี้
ขนั้ ตอนที่ 1 การศกึ ษาองคป์ ระกอบเก่ยี วกับการบริหารงานวชิ าการทมี่ ีคุณภาพของ
โรงเรยี น สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน
1. ศกึ ษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฏี และงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวกับองคป์ ระกอบการบริหารงาน
วิชาการที่มีคุณภาพได้กรอบแนวคิด ร่างองค์ประกอบและสร้างเป็นแบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต
การศึกษาตัวแบบโรงเรยี น
2. ศึกษาตัวแบบโรงเรียนท่ีมีคุณภาพประสบความสาเร็จและเป็นแบบอย่าง จานวน
5 โรงเรยี นโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผ้ใู ห้ขอ้ มูลสาคญั เกยี่ วกับองค์ประกอบของการบริหารงานวชิ าการ
ที่มีคณุ ภาพ
3. นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษา งานวิจัยที่เก่ียวข้อง ศึกษาตัวแบบโรงเรียนมา
ประมวลเข้าด้วยกัน และวิเคราะห์สถานการณ์ของโรงเรียน เพ่ือร่างองค์ประกอบของรูปแบบการ
บรหิ ารงานวิชาการที่มคี ุณภาพ
ข้ันตอนท่ี 2 การสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ีมีคุณภาพของโรงเรียนการ
กศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้
1. ศึกษาสภาพปญั หาและความต้องการในการบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนการกุศล
ของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ โดยการสนทนากลุ่ม (Group Discussion) จาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารงานวิชาการท่ีปฏิบัติการในโรงเรียน อันประกอบด้วย ผู้อานวยการ
โรงเรียน การกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ จานวน 5 โรงเรียน โรงเรียนละ
1 คน และผทู้ รงคณุ วุฒิทางการบริหารงานวชิ าการ จานวน 4 คน รวมทั้งหมด 9 คน
2. จัดทารูปแบบการบริหารงานวชิ าการทม่ี คี ุณภาพของโรงเรียนการกศุ ลของวดั ใน
พระพุทธศาสนาในเขตจงั หวดั ภาคใต้ เปน็ ฉบบั รา่ ง
3. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขรปู แบบตามขอ้ เสนอของผู้ทรงคุณวุฒิ
4. จัดทาคมู่ ือการดาเนินงานตามรูปแบบ
5. ประเมนิ ความเหมาะสมของคมู่ ือโดยวธิ ีองิ ผ้ทู รงคุณวุฒิ
6. ปรับปรุงคมู่ อื ตามข้อเสนอของผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ
ข้ันตอนที่ 3 การประเมินผลการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ีมีคุณภาพของ
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัดภาคใต้ สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 คน เพ่ือประเมินความ
เหมาะสมความเปน็ ไปได้และประโยชนข์ องรปู แบบท่ีจะนาไปใช้
1. การกาหนดกลุ่มเป้าหมายทดลองใช้รูปแบบ
2. สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจและช้แี จงให้ผู้บรหิ ารบุคลากรในโรงเรยี นทดลองใช้
3. ดาเนนิ การทดลองใช้รปู แบบในโรงเรยี น
7
4. สรปุ ผลหลังการทดลองใช้ โดยการดาเนนิ งานตามรปู แบบและประเมินความ
เหมาะสม ความเป็นประโยชนข์ องรปู แบบ
5. ปรับปรงุ พัฒนารปู แบบกอ่ นนาไปเผยแพร่
ขอบเขตตัวแปรท่ศี ึกษำ
ได้แก่ การบริหารงานวิชาการโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขต
จังหวดั ภาคใต้ โดยแบ่งองคป์ ระกอบของการบริหารงานวชิ าการ 12 ประการดงั น้ี
การบริหารหลักสูตร กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ การวัดประเมินผล การวิจัยเพ่ือ
การพัฒนา การพัฒนาส่ือนวัตกรรม การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การนิเทศการศึกษา การแนะแนว
การศึกษา การพัฒนาระบบประกัน การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ การประสานความร่วมมือ
การสง่ เสริมสนบั สนุนวิชาการกับโรงเรียนอน่ื
ขอบเขตด้ำนพนื้ ทีท่ ี่ศกึ ษำ
โรงเรียนเป้าหมาย คือโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในเขตจังหวัด
ภาคใต้ สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ที่มีการจัด
การศึกษาในระดับอนุบาลไปจนถึงการจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (อนุบาลชั้นปีท่ี 1 ถงึ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
นกั เรยี นมีอายรุ ะหว่าง 3 ปี ถงึ 18 ปี) จานวน 14 โรงเรียน
ขอบเขตด้ำนเวลำ
การวิจยั ครงั้ นผ้ี ู้วิจยั ดาเนนิ การวจิ ัย ระหวา่ งปีการศึกษา 2560 ถงึ ปีการศกึ ษา 2561
นยิ ำมศัพท์เฉพำะ
ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยกาหนดนิยามศัพท์เฉพาะที่สาคัญและเกี่ยวข้องกับการวิจัย
เพอ่ื ความเขา้ ใจที่ตรงกัน ดงั ต่อไปน้ี
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา หมายถึง โรงเรียนที่ต้ังขึ้นตามระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยโรงเรียนราษฎร์ของวัด พุทธศักราช 2488 เดิมใช้ช่ือว่า โรงเรียนราษฎร์
ของวัดตั้งอยู่ในบริเวณวัด โดยมีวัดเป็นเจ้าของและมีเจ้าอาวาสเป็นผู้รับใบอนุญาตโดยตาแหน่ง
สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในงานวิจัยนี้ หมายถึง จัดการศึกษาประเภท
สามัญในรูปแบบการกุศล เป็นการจัดการศึกษาให้เด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาและผู้ยากไร้ โดยไม่
เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเรียนจากผู้เรียน ได้รับเงินอุดหนุนรายหัวนักเรียนจากสานักงาน
คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน
การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารตามภารกิจที่เก่ียวข้องกับงานวิชาการ
ในโรงเรียนให้ประสบความสาเร็จบรรลตุ ามเป้าหมาย ผู้บริหารมีบทบาทสาคัญในการศึกษาวิเคราะห์
ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียนเพ่ือนามาใชใ้ นการวางแผนพฒั นาการศึกษา นาแผนพัฒนาไปดาเนินการให้
เป็นไปตามเงื่อนไขและข้อกาหนด ด้วยการกากับติดตามและแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นและ
8
ทาการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการหรือกิจกรรมน้ัน เพ่ือเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติ
กจิ กรรมต่างๆ น้ัน
รูปแบบ หมายถึง กรอบแนวทางในการดาเนินงานด้านการบริหารงานวิชาการ
ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการบริหารงานวิชาการ ที่มีคู่มือ
การทดลองใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีประสิทธิภาพของโรงเรียน โดยการพัฒนาข้ึนมาจาก
การศึกษาค้นคว้าจากแนวคิด ทฤษฎี และหลักการต่างๆ ตลอดจนศึกษาจากโรงเรียนที่
ประสบความสาเรจ็ และเป็นแบบอย่าง และพฒั นาให้มีความเหมาะสมในการนาไปใช้ เพ่ือส่อื ให้ง่ายต่อ
การทาความเขา้ ใจ ตลอดจนใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนินงาน
การบริหารงานวิชาการเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน หมายถึง แนวทางในการ
ดาเนินงานบริหารงานวิชาการให้บรรลุเป้าหมาย อันประกอบด้วย องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบ
ย่อย เพอื่ เป็นแนวทางในการดาเนนิ การบริหารงานวิชาการ ในคู่มอื การดาเนินงานตามรปู แบบ ภายใต้
องค์ประกอบท่ีสาคัญของการบริหารงานวิชาการประกอบด้วย ภาวะผู้นาทางวิชาการ การมีส่วนร่วม
ในการบริหารงานวิชาการ การพัฒนาทีมงานวิชาการ กระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวคิด
ดลุ ยภาพ และภารกจิ ขอบข่ายการบริหารงานวชิ าการในโรงเรยี น
1. ภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง พฤติกรรมในงานวิชาการที่ส่งผลต่อคุณภาพการ
บริหารงานวิชาการในโรงเรียน ประกอบด้วย กาหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน การมีความรู้ของผู้นาทาง
วชิ าการ ภาระหนา้ ทีข่ องผนู้ าทางวิชาการ และทกั ษะในการเป็นผูน้ าทางวิชาการ
2. การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการ หมายถึง การปฏิบัติงานวิชาการของ
ผู้บริหารและครูในโรงเรียน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม ประกอบด้วยการมีส่วนร่วมในการ
เตรียมการ การมีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานการศึกษา การมีส่วนร่วม
ในการดาเนินงานและการมสี ว่ นร่วมในการประเมินผล
3. การพัฒนาทีมงานวิชาการในโรงเรยี น หมายถึง การปฏิบัติงานตามโครงสร้างการ
บริหารงานวิชาการในโรงเรียน ตามวิธีในการทางานเป็นทีมของผู้บริหารและครู ประกอบด้วย
การรับรู้และการค้นหาปัญหา การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การวา งแผนในการ
ปฏบิ ตั ิงานและการนาแผนไปปฏบิ ตั ริ วมถงึ การประเมินผลลัพธ์ของทีมงาน
4. กระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดดุลยภาพ หมายถึง การปฏิบัติงาน
วิชาการของผู้บริหารและครูในโรงเรียนตามแนวคิดดุลยภาพ ประกอบด้วย ด้านงบประมาณและ
ทรัพยากร ด้านผู้เรียน ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ด้านการ
บรหิ ารโรงเรยี น
5. ภารกิจขอบข่ายการบริหารงานวชิ าการในโรงเรียน หมายถึง ภารกิจของโรงเรยี น
ในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ให้ได้มาตรฐานและ
สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ประกอบด้วย การพัฒนาหลักสูตรและการสอน การบริหาร
จัดการเรยี นรู้ การพฒั นาส่อื นวัตกรรมและแหลง่ เรียนรู้ การวดั ผลประเมินผล การนเิ ทศการศึกษาและ
พัฒนาครู การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา การส่งเสริมความรู้ทางวิชาการแก่ชุมชน และ
การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
9
ความเหมาะสมของรูปแบบ หมายถึง รูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ี
มปี ระสทิ ธิภาพ ครอบคลมุ เนอื้ หาและความเป็นไปได้ในการนาไปใชจ้ ริง
ความเป็นไปได้ของรูปแบบ หมายถึง รูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีสามารถ
นาไปใชไ้ ด้กับโรงเรยี น
บทท่ี 2
แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
ในบทน้ีเป็นการกล่าวถึงวรรณกรรม ทฤษฏี เอกสารงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง แนวคิดของ
นักการศึกษาและสาระสาคัญการเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ตามขอบข่ายภารกิจ
งานหลักของการบริหารงานวชิ าการ ในการศึกษาวิจัย การพัฒนารปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการเพ่ือ
ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ผู้ เรี ย น โร ง เรี ย น ก า ร กุ ศ ล ข อ งวั ด ใน พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ใน เข ต จั ง ห วั ด ภ า ค ใต้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช
2553 ผู้วิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ดังน้ี
1. แนวคิดและหลักการเก่ียวกับการบริหารโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนา
2. แนวคดิ และทฤษฎที ่เี ก่ียวกับการบรหิ ารงานวิชาการ
2.1 ความหมายของการบริหารงานวิชาการ
2.2 ความสาคญั ของงานวชิ าการ
2.3 หลกั การบรหิ ารงานวิชากร
2.4 กระบวนการของการบรหิ ารงานวิชาการ
2.5 ขอบข่ายของการบริหารงานวชิ าการ
3. องคป์ ระกอบการบริหารงานวชิ าการ
4. แนวคดิ เกี่ยวรูปแบบและการพัฒนารปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการ
5. แนวคิดเก่ยี วกบั คู่มอื การบรหิ ารงานวิชาการ
6. การวเิ คราะหก์ ารบริหารงานวิชาการของโรงเรียนการกศุ ลของวดั ใน
พระพทุ ธศาสนา
7. งานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง
แนวคิดและหลกั การเกี่ยวกับการบรหิ ารโรงเรยี นการกศุ ลของวดั ในพระพุทธศาสนา
นโยบายการศึกษาท่ีสัมพันธ์กับงานวิชาการในโรงเรียน เป็นผลที่สืบเนื่องจากการ
ปฏิรูปการศึกษา ผู้วิจัยจึงสรุปเพื่อให้เห็นความเช่ือมโยงของนโยบายการศึกษาในระดับนโยบายสู่การ
ปฏิบัติของโรงเรยี น (สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ 2545ข, น. 9-56) ดังนี้
แนวคดิ เกี่ยวกับการปฏริ ูปการศกึ ษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 3)
พุทธศักราช 2553 เป็นกฎหมายท่ีเป็นฐานหลักด้านการศึกษาศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือเป็น
กรอบรูปแบบในการปฏริ ูปการศึกษา มีสาระสาคญั โดยสงั เขป ดังนี้
หมวด 1 บทท่ัวไป ความมุ่งหมายและหลักการ มีมาตราที่เกี่ยวข้อง คือมาตรา 6
เป็นปรัชญาของการศึกษา ในการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมในการดารงชีวิตและสามารถอยู่ร่วมกับคน
10
11
อื่นได้ มาตรา 7 เป็นเป้าหมายของการจัดการท่ีต้องการให้เกิดข้ึนจากกระบวนการเรียนการสอน
โดยมุ่งปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มาตรา 8 หลักการจัดการศึกษายึดหลัก 3 ประการ คือ
1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิต 2) การให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและ 3) มีการพัฒนาสาระ
และกระบวนการเรียนรเู้ พ่ือคุณภาพการศึกษาเปน็ ไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับวถิ ชี วี ติ และการเรียนรู้
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามีมาตราท่ีเก่ียวข้องคือ มาตรา 22 การจัดการศึกษา
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน มาตรา 23 เป็นเป้าหมายของการจัดการศึกษา
ทั้ง 3 ระบบ ในระบบ นอกระบบ หรือตามอัธยาศัย ให้ความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการ
เรียนรู้และการบูรณาการตามความเหมาะสม มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพและ
การดารงชวี ิตอย่างมีความสุข มาตรา 24 กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ ่ีเน้นการสอนโดยจดั เนอ้ื หาสาระ
และกิจกรรม ท่ีสอดคล้องกับความสนใจความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล มาตรา 25 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา มาตรา 26 ประเมินผลการศึกษาของ
ผู้เรียนด้วยวิธกี ารที่หลากหลาย มาตรา 29 สถานศึกษาร่วมกบั ชุมชนส่งเสรมิ ความเข้มแข็งของชุมชน
มาตรา 30 สถานศกึ ษาตอ้ งพฒั นากระบวนการสอนท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ
หมวด 6 การประกันคุณภาพการศึกษา มีมาตราที่เก่ียวข้องคือ มาตรา 47 จัดให้มี
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งหมายถึงระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการ
ประกันคุณภาพภายนอกเพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
โรงเรยี นทุกแห่งกาหนดใหม้ ีระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน โดยถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ
บรหิ ารทสี่ ถานศกึ ษาตอ้ งดาเนินการอย่างต่อเน่อื ง
หมวด 9 เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา มีมาตราที่เกี่ยวขอ้ งคอื มาตรา 65 ใหม้ ีการพัฒนา
บุคลากรท้ังด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ รวมทั้งการใช้
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ มาตรา 66 กาหนด หลักการในการพัฒนาขีด
ความสามารถของผู้เรียนในด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่เริ่มท่ีผู้เรียนมีโอกาส เพ่ือให้มีความรู้และทักษะ
เพยี งพอท่ีจะใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษาในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ
ในการปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษที่ผา่ นมา มีการกาหนดหลักการและกรอบแนวคิด
วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง รัฐมุ่งเน้นไห้คนไทยได้
เรียนเตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายหลักสามประการ คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาและเรียนของคนไทย เพ่ิมโอกาสทางศึกษาและเรียนรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ และ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารการศึกษาโดยมีกรอบแนวทางการ
ปฏิรูปการศึกษา 4 ประการคือ พัฒนาคุณภาพคนไทยในยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนา
คุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ และพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ (สานักงาน
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2554, น. 1-65)
บริบทการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเอกชน
โรงเรียนเอกชนได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในการจัดการศึกษา นับตั้งแต่สมัยสุโขทัย
โดยจัดในวัดในวังบ้านในสมัยต่างๆ คณะมิชชัน่ นารีชาวอเมริกาเขา้ มาเผยแพรศ่ าสนาและสอนหนังสือ
ให้ประชาชนท่ีสนใจด้วยทาใหโ้ รงเรียนราษฎร์เป็นที่กล่าวถึงของชาวไทยเป็นอย่างย่ิง ในสมัยรัชกาลท่ี
12
5 นาระบบการศึกษาแบบตะวันตกเข้ามาจัดในประเทศไทยและให้โอกาสเอกชนมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา ในต้นรัชกาลท่ี 6 ได้เปล่ียนชื่อโรงเรียนเชลยศักด์ิเป็นโรงเรียนบุคคล โดยความควบคุม
ดูแลตรวจการของกระทรวงศึกษาธิการเมื่อ (วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2461) ได้มีการประกาศ
พระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์ฉบับแรกและมีการเปล่ียนช่ือจากโรงเรียนบุคคลเป็นโรงเรีย นราษฎร์
(มีการออกพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร์อีกหลายฉบับ พ.ศ.2525 ได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนเอกชน)
อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลตรวจการของกระทรวงศึกษาธิการ กรมวิสามัญศึกษา กองโรงเรียนราษฎร์
ในช่วงนี้รัฐได้ให้ ความสาคัญ แก่กิจการศึกษาระดับสูงเปิดโอกาส ให้ เอกชนมีส่วนร่ วมในการจั ด
การศกึ ษาของชาติ
การดาเนินงานของโรงเรียนเอกชนอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน
พ.ศ.2525 ซ่งึ จาแนกลักษณะประเภทของโรงเรียนไว้ ทัง้ หมด 3 รูปแบบ 11 ประเภท ดังนี้
ก. รูปแบบการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น (มาตรา 15 (1) ซ่งึ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1. ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการเรียนการสอนวิชาสามัญตามหลักสูตร
กระทรวงศึกษาธิการตั้งแต่รบั กอ่ นประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย (อ 1- ม.6) จดั การเรียนการ
สอนโดยใชภ้ าษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษ (English Programme)
2. ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดอาชีวศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรีใน
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) และประกาศนียบัตร
วิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.)
ข. รูปแบบการศึกษานอกระบบโรงเรียน (มาตรา 15 (2) แบ่งออกเป็น 7 ประเภท
ได้แก่
1. ประเภทการศกึ ษานอกโรงเรยี น เป็นการจัดการเรยี นการสอนวิชาสามัญตาม
หลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนปลายนอกระบบโรงเรียน
2. ประเภทเฉพาะกาล เป็นการจัดการเรียนการสอนโดยมีกาหนดเวลา
การศึกษาเปน็ ครงั้ คราวโดยท่ัวไปจะเรียกวา่ โรงเรียนนานาชาติ
3. ประเภทสอนศาสนา เปน็ การจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับศาสนาต่างๆ เช่น
ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอสิ ลาม เปน็ ตน้
4. ประเภทคาส่ังสอน เป็นการจัดการเรียนการสอนโดยวิธีส่งคาสอนให้แก่
ผเู้ รียน
5. ประเภทกวดวิชา เป็นการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมความรู้ให้แก่ผู้เรียน
บางรายวิชาตามหลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษาธิการ
6. ประเภทศิลปศึกษา เป็นการจัดการเรียนการสอนในทางศิลปะต่างๆ เช่น
ดนตรี ศิลปะ การป้องกันตวั เปน็ ต้น
7. ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาชีพและ
การอาชีพในระยะสั้นๆ เช่น การตัดเย็นเส้ือผ้า ออกแบบแฟชั่น เสริมสวย ทาอาหารและขนม
ภาษาชา่ งยนต์ ช่างไม้ และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ค. รูปแบบการศึกษาพิเศษและการศึกษาสงเคราะห์ (มาตรา 15 (3) แบ่งเป็น 2
ประเภท
13
1. การศึกษาพิเศษเป็นการจัดการศึกษาให้แก่บุคคลที่มีลักษณะพิเศษหรือ
ผิดปกตทิ างรา่ งกาย สตปิ ญั ญาหรอื จติ ใจ
2. การศกึ ษาสงเคราะห์เป็นการจัดการศึกษาให้แก่ผู้ยากไร้หรอื ผู้เสียเปรยี บทาง
การศกึ ษาในลกั ษณะตา่ งๆ
แนวคดิ เก่ยี วกบั โรงเรยี นเอกชน
โรงเรียนนติ ิบุคคล
โรงเรียนที่เป็นนิติบุคคล หมายถึง โรงเรียนท่ีจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามมาตรา 34
(2) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2542 พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณชิ ยแ์ ละกฎหมายอ่นื ๆ ซง่ึ กาหนดสิทธิและหน้าทไี่ ว้เปน็ การเฉพาะ
โรงเรยี นเอกชนทีเ่ ป็นนติ ิบคุ คลตามพระราชบัญญตั ิโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2550
การจัดต้ังโรงเรียน ผู้ขอรับอนุญาตจะต้องแนบรายละเอียดเก่ียวกับกิจการของ
โรงเรียนมาพร้อมกับคาขอ เชน่
1. ตราสารจัดตั้งนิติบุคคลที่มีรายละเอียดเก่ียวกับวัตถุประสงค์ ชื่อ ประเภท ระดับ
ของโรงเรียน รายละเอียดเกี่ยวกับท่ีดิน ท่ีตั้งและแผนผังแสดงบริเวณและอาคารของโรงเรียนเงินทุน
และทรพั ยส์ ินท่ใี ชใ้ นการจดั ต้ังโรงเรียน
2. รายละเอียดกิจการของโรงเรียนเกี่ยวกับโครงการและแผนการดาเนินการ
หลักสูตร วิธีการเรียนการสอน และการวัดประเมินผลการศึกษา อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา และ
ค่าธรรมเนียมการเรียน คุณสมบัติ อัตราเงินเดือน ค่าสอน คา่ ชดเชย ค่าตอบแทน หลักเกณฑ์การจ้าง
และการเลิกจา้ ง และสวัสดิการของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
เมื่อได้รับอนุญาตให้จัดต้ังโรงเรียนแล้ว ผู้รับใบอนุญาตจะต้องดาเนินการ
โอนกรรมสิทธ์ิครอบครองในท่ีดิน สิทธิการเช่าหรือสิทธิการใช้ที่ดินให้แก่โรงเรียนปฏิบัติตาม
รายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของโรงเรียนที่เสนอมาในคราวประกอบการของการจัดตั้ง ให้โรงเรียนมี
คณะกรรมการบรหิ ารประกอบด้วย ผ้รู ับใบอนญุ าต ผจู้ ัดการ ผอู้ านวยการ ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู
และผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อยหนึ่งคนแต่ไม่เกินสามคนเป็นกรรมการ ให้คณะกรรมการบริหารโรงเรียนมี
อานาจหน้าที่ 1) ออกระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของโรงเรียน 2) ให้ความเห็นชอบนโยบายและ
แผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน 3) ให้คาแนะนาการบริหารและการจัดการโรงเรียนด้านบุคลากร
แผนงาน งบประมาณ วิชาการ กิจกรรมนักเรียน อาคารสถานท่ีและความสัมพันธ์กับชุมชน กากับ
ดูแลให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานของ
ผู้อานวยการ ให้ความเห็นชอบกาหนดค่าธรรมเนยี มการศึกษาและค่าธรรมเนียมอ่ืนๆ ของโรงเรียนให้
ความเห็นชอบรายงานประจาปี งบการเงินประจาปี และการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี พิจารณาคาร้องทุกข์
ของครู ผูป้ กครองและนกั เรยี น
คณะกรรมการบริหารต้องจัดให้มีการประชุมอย่างน้อยหน่ึงคร้ังในแต่ละภาค
การศึกษาปกติ
14
ผู้รับใบอนุญาตแต่งตั้งผู้จัดการหนึ่งคน มีหน้าท่ี 1) ดูแลรับผิดชอบงานด้าน
งบประมาณของโรงเรียน 2) ดูแลรับผิดชอบการบริหารงานท่ัวไป 3) ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนอันเกี่ยวกับการ
บริหารงานตามตราสารจัดตั้งนิติบุคคล นโยบาย ระเบียบและข้อบังคับของโรงเรียน ผู้รับใบอนุญาต
จะทาหนา้ ทผ่ี ู้จัดการโดยไมแ่ ตง่ ต้งั ผจู้ ดั การกไ็ ด้
ผู้รับใบอนุญาตแต่งตั้งผู้อานวยการคนหน่ึงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการ
โรงเรียน โดยผู้อานวยการโรงเรียนมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบ 1) ดูแลรับผิดชอบงานด้านวิชาการ
ของโรงเรียน แต่งตั้ง ถอดถอนครู ควบคุมปกครองครู จัดทาทะเบียนครู จัดทาหลักสูตรเกี่ยวกับการ
วัดและประเมินผล ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นเก่ียวกับวิชาการ ตามระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ
รวมท้ังตราสารจัดต้ังนิติบุคคล นโยบาย ระเบียบและข้อบังคับของโรงเรียน ทวีศักดิ์ อาลา (2551,
น. 71-73)
สรุปได้ว่า โรงเรียนเอกชน หมายถึง โรงเรียนเอกชนท่ีมีตราสารจัดตั้งให้เป็น
นิติบุคคลตามพระราชบญั ญตั โิ รงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550
การบรหิ ารโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนา
ประวัติโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา เดิมใช้ชื่อว่าโรงเรียนราษฎร์ของ
วัด เกิดขึ้นตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยโรงเรียนราษฎร์ของวัด พุทธศักราช 2488
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา ได้ประสบปัญหาในการด้านดาเนินงานมาโดยตลอด
เนื่องจากในช่วงแรกได้รับเงินอุดหนุนเหมือนโรงเรียนเอกชนท่ัวไป และไม่สามารถเก็บค่าธรรมเนียม
การเรียนจากผู้ปกครองนักเรียนได้ สาเหตุจากผู้ปกครองนักเรียนร้อยละ 95 มีฐานะยากจน จึงทาให้
โรงเรียนบางแห่งต้องเลิกกจิ การและบางแห่งก็โอนกจิ การใหก้ บั รัฐบาล
ปีการศึกษา 2520 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ได้ออก
นโยบายและแผนงานให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2520 จึงได้เพ่ิมเติม
นโยบายการพฒั นาการศกึ ษาในด้านปรมิ าณว่า “จะส่งเสริมให้การจัดโรงเรียนราษฎร์การกุศลมากขึ้น
เป็นพิเศษ”
ปีการศึกษา 2521-2523 สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
ได้นาข้อเสนอดังกล่าว มาดาเนินงานโครงการพัฒนาโรงเรียนราษฎร์ของวัดเพื่อการกุศลข้ึน โดยได้
คดั เลือกโรงเรียนในภูมิภาคตา่ งๆ จานวน 11 โรงเรียน เขา้ ร่วมโครงการ ได้แก่โรงเรียนพทุ ธมงคลนมิ ิต
โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน โรงเรียนสุวรรณรังสฤษฏ์วิทยาลัย โรงเรียนวัดบ้านโป่ง “สามัคคีคุณู
ปถัมภ์” โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทอง โรงเรยี นวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนวนิ ิตศึกษา โรงเรียนพยุหะ
วิทยา โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา โรงเรียนธรรมราชศึกษา และโรงเรียนพินิตประสาธน์ โดยจัดต้ัง
“สภาโรงเรียนราษฎร์ของวัดเพื่อการกุศล” ข้ึนเป็นครั้งแรก โดยมีพระธรรมญาณมุณี ผู้รับใบอนุญาต
โรงเรียนวินติ ศึกษา ไดร้ ับการคัดเลอื กเป็นประธานสภารปู แรก วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดตั้งสภาคอื
1. เพื่อรวบรวมโรงเรียนราษฎรท์ ่ีมีเจตจานงจะจัดการศึกษาเพ่ือการกุศลท่ัวประเทศ
ให้เปน็ เอกภาพ
2. เพอื่ ส่งเสริมเอกลักษณ์ของโรงเรยี นด้านการอบรมจริยธรรม พลานามัย การเลือก
เรยี นวชิ าการงานและอาชีพ รวมท้งั ภาษาและหนังสือ
15
3. เพื่อช่วยเหลือนักเรียนท่ียากจนให้มีโอกาสได้รับการศึกษา ซ่ึงเป็นการเพิ่มความ
เสมอภาคทางการศึกษาให้แก่ประชาชนโดยไม่คานึงถงึ เช้อื ชาติศาสนา
4. เพ่อื ชว่ ยแบ่งภาระของรฐั ในการจัดการศึกษาใหแ้ กป่ ระชาชนอยา่ งแทจ้ ริง
5. เพ่ือสง่ เสรมิ ความมั่นคงให้แก่ผรู้ กั อาชีพครู
ปกี ารศึกษา 2532 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกระเบียบว่าด้วยโรงเรยี นการกุศลของ
วดั ในพระพุทธศาสนาและในปี พ.ศ.2532 มีกลุ่มโรงเรียนการกุศลของวดั ในพระพทุ ธศาสนาข้ึน โดยมี
วตั ถุประสงค์คือ
1. เพอ่ื เป็นศูนยร์ วมโรงเรียนท่ีจดั การศกึ ษาเพือ่ การกุศลและส่งเสริมพระพุทธศาสนา
อยา่ งแทจ้ รงิ
2. เพอื่ ทาหนา้ ทป่ี ระสานงานระหว่างโรงเรียนและหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง
3. เพอ่ื รว่ มกันดาเนนิ การกาหนดนโยบายและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4. เพอื่ รว่ มมือกนั ดาเนินงานตามโครงการต่างๆ ที่จดั ขึ้นรว่ มกนั
5. เพ่ือพิจารณาเสนอแนวทางความคิดเห็น ปัญหาแก่สานักงานคณะกรรมการ
สง่ เสริมการศึกษาเอกชน
ประธานกลุ่มรูปแรก ได้แก่ พระธรรมญาณมุณี ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวินิตศึกษา
สานักงานกลุ่มตั้งอยู่ที่ โรงเรียนอัมพวันศึกษา กรุงเทพมหานคร มีโรงเรียนสังกัดกลุ่มจานวน 42
โรงเรียน จานวนนักเรยี น 24,471 รูป/คน จานวนครู 1,297 รปู /คน
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา ได้ประสบปัญหาในการดาเนินงานมา
โดยตลอด เน่ืองจากในช่วงแรกๆ ได้รับเงินอุดหนุนเหมือนโรงเรียนเอกชนท่ัวไป และไม่สามารถเก็บ
คา่ ธรรมเนียมการเรียนจากผ้ปู กครองนักเรียนได้ เหตุจากผู้ปกครองนักเรยี นรอ้ ยละ 95 มีฐานะยากจน
จึงทาให้โรงเรียนบางแห่งต้องเลิกกิจการและบางแห่งต้องโอนกิจการให้รัฐบาล สานักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ได้นางบประมาณเหลือจ่ายมาส่งเสริมโรงเรียนท่ีอยู่ใน
โครงการ โดยการจดั ซ้อื หนังสือเข้าห้องสมุด สือ่ วทิ ยาศาสตร์ และวชิ าการงาน ตลอดจนได้ติดตามการ
บริหารงานของโรงเรียนให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ โครงการทดลองน้ีได้ผลเป็นที่น่าพึงพอใจในระดับ
หนึ่ง แต่ก็ถือว่าเป็นจุดเริมต้นที่โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนามีการพัฒนาขึ้นมาเป็น
ลาดับ
ปีการศึกษา 2544 ได้จัดตั้งเป็นสมาคมโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา
ข้ึนเม่ือวันท่ี 10 ตุลาคม 2544 โดยมีนายชูชาติ ลาวัลย์ ครูใหญ่โรงเรียนวินิตศึกษา เป็นนายกสมาคม
คนแรก โรงเรยี นการกศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนาได้รว่ มมือกนั ในการพฒั นาโรงเรยี นในทุกๆ ด้านทั้ง
ในด้านอาคารสถานท่ี อุปกรณ์การเรียนการสอน ด้านบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนา
คุณธรรมจริยธรรม ด้านวิชาการทาให้โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนามีความ
เจริญก้าวหน้ามาเป็นลาดับ เป็นท่ียอมรับของชุมชน ผู้ปกครองนักเรียนและหน่วยงานต่างๆ เป็น
อันมาก
ปีการศึกษา 2552 มีโรงเรียนท่ีเป็นสมาชิกกลุ่มฯ จานวน 92 โรงเรียน จานวน
นักเรยี น 93,086 คน และคณะครู 4,126 รูป/คน
16
ความก้าวหน้าของการจัดการศึกษา ในรูปแบบโรงเรียนการกุศลของวัดใน
พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ ที่มีความมุ่งนั่นในการบริการแก่ พระภิกษุ สามเณร และเด็กชาย
เด็กหญิง ซึ่งเป็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคมดังกล่าว และจากการร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2552 หมวด 2 มาตรา 12 ซึ่งนอกเหนือจากรัฐบาลเอกชน
โรงเรียนปกครองส่วนท้องถ่ินให้บุคคล ครอบครัวและชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการและ
สถานศึกษาสังคมอ่ืน มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัด
กระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน เพ่ือให้ชุมชนมีการจัดการศึกษา มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล
ข่าวสารและรู้จักเลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยาการต่างๆ พัฒนาชุมชนให้มีความสอดคล้องกับสภาพ
ของปัญหาและความต้องการของชุมชน รวมทั้งหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้
ประสบการณ์ในการพัฒนาชุมชน โดยให้วัดเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษาเพ่ือการกุศล เพราะจะ
ช่วยในการประหยัดค่าใช้จ่าย และนักเรียนยังได้รับการอบรมคุณธรรม จริยธรรม โดยการฝึกทักษะท่ี
จาเป็นในการดารงชีวิตให้แก่ผู้เรียน ให้สัมผัสกับชีวิตจริง เช่น การฝึกการทาการผลิต โดยการลด
ต้นทุนการผลิต ผลิตสินค้าในครัวเรือนเพ่ือใช้เอง หรือการจาหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าเพ่ือการเกษตร
ปลอดสารพิษ ซึ่งเป็นการเพิ่มศักยภาพของผลผลิต คณะกรรมการบริหารจัดการหมู่บ้านต่างๆ จึงได้
จัดตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อการศึกษาฟรีให้กับชุมชน เช่น เสื้อผ้า อาหาร ค่ารถ หนังสือเรียน เพื่อสนอง
ความต้องการของชุมชน หลายฝ่ายได้ร่วมมือกันพัฒนาศักยภาพของเยาวชนในท้องถ่ินให้เตบิ โตอย่าง
มีคุณภาพ ควบคู่กับการมีคุณธรรมจริยธรรม โดยไม่จากัดของการเข้าเรียนว่าจะต้องถือเพศบรรพชิต
เท่าน้ัน โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาเป็นโรงเรียนของพระพุทธเจ้า นักเรียนทุกคนจึง
เป็นลูกของพระพุทธเจ้า มีพระเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้าท่ีนาคาสอนสู่นักเรียน ยิ่งเรียนมีความ
เข้าใจในเร่ืองหลัก นาหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาใช้มากเท่าใดซึ่งนามาซึ่งความมั่นคงของ
สถานศึกษา ไม่เฉพาะแต่สถานศึกษาในพระพุทธศาสนาเท่านั้น ภายใต้แนวความคิดท่ีว่า “โรงเรียน
การกุศลของวัดเป็นโรงเรียนของพระพุทธเจ้า”(สมเด็จพระพุฒาจารย์เก่ียว อุปเสโณ) ประธาน
คณะผู้ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีสมเด็จพระสังฆราช
ปัจจุบัน ปีการศึกษา 2560 มีโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา เข้าเป็น
สมาชิกกลุ่มจานวน 115 โรงเรียน มีนักเรียน 96,100 รูป/คน มีครู/บุคลากร จานวน 5,216 รปู /คน
จัดการศึกษาก่อนประถมศึกษา 20 โรงเรียน และจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (ป.1-ม.6) จานวน 95
โรงเรียน (กลมุ่ และสมาคมโรงเรียนการกศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศาสนา ปกี ารศกึ ษา 2559)
17
ภาพที่ 1 แผนที่ 14 จังหวดั ภาคใต้
ท่มี า: สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2552, น. 1
ในเขตจังหวัดภาคใต้ มีโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา 14 โรงเรียน
ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร มีจานวน 1 โรงเรียน จังหวัดนครศรีธรรมราช มีจานวน 6 โรงเรียน
จังหวัดสงขลา มีจานวน 3 โรงเรียน จังหวัดตรัง มีจานวน 3 โรงเรียน จังหวัดภูเก็ต มีจานวน 1
โรงเรียน
แนวคดิ และทฤษฎีท่เี ก่ียวกับการบรหิ ารงานวิชาการ
งานวิชาการเป็นงานหลักและมีความสาคัญอย่างย่ิงในการจัดการศึกษาสาหรับ
โรงเรียน โดยทุกโรงเรียนมีหน้าท่ีในการจัดการศึกษาให้กับเยาวชนและตามบทบาทหน้าที่ในการจัด
การศึกษาของโรงเรียน งานวิชาการเป็นกิจกรรมทุกชนิดท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนา ปรับปรุงกิจกรรม
ตามกระบวนการเรียนการสอนให้ดีขึ้น ด้วยความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องของทุกฝ่าย กุลชญา
เทียงตรง (2550, น. 30) งานวิชาการจึงเป็นหัวใจสาคัญของโรงเรียน การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และ
หลักการบริหารงานวิชาการจากนักการศึกษาและนักวิชาการ ผู้วิจัยนาเสนอหัวข้อเก่ียวกับการ
บริหารงานวชิ าการไว้ดังน้ี
ความหมายของการบริหารงานวชิ าการ
ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์ (2551, น. 2) ได้ให้ความหมายไว้ว่า งานวิชาการเป็นงานท่ีรวม
ภารกิจหลักของหน่วยงานหรือสถานศึกษาที่บ่งบอกถึงปรัชญาจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติงาน เพื่อให้
ผ้ซู ึ่งได้รับบริการ ซึ่งได้แก่ นักเรียนหรือบุคลากรในชุมชนได้รับการพัฒนาตนเอง ด้านความรู้ เจตคติ
และทักษะในศาสตร์ต่างๆ นาไปสู่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา ซึ่งมีความสอดคล้องกับ
รักสุชญา วราหะ (2552, น.12) และศิริพร ทาทราย (2552, น. 13) สรุปไว้ว่า ความหมายของการ
บริหารงานวิชาการ เป็นงานที่มีความสาคัญ มีขอบข่ายท่ีกว้างขวาง ครอบคลุมกิจกรรมตามหลักสูตร
และกิจกรรมส่งเสริมหลักสูตรท่ีเป็นหัวใจและงานหลักท่ีผู้บริหารโรงเรียนจะต้องดาเนินการจัด
โปรแกรมการเรียนการสอนและการทากิจกรรมทุกชนิด เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน
18
ของนักเรียนให้มีประสิทฺธิภาพและคุณภาพท่ีดี รวมทั้งการวัดผลประเมินผล เพ่ือให้เป็นไปตาม
จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตรและให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ กับผูเ้ รียน
ธีระพร อายุวัฒน์ (2552, น. 75) ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2553, น. 2) ให้
ความหมายว่า การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารสถานศึกษา โดยมีการจัดกิจกรรมทุกสิ่ง
ทุกอย่างที่เกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน ให้ได้ผลดีและมีประสิทธิภาพเกิด
ประโยชน์สงู สดุ กับผ้เู รยี น
ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2553, น. 16) ได้ให้ความหมายเกยี่ วกบั “การบริหารงาน
วิชาการ” หมายถึง การบริหารสถานศึกษา โดยมีการจัดกิจกรรมทุกสิ่งทุกอย่างที่เก่ียวข้องกับการ
ปรบั ปรงุ พฒั นาการเรียนการสอนใหไ้ ดผ้ ลดี และมปี ระสทิ ธิภาพให้เกิดประโยชนส์ งู สุดกับผ้เู รยี น
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ (2553, น. 30) ผู้บริหารเป็นผ้นู าทางวิชาการและเป็นผู้ให้
คาแนะนาประสานงานการปฏบิ ัติงานกับครูในด้านการเรียนการสอน โดยใหส้ อดคล้องกับปรัชญาและ
นโยบายด้านการศกึ ษาของโรงเรียน
กาญจนา เรืองมนตรี และ ธรินทร นามวรรณ (2554, น. 3) ให้ความหมายของการ
บรกิ ารงานวิชาการ ไว้ว่า การบริหารงานกิจกรรมทุกชนิดในโรงเรยี นเกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนาการ
เรียนการสอนใหไ้ ดผ้ ลดีและมีประสทิ ธฺ ภิ าพสูงสุด
นิรชั กร ทองน้อย (2556, น. 33) การบริหารงานวิชาการเป็นกระบวนการบรหิ ารใน
กิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัดขึน้ ซง่ึ ส่งผลทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อผู้เรยี น ท้ังนี้เพ่ือปรับปรุง ส่งเสริม
และพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ตามเจตนารมณข์ องการศกึ ษาให้มากที่สดุ
ภูมิพัทธ เรืองแหล่ (2558, น. 33) ให้ความหมายของการบริหารงานวิชาการ
หมายถึง การบริหารกิจกรรมทกุ ชนิดท่ีเกีย่ วข้องกับการพัฒนาปรับปรงุ กิจกรรมการเรยี นการสอนให้ดี
ข้ึน ด้วยความร่วมมือของผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย นับตั้งแต่การกาหนดนโยบาย การวางแผนการ
ปรับปรุงการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพ่ือให้สอดคล้องกับความมุ่ง
หมายของการศกึ ษา
อุมาพร ชิณแสน (2559, น. 10) ให้ความหมายว่า การบริหารงานวิชาการ หมายถึง
การดาเนินงานทุกชนิดของโรงเรียนท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินการเพื่อพัฒนาปรับปรุง ส่งเสริมการ
เรียนการสอน ตลอดจนการประเมินผลการสอนให้มีประสิทฺธิภาพสูงสุดต่อผู้เรียนตรงตามเป้าหมาย
ของหลกั สตู ร
กิตติภพ ถาวร (2559, น. 30) ให้ความหมาย การบริหารงานวิชาการ หมายถึง
การบริหารกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจท่ีเก่ียวข้องกบั งานวชิ าการในโรงเรียน ซงึ่ การบริการงานวิชาการ
จะประสบความสาเรจ็ บรรลุตามเป้าหมายได้นั้น ผ้บู รหิ ารมีบทบาทสาคัญในการศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูล
พ้ืนฐานของโรงเรียน เพ่ือนาใช้ในการวางแผนพัฒนาการศึกษา แล้วนาแผนไปดาเนินการให้เป็นไป
ตามเง่ือนไขและข้อกาหนดด้วยการกากับติดตามแก้ไขปัญหา อุปสรรคต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น และทาการ
ประเมินผลการดาเนินงานตามกิจกรรม เพอ่ื เป็นการตรวจสอบการปฏิบัตงิ านตามกจิ กรรมต่างๆ
กล่าวได้ว่า การบริหารงานวิชาการเป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนโดยสนับสนุนให้ผู้เรียนสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยท่ี
19
ผู้บริหารสามารถใช้ทฤษฎกี ารบรหิ าร (Administrative Theory) มาประยกุ ต์ใช้ก็จะเกิดประสิทธภิ าพ
มากท่ีสดุ
ความสาคัญของการบรหิ ารงานวชิ าการ
ปรยี าพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2553, น. 15 -16) ได้กล่าวถึง การใหค้ วามสาคัญของการ
ใช้งานการบริหารงานในโรงเรียน โดยเรียงตามลาดับ ดังน้ี งานวิชาการ ร้อยละ 40 งานบุคลากร
รอ้ ยละ 20 งานกจิ การหรือนักศึกษา ร้อยละ 20 งานธุรการและการเงิน รอ้ ยละ 5 งานอาคารสถานที่
ร้อยละ 5 งานความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนร้อยละ 5 และงานบริหารทวั่ ไป รอ้ ยละ 5
นอกจากนี้การบริหารงานวิชาการยงั เปน็ หลักที่ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญมากท่ีสุด
และมลี ักษณะงาน ดังนี้
1. เป็นสาระสาคัญของการศึกษาท่ีโรงเรียนได้กาหนดวัตถุประสงค์เป้าหมายภารกิจ
ต่างๆ ไว้อย่างชดั เจนทาใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บรหิ ารจึงต้องกาหนดภาระงาน
ซ่ึงเป็นงานหลักให้สามารถวางแผนจัดบุคลากรจัดดาเนินการให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของ
หน่วยงานบริหารโรงเรยี น
2. เป็นงานที่บ่งบอกถึงความสาเร็จในการบริหารงานของผู้บริหาร งานวิชาการต้อง
เด่นเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการซ่ึงผลประโยชน์สูงสุดจะต้องเกิดกับผู้เรียนหรือนักศึกษาผลแห่ง
ความสาเร็จ คือการได้พัฒนาผู้เรียน ผู้รับบริการและบุคลากรท้ังในด้านความรู้ เจตคติและทักษะท่ี
หน่วยงานหรือโรงเรียนกาหนดให้
3. เป็นงานบริหารทางการศึกษา ท่ีโรงเรียนมีหน้าที่จัดบริการให้แก่ผู้เรียนและ
ผรู้ ับบริการ มุ่งให้ได้รับความรู้เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาตนเองสังคมโดยส่วนรวมการจัดบริการทาง
การศกึ ษาอาจจดั ไดห้ ลากหลายรูปแบบ เชน่ การประชาสัมพันธ์ เผยแพรข่ ้อมูล ขา่ วสารตา่ งๆ การจัด
บริหารให้คาปรึกษา การจัดอบรม สัมมนา การจัดประชุมทางวิชาการ การจัดประชุมทางวิชาการ
การจัดใหเ้ ป็นหน่วยงานหรือศูนย์สารสนเทศ เป็นตน้
4. เป็นการแสดงถึงองค์ความรู้วิชาชีพ งานวิชาการในศาสตร์สาขาใดก็ตามจะต้อง
แสดงลักษณะเด่นเฉพาะในองค์องค์ความรู้ออกมาให้ชัดเจน หน่วยงานหรือโรงเรียน แต่ละระดับ
จะต้องจัดบทบาทหน้าท่ีให้บุคลากรได้ปฏิบัติงานตามศักยภาพ และองค์ความรู้ที่มีอยู่ให้
มากท่สี ดุ เป็นการแสดงศกั ยภาพทางวชิ าไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
5. เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานวิชาการช่วยสร้างความรู้ให้เกิดประโยชน์มากข้ึน
โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การศึกษาค้นคว้า การวิจัย และพัฒนา ซ่ึงทาให้เป็นการ
พัฒนาการศึกษาอันเปน็ ผลต่อสงั คมและประเทศชาติ
ภูมิพัทธ เรืองแหล่ (2558, น. 36) ได้กล่าวถึง การบริหารวิชาการมีความสาคัญเป็น
หัวใจของโรงเรียน ดังน้ัน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาทุกคนจาเป็นต้องให้ความสนใจและให้
ความสาคญั การบรหิ ารงานวิชาการเป็นอันดบั แรก โดยมุ่งหวังให้เกดิ ประโยชนแ์ ก่ผเู้ รยี นทท่ี าให้ผ้เู รียน
ประสบผลสาเรจ็ ตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ และเพื่อให้เป็นเครือ่ งช้ีวดั ความสาเร็จให้เห็นถึงคุณภาพ
และประสิทธิภาพทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนน้ันๆ และอุทุมพร ชิณแสน (2559, น.11)
ได้กล่าวถึง ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการเป็นภารกิจหลักของผู้บริหารโรงเรียนและถือว่า
20
เป็นหัวใจของโรงเรียนที่จะต้องดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายของการศึกษา นั้นคือนักเรียนมีความรู้
ค่คู ุณธรรม ดี เกง่ มีสุข มีคุณภาพและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ท่ตี ้องการ สามารถดารงชีวิตอยู่สังคมได้
อยา่ งมีความสุข
กล่าวได้วา่ งานวิชาการมีความสาคัญเป็นอยา่ งยิ่ง เพราะงานวิชาการถือว่าเปน็ หัวใจ
สาคัญของการบริหารโรงเรียน เป็นบทบาทหน้าที่หลักของผ้บู ริหารท่ีต้องให้ความสาคัญเป็นอันดับ
แรก เป็นงานท่ีเก่ียวพันถึงการให้การศึกษากบั ผเู้ รยี นโดยตรง เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถและ
ทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรท่ีกาหนด และบรรลุเป้าหมายของโรงเรียน ทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพเต็ม
ศักยภาพ และเป็นส่วนทีน่ าไปประเมินความสาเรจ็ กอ่ ให้เกดิ ประสิทธิภาพทางการบรหิ ารของผบู้ รหิ าร
สรุปได้ว่า การบริหารงานวิชาการ มีจุดประสงค์ท่ีจะพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ
มีคณุ ธรรม จริยธรรม ในการที่จะพฒั นาตนเองและประเทศชาตไิ ด้
หลักการบริหารงานวิชาการ
ผู้บริหารเป็นผู้มีบทบาทและหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนวิชาการเฉพาะงานวิชาการ
ในโรงเรียนถือว่าเป็นงานหลัก ผู้บริหารมีหลักในการวางแผนการบริหารวิชาการ เป็นรูปแบบในการ
ปฏิบัติงาน และกากับวิธีการดาเนินไว้สาหรับให้ผู้ปฏิบัติยึดถือไว้เป็นหลักการ ซ่ึงชุมศักด์ิ อินทร์รักษ์
(2545, น. 9-11) ไดก้ ล่าวไว้ดงั น้ี
1. หลักการพัฒนาคุณภาพ (Quality Management) เป็นการบริหารงานเพ่ือ
นาไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ องค์ประกอบของคุณภาพที่เป็นตัวชี้วัด คือ ผลผลิตและ
กระบวนการเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้บุคลากร และผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ พัฒนาศักยภาพ
เป็นทยี่ อมรบั ของสงั คมในระดับสากลมากขน้ึ และการประเมินคุณภาพ
2. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) การปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการ
บริหารได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ โดยทุกคนในหน่วยงานมีส่วนร่วมเสนอแนะ ปรับปรุงและ
พัฒนา หลักการมีส่วนร่วมต้องการให้ทุกคนได้ร่วมกันทางาน ซ่ึงลักษณะของงานวิชาการต้องอาศัย
ความร่วมมือจากหลายฝ่าย อาจดาเนินงานในรูปของคณะกรรมการวิชาการ ซ่ึงจะมีเป้าหมาย
การทางานร่วมกัน นาไปสู่การพัฒนาคุณภาพได้มากขึ้น การมีส่วนร่วมต้องเร่ิมจากการ ร่วมคิด
ร่วมทา และรว่ มประเมนิ ผล
3. หลักการ 3 องคป์ ระกอบ (3-Es) ไดแ้ ก่ ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และประหยดั
3.1 หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การปฏิบัติตามแผนที่กาหนดไว้
เป็นไปตามขั้นตอนและกระบวนการ มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไรในขณะดาเนินการก็สามารถ
ปรับปรุงแก้ไขได้มีประสิทธิภาพเน้นไปท่ีกระบวนการ (Process) การใช้กลยุทธ์และเทคนิควิธีการ
ต่าง ๆ ท่ีทาให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคม์ ากท่สี ุด
3.2 หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ได้ผลผลิต (Outputs) ตาม
วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร มีความรู้ความสามารถ มีทักษะเพิ่มขึ้น
รวมทั้งการคานึงถึงประโยชน์ท่ีได้รับ อย่างไรก็ตามมักใช้คาสองคานี้ควบคู่กันคือมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
21
3.3 หลักประหยัด (Economy) หมายถึง การใช้เวลาน้อย การลงทุนน้อย การ
ใช้กาลังหรอื แรงงานน้อย โดยไม่ต้องเพ่ิมทรัพยากรทางการบริหาร แต่ได้ผลผลิตตามที่คาดหวงั ดังนั้น
การลงทุนในวิชาการจึงต้องคานึงถึงความประหยัดด้วยเช่นเดียวกัน ผู้บริหารจะใช้กลวิธีอย่างไร
การบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพโดยอาศัยความประหยัดบุคลากร ประหยัดงบประมาณ ประหยัดวัสดุ
และเทคโนโลยี และใชเ้ วลาน้อย
4. หลักความเป็นวิชาการ (Academic) หมายถึง ลักษณะท่ีครอบคลุมเน้ือหาสาระ
ของวิชาการ ได้แก่ หลักการพัฒนาหลักสูตร หลักการเรยี น หลักการสอน หลักการวดั ผลประเมินผล
หลักการนิเทศการศึกษา และหลักการวิจัยเป็นด้านหลักการต่างๆ เหล่าน้ีเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ก่อให้เกิดความเป็นลักษณะของวิชาการที่ต้องอาศัยองค์ความรู้เพ่ือทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและ
สร้างสรรค์ ดังน้ัน การบรหิ ารงานวชิ าการจาเป็นต้องคานึงถึงหลักการต่างๆ งานวชิ าการเป็นงานหลัก
สาหรับโรงเรียน เพราะเป็นงานที่ผู้บริหารจะต้องดาเนินการเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายของโรงเรียน
ที่กาหนดไว้ มีความจาเป็นจะต้องอาศัยหลักการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการงานวิชาการ
ซ่ึง รักสุชญา วราหะ (2552, น. 18) ได้กล่าวถึง การบริหารงานวิชาการไว้ว่า เพ่ือให้งานวิชาการ
ประสบความสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ ต้องคานึงถงึ การพัฒนาให้สอดคล้องกบั นโยบายหลักเพ่ือไปสู่สิ่ง
ที่คาดหวัง การจัดทาแผนงาน การประสานความร่วมมือ การมีส่วนร่วมท้ังทางด้านการ ร่วมคิด ร่วม
ทาและรว่ มประเมนิ ผล เพื่อใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลในการบริหารงาน
ประทุมพร โม่ทิม (2553, น. 13-14) กล่าวว่า หลักการบริหารงานวิชาการควรยึด
หลักให้โรงเรียนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน และสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง โดยมี
ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครองชุมชนมีส่วนร่วมส่งเสริมสร้างโรงเรียนให้จัดการเรียนการสอนโดยยึดถือว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด มุ่งจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน โดยจัดให้มีดัชนีตัวช้ีวัดคุณภาพ
การจัดทาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน และสามารถตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา
ทุกช่วงช้ัน ทั้งระดับเขตพ้ืนที่ระดับโรงเรียน เพ่ือเพ่ิมประสิทฺธิภาพและคุณภาพในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา
ภูมิพัทธ เรืองแหล่ (2558, น. 39) กล่าวถึง งานวิชาการว่า หลักการบริหารงาน
วิชาการต้องคานึงถึงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทาให้ดีท่ีสุด นาไปสู่คุณภาพที่คาดหวัง โดยคานึงถึง
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการศึกษา โดยให้บุคคลทุกฝ่ายได้รับผิดชอบร่วมกันทาให้ผลิตมี
คุณภาพคานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผล และความประหยัดในการดาเนินงานทางวิชาการ
โดยอาศัยหลักการดังกล่าวย่อมสามารถจะบรรลุความสาเร็จคือความเป็นเลิศทางวิชาการ
(Academic Excellence) ได้ดงั นี้
1. การวางแผนงานวิชาการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือนโยบายที่จะทาให้งาน
วิชาการมรี ะบบ
2. การจัดโครงสร้างการบริหารงานวิชาการ การกาหนดบทบาทหน้าท่ีของบุคลากร
จะทาใหเ้ กดิ ความชัดเจนในการปฏิบัติ
3. การกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้ผู้ปฏิบัติจะทาให้งานดาเนินไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึน้
22
4. การมีเอกภาพในจุดมุ่งหมายจะทาให้เกิดการดาเนินการสอดคล้องสัมพันธ์และ
เป็นไปตามทิศทางเดียวกนั
5. การมีวินัยของบุคลากรที่มีความเกี่ยวข้องกับงานวิชาการจะสามารถทาให้การ
ดาเนนิ งานไปได้ด้วยดี
6. บุคลากรทกุ คนต้องการขวัญกาลงั ใจในการปฏิบัติงาน
7. การประสานความสามัคคี ความมีมนุษยสัมพันธ์ และความร่วมมือย่อมนามาซ่ึง
ความสาเรจ็ ของหนว่ ยงาน
8. ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และการพฒั นางานเปน็ สงิ่ จาเป็นสาหรับงานวิชาการ
9. การติดตามและประเมินผลเปน็ สง่ิ ทจี่ าเปน็ ในการพฒั นางานวชิ าการ
10. การบริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ดังน้ัน การบริหารงานวชิ าการจาเป็นต้องใช้
ท้งั ศาสตร์ ศิลป์ ทกั ษะ และเทคนิคในการบริหาร
กฤษ ฎ า กัลปดี (2559, น. 55) กล่าวถึง หลักการบริหารงานวิชาการว่า
การบริหารงานวิชาการต้องคานึงถึงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศทาให้ดีที่สุดนาไปสู่คุณภาพท่ีคาดหวัง
คานึงถึงวัตถุประสงค์เป้าหมายของการศึกษา โดยให้บุคลากรทุกฝ่ายได้รับผิดชอบร่วมกันทาให้
ผลผลิตมีคุณภาพ คานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลและความประหยัด การดาเนินงานทาง
วชิ าการโดยอาศยั หลกั การดังกล่าว ย่อมจะสามารถบรรลุความสาเรจ็
สรุปได้ว่า การบริหารงานวิชาการ ประกอบด้าย หลักการท่ีสาคัญๆ หลายประการ
เพื่อพัฒนาความรู้ไปสู่คุณภาพ โดยมีเป้าหมายให้บุคลากรทุกฝ่าย ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมผลิต มุ่งสู่
ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล และความประหยดั
กระบวนการบรหิ ารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน ผู้บริหารจะต้องใช้เทคนิค และวิธีการบริหารที่
แตกต่างกันแตจ่ ะต้องมีหลกั การ หรือข้ันตอนการดาเนินงานให้เป็นหลักยึดสาหรับการปฏิบัติกิจกรรม
ด้านวิชาการ
ชุมศักดิ อนิ ทร์รกั ษ์ (2545, น. 20-21) ได้ให้ความหมายของกระบวนการบริหารงาน
วิชาการ หมายถึง ขั้นตอนในการดาเนินงาน เพื่อให้ผลงานมีประสิทธิผล บรรลุวัตถุประสงค์ หรือ
เปา้ หมายทกี่ าหนดไว้ และไดแ้ บ่งกระบวนการบริหารงานวิชาการไว้ 5 ขัน้ ตอน
1. ข้ันการวางแผน (Planning) เป็นขั้นเตรียมการโดยเร่ิมจากการวิเคราะห์สภาพ
ปญั หา และความตอ้ งการ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มทวั่ ไปรวมทั้งวิเคราะห์ความเปน็ ไปได้แล้วจึงหา
ทางเลือกท่ีดีท่ีสุด กาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ จัดแผนงาน โครงงาน จัดกิจกรรมที่นาไปสู่การ
ปฏิบัติ การวางแผนวิชาการจะเกี่ยวข้องกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ต่างๆ การ
วิเคราะห์จุดเด่นหรือจุดแข็ง หาจุดอ่อนหรือสิ่งที่ต้องการปรับปรุงพัฒนาการ วิเคราะห์โอกาส และ
การจดั การเชิงรกุ รวมทัง้ ส่งิ ท่ยี งั เป็นอุปสรรคต่างๆ
2. ข้ันการจัดองค์กร (Organizing) ในสายงานวิชาการมีการจัดองค์กรและระบบ
โครงสร้างโดยที่ผู้บริหารมอบความรับผิดชอบ ให้กับผู้ช่วยหรือรองผู้บริหารให้ทาหน้าท่ีวิชาการและ
แบ่งงานไปตามลักษณะงานในแต่ละกลุ่มวิชา แผนกวิชา ภาควิชา คณะวิชา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม
23
การบริหารงานวิชาการจะต้องมีคณะกรรมการบริหารวิชาการ ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนของหน่วยงาน
ภายใน ดูแล ควบคุม ส่งเสริม ให้การปฏิบัติวิชาการมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ในการบริหารวิชาการ
จาเปน็ ต้องจัดฝ่ายรับผิดชอบแตล่ ะงานไว้อยา่ งชดั เจน
3. ข้นั การจดั ดาเนินการ (Processing) เป็นขัน้ ดาเนินงานตามแผนและโครงการหรือ
กิจกรรมท่ีวางไว้ตามบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายในข้ันของการวางแผน และการจัดองค์การผู้บริหาร
ทาหน้าท่ีคอยกากับ ให้คาปรึกษา ติดตาม ประเมิน ให้ขวัญกาใจ ส่งเสริมให้ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ จดั กิจกรรมให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ และผู้บริหารจะทาหน้าที่เป็นผู้นิเทศก์
งานภายใน ตามกระบวนการนิเทศเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนและคุณภาพของผลผลติ
4. ข้ันการนิเทศภายใน (Supervising) ในการบริหารงานวิชาการจาเป็นต้องอาศัย
กระบวนการนิเทศภายใน ซ่ึงผู้บริหารต้องควบคุม กากับ ติดตาม และประเมินผล พร้อมท้ังให้ขวัญ
กาลังใจ และกระตุ้นให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารทา
กิจกรรมร่วมกับผู้สอนหรือผู้ปฏิบัติงาน การนิเทศภายในมีความหมายรวมถึงการนิเทศเรื่องหลักสูตร
และการสอนโดยการพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงขึ้น และเป้าหมายที่ต้องการ คือ คุณภาพของ
ผลผลิต ดังนน้ั กระบวนการนิเทศภายใน ได้แก่ การค้นคว้าวเิ คราะหป์ ญั ญาและความต้องการ (Need
Assessment) การเลือกและกาหนดทางเลือก (Alternative to Recasting) การใช้ข้อมูลข่าวสาร
(Information) การปฏิบัติตามแผน (Doing) การประเมินผล (Evaluation) และการให้ขวัญกาลังใจ
(Reinforcement)
5. ข้ันการประเมินผล (Evaluating) เป็นขั้นการตรวจสอบความก้าวหน้าความ
เปล่ียนแปลงและการพัฒนาวิชาการเป็นระยะๆ เป็นการตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ หรือ
เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ว่า มีปัญหา มีความสาเร็จหรือไม่ มีอุปสรรคอะไรบ้างท่ีต้องแก้ไขควรดาเนินการ
ปรับปรุงแก้ไขอย่างไร โดยประเมินท้ังตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต และสภาพบริการท่ัวไป เพื่อหา
รปู แบบในการพฒั นาการปฏบิ ัติงานครัง้ ต่อไป
สรุปได้ว่า ขั้นตอนการบริหารงานวิชาการ เร่ิมต้นจากการศึกษาข้อมูลข้ันพ้ืนฐาน
นามาใช้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เพ่ือการจัดทาแผนการบริหารงานวิชาการ การนาแผนไปสู่
การปฏิบัติ การกากับติดตามการบริหารงานวิชาการ การประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนการ
บรหิ ารงานวิชาการและการจัดทาสรุป รางานผลการบริหารงานวิชาการ
การบรหิ ารโรงเรยี นทีม่ ีคณุ ภาพ
คุณภาพ เป็นตัวช้ีวัดความสาเร็จของการบริหารและองค์การ คาว่าคุณภาพใน
ครูผู้สอนและผู้ปกครอง (นงลักษณ์ เรือนทอง, 2550, น. 14) มีความสอดคล้องกับ Nahavendi and
Malekzadeh (1999, p. 32) ให้ความหมายของคาว่าประสทิ ธิผล (Effectiveness) หมายถึง บุคคล
หรือองค์การได้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามแผนอันหมายถึง 4 ประการ ดังนี้ คุณภาพของ
งาน ความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้รับบริการ นวัตกรรมใหม่ๆ ท่ีดีกว่าเดิม และความพึงพอใจของ
บคุ ลากรท่ีทางาน
24
Gibson (2000, p. 55) ได้ไห้ความหมายของคาว่าประสิทธิผล (Effectiveness)
ว่ามาจากคาว่า Effect ที่ใช้ในบริบทของความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล (Cause and Effect)
โดยอธิบายถึง ประสิทธิผลว่ามี 3 ระดับ ได้แก่ ประสิทธิผลระดับบุคคล (Individual Effectiveness)
ประสิทธิผลระดับกลมุ่ (Group Effectiveness) เป็นภาพรวมของกลุ่มบุคคลที่เป็นสมาชิกในองค์การ
ท่ีทางานตาม หน้าท่ีและตาแหน่งในองค์การเป็นปัจจัยท่ีเป็นเหตุให้เกิดประสิทธิผลระดับกลุ่ม และ
ประสิทธิผลระดับองค์การ (Organizational Effectiveness) เป็นภาพรวมของประสิทธิผลระดับ
บคุ คลและระดบั กลุ่ม โดยทป่ี ระสิทธิผลองค์การทั้ง 3 ระดบั มีความสัมพันธ์กันซ่ึงประสิทธผิ ลองค์การ
ขึ้นอยกู่ บั ประสิทธิผลของบุคคลและกลุม่
ประสิทธผิ ล หมายถึง ความสามารถ ดาเนนิ การพัฒนาให้บรรลุตามเป้าหมาย พัฒนา
งานให้มคี ุณภาพและไดม้ าตรฐาน ส่วนการบรหิ ารสถานศกึ ษาทมี่ ปี ระสิทธิผล
กล่าวโดยสรุป การบริหารโรงเรียนที่มีคุณภาพ หมายถึง โรงเรียนท่ีมีความพร้อม
สามารถดาเนินการพัฒนาตนเองตามเป้าหมาย พัฒนาผู้เรียนให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย
ตามความสามารถของตน
คุณลักษณะและองคป์ ระกอบของการบรหิ ารโรงเรยี นที่มีคณุ ภาพ
นักการศึกษาได้เสนอแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับคุณลักษณะและองค์ประกอบของการ
บริหารโรงเรียนทม่ี ีคุณภาพ ดังนี้
Austin (1990, pp. 167-178) ได้ศึกษาวิจัยและรายงานว่า การบริหารโรงเรียนท่ีมี
คุณภาพ จะต้องมีลักษณะที่แสดงถึงความสาเร็จดังน้ี การจัดการอาคารสถานที่ ภาวะผู้นา ความ
มีเสถียรภาพของบุคลากร การจัดระบบของหลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาบุคลากร
การจัดการเวลาเรียนที่เกิดประโยชน์สูงสุด ความเป็นเลิศทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับ การมีส่วน
ร่วมและการสนับสนุน จากผู้ปกครอง การวางแผนร่วมกัน ความรู้สึกเป็นอันหนี่งอันเดียวกัน
มีเปา้ หมายและความคาดหวงั รว่ มกนั ท่ีชัดเจนและมรี ะเบียบวนิ ัย
Hanson (1996, p. 35) ให้ทัศนะว่าการบรหิ ารสถานศกึ ษาท่ีมีประสทิ ธผิ ลมลี กั ษณะ
ดังนี้ มีการปรับปรุงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน มีบรรยากาศสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
มีการติดตามกากับกระบวนการเรียนการสอน บุคลากรมีมาตรฐาน มีการส่งเสริมการรักษาวินัยของ
ผู้เรยี น และมีการจัดสภาพแวดล้อมและสวสั ดกิ ารทางาน
Chester (1996, pp. 286-288) ได้ศึกษาวิจัย พฤติกรรมการบริหารงานวิชาการ
ของผู้บริหารการศึกษาทั่วประเทศในสหรัฐอเมริกา พบว่า พฤติกรรมท่ีทาให้การบริหารวิชาการ
ของผู้บริหารมีสมรรถภาพสูง โดยการส่งเสริมให้ผู้สอนมีความรู้ความสามารถเพิ่มมากข้ึน ได้แก่
การส่งเสริมให้ผู้สอนใช้เทคนิคการสอนหลายๆ วิธี อภิปรายปัญหาการปรับปรุงการสอนในท่ีประชุม
จัดปฐมนิเทศ เพ่ือช่วยเหลือผู้สอนใหม่ จัดให้มีการอบรมความรู้เกี่ยวกับวิชาการศึกษาเพ่ิมเติมแก่
คณะผสู้ อนเพ่อื ปรบั ปรงุ เทคนิคการสอน
25
การประเมนิ ประสิทธผิ ลของการบรหิ ารงานวชิ าการ
ได้มีนักวิชาการท่ีได้เสนอแนวทางและมาตรฐานสากลท่ีจะใช้ประเมินประสิทธิผล
ขององค์การ ซ่ึง Robbins (1997, pp. 24-41) เสนอว่า วิธีวัดประสิทธิผลขององค์การมีอยู่ 4 วิธี
ด้วยกันคือ วัดจากความสามารถขององค์การในการบรรลุเป้าหมาย วัดโดยอาศัยความคิดระบบ
วัดจากความสามารถขององค์การในการชนะใจผู้มีอิทธิผล และวัดจากค่านิยมท่ีแตกต่างกันของ
สมาชิกองค์การ
หลกั การพืน้ ฐาน กลยุทธ์จะตอ้ งแปลงเป็นผลงานให้มีความชัดเจนสามารถตรวจสอบ
ได้คือ การบริหารแบบดุลยภาพ เป็นเครอื่ งมือ เทคนิคที่ช่วยการจัดการองค์กร เป็นเทคนิคชว่ ยในการ
ประเมิน และวัดผลการปฏิบัติงานขององค์กร และนอกจากนั้นยังเป็นเครื่องมือที่สามารถช่วยในการ
นากลยุทธ์ไปส่ปู ฏิบัตไิ ด้ เพื่อใหก้ ารดาเนินการเปน็ ไปตามเป้าหมายขององค์การ สาหรับการนาวิธกี าร
บริหารแบบดุลยภาพ มาใชใ้ นระบบคุณภาพของหน่วยงานทางการศกึ ษา จะเปน็ กลไกช่วยใหส้ ามารถ
ควบคุมให้การทางานเป็นไปตามแผนเชิงกลยุทธ์ท่ีวางไว้ เพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์และพันธกิจของ
หน่วยงาน ซึง่ หน่วยงานทางการศึกษาในต่างประเทศได้นาวธิ ีการบรหิ ารแบบดุลยภาพไปใชเ้ พือ่ วัดผล
สาเร็จนาไปสู่การดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน โรงเรียนจะต้องกาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์
สาหรับองค์การหลักข้ึนมาก่อน และในการพิจารณาประเมินผลการดาเนินงานของโรงเรียน จะเป็น
ตัวบ่งช้ีว่าการปฏิบัติงานต่างๆ บรรลุตามท่ีตั้งเป้าประสงค์ไว้หรือดาเนินงาน อย่างมีประสิทธิภาพ
หรือไม่ และยังสามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าสามารถตอบสนองความต้องการตามความคาดหวังของสังคม
(วรรณรัตน์ วัฒนานมิ ติ กูล, 2548)
แนวปฏบิ ัตสิ าหรบั การใชก้ ารบริหารแบบดลุ ยภาพในการบริหารสถานศกึ ษา
1. ตรวจสอบวตั ถปุ ระสงค์หลกั ของสถานศึกษา
2. เชือ่ มโยงวตั ถปุ ระสงค์แต่ละขอ้ กับดัชนวี ัดผลสาเรจ็
3. การเช่ือมโยงดัชนีวัดผลสาเร็จภายใน เพื่อเปรียบเทียบผลงานกับหน่วยงานอ่ืน
ภายในสถาบนั เดยี วกัน
4. การประเมินผลอาจมีการกาหนดองค์การอื่นเป็น Benchmark เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน
สรุปได้ว่า การบริหารแบบสมดุลสามารถนามาใช้ในการบริหารงานวิชาการให้มี
คุณภาพ ซ่ึงเป็นการนานโยบายการศึกษาสู่การปฏิบัติ ทั้งนอ้ี งค์กรทางการศึกษามุ่งหวังความพึงพอใจ
ของลูกค้า คือผู้เรียนที่จะบรรลุเป้าหมายการศึกษา และปัจจุบันจึงได้เริ่มนาแนวคิดการบริหารแบบ
สมดุลมาใช้ในการบรหิ ารโรงเรียนกันมากข้นึ
ผู้บริหารกับการวางแผนงานวิชาการในโรงเรยี น
การบรหิ ารงานวชิ าการเป็นงานหลักหรอื เปน็ ภารกจิ หลกั ของโรงเรยี น หลักการ และ
แนวคิดในการบริหารงานวิชาการยึดหลักให้โรงเรียนจดั ทาหลกั สูตรให้เป็นไปตามกรอบ หลกั สูตรและ
สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง มุ่งส่งเสริมให้โรงเรียนจัด
26
กระบวนการเรียนรู้โดยถือว่าผูเ้ รยี นสาคัญท่ีสุด รวมท้ังมุ่งสง่ เสริมให้ชุมชนและสังคมมีส่วนร่วมในการ
กาหนดหลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ ตลอดท้ังมุ่งการจัดการศึกษาให้มคี ุณภาพมาตรฐาน โดยจดั ให้มี
ดัชนชี ้ีวดั คุณภาพการจดั หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้ มนี กั วิชาการไดเ้ สนอแนวคดิ ดงั น้ี
1. ผู้บริหารควรมีความรับผิดชอบการวางแผนทุกระดับ ต้ังแต่งานวิชาการระดับ
โรงเรียน จนถึงการเรียนการสอนของครู โดยการจัดให้มีการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือหรือการรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของครู เพื่อจะไดจ้ ดั การวางแผนได้ถกู ต้อง
2. ผู้บริหารควรมีส่วนร่วมในการวางแผนของโรงเรียน โดยทั่วไปผู้บริหารจะเป็น
ผู้กาหนดแผนงานของโรงเรียน โดยแท้จริงแล้วผบู้ ริหารมิใชเ่ พยี งผู้กาหนดแผนแต่ควรจะได้มีส่วนร่วม
ในการวางแผนร่วมกนั ระหวา่ งผู้รบั ผดิ ชอบงานอืน่ ๆ และครใู นโรงเรียน
3. ผู้บริหารควรมีทักษะในการวางแผน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารควรมี
ความรู้ความสามารถ และทกั ษะในการวางแผนจนสามารถชี้นาครไู ด้
4. ผู้บริหารควรรู้จักการวางแผนในการบริหารงาน การวางแผนเป็นกระบวนการ
ข้ันตอนหน่ึงของการบริหารงานต่างๆ จะสามารถสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีอยู่ท่ีการวางแผน งานวิชาการ
เป็นงานท่ีต้องดาเนินการต่อเนื่อง ตั้งแต่การวางแผน การจัดโปรแกรมการศึกษา การรับสมัครผู้เรียน
ตลอดจนถึงการจัดการสอนต่างๆ หากมีการวางแผนการสอนได้ดี การบริหารงานในข้ันตอนอ่ืนจึงจะ
สามารถดาเนินการได้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
2545 มุ่งกระจายอานาจในการบริหารจัดการไปให้โรงเรียนมากท่สี ุด ด้วยเจตนารมณ์ท่ีจะให้โรงเรียน
ดาเนินการคล่องตัว รวดเรว็ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียน ชุมชน ท้องถน่ิ และการมีส่วนรว่ ม
จากผู้มีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย งานวิชาการเป็นงานหลักหรือภารกิจหลักของโรงเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กาหนดขอบข่ายและภารกิจของการบริหารงานวิชาการออกได้ 12
องค์ประกอบคือ 1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3) การวัดผล
ประเมินผล 4) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5) การพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา 6) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 7) การนิเทศการศึกษา 8) การแนะแนวการศึกษา 9) การ
พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 10) การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน
11) การประสานความร่วมมือในการพัฒ นาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น และ
12) การส่งเสรมิ และสนบั สนุนงานวชิ าการแก่บคุ คล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอ่ืนที่จัด
การศกึ ษา
นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2553, น. 22 ) กล่าวว่า พฤติกรรมรูปแบบของภาวะผู้นาของ
ผู้บริหารมี 2 ด้าน คือ พฤติกรรมมุ่งงานกับพฤติกรรมมุ่งสัมพันธ์ซึ่งก่อให้เกิดแบบของผู้นาทั้ง 2 แบบ
คือ 1) ผู้นาแบบบอกใหท้ า 2) ผู้นาแบบเปน็ ผู้ขายความคิดให้ทา 3) ผู้นาแบบผูต้ ามมีสว่ นร่วม 4) ผู้นา
แบบกระจายงาน ซ่ึงมคี วามสอดคล้องกับ ประชุม รอดประเสริฐ (2526, น. 29) กล่าวว่า รูปแบบของ
ผนู้ าทั้ง 4 แบบจะผันแปรไปตามผู้ใต้บงั คบั บญั ชา โดยผู้นาจะต้องพิจารณาวุฒิภาวะในการทางานของ
ผู้ตาม ซึ่งจะขึ้นอยู่กับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในขณะนั้นเป็นหลักยึด ในการใช้เลือกแบบผู้นา
ในการบริหารงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ พฤติกรรมผู้นาที่ได้จากการศึกษาของเฮอร์เซย์และบลังชาร์ด
เปน็ พฤติกรรมอนั เกิดจากความเขา้ ใจของตนเอง (Self perception) ของผนู้ า
27
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (2552) อธิบายว่า ผู้นาเป็นผู้กาหนดชะตากรรมท้ังของ
ตัวผู้นา ของผู้ตาม ขององค์กร ของสังคมและของท้ังโลก ถ้าองค์กร บริษัท สถาบันหรือสังคมหรือ
ประเทศใดมีผู้นาท่ีเต็มไปด้วยภาวะผู้นา องค์กร บริษัท ย่อมมีความเจริญรุ่งเรือง กลับเป็นไปในทาง
ตรงกันข้ามองค์กรนั้นย่อมจะพบแต่ความล้มเหลว การเป็นผู้นานั้นไม่ใช่ใครๆ ก็เป็นได้ เพราะการเป็น
ผ้นู าต้องใช้ท้ังศาสตรแ์ ละศลิ ป์ แต่อยา่ งไรกต็ าม แม้จะเป็นผนู้ าจะเป็นสิง่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ยาก สาหรบั ผู้ท่ี
มีเจตนามุ่งม่ันในการที่จะพัฒนาตนเองให้เป็นผู้นาแล้ว การเป็นผู้นาที่ได้รับการยอมรับ มิใช่ส่ิงท่ี
สุดวิสัย ดังนั้น ภาวะผู้นา (leadership) จึงเป็นกระบวนการใช้อานาจเหนือบุคลหรือกลุ่ม และ
ความสามารถในการจูงใจให้คนอ่ืนปฏิบัติตาม เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย ตลอดจนการสร้างและ
รักษากลุ่มไว้ได้ ช่วยให้สมาชิกในกลุ่มได้เกิดความรู้สึกที่ดีต่อกัน เข้าใจวัตถุประสงค์ของกลุ่มชัดเจน
ตรงกัน เพือ่ ให้กล่มุ รว่ มมอื ทางานไปสู่เปา้ หมายอยา่ งราบรนื่
สรุปได้ว่า งานวิชาการของโรงเรียนน้ันมีขอบข่ายที่ครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมด
ท่ีเก่ียวข้องกับการเรียนการสอนของโรงเรียน รวมทั้งการจัดปัจจัยเก้ือหนุน การพัฒนาคุณภาพ
นักเรยี น ชุมชน ทอ้ งถิน่ ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
ปาริชาต ชมชื่น (2555, น. 157-168) ได้ศึกษา รูปแบบการบริหารวิชาการประกัน
คุณภาพภายในของชุมชนท่ีมีประสิทธิผลในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษา พบว่า มี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบหลักด้านการบริหารงานวิชาการ และ
องค์ประกอบหลักการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน
โสภา วงศ์นาคเพ็ชร์ (2553, น. 130-133) ได้ศึกษา การบริหารงานวิชาการกับ
ประสิทธิผลของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 พบว่า
องค์ประกอบของประสิทธผิ ลการบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ด้านผลสัมฤทธ์ิของ
ผู้เรียน ด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้สอน ด้านการขาดงาน ด้านอัตราการออกกลางคัน
ของผู้เรยี นและด้านคณุ ภาพโดยท่ัวไป
วิบูลย์ลักษณ์ ปรียาวงศากุล (2551, น. 82-83) ได้ศึกษา การพัฒนารูปแบบการ
บริหารงานวิชากาวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข พบว่า
การพัฒนารูปแบบการบริหารวิชาการที่เหมาะสมมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) บุคคล 2) การบริหารงาน
วชิ าการ 3) การสนบั สนนุ สง่ เสริม และ 4) แหล่งการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ
เพชริน สงค์ประเสริฐ (2550, น. 189-205) ได้ศึกษา การพัฒนารูปแบบการ
บริหารงานวิชาการโดยยึดหลักการทางานเป็นทีมในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พบว่า รูปแบบการ
บริหารงานวิชาการโดยยึดหลักการทางานเป็นทีมในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกอบด้วย
องค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านภาวะผู้นาทางการเรียนการสอน 2) ด้านการพัฒนา
ทีมงานวิชาการในสถานศึกษา 3) ด้านภารกิจและขอบข่ายงานวิชาการในสถานศึกษา และ
4) ด้านกระบวนการบรหิ ารงานวิชาการ
สรุปได้ว่า การบริหารงานวิชาการที่มีคุณภาพ หมายถึง การดาเนินบริหารงาน
วชิ าการของโรงเรียน ใหบ้ รรลุเปา้ หมายอย่างมีคุณภาพและไดม้ าตรฐาน
28
วิภาวดี ชีวะผลาบูรณ์ (2553, น. 95-97) ได้ศึกษา รูปแบบบริหารวิชาการที่มี
ประสิทธิผลในสถานศึกษาเอกชนระดับประถมศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการวัดประสิทธิผล
ของการบรหิ ารวชิ าการจากบุคคล 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครู และผู้เรยี น ดงั น้ี
1. ผู้บริหารสถานศึกษา พิจารณาจากประสิทธิผลของการบริหารวิชาการจากการ
บรรลุพนั ธกิจ โดยสามารถบริหารงานวิชาการของสถานศกึ ษาใหบ้ รรลุตามแผนท่ีต้ังไว้ รวมถึงพัฒนา
ครใู หม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครู และมีความเปน็ ผนู้ าทางวชิ าการ
2. ครู พิจารณาจากประสิทธิผลของการบริหารวิชาการด้านครู ใน 5 ด้าน ได้แก่
ตวั งาน การนเิ ทศงาน การจา่ ยคา่ ตอบแทน การเล่ือนตาแหนง่ และเพอ่ื นร่วมงาน
3. ผู้เรียน พิจารณาจากประสิทธิผลของการบริหารวิชาการจากคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
สรุปได้ว่า รูปแบบการบริหารงานวิชาการท่ีมีคุณภาพของโรงเรียน หมายถึง
การดาเนินการบริหารวิชาการของโรงเรียนให้บรรลุเป้าหมาย ตามแนวคิด ทฤษฎี ภาวะผู้นา การมี
ส่วนร่วมในการบริหาร การพัฒนาทีมงานวิชาการในโรงเรียน กระบวนการบริหารงานวิชาการตาม
แนวคิดดุลยภาพ และพัฒนากระบวนการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรยี น
สรปุ การสงั เคราะหอ์ งค์ประกอบการบรหิ ารงานวชิ าการที่มีคุณภาพ
จากการศึกษาแนวคิด และทฤษฎีเก่ียวกับการบริหารงานวิชาการ ผู้วิจัยสังเคราะห์
องค์ประกอบการบรหิ ารงานวิชาการได้ 5 องคป์ ระกอบหลกั ดังนี้
1. องค์ประกอบหลักภาวะผู้นาทางวิชาการ หมายถึง การแสดงพฤติกรรมในงาน
วิชาการที่ส่งผลตอ่ คุณภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน
2. องค์ประกอบหลักการ มีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน หมายถึง
การปฏบิ ัติงานวิชาการของผูบ้ ริหารและผู้สอนโดยผ่านกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม
3. องค์ประกอบหลัก การพัฒนาทีมงานวชิ าการในโรงเรียน หมายถึง การปฏิบตั ิงาน
ตามโครงสร้างบริหารวิชาการในโรงเรียนตามวธิ กี ารทางานเป็นทีมของผูบ้ รหิ ารและผสู้ อน
4. องค์ประกอบหลักกระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดดุลยภาพ หมายถึง
การปฏบิ ตั ิงานวิชาการของผูบ้ รหิ ารและผู้สอนตามแนวคิดดลุ ยภาพ
5. องค์ประกอบหลัก ภารกิจและขอบข่ายการบริหารงานวิชาการ หมายถึง ภารกิจ
หลักของสถานศึกษา ในการจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการของผู้เรียนอย่างมีคุณภาพได้
มาตรฐานและสอดคล้องกบั ความต้องการ
องค์ประกอบของการบรหิ ารงานวิชาการ
ในการสังเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานวิชาการที่มีคุณภาพได้ 5
องค์ประกอบหลักในตอนที่ 2 ดังนั้นในตอนท่ี 3 จึงเป็นการนาเสนอรายละเอียดขององค์ประกอบการ
บริหารวิชาการที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย องค์ประกอบที่ 1 ภาวะผู้นาทางวิชาการ องค์ประกอบท่ี 2
การมีส่วนร่วมในการบริหารวิชาการในโรงเรียน องค์ประกอบท่ี 3 การพัฒนาทีมวิชาการในโรงเรียน
29
องคป์ ระกอบที่ 4 กระบวนการบรหิ ารงานวิชาการตามแนวคดิ ดุลยภาพ และองคป์ ระกอบที่ 5 ภารกิจ
และขอบขา่ ยการบริหารวชิ าการ มีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี
องค์ประกอบที่ 1 ภาวะผูน้ าทางวชิ าการ
1. ความหมายของภาวะผูน้ า
นักทฤษฎีและนักวิจัยได้ให้ความหมายภาวะผู้นาไว้แตกต่างกันขึ้นกับทัศนะและ
ความสนใจของแต่ละบุคคล ซ่ึง Yukl (1997 p. 2) ได้รวบรวม ความหมายของภาวะผู้นาในแง่ต่างๆ
ดังน้ี ภาวะผู้นา คือ พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลเม่ือเขาชี้นา กิจกรรมของกลุ่มไปสู่เป้าหมายรวมกัน
ภาวะผู้นา คือ การใช้อิทธิพลระหว่างบุคคลในสถานการณ์ และการชี้นาผ่านกระบวนการ
ติดต่อสื่อสาร เพอื่ บรรลุเปา้ หมายเฉพาะหรือเป้าหมายรว่ มกัน ภาวะผูน้ าคือ กระบวนการใหร้ ูปแบบท่ี
มคี วามหมายเพอ่ื ความพยายามรว่ มกัน และความเต็มใจท่ีจะทุ่มเท ความพยายามเพื่อบรรลุเปา้ หมาย
ภาวะผู้นา คือ กระบวนการของการใช้อิทธิพลต่อกิจกรรมของกลุ่ม เพ่ือบรรลุเป้าหมาย และภาวะ
ผนู้ า คือ การริเร่มิ และคงไว้ซึง่ โครงสร้างของความคาดหวงั และการมีปฏิบัตสิ มั พนั ธ์
สรุปได้ว่า ภาวะผู้นา หมายถึง พฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออกเม่ือมีปฏิสัมพันธ์กับ
คนอ่ืน ซึ่งมีอิทธิพลทาให้คนอ่ืนเช่ือฟัง ปฏิบัติตามและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติ ซึ่งพฤติกรรมท่ี
แสดงออกน้ันเป็นการชักจูง โน้มน้าว สร้างความประทับใจ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีวางไว้และไม่ใช่
โดยการบีบบงั คับหรอื ขู่เขญ็
2. ทฤษฎีภาวะผนู้ า
การศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้นามีหลายรูปแบบแล้วแต่ความสนใจและทัศนะของ
นกั วชิ าการแต่ละคน ซง่ึ Yukl (1997 p. 11) ไดแ้ บ่งวิธกี ารศกึ ษาผู้นาออกเปน็ 4 วิธี คอื
2.1 การศึกษาคุณลักษณะผู้นา (Trait approach) การศึกษาคุณลักษณะผู้นา
เป็นวิธีแรกสุดของการศึกษาภาวะผู้นา ในการศึกษาคุณลักษณะผู้นาได้รูปแบบจากทฤษฎีบุรุษ
ผยู้ ิง่ ใหญ(่ Great Man Theories) ในสมัยกรกี และโรมัน ผู้นาเหลา่ นีเ้ ปน็ มาต้ังแต่กาเนิด
2.2 การศึกษาพฤติกรรมผู้นา (Behavioral Approach) การศึกษาจากกระบวน
ทศั น์ทฤษฎีเชิงคุณลักษณะใหเ้ ปน็ กระบวนทัศน์ทฤษฎี เชิงพฤติกรรม ซึ่งเน้นศึกษาถึงส่ิงที่ผู้นาพูดและ
สงิ่ ทีผ่ ้นู าทาโดยมุง่ หาแบบพฤติกรรมท่ดี ที ่สี ดุ ในการ เปน็ ผนู้ าทีม่ ปี ระสทิ ธผิ ล
2.2.1 แบบภาวะผู้นาของมหาวิทยาลัยไอโอวา (Iowa State University
Leadership Style) ศึกษาโดย Kurt Lewin และคณะซึ่งจาแนกออกเป็น 2 แบบ คือแบบภาวะผู้นา
เชิงอานาจนิยม และแบบภาวะผู้นาเชิงประชาธิปไตยนิยม (Autocratic Leadership Style and
Democratic Leadership style)
2.2.2 แ บ บ ภ าวะผู้ น าขอ งม ห าวิท ยาลั ยมิ ชิ แ กน (University of
MichiganLeadership Style) ศึกษาโดยอาศัยทฤษฎีของ Rensis Likert และจาแนกแบนภาวะผู้นา
เป็นสองแบบ คือ แบบมุ่งงานและแบบมุ่งผู้ปฎิบัติงาน (Job-Centered Leadership Style and
Employee-Centered Leadership Style)
2.2.3 แบบภาวะผู้นาของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ (Ohio State
30
University Leadership Style) ศึกษาภายใต้การนาของ Ralph Stogdill มีการพัฒนาพฤติกรรม
สองแบบน้ันเป็น แบบภาวะผู้นา 4 แบบ ดังนี้ มุ่งงานสูงแต่มุ่งผู้ปฏิบัติงานต่า มุ่งงานสูงและ
ม่งุ ผู้ปฏิบัติงานสูง มงุ่ งานต่าและมงุ่ ผู้ปฏบิ ัตงิ านตา่ และมงุ่ งานสูงแตม่ ุ่งผู้ปฏิบตั ิงานต่า
2.2.4 ตาข่ายภาวะผู้นา (Leadership Grid) ศึกษาโดย Robert Blake &
JaneMouton ซ่ึงมีแบบภาวะผู้นาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอและมิชิแกนเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาโดย
ระยะแรกจาแนกเป็นสองแบบ คือ แบบมุ่งผลผลิตและแบบมุ่งคน (Concern for Production and
Concern for People)
2.3 การศึกษาผู้นาตามสถานการณ์ (Situational Approach) แบบภาวะผนู้ าที่ดี
ที่สุดไม่สามารถนาไปใช้ได้ในทุกสถานการณ์ (No One Best Leadership Style) ทฤษฎีภาวะผู้นา
ตามสถานการณ์ฃองผู้นาหรือผู้ตามหรอื สภาพแวดล้อม โดยคณุ ลกั ษณะใด หรือพฤติกรรมใดท่ีมผี ลต่อ
การเป็นผู้นาที่มีประสิทธิผลในสถานการณ์ที่กาหนดจะให้ความสาคัญกับปัจจัยเชิงสถานการณ์
(Situational Factor) ภาวะผ้นู าเชิงสถานการณ์ที่สาคัญ ดงั นี้
2.3.1 ตัวแบบภาวะผู้นาตามสถานการณ์ (Contingency Leadership
Model) เป็นตัวแบบท่ีไดร้ ับการพฒั นาขึน้ โดย Fred E. Fiedler
2.3.2 ตัวแบบภาวะผู้นาต่อเน่ือง (Leadership Continuum Model)
ไดร้ ับการพฒั นาข้นึ โดย Robert Tennenbaum และ Warren Schmidt ในช่วงทศวรรษ 1950
2.3.3 ตัวแบบภาวะผู้นาเส้นทางและจุดหมาย (Path-Goal Model)
พัฒนาขึ้นโดย Robert Flouse ได้กาหนดแบบภาวะผู้นาออกเป็น 4 แบบ คือแบบชี้นา (Directive)
แบบสนับสนุน (Supportive) แบบมีส่วนร่วม (Participative) และแบบมุ่งความสาเร็จ (Achieve
Men Oriented)
2.3.4 ตัวแบบภาวะผู้นาเชิงปทัสถาน (Normative Leadership Model)
พัฒนาขึ้นโดย Victorvroom และ Phillip Yetton ในปี 1973 เป็นตัวแบบที่จะช่วยให้ผู้นาสามารถ
ประเมนิ ปจั จยั ด้านสถานการณท์ สี่ าคญั ทสี่ ง่ ผลตอ่ การที่จะเลือกใชแ้ บบภาวะผนู้ า
2.3.5 ตัวแบบภาวะผู้นาเชิงสถานการณ์ (Situational Leadership
Model) พัฒนาขึ้นโดย Paul Hersey และ Ken Blanchard ในปี 1977 จาแนกแบบภาวะผู้นา
ออกเป็ น 4 แบบ คือแบบ กากับ (Telling) แบ บขายความคิด (Selling) แบบมีส่วนร่วม
(Participating) และแบบมอบอานาจ (Delegating) และการที่ผู้นาจะแสดงพฤติกรรมภาวะผู้นาแบบ
ใดนัน้ ข้นึ อย่กู บั สถานการณ์
2.4 การศึกษาทฤษฎีภาวะผู้นาเชิงบูรณาการ (Integrative Leadership) ทฤษฎี
ภาวะผู้นาในกระบวนทศั นน์ ้ีทีส่ าคัญมี 3 ทฤษฎี
2.4.1 ภาวะผู้นาเชงิ ศรัทธาบารมี (Charismatic Leadership) เป็นทฤษฎีท่ี
อธิบายถึงกระบวนการท่ีผู้นามีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงในทัศนคติ และข้อตกลงเบ้ืองต้นหลักของ
สมาชิกในองค์การ และการสร้างความผูกพันกับวัตถุประสงค์ขององค์การ โดยเฉพาะในสภาวะวิกฤติ
โดยอาศยั คณุ ลักษณะ หรือคณุ ภาพของผู้นาในด้านต่างๆ
2.4.2 ภาวะผู้นาแห่งการเปล่ียนแปลง (Transformational Leadership)
เปน็ ทฤษฎีทอี่ ธบิ ายถึงสงิ่ ท่ีผูน้ าทาแลว้ ประสบความสาเรจ็ หรือทาแลว้ ก่อใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในส่ิง
31
ใหม่ๆ มากกว่าท่ีจะมุ่งอธิบายถึงการใช้คุณลักษณะของผู้นา เพ่ือให้เกิดความศรัทธาและมีปฏิกิริยา
จากผตู้ าม เพราะลักษณะสาคัญของภาวะผู้นาแห่งการเปลี่ยนแปลงน้ี คือการมุ่งให้มีการเปล่ียนแปลง
จากสภาพเดิมท่ีเป็นอยู่ (Change Oriented) โดยกระตุ้นให้ผู้ตามได้ตระหนักถึงโอกาสหรือปัญหา
และการร่วมกาหนดวสิ ยั ทศั น์ให้เกิดส่ิงใหมๆ่
2.4.3 ภาวะผู้นาเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Leadership) เป็นทฤษฎี
อธิบายถึงกระบวนการกาหนดทิศทางองค์กร การสร้างและการนาไปสู่การปฏิบัติของวิสัยทัศน์
พันธกิจและยทุ ธศาสตร์
สรุปได้ว่า การศกึ ษาทฤษฎีภาวะผู้นาทั้ง 4 วิธี โดยผู้นามีหน้าที่มุง่ ให้ผู้ตามปฏิบัติ
ให้บรรลุเป้าหมายของแต่ละคน ได้แบ่งวิธกี ารศึกษาผนู้ าออกเป็น 4 วธิ ี คอื การศึกษาคุณลกั ษณะผนู้ า
การศกึ ษาพฤตกิ รรมผนู้ า การศึกษาผู้นาตามสถานการณ์ และการศกึ ษาผนู้ าเชงิ บรู ณาการ
ภาวะผนู้ าทางวิชาการ
ได้มีนักการศึกษาเก่ียวกับผู้นาภาวะผู้นาทางวิชาการ ให้ความหมาย ภาวะผู้นา
ทางวชิ าการไวห้ ลายทา่ น ดงั น้ี
Weber (1996) ศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมภาวะผู้นาทางวิชาการ ได้สรุป
คุณลักษณะที่สาคัญดังน้ี 1) มีการต้ังเป้าหมายทางวิชาการ 2) ใช้การประสานงานมากกว่าการบังคับ
ในการท่ีจะให้บรรลุเป้าหมายทางวิชาการ 3) มีความรู้ในการที่จะคัดเลือกและให้คาแนะนาแก่ผู้สอน
4) ใชเ้ วลาในด้านวิชาการอยา่ งคุ้มคา่ และ 5) มีการติดตามและประเมินผลโครงการ เก่ยี วกบั การเรยี น
การสอน นอกจากนี้ยังกล่าวถึงภาวะผู้นาทางวิชาการ ดังน้ี คือ 1) การให้คานิยาม พันธกิจของ
โรงเรียนควรจะเกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน และผู้ปกครอง
2) การจัดการหลักสูตรและการสอนจะต้องมีความสอดคล้องกับพันธกิจของโรงเรียน 3) การส่งเสริม
บรรยากาศทางบวกในการเรียนรู้ 4) การสังเกตและการปรับปรุงการเรียนการสอน และ
5) การประเมินโปรแกรมการเรยี นการสอน
Sheppard (1996) ได้สังเคราะห์ผลงานวิจัยเก่ียวกับพฤติกรรมความเป็นผู้นา
ทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ การที่ผู้บริหารสามารถปรากฏตัวตามที่ต่างๆ ของโรงเรียน
สนใจในการพฒั นาวชิ าชีพ และการนานวัตกรรมทางการศกึ ษามาใช้
Yamada (2000) ได้แสดงแนวคิดเก่ียวกับภาวะผู้นาทางวิชาการ ว่าอยู่บน
พื้นฐานของความเช่ือ การตัดสินใจ ยุทธวิธีและเทคนิคเพื่อประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดข้ึนเพื่อการเรียน
การสอนในห้องเรียน ซึ่งความสาเร็จดังกล่าว จะเกิดข้ึนได้ข้ึนอยู่กับกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
การสอนวิธีการเรียนรู้ การใช้ภาวะผู้นาของผู้บริหารจะเป็นการสร้างโอกาสให้โรงเรียนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ีขน้ึ
Hoy and Hoy (2003) ได้กล่าวเกี่ยวกับภาวะผู้นาทางวิชาการ ว่าควรเป็นสิ่งที่
เกิดข้ึนอย่างเต็มใจจากท้ังผู้บริหารโรงเรียนและผู้สอน ผู้สอนจะจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน
ผู้สอนมีความชานาญด้านหลักสูตรและการสอน ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการสร้างบรรยากาศใน
โรงเรียนที่ช่วยให้มีการเรียนการสอนท่ีดีที่สุด ดังน้ัน ผู้บริหารจึงสร้างความเป็นมิตรกับผู้สอน โดยมี
เป้าหมายเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน ผู้นาทางวิชาการต้องใช้เวลาในชั้นเรียน ในฐานะของ
32
ผู้ร่วมงานและสนทนากับผู้สอนเก่ียวกับการเรียนการสอนการปรับปรุงการเรียนการสอน และการ
เรียนรู้ที่เป็นกระบวนการเชิงวิชาการและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ควรจะเป็นการปรับปรุงการเรียน
การสอน วธิ ีท่ีผ้เู รยี นและวิธีสอนทเ่ี หมาะกับสถานการณต์ ่างๆ
Blase and Blase (2002) ได้สงั เคราะห์องค์ประกอบภาวะผ้นู าทางวชิ าการ จาก
แนวคิดของ Hallinger and Murphy (1987) และ Sheppard (1996) สรุปได้ว่า พฤติกรรมภาวะ
ผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน พิจารณาได้จากองค์ประกอบย่อยๆ คือ การจัดกรอบแนวคิด
เป้าหมายของโรงเรียน การสื่อสารเปา้ หมายของโรงเรียน การให้คาปรึกษาและการประเมิน การเรยี น
การสอน การประสานงานเกีย่ วกบั หลกั สตู ร การกากบั ติดตามความก้าวหน้าของผเู้ รียน การใชเ้ วลาใน
การเรียนการสอน การส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพ การบารุงรักษา การจัดสิ่งจูงใจให้ผู้สอนควบคุม
มาตรฐานของวชิ าการและการจดั สิง่ จูงใจใหผ้ ู้เรียน
Wildy & Dimmock (1993) กล่าวว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการ รวมถึงภาระงาน
ของผู้บริหารเอง เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วยภาระงานที่สาคัญ
ต่างๆ ดังน้ี กาหนดเป้าหมายการดาเนินงานของโรงเรียน เตรียมสื่อวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นใน
กระบวนการเรียนการสอน กากับ ตดิ ตาม นิเทศผสู้ อนเป็นคณะกรรมการอานวยการหรือประสานงาน
ส่งเสริมสัมพนั ธภาพของบุคลากร
สรุปได้ว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน หมายถึง ผู้ที่มีลักษณะ
การปฏิบัติงาน และการบริหารในโรงเรียนท่ีจะตอ้ งเป็นผู้นาทางวิชาการ ซึ่งเป็นงานหลักของโรงเรียน
และผู้บริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์ในด้านงานวิชาการ แนะนาส่งเสริมให้ผู้สอนได้จัดกิจกรรมการเรียน
การสอน
พฤตกิ รรมผู้นาทางวชิ าการของผู้บริหาร
นั ก วิ ช า ก า ร ได้ ให้ แ น ว คิ ด เ ก่ี ย ว กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ผู้ น า ท า ง วิ ช า ก า ร ข อ ง ผู้ บ ริ ห า ร มี
ประสิทธิผลดงั น้ี
Blase and Blase (2002, p. 351 Cited in Glickman 1992) อธิบายว่า หมายถึง
ความร่วมมือในการสร้างสภาพแวดล้อมทางวิชาการ ท่ีนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายของโรงเรียน
พฤติกรรมผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร หมายถึง การส่งเสริมผู้สอนด้านความรู้ตามสภาพบริบท
การสอนนี้ซบั ซ้อนมากข้นึ โดยเนน้ บทบาท การอานวยความสะดวก (Facilitating) ให้แนวคิดกับผสู้ อน
ในการปฎิบตั งิ าน
Lunenburg and Omstein (2004, p. 322) ได้เสนอพฤติกรรมของผู้บริหาร
โรงเรียนท่ีมีประสิทธิผล โดยมีจุดเน้นเพ่ือความแกร่งด้านวิชาการ ดังน้ี 1) คาดหวังสูงในผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผู้เรียน 2) มีความชัดเจนในเร่ืองของหลักสูตร 3) มีความชัดเจนในเรื่องโปรแกรม
การเรียนการสอน 4) มีความชัดเจนในเร่ืองของเป้าหมายจุดประสงค์และมาตรฐาน 5) ให้เวลาการ
เรียนการสอนมากที่สุด 6) เน้นทักษะการอ่านและคณิตศาสตร์ 7) มีโปรแกรมพัฒนาอาจารย์
8) ให้ความสาคัญกับห้องเรียนและโปรแกรม 9) มีการติดตามความก้าวหน้าของผเู้ รยี น 10) ให้รางวัล
33
แก่ผู้สอนและผู้เรียน 11) สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างผู้สอนกับผู้ปกครอง และ12) ส่งเสริมให้
โรงเรียนมีบรรยากาศทางบวก
กล่าวได้ว่า ในปัจจุบันผู้บริหารโรงเรียนยังไม่ให้ความสาคัญของการเป็นผู้นาทาง
วิชาการมากนักแต่จะเน้นท่ีการบริหารและจัดการงานอื่นๆ มากกว่า จากการศึกษา เร่ืองการ
บริหารงานในโรงเรยี น พบวา่ งานวิชาการเปน็ งานทผ่ี ูบ้ ริหารมคี วามสามารถและให้ความสนใจ ในการ
บริหารต่าท่ีสุด พฤติกรรมผู้นาทางวิชาการจึงมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง และองค์ประกอบเพ่ือให้
สอดคล้องกับบรบิ ทที่เปล่ียนไป แต่ยังคงเป็นองค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาการเรยี นการสอน
การสร้างบรรยากาศทางวิชาการ และมงุ่ พฒั นาผ้เู รียนเปน็ สาคญั
คณุ ลกั ษณะผ้นู าทางวิชาการ
บทบาทความเป็นผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน มีความสาคัญท่ีจาเป็นต้อง
ปลูกฝังให้เกิดขึ้นแก่ผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนเป็นแหล่งเรียน เป็นแหล่งวิชาการอย่างแท้จริง
และจะประสบความสาเร็จในการจดั การตามภารกจิ
Hallinger and Murphy (1987, pp. 221 - 224) ได้กล่าวถึง ภาวะผู้นาทาง
วิชาการของผ้บู รหิ าร
1. ด้านกาหนดพันธกิจของโรงเรียน เป็นการกาหนดกรอบขอบเขตของงานที่
โรงเรียนต้องรับผิดชอบในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับงานวิชาการ และสร้างความเข้าใจในพนั ธกิจ ให้ผู้ที่เรียน
ต้องทราบ ซ่ึงจาแนกได้ 2 ด้าน คือ การกาหนดเป้าหมายของโรงเรียน และการสื่อเป้าหมายของ
โรงเรียน
2. ด้านการเรียนการสอน เป็นกระบวนการท่ีเก่ียวข้องกับการดูแล ส่งเสริมและ
สนบั สนุนการสอนของผูส้ อน การเรยี นของผเู้ รียน และการประสานการจดั การเรียนการสอน
3. ด้านการส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการของโรงเรียน จะเกี่ยวกับบรรทัดฐาน
(Noms) และเจตคติของบุคลากร ซ่ึงจะจาแนกบทบาทในทางส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการของ
โรงเรียน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544) ได้กาหนดเกณฑ์ การคัดเลือกผู้บริหาร
สถานศึกษาต้นแบบ เพ่ือการปฏิรูปการเรียนรู้ไว้ คือผู้บริหารโรงเรียนมีความเป็นผู้นาทางวิชาการ
(Instructional Leadership) ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ในการจัด การศึกษาให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง
มีความเป็นผู้นาในการริเร่ิมการใช้นวัตกรรมเพ่ือการเรียนการสอน ส่งเสริมการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการส่ือสารมาใช้ในการปฏิรูปการเรียนรู้ มีศักยภาพในการพ่ึงตนเอง และในการ
พัฒนางานวิชาการแสวงหาความรู้ใหม่ๆ ซึ่งบทบาทความเป็นผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียน
มีความสาคญั ต่อการส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรียนเป็นแหลง่ เรยี นรู้ เปน็ แหลง่ วิชาการอยา่ งแทจ้ รงิ
สรปุ สาระสาคญั ดังนี้
1. การกาหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ท่ีเน้นความเป็นเลิศทาง
วิชาการ การส่ือสารเชื่อมโยงวิสัยทัศน์กับบุคลากรในโรงเรียน การจัดสรรทรัพยากรเพื่อนาวิสัยทัศน์
ความสาเรจ็ และการจัดการเพือ่ ใหว้ ิสยั ทัศนบ์ งั เกิดผล
34
2. การมีความรู้ของผู้นาทางวิชาการ ได้แก่ โรงเรียนท่ีมีประสิทธิผล การสอนท่ีมี
ประสิทธิผล ความข้องเก่ียวกับปรัชญาการจัดการศึกษา และความก้าวหน้าเก่ียวกับการศึกษา
การบรหิ าร ทฤษฎกี ารเปลยี่ นแปลง และทฤษฎีหลักสตู รและการพัฒนาหลกั สูตร
3. ภาระหน้าที่ของผู้นาทางวิชาการ ได้แก่ การนิเทศและประเมินผลการสอน
การพัฒนาบุคลากรและทีมงาน การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการกลุ่ม การวิจัย
เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับงานวิชาการ การเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การสร้างความสัมพันธ์
สถานศกึ ษากับชุมชน
4. ทักษะการเป็นผู้นาทางวิชาการ ได้แก่ ด้านบุคลากร การติดต่อส่ือสาร การนิเทศ
การตัดสนิ ใจและการกระทาร่วมกัน การกาหนดเป้าหมาย การประเมินผลการวางแผนงาน การสังเกต
และการวจิ ยั และประเมินผล
องคป์ ระกอบหลักที่ 2 การมีส่วนร่วมในการบริหารงานวิชาการในโรงเรยี น
ความหมายของการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ ม
ปาริชาติ ชมชื่น (2555, น. 30-45) กล่าวว่า การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง
การกระจายอานาจและความรับผิดชอบของผู้บริหารไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา หรือกลุ่มงานที่มีส่วน
เกี่ยวข้อง เพื่อให้กลุ่มมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ของ
องค์การ พร้อมทั้งร่วมดาเนินการให้งานบรรลุเป้าหมายอย่างเต็มใจ และเกิดความพึงพอใจของ
ผูใ้ หบ้ ริการ ซ่ึงได้กล่าวถงึ การบริหารแบบมีสว่ นร่วมมแี นวความคิดพื้นฐาน ดงั นี้
1. ความเชื่อเรื่องธรรมชาติมนุษย์ (Assumption about Human Nature) ความ
เช่ือเก่ียวกับธรรมชาติของมนุษย์ตามแนวคิดของ McGregor มีอยู่ 2 แนวทาง คือทฤษฎี X และ
ทฤษฎี Y ตามความคิดของทฤษฎี X เช่ือว่ามนุษย์ขี้เกียจและขาดความรับผิดชอบ ดังน้ัน ต้องใช้
วิธีการบังคับ หรือควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด ส่วนทฤษฎี Y เชื่อว่ามนุษย์มีความขยันชอบทางาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสภาพการทางานมีความเหมาะสม และคนมีส่วนร่วมในการทางานโดยไม่ถูก
บังคับก็ย่ิงจะมีความรับผิดชอบมากข้ึน ทฤษฎี Y ให้ข้อคิดว่าการท่ีบุคคลร่วมมือกันทางาน มีการ
พฒั นาบคุ ลากรมีการปรับปรงุ คณุ ภาพชวี ติ การทางานจะเป็นแรงจงู ใจที่มแี ก่ครูและนักเรยี น
2. ความคิดเกี่ยวกับความเป็นองค์การของโรงเรียน แนวความคิดของการบริหาร
ปจั จุบัน องค์การมิใชเ่ ป็นเพียงเคร่ืองมือสาหรับการบรรลุเป้าหมายหรือผลผลิตเชิงปริมาณเท่านนั้ แต่
องค์การเป็นสถานท่ีสาหรับการดารงชีวิตและการพัฒนาโรงเรียนเป็นสถานที่ท่ีนักเรียน ครู และ
ผู้บริหารได้อยู่ร่วมกันอาศัยเติบโตและพัฒนาไปด้วยกัน หากไม่มีการพัฒนาครู และผู้บริหารไม่ได้
ร่วมมือกันแล้วการพัฒนาก็จะไม่เป็นไปอย่างต่อเน่ือง การเรียนท่ีมีคุณภาพที่แท้จริงได้ โรงเรียนท่ี
บริหารตามแนวคิดนี้จึงเป็นที่ที่เด็กได้เติบโต ผู้บริหารและครูได้รับการพัฒนาซึ่งผลการพัฒนาร่วมกัน
เหล่าน้ี ทาให้เกดิ ผลดตี ่อประสทิ ธิผลของโรงเรียนโดยส่วนรวม
3. รปู แบบการตดั สนิ ใจ สั่งการในระดับโรงเรยี นควรมีลักษณะรว่ มมอื กัน
4. ภาวะผู้นา การบริหารแบบมีส่วนร่วม ผู้บริหารต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
เปน็ ผู้นาในการเปลยี่ นแปลง ต้องใช้แบบภาวะผู้นาหลายแบบผสมกัน คอื นอกจากจะใช้แบบผู้นาดา้ น
35
เทคนิคและภาวะผู้นาด้านมนุษย์แล้ว ยังต้องใช้ภาวะผู้นาทางการศึกษา ภาวะผู้นาเชิงสญั ลักษณ์ และ
ภาวะผนู้ าทางวัฒนธรรมดว้ ย
5. การใช้อานาจ ในการบริหารโดยทั่วไปความจาเป็นท่ีจะต้องใช้อานาจ เป็นสิ่งท่ี
ขาดไม่ได้แต่ควรใช้อานาจที่เหมาะสมหรือถูกวิธี ส่งผลดีต่อการปฏิบัติงานและความพึงพอใจของ
สมาชิก การบริหารแบบมีส่วนร่วมมุ่งพัฒนาและกระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วม การใช้อานาจจากการ
อา้ งอิงจากความเชี่ยวชาญ จึงมบี ทบาทสาคญั ยิง่ ต่อการพฒั นาวิชาชพี ครูต่อการเป็นผนู้ าครู
6. ทักษะในการบริหาร ทักษะการบริหารแบบใหม่ๆ ที่ได้รับการพัฒนาและนามาใช้
ในองค์การ เช่น การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ ใช้ทักษะการแก้ไข
ความขัดแย้ง การใช้กลยุทธ์เพื่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ เป็นต้น การบริหารแบบมี
สว่ นร่วม มคี วามจาเป็นตอ้ งใชท้ กั ษะและแนวคิดเกยี่ วกบั การบรหิ ารมากขนึ้
7. การใช้ทรัพยากรโรงเรียนมีอานาจบริหารทรัพยากรด้วยตนเองมากขึ้น การท่ี
โรงเรียนได้มีอานาจหน้าท่ีบริหารทรัพยากรเอง ทาให้ได้บริหารงานตามสถานการณ์ของตนอย่างมี
ประสทิ ธิผล ไมต่ ้องส้ินเปลอื งบคุ ลากร งบประมาณและเวลาในการควบคุมและตรวจสอบ
ความสาคัญของการบรหิ ารงานแบบมีส่วนร่วม
สัมฤทธ์ิ กางเพ็ง (2545, น. 9-10) กล่าวว่า ประโยชน์ของการมีส่วนร่วม คือ
1) การมีส่วนร่วม ก่อให้เกิดการระดมความคิดและอภิปรายร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ทาให้เกิด
ความคิดที่หลากหลายทาให้การปฏิบัติมีความเป็นไปได้ 2) การมีส่วนร่วมมีผลทางจิตวิทยา คือทาให้
เกิดการต่อต้านน้อยลงจะเกิดการยอมรับมากข้ึน 3) การมีส่วนร่วมเปิดโอกาสให้มีการส่ือสารที่ดีกว่า
แลกเปล่ียนข้อมูลและประสบการณ์ในการทางานร่วมกัน เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 4) การมี
ส่วนร่วมเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานมีโอกาสได้ใช้ความสามารถ และทักษะในการทางานร่วมกัน และ
5) การมีส่วนร่วมจะทาให้ผลการปฏิบัติงานดีขึ้น การตัดสินใจมีคุณภาพมากขึ้น และส่งเสริมการ
ปรับปรุงงานและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น และปัจจัยท่ีส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วมของ
บุคคลในองค์กรคือ แรงจูงใจที่เป็นตัวกระตุ้น เพ่ือก่อให้เกิดการกระทาของพลังในบุคคลส่งผลต่อการ
แสดงพฤติกรรมและวิธีการในการทางานเพื่อบรรลุเป้าหมายท่ีต้องการแรงจูงใจ มีผลต่อกระทบต่อ
การทางานของคนในทิศทางแหง่ ประสิทธภิ าพและสัมฤทธ์ผิ ล
Cohrn and Uphoff (1980, p. 219) ได้แบ่งรูปแบบของการมีส่วนร่วมไว้ 4 แบบ
คือ 1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ประกอบด้วยการตัดสินใจของปัจเจกชนใน 3 ขั้นตอน คือ
การริเร่ิมตัดสินใจ การดาเนินการตัดสินใจ และการตัดสินใจปฏิบัติการ 2) การมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติการ ประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ การสนับสนุนด้านทรัพยากร การบริหาร และการประสาน
ของความ ร่วมมือ 3) การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นผลประโยชน์ทางวัตถุหรือจิตใจมี 2
ลักษณะ คือ ผลประโยชน์ทางสังคมและผลประโยชน์ส่วนบุคคล และ 4) การมีส่วนร่วมในการ
ประเมินผล ได้แก่ การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติการ และผลจากการมสี ว่ นร่วมแตล่ ะดา้ น
ปัจจยั ทเี่ ปน็ ปญั หาอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วม
จันทรานี สงวนนาม (2545, น. 71) กล่าวถึง การท่ีผู้บริหารจะนาการบริหารใน
รูปแบบน้ีมาใช้ควรจะระมัดระวังถึงข้อจากัด ของการให้กลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ
ตัดสินใจ เพราะอาจจะทาให้เกิดกลุ่มอิทธิพลขึ้นได้ และก่อให้เกิดความขัดแย้งกัน ความรับผิดชอบ
36
และการทาของกลุ่มไม่มีหลักประกันอันใดแน่ชัด เพราะทุกอย่างขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของกลุ่ม
ผู้บริหารจึงควรคานึงถึงผลได้ผลเสีย เช่น ค่าใช้จ่าย เวลา ปัญหาและสถานการณ์ การกาหนด
นโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์การ จึงควรได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนจะให้กลุ่มมีส่วน
รว่ มในการตัดสินใจ
สมยศ นาวีการ (2545ก, น. 2-36) กล่าวถึง อุปสรรคเหล่ามีอาจจะเกิดข้ึนกับ
หลายๆ ปัจจัย คืออปุ สรรคทางด้านองค์การ ซึ่งจะยึดติดกับประเพณีปรัชญาและค่านิยมคุณภาพของ
นโยบายและระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน คุณภาพของเจ้าหน้าที่โครงสร้างองค์การ การขาดบรรยากาศ
สนับสนุน การขาดระบบการให้รางวัลในการมีส่วนร่วมในส่วนของอุปสรรค ทางด้านผู้ใต้บังคับน้ัน
อาจเกิดขนึ้ จากการขาดความสามารถขาดความต้องการ การไม่รู้วา่ ถูกคาดหวังให้มีส่วนรว่ มและความ
ร่วมมือ ความกลัวนอกเหนือจากน้ี ยังมีอุปสรรคทางด้านสถานการณ์ท่ีต้องข้ึนอยู่กับข้อจากัดในด้าน
เวลา งาน และอทิ ธิพลทางดา้ นสภาพแวดล้อม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมเปน็ วิธีการบริหารรูปแบบหนง่ึ ที่ช่วยให้ผู้ท่ีมสี ่วนเก่ียวข้อง
กับการทางานได้มีส่วนร่วมในการคิด การตัดสินใจ หรือการปฏิบัติงานในหลากหลายรูปแบบ เพ่ือให้
เกดิ ความผูกพันและรบั ผดิ ชอบมากยิง่ ข้นึ
ขอ้ เสนอแนะการนาวิธีการบริหารแบบมีสว่ นร่วมไปใช้ในการปฏิบตั ิจรงิ
1. การประชุมระดมความคิด และการประชุมเชิงปฎิบตั กิ าร
2. การใช้กลมุ่ งานเฉพาะกจิ และคณะกรรมการ
3. การสรา้ งและประสานวสิ ยั ทศั น์
4. การจดั เวทปี ระชาคมเพ่ือแลกเปลยี่ นเรยี นรู้
5. การใช้ระบบขอ้ มูลและระบบรวมศูนยข์ อ้ มูล
6. การจดั ระบบการสอ่ื สารทดี่ ีและสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล
สรุปได้ว่า การมีส่วนร่วม คือ การท่ีทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เห็นพ้องต้องกันในการร่วม
ดาเนินกิจกรรมหรือโครงการ ต้ังแต่การตัดสินใจว่าจะทาอะไร การรวบรวมข้อมูล การร่วมคิด ร่วม
ตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ และร่วมประเมินผลสาเร็จ จนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ และมีความผูกพัน
รว่ มกัน จนนาไปสู่การเปล่ียนแปลงขององค์กร และการมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารงานวิชาการ ผู้วิจัยได้
สังเคราะหป์ ระเด็น สรปุ สาระสาคญั ดงั นี้
1. การมีส่วนร่วมในการเตรียม ได้แก่ การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็น จัดทาข้อมูล
การบริหารงานวิชาการ การวิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็งของการบริหารงานวิชาการ ร่วมตัดสินใจนา
ข้อมูลเพื่อวางแผนการพัฒนางานวิชาการ การร่วมคัดเลือกแผน/โครงการวิชาการ ร่วมกาหนดการ
นเิ ทศและการประเมินงาน และการร่วมจดั ลาดบั ความสาคัญของแผนงาน
2. การมีส่วนในการวางแผน ได้แก่ ร่วมกาหนดยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายหลักของ
การบริหารงานวิชาการ กาหนดแผนงานและโครงการการบริหารงานวิชาการ พิจารณาผู้รับผิดชอบ
แผนงานและโครงการ กาหนดการจัดสรรทรพั ยากรการศึกษา กาหนดกจิ กรรมการดาเนินงานวิชาการ
และเสนอขอ้ คิดเหน็ กอ่ นการดาเนนิ งาน
3. การมีส่วนในการดาเนินงาน ได้แก่ ความรับผดิ ชอบกิจกรรมงานและโครงการตาม
แผน รวบรวมข้อมูลการดาเนินงานวิชาการ รายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงาน นิเทศและ
37
ตรวจสอบการปฏบิ ัติงาน แก้ปญั หาในการปฏิบัตงิ าน และรว่ มติดต่อประสานงานกับคนในองค์กรและ
นอกองคก์ ร
4. การมีส่วนร่วมในการประเมินผล ได้แก่ ร่วมกาหนดจุดมุ่งหมายการประเมิน
กาหนดวิธีในการร่างเกณฑก์ ารประเมนิ ร่วมเสนอแนะแก่ผู้รับผิดชอบแผนงานโครงการ และนาข้อมูล
การประเมินมาประชาสมั พันธ์เผยแพรข่ ้อมลู
องค์ประกอบหลกั ท่ี 3 การพัฒนาทมี งานวชิ าการในโรงเรียน
ความหมายลักษณะและความสาคัญของการทางานเป็นทีม
สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2543, น. 256) กล่าวว่า กลุ่ม หมายถึง การรวมตัวกันของ
บุคคลต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันเพื่อความสาเร็จในเป้าหมายร่วมกัน เช่น กลุ่มเพ่ือน
นกั ศึกษา กลมุ่ พนักงาน และกลุ่มเลขานุการ เปน็ ต้น
Baron & Byrne (2000, p. 480) กล่าวถึง การทางานกลุ่มในภาพรวมซ่ึงรวมการ
ทางานเป็นทีม วา่ เป็นการทางานร่วมกนั ของบุคคล 2 คนหรอื มากกว่า ซงึ่ แต่ละคนจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อ
กัน มเี ป้าหมายเดยี วกันต่างมอี ิทธพิ ลตอ่ กัน และตระหนักถงึ การเปน็ สมาชกิ กลุม่
การทางานเป็นทีม คือ การทางานเป็นกลุ่มประเภทหน่ึงที่สมาชิกทุกคนของทีมงาน
จะมีบทบาทเฉพาะของตน ทุกบทบาทต้องประสานกันและมีผลต่อกันและกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกัน
ที่ความสาเร็จของงานนั้น และหัวใจสาคัญในความสาเร็จของทีมงานนั้นอยู่ที่ตัวสมาชิกทุกคน ซ่ึงต้อง
ถือว่าสาคัญเท่าเทียมกัน ทีมมีความสาคัญต่อการทากิจกรรมต่างๆ ของทุกคน โดยการช่วยเหลือกัน
และกัน มีความรกั สามัคคกี อ่ ให้เกดิ ประโยชน์เกดิ ความสขุ ความสาเร็จของทุกคนร่วมกัน
สรุปได้ว่า ทีม หมายถึง หน่วยทางสังคมท่ีประกอบด้วยคนตั้งแต่ 2 คนข้ึนไปมา
ทางานรว่ มกันโดยมีวตั ถุประสงค์เดียวกันท่ีมีการประสานกัน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในการทางานกลุ่ม
(Group Work) และการทางานเปน็ ทมี (Teamwork)
สรปุ การสงั เคราะห์การพฒั นาทมี งานวิชาการในโรงเรยี น
จากการศึกษาหลักการและแนวคิดเก่ียวกับการทางานเป็นทีม ผู้วิจัย ได้สังเคราะห์
ประเด็นท่ีสนใจ คือการพัฒนาทีมงานวิชาการในโรงเรียน หมายถึง การปฏิบัติงานตามโครงสร้าง
บริหารงานวชิ าการ ตามแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่างๆ สรุปสาระสาคัญ ดังน้ี
1. การรับรู้และคน้ หาปญั หา ได้แก่ วินิจฉัยปัญหารว่ มกนั สรุปขอ้ มูล และจัดลาดบั
ของปญั หา
2. การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สร้างเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์
ขอ้ มูลและเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
3. การวางแผนปฏิบัติงาน ได้แก่ การทบทวนกิจกรรมท่ีผ่านมา การตรวจสอบความ
พร้อมของทีมงาน และการกาหนดแนวทางการจดั กิจกรรม
4. การนาแผนไปปฏิบัติ ได้แก่ การมอบหมายงานและการติดตาม กากับ ดูแล
การปฏบิ ัติงาน
5. การประเมนิ ผลลัพธ์ ได้แก่ การสรา้ งเครอื่ งมอื การเกบ็ ขอ้ มลู และการนาเสนอผล
การประเมิน
38
องคป์ ระกอบหลักท่ี 4 กระบวนการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดดลุ ยภาพ
(Balanced Scorecard)
ความเป็นมา Balanced Scorecard หรือ BSC ถือกาเนิดจากสถาบันโนแลนด์นอร์
ตันซึ่งเป็นสถาบันวิจัย สาขาของ KPMG BARRENT ท่ีได้ทาการศึกษาวิจัยเก่ียวกับบริษัท เร่ืองการ
วัดผลงานขององค์กรในอนาคตภายใต้ความเช่ือที่ว่า การวัดผลบริษัทที่ผ่านมาส่วนมากจะวัดด้าน
การเงิน ผลตอบแทน กาไรเป็นส่วนใหญ่ซ่ึงเป็นการวัดท่ีจากัด เพราะเป็นการวัดส่ิงที่เกิดขึ้นมาแล้ว
หรือเหตุการณ์ในอดีตไม่มีประโยชน์ สาหรับการอยู่รอดในยุคท่ีมีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง
ศาสตราจารย์ Robert Kaplan แห่งมหาวิทยาลัย Harvard ได้ทางานวิจัยร่วมกับ David Norton
ผู้บริหารระดับสูงของสถาบันโนแลนด์นอร์ตันในขณะน้ัน โดยศึกษาการวัดผลของบริษัท และโรงงาน
อตุ สาหกรรมต่างๆ ท่ัวโลก ในระหว่างท่ีทาการศึกษาทั้งสองได้พบบริษัทแห่งหน่ึงชื่อ Analog Devile
ท่ีมีระบบการประเมินที่ไม่ได้วัดผลด้านการเงินเพียงอย่างเดียว แต่ประเมินด้านอื่นควบคู่ไปด้วย
ผลจากการค้นพบแนวคิดการประเมินดังกล่าว ได้นามาพัฒนาต่อจนผลการวิจัยเสร็จสมบูรณ์ และได้
ข้อสรุปวา่ การประเมนิ ผลงานนั้นตอ้ งเป็นการประเมนิ ที่รอบด้านโดยเฉพาะในสิง่ ทจี่ ับตอ้ งไม่ได้ ควบคู่
ไปกับการประเมินทางด้านการเงินซึ่งจะส่งผลให้การประเมินน้ันเกิดความสมดุล หรือเท่าเทียมกัน
Kaplan และ Norton จึงได้ข้อสรุปงานวิจัยเกี่ยวกับการวัดผลขององค์กรสมัยใหม่ว่า ควรมีขอบข่าย
การประเมินในด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้ และ
การเจริญเติบโตจากผลการศึกษาของ Kaplan และ Norton ถือได้ว่าเป็นนวัตกรรมการบริหารเชิง
กลยุทธ์ ต่อมาได้พัฒนา Balanced Scorecard จากเดิมที่เป็นเคร่ืองมือวัดผลองค์กรแปลงกลยุทธ์
ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีหลักการพ้ืนฐานว่า กลยุทธ์จะต้องแปลงเป็นผลงานให้มีความชัดเจนสามารถ
ตรวจสอบได้
ความหมาย
Kaplan and Norton (2001) อธบิ ายหลกั การและใหค้ วามหมายของ BSC ไว้ดงั น้ี
Balanced Scorecard หรือ BSC เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้บริหารกาหนดเป็น
เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ รูปแบบไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ของเป้าหมายตลอดจนติดตาม ตรวจสอบ
ควบคมุ กลยทุ ธ์ กจิ กรรมตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์
Balanced Scorecard หรือ BSC ให้ความสาคัญในการวัดผลงานท้ังทางด้าน
การเงนิ และด้านท่ีไมใ่ ช่การเงิน แต่ความหมายของ BSC มีมากกว่าการวดั ผลและการเก็บรวบรวมของ
ลกู ด้านการเงินและด้านอ่ืนๆ ท่ีไมใ่ ช่การเงนิ BSC เป็นกระบวนการวิเคราะห์ พันธกจิ และกลยทุ ธ์ไปสู่
การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์และการวดั ผล
พสุ เดชะรินทร์ (2545) ให้ความหมายไว้ ดงั น้ี
BSC เป็นเคร่ืองมือในการใช้อธิบายประยกุ ต์และบริหารกลยุทธ์ท่ัวทั้งองค์กร ในการ
เช่ือมโยงวตั ถุประสงค์ ตวั ชว้ี ัด และแผนงานทสี่ าคัญเขา้ กบั กลยุทธข์ ององคก์ ร
BSC เป็นมากกวา่ ตวั ช้ีวัด BSC ทดี่ ตี อ้ งสามารถบอกเลา่ เร่อื งราวกลยทุ ธข์ ององค์กร
BSC เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์กรไปสู่การ
ปฏิบัติ