The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichit, 2021-04-02 01:11:05

AC

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

52

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรูแ้ บบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

20.1 สรปุ ผลการจดั การเรียนรู้

รายการ ระดบั การปฏบิ ัติ
54321

ด้านการเตรยี มการสอน

1.จัดหนว่ ยการเรยี นรไู้ ดส้ อดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมินครอบคลุมท้งั ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ และด้านจติ พสิ ยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจดั การเรยี นรกู้ ่อนเขา้

สอน

ด้านการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธกี ารนาเขา้ สู่บทเรยี นท่ีน่าสนใจ

5. มกี จิ กรรมที่หลากหลาย เพ่ือชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กิจกรรมทีส่ ง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนคน้ คว้าเพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

8. จัดกิจกรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นแสดงความคดิ เห็นอย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี ชื่อมโยงกบั ชีวติ จรงิ โดยนาภมู ิปญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มีสว่ นรว่ ม

11. จัดกจิ กรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเมอื่ นักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใสด่ ูแลผเู้ รยี น อยา่ งทว่ั ถึง

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทก่ี าหนด

ด้านสอ่ื นวตั กรรม แหลง่ การเรยี นรู้

16. ใช้ส่ือที่เหมาะสมกับกจิ กรรมและศักยภาพของผเู้ รียน

17. ใช้ส่อื แหล่งการเรียนรูอ้ ย่างหลากหลาย เช่น บุคคล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และอนิ เทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน

14. เอาใจใส่ดแู ลผูเ้ รียน อย่างทั่วถงึ

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทกี่ าหนด

ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล

18. ผูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล

19. ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายและครบท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสยั

20. ครู ผเู้ รยี น ผูป้ กครอง หรือ ผูท้ เี่ กี่ยวข้องมสี ว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดบั การปฏิบัติ 5 = ปฏิบัติดีเย่ียม 4 = ปฏิบตั ดิ ี 3 = รวม

ปฏบิ ตั ิพอใช้ 2 = ควรปรบั ปรุง 1 = ไมม่ ีการปฏบิ ตั ิ เฉลี่ย

53

20.2 ปัญหาที่พบ และแนวทางแกป้ ัญหา

ปัญหาที่พบ แนวทางแกป้ ัญหา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านสอื่ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการวดั ประเมินผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอื่น ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงชอ่ื ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวิชติ โมเ้ ปาะ)
ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน

............../.................................../....................

54 ชื่อ-สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทกึ การนเิ ทศและตดิ ตาม

วัน-เดอื น-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

55

แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี

และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหัสวิชา 20105-2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั

หนว่ ยที่ 3 ช่ือหนว่ ย เวกเตอร์และเฟสเซอร์

ชอื่ เรอ่ื ง เวกเตอร์และเฟสเซอร์ จานวน 4 ชว่ั โมง

1. สาระสาคญั
เวกเตอร์ คือ สัญลักษณ์เขียนในรูปหัวลูกศรและความยาว ใช้เขียนแทนปริมาณไฟฟ้าค่าต่าง ๆ โดยมี

หวั ลกู ศรเวกเตอร์ทชี่ ีไ้ ป แสดงทิศทางทเ่ี กิดปริมาณไฟฟ้า ขนาดความยาวเวกเตอร์แทนคา่ ขนาด หรอื กาลังของ
ปริมาณไฟฟ้า ทิศทางการหมุนเคล่ือนท่ีของเวกเตอร์ หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิการอบตัวเอง หมุนเคล่ือนที่
ครบ 1 รอบ เป็นมุม 360o

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย
ดา้ นความรู้
1. บอกลักษณะโครงสร้างของเวกเตอรไ์ ด้
2. อธบิ ายความแตกต่างของเฟสสญั ญาณได้
ดา้ นทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
1. เขยี นเฟสเซอร์ได้
2. จาแนกความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู คล่ืนไซนแ์ ละรูปคลนื่ โคไซนไ์ ด้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. สรุปเวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ได้อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงค์ทั่วไป

1. เพ่ือใหม้ ีความรู้เกี่ยวกับลกั ษณะโครงสร้างของแว็กเตอร์
2. เพือ่ ให้มีทกั ษะในการเขยี นเฟสเซอรไ์ ด้
3. เพือ่ ให้มีเจตคติทีด่ ีในการจาแนกความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปคลน่ื ไซน์และรปู คลื่นโคไซน์
4. เพือ่ สรุปเวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกลกั ษณะโครงสรา้ งของเวกเตอร์ได้
2. อธิบายความแตกต่างของเฟสสญั ญาณได้
3. เขยี นเฟสเซอร์ได้
4. จาแนกความสัมพันธร์ ะหว่างรปู คลนื่ ไซน์และรปู คลืน่ โคไซนไ์ ด้
5. สรปุ เวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม

56

4. เนอื้ หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ด้านความรู้
1. เวกเตอร์

2. เฟสสญั ญาณ

3. เฟสเซอร์

4. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรูปคลนื่ ไซนแ์ ละรปู คลน่ื โคไซน์

5. บทสรุป

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏิบัติ
1. การทดลองที่ 3 เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์
2. แบบทดสอบบทท่ี 3

4.3 ดา้ นคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ใชเ้ ครือ่ งมือในการทดสอบได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขัน้ ตอนการเรียนหรอื กจิ กรรมของผเู้ รยี น

ข้นั เตรียม(จานวน 15 นาที) ขั้นเตรยี ม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวธิ ีการเรียนเร่อื ง เวกเตอร์และ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง
เฟสเซอร์
เวกเตอร์และเฟสเซอร์
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทท่ี 3 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
ขอใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกนั ทากิจกรรมการเรียนการสอน เรียนบทท่ี 3 และการให้ความร่วมมือในการทา

กจิ กรรม

ข้ันการสอน(จานวน 180 นาท)ี ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาที)

1. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นเปดิ PowerPoint บทที่ 3 เรือ่ ง 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทท่ี 3 เร่ือง

เวกเตอร์และเฟสเซอร์ และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร เวกเตอร์และเฟสเซอร์และผู้เรียนศึกษาเอกสาร

ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถาม ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถตอบข้อสงสยั

ขอ้ สงสยั ระหวา่ งเรียนจากผู้สอน ระหวา่ งเรยี นได้

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบายแหล่งเวกเตอร์และเฟส 2. ผ้เู รยี นอธิบายเวกเตอร์และเฟสเซอร์ ไดศ้ กึ ษาจาก

เซอร์ ได้ศกึ ษาจาก PowerPoint PowerPoint

3. ผสู้ อนให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 3 3. ผ้เู รยี นทาแบบฝกึ หดั บทที่ 3

4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นสบื ค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็ 4. ผเู้ รยี นสบื ค้นข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ น็ต

ขน้ั สรุป(จานวน 45 นาที) ขน้ั สรปุ (จานวน 45 นาท)ี

1. ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกันสรุปเนื้อหาท่ีไดเ้ รียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนให้มีความ

ความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน เขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย

PowerPoint ท่ีจดั ทาข้นึ PowerPoint ท่จี ัดทาขน้ึ

57

6. สือ่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อส่งิ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. แบบฝกึ หัดที่ 3

6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เร่อื ง เวกเตอร์และเฟสเซอร์

6.3 ส่อื ของจรงิ
1. เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน
2. หอ้ งอินเตอรเ์ นต็ วิทยาลัยการอาชพี สวา่ งแดนดนิ

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. ห้องสมดุ เฉลิมพระเกียรติอาเภอสว่างแดนดิน
2. หอ้ งสมุดประชาชนเฉลิมราชกมุ ารีอาเภอสวา่ งแดนดิน

8. งานที่มอบหมาย

8.1 กอ่ นเรียน
1. ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

8.2 ขณะเรยี น
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทท่ี 3 เรอ่ื ง เวกเตอร์และเฟสเซอร์
2. รายงานผลหน้าชนั้ เรยี น
3. ปฏิบัติใบปฏบิ ตั ิงานที่ 3 เรอื่ ง เวกเตอร์และเฟสเซอร์
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝกึ หดั บทที่ 3

9. ผลงาน/ชน้ิ งาน ที่เกิดจากการเรียนรู้ของผเู้ รียน

1. แบบฝึกหัดบทที่ 3 ใบปฏบิ ัตงิ านท่ี 3
2. ตรวจผลงาน

58

10. เอกสารอ้างองิ

1. พันธ์ศักด์ิ พฒุ ิมานติ พงศ.์ วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั . : ศูนย์ส่งเสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบรู ณาการ/ความสมั พันธ์กบั รายวิชาอน่ื

1. บรู ณาการกับวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกับวิชาไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนิกส์
3. บรู ณาการกบั วชิ าไฟฟา้ เบื้องตน้

12. หลักการประเมนิ ผลการเรียน

12.1 กอ่ นเรียน
1. ความรูเ้ บื้องต้นก่อนการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สงั เกตการทางาน

12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 3
2. ตรวจใบงานท่ี 3

13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียน

จดุ ประสงคข์ อ้ ที่ 1 บอกลักษณะโครงสรา้ งของเวกเตอร์ได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบอกลักษณะโครงสรา้ งของเวกเตอร์ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บอกลักษณะโครงสรา้ งของเวกเตอร์ได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที่ 2 อธิบายความแตกต่างของเฟสสญั ญาณได้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายความแตกต่างของเฟสสัญญาณได้
4. เกณฑ์การผ่าน : อธบิ ายความแตกต่างของเฟสสญั ญาณได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที่ 3 เขยี นเฟสเซอร์ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถเขียนเฟสเซอร์ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : เขยี นเฟสเซอรไ์ ด้ จะได้ 2 คะแนน

59

จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 4 จาแนกความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู คล่นื ไซนแ์ ละรปู คลนื่ โคไซน์ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถจาแนกความสมั พันธร์ ะหวา่ งรูปคล่ืนไซน์และรูปคลืน่ โคไซนไ์ ด้
4. เกณฑ์การผ่าน : จาแนกความสัมพันธร์ ะหว่างรูปคลื่นไซน์และรปู คลื่นโคไซน์ได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 5 สรุปเวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถสรปุ เวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม
4. เกณฑ์การผา่ น : สรปุ เวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน

14. แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการสอนที่ 3 ช่ือหน่วยการสอน เวกเตอร์และเฟสเวอร์
วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ประเมินความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับเวกเตอร์และเฟสเซอร์
ข้อคาถาม
ตอนท่ี 1 เขียนเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในข้อท่ถี ูกต้องท่สี ุด

60

61
ตอนท2่ี อธบิ ายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหส้ มบรู ณ์ถกู ต้อง

62

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น

ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10
ข. ง. ค. ค. ก. ข. ก. ง. ก. ข.

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการสอนที่ 3 ชือ่ หน่วยการสอน เวกเตอร์และเฟสเวอร์
วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ประเมินความรพู้ ้นื ฐานเกยี่ วกบั เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์
ขอ้ คาถาม
ตอนท่ี 1 เขียนเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงในข้อที่ถูกต้องท่ีสดุ

63

64
ตอนท2่ี อธบิ ายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหส้ มบรู ณ์ถกู ต้อง

65

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10
ข. ก. ค. ‘. ค. ข. ก. ง. ก. ค.

16. ใบความร้ทู ี่ 3

หน่วยการสอนที่ 3 ช่ือหนว่ ยการสอน เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์
หัวข้อเรอื่ ง เวกเตอร์และเฟสเซอร์

3.1 เวกเตอร์

ปริมาณไฟฟ้ากระแสสลับเป็นปริมาณไฟฟ้าที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เกิดขึ้นมีมากมายหลายค่า เกิด
การเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ทั้งขนาดและทิศทาง การเขียนแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าด้วยรูปสัญญาณจรงิ เพื่อทา
การวิเคราะห์หรือทาความเข้าใจ จะเกิดความยุ่งยากมาก การแก้ปัญหาดังกล่าวสามารถทาได้ด้วยการเขียน
แทนค่าปริมาณไฟฟ้าดว้ ยเวกเตอร์ (Vector)เวกเตอร์ คือ สัญลักษณเ์ ขยี นในรปู หวั ลกู ศรและความยาว ใช้เขียน
แทนปริมาณไฟฟ้าค่าต่าง ๆ โดยมีหัวลูกศรเวกเตอร์ท่ีช้ีไป แสดงทิศทางท่ีเกิดปริมาณไฟฟ้า ขนาดความยาว
เวกเตอร์แทนค่าขนาด หรอื กาลงั ของปริมาณไฟฟา้ ลกั ษณะเวกเตอร์

3.2 เฟสสญั ญาณ

การเกิดสัญญาณไฟสลับมากกว่าหน่ึงสัญญาณ มีมุมหรือเวลาที่แตกต่างกัน เกิดข้ึนบนแกนเดียวกัน มี
ความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ความแตกต่างที่เกิดข้ึนนี้เรียกว่า เฟส (Phase) เรียกมุมท่ีแตกต่างกันว่า มุมเฟส
(Phase Angle) สัญญาณไฟสลบั ที่มีเฟสต่างกนั

3.2.1 เฟสร่วมกัน

เฟสร่วมกัน (Inphase) คือ การเกิดข้ึนพร้อมกันของสัญญาณไฟสลับมากกว่าหนึ่งสัญญาณ เกิดการ
ซ้อนทับกันพอดี มีทิศทางการเกิดคล่ืนเหมือนกัน แต่จะมีความแรงเท่ากันหรือไม่ก็ได้ สัญญาณไฟสลับท้ังหมด
เกดิ ข้ึนมีมมุ เฟสตา่ งกัน 0o หรอื 0 rad เกิดขน้ึ ท่ีเวลาเดยี วกันลกั ษณะสญั ญาณไฟสลับมีเฟสเหมือนกัน

3.2.3 เฟสเล่อื น

เฟสเลื่อน (Shift Phase) คือ การเกิดขึ้นไม่พร้อมกันของสัญญาณไฟสลับมากกว่าหน่ึงสัญญาณ มีทิศ
ทางการเกดิ คลนื่ เหมือนกัน แตเ่ กดิ ขน้ึ ในเวลาต่างกัน จะมีความแรงเท่ากันหรือไม่ก็ได้ สญั ญาณไฟสลบั ทั้งหมด
เกิดขึ้นมีมุมเฟสต่างกันมากกว่า 0o หรือ 0 rad แต่น้อยกว่า180o หรือ p rad เกิดขึ้นท่ีเวลาต่างกัน ลักษณะ
สัญญาณไฟสลับมีเฟสเล่อื น

66

3.3 เฟสเซอร์

เฟสเซอร์ (Phasor) เป็นการใช้เวกเตอร์เขียนแทนสัญญาณไฟสลับ ที่มีขนาดคงท่ีและความเร็วเชิงมุม
คงท่ี เส้นตรงและหัวลูกศรหนึ่งเส้นแทนปริมาณไฟฟ้าหนึ่งสัญญาณ เส้นตรงแต่ละเส้นจะถูกเขียนจากจุด ๆ
หน่ึงมา ถือเป็นจุดเร่ิมต้น ความยาวของเส้นตรงแต่ละเส้นเป็นปฏิภาคโดยตรงกับขนาดความแรงของปริมาณ
ไฟฟ้า เฟสเซอร์บอกคา่ ปรมิ าณไฟฟา้ ไวใ้ นรูปคา่

RMSการเขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม (Phasor Diagram) เฟสเซอร์ของสัญญาณไฟสลับที่ถูกกาหนด
เป็นปริมาณอ้างอิง โดยปกติเขียนอยู่ในแกนแนวนอน มีทิศทางหัวลูกศรชี้ไปทางขวามือการเคล่ือนท่ีของเส้น
เฟสเซอร์ เคลื่อนที่ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (CCW) จากเฟสเซอร์อ้างอิงถือเป็นการเคลื่อนท่ีไปทางบวก
แสดงว่าเปน็ เฟสนาหน้า ในทางตรงขา้ ม ถา้ การเคล่อื นทข่ี องเส้นเฟสเซอรเ์ คล่ือนที่ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
(CW) จากเฟสเซอร์อ้างอิง ถือเป็นการเคล่ือนที่ไปทางลบ แสดงว่าเป็นเฟสล้าหลัง ลักษณะการเขียนเฟสเซอร์
ไดอะแกรม

3.4 ความสมั พันธร์ ะหว่างรูปคลน่ื ไซน์และรปู คลื่นโคไซน์

ความสัมพันธ์ระหว่างรูปคล่ืนไซน์ (sin) และรูปคลื่นโคไซน์ (cos) มีขนาดมุมการเกิดคลื่นแตกต่างกัน
อยู่ 90o หรอื p/2 ทาใหส้ ามารถเปล่ยี นแปลงคา่ กลับไปกลับมาไดร้ ะหว่างค่าทั้งสอง ซึง่ มีความสัมพนั ธก์ ัน

3.5 บทสรปุ

เวกเตอร์ คือ สัญลักษณ์เขียนในรูปหัวลูกศรและความยาว ใช้เขียนแทนปริมาณไฟฟ้าค่าต่าง ๆ โดยมี
หวั ลูกศรเวกเตอร์ท่ชี ้ีไป แสดงทิศทางทีเ่ กิดปริมาณไฟฟ้า ขนาดความยาวเวกเตอร์แทนคา่ ขนาด หรอื กาลังของ
ปริมาณไฟฟ้า ทิศทางการหมุนเคลื่อนท่ีของเวกเตอร์ หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬิการอบตัวเอง หมุนเคลื่อนที่
ครบ 1 รอบ เปน็ มุม 360o

การเกิดสัญญาณไฟสลับมากกว่าหนึ่งสัญญาณ มีมุมหรือเวลาท่ีเกิดขึ้นบนแกนเดียวกันแตกต่างกัน
ความแตกต่างที่เกิดข้ึนน้ีเรียกว่า เฟส เรียกมุมที่แตกต่างกันว่า มุมเฟส แบ่งได้เป็นแบบเฟสร่วม แบบเฟสตรง
ขา้ ม และแบบเฟสเลือ่ น

เฟสเซอร์ เป็นการใช้เวกเตอร์เขียนแทนสัญญาณไฟสลับ ที่มีขนาดคงที่ และความเร็วเชิงมุมคงท่ี
เส้นตรงและหัวลูกศรหนึ่งเส้นแทนปริมาณไฟฟ้าหน่ึงสัญญาณ เส้นตรงแต่ละเส้นจะถูกเขียนจากจุด ๆ หน่ึงมา
ถือเปน็ จดุ เร่มิ ต้น ความยาวของเสน้ ตรงแต่ละเส้นเป็นปฏิภาคโดยตรงกบั ขนาดความแรงของปริมาณไฟฟ้า เฟส
เซอร์บอกค่าปริมาณไฟฟ้าไว้ในรูปค่า RMS ความสัมพันธ์ระหว่างรูปคล่ืนไซน์ และรูปคลื่นโคไซน์ มีขนาดมุม
การเกดิ คลนื่ แตกต่างกันอยู่ 90o หรือ p/2 ทาให้สามารถเปลีย่ นแปลงค่ากลบั ไปกลับมาไดร้ ะหวา่ งค่าท้ังสอง

67

68

69

70

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ชือ่ กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………หอ้ ง............................

รายช่ือสมาชกิ

1……………………………………เลขท…่ี …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขท…ี่ …. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1

1 เนอ้ื หาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เกี่ยวกบั เนอื้ หา ความถูกต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เนื้อหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถกู ต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แตต่ รงตามจุดประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกตอ้ ง ไม่ตรงตามจดุ ประสงค์

2. รปู แบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มีรปู แบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอท่นี ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ

ประหยัด

2 คะแนน = มเี ทคนิคการนาเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ

แตข่ าดการประยุกต์ใช้ วัสดใุ นทอ้ งถน่ิ

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ

3. การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ

3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกิจกรรมกลุม่

2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญม่ ีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

2 คะแนน = ผฟู้ งั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมอื

1 คะแนน = ผูฟ้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

71

แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่

ชอ่ื กลมุ่ ……………………………………………ชน้ั ………………………หอ้ ง............................

รายชอ่ื สมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท…่ี ….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ที่ รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเปา้ หมายร่วมกนั
2 การแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรียมความ

พรอ้ ม
3 การปฏิบัติหนา้ ทที่ ่ีได้รบั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมสี ่วนร่วมในการกาหนดเปา้ หมายการทางานอยา่ งชัดเจน
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ ีสว่ นร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียม
สถานที่ สอ่ื /อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ่ัวถึง แต่ไมต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพรอ้ มเพรียง
แตข่ าดการจดั เตรยี มสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ท่ัวถงึ และมีสื่อ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏิบัตหิ น้าที่ท่ไี ด้รบั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานได้สาเร็จตามเปา้ หมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย แต่ชา้ กว่าเวลาท่กี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเป้าหมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นร่วมปรกึ ษาหารอื แต่ไม่ปรบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางสว่ นมีส่วนรว่ มไมม่ ีส่วนรว่ มปรึกษาหารือ และปรบั ปรุงงาน

72

19. แบบฝกึ หดั

แบบฝึกหัดท้ายหน่วยที่ 3
เวกเตอร์และเฟสเซอร์

คาส่งั อธิบายให้ได้ใจความสมบรู ณ์และแสดงวธิ ีทาใหถ้ ูกตอ้ งสมบูรณ์

73

20. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรแู้ บบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

20.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดบั การปฏบิ ัติ
54321

ดา้ นการเตรยี มการสอน

1.จัดหน่วยการเรียนรูไ้ ดส้ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

2. กาหนดเกณฑ์การประเมินครอบคลุมทงั้ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจติ พสิ ยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจดั การเรียนรกู้ ่อนเขา้

สอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มกี จิ กรรมท่หี ลากหลาย เพ่ือช่วยให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นค้นคว้าเพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

8. จัดกิจกรรมทเ่ี นน้ กระบวนการคิด ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตุน้ ให้ผเู้ รยี นแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี ชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ โดยนาภมู ิปญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มสี ว่ นรว่ ม

11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม

12. มกี ารเสริมแรงเมือ่ นักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รยี น อยา่ งทวั่ ถึง

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทีก่ าหนด

ดา้ นสอ่ื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

16. ใชส้ อ่ื ทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผูเ้ รียน

17. ใช้สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้อย่างหลากหลาย เช่น บุคคล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นต้น

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รยี น

14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อย่างทัว่ ถึง

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทกี่ าหนด

ด้านการวัดและประเมินผล

18. ผเู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพสิ ยั

20. ครู ผูเ้ รยี น ผ้ปู กครอง หรือ ผทู้ ีเ่ กีย่ วข้องมสี ว่ นร่วม ในการประเมนิ

หมายเหตุ ระดับการปฏบิ ัติ 5 = ปฏบิ ัติดีเยย่ี ม 4 = ปฏิบตั ดิ ี 3 = รวม

ปฏบิ ตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มีการปฏบิ ตั ิ เฉลี่ย

74

20.2 ปัญหาที่พบ และแนวทางแก้ปัญหา

ปัญหาที่พบ แนวทางแกป้ ัญหา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านสอื่ นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการวดั ประเมินผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอื่น ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงชอื่ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวิชติ โมเ้ ปาะ)
ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน

............../.................................../....................

75 ชื่อ-สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทกึ การนเิ ทศและตดิ ตาม

วัน-เดอื น-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

76

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี

และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัสวชิ า 20105-2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

หน่วยท่ี 4 ชือ่ หนว่ ย จานวนเชิงซอ้ น

ชือ่ เร่อื ง จานวนเชิงซ้อน จานวน 4 ชว่ั โมง

1. สาระสาคัญ
เลขจานวนจริง (Real Number) คือ ตัวเลข หรือจานวนเลขที่มีค่าจริง สามารถทราบค่าเลขเหล่านน้ั

ไดว้ ่า มีจานวนมากหรือน้อยเพยี งไร ค่าเลขจานวนจรงิ อาจเป็นเลขจานวนเต็ม เลขทศนิยม หรือเลขเศษสว่ น มี
คา่ เปน็ บวกหรอื ลบก็ได้ เลขจานวนจริงแบง่ ออกได้เปน็ 2 ชนิด คือจานวนเลขลงตวั (Rational Number) และ
จานวนเลขไมล่ งตวั (Irrational Number)

2. สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
ด้านความรู้
1. อธบิ ายลักษณะเลขจานวนจรงิ ได้
2. บอกลกั ษณะเลขจานวนจินตภาพได้
3. อธิบายลักษณะเลขจานวนเชงิ ซอ้ นได้
ด้านทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้
1. แยกแยะแต่ละรปู แบบจานวนเชิงซอ้ นได้
2. บวกและลบจานวนเชงิ ซอ้ นได้
3. คูณจานวนเชงิ ซอ้ นได้
4. หารจานวนเชงิ ซ้อนได้
5. ชแี้ จงการใชง้ านจานวนเชงิ ซอ้ นในวงจรไฟฟ้า กระแสสลับได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. สรุป จานวนเชงิ ซ้อน ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป

1. เพื่อใหม้ ีความรู้เกีย่ วกับลักษณะเลขจานวนจริง
2. เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการคูณจานวนเชิงซ้อน
3. เพื่อให้มีเจตคติท่ดี ใี นการช้แี จงการใชง้ านจานวนเชิงซ้อนในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
4. เพอื่ สรุป จานวนเชงิ ซอ้ น ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

77

3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
1. อธิบายลกั ษณะเลขจานวนจรงิ ได้
2. บอกลักษณะเลขจานวนจินตภาพได้
3. อธบิ ายลกั ษณะเลขจานวนเชิงซอ้ นได้
4. แยกแยะแตล่ ะรูปแบบจานวนเชงิ ซ้อนได้
5. บวกและลบจานวนเชิงซ้อนได้
6. คูณจานวนเชงิ ซ้อนได้
7. หารจานวนเชิงซ้อนได้
8. ชี้แจงการใช้งานจานวนเชิงซอ้ นในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
9. สรปุ จานวนเชิงซ้อน ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

4. เน้ือหาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. เลขจานวนจริง
2. เลขจานวนจินตภาพ
3. เลขจานวนเชิงซ้อน
4. รูปแบบจานวนเชงิ ซอ้ น
5. การบวกและลบจานวนเชงิ ซอ้ น
6. การคูณจานวนเชิงซ้อน
7. การหารจานวนเชงิ ซ้อน
8. การใชง้ านจานวนเชงิ ซ้อนในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
9. บทสรุป

4.2 ด้านทักษะหรือปฏิบตั ิ
1. การทดลองท่ี 4 จานวนเชิงซอ้ น
2. แบบทดสอบบทท่ี 4

4.3 ดา้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ใชเ้ ครอื่ งมือในการทดสอบไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม

78

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้

ข้นั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมครู ข้นั ตอนการเรียนหรือกจิ กรรมของผูเ้ รยี น

ขั้นเตรยี ม(จานวน 15 นาท)ี ขน้ั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง จานวน รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง
เชงิ ซ้อน
จานวนเชิงซ้อน
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทที่ 4 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
ขอใหผ้ ู้เรียนรว่ มกันทากิจกรรมการเรยี นการสอน เรียนบทที่ 4 และการให้ความร่วมมือในการทา

กิจกรรม

ขน้ั การสอน(จานวน 180 นาที) ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาท)ี

1. ผูส้ อนให้ผเู้ รยี นเปดิ PowerPoint บทที่ 4 เร่ือง 1. ผูเ้ รยี นเปิด PowerPoint บทท่ี 4 เร่ือง จานวน

จานวนเชิงซ้อนและให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร เชิงซ้อนและผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน

ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย

ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถาม ตนเอง และสามารถตอบข้อสงสยั ระหวา่ งเรยี นได้

ข้อสงสัยระหว่างเรียนจากผู้สอน 2. ผู้เรียนอธิบายจานวนเชิงซ้อนได้ศึกษาจาก

2. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนอธบิ ายแหลง่ จานวนเชงิ ซ้อน PowerPoint

ไดศ้ ึกษาจาก PowerPoint 3. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหัดบทท่ี 4

3. ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนทาแบบฝึกหัดบทที่ 4 4. ผ้เู รยี นสบื ค้นขอ้ มูลจากอินเทอรเ์ นต็

4. ผ้สู อนใหผ้ ้เู รยี นสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต

ขัน้ สรปุ (จานวน 45 นาที) ข้ันสรปุ (จานวน 45 นาท)ี

1. ผสู้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกันสรุปเน้ือหาทไี่ ด้เรียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียนให้มีความ

ความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั เข้าใจในทศิ ทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย

PowerPoint ทีจ่ ดั ทาขึ้น PowerPoint ทีจ่ ดั ทาขนึ้

79

6. ส่อื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

6.1 ส่อื สง่ิ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
2. แบบฝกึ หัดท่ี 4

6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เคร่อื งไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เรอื่ ง จานวนเชงิ ซ้อน

6.3 สือ่ ของจริง
1. จานวนเชิงซ้อน

7. แหล่งการเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมดุ วิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ
2. หอ้ งอินเตอรเ์ นต็ วิทยาลยั การอาชพี สวา่ งแดนดิน

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. ห้องสมดุ เฉลมิ พระเกียรติอาเภอสว่างแดนดิน
2. ห้องสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกุมารีอาเภอสวา่ งแดนดิน

8. งานทีม่ อบหมาย

8.1 ก่อนเรียน
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

8.2 ขณะเรยี น
1. ศึกษาเน้ือหา ในบทที่ 4 เรือ่ ง จานวนเชงิ ซ้อน
2. รายงานผลหนา้ ช้นั เรียน
3. ปฏบิ ัติใบปฏิบตั งิ านท่ี 4 เรอ่ื ง จานวนเชิงซ้อน
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝกึ หัดบทที่ 4

9. ผลงาน/ช้นิ งาน ท่ีเกดิ จากการเรยี นรู้ของผู้เรียน

1. แบบฝกึ หัดบทที่ 4 ใบปฏิบัตงิ านที่ 4
2. ตรวจผลงาน

80

10. เอกสารอา้ งอิง

1. พนั ธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ.์ วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั . : ศูนยส์ ่งเสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธก์ ับรายวิชาอน่ื

1. บรู ณาการกบั วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บูรณาการกับวชิ าไฟฟา้ อิเล็กทรอนิกส์
3. บูรณาการกับวชิ าไฟฟ้าเบ้ืองต้น

12. หลกั การประเมินผลการเรียน

12.1 กอ่ นเรียน
1. ความรูเ้ บอ้ื งต้นก่อนการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สงั เกตการทางาน

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยที่ 4
2. ตรวจใบงานที่ 4

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น

จดุ ประสงคข์ อ้ ที่ 1 อธบิ ายลกั ษณะเลขจานวนจริงได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายลกั ษณะเลขจานวนจริงได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธิบายลักษณะเลขจานวนจริงได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 2 บอกลกั ษณะเลขจานวนจินตภาพได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถบอกลักษณะเลขจานวนจนิ ตภาพได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บอกลกั ษณะเลขจานวนจินตภาพได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ท่ี 3 อธบิ ายลักษณะเลขจานวนเชิงซอ้ นได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถอธบิ ายลักษณะเลขจานวนเชงิ ซอ้ นได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายลกั ษณะเลขจานวนเชิงซ้อนได้ จะได้ 1 คะแนน

81

จุดประสงค์ขอ้ ที่ 4 แยกแยะแต่ละรูปแบบจานวนเชิงซอ้ นได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถแยกแยะแตล่ ะรปู แบบจานวนเชงิ ซอ้ นได้
4. เกณฑ์การผ่าน : แยกแยะแต่ละรูปแบบจานวนเชงิ ซ้อนได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ท่ี 5 บวกและลบจานวนเชิงซอ้ นได้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบวกและลบจานวนเชิงซ้อนได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บวกและลบจานวนเชงิ ซ้อนได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ อ้ ท่ี 6 คณู จานวนเชงิ ซ้อนได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถคณู จานวนเชิงซ้อนได้
4. เกณฑ์การผา่ น : คณู จานวนเชงิ ซอ้ นได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 7 หารจานวนเชิงซอ้ นได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถหารจานวนเชิงซอ้ นได้
4. เกณฑ์การผ่าน : หารจานวนเชิงซอ้ นได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 8 ชีแ้ จงการใชง้ านจานวนเชิงซ้อนในวงจรไฟฟ้า กระแสสลบั ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถชแ้ี จงการใชง้ านจานวนเชงิ ซอ้ นในวงจรไฟฟ้า กระแสสลบั ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : ชแี้ จงการใช้งานจานวนเชงิ ซ้อนในวงจรไฟฟ้า กระแสสลับได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 9 สรปุ จานวนเชงิ ซ้อน ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถสรุป จานวนเชิงซอ้ น ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. เกณฑ์การผ่าน : สรปุ จานวนเชิงซ้อน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน

82

14. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

หน่วยการสอนท่ี 4 ช่ือหนว่ ยการสอน จานวนเชงิ ซอ้ น
วตั ถุประสงค์ เพ่อื ประเมินความร้พู ้นื ฐานเกีย่ วกับจานวนเชิงซอ้ น
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในข้อที่ถกู ตอ้ งที่สดุ

83
ตอนท2่ี อธบิ ายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหส้ มบรู ณ์ถกู ต้อง

84

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ขอ้ 1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ก. ง. ข. ค. ก. ค. ข. ง. ข. ก.

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หนว่ ยการสอนที่ 4 ชอื่ หนว่ ยการสอน จานวนเชงิ ซ้อน
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อ ประเมินความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกับจานวนเชิงซอ้ น
ข้อคาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถ่ี กู ต้องที่สุด

85
ตอนท2่ี อธบิ ายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหส้ มบรู ณ์ถกู ต้อง

86

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ข. ก. ค. ‘. ค. ข. ก. ง. ก. ค.

16. ใบความรทู้ ่ี 4

หน่วยการสอนที่ 4 ชื่อหนว่ ยการสอน จานวนเชงิ ซอ้ น
หัวข้อเรอื่ ง จานวนเชงิ ซ้อน

4.1 เลขจานวนจริง
เลขจานวนจริง (Real Number) คือ ตัวเลข หรือจานวนเลขที่มีค่าจริง สามารถทราบค่าเลขเหล่านัน้

ได้ว่า มจี านวนมากหรอื น้อยเพยี งไร ค่าเลขจานวนจรงิ อาจเปน็ เลขจานวนเต็ม เลขทศนยิ ม หรอื เลขเศษสว่ น มี
ค่าเป็นบวกหรือลบก็ได้ เลขจานวนจรงิ แบง่ ออกได้เป็น 2 ชนิด คือจานวนเลขลงตวั (Rational Number) และ
จานวนเลขไมล่ งตัว (Irrational Number)

4.1.1 จานวนเลขลงตวั
จานวนเลขลงตัว หรือจานวนตรรกยะ คือ เลขที่แสดงค่าจริงและแน่นอนถูกต้องจานวนเลขที่แสดง
อาจเปน็ จานวนเต็ม เศษส่วน หรอื ทศนิยม ทีมีคา่ สนิ้ สดุ ถอดรากทสี่ องมคี า่ สิน้ สุด เช่น 0, 2, 5, -4, -8, 11/2, -
21/5, 0.35, -0.642, 9 เป็นตน้
4.1.2 จานวนเลขไมล่ งตัว
จานวนเลขไม่ลงตัว หรือจานวนอตรรกยะ คือ เลขที่แสดงค่าจริงโดยประมาณไม่สามารถหาค่าท่ี
ถกู ตอ้ งแน่นอนจรงิ ๆ ได้ แสดงค่าในรูปเลขทศนยิ มไม่รูจ้ บ
เลขจานวนจริงทั้งหมด ไม่ว่าเป็นเลขลงตัวหรือเลขไม่ลงตัวก็ตาม ถือว่าเป็นเลขจานวนจริงทั้งหมด
ต่างกันเพียงค่าเลขจานวนจริงมีจุดส้ินสุดหรือไม่สิ้นสุดเท่านั้น ถ้ามีจุดส้ินสุดถือเป็นค่าจริงที่ถูกต้อง ถ้าไม่มี
จุดสิ้นสุดถือเป็นค่าจริงโดยประมาณ ค่าทั้งหมดสามารถกาหนดลงบนเส้นตรงจานวนจริง (Real Number
Line) ได้ ลกั ษณะเส้นตรงจานวนจริง

4.2 เลขจานวนจนิ ตภาพ
เลขจานวนจินตภาพ (Imaginary Number) คือ เลขท่ีไม่ใช่เลขจานวนจริง เลขเหล่าน้ีเกิดจากการ

ถอดรากท่สี องของเลขจานวนจริงค่าติดลบ ซ่ึงความจรงิ เลขเหลา่ น้หี าค่าไม่ได้ ทาให้นักคณติ ศาสตร์กาหนดเลข
ค่าดังกล่าวใหม่ เรียกว่าเลขจานวนจินตภาพ เช่น√−1 ,√−2 , √−3, √−25 และ √−80 เป็น
ตน้

87

4.3 เลขจานวนเชิงซอ้ น
เลขจานวนเชิงซ้อน (Complex Number) คือ จานวนเลขที่ประกอบด้วยเลขจานวนจริงรวมกับเลข

จานวนจินตภาพ เขยี นไว้ในรปู สมการ ไดด้ ังน้ี

เลขจานวนจินตภาพปกติถูกเขียนลงในกราฟแกนจินตภาพ (Imaginary Axis) หรือแกนแนวต้ัง (y)
และเลขจานวนจริงปกตถิ ูกเขยี นลงในกราฟแกนจริง (Real Axis) หรอื แกนแนวนอน (x) ใชเ้ ปน็ กราฟในการหา
ค่าสมการของจานวนเชิงซ้อน บนพน้ื ราบเชงิ ซอ้ น (Complex Plane)

4.4 รูปแบบจานวนเชงิ ซ้อน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับทางานด้วยคลื่นไซน์ เม่ือนาคลื่นไซน์ผ่านเข้าวงจรท่ีประกอบด้วยตัวต้านทาน

(R) ตัวเหนี่ยวนา (L) และตัวเก็บประจุ (L) ทาให้คล่ืนไซน์มีมุมเฟสที่เปล่ียนแปลงไป การเขียนค่าสมการ
แสดงผลทไี่ ด้ในรปู จานวนเชงิ ซอ้ น จะง่ายในการทาความเข้าใจ เพราะเลขจานวนเชิงซ้อนแสดงค่าทงั้ ขนาดและ
ทิศทางของปริมาณเวกเตอร์ สามารถใช้ในการคานวณหาค่าได้ง่าย ท้ังการบวก ลบ คูณ หาร และถอดรากท่ี
สอง รูปแบบของจานวนเชิงซ้อนมีด้วยกัน4 รูปแบบ คือ รูปแบบแกนมุมฉาก (Rectangular Form) รูปแบบ
เชิงข้ัว (Polar Form) รูปแบบตรีโกณมิติ ( Trigonometric Form) และรูปแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล
(Exponential Form) แต่ละรูปแบบมีความแตกต่างกัน แต่สามารถแปลงรูปแบบจานวนเชิงซ้อน กลับไป
กลบั มาได้

4.4.1 จานวนเชงิ ซ้อนรปู แบบแกนมุมฉาก
จานวนเชิงซ้อนรปู แบบแกนมุมฉาก แสดงปรมิ าณเวกเตอร์ด้วยด้านกว้างและด้านยาวของสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก ด้านหน่งึ เป็นจานวนจรงิ อกี ด้านหน่ึงเปน็ จานวนจินตภาพ เขยี นสมการออกมาไดด้ ังน้ี

88

4.4.2 จานวนเชิงซ้อนรปู แบบเชงิ ขั้ว
จานวนเชงิ ซ้อนรปู แบบเชิงขวั้ เปน็ การแสดงปริมาณเวกเตอร์ดว้ ยขนาด และทิศทางทีช่ ัดเจน สามารถ
อ่านค่าออกมาได้โดยตรงจากค่าท่ีแสดงไว้ เป็นรูปแบบที่นิยมใช้บอกค่าต่างๆ ในการคานวณทางไฟฟ้า เขียน
สมการออกมาไดด้ งั น้ี

4.4.3 จานวนเชิงซ้อนรูปแบบตรีโกณมิติ
จานวนเชิงซ้อนรูปแบบตรีโกณมิติ เป็นการแสดงปริมาณเวกเตอร์ท่ีประกอบด้วยค่าไซน์และโคไซน์
ของตรโี กณมติ ิรวมอยู่ เปน็ การรวมกันระหว่างรูปแบบแกนมุมฉากกับรูปแบบเชิงขัว้ เขยี นสมการออกมาได้ดงั น้ี

89

4.4.4 จานวนเชิงซ้อนรปู แบบเอก็ ซโ์ พเนนเชียล
จานวนเชิงซ้อนรูปแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล เป็นการแสดงปริมาณเวกเตอร์ในแบบยกกาลัง เขียนอยู่ใน
รูปเอ็กซ์โพเนนเชียล ยกกาลังด้วยมุมเฟสในหน่วยเรเดียน สัมพันธ์เก่ียวข้องกับรูปแบบตรีโกณมิติ แตกต่าง
เฉพาะรูปแบบทเ่ี ขยี น และมมุ เฟสทบ่ี อกคา่ เปน็ เรเดียน ไมบ่ อกค่าเป็นองศา เขยี นสมการออกมาได้ดงั นี้

4.5 การบวกและลบจานวนเชงิ ซ้อน
การบวกและลบจานวนเชิงซ้อน คือการรวมกันหรือหักล้างกันของเลขจานวนเชิงซ้อน 2 จานวน การ

บวกและลบจานวนเชิงซอ้ น ทาได้ในรูปแบบแกนมุมฉากเพียงรูปแบบเดียวการบวกหรอื ลบจานวนเชิงซ้อน ทา
ได้โดยการนาส่วนท่ีเป็นจานวนจริงบวกหรือลบกันและนาส่วนจานวนจินตภาพบวกหรือลบกัน เช่น Z1 = x1
+ jy1 และ Z2 = x2 - jy2

4.6 การคูณจานวนเชงิ ซ้อน
การคูณจานวนเชิงซ้อน 2 จานวน เข้าด้วยกัน สามารถคูณกันได้ 3 รูปแบบ คือ รูปแบบแกนมุมฉาก

รปู แบบเชิงขั้ว และรปู แบบเอ็กซโ์ พเนนเชยี ล รปู แบบท่ีจะคณู กนั ต้องเป็นรูปแบบเดยี วกันท้ัง 2 จานวน

4.7 การหารจานวนเชงิ ซ้อน
การหารจานวนเชิงซ้อน 2 จานวน เข้าด้วยกัน สามารถหารกันได้ 3 รูปแบบ เช่นเดียวกับการคูณกัน

คือ รูปแบบแกนมุมฉาก รูปแบบเชิงข้ัว และรูปแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล รูปแบบที่จะหารกันต้องเป็นรูปแบบ
เดียวกนั ทงั้ 2 จานวน

4.8 การใชง้ านจานวนเชงิ ซอ้ นในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
วงจรไฟฟา้ กระแสสลับที่อยู่ในรูปฟงั กช์ ันไซน์ เวลานามาคานวณค่าจะเกิดความยุ่งยากซับซ้อน เพราะ

สัญญาณไซน์เป็นปริมาณไฟฟ้าที่ทางานสัมพันธ์กับเวลา การแก้ไขความยุ่งยากซับซ้อนนี้ทาได้โดยเขียน
สัญญาณไซน์ให้อยู่ในรูปเฟสเซอร์ และรวมค่าเข้าด้วยกันโดยใช้จานวนเชิงซ้อนมาใช้งานในการบวก ลบ คูณ
หาร ไดเ้ ลย

90

4.9 บทสรปุ
เลขจานวนจริง เป็นตัวเลข หรือจานวนเลขที่มีค่าจริง สามารถทราบค่าเลขเหล่าน้ันได้อาจเป็นเลข

จานวนเต็ม เลขทศนิยม หรือเลขเศษส่วน มีคา่ เป็นบวกหรือลบก็ได้ เลขจานวนจรงิ แบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
จานวนเลขลงตัว หรือจานวนตรรกยะ เป็นเลขท่ีแสดงค่าจริงแน่นอนมีค่าสิ้นสุด และจานวนเลขไม่ลงตัว หรือ
จานวนอตรรกยะ เปน็ เลขท่ีแสดงคา่ จรงิ โดยประมาณแสดงคา่ ในรปู เลขทศนิยมไมร่ ูจ้ บ

91

92

93

94

95

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ชือ่ กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………หอ้ ง............................

รายช่ือสมาชกิ

1……………………………………เลขท…่ี …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขท…ี่ …. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1

1 เนอ้ื หาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เกี่ยวกบั เนอื้ หา ความถูกต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เนื้อหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถกู ต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แตต่ รงตามจุดประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกตอ้ ง ไม่ตรงตามจดุ ประสงค์

2. รปู แบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มีรปู แบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอท่นี ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ

ประหยัด

2 คะแนน = มเี ทคนิคการนาเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ

แตข่ าดการประยุกต์ใช้ วัสดใุ นทอ้ งถน่ิ

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ

3. การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ

3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกิจกรรมกลุม่

2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญม่ ีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นร่วมกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

2 คะแนน = ผฟู้ งั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมอื

1 คะแนน = ผูฟ้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

96

แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่

ชอ่ื กลมุ่ ……………………………………………ชน้ั ………………………หอ้ ง............................

รายชอ่ื สมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท…่ี ….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ที่ รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเปา้ หมายร่วมกนั
2 การแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรียมความ

พรอ้ ม
3 การปฏิบัติหนา้ ทที่ ่ีได้รบั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมสี ่วนร่วมในการกาหนดเปา้ หมายการทางานอยา่ งชัดเจน
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ ีสว่ นร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานได้ทั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจดั เตรียม
สถานที่ สอ่ื /อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ ่ัวถึง แต่ไมต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพรอ้ มเพรียง
แตข่ าดการจดั เตรยี มสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ท่ัวถงึ และมีสื่อ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏิบัตหิ น้าที่ท่ไี ด้รบั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานได้สาเร็จตามเปา้ หมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเปา้ หมาย แต่ชา้ กว่าเวลาท่กี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเป้าหมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นร่วมปรกึ ษาหารอื แต่ไม่ปรบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางสว่ นมีส่วนรว่ มไมม่ ีส่วนรว่ มปรึกษาหารือ และปรบั ปรุงงาน

97

19. แบบฝกึ หัด

แบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยที่ 4
จานวนเชิงซ้อน

คาสงั่ อธิบายให้ไดใ้ จความสมบูรณ์และแสดงวธิ ที าใหถ้ ูกตอ้ งสมบรู ณ์

98

20. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรแู้ บบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

20.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดบั การปฏบิ ัติ
54321

ดา้ นการเตรยี มการสอน

1.จัดหน่วยการเรียนรูไ้ ดส้ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

2. กาหนดเกณฑ์การประเมินครอบคลุมทงั้ ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจติ พสิ ยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจดั การเรียนรกู้ ่อนเขา้

สอน

ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

4. มวี ธิ กี ารนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นที่น่าสนใจ

5. มกี จิ กรรมท่หี ลากหลาย เพ่ือช่วยให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นค้นคว้าเพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง

7. นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

8. จัดกิจกรรมทเ่ี นน้ กระบวนการคิด ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตุน้ ให้ผเู้ รยี นแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่เี ชอ่ื มโยงกบั ชวี ติ จรงิ โดยนาภมู ิปญั ญา/บรู ณาการเข้ามา

มสี ว่ นรว่ ม

11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม

12. มกี ารเสริมแรงเมือ่ นักเรียนปฏบิ ตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รยี น อยา่ งทวั่ ถึง

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทีก่ าหนด

ดา้ นสอ่ื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้

16. ใชส้ อ่ื ทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผูเ้ รียน

17. ใช้สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้อย่างหลากหลาย เช่น บุคคล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นต้น

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รยี น

14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อย่างทัว่ ถึง

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกบั เวลาทกี่ าหนด

ด้านการวัดและประเมินผล

18. ผเู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมินผล

19. ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพสิ ยั

20. ครู ผูเ้ รยี น ผ้ปู กครอง หรือ ผทู้ ีเ่ กีย่ วข้องมสี ว่ นร่วม ในการประเมนิ

หมายเหตุ ระดับการปฏบิ ัติ 5 = ปฏบิ ัติดีเยย่ี ม 4 = ปฏิบตั ดิ ี 3 = รวม

ปฏบิ ตั พิ อใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มีการปฏบิ ตั ิ เฉลี่ย

99

20.2 ปญั หาท่ีพบ และแนวทางแก้ปญั หา

ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ปัญหา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการวดั ประเมนิ ผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นอน่ื ๆ (โปรดระบุเป็นขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ิต โมเ้ ปาะ)
ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน

............../.................................../....................

100 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม

วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

101

แผนการจดั การเรียนรู้ แบบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชพี

และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รหัสวิชา 20105-2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

หนว่ ยที่ 5 ชื่อหน่วย RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

ชอ่ื เร่อื ง RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั จานวน 4 ชัว่ โมง

1. สาระสาคัญ
ตัวต้านทาน (Resistor) ถือเป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีนาไปใช้งานในวงจรต่าง ๆ มากที่สุดรวมถึงใน

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าความต้านทาน (Resistance)ภายในตัวแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับการกาหนดค่าจากการผลิต คุณสมบัติในการทางานกับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยทาหน้าที่เปล่ียนพลัง
ไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน ทางานกับแรงดันไฟสลับและกระแสไฟสลับของสัญญาณคล่ืนไซน์ จ่ายค่าเป็น
RMS คุณสมบัติของแรงดันไฟสลับ E และกระแสไฟสลับ I เกิดขึ้นบนตัวต้านทาน R มีเฟสร่วมกัน วงจรและ
สญั ญาณ

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย
ดา้ นความรู้
1. บอกคุณลักษณะตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
1. เขยี นสมการตวั เหนยี่ วนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
2. คานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของตัวเกบ็ ประจใุ นวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. สรุป RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป

1. เพ่ือใหม้ ีความรู้เก่ียวกับการบอกคณุ ลกั ษณะตวั ตา้ นทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2. เพอื่ ให้มีทักษะในการเขียนสมการตวั เหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
3. เพื่อให้มีเจตคติทีด่ ใี นการคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตวั เก็บประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
4. เพ่ือสรุป RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม


Click to View FlipBook Version