The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichit, 2021-04-02 01:11:05

AC

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

102

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกคุณลกั ษณะตัวต้านทานในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับได้
2. เขยี นสมการตัวเหน่ยี วนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
3. คานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับได้
4. สรุป RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

4. เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. ตวั ตา้ นทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
2. ตวั เหน่ียวนาในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
3. ตัวเกบ็ ประจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
4. บทสรปุ

4.2 ดา้ นทักษะหรือปฏิบัติ
1. การทดลองท่ี 5 RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. แบบทดสอบบทท่ี 5

4.3 ด้านคณุ ธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ใชเ้ ครอ่ื งมือในการทดสอบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

103

5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ข้นั ตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของผู้เรียน

ขน้ั เตรยี ม(จานวน 15 นาที) ขน้ั เตรียม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง RLC ใน รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง
วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทท่ี 5 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ
ขอใหผ้ ู้เรียนรว่ มกันทากจิ กรรมการเรียนการสอน เรียนบทที่ 5 และการให้ความร่วมมือในการทา

กจิ กรรม

ขั้นการสอน(จานวน 180 นาท)ี ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาท)ี

1. ผู้สอนให้ผเู้ รียนเปดิ PowerPoint บทที่ 5 เรอ่ื ง 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 5 เร่ือง RLC

RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับและให้ผู้เรียนศึกษา ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับและผู้เรียนศึกษาเอกสาร

เอกสารประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้า ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

กระแสสลับ โดยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถตอบข้อสงสยั

สามารถสอบถามขอ้ สงสยั ระหว่างเรียนจากผ้สู อน ระหว่างเรยี นได้

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย RLC ในวงจรไฟฟ้า 2. ผู้เรียนอธิบาย RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้

กระแสสลบั ได้ศกึ ษาจาก PowerPoint ศึกษาจาก PowerPoint

3. ผู้สอนใหผ้ ้เู รียนทาแบบฝกึ หัดบทท่ี 5 3. ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หดั บทท่ี 5

4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นสืบค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็ 4. ผ้เู รียนสบื คน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต

ขั้นสรุป(จานวน 45 นาที) ขนั้ สรปุ (จานวน 45 นาที)

1. ผ้สู อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปเน้ือหาท่ไี ดเ้ รยี นให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความ

ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย

PowerPoint ทจี่ ดั ทาขึน้ PowerPoint ท่ีจดั ทาขึน้

104

6. สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้

6.1 สอื่ สงิ่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
2. แบบฝกึ หดั ท่ี 5

6.2 ส่อื โสตทัศน์
1. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์
2. PowerPoint เรือ่ ง RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

6.3 ส่ือของจรงิ
1. RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน
2. ห้องอนิ เตอรเ์ น็ตวทิ ยาลัยการอาชพี สวา่ งแดนดนิ

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดเฉลมิ พระเกยี รติอาเภอสวา่ งแดนดิน
2. หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกุมารอี าเภอสว่างแดนดิน

8. งานท่มี อบหมาย

8.1 ก่อนเรยี น
1. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน

8.2 ขณะเรยี น
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทที่ 5 เร่ือง RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
2. รายงานผลหนา้ ชนั้ เรยี น
3. ปฏิบัตใิ บปฏบิ ัตงิ านท่ี 5 เรอื่ ง RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรยี น
1. ทาแบบฝึกหัดบทที่ 5

9. ผลงาน/ช้นิ งาน ทีเ่ กดิ จากการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น

1. แบบฝึกหัดบทท่ี 5 ใบปฏิบัตงิ านท่ี 5
2. ตรวจผลงาน

105

10. เอกสารอา้ งองิ

1. พันธศ์ ักด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ์. วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั . : ศูนยส์ ่งเสริมอาชวี ะ (ศสอ)

11. การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กับรายวชิ าอน่ื

1. บรู ณาการกับวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บูรณาการกบั วิชาไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์
3. บูรณาการกับวิชาไฟฟา้ เบ้ืองตน้

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรยี น
1. ความรูเ้ บื้องต้นก่อนการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สงั เกตการทางาน

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5
2. ตรวจใบงานที่ 5

13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี น

จุดประสงค์ขอ้ ที่ 1 บอกคุณลกั ษณะตวั ตา้ นทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถบอกคุณลักษณะตัวตา้ นทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บอกคุณลักษณะตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 2 เขียนสมการตัวเหน่ยี วนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถเขยี นสมการตวั เหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : เขียนสมการตวั เหน่ยี วนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที่ 3 คานวณหาค่าต่าง ๆ ของตัวเกบ็ ประจุในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเกบ็ ประจใุ นวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : คานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตวั เก็บประจใุ นวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ จะได้ 2 คะแนน

106

จดุ ประสงค์ขอ้ ที่ 4 สรุป RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครือ่ งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถสรุป RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. เกณฑ์การผ่าน : สรุป RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะได้ 4 คะแนน

14. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หนว่ ยการสอนที่ 5 ช่ือหนว่ ยการสอน RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
วตั ถุประสงค์ เพือ่ ประเมนิ ความรพู้ ื้นฐานเกยี่ วกบั RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขยี นเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ท่ถี กู ต้องที่สดุ

107
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

108

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ข้อ1 ข้อ2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
ง. ค. ก. ข. ข. ง. ก. ค. ข. ก.

15. แบบทดสอบหลงั เรียน

หนว่ ยการสอนท่ี 5 ชือ่ หน่วยการสอน RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ประเมินความร้พู น้ื ฐานเกยี่ วกับ RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
ขอ้ คาถาม
ตอนท่ี 1 เขยี นเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ดุ

109
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

110

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

ขอ้ 1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10
ง. ค. ก. ข. ข. ง. ก. ค. ข. ก.

16. ใบความรทู้ ่ี 5

หน่วยการสอนที่ 5 ช่อื หนว่ ยการสอน RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
หวั ข้อเร่อื ง RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั

5.1 ตวั ต้านทานในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
ตัวต้านทาน (Resistor) ถือเป็นอุปกรณ์พื้นฐานท่ีนาไปใช้งานในวงจรต่าง ๆ มากท่ีสุดรวมถึงใน

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าความต้านทาน (Resistance)ภายในตัวแตกต่างกันไป
ข้ึนอยู่กับการกาหนดค่าจากการผลิต คุณสมบัติในการทางานกับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยทาหน้าที่เปลี่ยนพลัง
ไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน ทางานกับแรงดันไฟสลับและกระแสไฟสลับของสัญญาณคล่ืนไซน์ จ่ายค่าเป็น
RMS คุณสมบัติของแรงดันไฟสลับ E และกระแสไฟสลับ I เกิดข้ึนบนตัวต้านทาน R มีเฟสร่วมกัน วงจรและ
สญั ญาณ

5.2 ตัวเหนีย่ วนาในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
ตัวเหนี่ยวนา (Inductor) คือ ขดลวด (Coil) หรือโช้ค (Choke) เป็นอุปกรณ์ที่นิยมนาไปใช้งานกับ

สัญญาณไฟสลับ นาตัวเหนี่ยวนาต่อในวงจรไฟฟ้าจะทาหน้าท่ีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไปเป็นสนามแม่เหล็ก เมื่อ
นาตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียวต่อในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คุณสมบัตขิ องแรงดนั ไฟสลบั E เกิดขน้ึ บนตวั เหนี่ยวนา
L มเี ฟสนาหน้ากระแสไฟสลบั I เปน็ มุม 90o วงจรและสัญญาณ

5.3 ตัวเกบ็ ประจุในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
ตัวเก็บประจุ (Capacitor) เป็นอุปกรณ์อีกชนิดหน่ึงที่นิยมนาไปใช้งานกับสัญญาณไฟสลับนาตัวเก็บ

ประจุตอ่ ในวงจรไฟฟ้าจะทาหนา้ ทส่ี ะสมพลังงานไฟฟา้ ไว้ในรูปสนามไฟฟ้า เมื่อนาตวั เก็บประจอุ ยา่ งเดียวต่อใน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั คณุ สมบตั ิของแรงดันไฟสลบั E เกดิ ขน้ึ บนตัวเก็บประจุ C มีเฟสล้าหลงั กระแสไฟสลับ I
เป็นมมุ 90o

5.4 บทสรปุ
คุณสมบัตขิ องแรงดนั ไฟสลับ E และกระแสไฟสลบั I เกดิ ข้นึ บนตัวตา้ นทาน R มีเฟสร่วมกัน คณุ สมบัติ

ตวั ตา้ นทานต่อวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั เป็นดงั นี้
1. กระแสและแรงดนั มีเฟสร่วมกัน q = 0
2. คา่ อมิ พแี ดนซ์ของตัวต้านทานจะมคี า่ เทา่ กับความต้านทาน ZR = R
3. กาลังไฟฟา้ เกดิ ขน้ึ เป็นกาลงั ไฟฟ้าใช้งาน PR = EI = I2R =R
4. แฟกเตอรก์ าลังเปน็ 1 pf = cos 0o = 1

111

คุณสมบัติของแรงดันไฟสลับ E เกิดขึ้นบนตัวเหนี่ยวนา L มีเฟสนาหน้ากระแสไฟสลับ Iเป็นมุม 90o
คณุ สมบัติตัวเหนีย่ วนาต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเป็นดงั น้ี

1. แรงดนั มีเฟสนาหน้ากระแส 90o หรอื p / 2 rad เสมอ
2. ค่าอิมพแี ดนซข์ องตวั เหน่ยี วนามีคา่ เท่ากับรแี อกแตนซต์ ัวเหนย่ี วนา ZL = jXL
3. ค่าแอดมิตแตนซ์ของตวั เหนีย่ วนา (YL) มคี า่ เทา่ กบั คา่ ซัสเซปแตนซ์ตวั เหนี่ยวนา
(BL) YL = ZL
1 = -jBL
4. ไม่เกดิ กาลังไฟฟ้าใชง้ านในวงจร PL = 0
5. แฟกเตอร์กาลงั เปน็ 0 pf = cos 90o = 0
คุณสมบัติของแรงดันไฟสลับ E เกิดข้ึนบนตัวเก็บประจุ C มีเฟสล้าหลังกระแสไฟสลับ Iเป็นมุม 90o
คณุ สมบตั ิตัวเก็บประจตุ ่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเปน็ ดงั นี้
1. กระแสมเี ฟสนาหนา้ แรงดัน 90o หรอื p / 2 rad เสมอ
2. ค่าอิมพแี ดนซข์ องตัวเกบ็ ประจมุ ีค่าเท่ากบั รีแอกแตนซต์ ัวเก็บประจุ ZC = -jXC
3. ค่าแอดมติ แตนซข์ องตัวเกบ็ ประจุ (YC) จะมีค่าเท่ากับค่าซสั เซปแตนซต์ วั เก็บประจุ(BC)
YC =Z C1 = jBC
4. ไม่เกิดกาลงั ไฟฟ้าใชง้ านในวงจร PL = 0
5. แฟกเตอรก์ าลงั เป็น 0 pf = cos 90o = 0

112

113

114

115

116

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ช่อื กลุ่ม……………………………………………ชัน้ ………………………หอ้ ง............................

รายช่ือสมาชิก

1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1

1 เนอื้ หาสาระครอบคลมุ ชัดเจน (ความรู้เกย่ี วกับเนอื้ หา ความถูกต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า)

2 รูปแบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคัญครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคัญไมค่ รบถ้วน แต่ตรงตามจดุ ประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคญั ไมถ่ ูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์

2. รูปแบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ า่ สนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ

ประหยดั

2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ

แตข่ าดการประยุกต์ใช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิน่

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ

3. การมสี ่วนรว่ มของสมาชิกในกลมุ่

3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกิจกรรมกลุม่

2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ บี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกวา่ รอ้ ยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื

2 คะแนน = ผฟู้ ังรอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

1 คะแนน = ผ้ฟู งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื

117

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ชัน้ ………………………ห้อง............................

รายช่อื สมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ

พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผู้ประเมิน…………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อปุ กรณ์ไมเ่ พียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ชา้ กว่าเวลาทกี่ าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ว่ นร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน

118

19. แบบฝึกหัด

แบบฝึกหัดทา้ ยหน่วยท่ี 5
RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
คาส่งั อธิบายให้ได้ใจความสมบรู ณ์และแสดงวิธีทาให้ถูกต้องสมบูรณ์

119

20. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321

ดา้ นการเตรียมการสอน

1.จัดหนว่ ยการเรยี นรไู้ ด้สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ก่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธกี ารนาเขา้ สบู่ ทเรียนท่ีนา่ สนใจ

5. มีกจิ กรรมท่หี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นคน้ คว้าเพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

8. จัดกจิ กรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความคิดเหน็ อย่างเสรี

10. จดั กิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ ชื่อมโยงกับชีวิตจรงิ โดยนาภมู ปิ ัญญา/บูรณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

12. มกี ารเสริมแรงเมอ่ื นักเรียนปฏิบตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รียน อย่างทว่ั ถงึ

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาท่ีกาหนด

ดา้ นส่ือ นวัตกรรม แหลง่ การเรยี นรู้

16. ใช้สือ่ ทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น

17. ใช้สอ่ื แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ งหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อย่างท่วั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสยั

20. ครู ผูเ้ รยี น ผูป้ กครอง หรือ ผู้ที่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดับการปฏิบัติ 5 = ปฏิบตั ิดีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบัติพอใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไมม่ ีการปฏิบตั ิ เฉล่ีย

120

20.2 ปญั หาท่พี บ และแนวทางแกป้ ญั หา

ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา

ดา้ นการเตรียมการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านสอ่ื นวัตกรรม แหลง่ การเรยี นรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นการวดั ประเมนิ ผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านอ่นื ๆ (โปรดระบุเป็นขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงชอื่ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ิต โมเ้ ปาะ)
ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน

............../.................................../....................

121 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม

วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

122

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบม่งุ เนน้ สมรรถนะอาชีพ

และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั

หนว่ ยท่ี 6 ชื่อหน่วย การต่อวงจร RLC แต่ละแบบ

ช่อื เร่ือง การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ จานวน 6 ชว่ั โมง

1. สาระสาคัญ
ตัวต้านทานหลายตัวต่ออนุกรมกัน และนาไปต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ สามารถใช้หลักการ

คานวณหาปริมาณไฟฟ้าค่าต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกับการคานวณหาค่าปริมาณไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
แตกต่างเพียงปริมาณไฟฟ้าท่ีจ่ายให้วงจร ทั้งแรงดันและกระแสใชค้ ่า RMSในการคานวณค่า วงจรตัวต้านทาน
หลายตัวต่ออนกุ รมกนั

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหนว่ ย
ด้านความรู้
1. อธบิ ายตวั ตา้ นทานต่ออนุกรมได้
2. บอกตวั ต้านทานตอ่ ขนานได้
ด้านทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
1. คานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเหนี่ยวนาตอ่ อนุกรมได้
2. เขยี นวงจรตวั เหน่ยี วนาต่อขนานได้
3. หาคา่ ตวั เก็บประจุต่ออนุกรมได้
4. แสดงวธิ ีคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของตัวเก็บประจุต่อขนานได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. สรุป การตอ่ วงจร RLC แต่ละแบบ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป

1. เพ่อื ใหม้ ีความรู้เกี่ยวกับการอธิบายตวั ต้านทานต่ออนุกรม
2. เพอ่ื ให้มีทักษะในการคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเหนย่ี วนาต่ออนุกรม
3. เพ่ือใหม้ ีเจตคติท่ีดีในการแสดงวิธคี านวณหาค่าต่าง ๆ ของตวั เกบ็ ประจตุ ่อขนาน
4. เพ่อื สรุป การตอ่ วงจร RLC แต่ละแบบ ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

123

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. อธบิ ายตวั ตา้ นทานตอ่ อนุกรมได้
2. บอกตัวต้านทานตอ่ ขนานได้
3. คานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเหนย่ี วนาตอ่ อนกุ รมได้
4. เขียนวงจรตวั เหน่ียวนาตอ่ ขนานได้
5. หาค่าตัวเกบ็ ประจตุ ่ออนกุ รมได้
6. แสดงวิธีคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตวั เก็บประจตุ ่อขนานได้
7. สรปุ การต่อวงจร RLC แต่ละแบบ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

4.1 ด้านความรู้
1. ตัวต้านทานต่ออนกุ รม
2. ตัวต้านทานตอ่ ขนาน
3. ตัวเหน่ยี วนาต่ออนกุ รม
4. ตวั เหนีย่ วนาต่อขนาน
5. ตวั เก็บประจตุ อ่ อนุกรม
6. ตวั เก็บประจตุ อ่ ขนาน
7. บทสรุป

4.2 ด้านทักษะหรือปฏบิ ัติ
1. การทดลองท่ี 6 การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
2. แบบทดสอบบทที่ 6

4.3 ดา้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ใชเ้ ครอ่ื งมือในการทดสอบได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

124

5. กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้

ข้นั ตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขัน้ ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผ้เู รยี น

ขั้นเตรียม(จานวน 15 นาท)ี ขนั้ เตรยี ม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวชิ า 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธกี ารเรียนเรื่อง การต่อวงจร รายวชิ า วธิ กี ารใหค้ ะแนนและวธิ กี ารเรยี นเรอ่ื ง การ
RLC แตล่ ะแบบ
ตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทท่ี 6 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ
ขอให้ผูเ้ รยี นรว่ มกนั ทากจิ กรรมการเรยี นการสอน เรียนบทที่ 6 และการให้ความร่วมมือในการทา

กจิ กรรม

ขั้นการสอน(จานวน 180 นาที) ข้ันการสอน(จานวน 180 นาท)ี

1. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นเปดิ PowerPoint บทที่ 6 เร่อื ง 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทท่ี 6 การต่อวงจร

การต่อวงจร RLC แต่ละแบบและให้ผู้เรียนศึกษา RLC แ ต่ ล ะ แ บ บ แ ล ะ ผู้ เ รี ย น ศึ ก ษ า เ อ ก ส า ร

เอกสารประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้า ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

กระแสสลับ โดยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถตอบข้อสงสัย

สามารถสอบถามขอ้ สงสยั ระหว่างเรยี นจากผสู้ อน ระหว่างเรียนได้

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย การต่อวงจร RLC แต่ละ 2. ผู้เรียนอธิบาย การต่อวงจร RLC แต่ละแบบได้

แบบได้ศึกษาจาก PowerPoint ศกึ ษาจาก PowerPoint

3. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 6 3. ผูเ้ รียนทาแบบฝึกหดั บทท่ี 6

4. ผ้สู อนให้ผู้เรยี นสืบค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอร์เน็ต 4. ผูเ้ รยี นสบื ค้นขอ้ มลู จากอินเทอรเ์ นต็

ขั้นสรุป(จานวน 45 นาที) ข้ันสรุป(จานวน 45 นาท)ี

1. ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรุปเน้ือหาทไี่ ดเ้ รียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความ

ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เข้าใจในทิศทางเดยี วกัน

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย

PowerPoint ท่จี ัดทาขนึ้ PowerPoint ทจ่ี ัดทาขนึ้

125

6. สอื่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

6.1 สื่อสงิ่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
2. แบบฝกึ หดั ที่ 6

6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
2. PowerPoint เร่ือง การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ

6.3 สอ่ื ของจรงิ
1. การต่อวงจร RLC แต่ละแบบ

7. แหลง่ การเรียนการสอน/การเรยี นรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมดุ วทิ ยาลยั การอาชีพสวา่ งแดนดนิ
2. หอ้ งอนิ เตอรเ์ นต็ วิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมุดเฉลมิ พระเกียรติอาเภอสว่างแดนดิน
2. ห้องสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกุมารีอาเภอสว่างแดนดนิ

8. งานท่มี อบหมาย

8.1 กอ่ นเรียน
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

8.2 ขณะเรยี น
1. ศกึ ษาเน้ือหา ในบทท่ี 6 เร่ือง การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
2. รายงานผลหนา้ ชน้ั เรียน
3. ปฏบิ ัติใบปฏบิ ัติงานท่ี 6 เรอื่ ง การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
4. สรุปผลการทดลอง

8.3 หลงั เรียน
1. ทาแบบฝึกหัดบทท่ี 6

9. ผลงาน/ชิน้ งาน ที่เกิดจากการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน

1. แบบฝึกหัดบทท่ี 6 ใบปฏิบัตงิ านท่ี 6
2. ตรวจผลงาน

126

10. เอกสารอา้ งอิง

1. พนั ธ์ศกั ดิ์ พฒุ ิมานติ พงศ.์ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ. : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธก์ ับรายวชิ าอนื่

1. บูรณาการกับวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกบั วิชาไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์
3. บูรณาการกบั วชิ าไฟฟา้ เบื้องต้น

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรียน

12.1 ก่อนเรยี น
1. ความรเู้ บื้องต้นก่อนการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สงั เกตการทางาน

12.3 หลงั เรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6
2. ตรวจใบงานที่ 6

13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น

จุดประสงค์ขอ้ ที่ 1 อธบิ ายตัวต้านทานต่ออนุกรมได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายตัวตา้ นทานตอ่ อนุกรมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธิบายตวั ต้านทานตอ่ อนุกรมได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที่ 2 บอกตัวต้านทานตอ่ ขนานได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถบอกตัวตา้ นทานต่อขนานได้
4. เกณฑ์การผา่ น : บอกตัวต้านทานต่อขนานได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงค์ข้อท่ี 3 คานวณหาคา่ ตา่ ง ๆ ของตวั เหนี่ยวนาต่ออนกุ รมได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเหนี่ยวนาตอ่ อนุกรมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : คานวณหาคา่ ตา่ ง ๆ ของตวั เหน่ียวนาต่ออนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน

127

จดุ ประสงคข์ อ้ ท่ี 4 เขียนวงจรตวั เหนีย่ วนาตอ่ ขนานได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถเขยี นวงจรตวั เหน่ียวนาต่อขนานได้
4. เกณฑ์การผ่าน : เขยี นวงจรตัวเหนีย่ วนาต่อขนานได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงค์ขอ้ ที่ 5 หาค่าตัวเก็บประจุตอ่ อนกุ รมได้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถหาคา่ ตัวเก็บประจุต่ออนุกรมได้
4. เกณฑ์การผ่าน : หาคา่ ตัวเก็บประจตุ ่ออนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 6 แสดงวิธคี านวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเก็บประจุต่อขนานได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถแสดงวธิ ีคานวณหาค่าต่าง ๆ ของตัวเก็บประจตุ ่อขนานได้
4. เกณฑ์การผ่าน : แสดงวธิ ีคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของตวั เก็บประจตุ ่อขนานได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 7 สรุป การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถสรุป การต่อวงจร RLC แต่ละแบบ ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
4. เกณฑ์การผา่ น : สรปุ การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน

14. แบบทดสอบก่อนเรยี น

หน่วยการสอนที่ 6 ชอื่ หนว่ ยการสอน การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
วตั ถุประสงค์ เพื่อ ประเมินความรพู้ นื้ ฐานเกยี่ วกับการตอ่ วงจร RLC แต่ละแบบ
ข้อคาถาม
ตอนที่ 1 เขยี นเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในข้อทถี่ ูกต้องท่ีสดุ

128

129
ตอนท่2ี อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10
ง. ก. ข. ค. ค. ข. ก. ง. ก. ข.

130

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการสอนที่ 6 ชอื่ หนว่ ยการสอน การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
วัตถปุ ระสงค์ เพื่อ ประเมินความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกับการตอ่ วงจร RLC แต่ละแบบ
ขอ้ คาถาม
ตอนท่ี 1 เขยี นเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทีถ่ ูกต้องที่สดุ

131
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

132

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

ข้อ1 ขอ้ 2 ขอ้ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ง. ก. ข. ค. ค. ข. ก. ง. ก. ข.

16. ใบความร้ทู ่ี 6

หน่วยการสอนที่ 6 ชือ่ หน่วยการสอน การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ
หวั ข้อเร่ือง การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ

6.1 ตัวต้านทานตอ่ อนกุ รม
ตัวต้านทานหลายตัวต่ออนุกรมกัน และนาไปต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ สามารถใช้หลักการ

คานวณหาปริมาณไฟฟ้าค่าต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกับการคานวณหาค่าปริมาณไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
แตกต่างเพียงปริมาณไฟฟ้าท่ีจ่ายใหว้ งจร ทั้งแรงดันและกระแสใชค้ ่า RMSในการคานวณค่า วงจรตัวต้านทาน
หลายตัวตอ่ อนกุ รมกัน

6.2 ตวั ตา้ นทานตอ่ ขนาน
ตัวต้านทานหลายตัวต่อขนานกันในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ สามารถใช้หลักการคานวณหาปริมาณ

ไฟฟา้ ค่าต่าง ๆ ได้เช่นเดียวกับการคานวณหาค่าปรมิ าณไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงท้ังค่าแรงดนั คา่ กระแส
และค่ากาลังไฟฟ้า วงจรตัวตา้ นทานหลายตัวตอ่ ขนานกัน

6.3 ตัวเหนย่ี วนาตอ่ อนุกรม
ตัวเหนี่ยวนาหลายตัวต่ออนุกรมกัน เม่ือนาไปต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้คุณสมบัติหลาย

อย่างเปล่ียนแปลงไป และยังเปลี่ยนแปลงไปตามค่าความถ่ีที่ป้อนให้วงจรด้วยวงจรตัวเหนี่ยวนาหลายตัวต่อ
อนกุ รมกัน

6.4 ตวั เหน่ียวนาต่อขนาน
ตัวเหน่ียวนาหลายตัวต่อขนานกัน เมื่อนาไปต่อเขา้ กบั วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้กระแสไหลผ่านตัว

เหนี่ยวนาแต่ละตัวเปล่ียนแปลงไป และยังเปล่ียนแปลงไปตามค่าความถี่ท่ีป้อนให้วงจรด้วย วงจรตัวเหน่ียวนา
หลายตัวตอ่ ขนานกนั

133

6.5 ตัวเก็บประจตุ ่ออนุกรม
ตัวเก็บประจุหลายตัวต่ออนุกรมกัน เมื่อนาไปต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้คุณสมบัติหลาย

อย่างเปลี่ยนแปลงไป และยังเปลี่ยนแปลงไปตามค่าความถ่ีที่ป้อนให้วงจรด้วยวงจรตัวเก็บประจุหลายตัวต่อ
อนกุ รมกัน

6.6 ตวั เกบ็ ประจตุ อ่ ขนาน
ตัวเก็บประจุหลายตวั ต่อขนานกัน เมื่อต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ทาให้คุณสมบัติในวงจรหลาย

อย่างเปลี่ยนแปลงไป และเปล่ียนแปลงไปตามค่าความถ่ีท่ีป้อนให้วงจรด้วย วงจรตัวเก็บประจุหลายตัวต่อ
ขนานกัน

6.7 บทสรุป
คุณสมบตั กิ ารตอ่ ตวั ต้านทานแบบอนุกรม ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
1. ความตา้ นทานรวมของวงจรเท่ากบั ผลรวมของความต้านทานแต่ละตัว
2. แรงดนั ตกคร่อมตวั ตา้ นทานแต่ละตัวรวมกนั เท่ากับแรงดนั ท่ีปอ้ นใหว้ งจร
3. กระแสไหลผา่ นตัวตา้ นทานทกุ ตัวในวงจรเท่ากนั
4. กาลังไฟฟ้าที่เกิดข้ึนกับตัวต้านทานแต่ละตัวรวมกันเท่ากับกาลังไฟฟ้าท้ังหมดคุณสมบัติการต่อตัว

ตา้ นทานแบบขนาน ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
1. ความตา้ นทานรวมมีค่าน้อยกวา่ ความตา้ นทานตวั ทมี่ ีค่าน้อยท่ีสดุ ในวงจร
2. แรงดนั ตกครอ่ มตวั ต้านทานแตล่ ะตวั เท่ากนั ท้งั หมดและเท่ากับแรงดนั ทป่ี ้อน
3. ผลรวมกระแสไหลผ่านตวั ตา้ นทานแต่ละตัวรวมกันเท่ากบั กระแสท่ีปอ้ น
4. กาลังไฟฟ้าเกิดข้ึนกับตัวต้านทานแต่ละตัวรวมกันเท่ากับกาลังไฟฟ้าท้ังหมดคุณสมบัติการต่อตัว

เหนี่ยวนาแบบอนกุ รม ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
1. ความเหนยี่ วนารวมของวงจร เทา่ กบั ผลรวมของความเหนย่ี วนาแตล่ ะตัว
2. คา่ รแี อกแตนซ์ความเหน่ยี วนารวม เทา่ กับผลรวมรีแอกแตนซค์ วามเหนีย่ วนาแต่ละตวั
3. แรงดนั ตกคร่อมตวั เหนี่ยวนาแตล่ ะตัวรวมกนั เทา่ กับแรงดันท่ปี ้อนใหว้ งจร
4. กระแสไหลผ่านตัวเหน่ียวนาทุกตัวในวงจรเท่ากันคุณสมบัติการต่อตัวเหนี่ยวนาแบบขนาน ใน

วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั
1. ความเหนยี่ วนารวม มีคา่ นอ้ ยกว่าความเหนีย่ วนาตวั ท่ีมคี า่ นอ้ ยทส่ี ดุ ในวงจร
2. ค่ารีแอกแตนซ์ความเหน่ียวนารวม มีค่าน้อยกว่ารีแอกแตนซ์ความเหนี่ยวนาตัวที่มีค่าน้อยที่สุดใน

วงจร
3. แรงดนั ตกคร่อมตวั เหนีย่ วนาแตล่ ะตวั มีคา่ เทา่ กัน และเทา่ กบั แรงดันทป่ี อ้ น
4. ผลรวมของกระแสไหลผ่านตัวเหนี่ยวนาแต่ละตัวรวมกันเท่ากับกระแสท่ีป้อนคุณสมบัติการต่อตัว

เกบ็ ประจแุ บบอนุกรม ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
1. ความจุรวมของวงจร มีคา่ นอ้ ยกว่าค่าความจตุ ัวที่มีค่านอ้ ยที่สดุ ในวงจร
2. รแี อกแตนซค์ วามจรุ วมของวงจรเทา่ กับผลรวมของรีแอกแตนซ์ความจแุ ต่ละตวั

134

3. แรงดันตกคร่อมตัวเกบ็ ประจแุ ต่ละตวั รวมกนั เทา่ กับแรงดันทป่ี ้อนให้วงจร
4. กระแสไหลผ่านตัวเก็บประจุทุกตัวในวงจรเท่ากันคุณสมบัติการต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน ใน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
1. ความจรุ วมของวงจรเทา่ กับผลรวมของความจุแต่ละตวั
2. ค่ารแี อกแตนซค์ วามจรุ วม มีคา่ นอ้ ยกวา่ คา่ รีแอกแตนซค์ วามจตุ วั ท่มี ีคา่ นอ้ ยท่สี ุด
3. แรงดนั ตกครอ่ มตวั เกบ็ ประจแุ ตล่ ะตัวมีคา่ เท่ากันทั้งหมด และเท่ากับแรงดนั ท่ีป้อน
4. ผลรวมของกระแสไหลผ่านตัวเก็บประจุแต่ละตัวรวมกนั เท่ากับกระแสทป่ี ้อนใหว้ งจร

135

136

137

138

139

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ช่อื กลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................

รายช่ือสมาชกิ

1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความร้เู กย่ี วกับเนอื้ หา ความถูกต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคัญไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์

2. รูปแบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ

ประหยัด

2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ

แต่ขาดการประยุกตใ์ ช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิน่

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ

3. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุม่

3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกิจกรรมกลุม่

2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มบี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื

2 คะแนน = ผู้ฟงั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

1 คะแนน = ผฟู้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื

140

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง............................

รายช่อื สมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ

พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นน้อยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ช้ากว่าเวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ่วนร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน

141

19. แบบฝึกหัด

แบบฝกึ หดั ทา้ ยหน่วยท่ี 6
การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ
คาส่งั อธบิ ายให้ได้ใจความสมบรู ณแ์ ละแสดงวิธที าให้ถูกตอ้ งสมบรู ณ์

142

20. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้แบบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321

ดา้ นการเตรียมการสอน

1.จัดหนว่ ยการเรยี นรไู้ ด้สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สอ่ื นวัตกรรม กจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นรู้ก่อนเข้า

สอน

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

4. มวี ิธกี ารนาเขา้ สบู่ ทเรียนท่ีนา่ สนใจ

5. มีกจิ กรรมท่หี ลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ความเข้าใจ

6. จดั กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นคน้ คว้าเพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

8. จัดกจิ กรรมทเี่ นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ )

9. กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความคิดเหน็ อย่างเสรี

10. จดั กิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ ชื่อมโยงกับชีวิตจรงิ โดยนาภมู ปิ ัญญา/บูรณาการเข้ามา

มีสว่ นร่วม

11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

12. มกี ารเสริมแรงเมอ่ื นักเรียนปฏิบตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รียน อย่างทว่ั ถงึ

15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาท่ีกาหนด

ดา้ นส่ือ นวัตกรรม แหลง่ การเรยี นรู้

16. ใช้สือ่ ทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น

17. ใช้สอ่ื แหล่งการเรียนรูอ้ ยา่ งหลากหลาย เช่น บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สอื่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อย่างท่วั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กาหนด

ด้านการวดั และประเมนิ ผล

18. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังดา้ นความรู้ ทักษะ และจติ พิสยั

20. ครู ผูเ้ รยี น ผูป้ กครอง หรือ ผู้ที่เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดับการปฏิบัติ 5 = ปฏิบตั ิดีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏิบัติพอใช้ 2 = ควรปรับปรงุ 1 = ไมม่ ีการปฏิบตั ิ เฉล่ีย

143

20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแก้ปญั หา

ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา

ด้านการเตรยี มการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการวัดประเมนิ ผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านอนื่ ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ติ โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

144 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม

วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

145

แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชีพ

และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รหัสวิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

หนว่ ยท่ี 7 ชือ่ หน่วย วงจรอนกุ รม RLC

ชอื่ เรอื่ ง วงจรอนุกรม RLC จานวน 6 ชว่ั โมง

1. สาระสาคัญ
วงจรอนุกรม RL เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนาต่ออนุกรมกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย

แรงดนั ไฟสลบั เกดิ กระแสไหลผ่านในวงจรอนกุ รมเป็นค่ากระแสเดียวเทา่ กันหมดทงั้ วงจร แต่มีแรงดนั ตกคร่อม
อปุ กรณแ์ ตล่ ะตวั แตกตา่ งกัน และมเี ฟสแรงดันทเ่ี กดิ ขน้ึ แตกตา่ งกันด้วย

2. สมรรถนะอาชพี ประจาหนว่ ย
ดา้ นความรู้
1. อธิบายวงจรอนุกรม RL ได้
2. บอกคุณสมบตั วิ งจรอนุกรม RC ได้
ด้านทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. แสดงวธิ ีการคานวณหาคา่ ตา่ ง ๆ ของวงจรอนุกรม RLC ได้
2. ช้ีแจงวงจรอมิ พีแดนซ์อนุกรมได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง
1. สรปุ วงจรอนกุ รม RLC ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป

1. เพื่อใหม้ คี วามรู้เกยี่ วกับการอธิบายวงจรอนุกรม RL
2. เพื่อใหม้ ที ักษะในการหาแสดงวธิ ีการคานวณหาค่าต่าง ๆ ของวงจรอนกุ รม RLC
3. เพอื่ ให้มเี จตคตทิ ีด่ ใี นการชแ้ี จงวงจรอมิ พีแดนซ์อนกุ รม
4. เพอื่ สรุปวงจรอนุกรม RLC ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. อธบิ ายวงจรอนกุ รม RL ได้
2. บอกคุณสมบตั วิ งจรอนกุ รม RC ได้
3. แสดงวิธีการคานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของวงจรอนุกรม RLC ได้
4. ชแ้ี จงวงจรอิมพีแดนซอ์ นุกรมได้
5. สรุปวงจรอนกุ รม RLC ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

146

4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. วงจรอนุกรม RL

2. วงจรอนุกรม RC

3. วงจรอนุกรม RLC

4. วงจรอิมพแี ดนซอ์ นุกรม

5. บทสรุป

4.2 ด้านทกั ษะหรือปฏิบัติ
1. การทดลองที่ 7 วงจรอนกุ รม RLC
2. แบบทดสอบบทที่ 7

4.3 ดา้ นคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. ใชเ้ ครือ่ งมือในการทดสอบไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

5. กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ข้ันตอนการเรียนหรอื กจิ กรรมของผู้เรียน

ขน้ั เตรียม(จานวน 15 นาท)ี ขนั้ เตรียม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวชิ า 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วธิ กี ารใหค้ ะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง วงจรอนุกรม รายวชิ า วิธกี ารใหค้ ะแนนและวธิ กี ารเรยี นเร่อื ง การ
RLC วงจรอนกุ รม RLC
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทที่ 7 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ
ขอให้ผเู้ รยี นร่วมกันทากจิ กรรมการเรียนการสอน เรียนบทท่ี 7 และการให้ความร่วมมือในการทา

กิจกรรม

ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาท)ี ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาท)ี

1. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นเปิด PowerPoint บทที่ 7 เรอื่ ง 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 7 วงจรอนกุ รม

วงจรอนุกรม RLC และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร RLC และผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน

ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย

ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถาม ตนเอง และสามารถตอบข้อสงสัยระหว่างเรยี นได้

ข้อสงสัยระหว่างเรียนจากผูส้ อน 2. ผู้เรียนอธิบาย วงจรอนุกรม RLC ได้ศึกษาจาก

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย วงจรอนุกรม RLC ได้ PowerPoint

ศกึ ษาจาก PowerPoint 3. ผเู้ รยี นทาแบบฝกึ หัดบทที่ 7

3. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นทาแบบฝึกหดั บทที่ 7 4. ผู้เรียนสืบคน้ ข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ นต็

4. ผู้สอนใหผ้ ้เู รยี นสืบคน้ ข้อมลู จากอนิ เทอรเ์ นต็

ขั้นสรุป(จานวน 45 นาท)ี ขนั้ สรุป(จานวน 45 นาที)

1. ผ้สู อนและผเู้ รียนรว่ มกันสรุปเนื้อหาท่ไี ดเ้ รียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความ

ความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั เข้าใจในทิศทางเดียวกนั

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย

PowerPoint ทีจ่ ดั ทาขนึ้ PowerPoint ทีจ่ ัดทาขึ้น

147

6. ส่ือการเรียนการสอน/การเรียนรู้

6.1 สอ่ื สิง่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2. แบบฝกึ หดั ท่ี 7

6.2 สอื่ โสตทศั น์
1. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์
2. PowerPoint เร่อื ง วงจรอนกุ รม RLC

6.3 ส่อื ของจริง
1. วงจรอนุกรม RLC

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศึกษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ
2. หอ้ งอินเตอร์เน็ตวิทยาลัยการอาชพี สว่างแดนดิน

7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. ห้องสมุดเฉลมิ พระเกียรติอาเภอสวา่ งแดนดิน
2. หอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารอี าเภอสว่างแดนดิน

8. งานทมี่ อบหมาย

8.1 ก่อนเรียน
1. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

8.2 ขณะเรียน
1. ศึกษาเน้ือหา ในบทที่ 7 เร่อื ง วงจรอนุกรม RLC
2. รายงานผลหนา้ ช้ันเรยี น
3. ปฏบิ ัติใบปฏบิ ัตงิ านที่ 7 เรื่อง วงจรอนกุ รม RLC
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝกึ หดั บทที่ 7

9. ผลงาน/ช้นิ งาน ที่เกิดจากการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น

1. แบบฝึกหดั บทที่ 7 ใบปฏิบัตงิ านท่ี 7
2. ตรวจผลงาน

148

10. เอกสารอา้ งองิ

1. พันธศ์ กั ด์ิ พฒุ ิมานติ พงศ.์ วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั . : ศนู ยส์ ่งเสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบรู ณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั รายวิชาอ่ืน

1. บูรณาการกบั วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกบั วิชาไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์
3. บรู ณาการกับวชิ าไฟฟ้าเบ้ืองตน้

12. หลักการประเมินผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรยี น
1. ความรู้เบ้ืองตน้ ก่อนการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สังเกตการทางาน

12.3 หลังเรียน
1. ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 7
2. ตรวจใบงานท่ี 7

13. รายละเอียดการประเมินผลการเรียน

จุดประสงค์ข้อที่ 1 อธบิ ายวงจรอนกุ รม RL ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายวงจรอนุกรม RL ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธิบายวงจรอนุกรม RL ได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ที่ 2 บอกคณุ สมบตั ิวงจรอนุกรม RC ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถบอกคุณสมบัติวงจรอนกุ รม RC ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บอกคุณสมบตั ิวงจรอนกุ รม RC ได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อท่ี 3 แสดงวธิ กี ารคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของวงจรอนกุ รม RLC ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถแสดงวธิ กี ารคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของวงจรอนุกรม RLC ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : แสดงวธิ กี ารคานวณหาค่าต่าง ๆ ของวงจรอนกุ รม RLC ได้ จะได้ 2 คะแนน

149

จุดประสงค์ข้อที่ 4 ช้ีแจงวงจรอิมพีแดนซ์อนกุ รมได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถชแ้ี จงวงจรอมิ พแี ดนซ์อนกุ รมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : ชแี้ จงวงจรอิมพีแดนซ์อนุกรมได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 5 สรปุ วงจรอนกุ รม RLC ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครือ่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถสรปุ วงจรอนุกรม RLC ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
4. เกณฑ์การผา่ น : สรปุ วงจรอนุกรม RLC ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมได้ จะได้ 2 คะแนน

14. แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการสอนที่ 7 ช่อื หนว่ ยการสอน วงจรอนกุ รม RLC
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือ ประเมินความรูพ้ ้ืนฐานเก่ยี วกบั วงจรอนกุ รม RLC
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ท่ีถกู ตอ้ งที่สุด

150
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

151

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ง. ข. ค. ก. ค. ก. ง. ข. ค. ก.

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หน่วยการสอนท่ี 7 ช่ือหนว่ ยการสอน วงจรอนกุ รม RLC
วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ประเมินความรู้พ้นื ฐานเกยี่ วกับวงจรอนุกรม RLC
ขอ้ คาถาม
ตอนท่ี 1 เขยี นเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ท่ถี กู ต้องท่สี ุด


Click to View FlipBook Version