202
แบบประเมนิ กระบวนการทางานกลุม่
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………ห้อง............................
รายช่ือสมาชิก
1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท…่ี ….
ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คิดเหน็
321
1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกัน
2 การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบและการเตรียมความ
พร้อม
3 การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรับปรงุ งาน
รวม
ผูป้ ระเมนิ …………………………………………………
วันท่ี…………เดือน……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเปา้ หมายรว่ มกนั
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมสี ่วนรว่ มในการกาหนดเปา้ หมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบและการเตรยี มความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรียม
สถานที่ ส่อื /อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพร้อมเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ ม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ/อุปกรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรียง
แต่ขาดการจดั เตรียมสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ั่วถึงและมีสื่อ / อปุ กรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานได้สาเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาท่ีกาหนด
2 คะแนน = ทางานได้สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย แตช่ ้ากว่าเวลาทกี่ าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเร็จตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรงุ งาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนรว่ มปรกึ ษาหารือ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรบั ปรุงงานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางสว่ นมีสว่ นร่วมปรึกษาหารือ แตไ่ ม่ปรับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางสว่ นมีสว่ นร่วมไม่มีส่วนรว่ มปรกึ ษาหารือ และปรบั ปรุงงาน
203
19. แบบฝึกหัด
แบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ยท่ี 8
วงจรขนานลัวงจรผสม RLC
คาสงั่ อธบิ ายให้ได้ใจความสมบรู ณ์และแสดงวิธที าให้ถูกตอ้ งสมบูรณ
204
20. บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรูแ้ บบมุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
20.1 สรุปผลการจัดการเรียนรู้
รายการ ระดบั การปฏิบตั ิ
54321
ดา้ นการเตรียมการสอน
1.จัดหนว่ ยการเรียนรูไ้ ด้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
2. กาหนดเกณฑ์การประเมินครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจติ พิสัย
3. เตรยี มวัสดุ-อปุ กรณ์ สือ่ นวัตกรรม กิจกรรมตามแผนการจดั การเรยี นรู้ก่อนเข้า
สอน
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
4. มีวธิ ีการนาเข้าสู่บทเรยี นท่ีนา่ สนใจ
5. มีกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ ความเข้าใจ
6. จดั กิจกรรมทีส่ ่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคน้ ควา้ เพ่ือหาคาตอบดว้ ยตนเอง
7. นักเรียนมีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
8. จัดกจิ กรรมทเ่ี นน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ )
9. กระตนุ้ ให้ผเู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี
10. จดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ีเช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ โดยนาภูมิปญั ญา/บรู ณาการเขา้ มามี
สว่ นรว่ ม
11. จัดกจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม
12. มีการเสรมิ แรงเมอื่ นักเรยี นปฏบิ ัติ หรอื ตอบถูกต้อง
13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รียน
14. เอาใจใสด่ ูแลผ้เู รียน อยา่ งทวั่ ถึง
15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด
ด้านสอ่ื นวตั กรรม แหลง่ การเรียนรู้
16. ใชส้ ือ่ ทเ่ี หมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผเู้ รียน
17. ใชส้ อ่ื แหลง่ การเรียนร้อู ย่างหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสารส่ือ
อิเลก็ ทรอนิกส์ และอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นต้น
13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
14. เอาใจใส่ดแู ลผเู้ รยี น อย่างท่วั ถงึ
15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กาหนด
ดา้ นการวัดและประเมินผล
18. ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล
19. ประเมนิ ผลอย่างหลากหลายและครบทั้งด้านความรู้ ทักษะ และจติ พสิ ยั
205
20. ครู ผ้เู รยี น ผูป้ กครอง หรือ ผู้ทเ่ี กี่ยวข้องมีสว่ นร่วม ในการประเมิน
หมายเหตุ ระดับการปฏิบัติ 5 = ปฏบิ ตั ดิ ีเยยี่ ม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = ปฏบิ ตั ิ รวม
พอใช้ 2 = ควรปรบั ปรุง 1 = ไม่มีการปฏิบัติ เฉลี่ย
20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแกป้ ัญหา
ปญั หาท่ีพบ แนวทางแก้ปญั หา
ดา้ นการเตรียมการสอน
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ดา้ นส่อื นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการวดั ประเมินผล
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านอื่น ๆ (โปรดระบเุ ป็นข้อ ๆ)
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ลงช่อื ........................................................................ ครผู ู้สอน
(นายวชิ ิต โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครพู เิ ศษสอน
............../.................................../....................
206
21. บันทกึ การนเิ ทศและติดตาม
วนั -เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและตดิ ตาม ชื่อ-สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่
207
แผนการจัดการเรยี นรู้ แบบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหสั วิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
หน่วยท่ี 9 ชอ่ื หน่วย วงจรเรโซแนนซ์
ช่ือเร่ือง วงจรเรโซแนนซ์ จานวน 6 ช่ัวโมง
1. สาระสาคญั
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับท่ีวงจรประกอบด้วยตัวต้านทาน (R) ตัวเก็บประจุ (C) และตัวเหนี่ยวนา (L)
เม่ือนาไปใช้กับค่าความถ่ีที่มีการเปล่ียนแปลง ส่งผลให้ค่ารีแอกแตนซ์ตัวเก็บประจุ(XC) และรีแอกแตนซ์ตัว
เหนี่ยวนา (XL) เกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ค่ารีแอกแตนซ์ทั้งสองจะเกิดการหักล้างกันตลอดเวลา จะ
พบว่าท่ีความถี่ค่าหน่ึงมีผลต่อวงจรทาให้ค่ารีแอกแตนซ์ XC เท่ากับ XL เกิดการหักล้างกันระหว่าง XC กับ XL
ทาให้ค่ารีแอกแตนซ์หมดไป เหลือเพียงค่าความต้านทานอย่างเดียว สภาวะดังกล่าวน้ีเรียกว่า เรโซแนนซ์
(Resonance)
2. สมรรถนะอาชพี ประจาหนว่ ย
ด้านความรู้
1. อธบิ ายสภาวะเรโซแนนซข์ องวงจร RLCได้
2. บอกวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้
ด้านทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
1. หาค่า L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
2. ประกอบคณุ ภาพของวงจรเรโซแนนซ์เปน็ แบบอนุกรมได้
3. คานวณหาค่าแบนดว์ ดิ ทใ์ นวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
4. คานวณวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รมได้
5. หาคา่ L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนานได้
6. ช้แี จงตวั ประกอบคณุ ภาพและแบนด์วดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. สรปุ วงจรเรโซแนนซ์ ใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม
3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จดุ ประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่ือให้มีความรู้เก่ียวกับอธบิ ายสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLC
2. เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการหาค่า L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม
3. เพื่อใหม้ ีเจตคติที่ดีในการช้ีแจงตัวประกอบคุณภาพและแบนดว์ ิดท์ในวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน
4. เพื่อสรุป สรุปวงจรเรโซแนนซ์ ใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม
208
3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. อธบิ ายสภาวะเรโซแนนซข์ องวงจร RLCได้
2. บอกวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
3. หาคา่ L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้
4. ประกอบคณุ ภาพของวงจรเรโซแนนซเ์ ป็นแบบอนุกรมได้
5. คานวณหาค่าแบนด์วิดท์ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
6. คานวณวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้
7. หาคา่ L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนานได้
8. ชีแ้ จงตัวประกอบคุณภาพและแบนด์วิดท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนานได้
9. สรปุ วงจรเรโซแนนซ์ ใหถ้ ูกต้องเหมาะสม
4. เนือ้ หาสาระการสอน/การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้
1. สภาวะเรโซแนนซข์ องวงจร RLC
2. วงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รม
3. คา่ L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รม
4. ตัวประกอบคณุ ภาพของวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม
5. แบนด์วิดทใ์ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม
6. วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
7. ค่า L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน
8. ตัวประกอบคุณภาพและแบนด์วดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
9. บทสรุป
4.2 ด้านทักษะหรือปฏบิ ัติ
1. การทดลองที่ 9 วงจรเรโซแนนซ์
2. แบบทดสอบบทท่ี 9
4.3 ด้านคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. ใชเ้ ครื่องมือในการทดสอบได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
209
5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้
ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมครู ขัน้ ตอนการเรยี นหรือกิจกรรมของผ้เู รยี น
ข้ันเตรียม(จานวน 15 นาที) ขน้ั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )
1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง วงจรเร รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง
โซแนนซ์
วงจรเรโซแนนซ์
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทท่ี 9 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
ขอให้ผูเ้ รียนร่วมกันทากจิ กรรมการเรยี นการสอน เรียนบทท่ี 9 และการให้ความร่วมมือในการทา
กจิ กรรม
ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาที) ขน้ั การสอน(จานวน 180 นาท)ี
1. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 9 เร่อื ง 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 9 วงจรเร
วงจรเรโซแนนซ์ และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร โซแนนซ์ และผเู้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน
ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย
ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถาม ตนเอง และสามารถตอบขอ้ สงสัยระหว่างเรียนได้
ข้อสงสัยระหว่างเรยี นจากผู้สอน 2. ผู้เรียนอธิบาย วงจรเรโซแนนซ์ ได้ศึกษาจาก
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย วงจรเรโซแนนซ์ ได้ศึกษา PowerPoint
จาก PowerPoint 3. ผู้เรยี นทาแบบฝกึ หัดบทท่ี 9
3. ผ้สู อนให้ผู้เรียนทาแบบฝกึ หดั บทท่ี 9 4. ผูเ้ รยี นสืบคน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ นต็
4. ผสู้ อนให้ผู้เรียนสบื คน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต
ข้ันสรปุ (จานวน 45 นาท)ี ขนั้ สรุป(จานวน 45 นาท)ี
1. ผูส้ อนและผูเ้ รียนร่วมกนั สรุปเนื้อหาทไ่ี ดเ้ รียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเนื้อหาท่ีได้เรียนให้มีความ
ความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย
PowerPoint ท่จี ดั ทาขน้ึ PowerPoint ทจ่ี ดั ทาข้นึ
210
6. ส่ือการเรียนการสอน/การเรียนรู้
6.1 สอ่ื สิง่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2. แบบฝึกหดั ท่ี 9
6.2 สอื่ โสตทศั น์
1. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์
2. PowerPoint เรอื่ ง วงจรเรโซแนนซ์
6.3 ส่อื ของจริง
1. วงจรเรโซแนนซ์
7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรียนรู้
7.1 ภายในสถานศึกษา
1. ห้องสมดุ วิทยาลยั การอาชีพสว่างแดนดนิ
2. หอ้ งอินเตอร์เนต็ วิทยาลัยการอาชพี สว่างแดนดิน
7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดเฉลมิ พระเกียรติอาเภอสวา่ งแดนดิน
2. หอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารอี าเภอสวา่ งแดนดิน
8. งานทมี่ อบหมาย
8.1 ก่อนเรียน
1. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
8.2 ขณะเรียน
1. ศึกษาเน้ือหา ในบทที่ 9 เร่อื ง วงจรเรโซแนนซ์
2. รายงานผลหนา้ ชน้ั เรยี น
3. ปฏบิ ัติใบปฏบิ ัติงานที่ 9 เรื่อง วงจรเรโซแนนซ์
4. สรปุ ผลการทดลอง
8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝกึ หดั บทที่ 9
9. ผลงาน/ช้นิ งาน ท่ีเกิดจากการเรียนรขู้ องผูเ้ รียน
1. แบบฝึกหดั บทที่ 9 ใบปฏิบัติงานท่ี 9
2. ตรวจผลงาน
211
10. เอกสารอา้ งองิ
1. พันธ์ศกั ด์ิ พุฒิมานิตพงศ์. วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั . : ศูนยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)
11. การบรู ณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั รายวชิ าอ่ืน
1. บูรณาการกบั วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บูรณาการกับวชิ าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
3. บูรณาการกับวชิ าไฟฟ้าเบื้องต้น
12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น
12.1 กอ่ นเรยี น
1. ความรู้เบื้องต้นกอ่ นการเรียนการสอน
12.2 ขณะเรยี น
1. สังเกตการทางาน
12.3 หลังเรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยที่ 9
2. ตรวจใบงานที่ 9
13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี น
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 1 อธิบายสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLCได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถอธบิ ายสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLCได้
4. เกณฑ์การผ่าน : อธบิ ายสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLCได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงค์ข้อท่ี 2 บอกวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบอกวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รมได้
4. เกณฑ์การผ่าน : บอกวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 3 หาค่า L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รมได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถหาค่า L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
4. เกณฑ์การผ่าน : หาคา่ L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รมได้ จะได้ 1 คะแนน
212
จุดประสงค์ข้อท่ี 4 ประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์เป็นแบบอนุกรมได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์เป็นแบบอนุกรมได้
4. เกณฑ์การผ่าน : ประกอบคณุ ภาพของวงจรเรโซแนนซ์เปน็ แบบอนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 5 คานวณหาคา่ แบนดว์ ิดท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รมได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณหาค่าแบนดว์ ิดทใ์ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : คานวณหาค่าแบนด์วดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 6 คานวณวงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รมได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : คานวณวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงค์ข้อที่ 7 หาค่า L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซ์แบบขนานได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถหาคา่ L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนานได้
4. เกณฑ์การผ่าน : หาค่า L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซ์แบบขนานได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ท่ี 8 ชแ้ี จงตวั ประกอบคุณภาพและแบนด์วิดท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถชแ้ี จงตวั ประกอบคุณภาพและแบนดว์ ดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน
4. เกณฑ์การผ่าน : ชแ้ี จงตวั ประกอบคุณภาพและแบนด์วิดท์ในวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อท่ี 9 สรุปวงจรเรโซแนนซ์ ให้ถูกตอ้ งเหมาะสม
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถสรปุ วงจรเรโซแนนซ์ ให้ถกู ตอ้ งเหมาะสม
4. เกณฑ์การผ่าน : สรุปวงจรเรโซแนนซ์ ให้ถกู ต้องเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน
213
14. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หน่วยการสอนที่ 9 ชื่อหนว่ ยการสอน วงจรเรโซแนนซ์
วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ประเมินความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับวงจรเรโซแนนซ์
ข้อคาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ที่ถกู ตอ้ งที่สุด
214
ตอนท่2ี อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10
ง. ก. ค. ข. ก. ง. ค. ค. ข. ง.
215
15. แบบทดสอบหลงั เรยี น
หน่วยการสอนที่ 9 ช่ือหนว่ ยการสอน วงจรเรโซแนนซ์
วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ประเมินความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับวงจรเรโซแนนซ์
ข้อคาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ที่ถกู ตอ้ งที่สุด
216
ตอนท่2ี อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10
ง. ก. ค. ข. ก. ง. ค. ค. ข. ง.
217
16. ใบความรทู้ ี่ 9
หนว่ ยการสอนที่ 9 ช่ือหนว่ ยการสอน วงจรเรโซแนนซ์
หัวข้อเร่อื ง วงจรเรโซแนนซ์
9.1 สภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLC
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่วงจรประกอบด้วยตัวต้านทาน (R) ตัวเก็บประจุ (C) และตัวเหน่ียวนา (L)
เม่ือนาไปใช้กับค่าความถี่ท่ีมีการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ค่ารีแอกแตนซ์ตัวเก็บประจุ(XC) และรีแอกแตนซ์ตัว
เหน่ียวนา (XL) เกิดการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ค่ารีแอกแตนซ์ทั้งสองจะเกิดการหักล้างกันตลอดเวลา จะ
พบว่าท่ีความถี่ค่าหน่ึงมีผลต่อวงจรทาให้ค่ารีแอกแตนซ์ XCเท่ากับ XL เกิดการหักล้างกันระหว่าง XC กับ XL
ทาให้ค่ารีแอกแตนซ์หมดไป เหลือเพียงค่าความต้านทานอย่างเดียว สภาวะดังกล่าวน้ีเรียกว่า เรโซแนนซ์
(Resonance) ความถี่ทท่ี าให้เกิดสภาวะเรโซแนนซ์เรียกว่า ความถเี่ รโซแนนซ์ (Resonance Frequency ; fr)
ในสภาวะเกิดการเรโซแนนซ์ ทาใหเ้ กดิ กาลงั ไฟฟ้าสูงสุดในวงจร ค่าเรโซแนนซท์ ่เี กิดขึ้นเปล่ียนแปลงไปตามค่ารี
แอกแตนซ์ XC และ XL ท่ีประกอบวงจร สภาวะเรโซแนนซ์
รูปท่ี 9.1 แสดงกราฟสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLC ต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท่ีความถ่ีเรโซแนนซ์
(fr) กราฟจะมีความแรงสูงสุด แสดงสภาวะตอบสนองต่อความถ่ีสูงสุด ความถี่ท่ีต่ากว่าและสูงกว่าความถ่ีเร
โซแนนซ์จะเกดิ การตอบสนองทลี่ ดลง เปน็ คุณสมบตั ิของวงจร RLC
วงจรเรโซแนนซ์ จะต้องประกอบด้วยตัวเกบ็ ประจุและตวั เหน่ยี วนาเปน็ หลัก แต่ในการทางานวงจรจะ
เกดิ คา่ ความต้านทานขน้ึ มา ซ่งึ เกิดจากความไม่บริสทุ ธิ์ของตัวเกบ็ ประจแุ ละตวั เหนย่ี วนา หรือเกิดจากการเพม่ิ
ความต้านทานเข้าในวงจร เพื่อควบคุมรูปร่าง และความแรงของรูปกราฟเรโซแนนซ์ การต่อวงจรเรโซแนนซ์
แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม(Series Resonance Circuit) และวงจรเรโซแนนซ์แบบ
ขนาน (Parallel Resonance Circuit)วงจรเรโซแนนซแ์ ต่ละแบบมีคุณสมบตั ิทีแ่ ตกตา่ งกันไป
218
9.2 วงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รม
วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม เป็นวงจรท่ีประกอบด้วยตัว LC ต่ออนุกรมในวงจร และมีตัว R ต่อ
อนุกรมร่วมด้วย ซึ่งค่า R อาจเป็นค่าความต้านทานจากแหล่งจ่าย (RS) เป็นค่าความต้านทานที่ต่อเพ่ิม (RA)
และค่าความต้านทานท่ีเกิดภายในตัวเหนี่ยวนา (RL) ค่าท้ังหมดถูกต่อในรูปวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม
ลักษณะการตอ่ วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม แสดงดังรูปที่ 9.2
9.3 คา่ L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รม
การต่อวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม บางครั้งมีความจาเป็นต้องต่อวงจรเข้ากับความถี่ท่ีถูกกาหนดค่า
ไว้แล้ว การจะทาให้วงจรสามารถให้การตอบสนองต่อความถี่ท่ีต้องการได้น้ัน จาเป็นต้องเลือกค่าความ
เหนีย่ วนาหรอื ค่าความจทุ ่เี หมาะสมมาใชง้ าน การหาคา่ ทาไดจ้ ากการใช้สมการหาคา่ ความถ่ีเรโซแนนซ์
9.4 ตวั ประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม
ตัวประกอบคุณภาพ (Quality Factor) ของวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม เป็นตัวแสดงถึงคุณสมบัติ
ของวงจรอนุกรม RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับขณะเรโซแนนซ์ เกิดกาลังไฟฟ้าในตัวเหน่ียวนา และตัวเก็บ
ประจมุ ากน้อยเพยี งไร ซง่ึ มีผลต่อค่าความต้านทานในวงจรเรโซแนนซ์ และคา่ กระแสท่ีเกิดข้นึ ในวงจร คา่ R ใน
วงจรต่าเกิดกระแสไหลในวงจรสูงส่งผลให้ค่าตัวประกอบคุณภาพสูงด้วย และถ้าค่า R ในวงจรสูงเกิดกระแส
ไหลในวงจรต่าสง่ ผลใหค้ า่ ตัวประกอบคุณภาพตา่ ด้วย
ตัวประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม (QS) ที่จุดเรโซแนนซ์เป็นอัตราส่วนระหว่าง
กาลงั ไฟฟา้ รีแอกตีฟ (Q) หารดว้ ยกาลงั ไฟฟา้ จรงิ (P)
9.5 แบนดว์ ดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รม
แบนด์วิดท์ (Bandwidth) ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม หรือย่านการตอบสนองความถี่เป็นช่วง
ความกว้างของความถ่ีท่ีวงจรเรโซแนนซ์ให้การตอบสนอง สาหรับวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมเป็นกระแส
ความถที่ ี่ไหลผา่ นวงจร โดยมชี ว่ งการลดลงของค่ากระแสทส่ี งู กว่าและต่ากวา่ ความถี่เรโซแนนซ์ เปน็ ความกว้าง
ค่าหน่ึงที่วงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมตอบสนอง เรียกค่านี้ว่าแบนด์วิดท์ (BW) ค่าแบนด์วิดท์ของวงจรเร
โซแนนซ์แบบอนุกรม
219
9.6 วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน คอื การตอ่ วงจร RLC ในแบบขนานนาไปใชง้ านทจี่ ุดเรโซแนนซ์มีคุณสมบัติ
ในการทางานที่จุดเรโซแนนซ์เป็นตรงข้ามกับวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม ดังนี้ ท่ีจุดเรโซแนนซ์จะมีค่า
อมิ พแี ดนซ์ในวงจรสงู สุด เกิดกระแสไหลในวงจรท่ีจดุ เรโซแนนซ์ตา่ สดุ วงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน
9.7 ค่า L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
การหาค่าความเหนี่ยวนา และค่าความจุมาใช้งานในวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน ให้ได้ความถ่ี
เรโซแนนซต์ ามต้องการ สามารถหาคา่ ไดโ้ ดยใชส้ ูตรเชน่ เดยี วกบั วงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รม
9.8 ตัวประกอบคุณภาพและแบนด์วิดทใ์ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
ตัวประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์แบบขนาน (QP) เป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณสมบัติของวงจร RLC
ต่อขนานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ท่ีสภาวะเรโซแนนซ์จะเกิดกระแสไหลผ่านตัวเหน่ียวนาและตัวเก็บประจุได้
มากน้อยเพียงไร ซึ่งมีผลต่อความต้านทานในวงจรเรโซแนนซ์ตัวประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์แบบ
ขนาน (QP)
9.9 บทสรุป
ความถี่ค่าหนึ่งมีผลต่อวงจรทาให้ค่ารีแอกแตนซ์ XC เท่ากับ XL เกิดการหักล้างกัน ทาให้ค่ารีแอก
แตนซ์หมดไป เหลือเพียงค่าความต้านทานอย่างเดียว สภาวะนี้เรียกวา่ เรโซแนนซ์ความถ่ีท่ีทาให้เกิดสภาวะเร
โซแนนซ์เรยี กว่า ความถ่ีเรโซแนนซ์ (fr) ในสภาวะเกิดการเรโซแนนซท์ าใหเ้ กดิ กาลงั ไฟฟ้าสูงสดุ ในวงจร
วงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม ท่ีตาแหน่งเรโซแนนซ์ จะไดค้ ่าอิมพแี ดนซ์ในวงจรตา่ สุดเกดิ กระแสไหลใน
วงจรสูงสุด ส่วนตัวประกอบคุณภาพของวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรม เป็นตัวแสดงถึงคุณสมบัติของวงจร
อนุกรม RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับขณะเรโซแนนซ์ เกิดกาลังไฟฟ้าในตัวเหนี่ยวนา และตัวเก็บประจุมาก
น้อยเพียงไร ซ่ึงมีผลต่อค่าความต้านทานในวงจร และค่ากระแสท่ีเกิดขึ้นในวงจร ถ้าค่า R ในวงจรต่าเกิด
กระแสไหลในวงจรสูงสง่ ผลให้คา่ ตัวประกอบคุณภาพสูงดว้ ย และถา้ ค่า R ในวงจรสูงเกดิ กระแสไหลในวงจรต่า
ส่งผลใหค้ ่าตัวประกอบคุณภาพตา่ ดว้ ย สามารถคานวณคา่ ต่างๆ ในวงจรเรโซแนนซ์แบบอนกุ รม
220
221
222
223
224
225
226
18. แบบประเมินผล
แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง............................
รายช่ือสมาชกิ
1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความร้เู กย่ี วกับเนอื้ หา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า)
2 รปู แบบการนาเสนอ
3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผู้ประเมนิ …………………………………………………
เกณฑ์การให้คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกต้อง
3 คะแนน = มสี าระสาคัญครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไมค่ รบถ้วน แตต่ รงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอทีน่ ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ
ประหยัด
2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ
แต่ขาดการประยุกต์ใช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิน่
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกิจกรรมกลุม่
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ บี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผู้ฟัง
3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื
2 คะแนน = ผู้ฟงั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื
1 คะแนน = ผฟู้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื
227
แบบประเมินกระบวนการทางานกลมุ่
ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง............................
รายช่อื สมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….
ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ
พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
รวม
ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ ม่ตรงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ช้ากว่าเวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ่วนร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน
228
19. แบบฝกึ หดั
แบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยท่ี 9
วงจรเรโซแนนซ์
คาสั่ง อธิบายให้ได้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
229
20. บันทึกผลหลงั การจดั การเรียนรูแ้ บบมุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
20.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้
รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321
ดา้ นการเตรียมการสอน
1.จดั หนว่ ยการเรยี นรไู้ ด้สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้
2. กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ครอบคลุมทัง้ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั
3. เตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ สือ่ นวตั กรรม กจิ กรรมตามแผนการจัดการเรยี นรกู้ ่อนเข้า
สอน
ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
4. มวี ิธกี ารนาเขา้ สบู่ ทเรยี นที่นา่ สนใจ
5. มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพ่ือช่วยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ
6. จดั กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ ควา้ เพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง
7. นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
8. จัดกจิ กรรมที่เนน้ กระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )
9. กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี
10. จดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ เ่ี ชอ่ื มโยงกับชีวิตจริงโดยนาภมู ปิ ัญญา/บูรณาการเข้ามา
มีส่วนร่วม
11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรม
12. มีการเสริมแรงเมอ่ื นักเรยี นปฏิบตั ิ หรอื ตอบถูกต้อง
13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
14. เอาใจใส่ดูแลผเู้ รียน อยา่ งทัว่ ถงึ
15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกบั เวลาท่ีกาหนด
ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหลง่ การเรียนรู้
16. ใช้สือ่ ทีเ่ หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น
17. ใชส้ อ่ื แหล่งการเรียนรอู้ ยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร
สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ และอนิ เทอร์เนต็ เปน็ ต้น
13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน
14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อย่างทั่วถงึ
15. ใชเ้ วลาสอนเหมาะสมกับเวลาที่กาหนด
ด้านการวดั และประเมนิ ผล
18. ผูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล
19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบทั้งดา้ นความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย
20. ครู ผูเ้ รียน ผูป้ กครอง หรือ ผู้ที่เกีย่ วข้องมีส่วนรว่ ม ในการประเมิน
หมายเหตุ ระดับการปฏิบตั ิ 5 = ปฏิบตั ิดีเย่ียม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม
ปฏบิ ัติพอใช้ 2 = ควรปรบั ปรุง 1 = ไมม่ ีการปฏิบตั ิ เฉล่ีย
230
20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแก้ปญั หา
ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา
ด้านการเตรยี มการสอน
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการวัดประเมนิ ผล
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านอนื่ ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ติ โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน
............../.................................../....................
231 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่
21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม
วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
232
แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมุง่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหัสวิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
หนว่ ยท่ี 10 ช่อื หนว่ ย แฟกเตอร์กาลงั
ชอ่ื เร่ือง แฟกเตอร์กาลัง จานวน 6 ช่วั โมง
1. สาระสาคัญ
ตัวต้านทาน (Resistor) ถือเป็นอุปกรณ์พ้ืนฐานท่ีนาไปใช้งานในวงจรต่าง ๆ มากที่สุดรวมถึงใน
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้วย ตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าความต้านทาน (Resistance)ภายในตัวแตกต่างกันไป
ขึ้นอยู่กับการกาหนดค่าจากการผลิต คุณสมบัติในการทางานกับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยทาหน้าที่เปล่ียนพลัง
ไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน ทางานกับแรงดันไฟสลับและกระแสไฟสลับของสัญญาณคลื่นไซน์ จ่ายค่าเป็น
RMS คุณสมบัติของแรงดันไฟสลับ E และกระแสไฟสลับ I เกิดข้ึนบนตัวต้านทาน R มีเฟสร่วมกัน วงจรและ
สัญญาณ
2. สมรรถนะอาชพี ประจาหน่วย
ด้านความรู้
1. อธบิ ายกาลงั ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
ด้านทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. เขียนสมการของแฟกเตอร์กาลงั ได้
2. คานวณหาแฟกเตอร์กาลังได้
3. ช้แี จงการแก้แฟกเตอร์กาลังได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. สรุปแฟกเตอรก์ าลงั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 จุดประสงคท์ ั่วไป
1. เพ่ือใหม้ ีความรู้เกย่ี วกับการอธิบายกาลงั ไฟฟ้ากระแสสลับ
2. เพอื่ ให้มีทกั ษะในเขียนสมการของแฟกเตอร์กาลัง
3. เพอื่ ให้มีเจตคติท่ีดีในการชแ้ี จงการแกแ้ ฟกเตอร์กาลัง
4. เพื่อสรุปแฟกเตอร์กาลงั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
233
3.2 จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธิบายกาลังไฟฟ้ากระแสสลับได้
2. เขียนสมการของแฟกเตอร์กาลังได้
3. คานวณหาแฟกเตอร์กาลังได้
4. ช้ีแจงการแกแ้ ฟกเตอร์กาลังได้
5. สรปุ แฟกเตอรก์ าลงั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้
4.1 ด้านความรู้
1. กาลงั ไฟฟา้ กระแสสลับ
2. แฟกเตอร์กาลงั
3. การคานวณหาคา่ แฟกเตอรก์ าลงั
4. การแกแ้ ฟกเตอร์กาลัง
5. บทสรุป
4.2 ด้านทักษะหรือปฏิบตั ิ
1. การทดลองท่ี 10 แฟกเตอรก์ าลงั
2. แบบทดสอบบทท่ี 10
4.3 ดา้ นคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ใชเ้ ครอ่ื งมือในการทดสอบได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
234
5. กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้
ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขน้ั ตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผู้เรยี น
ขน้ั เตรียม(จานวน 15 นาท)ี ขน้ั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )
1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวชิ า 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง แฟกเตอร์ รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง
กาลงั แฟกเตอร์กาลัง
2. ผ้สู อนแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนของบทที่ 10 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
ขอให้ผู้เรียนร่วมกนั ทากิจกรรมการเรียนการสอน เรียนบทท่ี 10 และการให้ความร่วมมือในการทา
กิจกรรม
ขน้ั การสอน(จานวน 180 นาท)ี ขั้นการสอน(จานวน 180 นาที)
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทท่ี 10 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 10 แฟกเตอร์
เรื่อง แฟกเตอร์กาลัง และให้ผู้เรียนศึกษาเอกสาร กาลัง และผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน
ประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ โดย วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย
ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถาม ตนเอง และสามารถตอบข้อสงสัยระหวา่ งเรยี นได้
ขอ้ สงสัยระหวา่ งเรยี นจากผู้สอน 2. ผู้เรียนอธิบาย แฟกเตอร์กาลัง ได้ศึกษาจาก
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย แฟกเตอร์กาลัง ได้ศึกษา PowerPoint
จาก PowerPoint 3. ผูเ้ รยี นทาแบบฝกึ หัดบทท่ี 10
3. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนทาแบบฝึกหัดบทที่ 10 4. ผเู้ รียนสืบค้นขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็
4. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนสบื คน้ ข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็
ข้ันสรุป(จานวน 45 นาที) ขัน้ สรปุ (จานวน 45 นาท)ี
1. ผูส้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกันสรุปเนื้อหาท่ีได้เรยี นให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มีความ
ความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน เขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย
PowerPoint ทีจ่ ัดทาขึน้ PowerPoint ท่ีจัดทาขนึ้
235
6. สือ่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้
6.1 สือ่ สิง่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. แบบฝึกหัดที่ 10
6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เรือ่ ง แฟกเตอร์กาลงั
6.3 สอื่ ของจรงิ
1. แฟกเตอร์กาลงั
7. แหลง่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้
7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน
2. หอ้ งอนิ เตอร์เน็ตวทิ ยาลยั การอาชพี สวา่ งแดนดนิ
7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. ห้องสมดุ เฉลิมพระเกยี รติอาเภอสว่างแดนดนิ
2. ห้องสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารอี าเภอสวา่ งแดนดนิ
8. งานที่มอบหมาย
8.1 ก่อนเรยี น
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
8.2 ขณะเรียน
1. ศกึ ษาเน้ือหา ในบทท่ี 10 เรอ่ื ง แฟกเตอร์กาลงั
2. รายงานผลหน้าชัน้ เรียน
3. ปฏบิ ตั ิใบปฏบิ ัติงานท่ี 10 เร่อื ง แฟกเตอรก์ าลัง
4. สรุปผลการทดลอง
8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝึกหัดบทท่ี 10
9. ผลงาน/ชิ้นงาน ที่เกดิ จากการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
1. แบบฝกึ หัดบทที่ 10 ใบปฏิบัติงานท่ี 10
2. ตรวจผลงาน
236
10. เอกสารอา้ งอิง
1. พนั ธ์ศักด์ิ พฒุ ิมานิตพงศ.์ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ. : ศูนย์ส่งเสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)
11. การบูรณาการ/ความสมั พนั ธ์กบั รายวิชาอื่น
1. บรู ณาการกบั วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกบั วิชาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
3. บูรณาการกับวิชาไฟฟา้ เบ้ืองต้น
12. หลกั การประเมินผลการเรียน
12.1 ก่อนเรยี น
1. ความร้เู บ้ืองต้นกอ่ นการเรียนการสอน
12.2 ขณะเรียน
1. สังเกตการทางาน
12.3 หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 10
2. ตรวจใบงานที่ 10
13. รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 1 อธบิ ายกาลงั ไฟฟ้ากระแสสลับได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายกาลงั ไฟฟ้ากระแสสลับได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายกาลังไฟฟ้ากระแสสลับได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงค์ขอ้ ที่ 2 เขียนสมการของแฟกเตอรก์ าลังได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอื่ งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถเขยี นสมการของแฟกเตอร์กาลงั ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : เขียนสมการของแฟกเตอร์กาลังได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 3 คานวณหาแฟกเตอรก์ าลังได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณหาแฟกเตอร์กาลงั ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : คานวณหาแฟกเตอร์กาลังได้ จะได้ 2 คะแนน
237
จุดประสงคข์ ้อที่ 4 ชีแ้ จงการแกแ้ ฟกเตอร์กาลังได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถชีแ้ จงการแกแ้ ฟกเตอร์กาลังได้
4. เกณฑ์การผ่าน : ชีแ้ จงการแก้แฟกเตอร์กาลังได้ จะได้ 4 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ที่ 5 สรุปแฟกเตอร์กาลังได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถสรุปแฟกเตอร์กาลังไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
4. เกณฑ์การผ่าน : สรุปแฟกเตอรก์ าลงั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน
14. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หนว่ ยการสอนที่ 10 ชอื่ หน่วยการสอน แฟกเตอร์กาลงั
วตั ถุประสงค์ เพ่ือ ประเมนิ ความรพู้ น้ื ฐานเกี่ยวกับแฟกเตอรก์ าลงั
ข้อคาถาม
ตอนท่ี 1 เขยี นเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงในข้อที่ถกู ต้องทีส่ ุด
238
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
239
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ขอ้ 10
ก. ข. ค. ง. ง. ค. ก. ค. ข. ข.
15. แบบทดสอบหลงั เรียน
หน่วยการสอนท่ี 10 ชอ่ื หน่วยการสอน แฟกเตอรก์ าลงั
วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ประเมนิ ความรูพ้ ืน้ ฐานเกี่ยวกับแฟกเตอรก์ าลัง
ขอ้ คาถาม
ตอนท่ี 1 เขยี นเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถ่ี ูกต้องท่สี ดุ
240
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
241
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ขอ้ 5 ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ก. ข. ค. ง. ง. ค. ก. ค. ข. ข.
16. ใบความรทู้ ่ี 10
หนว่ ยการสอนที่ 10 ช่อื หน่วยการสอน แฟกเตอร์กาลัง
หวั ข้อเร่อื ง แฟกเตอร์กาลัง
10.1 กาลงั ไฟฟ้ากระแสสลบั
ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ระดับสัญญาณไฟฟ้ามีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา รวมถึงเฟสสัญญาณก็
เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเช่นเดียวกัน ผลการเปล่ียนแปลงทาให้กาลังไฟฟ้าท่ีเกิดข้ึนมีการเปล่ียนแปลง
และแตกต่างกัน แบ่งออกได้ 3 ส่วน เขียนในรูปสามเหล่ียมกาลังไฟฟ้า(Power Triangle) ประกอบด้วย
กาลังไฟฟ้าจริง (P) กาลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Q) และกาลังไฟฟ้าปรากฏ (S) กาลังไฟฟ้าทั้ง 3 ส่วนมีความแตกต่าง
กันในค่าทคี่ านวณออกมาได้
10.1.1 กาลงั ไฟฟา้ จรงิ (P)
กาลังไฟฟ้าจริง (P) หรืออาจเรียกว่ากาลังไฟฟ้าเฉล่ีย เป็นกาลังไฟฟ้าที่วงจรได้รับจริง เกิดกาลังไฟฟ้า
ท่ีถูกนาไปใช้งานจริง อาจเกิดได้กับอุปกรณ์จาพวกตัวต้านทานบริสุทธ์ิแรงดันและกระแสมีเฟสเหมือนกัน ใน
กรณีท่ีแรงดันและกระแสมีเฟสไม่เหมือนกัน จะต้องจัดเฟสกระแสให้อยู่ในตาแหน่งเฟสร่วมกับแรงดันในรูป
Icosq เขียนสมการกาลังไฟฟ้าจริงได้ดงั นี้
242
10.1.2 กาลงั ไฟฟ้ารีแอกตฟี (Q)
กาลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Q) เป็นกาลังไฟฟ้าที่เกิดกับอุปกรณ์จาพวกตัวเหนี่ยวนาและตัวเก็บประจุ โดย
เกิดจากแรงดันและกระแสในตัวเหน่ียวนาและตัวเก็บประจุ กระแสในตัวเหนี่ยวนาจะล้าหลังแรงดันเป็นมุม q
(ค่า q มีค่าระหว่าง 1o ถึง 90o) และกระแสในตัวเก็บประจุจะนาหน้าแรงดันเป็นมุม q (ค่า q มีค่าระหว่าง
1o ถงึ 90o) กระแสท่นี าหน้าและล้าหลังน้ี สามารถแตกคา่ กระแสให้อยใู่ นตาแหน่งเฟสรว่ ม และตา่ งเฟส 90o
กบั แรงดนั
10.1.3 กาลงั ไฟฟ้าปรากฏ (S)
กาลังไฟฟ้าปรากฏ (S) เป็นกาลังไฟฟ้าท่ีแหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้าต้องจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ โดย
เกิดจากการคูณกันของแรงดันที่วัดได้จาก AC โวลต์มิเตอร์ กับกระแสวัดได้จาก AC แอมมิเตอร์ วัดค่าออกมา
ได้เป็นค่า RMS หรอื คา่ ประสทิ ธผิ ล
10.2 แฟกเตอร์กาลัง
แฟกเตอร์กาลงั (pf) หรอื ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency) ของวงจร บอกใหท้ ราบวา่ อุปกรณไ์ ฟฟ้าท่ีใช้อยู่มี
ประสิทธิภาพในการทางานมากน้อยเพียงไร แสดงออกมาในรูปเลขทศนิยม หาค่าได้จากอัตราส่วนของ
กาลงั ไฟฟา้ จริง (P) หารด้วยกาลังไฟฟา้ ปรากฏ (S) หรือมีคา่ เทา่ กบั cosqเขียนเปน็ สมการไดด้ ังนี้
243
10.2.2 ภาระตัวเหน่ียวนา
เป็นภาระท่ีเกิดกระแสไหลผ่านมีเฟสล้าหลังแรงดันตกคร่อมวงจร เกิดมุมต่างเฟส qo เป็นแฟกเตอร์
กาลงั ชนดิ ล้าหลงั (Lagging Power Factor) เขียนเฟสเซอรไ์ ดอะแกรมได้ดังรูปที่ 10.3
244
10.3 การคานวณหาคา่ แฟกเตอร์กาลงั
ประสิทธิภาพของวงจรไฟฟ้าแสดงออกมาได้ด้วยแฟกเตอร์กาลัง (pf) การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ควร
พิจารณาจากค่าแฟกเตอร์กาลังที่มีค่าเข้าใกล้ 1 ย่ิงมีค่าเข้าใกล้ 1 มากข้ึนเท่าไร ยิ่งทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้ามี
ประสิทธิภาพในการทางานมากขึ้นเท่านั้น การคานวณหาค่าแฟกเตอร์กาลังและค่ากาลังไฟฟ้าต่างๆ เป็น
ส่งิ จาเป็น
10.4 การแก้แฟกเตอร์กาลงั
ค่าแฟกเตอร์กาลังท่ีบอกไว้เป็นค่าแสดงให้ทราบว่า อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้อยู่มีประสิทธิภาพในการทางาน
มากน้อยเพียงไร ประสิทธิภาพสูงสุดของอุปกรณ์ไฟฟ้ามีค่าแฟกเตอร์กาลัง (pf)เท่ากับ 1 โดยการทาให้มุม q
ของสามเหลี่ยมกาลังลดลงเป็น 0o ซึ่งเป็นค่าท่ีบอกให้ทราบว่าอุปกรณ์ไฟฟ้าทางานได้ค่าสูงสุด เกิดกาลังไฟฟ้า
ในการทางานมากทส่ี ดุ โดยไมเ่ กิดกาลังไฟฟ้าท่สี ูญเสียไปจากกาลังไฟฟ้ารแี อกตีฟ (Q)
245
โดยปกติแล้วอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ผลิตมาใช้งาน ส่วนมากเป็นประเภทท่ีมีตัวเหนี่ยวนาต่อร่วมในวงจรด้วย
ซ่ึงมีผลต่อเฟสของแรงดันและกระแสท่ีเกิดข้ึนในวงจรแตกต่างกันไป เฟสกระแสจะล้าหลังแรงดันเสมอ เกิด
แฟกเตอร์กาลังชนิดล้าหลังมีค่า pf น้อยกว่า 1 ทาให้อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีใช้งานกินกระแสในการทางานมากขึ้น
ประสิทธภิ าพในการทางานลดลง และต้องจ่ายคา่ กระแสมากข้นึ เป็นสิ่งที่ไมต่ ้องการให้เกิดขึ้น ดังน้ันจงึ มีความ
จาเป็นต้องปรับค่าแฟกเตอร์กาลังใหม่ใหม้ีค่า pf เข้าใกล้ 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของอุปกรณ์
ไฟฟ้า และยังชว่ ยประหยัดค่าใช้ไฟฟา้ ไดม้ ากข้นึ
การปรับแก้ค่าแฟกเตอร์กาลังให้เข้าใกล้ 1 ในวงจรการทางานท่ีมีภาระเป็นประเภทตัวเหน่ยี วนา เชน่
มอเตอร์ มีค่าแฟกเตอร์กาลังล้าหลัง ทาได้โดยต่อเพ่ิมตัวเก็บประจุขนานกับภาระของวงจร โดยใช้ค่าความจุที่
เหมาะสม ผลการแก้แฟกเตอร์กาลังทาให้กระแสไหลในวงจรลดลง มุมต่างเฟสระหว่างแรงดันและกระแส
น้อยลง ส่งผลให้กาลังไฟฟ้าปรากฏ (S) และกาลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Q) มีค่าลดลง ช่วยให้ค่าแฟกเตอร์กาลังมีค่า
เขา้ ใกล้ 1 มากขึ้น
กรณีท่ีภาระเป็นตัวเก็บประจุก็สามารถปรับแก้ค่าแฟกเตอร์กาลงั ทาได้เช่นเดียวกัน โดยต่อเพมิ่ ตัวเหน่ียวนามี
คา่ พอเหมาะขนานกบั ภาระของวงจร เพ่ือทาให้ค่าแฟกเตอร์กาลงั เข้าใกล้1 มากขึ้น
การพจิ ารณาในการแกแ้ ฟกเตอร์กาลังพจิ ารณาดังนี้
1. กาลังไฟฟ้าจริง (P) ตอ้ งคงที่
2. กระแสในวงจร (I) ต้องลดลง
3. มมุ ต่างเฟส (q) ต้องลดลง
4. แฟกเตอร์กาลัง (pf) ตอ้ งเพมิ่ ข้ึน
5. กาลังไฟฟา้ ปรากฏ (S) ตอ้ งลดลง
6. กาลงั ไฟฟา้ รีแอกตฟี (Q) ตอ้ งลดลง
10.5 บทสรุป
กาลังไฟฟ้าแบ่งออกได้ 3 ส่วน ประกอบด้วย กาลังไฟฟ้าจริง (P) กาลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ(Q) และ
กาลังไฟฟ้าปรากฏ (S) แต่ละส่วนหาคา่ ไดด้ ังน้ี
246
247
248
249
250
251
18. แบบประเมินผล
แบบประเมินผลการนาเสนอผลงาน
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ชนั้ ………………………หอ้ ง............................
รายช่ือสมาชกิ
1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….
ที่ รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชัดเจน (ความรเู้ ก่ยี วกบั เน้ือหา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า)
2 รปู แบบการนาเสนอ
3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผู้ประเมนิ …………………………………………………
เกณฑ์การให้คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถกู ต้อง
3 คะแนน = มสี าระสาคัญครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคัญไม่ครบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอทนี่ ่าสนใจ นาวสั ดใุ นท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ
ประหยัด
2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอทีแ่ ปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทนี่ า่ สนใจ
แต่ขาดการประยุกต์ใช้ วัสดใุ นทอ้ งถิน่
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกิจกรรมกลุม่
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญ่มีบทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผู้ฟัง
3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมอื
2 คะแนน = ผู้ฟงั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมอื
1 คะแนน = ผฟู้ งั น้อยกว่าร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื