The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichit, 2021-04-02 01:11:05

AC

วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

152

153
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

154

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

ข้อ1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
ง. ข. ค. ก. ค. ก. ง. ข. ค. ก.

16. ใบความรทู้ ่ี 7

หน่วยการสอนท่ี 7 ชอื่ หน่วยการสอน วงจรอนกุ รม RLC
หัวข้อเรอื่ ง วงจรอนกุ รม RLC

7.1 วงจรอนกุ รม RL
วงจรอนุกรม RL เป็นวงจรที่นาตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนาต่ออนุกรมกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย

แรงดันไฟสลบั เกิดกระแสไหลผ่านในวงจรอนุกรมเป็นคา่ กระแสเดยี วเทา่ กันหมดทัง้ วงจร แตม่ ีแรงดนั ตกคร่อม
อุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสแรงดันท่ีเกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดัน
รว่ มกัน ตัวเหน่ยี วนามเี ฟสแรงดนั นาหนา้ กระแส 90oวงจรอนุกรม RL

155

156

7.1.2 กาลังไฟฟ้าในวงจรอนุกรม RL

กาลังไฟฟ้าในวงจรอนุกรม RL เกิดจากการคูณกันของแรงดันและกระแสในวงจรกาลังไฟฟ้าที่เกิดข้ึน
ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับมี 3 ส่วน เขียนในรูปสามเหล่ียมกาลังไฟฟ้า (power triangle) ประกอบด้วย
กาลังไฟฟ้าจริง (Real Power) กาลังไฟฟ้ารีแอกตีฟ (Reactive Power)และกาลังไฟฟ้าปรากฏ (Apparent
Power) แสดงในรูปเฟสเซอร์ไดอะแกรมสามเหลยี่ มกาลงั ไฟฟ้า

7.2 วงจรอนุกรม RC

วงจรอนุกรม RC เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานและตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ เกดิ กระแสไหลผา่ นในวงจรอนกุ รมเป็นค่ากระแสเดียวเทา่ กันหมดทั้งวงจร แตม่ แี รงดนั ตกคร่อม
อุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสแรงดันที่เกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดัน
รว่ มกัน ตวั เกบ็ ประจมุ ีเฟสกระแสนาหน้าแรงดนั 90o วงจรอนกุ รม RC

7.3 วงจรอนุกรม RLC

วงจรอนุกรม RLC เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานตัวเหน่ียวนาและตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันนาไปต่อเข้า
กับแหล่งจ่ายแรงดันไฟสลับ เกิดกระแสไหลผ่านในวงจรอนุกรมเป็นค่ากระแสเดียวเท่ากันหมดท้ังวงจร แต่มี
แรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสแรงดันท่ีเกิดข้ึนแตกต่างกันด้วย ในตัวต้านทานมีเฟส
กระแสและแรงดันร่วมกนั ในตวั เหนีย่ วนามเี ฟสแรงดันนาหนา้ กระแส 90o และในตวั เกบ็ ประจุมีเฟสแรงดันล้า
หลังกระแส 90o สภาวะกระแสและแรงดันที่เกิดขึ้นในวงจรจะเปลี่ยนแปลงไปตามค่า R, XL และ XC ที่
ประกอบรว่ มในวงจร มีผลทาใหแ้ รงดนั แหลง่ จา่ ยมคี ่าเฟสนาหนา้ ลา้ หลงั หรือเฟสรว่ มกนั ได้ วงจรอนกุ รม RLC

7.4 วงจรอิมพีแดนซ์อนกุ รม

การต่ออนุกรมของอิมพีแดนซ์ (Z) เป็นการต่ออนุกรมของ RLC แต่ละส่วนท่ีแสดงค่าในรูปอิมพีแดนซ์
(Z) กระแสท่ีไหลในวงจรอนุกรมยังคงเป็นกระแสค่าเดียวกัน แต่เกิดแรงดันตกคร่อมอิมพีแดนซ์แต่ละส่วน
แตกต่างกัน ผลรวมของอิมพีแดนซ์หาได้จากการรวมอิมพีแดนซ์แต่ละค่าเข้าด้วยกันในแบบอนุกรม โดยแยก
รวมส่วนความต้านทานทั้งหมดเข้าด้วยกัน และแยกรวมส่วนรีแอกแตนซ์ทั้งหมดเข้าด้วยกัน วงจรอิมพีแดนซ์
อนกุ รม

7.5 บทสรุป

วงจรอนุกรม RL ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มีกระแสไหลผ่านในวงจรอนุกรมค่าเดียวกันทั้งวงจร มี
แรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน ตัว R มีเฟสร่วมกันของกระแสและแรงดันตัว L มีเฟสแรงดัน
นาหนา้ กระแส 90o

157

158

159

160

161

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ช่อื กลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................

รายช่ือสมาชกิ

1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….

ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความร้เู กย่ี วกับเนอื้ หา ความถกู ต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผู้ประเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคัญไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์

2. รูปแบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ ่าสนใจ นาวัสดุในท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ

ประหยัด

2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ

แต่ขาดการประยุกตใ์ ช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิ่น

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ

3. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุม่

3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลุม่

2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มบี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟัง

3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

2 คะแนน = ผู้ฟงั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื

1 คะแนน = ผฟู้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

162

แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม

ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง............................

รายช่อื สมาชิก

1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….

3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ

พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ช้ากว่าเวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ่วนร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน

163

19. แบบฝกึ หดั

แบบฝกึ หดั ทา้ ยหนว่ ยที่ 7
วงจรอนกุ รม RLC

คาสั่ง อธิบายให้ได้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้ถกู ต้องสมบรู ณ์

164

20. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นร้แู บบมุง่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

20.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้

รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321

ดา้ นการเตรียมการสอน

1.จัดหนว่ ยการเรียนรูไ้ ดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้

2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั

3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สื่อ นวตั กรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นรกู้ ่อนเข้า

สอน

ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

4. มีวิธกี ารนาเข้าส่บู ทเรยี นท่ีน่าสนใจ

5. มีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ

6. จดั กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ คว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง

7. นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

8. จัดกิจกรรมทเ่ี น้นกระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )

9. กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี

10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เ่ี ช่ือมโยงกบั ชีวิตจรงิ โดยนาภมู ิปัญญา/บูรณาการเข้ามา

มสี ว่ นรว่ ม

11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม

12. มีการเสรมิ แรงเม่ือนักเรยี นปฏิบัติ หรือตอบถูกต้อง

13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน

14. เอาใจใส่ดูแลผูเ้ รียน อย่างท่วั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด

ด้านสอ่ื นวัตกรรม แหลง่ การเรียนรู้

16. ใชส้ อ่ื ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น

17. ใชส้ ่อื แหลง่ การเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร

สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้

13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน

14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อยา่ งท่วั ถงึ

15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทีก่ าหนด

ด้านการวัดและประเมินผล

18. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล

19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังด้านความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย

20. ครู ผเู้ รยี น ผู้ปกครอง หรือ ผ้ทู เี่ กีย่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ในการประเมิน

หมายเหตุ ระดับการปฏิบตั ิ 5 = ปฏิบตั ดิ เี ยย่ี ม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม

ปฏบิ ัติพอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มกี ารปฏิบตั ิ เฉล่ีย

165

20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแก้ปญั หา

ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา

ด้านการเตรยี มการสอน

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านการวัดประเมนิ ผล

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ด้านอนื่ ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

.................................................................................. ..................................................................................

ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ติ โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน

............../.................................../....................

166 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่

21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม

วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม

167

แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี

และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รหสั วิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

หนว่ ยที่ 8 ชอื่ หน่วย วงจรขนานและวงจรผสม RLC

ชื่อเรอื่ ง วงจรขนานและวงจรผสม RLC จานวน 6 ช่ัวโมง

1. สาระสาคัญ
วงจรขนาน RL เป็นวงจรที่นาตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนาต่อขนานกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย

แรงดันไฟสลับ เกิดแรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวเท่ากัน และเท่ากับแหล่งจ่ายแรงดันไฟสลับ ส่วนกระแสไหล
ผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสที่เกิดข้ึนแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดัน
รว่ มกัน

2. สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
ด้านความรู้
1. อธบิ ายวงจรขนาน RL ได้
2. บอกคุณสมบัติวงจรขนาน RC ได้
ดา้ นทักษะและการประยุกต์ใช้
1. เขยี นวงจรขนาน RLC ได้
2. คานวณหาค่าวงจรอิมพีแดนซ์ขนาน
3. ชแี้ จงวงจรอมิ พีแดนซผ์ สมได้
ดา้ นคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์และบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. สรปุ วงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
3.1 จุดประสงคท์ ่ัวไป

1. เพื่อให้มีความรู้เกยี่ วกับอธิบายวงจรขนาน RL
2. เพอื่ ให้มีทักษะในการเขยี นวงจรขนาน RLC
3. เพอ่ื ให้มีเจตคติทดี่ ใี นการชีแ้ จงวงจรอมิ พีแดนซผ์ สม
4. เพ่อื สรุปวงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

168

3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายวงจรขนาน RL ได้
2. บอกคุณสมบัตวิ งจรขนาน RC ได้
3. เขียนวงจรขนาน RLC ได้
4. คานวณหาคา่ วงจรอิมพีแดนซข์ นาน
5. ช้ีแจงวงจรอิมพแี ดนซ์ผสมได้
6. สรุปวงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

4. เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

4.1 ดา้ นความรู้
1. วงจรขนาน RL
2. วงจรขนาน RC
3. วงจรขนาน RLC
4. วงจรอิมพแี ดนซ์ขนาน
5. วงจรอมิ พีแดนซผ์ สม
6. บทสรุป

4.2 ด้านทักษะหรือปฏบิ ตั ิ
1. การทดลองที่ 8 วงจรขนานและวงจร RLC
2. แบบทดสอบบทที่ 8

4.3 ด้านคุณธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. ใชเ้ คร่ืองมือในการทดสอบได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

169

5. กิจกรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรยี นรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผ้เู รยี น

ขนั้ เตรียม(จานวน 15 นาท)ี ข้นั เตรียม(จานวน 15 นาที )

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเรื่อง วงจรขนาน รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง วงจร
และวงจร RLC
ขนานและวงจร RLC
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของบทที่ 8 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การเรียน
ขอให้ผู้เรียนรว่ มกันทากิจกรรมการเรียนการสอน บทท่ี 8 และการให้ความรว่ มมือในการทากจิ กรรม

ขั้นการสอน(จานวน 180 นาที) ข้นั การสอน(จานวน 180 นาที)

1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทท่ี 8 เรื่อง 1. ผ้เู รยี นเปิด PowerPoint บทที่ 8 วงจรขนานและ

วงจรขนานและวงจร RLC และใหผ้ เู้ รยี นศึกษาเอกสาร วงจร RLC และผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน

ประกอบการสอน วชิ า วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ โดยให้ วิชา วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ ผเู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถสอบถามข้อ และสามารถตอบข้อสงสยั ระหวา่ งเรยี นได้

สงสัยระหว่างเรียนจากผู้สอน 2. ผู้เรียนอธิบาย วงจรขนานและวงจร RLC ได้ศึกษา

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย วงจรขนานและวงจร RLC จาก PowerPoint

ได้ศกึ ษาจาก PowerPoint 3. ผ้เู รียนทาแบบฝกึ หัดบทท่ี 8

3. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั บทที่ 8 4. ผู้เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู จากอินเทอร์เน็ต

4. ผูส้ อนใหผ้ ้เู รยี นสบื ค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เน็ต

ขน้ั สรุป(จานวน 45 นาท)ี ขน้ั สรปุ (จานวน 45 นาท)ี

1. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาท่ีได้เรียนให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียนให้มีความเข้าใจ

ความเข้าใจในทศิ ทางเดียวกนั ในทิศทางเดียวกัน

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้ว ย

PowerPoint ท่จี ัดทาขึน้ PowerPoint ท่ีจดั ทาขน้ึ

170

6. สอื่ การเรยี นการสอน/การเรยี นรู้

6.1 ส่ือส่ิงพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
2. แบบฝึกหดั ที่ 8

6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เรอ่ื ง วงจรขนานและวงจร RLC

6.3 สอื่ ของจรงิ
1. วงจรขนานและวงจร RLC

7. แหล่งการเรยี นการสอน/การเรียนรู้

7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมุดวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดิน
2. หอ้ งอินเตอร์เนต็ วทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดนิ

7.2 ภายนอกสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติอาเภอสวา่ งแดนดนิ
2. หอ้ งสมุดประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารีอาเภอสวา่ งแดนดนิ

8. งานทม่ี อบหมาย

8.1 กอ่ นเรียน
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

8.2 ขณะเรยี น
1. ศึกษาเนื้อหา ในบทท่ี 8 เร่ือง วงจรขนานและวงจร RLC
2. รายงานผลหน้าชั้นเรียน
3. ปฏิบตั ใิ บปฏิบตั ิงานที่ 8 เรื่อง วงจรขนานและวงจร RLC
4. สรปุ ผลการทดลอง

8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝึกหัดบทที่ 8

171

9. ผลงาน/ชิน้ งาน ท่เี กดิ จากการเรยี นรู้ของผู้เรียน

1. แบบฝึกหัดบทท่ี 7 ใบปฏบิ ัติงานท่ี 8
2. ตรวจผลงาน

10. เอกสารอ้างอิง

1. พันธ์ศักด์ิ พฒุ ิมานติ พงศ.์ วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั . : ศูนยส์ ง่ เสรมิ อาชวี ะ (ศสอ)

11. การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั รายวิชาอืน่

1. บรู ณาการกับวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกับวิชาไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนิกส์
3. บรู ณาการกับวิชาไฟฟา้ เบื้องตน้

12. หลกั การประเมนิ ผลการเรยี น

12.1 ก่อนเรยี น
1. ความรเู้ บื้องตน้ กอ่ นการเรียนการสอน

12.2 ขณะเรียน
1. สังเกตการทางาน

12.3 หลงั เรียน
1. ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 8
2. ตรวจใบงานท่ี 8

13. รายละเอียดการประเมินผลการเรยี น

จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 1 อธิบายวงจรขนาน RL ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธบิ ายวงจรขนาน RL ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : อธิบายวงจรขนาน RL ได้ จะได้ 2 คะแนน
จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 2 บอกคุณสมบตั วิ งจรขนาน RC ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถบอกคุณสมบัติวงจรขนาน RC ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : บอกคุณสมบตั วิ งจรขนาน RC ได้ จะได้ 2 คะแนน

172

จดุ ประสงค์ขอ้ ท่ี 3 เขยี นวงจรขนาน RLC ได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถเขยี นวงจรขนาน RLC ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : เขยี นวงจรขนาน RLC ได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงค์ข้อที่ 4 คานวณหาค่าวงจรอิมพีแดนซข์ นาน
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถคานวณหาค่าวงจรอิมพแี ดนซข์ นาน
4. เกณฑ์การผ่าน : คานวณหาค่าวงจรอมิ พีแดนซข์ นาน จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 5 ชแี้ จงวงจรอมิ พแี ดนซผ์ สมได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถชี้แจงวงจรอมิ พแี ดนซ์ผสมได้
4. เกณฑ์การผา่ น : ช้แี จงวงจรอมิ พีแดนซผ์ สมได้ จะได้ คะแนน
จุดประสงคข์ ้อที่ 6 สรุปวงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถสรปุ วงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
4. เกณฑ์การผา่ น : สรปุ วงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม จะได้ 1 คะแนน

14. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

หน่วยการสอนท่ี 8 ชื่อหน่วยการสอน วงจรขนานและวงจรผสม RLC
วัตถุประสงค์ เพ่อื ประเมนิ ความรู้พน้ื ฐานเกยี่ วกับวงจรขนานและวงจรผสม RLC
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในข้อท่ถี ูกตอ้ งทสี่ ุด

173

174

ตอนที่2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง

175

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน

ข้อ1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ค. ก. ง. ข. ข. ค. ง. ง. ก. ค.

15. แบบทดสอบหลงั เรยี น

หนว่ ยการสอนท่ี 8 ชื่อหนว่ ยการสอน วงจรขนานและวงจรผสม RLC
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ประเมินความรพู้ ้นื ฐานเกยี่ วกับวงจรขนานและวงจรผสม RLC
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขียนเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ที่ถูกต้องที่สุด

176

177

ตอนท่ี2 อธบิ ายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหส้ มบูรณ์ถูกต้อง

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

ขอ้ 1 ข้อ2 ข้อ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10
ค. ก. ง. ข. ข. ค. ง. ง. ก. ค.

178

16. ใบความรูท้ ี่ 8

หน่วยการสอนท่ี 8 ช่ือหนว่ ยการสอน วงจรขนานและวงจรผสม RLC
หัวข้อเรือ่ ง วงจรขนานและวงจรผสม RLC

8.1 วงจรขนาน RL

วงจรขนาน RL เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานและตัวเหนี่ยวนาต่อขนานกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ เกิดแรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวเท่ากัน และเท่ากับแหล่งจ่ายแรงดันไฟสลับ ส่วนกระแสไหล
ผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสท่ีเกิดข้ึนแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดัน
ร่วมกนั ตัวเหนยี่ วนามีเฟสกระแสล้าหลังแรงดนั 90o วงจรขนาน RL

179

180

181

8.1.4 กาลังไฟฟ้าในวงจรขนาน RL

กาลังไฟฟ้าวงจรขนาน RL เกิดจากการคูณกันของแรงดันและกระแสในวงจรกาลังไฟฟ้าเกิดขึ้นในระบบ
ไฟฟา้ กระแสสลบั มี 3 สว่ น ไดแ้ ก่ กาลงั ไฟฟา้ จริง (P) กาลังไฟฟา้ รีแอกตีฟ (Q) และกาลังไฟฟ้าปรากฏ (S) เขยี นใน
รูปสมการกาลงั ไฟฟ้า

8.2 วงจรขนาน RC

วงจรขนาน RC เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานและตัวเก็บประจุต่อขนานกัน นาไปต่อเข้ากับแหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ มีแรงดันตกคร่อมอุปกรณ์แต่ละตัวเท่ากัน มีค่าเท่ากับแหล่งจ่าย และมีเฟสเหมือนกัน ส่วนกระแส
ไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน มีเฟสกระแสที่เกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสร่วมกับเฟส
แรงดัน ตัวเก็บประจมุ เี ฟสกระแสนาหนา้ แรงดนั 90o วงจรขนาน RC

182

183

184

185

8.3 วงจรขนาน RLC
วงจรขนาน RLC เป็นวงจรท่ีนาตัวต้านทานตัวเหน่ียวนา และตัวเก็บประจุต่อขนานกันนาไปต่อเข้ากับ

แหล่งจ่ายแรงดันไฟสลับ เกิดแรงดันตกคร่อมอุปกรณ์ทุกตัวเท่ากันหมด เท่ากับแหล่งจ่าย แต่มีกระแสไหลผ่าน
อุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสที่เกิดข้ึนแตกต่างกันด้วย ตัวต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดัน
ร่วมกัน ตัวเหน่ียวนามีเฟสกระแสล้าหลังแรงดัน 90oและตัวเก็บประจุมีเฟสกระแสนาหน้าแรงดัน 90o สภาวะ
กระแสและแรงดันที่เกิดขึ้นในวงจรจะเปลี่ยนแปลงไปตามค่า R, XL และ XC ท่ีประกอบร่วมในวงจร มีผลทาให้
กระแสไหลผา่ นอุปกรณ์แต่ละตัวมเี ฟสนาหน้า ล้าหลงั หรอื เฟสร่วมกันได้ วงจรขนาน RLC

186

187

188

189

190

191

192

193

194

8.4 วงจรอมิ พแี ดนซ์ขนาน

การต่อขนานของอิมพีแดนซ์ (Z) เป็นการต่อขนานของ RLC แต่ละส่วนท่ีแสดงค่าในรูปอิมพีแดนซ์ (Z)
หรืออาจเรียกว่าวงจรผสมแบบอนุกรมขนาน แรงดันตกคร่อมอิมพีแดนซ์ทุกตัวเท่ากันหมด เท่ากับแหล่งจ่าย แต่มี
กระแสไหลผ่านอิมพีแดนซ์แตล่ ะตวั แตกต่างกนั และมีเฟสกระแสท่ีเกิดข้ึนแตกต่างกนั ด้วย ผลรวมอมิ พีแดนซ์หาได้
ในรูปผลรวมของแอดมิตแตนซ์ (Y)ความนาไฟฟ้า (G) และซัสเซปแตนซ์ (B) โดยแยกรวมในสว่ นความนาไฟฟ้า (G)
ทงั้ หมดเขา้ ด้วยกนั และแยกรวมส่วนซสั เซปแตนซ์ (B) ท้งั หมดเขา้ ด้วยกนั ได้ผลรวมแอดมิตแตนซ์ (Y)ออกมา วงจร
อมิ พแี ดนซข์ นาน

8.5 วงจรอมิ พแี ดนซ์ผสม

วงจรอิมพีแดนซ์ผสม เป็นการต่อค่า RLC ในวงจรทั้งแบบอนุกรมและแบบขนานร่วมกันการรวมค่า
อมิ พีแดนซ์แต่ละค่า ใชห้ ลกั การวเิ คราะหค์ า่ ในแบบอนุกรมและแบบขนาน การต่อวงจรอิมพีแดนซผ์ สมไม่มีรูปแบบ
ตายตัว การวิเคราะหค์ ่าจาเป็นตอ้ งวิเคราะห์พร้อมคา่ มมุ เฟสไปพร้อมๆ กนั วงจรอมิ พีแดนซ์ผสม

8.5 บทสรุป

วงจรขนาน RL ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั มีแรงดนั ตกคร่อมอปุ กรณ์แตล่ ะตัวเท่ากนั และเท่ากับแหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ มีกระแสไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสที่เกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตัว
ตา้ นทานมเี ฟสกระแสและแรงดนั ร่วมกัน ตัวเหนย่ี วนามเี ฟสกระแสลา้ หลังแรงดนั 90o มสี ตู รคานวณดังน้ี

195

วงจรขนาน RC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มแี รงดันตกคร่อมอุปกรณแ์ ต่ละตัวเท่ากัน และเท่ากบั แหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ มีกระแสไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสที่เกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตั ว
ตา้ นทานมีเฟสกระแสและแรงดนั รว่ มกนั ตัวเก็บประจมุ เี ฟสกระแสนาหน้าแรงดนั 90o มสี ตู รคานวณดงั น้ี

วงจรขนาน RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั มแี รงดันตกครอ่ มอปุ กรณแ์ ต่ละตัวเท่ากนั และเทา่ กับแหล่งจ่าย
แรงดันไฟสลับ มีกระแสไหลผ่านอุปกรณ์แต่ละตัวแตกต่างกัน และมีเฟสกระแสที่เกิดขึ้นแตกต่างกันด้วย ตัว
ต้านทานมีเฟสกระแสและแรงดันร่วมกัน ตัวเหนี่ยวนามีเฟสกระแสล้าหลังแรงดัน 90o และตัวเก็บประจุมีเฟส
กระแสนาหนา้ แรงดัน 90o สภาวะกระแสและแรงดันทเี่ กิดขึ้นในวงจรจะเปลี่ยนแปลงไปตามค่า R, XL และ XC ท่ี
ประกอบร่วมในวงจร ผลทาใหก้ ระแสไหลผา่ นอปุ กรณ์แตล่ ะตัวมเี ฟสนาหนา้ ล้าหลงั หรอื เฟสร่วมกันได้

196

197

198

199

200

201

18. แบบประเมินผล

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ชือ่ กลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................

รายชื่อสมาชกิ

1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…่ี ….

3……………………………………เลขท…ี่ …. 4……………………………………เลขท…ี่ ….

ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ขอ้ คิดเหน็
32 1

1 เนอ้ื หาสาระครอบคลุมชดั เจน (ความร้เู กยี่ วกับเนอ้ื หา ความถกู ต้อง

ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า)

2 รปู แบบการนาเสนอ

3 การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลมุ่

4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ

สนใจ

รวม

ผปู้ ระเมนิ …………………………………………………

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ต้อง

3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถ้วนถูกต้อง ตรงตามจดุ ประสงค์

2 คะแนน = สาระสาคัญไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจุดประสงค์

1 คะแนน = สาระสาคัญไมถ่ ูกตอ้ ง ไมต่ รงตามจุดประสงค์

2. รปู แบบการนาเสนอ

3 คะแนน = มีรปู แบบการนาเสนอท่ีเหมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคทแ่ี ปลกใหม่ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอทีน่ า่ สนใจ นาวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกตใ์ ช้อย่างคุ้มค่าและประหยดั

2 คะแนน = มเี ทคนิคการนาเสนอท่ีแปลกใหม่ ใช้ส่อื และเทคโนโลยีประกอบการนาเสนอทีน่ า่ สนใจ

แตข่ าดการประยุกต์ใช้ วัสดใุ นทอ้ งถ่นิ

1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไม่น่าสนใจ

3. การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ

3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกจิ กรรมกลุ่ม

2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญ่มบี ทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

1 คะแนน = สมาชกิ ส่วนนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม

4. ความสนใจของผู้ฟงั

3 คะแนน = ผู้ฟงั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และให้ความร่วมมือ

2 คะแนน = ผู้ฟงั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความรว่ มมือ

1 คะแนน = ผู้ฟังน้อยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมือ


Click to View FlipBook Version