252
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง............................
รายช่อื สมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….
ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ
พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ได้รบั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรับปรงุ งาน
รวม
ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชกิ ส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถึง แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ช้ากว่าเวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชกิ บางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ่วนร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน
253
19. แบบฝึกหัด
แบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ยท่ี 10
แฟกเตอรก์ าลัง
คาสั่ง อธิบายให้ได้ใจความสมบูรณ์และแสดงวิธที าใหถ้ กู ตอ้ งสมบรู ณ์
254
20. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นร้แู บบมุง่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
20.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้
รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321
ดา้ นการเตรียมการสอน
1.จัดหนว่ ยการเรียนรูไ้ ดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั
3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สื่อ นวตั กรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นรกู้ ่อนเข้า
สอน
ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
4. มีวิธกี ารนาเข้าส่บู ทเรยี นท่ีน่าสนใจ
5. มีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ
6. จดั กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ คว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง
7. นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
8. จัดกิจกรรมทเ่ี น้นกระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )
9. กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี
10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เ่ี ช่ือมโยงกบั ชีวิตจรงิ โดยนาภมู ิปัญญา/บูรณาการเข้ามา
มสี ว่ นรว่ ม
11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม
12. มีการเสรมิ แรงเม่ือนักเรยี นปฏิบัติ หรือตอบถูกต้อง
13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
14. เอาใจใส่ดูแลผูเ้ รียน อย่างท่วั ถงึ
15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด
ด้านสอ่ื นวัตกรรม แหลง่ การเรียนรู้
16. ใชส้ อ่ื ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น
17. ใชส้ ่อื แหลง่ การเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร
สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้
13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน
14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อยา่ งท่วั ถงึ
15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทีก่ าหนด
ด้านการวัดและประเมินผล
18. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังด้านความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย
20. ครู ผเู้ รยี น ผู้ปกครอง หรือ ผ้ทู เี่ กีย่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ในการประเมิน
หมายเหตุ ระดับการปฏิบตั ิ 5 = ปฏิบตั ดิ เี ยย่ี ม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม
ปฏบิ ัติพอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มกี ารปฏิบตั ิ เฉล่ีย
255
20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแก้ปญั หา
ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา
ด้านการเตรยี มการสอน
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการวัดประเมนิ ผล
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านอนื่ ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ติ โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน
............../.................................../....................
256 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่
21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม
วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
257
แผนการจดั การเรยี นรู้ แบบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี
และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
รหสั วชิ า 20105-2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยท่ี 11 ชอื่ หน่วย ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
ช่อื เรอ่ื ง ระบบไฟฟ้า 3 เฟส จานวน 6 ช่ัวโมง
1. สาระสาคญั
ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส เกิดข้ึนจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส โครงสร้างประกอบด้วย
ขดลวดกาเนิดไฟฟ้า 3 ชดุ มขี นาดเท่ากัน พันอยบู่ นอาร์เมเจอร์เดยี วกัน ขดลวดแต่ละชดุ วางทามุมแตกต่างกัน
120o โครงสรา้ งและการกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั ของเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟส
2. สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย
ดา้ นความรู้
1. อธบิ ายการกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสได้
ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. ตอ่ เครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสแบบสตาร์ได้
2. ต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟสแบบ Y เข้ากับภาระแบบ Yได้
3. ต่อเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบเดลตาได้
4. ตอ่ เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสแบบ ∆ เข้ากบั ภาระแบบ ∆ ได้
5. ชีแ้ จงการต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสเข้ากบั ภาระท่ไี มส่ มดุลได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
1. สรุประบบไฟฟ้า 3 เฟส ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
3.1 จุดประสงค์ทั่วไป
1. เพอื่ ใหม้ ีความรู้เก่ียวกับอธบิ ายการกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟส
2. เพือ่ ให้มีทกั ษะในการตอ่ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบสตาร์
3. เพอื่ ใหม้ ีเจตคตทิ ่ีดีในการชีแ้ จงการตอ่ เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสเขา้ กับภาระท่ีไมส่ มดลุ
4. เพอื่ สรุประบบไฟฟา้ 3 เฟส ได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
258
3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
1. อธบิ ายการกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสได้
2. ตอ่ เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสแบบสตาร์ได้
3. ตอ่ เครอ่ื งกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสแบบ Y เขา้ กบั ภาระแบบ Yได้
4. ตอ่ เครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสแบบเดลตาได้
5. ตอ่ เครื่องกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสแบบ ∆ เข้ากับภาระแบบ ∆ ได้
6. ชีแ้ จงการต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสเขา้ กับภาระที่ไม่สมดลุ ได้
7. สรุประบบไฟฟา้ 3 เฟส ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้
4.1 ดา้ นความรู้
1. การกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส
2. การต่อเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์
3. การต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟสแบบ Y เข้ากับภาระแบบ Y
4. การตอ่ เครื่องกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสแบบเดลตา
5. การตอ่ เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟสแบบ r เขา้ กับภาระแบบ r
6. การตอ่ เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสเข้ากับภาระที่ไม่สมดลุ
7. บทสรปุ
4.2 ดา้ นทักษะหรือปฏิบตั ิ
1. การทดลองท่ี 11 ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
2. แบบทดสอบบทที่ 11
4.3 ด้านคณุ ธรรม/จรยิ ธรรม/จรรยาบรรณ/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. ใช้เครอ่ื งมือในการทดสอบได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
259
5. กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรียนรู้
ข้ันตอนการสอนหรือกิจกรรมครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กจิ กรรมของผ้เู รียน
ขนั้ เตรยี ม(จานวน 15 นาท)ี ข้นั เตรยี ม(จานวน 15 นาที )
1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร พร้อมกับแนะนารายวิชา 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์และ ฟังครูผู้สอนแนะนา
วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง ระบบไฟฟ้า รายวิชา วิธีการให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง
3 เฟส ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงคก์ ารเรียนของบทท่ี 11 และ 2. ผู้เรียนทาความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
ขอให้ผ้เู รียนร่วมกันทากจิ กรรมการเรียนการสอน เรียนบทที่ 11 และการให้ความร่วมมือในการทา
กจิ กรรม
ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาที) ขัน้ การสอน(จานวน 180 นาที)
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทท่ี 11 1. ผู้เรียนเปิด PowerPoint บทที่ 11 ระบบไฟฟ้า
เรื่อง ระบบไฟฟ้า 3 เฟส และให้ผู้เรียนศึกษา 3 เฟส และผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน วิชา วงจรไฟฟ้า วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย
กระแสสลับ โดยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และ ตนเอง และสามารถตอบขอ้ สงสยั ระหวา่ งเรียนได้
สามารถสอบถามข้อสงสัยระหว่างเรียนจากผู้สอน 2. ผู้เรียนอธิบาย ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ศึกษาจาก
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนอธิบาย ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ได้ PowerPoint
ศึกษาจาก PowerPoint 3. ผูเ้ รียนทาแบบฝกึ หดั บทท่ี 11
3. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นทาแบบฝกึ หัดบทที่ 11 4. ผเู้ รียนสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต
4. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นสืบค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็
ขั้นสรปุ (จานวน 45 นาที) ขน้ั สรปุ (จานวน 45 นาท)ี
1. ผ้สู อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รยี นให้มี 1. ผู้เรียนร่วมกันสรุปเน้ือหาที่ได้เรียนให้มีความ
ความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เข้าใจในทิศทางเดียวกัน
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย 2. ผู้เรียนศึกษาเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย
PowerPoint ที่จดั ทาขนึ้ PowerPoint ท่จี ดั ทาข้นึ
260
6. สือ่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้
6.1 สือ่ สิง่ พิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา วงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. แบบฝกึ หัดที่ 11
6.2 สอ่ื โสตทัศน์
1. เครื่องไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เรอื่ ง ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
6.3 สอื่ ของจรงิ
1. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
7. แหลง่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้
7.1 ภายในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ
2. หอ้ งอนิ เตอร์เน็ตวทิ ยาลยั การอาชพี สวา่ งแดนดิน
7.2 ภายนอกสถานศึกษา
1. หอ้ งสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติอาเภอสวา่ งแดนดิน
2. ห้องสมดุ ประชาชนเฉลมิ ราชกมุ ารีอาเภอสว่างแดนดิน
8. งานทีม่ อบหมาย
8.1 ก่อนเรยี น
1. ผู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
8.2 ขณะเรียน
1. ศึกษาเน้ือหา ในบทท่ี 11 เรือ่ ง ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
2. รายงานผลหน้าชั้นเรียน
3. ปฏบิ ัติใบปฏิบตั ิงานท่ี 11 เร่อื ง ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
4. สรุปผลการทดลอง
8.3 หลังเรียน
1. ทาแบบฝกึ หัดบทท่ี 11
9. ผลงาน/ชิน้ งาน ทีเ่ กดิ จากการเรยี นรขู้ องผู้เรียน
1. แบบฝกึ หดั บทท่ี 11 ใบปฏบิ ตั ิงานท่ี 11
2. ตรวจผลงาน
261
10. เอกสารอ้างองิ
1. พันธ์ศกั ดิ์ พุฒิมานติ พงศ.์ วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั . : ศนู ย์ส่งเสริมอาชวี ะ (ศสอ)
11. การบูรณาการ/ความสมั พันธ์กับรายวชิ าอนื่
1. บูรณาการกับวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง
2. บรู ณาการกับวิชาไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์
3. บรู ณาการกับวิชาไฟฟา้ เบ้ืองตน้
12. หลกั การประเมินผลการเรียน
12.1 กอ่ นเรียน
1. ความร้เู บือ้ งตน้ ก่อนการเรียนการสอน
12.2 ขณะเรียน
1. สงั เกตการทางาน
12.3 หลังเรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 11
2. ตรวจใบงานท่ี 11
13. รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียน
จุดประสงคข์ ้อท่ี 1 อธิบายการกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถอธิบายการกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสได้
4. เกณฑ์การผา่ น : อธบิ ายการกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ท่ี 2 ตอ่ เคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบสตาร์ได้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถตอ่ เคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์ได้
4. เกณฑ์การผา่ น : ต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์ได้ จะได้ 1 คะแนน
จดุ ประสงค์ข้อท่ี 3 ต่อเครือ่ งกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสแบบ Y เข้ากบั ภาระแบบ Yได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมิน : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถตอ่ เครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสแบบ Y เข้ากบั ภาระแบบ Yได้
4. เกณฑ์การผา่ น : ตอ่ เครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสแบบ Y เขา้ กบั ภาระแบบ Yได้ จะได้ 1 คะแนน
262
จดุ ประสงคข์ ้อที่ 4 ต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบเดลตาได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสแบบเดลตาได้
4. เกณฑ์การผา่ น : ต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสแบบเดลตาได้ จะได้ 1 คะแนน
จุดประสงค์ขอ้ ที่ 5 ตอ่ เคร่อื งกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสแบบ ∆ เข้ากบั ภาระแบบ ∆ ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถตอ่ เครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสแบบ ∆ เขา้ กบั ภาระแบบ ∆ ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : ต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสแบบ ∆ เข้ากบั ภาระแบบ ∆ ได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 6 ช้แี จงการตอ่ เครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสเขา้ กับภาระทีไ่ มส่ มดลุ ได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมิน : สามารถชีแ้ จงการต่อเครื่องกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสเขา้ กบั ภาระทีไ่ ม่สมดลุ ได้
4. เกณฑ์การผ่าน : ชแี้ จงการต่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสเข้ากบั ภาระท่ไี ม่สมดุลได้ จะได้ 2 คะแนน
จุดประสงคข์ อ้ ที่ 7 สรปุ ระบบไฟฟา้ 3 เฟส ได้อย่างถูกต้อง
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองการประเมนิ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การประเมนิ : สามารถสรปุ ระบบไฟฟา้ 3 เฟส ได้อยา่ งถูกต้อง
4. เกณฑ์การผา่ น : สรุประบบไฟฟา้ 3 เฟส ได้อย่างถูกต้อง จะได้ 2 คะแนน
14. แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยการสอนที่ 11 ช่ือหน่วยการสอน ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือ ประเมินความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขยี นเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงในข้อทถี่ ูกต้องท่ีสดุ
263
264
ตอนท่2ี อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ข้อ1 ข้อ2 ข้อ 3 ข้อ 4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ 7 ขอ้ 8 ข้อ 9 ข้อ 10
ง. ข. ค. ข. ก. ก. ค. ง. ข. ค.
265
15. แบบทดสอบหลงั เรียน
หน่วยการสอนท่ี 11 ช่อื หน่วยการสอน ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
วตั ถุประสงค์ เพือ่ ประเมินความรพู้ นื้ ฐานเก่ยี วกับระบบไฟฟ้า 3 เฟส
ขอ้ คาถาม
ตอนที่ 1 เขยี นเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงในขอ้ ทถ่ี ูกตอ้ งที่สุด
266
ตอนท่ี2 อธิบายใหไ้ ด้ใจความสมบูรณแ์ ละแสดงวิธที าให้สมบรู ณถ์ กู ต้อง
267
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น
ข้อ1 ข้อ2 ขอ้ 3 ขอ้ 4 ข้อ 5 ข้อ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10
ง. ข. ค. ข. ก. ก. ค. ง. ข. ค.
16. ใบความรู้ท่ี 11
หน่วยการสอนท่ี 11 ชื่อหน่วยการสอน ระบบไฟฟ้า 3 เฟส
หัวข้อเรอ่ื ง ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
11.1 การกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส
ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส เกิดข้ึนจากเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส โครงสร้างประกอบด้วย
ขดลวดกาเนิดไฟฟา้ 3 ชุด มขี นาดเท่ากัน พันอยบู่ นอารเ์ มเจอรเ์ ดียวกัน ขดลวดแตล่ ะชดุ วางทามุมแตกต่างกัน
120o โครงสรา้ งและการกาเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั ของเครื่องกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟส
268
จากรูปท่ี 11.1 แสดงโครงสร้างและการกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า3 เฟส รูปท่ี
11.1 (ก) เป็นโครงสร้างเบือ้ งต้นของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับชนิด 3 เฟสขดลวดกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
แบ่งเป็น 3 ชุด คือ ชุด A, B และ C แต่ละชุดวางทามุมแตกต่างกัน 120o เมื่อขดลวดตัดผ่านสนามแม่เหล็ก
ขดลวดจะให้กาเนิดแรงดันไฟสลับข้ึนมา แต่ละขดให้กาเนิดแรงดันไฟสลับมีเฟสสัญญาณแตกต่างกันเป็นมุม
120o เรียงตามลาดับ เช่น ขดลวดชุด A ให้กาเนิดแรงดันไฟสลับที่มุมเฟส 0o ขดลวดชุด B จะให้กาเนิด
แรงดันไฟสลับที่มุมเฟส
11.2 การต่อเคร่อื งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์
การต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบสตาร์ (Star Connected Generator)หรือเรียกว่า
ต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบวาย (Y Connected Generator) เป็นการต่อโดยนาปลายด้าน
หน่ึงของขดลวดตัวนาท้ัง 3 ชุดเข้าดว้ ยกนั เรยี กจุดรวมนี้วา่ จุดนวิ ทรัล(Neutral : N) ปลายขดลวดตวั นาทเ่ี หลือ
แต่ละชุดต่อออกมาเป็นขั้วจ่ายแรงดันออก สามารถต่อออกใช้งานได้ 2 แบบ คือ แบบ 3 เฟส 3 สาย (Three
Phase Three Wire) และแบบ 3 เฟส4 สาย (Three Phase Four Wire) การต่อวงจรเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กระแสสลบั 3 เฟสแบบ Y
11.3 การต่อเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟสแบบ Y เข้ากับภาระแบบ Y
การต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสแบบ Y เข้ากับภาระแบบ Y หรือเรียกว่าการต่อแบบY - Y (Y - Y
Connection)
11.4 การต่อเคร่อื งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบเดลตา
การต่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟสแบบเดลตา (Delta Connected Generator)เป็นการ
ต่อโดยนาปลายขดลวดขดหน่ึงต่อเข้าต้นขดลวดอีกขดหน่ึง ต่อขดลวดเป็นลาดบั กันไปจนครบขดลวดท้ัง 3 ชุด
จุดต่อขดลวดแตล่ ะชุดตอ่ เปน็ จดุ จ่ายออก การต่อวงจรเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบเดลตา (r)
11.5 การตอ่ เคร่อื งกาเนิดไฟฟา้ 3 เฟสแบบ r เขา้ กบั ภาระแบบ r
การต่อเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสแบบ r เข้ากับภาระแบบ r หรือเรียกว่าการต่อแบบr - r (r - r
Connection)
269
11.6 การต่อเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสเข้ากบั ภาระที่ไมส่ มดุล
11.7 บทสรุป
270
271
272
273
274
275
276
18. แบบประเมินผล
แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง............................
รายช่ือสมาชกิ
1……………………………………เลขท…ี่ …. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขท…่ี …. 4……………………………………เลขท…่ี ….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความร้เู กย่ี วกับเนอื้ หา ความถกู ต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า)
2 รปู แบบการนาเสนอ
3 การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่
4 บุคลิกลักษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้าเสียง ซ่ึงทาให้ผู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผู้ประเมนิ …………………………………………………
เกณฑ์การให้คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจนถูกต้อง
3 คะแนน = มสี าระสาคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคัญไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคัญไม่ถูกต้อง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอทเี่ หมาะสม มีการใช้เทคนคิ ท่ีแปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยี
ประกอบการ นาเสนอทีน่ ่าสนใจ นาวัสดุในท้องถ่ินมาประยุกต์ใชอ้ ย่างคุ้มค่าและ
ประหยัด
2 คะแนน = มีเทคนคิ การนาเสนอที่แปลกใหม่ ใช้สื่อและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี า่ สนใจ
แต่ขาดการประยุกตใ์ ช้ วสั ดใุ นทอ้ งถิ่น
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุม่
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลุม่
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มบี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผู้ฟัง
3 คะแนน = ผฟู้ งั มากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื
2 คะแนน = ผู้ฟงั รอ้ ยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื
1 คะแนน = ผฟู้ งั นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื
277
แบบประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
ชอ่ื กลุ่ม……………………………………………ช้ัน………………………ห้อง............................
รายช่อื สมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท…ี่ ….
ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเห็น
321
1 การกาหนดเป้าหมายรว่ มกนั
2 การแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรยี มความ
พร้อม
3 การปฏบิ ัติหนา้ ทที่ ี่ไดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
รวม
ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วันที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกาหนดเป้าหมายรว่ มกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอย่างชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ สี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชกิ สว่ นนอ้ ยมีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
2. การหน้าทีร่ ับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ั่วถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี ม
สถานท่ี ส่ือ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรยี ง
2 คะแนน = กระจายงานได้ท่ัวถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ื่อ/อปุ กรณ์ไวอ้ ย่างพร้อมเพรยี ง
แต่ขาดการจัดเตรยี มสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ่ัวถึงและมีส่ือ / อุปกรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีที่ไดร้ บั มอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเรจ็ ตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แต่ช้ากว่าเวลาทก่ี าหนด
1 คะแนน = ทางานไม่สาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรงุ งานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชกิ บางสว่ นมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไม่ปรับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ่วนรว่ มไม่มสี ่วนร่วมปรึกษาหารอื และปรับปรุงงาน
278
19. แบบฝึกหดั
แบบฝึกหัดท้ายหน่วยท่ี 11
ระบบไฟฟา้ 3 เฟส
คาสั่ง อธิบายให้ไดใ้ จความสมบรู ณแ์ ละแสดงวธิ ที าให้ถกู ตอ้ งสมบูรณ์
279
20. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นร้แู บบมุง่ เน้นสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
20.1 สรุปผลการจัดการเรยี นรู้
รายการ ระดับการปฏิบตั ิ
54321
ดา้ นการเตรียมการสอน
1.จัดหนว่ ยการเรียนรูไ้ ดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
2. กาหนดเกณฑก์ ารประเมนิ ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านจิตพิสยั
3. เตรียมวสั ดุ-อปุ กรณ์ สื่อ นวตั กรรม กิจกรรมตามแผนการจัดการเรยี นรกู้ ่อนเข้า
สอน
ดา้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
4. มีวิธกี ารนาเข้าส่บู ทเรยี นท่ีน่าสนใจ
5. มีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ ความเขา้ ใจ
6. จดั กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ คว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง
7. นกั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
8. จัดกิจกรรมทเ่ี น้นกระบวนการคดิ ( คิดวเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ )
9. กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ อย่างเสรี
10. จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เ่ี ช่ือมโยงกบั ชีวิตจรงิ โดยนาภมู ิปัญญา/บูรณาการเข้ามา
มสี ว่ นรว่ ม
11. จดั กจิ กรรมโดยสอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม
12. มีการเสรมิ แรงเม่ือนักเรยี นปฏิบัติ หรือตอบถูกต้อง
13. มอบหมายงานให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
14. เอาใจใส่ดูแลผูเ้ รียน อย่างท่วั ถงึ
15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทก่ี าหนด
ด้านสอ่ื นวัตกรรม แหลง่ การเรียนรู้
16. ใชส้ อ่ื ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผ้เู รยี น
17. ใชส้ ่อื แหลง่ การเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย เชน่ บคุ คล สถานท่ี ของจริง เอกสาร
สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ และอินเทอรเ์ นต็ เป็นตน้
13. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผูเ้ รียน
14. เอาใจใสด่ แู ลผเู้ รยี น อยา่ งท่วั ถงึ
15. ใช้เวลาสอนเหมาะสมกับเวลาทีก่ าหนด
ด้านการวัดและประเมินผล
18. ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกาหนดเกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
19. ประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลายและครบท้ังด้านความรู้ ทักษะ และจิตพิสัย
20. ครู ผเู้ รยี น ผู้ปกครอง หรือ ผ้ทู เี่ กีย่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ในการประเมิน
หมายเหตุ ระดับการปฏิบตั ิ 5 = ปฏิบตั ดิ เี ยย่ี ม 4 = ปฏิบัตดิ ี 3 = รวม
ปฏบิ ัติพอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ไม่มกี ารปฏิบตั ิ เฉล่ีย
280
20.2 ปญั หาที่พบ และแนวทางแก้ปญั หา
ปญั หาที่พบ แนวทางแกป้ ญั หา
ด้านการเตรยี มการสอน
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ดา้ นสอื่ นวัตกรรม แหล่งการเรยี นรู้
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านการวัดประเมนิ ผล
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ด้านอนื่ ๆ (โปรดระบุเปน็ ขอ้ ๆ)
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
.................................................................................. ..................................................................................
ลงช่ือ ........................................................................ ครผู สู้ อน
(นายวชิ ติ โม้เปาะ)
ตาแหน่ง ครูพเิ ศษสอน
............../.................................../....................
281 ช่อื -สกุล ผ้นู เิ ทศ ตาแหนง่
21. บันทึกการนเิ ทศและติดตาม
วัน-เดือน-ปี เวลา รายการนเิ ทศและติดตาม
1
แผนการสอน/การจัดการเรยี นรู้แบบมงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี
และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รหสั วิชา 20105–2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562
ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม
จัดทาโดย
นายวชิ ติ โม้เปาะ
ตาแหนง่ ครูพิเศษสอน
แผนกวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
ฝา่ ยวิชาการ วิทยาลยั เทคนคิ สวา่ งแดนดิน
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2
แบบคาขออนมุ ัติใช้แผนการสอน/การจดั การเรยี นรู้แบบม่งุ เน้นสมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
รหสั วิชา 20105-2003 วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี
ผจู้ ดั ทา
ลงชื่อ..............................................
(นายวิชิต โมเ้ ปาะ)
ตาแหนง่ ครูพเิ ศษสอน
ผู้ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้
ลงช่ือ.............................................. ลงช่อื ..............................................
(นายสาโรช กลา่ มอญ) (นายคมุ ดวง พรมอนิ ทร์)
หัวหน้างานพัฒนาหลกั สตู รฯ
หวั หน้าแผนกวชิ าชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์
ความเห็นรองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ
..........................................................................................
ลงชอื่ ..............................................
(นายทนิ กร พรหมอนิ ทร)์
รองผู้อานวยการฝา่ ยวิชาการ
ความเหน็ ผอู้ านวยการวทิ ยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดิน
อนุมัติ ไม่อนุมัติ เพราะ....................................
ลงช่ือ..............................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )
ผอู้ านวยการวิทยาลยั เทคนิคสวา่ งแดนดิน
ก
คานา
แผนการสอนวิชา “วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ” รหัสวิชา 20104 – 2003,20105-2003 จัดทาขึ้นเพื่อใช้
เปน็ แนวทางในการจดั การเรียนการสอน วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั ตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.)
พุทธศักราช 2562 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดการเรียนการสอนท้ังหมด 18 สัปดาห์
สัปดาห์ละ 4 ช่ัวโมง เน้ือหาภายในแบ่งออกเป็น 11 บท ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
กระแสสลับ รูปคล่ืนไซน์ เวกเตอร์และเฟสเซอร์ จานวนเชิงซ้อน RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ การติดต่อวงจร
RLC แต่ละแบบ วงจรอนุกรม RLC วงจรขนานและวงจรผสม RLC วงจรเรโซแนน แฟกเตอร์กาลัง ระบบไฟฟ้า 3
เฟส ใบปฏบิ ตั งิ านและใบงาน เปน็ ต้น
สาหรับแผนการสอนรายวิชานี้ ผู้จัดทาได้ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
แบบพอเพียง
ท้ายที่สุดน้ี ผู้จัดทาขอขอบคุณผูท้ ่ีสรา้ งแหล่งความรู้ และผ้ทู ี่มีสว่ นเกี่ยวข้องตา่ ง ๆ ซึ่งเปน็ ส่วนสาคัญท่ีทา
ให้แผนการสอนวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เล่มน้ีเสร็จสมบูรณ์เป็นท่ีเรียบร้อย และหากผู้ใช้พบข้อบกพร่องหรือ
มขี อ้ เสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจง้ ผจู้ ดั ทาทราบดว้ ย จกั ขอบคณุ ย่ิง
นายวิชติ โม้เปาะ
ผูจ้ ัดทา
ข
สารบัญ
คานา หนา้
สารบญั
ลักษณะรายวชิ า ก
ตารางวเิ คราะห์สมรรถนะการเรยี นรู้ ข
ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร ค
โครงการสอนหรือโครงการจัดการเรียนรู้ ง
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ญ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 ฎ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 30
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 5 55
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 76
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 101
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 8 122
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 145
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 10 167
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 11 207
232
257
ค
ลกั ษณะรายวิชา
รหสั วิชา 20105 – 2003 ชอื่ วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
จานวนหน่วยกติ 2 หนว่ ยกิต จานวนชั่วโมงตอ่ สัปดาห์ 4 ชั่วโมง รวม 72 ชว่ั โมงต่อภาคเรยี น
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า
1. เข้าใจกฎและทฤษฎีวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
2. มที ักษะเก่ยี วกับการตอ่ การวัด ประลอง และคานวณหาค่าต่าง ๆ ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลับ
3. มีเจตคติและกจิ นิสัยท่ดี ีในการปฏิบัติงาน มคี วามระเอียดรอบคอบ ปลอดภยั เป็นระเบียบ สะอาด
ตรงต่อเวลา มีความซื่อสตั ย์และมีความรับผดิ ชอบ
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เก่ยี วกับการหาค่าต่าง ๆ ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
2. ปฏิบัติการตอ่ วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
3. ทดสอบคา่ ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั วจิ ารณแ์ ละสรปุ รายงานผลการทดลอง
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติ หลักการเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ การคานวณ วัดค่า Peak Average RMS ของ
รูปคล่ืนไซน์ สามเหล่ียม ส่ีเหลี่ยม เฟสเซอร์ ไดอะแกรม การคานวณปริมาณเชิงซ้อน งานต่อวงจร R-L-C
แบบอนุกรม ขนาน และแบบผสม วงจรรีโซแนนซ์ แบบอนุกรม แบบขนาน กาลังไฟฟ้า และตัวประกอบ
กาลังกระแสสลับ 2 เฟส 3 เฟส การต่อสตารเ์ ดลตา เฟสเซอร์ไดอะแกรม วงจรไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส ใน
สภาวะโหลดสมดุลและไมส่ มดลุ
ง
ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้
รหสั วชิ า 20105 – 2003 ชือ่ วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
จานวนหนว่ ยกิต 2 หน่วยกิต จานวนชว่ั โมงต่อสัปดาห์ 4 ชว่ั โมง รวม 72 ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรยี น
หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้
หน่วยการสอนท่ี 1 ด้านความรู้
ชอ่ื หน่วยการสอน แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลับ 1. อธิบายการกาเนิดแรงดนั ไฟฟ้าเหนี่ยวนาได้
2. บอกการกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้
ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
1. ผลติ พลังงานไฟฟา้ ในประเทศไทยได้
2. แยกแยะโรงไฟฟา้ ประเภทตา่ ง ๆ ได้
3. จาแนกองค์ประกอบของระบบไฟฟ้าได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ
ประสงค์และบรู ณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. สรุปแหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
และเหมาะสม
หน่วยการสอนที่ 2 ดา้ นความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน รปู คล่ืนไซน์ 1. อธิบายค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าของคลื่น
ไซนไ์ ด้
ด้านทกั ษะและการประยกุ ตใ์ ช้
1. หาคา่ ตา่ ง ๆ ของคลน่ื ไซน์ได้
2. ทดลองหาค่าเฉลย่ี คล่ืนไซนไ์ ด้
3. ฝกึ หาค่าอารเ์ อ็มเอสคลนื่ ไซน์ได้
4. ช้แี จงลักษณะของฟอร์มแฟกเตอร์ได้
ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะท่ีพึง
ประสงคแ์ ละบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. สรปุ รปู คลน่ื ไซน์ ได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
จ
ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้
รหัสวชิ า 20105 – 2003 ชอ่ื วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
จานวนหน่วยกิต 2 หนว่ ยกติ จานวนช่วั โมงต่อสปั ดาห์ 4 ช่ัวโมง รวม 72 ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น
หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้
หน่วยการสอนท่ี 3 ด้านความรู้
ชอื่ หน่วยการสอน เวกเตอร์และเฟสเซอร์ 1. บอกลกั ษณะโครงสรา้ งของเวกเตอร์ได้
2. อธบิ ายความแตกตา่ งของเฟสสัญญาณได้
ด้านทักษะและการประยกุ ต์ใช้
1. เขียนเฟสเซอร์ได้
2. จาแนกความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู คลื่นไซน์และ
รปู คล่ืนโคไซน์ได้
ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะที่พึง
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. สรุปเวกเตอร์ และเฟสเซอร์ ไดอ้ ย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
หนว่ ยการสอนที่ 4 ด้านความรู้
ช่อื หน่วยการสอน จานวนเชิงซ้อน 1. อธิบายลกั ษณะเลขจานวนจรงิ ได้
2. บอกลกั ษณะเลขจานวนจินตภาพได้
3. อธิบายลกั ษณะเลขจานวนเชงิ ซ้อนได้
ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้
1. แยกแยะแตล่ ะรปู แบบจานวนเชงิ ซ้อนได้
2. บวกและลบจานวนเชิงซอ้ นได้
3. คูณจานวนเชิงซ้อนได้
4. หารจานวนเชงิ ซ้อนได้
5. ช้แี จงการใชง้ านจานวนเชงิ ซอ้ นในวงจรไฟฟ้า
กระแสสลบั ได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลกั ษณะท่ีพึง
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
1. สรุป จานวนเชงิ ซอ้ น ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม
ฉ
ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้
รหัสวชิ า 20105 – 2003 ชอ่ื วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
จานวนหนว่ ยกิต 2 หน่วยกิต จานวนชั่วโมงต่อสปั ดาห์ 4 ชั่วโมง รวม 72 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรยี น
หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้
หน่วยการสอนท่ี 5 ด้านความรู้
ช่ือหน่วยการสอน RLC ในวงจรไฟฟ้า 1. บอกคุณลกั ษณะตัวต้านทานในวงจรไฟฟา้
กระแสสลบั กระแสสลบั ได้
ดา้ นทกั ษะและการประยุกต์ใช้
1. เขียนสมการตัวเหน่ียวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
ได้
2. คานวณหาค่าต่าง ๆ ของตัวเกบ็ ประจุในวงจรไฟฟ้า
กระแสสลบั ได้
ด้านคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลักษณะที่พงึ
ประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. สรปุ RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
เหมาะสม
หน่วยการสอนที่ 6 ด้านความรู้
ชอ่ื หน่วยการสอน การต่อวงจร RLC แต่ละ 1. อธิบายตวั ต้านทานต่ออนุกรมได้
แบบ 2. บอกตัวต้านทานต่อขนานได้
ด้านทักษะและประยุกต์ใช้
1. คานวณหาค่าตา่ ง ๆ ของตัวเหนยี่ วนาตอ่ อนกุ รมได้
2. เขียนวงจรตวั เหน่ยี วนาต่อขนานได้
3. หาคา่ ตวั เกบ็ ประจตุ ่ออนกุ รมได้
4. แสดงวธิ ีคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของตัวเก็บประจุต่อ
ขนานได้
ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะที่พงึ
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. สรปุ การต่อวงจร RLC แตล่ ะแบบ ได้อยา่ งถกู ต้อง
เหมาะสม
ช
ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้
รหัสวชิ า 20105 – 2003 ช่ือวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
จานวนหน่วยกิต 2 หนว่ ยกติ จานวนช่ัวโมงต่อสัปดาห์ 4 ชวั่ โมง รวม 72 ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรยี น
หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรยี นรู้
หนว่ ยการสอนที่ 7 ดา้ นความรู้
ชื่อหน่วยการสอน วงจรอนุกรม RLC 1. อธิบายวงจรอนุกรม RL ได้
2. บอกคุณสมบตั วิ งจรอนุกรม RC ได้
ดา้ นทกั ษะและการประยุกตใ์ ช้
1. แสดงวิธกี ารคานวณหาคา่ ต่าง ๆ ของวงจรอนกุ รม
RLC ได้
2. ชแ้ี จงวงจรอมิ พแี ดนซ์อนุกรมได้
ด้านคุณธรรม/ จริยธรรม/ และคุณลกั ษณะท่ีพงึ
ประสงค์และบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. สรปุ วงจรอนุกรม RLC ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
หน่วยการสอนที่ 8 ดา้ นความรู้
ช่ือหน่วยการสอน วงจรขนานและวงจรผสม RLC 1. อธบิ ายวงจรขนาน RL ได้
2. บอกคุณสมบัติวงจรขนาน RC ได้
ดา้ นทกั ษะและประยกุ ต์ใช้
1. เขียนวงจรขนาน RLC ได้
2. คานวณหาคา่ วงจรอิมพแี ดนซข์ นาน
3. ช้ีแจงวงจรอมิ พแี ดนซผ์ สมได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลกั ษณะที่พงึ
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
1. สรุปวงจรขนานและวงจรผสม RLC ได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
ซ
ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะการเรียนรู้
รหสั วิชา 20105 – 2003 ช่อื วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
จานวนหน่วยกติ 2 หน่วยกติ จานวนชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ 4 ช่ัวโมง รวม 72 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
หนว่ ยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้
หนว่ ยการสอนที่ 9 ด้านความรู้
ช่อื หน่วยการสอน วงจรเรโซแนนซ์ 1. อธบิ ายสภาวะเรโซแนนซ์ของวงจร RLCได้
2. บอกวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนกุ รมได้
ด้านทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้
1. หาคา่ L และ C ใช้ในวงจรเรโซแนนซแ์ บบอนุกรม
ได้
2. ประกอบคณุ ภาพของวงจรเรโซแนนซเ์ ปน็ แบบ
อนุกรมได้
3. คานวณหาค่าแบนด์วดิ ท์ในวงจรเรโซแนนซ์แบบ
อนกุ รมได้
4. คานวณวงจรเรโซแนนซ์แบบอนุกรมได้
5. หาคา่ L และ C ใชใ้ นวงจรเรโซแนนซแ์ บบขนานได้
6. ชีแ้ จงตัวประกอบคณุ ภาพและแบนด์วดิ ท์ใน
วงจรเรโซแนนซแ์ บบขนาน
ด้านคณุ ธรรม/ จริยธรรม/ และคณุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์และบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
1. สรุปวงจรเรโซแนนซ์ ให้ถูกตอ้ งเหมาะสม
หนว่ ยการสอนที่ 10 ด้านความรู้
ชื่อหน่วยการสอน แฟกเตอร์กาลัง 1. อธิบายกาลงั ไฟฟา้ กระแสสลบั ได้
ดา้ นทกั ษะและประยุกตใ์ ช้
1. เขียนสมการของแฟกเตอร์กาลงั ได้
2. คานวณหาแฟกเตอรก์ าลงั ได้
3. ชแี้ จงการแกแ้ ฟกเตอร์กาลังได้
ดา้ นคุณธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคณุ ลักษณะท่ีพงึ
ประสงค์และบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
1. สรปุ แฟกเตอรก์ าลงั ไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
ฌ
ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะการเรยี นรู้
รหสั วชิ า 20105 – 2003 ชอ่ื วชิ า วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั
จานวนหนว่ ยกติ 2 หน่วยกติ จานวนชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ 4 ช่ัวโมง รวม 72 ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรียน
หน่วยการสอน สมรรถนะการเรียนรู้
หนว่ ยการสอนท่ี 11 ด้านความรู้
ชื่อหน่วยการสอน ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 1. อธิบายการกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสได้
ด้านทักษะและการประยุกตใ์ ช้
1. ตอ่ เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟสแบบ
สตาร์ได้
2. ตอ่ เครื่องกาเนดิ ไฟฟา้ 3 เฟสแบบ Y เขา้ กบั ภาระ
แบบ Yได้
3. ต่อเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้ากระแสสลบั 3 เฟสแบบเดล
ตาได้
4. ตอ่ เคร่อื งกาเนดิ ไฟฟ้า 3 เฟสแบบ ∆ เขา้ กบั ภาระ
แบบ ∆ ได้
5. ชี้แจงการต่อเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 3 เฟสเข้ากบั ภาระ
ทีไ่ มส่ มดุลได้
ดา้ นคณุ ธรรม/ จรยิ ธรรม/ และคุณลักษณะท่ีพงึ
ประสงคแ์ ละบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
1. สรุประบบไฟฟ้า 3 เฟส ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
ญ
ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร
รหัสวชิ า 20105-2003 วชิ า วงจรพไั ฟฟ้ากระแสสลับ จานวน 2 หนว่ ยกิต
ช้ัน ปวช.1 สาขาวชิ า ชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ หอ้ ง 5
พฤติกรรม สมรรถนะการเรยี นรูท้ ่ีพงึ ประสงค์
ช่ือหน่วย ความรู้-จา
1.แหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลบั ความเ ้ขาใจ
2.รูปคลน่ื ไซน์ การนาไปใ ้ช
3.เวกเตอรแ์ ละเฟสเซอร์ การ ิวเคราะ ์ห
4.จานวนเชงิ ซอ้ น การ ัสงเคราะห์
5.RLC ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั การประเ ิมนค่า
6.การตอ่ วงจร RLC แตล่ ะแบบ ทักษะ ิพ ัสย
7.วงอนกุ รม RLC ิจต ิพ ัสย
8.วงจรขนานและวงจรผสม RLC รวม
9.วงจรเรโซแนนซ์ จานวนคาบ
10.แฟกเตอร์และกาลัง
11.ระบบไฟฟา้ 3 เฟส 0.5 1 2 1 1 - 2 0.5 8 4
รวม 1 2 3 - - - 3 1 10 4
ลาดบั ความสาคัญ 1 2 1.5 2 - - 3 0.5 10 4
1.5 1 1 1 2 - 3 0.5 10 4
1 1.5 - 1 2 - 3 0.5 9 6
1 1.5 1 1 1 - 3 0.5 9 8
3 3 - - - - 3 1 10 8
1 1.5 1 1 - - 3 0.5 8 8
1111- -31 8 8
- 211- -31 8 8
2 6 - - - - 2 1 10 8
11 30. 8.5 40 10 100 72
5
325 14
ฎ
โครงการสอนหรือโครงการจดั การเรียนร้แู บบมงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี
และบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
รหสั 20105-2003 วิชา วงจรไฟฟ้ากระแสสลบั หนว่ ยกิต 2 หน่วยกิต
ระดับชัน้ ปวช. สาขาวชิ า ชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์
หน่วยท่ี สัปดาหท์ ี่ ชื่อหน่วยการสอน/รายการสอน จานวนช่ัวโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1 1 แหลง่ กาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 13
2 2 รปู คลื่นไซน์ 13
3 3 เวกเตอร์และเฟสเซอร์ 13
4 4 จานวนเชิงซอ้ น 13
5 5 RLC ในวงจรไฟฟา้ กระแสสลบั 13
6 6-7 การต่อวงจร RLC แต่ละแบบ 26
7 8-9 วงอนุกรม RLC 26
8 10-11 วงจรขนานและวงจรผสม RLC 26
9 12-13 วงจรเรโซแนนซ์ 26
10 14-15 แฟกเตอร์และกาลัง 26
11 16-17 ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 26
18 วัดและประเมินผลปลายภาคเรียน 13
รวม 18 54
รวมท้ังสิน้ 72