กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 1
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 1 กลยุทธ์การพัฒนา... นวตักรรมการบร ิ หารสถานศึ กษา ลขิสทิธเิ์ป็นของผเู้ขยีน รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ ที่อยู่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อีเมล์ rungchatchadaporn @tsu.ac.th โทรศัพท์ 074-317-600 ต่อ 3121 โทรศัพท์มือถือ 089-8333022 โทรสาร 074-317-682 เทมการพิมพ์ ที่อยู่ 24 ซอย 4 ราษฎร์อุทิศ 1 ต าบลบ่อยาง อ.เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ 074-312-329 จ านวนหน้า 245 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 จ านวน 500 เล่ม ปีที่พิมพ์ 18 กรกฎาคม 2565 ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส านักหอสมุดแห่งชาติ รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ กลยุทธ์การพัฒนา..นวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา. สงขลา. --สงขลา : คณะศึกษาศตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2565. 1. นวัตกรรม 2. การบริหารสถานศึกษา 371.2 ISBN 978-616-593-601-9 ISBN (e-book) 978-616-593-600-2
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 2 ค าน า หนังสือ กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา เล่มนี้ เรียบเรียงเขียนขึ้น เพื่อใช้ในการเรียนรู้ รายวิชา ภาวะผู้น ายุคดิจิทัล ระดับปริญญาตรี วิชาทฤษฎีการบริหารการศึกษา ระดับปริญญาโทและวิชาทฤษฎีและการประยุกต์ทางการบริหารการศึกษา ระดับปริญญาเอก เพื่อเป็นแนวทางในการคิดค้นนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา หนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้น า ประสบการณ์การท าวิจัย และของนิสิตในที่ปรึกษาได้ลงพื้นที่ในการวิจัยแล้วน า ซึ่งหนังสือเล่มนี้ เน้นผลลัพธ์หรือนวัตกรรมที่ได้มาสู่ ”นวัตกรรมที่เกิดขึ้นมาใช้ประโยชน์” โดยน ามาสังเคราะห์ถอด บทเรียนมาสู่การเขียนหนังสือ เพื่อใช้ประกอบการเรียนระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ซึ่งผู้เรียน มีทั้งผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน โดยน าการปฏิบัติงานในสถานศึกษา เพื่อน าทฤษฎีสู่การปฏิบัติ ซึ่งผู้เขียนได้สอดแทรกความคิดเห็น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ บริบทการ บริหารสถานศึกษาในพื้นที่ที่มีความหลากหลายตามบริบทสังคมพหุวัฒนาธรรม สถานการณ์ไวรัส โคโรน่า COVID-19 ส่งผลกระทบต่อการศึกษาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างผกผัน การจัดการ เรียนการสอนจะต้องใช้เทคโนโลยีวิธีการใหม่ที่น ามาใช้ก็คือ “นวัตกรรม” เป็นวิธีการใหม่ที่ผลิต คิดค้น และทดลองใช้ในบริบทพื้นที่และได้ผลดี พร้อมที่จะจัดการองค์ความรู้(Knowlage Management) ที่เกิดจาก “นวัตกร” ซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องสามารถสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ ในการ บริหารสถานศึกษา ส่วน “นวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา” เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการประดิษฐ์คิดค้น และน ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้วเกิดผล ท าให้มีพลังขับเคลื่อนการพัฒนาสร้างเครือข่ายทางการ บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ท้ายนี้ผู้เขียนขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ความกรุณาตรวจคุณภาพหนังสือและให้ ข้อเสนอแนะที่มีคุณค่ายิ่ง และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยที่มีนโยบายในการเป็นมหาวิทยาลัย นวัตกรรมของสังคม เพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสร้างแรงบาลใจให้ผู้เขียนได้สร้างสรรค์ ชิ้นงานที่เกิดจากการวิจัยที่ได้จากแหล่งทุนที่ได้รับแล้วน ามาถอดบทเรียนและได้คืนสู่สถานศึกษา และให้นิสิต นักศึกษา นักวิชาการทางการศึกษา น าไปใช้เป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ประดิษฐ์ คิดค้นนวัตกรรมทางการศึกษาให้พัฒนายิ่งขึ้นต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร.ร่งุชชัดาพรเวหะชาติ กรกฎาคม 2565
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 3 สารบัญ เรื่อง หน้า บทน า กลยุทธ์การพัฒนาการบริหารสถานศึกษา……………………………….. 7 บทที่ 1 การบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา…………………………………….… 29 1.1 ความหมายของนวัตกรรม 30 1.2 ความหมายของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (Education Sandbox)……… 31 1.3 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาน าร่อง………………………………………….. 32 1.4 ประโยชน์ของพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562……. 38 1.5 ประเภทของหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรม……… 38 สรุปท้ายบท……………………………………………………………………. 46 เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………. 47 บทที่ 2 การบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่เกาะ………………………………………. 48 2.1 การบริหารโรงเรียนพื้นที่เกาะ…………………………………………….. 49 2.2 การบริหารสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)……………… 54 2.3 การบริหารสภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)…………… 55 สรุปท้ายบท……………………………………………………………………. 74 เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………. 75 บทที่ 3 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดน………………………….……… 76 3.1 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคเหนือ……………………… 78 3.2 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคตะวันตก………………….. 85 3.3 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ…….. 89 3.4 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคใต้…………………………. 91 สรุปท้ายบท……………………………………………………………………. 98 เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………. 99
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 4 สารบัญ(ต ่ อ) หน้า บทที่ 4 การบริหารสถานศึกษาแบบองคร์วม (Holistic)………….……………….. 101 4.1 ความส าคัญของแนวคิดแบบองค์รวม…………………………………….. 101 4.2 การศึกษาแบบองค์รวม………………………………………………….… 103 4.3 แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบองค์รวม…………………………………… 104 4.4 การบริหารสถานศึกษาแบบองค์รวม……………………………………… 106 สรุปท้ายบท…………………………………………………………………….. 112 เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………….. 113 บทที่ 5 การบริหารสงัคมฐานความรู้…………………………………………………. 114 5.1 สังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society)…………………………... 115 5.2 เศรษฐกิจฐานความรู้………………………………………………………… 115 5.3 สภาพปัญหาของเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจภาคใต้……………………….. 119 5.4 การบริหารสถานศึกษาเพื่อการสร้างสังคมฐานความรู้……………………. 120 สรุปท้ายบท…………………………………………………………………….. 122 เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………….. 123 บทที่ 6 การบริหารศนูยก์ารเรียนร้……………………………………………………ู 124 6.1 การประยุกต์ใช้ศูนย์การเรียนรู้…………………………………………….. 124 6.2 ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน………………………………………….……………. 126 6.3 หลักการจัดศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา… 133 6.4 ศูนย์การเรียนรู้เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา………………………………. 135 สรุปท้ายบท…………………………………………………………………….. 141 เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………….. 142 บทที่ 7 การบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั…………………………… 143 7.1 การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล………………………………………….. 144 7.2 ยุคของโลกดิจิทัลและบทบาทของเทคโนโลยี……………………………… 146 7.3 เทคโนโลยีดิจิทัลกับการบริหารสถานศึกษา………………………………. 150 7.4 การบริหารการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา………………………………... 155
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 5 สารบัญ(ต ่ อ) หน้า 7.5 แนวทางการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลเพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อสถานศึกษาและผู้เรียน…………………………………………….…… 156 7.6 ภาวะผู้น า คุณลักษณะและบทบาทของผู้บริหาร สถานศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล……………………………………………………. 162 สรุปท้ายบท……………………………………………………………………. 174 เอกสารอ้างอิง………………………………………………………….……… 176 บทที่ 8 การบริหารตามปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง……………………………. 178 8.1 ความหมายของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง…………………………… 179 8.2 ความหมายของสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง…………………………… 181 8.3 เศรษฐกิจพอเพียงสู่ยุทธศาสตร์ประเทศ…………………………………… 182 8.4 หลักการส าคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564)…………………………………………………………. 183 8.5 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542……………………………. 187 8.6 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง…………………………………….. 188 8.7 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา……………..…………. 191 สรุปท้ายบท…………………………………………………………………….. 226 เอกสารอ้างอิง………………………………………………………………….. 227 บรรณานุกรม…………………………………………………………. 229 ดัชนีค าค้น……………………………………………….………….… 238 ประวตัิผเู้ขียน………………………………………………………… 243
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 6 สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 ความสอดคล้องของยุทธ์ศาสตร์กับแผนการศึกษาแห่งชาติ…………………………… 14 2 ความเชื่อมโยงแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา……………………. 15 3 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา…………………………………………… 20 4 พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562…………………………………. 31 5 นโยบายพื้นที่นวัตกรรม…………………………………………………………………. 40 6 ความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา…… 41 7 กระบวนการการพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่เกาะ………………. 72 8 รูปแบบนวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่เกาะ………………………………… 73 9 แผนที่ชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน………………………………………………. 77 10 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคเหนือ……………………………………. 84 11 รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคใต้………………………………. 96 12 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และข้อความที่พระองค์ได้ทรงรับสั่งกับประชาชน……………………………………. 97 13 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อลดความเหลื่อมล ้าในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้…………. 97 14 โมเดลสถานศึกษาแบบองค์รวม………………………………………………………….. 111 15 การบริหารสถานศึกษาเพื่อการสร้างสังคมฐานความรู้…………………………….……. 121 16 การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน…………………………………………………………. 132 17 STEAM EDUCATION มิติใหม่ในการจัดการศึกษา…………………………………….. 138 18 ศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนบ้านเกาะหลีเป๊ ะ………………………………………………… 140 19 PROJECT 14 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะครู……………………………… 173 20 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง……………………………………………………… 193 21 ยุทธศาสตร์การด าเนินงานโครงการสถานศึกษาพอเพียง……………………………… 197 22 กลยุทธ์การด าเนินงานโครงการสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง……………………….. 200 23 กลยุทธ์สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง………………………………………………….. 202 24 แนวทางการด าเนินงานการขับเคลื่อนโครงการสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง……….. 205 25 นโยบายการจัดการศึกษาด้วยเศรษฐกิจพอเพียง………………………………………. 208 26 โครงการสังคมฐานความรู้โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.......................................
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 7 บทน า กลยุทธ์การพัฒนาการบร ิ หารสถานศึกษา สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ ความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศภูมิภาคและของโลก การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่การปฏิวัติ อุตสาหกรรม 4.0 สัญญาประชาคมโลก : จากเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ 2556 (Millennium Development Goals : MDGs 2015 สู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การประชาชาติ2573 (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียนต่อ ระบบเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกิจและสังคมของไทยต้องปรับเปลี่ยนให้พร้อมรองรับประเทศไทย ยุค 4.0 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร วิกฤตสังคมสูงวัย อัตราการเกิดที่ลดลง ทักษะของประชากร ในศตวรรษที่ 21 : ความต้องการก าลังคนยุค 4.0 คนไทยจะต้องมีทักษะ 3Rs+8Cs สภาวการณ์ เปลี่ยนแปลงของโลก ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสาธารณสุข ความขัดแย้งและความรุนแรงในสังคม เทคโนโลยีดิจิทัลกับการด ารงชีวิต สภาวการณ์ความเป็ นปกติใหม่ส่งผลต่อการจดัการศึกษา การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562-2563 ทั่วโลก โดยมีสาเหตุมาจาก ไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ COVID-19 เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยพบครั้งแรกในประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อให้เกิดผลกระทบไปทั่วโลก วิกฤตที่เกิดขึ้นเป็น เรื่องใกล้ตัวที่ท าให้ชีวิตไม่เหมือนเดิม ที่ต้องเผชิญ กับวิกฤต COVID-19 เริ่มต้นจากชีวิตของคนเราที่เปลี่ยนแปลงไป ขณะที่หลายหน่วยงาน องค์กร ต่างปรับความคิด พฤติกรรม และวิถีการท างานให้ความส าคัญจาก Work Life Balance สร้างสมดุล ระหว่างชีวิตงานและชีวิตส่วนตัว แต่ปัจจุบันที่เราทุกคนต่าง Work from Home มีสัดส่วนเวลาของ การท างานและชีวิตส่วนตัวเกิดขึ้นพร้อมๆ กันสลับสับเปลี่ยนกันไป ตลอดทั้งวันเกิด Work Life Integration ที่ชีวิตการท างาน หลอมรวมกับชีวิตส่วนตัวเป็นหนึ่งเดียว จนเราต้องสร้างวินัยในการ ท างาน ท่ามกลางอิสระและความยืดหยุ่นที่เพิ่มขึ้นสร้างเศรษฐกิจคนติดบ้าน (From Home Economy) ท าให้ e-Commerce และการท าธุรกรรมทางออนไลน์การน าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ส่งผลให้เรื่อง Digital Transformations ที่เคยมีการพูดถึงมาอย่างยาวนานและเกิดขึ้นช้ามาก กลับถูกขับเคลื่อนได้ เร็วขึ้น “ความปกติใหม่” หรือ “New Normal” ที่มากับระบบการศึกษา การออกแบบการเรียนรู้ในยุค
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 8 โควิด-19 ให้ มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ทักษะและหลักสูตรโลกการศึกษารูปแบบใหม่หลังจากนี้ เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทด้านการเรียนรู้ที่ดีขึ้น หรือท าให้ความเหลื่อมล ้าที่มากกว่าเดิม ความ ปกติใหม่ (New Normal) การเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ รูปแบบวิถีชีวิตใหม่ นี้ ประกอบด้วยวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ และการจัดการในบริบทสถานการณ์การแพร่ ระบาดของ COVID -19” ช่วงปลาย พ.ศ. 2562 ถึง พ.ศ.2563 การสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ มีการปรับแนวคิด วิสัยทัศน์ วิธีการจัดการ การศึกษายุคนี้ต้องหาจุดที่จะพัฒนา เด็กไทยให้ไปสู่โลกดิจิทัล หรือการศึกษาศตวรรษที่ 21 โดยการการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ เพราะหลักสูตรฐานสมรรถนะจะเป็นส่วนหนึ่งที่จะท าให้ค้นพบ ศักยภาพของเด็กไทยมากขึ้น (วิชัย วงศ์ใหญ่, 2563) การเรียนออนไลน์โรงเรียนที่จัดการเรียนการ สอนออนไลน์ได้ก็เริ่มวางแผนตารางเรียนออนไลน์ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ผ่านโปรแกรมต่างๆ เช่น Google Meet, Zoom, Microsoft Team พูดคุยสนทนากับคุณครูเป็นต้น (สุภาภรณ์ พรหมบุตร, 2563). และการประเมินจะถูกเปลี่ยนจาก “การประเมินผลการเรียน” ไปสู่ “การประเมินผลเพื่อการ เรียนรู้” นั่นคือการวัดผลลัพธ์ให้คุณครูเข้าใจว่า ผู้เรียนเหมาะกับการเรียนรู้รูปแบบไหน และอะไรที่จะ สามารถเติมทักษะที่คุณครูคาดหวังได้ การประเมินผลในวิถีการศึกษาใหม่จึงเป็นการท าความเข้าใจ ไม่ใช่การตัดสิน (มารุต พัฒผล, 2563) จ านวนเด็กเกิดใหม่ลดลง ผลกระทบด้านทุนมนุษย์ โครงสร้างประชากรในวัยเด็กลดลง ท าให้ จ านวนของเด็กวัยเรียนลดลงตามธรรมชาติ ส่งผลต่อจ านวนวัยท างานลดลง และส่งผลต่อจ านวนวัย ชราที่มากขึ้นค่านิยมทางการศึกษา ผลกระทบจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีที่เข้ามาปั่นป่วน (Disruption) ระบบการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงไปจากการสอน แบบดั้งเดิม ครูพูดหน้าชั้นน้อยลง เพิ่มการเรียนการสอนแบบออนไลน์ที่ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับ ครูได้ ไม่ต่างกับการเข้าไปนั่งฟังในพื้นที่เดียวกัน วิกฤตจากโรคระบาดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทัศนะของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยผู้เรียนอาจเห็นว่าการเรียนการสอนในห้องเรียน ไม่จ าเป็นอีกต่อไป เพราะความรู้สามารถหาได้จากนอกห้องเรียน และในการจ้างงานก็จะต้องการคน โดยวัดจาก “ทักษะ” เป็นส าคัญมากกว่าใบปริญญา Education Disruption สาระส าคัญ คือ Future of Workforce เพื่อเตรียมพร้อมคนไทยได้รับ ความรู้ด้าน Reskill และ Upskill ตนเองให้พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น จึงต้อง “คิดใหม่ท าใหม่ กับการศึกษาพร้อมรับมือความไม่แน่นอนแห่งอนาคต” (Rethinking for the Future of Uncertainty) การรับมือกับ Disruption และ Climate Disruption ที่จะส่งผลต่อองค์กรในอนาคตต้องปรับตัวและ รับมือกับสิ่งเหล่านี้ให้ได้การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 (วิโรจน์ สารรัตนะ. 2556) จึงเป็นสิ่งจ าเป็นที่ผู้บริหารสถานศึกษาในยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความรู้
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 9 ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้ทันสมัย เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์มีความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน มองเห็นภาพอนาคต และสามารถสร้าง แรงจูงใจให้ผู้ร่วมงานทุกคนปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างสูงสุด (ธีระ รุญเจริญ, 2559) โดยทักษะส าคัญ 2อย่างที่ควรมีคือ 1. ไม่หยุดที่จะเรียนรู้(Life-Long Learning) เมื่อโลกเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว จึงต้องเรียนรู้ที่จะ เปลี่ยนแปลงให้เร็วกว่าโลก การเรียนรู้สิ่งใหม่อยู่เสมอจึงเป็นทักษะที่ส าคัญในการท างานในศตวรรษที่ 21 2. ความฉลาดทางอารมณ์ (Empathy) ความรัก ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจ ควรเป็น พื้นฐานการใช้ชีวิตในโลกการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การศึกษาแห่งโลกอนาคต (School of the Future) “อนาคตการศึกษาหลังโค-วิด 19 ต้อง เปลี่ยนแปลงเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานและทักษะใหม่ โดยอาศัย ทัศนคติ อุปนิสัย (Attitude) ความสามารถ การคิดเชิงวิพากษ์ การสื่อสาร ท างานเป็นทีม (Active Learning Skills) และ ความรู้ (Knowledge) ที่สามารถน าไปต่อยอดและวิเคราะห์ได้ ดังนั้น ต้องมีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ เป็นฐานสมรรถนะ อีกทั้งนายจ้างและสถาบันการศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน สนับสนุนและ ติดตามประเมินผล เพื่อท าให้คนไทยมีทักษะที่ตรงกับงานมากขึ้น และลดอัตราการว่างงานให้น้อยลง แนวทางการพัฒนาองค์กรเพื่อก้าวไปสู่ยุคใหม่ ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนจะท าให้ทิศทาง ขององค์กรชัดแจ้ง นโยบายที่แน่ชัด จะท าให้การปฏิบัติราบรื่นและรวดเร็ว นั่นคือส่วนส าคัญที่ท าให้ องค์กรพัฒนาก้าวไกลอย่างไม่หยุดยั้ง ปัจจัยส าคัญในการพัฒนาองค์กรให้มีศักยภาพได้มากที่สุด คือ ทรัพยากรมนุษย์อันเป็นบุคลากรขององค์กรนั่นเอง เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยส าคัญ ในยุคปัจจุบันของการพัฒนาองค์กรให้ประสบความส าเร็จ การท าให้องค์กรไปสู่ความส าเร็จ คือ การได้ผู้น าที่ดี การได้ผู้ตามที่มีประสิทธิภาพ การมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสร้างแรงจูงใจในการท างาน การประเมินผล การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ ผลการพฒันาการศึกษาไทยที่ผา่นมา 1. บริบทของการจัดการศึกษา - เด็กที่จะเข้าสู่ระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง - สถานศึกษามีแนวโน้มขนาดเล็กลงและมีจ านวนมากขึ้น ควรมีการทบทวนการบริหารจัดการทรัพยากรที่อยู่ในระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและ ใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด 2. โอกาสทางการศึกษา
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 10 - ประชากรกลุ่มอายุวัยเรียน มีโอกาสเข้ารับการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (อนุบาล-มัธยมตอนปลาย) เพิ่มสูงขึ้น - เด็กด้อยโอกาสและมีผู้มีความต้องการจ าเป็นพิเศษที่ได้เข้าเรียนแนวโน้มเพิ่มขึ้น - การออกกลางคัน ยังคงเป็นปัญหาต่อเนื่อง แต่มีแนวโน้มที่ดีขึ้น - ระดับการศึกษาของประชากรวัยแรงงานที่มีอายุ 15-59 ปี มีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ย เพิ่มขึ้นจาก 8.9 ปี ในปี 2552 เป็น 10.0 ปี - อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 5.9 ในปี2550 เป็นร้อยละ 3.3 ในปี2558 แม้โอกาสทางการศึกษาจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้น แต่ยังพบปัญหาประชากรวัยเรียนระดับ ม.ต้น ที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษาในระบบประมาณร้อยละ 11.7 และประชากรวัยแรงงานที่มีการศึกษา ต ่ากว่ามัธยมศึกษาตอนต้น 3. คุณภาพของการศึกษา - พัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ในช่วงปี 2553-2557 พบว่ามีพัฒนาการสมวัย ลดลงจากร้อยละ 73.4 เป็นร้อยละ 72.7 - ผลสัมฤทธิท์างการเรียนระดับการศึกษาขนั้พ้ืนฐาน จากคะแนน O-Net ยังไม่เป็นที่ น่าพอใจ - ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเทียบกับนานาประเทศทั่วโลกและในอาเซียน ไทยยังอยู่ในล าดับที่ต ่า - ทักษะการเรียนรู้และการใฝ่หาความรู้ของคนไทย พบว่าเพิ่มมากขึ้น แต่ยังขาดความสามารถ ในการจัดการและการสังเคราะห์ข้อมูล - จ านวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถูกด าเนินคดีมีแนวโน้มลดลง - ทักษะด้านภาษาของแรงงานที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ประกอบการมีแนวโน้มลดลง - ผลผลิตของการศึกษากับความต้องการก าลังแรงงาน พบว่า มีความไม่สอดคล้องกัน คุณภาพการศึกษาทั้งด้านวิชาการ และคุณลักษณะของผู้เรียนยังไม่น่าพอใจ และ ทักษะของก าลังแรงงานยังไม่ตอบสนองความต้องการของผู้ประกอบการ ต้องมีการวิเคราะห์ทบทวน เป้าหมาย และสาขาการผลิตและคุณภาพของกระบวนการจัดการศึกษา 4. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา 4.1 ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน - สัดส่วนจ านวนนักเรียนต่อห้องเรียนต ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน - จ านวนนักเรียนต่อครูต ่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 11 - ครูเกินและขาดแคลนบางสาขาวิชา 4.2 ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา - ผลการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน ยังไม่เป็น ที่น่าพึงพอใจ - สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีขนาดเล็ก (นักเรียนน้อยกว่า 120 คนมีจ านวนมาก เกินไป และเพิ่มขึ้นทุกปี) - มีมหาวิทยาลัยเพียงไม่กี่แห่งที่ติดอันดับจากผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย ในระดับภูมิภาคเอเชียและระดับโลก 4.3 ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ - การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาของประเทศไทย พบว่า ค่อนข้างสูง - การใช้จ่ายงบประมาณด้านการศึกษาของภาครัฐ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายส าหรับ การศึกษาภาคบังคับ - กลุ่มครัวเรือนที่ยากจนรับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษามากกว่าครัวเรือนที่ร ่ารวย - รัฐยังคงบทบาทหลักในการเป็นผู้จัดการศึกษาเป็นหลักในทุกระดับและประเภท การศึกษา - ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษาของรัฐ การใช้จ่ายในบางกิจกรรมที่ไม่ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียน 5. การพัฒนาการศึกษากับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ - ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยเทียบกับนานาประเทศ มีอันดับลดลง (IMD) - ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีเศรษฐกิจโลก (WEF) ตัวชี้วัด 5 ตัวที่มีอันดับลดลงล้วนเป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ได้แก่ - คุณภาพการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา - คุณภาพระบบการศึกษา - คุณภาพการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ - คุณภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา - ความสามารถในการวิจัยและการให้บริการฝึกอบรม สมรรถนะด้านการศึกษาของของประเทศไทยในเวทีสากลยังอยู่ในระดับไม่น่าพอใจ จากผล การทดสอบโครงการ PISA 2012 ไทยอยู่ในอันดับ 50 และผลการประเมิน TIMSS 2011 ระดับชั้น ป.4 และ ม.2 จากบทสรุปผู้บริหาร (สถาบันการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2556)
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 12 “งานด้านการศึกษาเป็นงานส าคัญที่สุดอย่างหนึ่งของชาตินั้น ขึ้นอยู่กับการศึกษาของ พลเมือง เป็นข้อใหญ่ ตามข้อเท็จจริงที่ทราบกันดีแล้ว ระยะนี้บ้านเมืองของเรามีพลเมืองเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว ทั้งมีสัญญาณบางอย่างเกิดขึ้นด้วยว่า พลเมืองของเราบางส่วนเสื่อมทรามลงไปใน ความประพฤติและจิตใจ ซึ่งเป็นอาการที่น่าวิตก ถ้าหากยังคงเป็นอยู่ต่อไป เราอาจเอาตัวไม่รอด ปรากฎการณ์เช่นนี้ นอกจากเหตุอื่นแล้วต้องมีเหตุมาจากการศึกษาด้วยอย่างแน่นอน จึงพูดได้เต็ม ปากแล้วว่า เราจะต้องจัดงานด้านการศึกษาให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น” “พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา” ประสานมิตร 12 ธันวาคม 2512 ยทุธศาสตรช์าติ20 ปีพ.ศ. 2561- 2580 วิสยัทศัน์ ประเทศไทย 2580 “ประเทศมีความ มั ่นคง มั ่งคั ่ง ยั ่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป้าหมาย การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั ่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั ่งยืน” มีดังนี้ 1. ความอยู่ดีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย 2. ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ 4. ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคม 5. ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6. ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ มั่นคง - มีความมั่นคงปลอดภัยจากภัย และการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศ และนอกประเทศ และมีความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง - ประเทศไทยมีควมมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย - สังคมมีความปรองดองและและความสามัคคี ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและ รายได้ที่มั่นคง มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน - มีความมั่นคงของอาหาร และน ้า มั่งคั่ง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 13 - ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ยกระดับเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล ้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน - เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สร้างเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็น จุดส าคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน - มีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง อาทิ ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงินและทุนอื่นๆ ยั่งยืน - การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญด้านรายได้ และคุณภาพชีวิตของประเทศอย่าง ต่อเนื่อง โดยไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม - มีการผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ ประชาคมโลก - คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วนในสังคม ยึดถือและปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ความมั่นคง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้าง ความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ แผนพัฒนา ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ความมั่นคง การต่างประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภาค การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และการแข่งขันอย่างยั่งยืน การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ ชุมชน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การสร้างความเป็นธรรมและความเหลื่อมล ้า ในสังคม การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่พิเศษ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน การเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลภาครัฐ แผนการศึกษาแห่งชาติการศึกษา 4.0 ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมได้การจัดการศึกษา เพื่อความ มั่นคงของสังคมและประเทศชาติ การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพของคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อสร้าง เสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา ดังแผนภูมิ
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 14 ภาพที่1 ความสอดคล้องของยุทธ์ศาสตร์กับแผนการศึกษาแห่งชาติ ที่มา : ปรับปรุงจากแผนพัฒนา ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 กับแผนการศึกษาแห่งชาติ “”การศึกษาเป็นเรื่องใหญ่และส าคัญยิ่งของมนุษย์คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้รับการสั ่งสอนจากบิดา มารดา อันเป็นความรู้เบื้องต้น เมื่อเจริญเติบใหญ่ขึ้น ก็เป็นหน้าที่ของครูและอาจารย์สั ่งสอนให้ได้รับ วิชาความรู้สูง และอบรมจิตใจให้พร้อมด้วยคุณธรรม เพื่อจะได้เป็นพลเมืองที่ดีของชาติสืบไป” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร 13 ธันวาคม 2505
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 15 แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2560-2579 ภาพที่ 2 ความเชื่อมโยงแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา ที่มา : แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 วิสยัทศัน์ คนไทยทุกคนได้รบัการศึกษาและเรียนร้ตูลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดา รงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกบัหลกัปรชัญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” การเข้าถึงโอกาส การศึกษา (Access) ความเท่าเทียม (Equity) คุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) การตอบโจทยบ์ริบท ที่เปลี่ยนแปลง (Relevancy) ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ผลลัพธ์สุดท้าย 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและ ประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และสร้างสังคมแห่ง การเรียนรู้ 4. การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัด การศึกษา เด็กไทย 3Rs x 8Cs มุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน สังคม แห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม ประเทศไทยก้าวข้ามกับ ดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล าในประเทศ ลดลง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 16 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา 4 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาระบบ และกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 3) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกก าลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) เพื่อน าประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล ้า ภายในประเทศลดลง เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาดังกล่าวข้างต้น แผนการ ศึกษาแห่งชาติได้วางเป้าหมายไว้2 ด้าน คือ เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคนให้มี คุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะและ คุณลักษณะต่อไปนี้ 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้(Writing) และการคิดเลขเป็น (Arithmetics) 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้าน ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์(Cross cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการ สื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะ ด้านคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้(Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม(Compassion) มาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติให้ความเห็นชอบเมื่อ วันที่ 2 ตุลาคม 2561 ส านักงานเลขาธิการสภา การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คุณธรรม ทักษะ และ ความรู้ที่จ าเป็นบนฐานค่านิยมร่วม สู่กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา โดยมีค่านิยมร่วม ได้แก่ “ความเพยีรอนับรสิุทธคิ์วามพอเพยีง วถิปีระชาธปิไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค” โดยจะเน้น คุณธรรม ซึ่งหมายถึงลักษณะนิสัยและคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความ ขยัน ความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ เป็นต้น ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand) หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 17 ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0จะต้อง ธ ารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก นั่นคือเป็นคนดีมีคุณธรรม ยึดค่านิยมร่วมของสังคมเป็นฐานในการพัฒนาตน ให้เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3 ด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ผู้เรียนรู้ (Learner Person) เพื่อสร้างงานและคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และมีทักษะการเรียนรู้ ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทันโลกยุคดิจิทัล และโลกในอนาคต และมีสมรรถนะ (Competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ ด้านต่างๆ มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต เพื่อสร้างงานหรือสัมมาอาชีพ บนพื้นฐานของความ พอเพียง ความมั่นคงในชีวิต และคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม 2. ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-Creator) เพื่อสังคม มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นผู้มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษที่ 21 ความฉลาดดิจิทัล (Digital Intelligence) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์และมีคุณลักษณะ ของความเป็นผู้ประกอบการ เพื่อร่วมสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือสังคม เพิ่มโอกาสและมูลค่าให้กับตนเองและสังคม 3. พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) เพื่อสันติสุข เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตส า นึกเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่า เทียม เสมอภาค เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยผลลัพธ์ที่พึงประสงค์3 ด้าน ที่เหมาะสมตามช่วงวัย ที่มีความต่อเนื่อง เชื่อมโยงและ สะสมตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา ค่านิยมรว่ม : ความเพยีรอนับรสิุทธิ์ความพอเพียง วิถีประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค 1. ความเพยีรอนับรสิุทธิ์ผู้เรยีนมคีวามอดทน มุ่งมนั่ท าสงิ่ ใดๆ ให้เกดิผลส าเรจ็อย่างไม่ ย่อท้อต่อความยากล าบาก เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ส่วนรวม ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 2. ความพอเพียง ผู้เรียนมีความสมดุลรอบด้านทั้งความรู้ คุณธรรม และทักษะที่เกี่ยวข้อง โดยค านึงถึงความสมดุลทั้งประโยชน์ ต่อตนเอง ชุมชน และสังคม 3. วิถีประชาธิปไตย ผู้เรียนยึดมั่นในการมีส่วนร่วม การเคารพ กติกา สิทธิหน้าที่ ความรับผิดชอบ การรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข 4. ความเท่าเทียมเสมอภาค ผู้เรียนเคารพความแตกต่าง และให้ความส าคัญแก่ผู้อื่น โดยปราศจากอคติ แม้มีสถานภาพแตกต่างกัน ทางเศรษฐกิจ สังคม เชื้อชาติ ถิ่นที่อยู่ วัฒนธรรมและ ความสามารถ คุณธรรม : ลักษณะนิสัยที่ดีและคุณธรรมพื้นฐานที่เป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความ ขยัน ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 18 คุณธรรม ความรู้ ทักษะที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียน 1. คุณธรรม คือ ลักษณะนิสัยที่ดี และคุณลักษณะที่ดี ด้านคุณธรรมพื้นฐาน การรู้ถูกผิด ความดีงาม จริยธรรม จรรยาบรรณในการเป็นสมาชิกของสังคม เช่น ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความ ขยัน หมั่นเพียร ความซื่อสัตย์ เป็นต้น 2. ทักษะการเรียนรู้และชีวิต คือ ทักษะที่จ าเป็นส าหรับการเรียนรู้เพื่อโลกดิจิทัล และโลก ในอนาคต เช่น การรู้วิธีเรียน ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะชีวิต และทักษะการจัดการ ความสามารถ ในการปรับตัว ยืดหยุ่น พร้อมเผชิญความเปลี่ยนแปลง 3. ความรู้และความรอบรู้ คือ ชุดความรู้ที่จ าเป็นส าหรับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ ตนเอง รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงได้ ได้แก่ 1) ความรู้พื้นฐาน (ภาษา การค านวณ การใช้เหตุผล) และความรู้ตามหลักสูตร 2) การรู้จักตนเอง 3) ความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ท้องถิ่น ชุมชน สภาพภูมิสังคม ภูมิอากาศ ประเทศชาติ ประชาคมโลก 4) ความรอบรู้ด้านต่างๆ ได้แก่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การเงินสารสนเทศ 5) ความรู้เรื่องการงานอาชีพ 4. ทักษะทางปัญญา คือ ทักษะที่จ าเป็นในการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือทางสังคม เช่น ภูมิปัญญาไทย และศาสตร์พระราชา ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะ พหุปัญญา ทักษะข้ามวัฒนธรรม ความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ สร้างสรรค์นวัตกรรม และมีคุณลักษณะของความเป็นผู้ประกอบการที่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกยุคดิจิทัล ความส าเร็จของการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579 สู่การปฏิบัติ ขึ้นอยู่ กับปัจจัยส าคัญหลายประการ ประกอบด้วย สาระของแผนการศึกษาแห่งชาติที่มีความชัดเจน ครบถ้วน และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และทุกระดับการศึกษา การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา แผนการศึกษาแห่งชาติของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับปฏิบัติผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และสาธารณชน การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ แก่ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนเพื่อสร้างความ ตระหนักในความส าคัญของแผนการศึกษาแห่งชาติ การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการ ศึกษาแห่งชาติและการน าแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติที่ชัดเจนแก่ผู้ปฏิบัติทุกระดับ เพื่อให้ทุก ภาคส่วน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษาของชาติแนวทางการขับเคลื่อนแผนการ ศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 1) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความส าคัญ และพร้อมเข้าร่วม ในการผลักดันแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ การสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานองค์กร และภาคี ทุกภาคส่วน ถึงวิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 19 2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2560-2579 ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปีนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาการศึกษาระยะ 5 ปีแผนปฏิบัติราชการระยะ 4 ปี และแผน ปฏิบัติการประจ าปีของหน่วยงาน โดยส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมจัดท า และติดตามประเมินผลแผน 3) การปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่างๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษา ระดับต่างๆ 4) การสร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา อย่างกว้างขวาง ทั้งระดับนโยบาย และระดับพื้นที่ วิสยัทศัน์ของรัฐบาลม่งุมนั่ ให้ประเทศไทยเป็ นประเทศที่พฒันาแล้วในศตวรรษที่21 ค าแถลงของคณะรัฐมนตรี ได้ก าหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิสัยทัศน์ของรัฐบาล มุ่งมั่นให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในศตวรรษที่ 21 มีนโยบายหลัก นโยบายที่ 3 การ ท านุบ ารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม นโยบายที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนา ศักยภาพของคนไทย และนโยบายเร่งด่วน นโยบายที่ 1 การแก้ปัญหาในการด ารงชีวิต นโยบายที่7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ดังแผนภูมิ
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 20 ภาพที่ 3 นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ที่มา : ปรับปรุงจากค าแถลงของคณะรัฐมนตรี นโยบายและจดุเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปี งบประมาณ 2563 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2563 ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับอนุบาล และระดับก่อนอนุบาล โดยมีวิธีการดังนี้ 1. ปลูกฝังการมีระเบียบวินัย ทัศนคติที่ถูกต้องโดยใช้กระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด 2. เรียนภาษาไทย เน้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอื่น 3. เรียนภาษาอังกฤษและภาษาอื่น (ภาษาแม่) เน้นเพื่อการสื่อสาร 4. เรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning โดยการจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความ คิดเห็นให้มาก นโยบายที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพ ของคนไทย ข้อ 8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ข้อ 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธุ์ใหม่ ข้อ 8.3 พัฒนาอาชีวะ พัฒนา คุณภาพ วิชาชีพ และพัฒนา แรงงานรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ข้อ 8.6 สส่งเสริมการเรียนรู้และ พัฒนาทักษะทุกช่วงวัย ข้อ 8.7 จัดท าระบบปริญญา ชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตร ระยะสั นตามความสนใจ นโยบายเร่งด่วนที่ 1 การแก้ปัญหาในการ ด ารงชีวิต - กองทุนเพื่อให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษา - ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร ออนไลน์ของสถาบันต่างๆ - เชื่อมโยงระบบการศึกษากับ การปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ - สร้างนักวิจัยใหม่และนวัตกร เพื่อเพิ่มศักยภาพด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรมของ ประเทศ ค ำแถลงนโยบำย ของคณะรัฐมนตรี นโยบายหลัก นโยบายเร่งด่วน นโยบายที่ 3 การท านุบ ารุงศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรม ข้อ 1.2 ปลูกฝังค่านิยมและ วัฒนธรรมที่ดี ทั งด้านคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความ ซื่อสัตย์วินัย เครพกฎหมาย มี จิตสาธารณะและการมีส่วน ร่วมท าประโยชน์ให้ประเทศ และเป็นพลเมืองดี โดยส่งเสริม ให้สถาบันการศึกษา ภาค ประชาสังคม และชุมชนเป็น ฐานในการบ่มเพาะ นโยบายเร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ ศตวรรษที่ 21 - สร้างแพลตฟอร์มการ เรียนรู้ใหม่ในระบบดิจิทัล - ปรับปรุงรูปแบบการ เรียนรู้มุ่งสู่ระบบการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีด้านวิศวกรรม คณิตศาสตร์ โปรแกรมเมอร์ และภาษา ต่างประเทศ - ส่งเสริมการเรียนภาษา คอมพิวเตอร์(Coding) ตั งแต่ระดับประถมศึกษา - การพัฒนาโรงเรียน คุณภาพทุกต าบล
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 21 5. สร้างแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ และใช้กิจิทัลเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ 6. จัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเป็นขั้นตอน (Coding) 7. พัฒนาครูให้มีความช านาญในการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพิวเตอร์(Coding) 8. จัดให้มีโครงการ 1 ต าบล 1 โรงเรียนคุณภาพ แนวทางการน ามาตรฐานสู่การปฏิบตัิระดบัสถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม พลเมืองที่เข้มแข็ง การน ามาตรฐานสู่การปฏิบัติยึดหลักการส าคัญ คือ การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพ บริบทของผู้เรียน พื้นที่ ชุมชน และสังคม รวมทั้งให้อิสระกับสถานศึกษาในฐานะหน่วยปฏิบัติในการ ก าหนดอัตลักษณ์ และทิศทางการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศภายใต้การสนับสนุนของรัฐในการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักความเสมอภาคและความเท่าเทียม เพื่อให้ทุกคนมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เปิดโอกาสให้ทุกคนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีความ รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีแนวทางปฏิบัติในการจัดการศึกษา ให้สอดประสานกัน ดังนี้ 1. สถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาสามารถจัดการศึกษาให้เหมาะสมตาม อัตลักษณ์ของตนเอง สอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 2. สถานศึกษาจัดการศึกษาโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การมีเครือข่าย ความร่วมมือ การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ หรือองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3. สถานศึกษามีการพัฒนาผู้บริหาร ครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะทาง วิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับโลกยุคดิจิทัล และโลกอนาคต 4. สถานศึกษาวางระบบการประกันคุณภาพการศึกษาด้านคุณภาพผู้บริหารและครูอาจารย์ ความเหมาะสมของหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการ ประเมินการเรียนการสอน โดยมีการก ากับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีธรรมาภิบาล และความรับผิดชอบ ที่ตรวจสอบได้
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 22 แนวทางการประเมินคณุภาพการจดัการศึกษา การประเมินระดับชั้นเรียน 1. การประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาเป็นฐานโดยค านึงถึงสภาพบริบท ของสถานศึกษา ปัจจัย กระบวนการด าเนินงาน และผลลัพธ์ของผู้เรียนที่ต้องประเมิน 2. ใช้การประเมินความก้าวหน้าให้มีประสิทธิผล เน้นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มากกว่าการประเมินเพื่อตัดสินผลหรือการแข่งขัน หรือเปรียบเทียบกับผู้อื่น ส่งเสริมการประเมินที่ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ของผู้เรียน 3. มีความสมดุลระหว่างการประเมินที่อิงตนเอง เพื่อน ปกติวิสัย และมาตรฐาน มีการใช้ การประเมินที่ปรับให้เหมาะกับศักยภาพ ของผู้เรียน และสอดคล้องกับการเรียนรู้ที่หลากหลาย มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 4. ใช้วิธีการประเมินที่บูรณาการการเรียนรู้กับเทคโนโลยีจากงานที่ก าหนดให้ท าตามโลก แห่งความเป็นจริงและให้ข้อมูลป้อนกลับ ทันทีใช้แฟ้มประวัติของผู้เรียนที่แสดงผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียน เพื่อออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้และการสื่อสารกับพ่อแม่/ ผู้เกี่ยวข้อง 5. ครูจ า เป็นต้องมีความรอบรู้ด้านการวัดผลและคลังเครื่องมือประเมินที่มีคุณภาพสูง (ถูกต้อง เชื่อถือได้ ยุติธรรม) การประเมินระดบัโรงเรียน/เขตพื้นที่ 1. การประเมินที่ยึดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาเป็นฐาน โดยค านึงถึงสภาพบริบท ของสถานศึกษา ปัจจัย กระบวนการ ด าเนินงาน และผลลัพธ์ของผู้เรียนที่ต้องประเมิน 2. การประเมินเป็นส่วนหนึ่งของระบบก ากับที่มีสารสนเทศที่แสดงความรับผิดชอบ ที่ตรวจสอบได้ 3. มีความสมดุลระหว่างการประเมินความก้าวหน้ากับการประเมินที่มีเกณฑ์ที่เป็นหลักเทียบ 4. เน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาตนเอง มากกว่าการเน้นการแข่งขัน หรือเปรียบเทียบกับผู้อื่น 5. ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่(BigData)จากการประเมินในชั้นเรียน เพื่อการบริหารงานที่เหมาะสมกว่าเดิม 6. ผู้บริหารจ าเป็นต้องมีความรอบรู้ด้านการประเมิน การประเมินระดบัชาติ 1. การประเมินผลสรุปเป็นส่วนหนึ่งของระบบก ากับที่มีสารสนเทศเพื่อแสดงความ รับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 2. กระบวนการพัฒนาการประเมินต้องแกร่ง (เช่น คลังเครื่องมือ ประเมินที่พัฒนามาอย่างดี มีข้อสอบที่สามารถเทียบเคียงเท่าเทียม กันได้ข้ามปี) และมีการก าหนดมาตรฐานผลลัพธ์ที่พึง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 23 ประสงค์ของการศึกษา มีการประเมินระดับชาติโดยใช้เทคโนโลยีในการสอบ ข้อสอบหรือสิ่งที่วัด เหมาะสมกับโลกแห่งความเป็นจริง 3. ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) จากการทดสอบระดับชาติที่ให้ข้อมูลป้อนกลับที่เป็น ประโยชน์กับผู้เรียน สถานศึกษา เขตพื้นที่ และผู้ก าหนดนโยบาย ที่ประชุมเศรษฐกิจโลก (the World conomic Forum -WEF) ได้น าเสนอตัวบ่งชี้ศักยภาพ ในระดับนานาชาติว่าทักษะส าคัญที่จ าเป็นส าหรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4ในปี2018เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน ประกอบด้วย การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (complex problem solving) การคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณและมีนวัตกรรม (Analytical Thinking and Innovation) ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) และทักษะทางสังคม (and social skills) ในปี 2020 WEF ได้ระดมความเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างกว้างขวาง และออกรายงาน ชื่อ “Schools of the Future: Defining New Models of Education for the Fourth Industrial Revolution ซึ่งสรุป ทักษะที่จ าเป็นส าหรับ Education 4.0 หรือการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่4 ประกอบด้วย 1. ทักษะความเป็นพลเมืองโลก Global citizenship skills) ประกอบด้วย เนื้อหาที่เน้นการ สร้างความตระหนักเกี่ยวกับโลกกว้าง ความยั่งยืน และแสดงบทบาทอย่างแข็งขันในชุมชนโลก 2. ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Innovation and crea tivity skills) ประกอบด้วย เนื้อหาที่ปลูกฝังทักษะที่จ าเป็นส าหรับการสร้างนวัตกรรม การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน การคิดอย่างมี วิจารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ และการวิเคราะห์ระบบ 3. ทักษะด้านเทคโนโลยี (Technology skills) ประกอบด้วยเนื้อหาเรื่องการพัฒนาทักษะ ดิจิทัล การพัฒนาโปรแกรม ความรับผิดชอบต่อดิจิทัล และการใช้เทคโนโลยี 4. ทักษะการสื่อสารกับผู้อื่น (Interpersonal skills) ประกอบด้วยเนื้อหาที่เน้นความฉลาด ทางอารมณ์ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การมีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การร่วมมือ การเจรจาต่อรอง ภาวะผู้น า และการมีความตระหนักเกี่ยวกับสังคม 5. การเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง (Personalized and self-paced learning) เปลี่ยนจากการ เรียนรู้ที่มีมาตรฐานเดียวเป็นการเรียนรู้ที่ยึดความต้องการของผู้เรียนแต่ละคนซึ่งมีหลากหลาย และ ยืดหยุ่นพอที่จะให้ผู้เรียนแต่ละคนมีการพัฒนาตามเส้นทางของตัวเอง 6. การเรียนรู้ที่เข้าถึงได้และมีส่วนร่วมได้(Accessible and inclusive learning) เปลี่ยนจากระบบ ที่การเรียนรู้จ ากัดอยู่แต่ผู้ที่เข้าถึงโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ที่ทุกคนเข้าถึงได้และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ได้ 7. การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังโดยใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง (Problem-based and collaborative learning) เปลี่ยนจากการเรียนตามกระบวนการเป็นการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นตัวตั้ง โดยร่วมมือ ในการเรียนกับเพื่อนและส่องภาพอนาคตของงานอย่างใกล้ชิด
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 24 8. การเรียนรู้ตลอดชีวิตและผู้เรียนเป็นผู้ขับเคลื่อนเปลี่ยนจากระบบที่การเรียนและการฝึก ทักษะลดลงในช่วงชีวิตไปเป็นระบบที่ทุกคนสามารถปรับปรุงทักษะที่มีอยู่ได้อย่างต่อเนื่อง และ แสวงหาทักษะใหม่ๆ ตามความต้องการของแต่ละบุคคล ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จัดท า “มาตรฐานการศึกษาของชาติ” ผ่านผลลัพธ์ ที่พึงประสงค์ของการศึกษา ซึ่งหมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 3 ด้าน คือ เป็นผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์ นวัตกรรม และพลเมืองที่เข้มแข็ง เพื่อใช้เป็นข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ ของคนไทย ส าหรับให้สถานศึกษาทุกแห่งยึดเป็นกรอบส าหรับสร้างคนไทย 4.0 ที่แตกต่างไปตาม บริบทของท้องถิ่นและสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติดังกล่าวนับเป็นความก้าวหน้าอีกขั้น หนึ่งของความพยายามในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของชาติที่เทียบเคียงได้กับหลายประเทศ แต่โจทย์ใหญ่ส าหรับประเทศไทยคือ จะน ากรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษานี้ไปสู่การปฏิบัติ ในสถานศึกษาได้อย่างไร สถานศึกษาควรมีนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษาอย่างไรที่จะ เอื้ออ านวยใหก้ารเรยีนการสอนสมัฤทธผิ์ลและเกดิผลลพัธท์พ่ีงึประสงคใ์นผเู้รียนตามที่ก าหนดไว้ใน มาตรฐานการศึกษาของชาตินวัตกรรมในการบริหารการศึกษาและการบริหารสถานศึกษามีความหมาย สอดคล้องกับ “การปฏิรูปทั่วทั้งโรงเรียน” (School-Wide Reform) โปรแกรมการศึกษา หรือยุทธศาสตร์ การศึกษา การศึกษามีความจ าเป็นต้องมีนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง บ่อยครั้งที่นวัตกรรมในการศึกษา มักถูกมองว่า หมายถึง การใช้เทคโนโลยีหรือเครื่องมือใหม่ๆ เทคโนโลยีเป็นปัจจัยส าคัญอย่างหนึ่ง ในกระบวนการนวัตกรรม แต่นวัตกรรมหมายถึงการด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยผ่านแนวทางใหม่ สรุป ด้วยสภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ ความก้าวหน้า ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 25 จึงต้องมีแนวทางการพัฒนาองค์กรเพื่อก้าวไปสู่โลกยุคใหม่ โดยมีปัจจัยส าคัญนั่นก็คือ “มนุษย์” ที่จะ น าองค์กรไปสู่ความส าเร็จ ประเทศไทยจึงได้น ากลยุทธ์จัดการความเชื่อมโยงความสอดคล้อง น าไปสู่การ ปฏิบัติ ซึ่งได้จัดท ายุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ความมั่นคง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้างความเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุล และพัฒนาระบบการ บริหารจัดการทุกภาคส่วน โดยตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน โดยคนไทย 4.0 จะต้องธ ารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก นั่นคือเป็นคนดีมีคุณธรรม ยึดค่านิยมร่วมของสังคมเป็นฐานในการพัฒนาตนเอง เพื่อให้ทุกคนมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มี คุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เปิดโอกาสให้ทุกคนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา โดยผลลัพธ์ที่พึงประสงค์3 ด้าน ที่เหมาะสมตามช่วงวัย มีความต่อเนื่อง เชื่อมโยง และ สะสมตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา โดยตอบโจทย์วิวัยทัศน์ ประเทศไทย 2580 “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนา แล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ดังนั้น นวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา เป็นวิธีการใหม่หรือระบบใหม่ๆ ที่น าเข้ามาในการ จัดการศึกษา วิธีการสอนใหม่ๆ การบริหารคุณภาพ การวางแผนยุทธศาสตร์ การจัดระบบวิชาชีพ ครู การขยายการศึกษาภาคบังคับ การขยายโอกาสแก่ผู้เรียน การพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมการ บริหารสถานศึกษา มีระบบการบริหารและจัดการสถานศึกษา การบริหารและจัดการศึกษา ความ เป็นอิสระและคล่องตัวมีการกระจายอ านาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น มีการตัดสินใจในรูปคณะกรรมการตั้งแต่ระดับส่วนกลาง จนถึงเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ส่งเสริมการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน (School-based Management-SBM) เพื่อให้สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารและ จัดการศึกษา โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ คุณภาพผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตของการจัดการศึกษา ดังนี้ 1. การบริหารงานวิชาการ แนวทางส าหรับการพัฒนา ผู้เรียนไปสู่ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของ การศึกษา โดยการก าหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของผู้เรียนให้เป็นบุคคล ที่มีคุณลักษณะ 3 ด้าน คือ 1) ผู้เรียนรู้ (Learner Person) 2) ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator) และ 3) พลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) ซึ่งเป็นการสร้างคนให้มีคุณภาพการศึกษาที่ดี ทุกระดับ เพื่อพร้อมเผชิญกับความท้าทายของทั้งโลกปัจจุบันและโลกอนาคตในศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมคน ไทยให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมีความพร้อม ส าหรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ ในศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนต้องเน้นการปลูกฝังทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ คิดนวัตกรรม หลักสูตรมีความหลากหลายและยืดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการ ความถนัด และความสนใจของ
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 26 ผู้เรียน น าเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอนมากขึ้น การระบาดของโรค COVID-19 ท าให้ สถานศึกษาจ าเป็นต้องจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ แต่ที่ส าคัญที่สุดคือ ต้องเน้น การสร้าง แรงจูงใจใฝ่รู้ให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง 2. การบริหารงานบุคคล สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยมีบทบาทส าคัญในการ พัฒนาครู ด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning Community) ซึ่งเป็นรูปแบบ ที่มุ่งพัฒนาครู ให้มีความพร้อมทั้งด้านหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริหาร วิชาการ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ จากการถอด บทเรียน พบว่าปัจจัยความส าเร็จ ได้แก่ ภาวะผู้น าและการท างานเป็นทีม การร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพใน ชุมชน ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและความผูกพันต่อองค์กร ควรมีเวทีให้ครูได้พบปะ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสถานศึกษา และสร้างวัฒนธรรมการประเมินโดยเพื่อนครู (Peer Review) 3. การบริหารงบประมาณ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับงบประมาณอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่าย ตามจ านวนผู้เรียน แต่ปัญหาที่พบคือ ขนาดของสถานศึกษามีความแตกต่างกัน โรงเรียนมัธยมศึกษา ขนาดใหญ่ ได้รับงบประมาณจ านวนมาก สามารถน าไปพัฒนาสถานศึกษาและการเรียนการสอน ในขณะที่โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในชนบทได้รับงบประมาณน้อยจนไม่ สามารถพัฒนาได้มาก อย่างไรก็ตามสถานศึกษาสามารถระดมทรัพยากรจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ศิษย์เก่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ่อแม่ผู้ปกครอง สถาบันศาสนา องค์กรชุมชน ฯลฯ ขึ้นอยู่กับ บริบทของสถานศึกษาแต่ละแห่งและความสามารถในการระดมทรัพยากร การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร งบประมาณ ควรมีการเปิดเผย ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างต่อสาธารณะ และควรน าระบบเลขประจ าตัว ประชาชนมาใช้เพื่อลดปัญหาความ ซ ้าซ้อนของจ านวนผู้เรียน การบริหารงบประมาณควรมุ่งใช้จ่าย งบประมาณเพื่อ “ประโยชน์ของผู้เรียน” เป็นส าคัญ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการรั่วไหลและคอรัปชั่น 4. การบริหารงานทั่วไป โรงเรียนขนาดใหญ่ที่อยู่ในเมืองสามารถจ้างบุคลากรฝ่ ายสนับสนุน ท าหน้าที่การบริหารงานทั่วไป หรือจ้างครูในสาขาที่ขาดแคลนได้ แต่โรงเรียนขนาดเล็กที่งบประมาณ ไม่เพียงพอครูต้องท างานบริหารทั่วไปด้วยการบริหารงานทั่วไป กระทรวงฯควรน าระบบข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) มาใช้เพื่อเชื่อมโยง ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาได้ครบถ้วนและทันสมัย จะได้มีข้อมูล Real Time ส าหรับการวางแผนการพัฒนาและการติดตามผลการเรียนของผู้เรียนได้ พัฒนาและแนะน าระบบซอฟท์แวร์ส าหรับการบริหารสถานศึกษา และจัดระบบบุคลากรสนับสนุนเฉพาะ ด้าน เพื่อลดงานเอกสารลงช่วยให้ครูมีเวลาทุ่มเทให้กับการเรียนการสอนอย่างเต็มที่มากขึ้น หนังสือ..กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา เป็นการน าเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง กับวิธีการ กระบวนการ ในการพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษาที่น ามาใช้ในบริบทสถานศึกษาที่มี
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 27 ลักษณะเฉพาะ มีการน านวัตกรรมการบริหารมาใช้ในสถานศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา โดยแบ่งออกเป็นบท 8 บท ดังนี้ บทที่ 1 การบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ความหมายของนวัตกรรม พื้นที่นวัตกรรม การศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาน าร่อง ประโยชน์ของพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ประเภทของหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรม บทที่ 2 การบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่เกาะ โดยมีการบริหารโรงเรียนพื้นที่เกาะ การบริหาร สถานศึกษาบนพื้นที่เกาะ การบริหารสภาพแวดล้อมภายใน การบริหารสภาพแวดล้อมภายนอก บทที่ 3 การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดน การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดน ภาคเหนือการบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคตะวันตก การบริหารสถานศึกษาตาม แนวชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การบริหารสถานศึกษาตามแนวชายแดนภาคใต้ บทที่ 4 การบริหารสถานศึกษาแบบองค์รวม ความส าคัญของแนวคิดแบบองค์รวมการศึกษา แบบองค์รวม แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบองค์รวม การบริหารสถานศึกษาแบบองค์รวม บทที่ 5 การบริหารสถานศึกษาโดยใช้สังคมฐานความรู้สังคมฐานความรู้เศรษฐกิจฐานความรู้ สภาพปัญหาของเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจภาคใต้การบริหารสถานศึกษาเพื่อการสร้างสังคมฐานความรู้ บทที่ 6 การบริหารสถานศึกษาโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้การประยุกต์ใช้ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน หลักการจัดศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ศูนย์การเรียนรู้ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา บทที่ 7 การบริหารสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล ยุคของโลกดิจิทัลและบทบาทของเทคโนโลยีเทคโนโลยีดิจิทัลกับการบริหารสถานศึกษา การบริหารการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษา แนวทางการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อ สถานศึกษาและผู้เรียน บทที่ 8 การบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายของหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ความหมายของสถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียงสูยุทธศาสตร์ประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เอกสารอ ้ างอิง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 28 กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2564, จากhttp://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี กับ 6 ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาการศึกษาของ กระทรวง ศึกษาธิการ ฉบับที่12 (พ.ศ. 2560-2564) (ออนไลน์). ม.ป.พ. (2560). สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2564, จาก http://www.bps.moe.go.th 54 ธีระ รุญเจริญ. (2559). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่21. กรุงเทพฯ: มลูนิธสิดศรสีฤษดวิ์งศ,์. นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานที่เกี่ยวข้องกับจุดเน้นนโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ (ออนไลน์ ). ม.ป.พ. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2564, จาก https://www.nsw2.go.th/web/attachments/article/912/ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. ม.ป.พ. (2560). (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2564, จากhttps://www.planning. kmutnb.ac.th/upload/froala/doc/ แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. ส านักงานเลขาสภาการศึกษา (2560).แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จ ากัด มารุต พัฒผล. (2563). การประเมินการเรียนรู้ใน New normal. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี. (2562). (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อ22 กันยายน 2564, จาก http://www.reo2.moe.go.th/ home/images/pdf/July-Full-V2-1725.pdf รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2560.(2560, 6 เมษายน ).ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 (60 ก).หน้า 14 ราชกิจจานุเบกษา. (2561)ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. เล่ม 135ตอนที่ 82ก ราชกิจจานุเบกษา13ตุลาคม 2561. วิโรจน์ สารรัตนะ. (2556).กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา : กรณีทัศนะต่อการศึกษาศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ทพิยวสิุทธ,ิ์ วิชัย วงศ์ใหญ่. (2563). New normal ทางการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรโรฒ. สุภาภรณ์ พรหมบุตร. (2563). New normal กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2564. จาก https://dsp.dip.go.th/th/category/2017-11-27-08-04-02/2020-06-29-14- 39-49. ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). ความเหลื่อมล ้าดิจิทัลในเมืองมหานครกับความ ท้าทายในการสร้างเมืองแห่งการเรียนรู้. (2563). สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2564, จาก https://www.nia.or.th/InnovationinProcurement. United Nations (2020). World Population Ageing 2020. Department Economic and Social Affairs. บทที่ 1
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 29 การบร ิ หารพ ื น ้ ท ี่นวตักรรมการศึกษา การศึกษาคือรากฐานส าคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ อันจะส่งผลส าคัญ ต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 261 ก าหนดให้มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระเพื่อด าเนินการศึกษาและจัดท าข้อเสนอแนะ และร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิรูปก ารศึกษาซึ่งปัจจุบันคือ “คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป การศึกษา”สมพงษ์ จิตระดับ และคณะ (2564) ได้ด าเนินการจัดท าแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษาจ านวน 7 ประเด็นการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหนึ่งในประเด็นที่ส าคัญในการปฏิรูปการศึกษาคือ ประเด็นที่ 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอน ได้ก าหนดให้มี “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” ขึ้น โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนใน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของชุมชน และพื้นที่และมีการเรียนรู้และขยายผลของนวัตกรรมที่ได้จากพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาสู่การจัด การศึกษาในพื้นที่อื่นๆ (สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, 2553) ดังนั้นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาคือ การจัดการ ศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งในการจัดการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพในแต่ละพื้นที่อันจะ น าไปสู่การยกระดับการจัดการศึกษาของประเทศอันเป็นรากฐานส าคัญของการพัฒนาคนไทยให้มี คุณภาพต่อไปพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 261 ก าหนดให้มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระเพื่อด าเนินการศึกษา และจัดท า ข้อเสนอแนะ ร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิรูปการศึกษาซึ่งปัจจุบันคือ "คณะกรรมการอิสระ เพื่อการปฏิรูปการศึกษา" คณะกรรมการอิสระ เพื่อการปฏิรูปการศึกษาได้ด าเนินการจัดท าแผนการ ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจ านวน 7 ประเด็นการปฏิรูปการศึกษาซึ่งหนึ่งในประเด็นที่ส าคัญ ในการปฏิรูปการศึกษา คือ ประเด็นที่ 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนได้ก าหนดให้มี "พื้นที่นวัตกรรม การศึกษา" ขึ้น โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสมสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของชุมชนและพื้นที่ โดยมีการเรียนรู้และการขยายผลของ นวัตกรรมที่ได้จากพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาสู่การจัดการศึกษาในพื้นที่อื่นๆ (คณะกรรมการอิสระ เพื่อการปฏิรูปการศึกษา,2562) ดังนั้นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา คือ การจัดการศึกษาอีกรูปแบบหนึ่งใน การจัดการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพในแต่ละพื้นที่ อันจะน าไปสู่การยกระดับการจัด การศึกษาของประเทศอันเป็นรากฐานส าคัญของการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพต่อไป 1.1 ความหมายของนวัตกรรม
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 30 นวัตกรรมมาจากค าภาษาอังกฤษว่า “Innovation” โดยมีรูปศัพท์เดิมมาจากภาษาบาลี คือ นว +อัตต+กรรม ทั้งนี้ ค าว่า นว แปลว่า ใหม่ อัตต แปลว่า ตัวเอง และกรรม แปลว่า การกระท า เมื่อรวมเป็นค าว่า นวัตกรรม ตามรากศัพท์หมายถึง การกระท าที่ใหม่ของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับ ค านิยามของ ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (2549) ได้ให้ความหมายของนวัตกรรมไว้ว่า นวัตกรรม คือ “ สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม” นวัตกรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน ค าว่า Innovare แปลว่า “ท าสิ่งใหม่ ขึ้นมา” ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (2549) ได้ให้ความหมายของนวัตกรรมไว้ว่า นวัตกรรม คือ “สิ่งใหม่ที่เกิดจากการใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ที่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม” โทมัส ฮิวส์ (Thomas Hughes,1987) ได้ให้ความหมายของนวัตกรรมไว้ว่า “เป็นการน าเอา วิธีการใหม่ มาปฏิบัติหลังจากที่ได้ผ่านการทดลองและได้รับการพัฒนามาเป็นล าแล้ว และมีความ แตกต่างจากการปฏิบัติเดิมที่เคยปฏิบัติมา” สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์และคณะ (2553) ได้ให้ความหมายของ นวัตกรรม หมายถึง “สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ ทักษะประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนาขึ้น ซึ่งอาจจะมีลักกษณะเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่ หรือกระบวนการใหม่ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม” กระทรวงศึกษาธิการ บัญญัติขึ้น เดิมใช้ นวกรรม มาจากค ากริยาว่า Innovate มาจากราก ศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Inovare (in (=in)+novare = to renew, to modify) และ novare มาจากค าว่า novus (=new) Innovate แปลตามรูปศัพท์ได้ว่า "ท าใหม่, เปลี่ยนแปลงโดยน าสิ่งใหม่ๆ เข้ามา "Innovation = การท าสิ่งใหม่ๆ หรือสิ่งใหม่ๆ ที่ท าขึ้นมา (International Dictionary) นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง การน าสิ่งใหม่ๆ อาจเป็นแนวความคิด หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมี ใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และได้ผลดีมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ทั้งยังช่วยประหยัดเวลาและแรงงานได้ด้วย สรุปได้ว่า นวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหม่ที่กระท าซึ่งเกิดจากการใช้ความรู้ ใช้ความคิด สร้างสรรค์สิ่งใหม่ในที่นี้อาจจะอยู่ในรูปของผลิตภัณฑ์ แนวคิด หรือกระบวนการที่สามารถน าไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา หรือ “สิ่งที่เกิดจากการใช้ความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ อย่างบูรณาการ เพื่อประดิษฐ์สร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้นเพื่อประโยชน์ทางสังคมและเศรษฐกิจ” นวัตกรรม (Innovation) เป็นค าที่คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา หรืออีกความหมายหนึ่ง เป็นการ น าความคิดใหม่ๆ วิธีการปฏิบัติใหม่ๆหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆหรืออาจจะได้รับการปรับปรุงจากสิ่ง ดั้งเดิมให้ดีขึ้นเหมาะสมกับสถานการณ์ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้รับการทดลองพิสูจน์และพัฒนาเป็นขั้น เป็นตอน เป็นระบบ จนเชื่อถือได้ว่าให้ผลที่ดีกว่าเดิม น ามาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติ
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 31 ทางการศึกษา เป็นผลท าให้ประสิทธิภาพทางการศึกษาสูงขึ้น รวมถึงการก าเนิดผลิตภัณฑ์ การบริการ กระบวนการใหม่ การปรับปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยี และการใช้ เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์และเกิดผลพวงทางเศรษฐกิจและสังคม ภาพที่ 4 พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 1.2 ความหมายของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (Education Sandbox) พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา คือ พื้นที่การศึกษาที่ได้รับการประกาศให้เป็นพื้นที่ส าหรับการ ทดลองนวัตกรรมการศึกษา โดยให้อ านาจแก่สถานศึกษาในการบริหารงานได้อย่างอิสระ และ จัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการศึกษาที่ก าหนดไว้ โดยมีหน่วยงาน ส่วนกลางให้การสนับสนุน ทั้งในด้านทรัพยากร และกลไกการหนุนเสริมแก่โรงเรียนในพื้นที่อย่าง เหมาะสม ผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของพื้นที่ (สมพงษ์ จิตระดับ สุอังคะวาทิน และ ชุติมา ชุมพงศ์, 2561) โดยมีหลักการส าคัญของแนวทางการ ปฏิรูปด้านการศึกษาของไทย ดังนี้ 1. กระจายอ านาจให้โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ มีอิสระในการบริหารจัดการ หลักสูตรบุคลากร และการจัดการเรียนการสอนได้เอง ให้โรงเรียนและพื้นที่สร้างหลักสูตรที่เหมาะสม กับท้องถิ่นได้
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 32 2. สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางที่ส าคัญ 3. เป็นพื้นที่ส าหรับทดลองนวัตกรรมการศึกษาแบบใหม่ตามแนวทางการจัดท าพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ดังนี้ 1) ใช้หลักสูตรสร้างทักษะศตวรรษที่ 21 ตามบริบทพื้นที่ 2) จัดหาสื่อการสอนรูปแบบใหม่ 3) สร้างภาคีร่วมพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ 4) การสอบและการประเมินผลต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนา 5) การบริหารจัดการช่วยลดภาระโรงเรียน เป้ าหมายของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (ประกาศพื้นที่นวัตกรรม 6 ภูมิภาค, 2561) มีดังนี้ 1. เพมิ่ผลสมัฤทธใิ์นการเรยีนรูข้องนักเรยีนในพ้นืท่นีวตักรรมการศกึษาทงั้ 3 ด้าน ได้แก่ เจตคติทักษะส าคัญ และความรู้ รวมทั้งขยายผลสู่นักเรียนทั่วประเทศในอนาคต 2. ลดความเหลื่อมล ้าด้านคุณภาพการศึกษา โดยยกระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มผล การเรียนอ่อน และยากจน 3. พัฒนานวัตกรรมการบริหารการศึกษาระดับจังหวัด ขยายผลนวัตกรรมการศึกษา ทั้งเชิง นโยบายการจัดการเรียนรู้ และการบริหารในสถานศึกษาไปสู่นโยบายการศึกษาในระดับชาติและ พื้นที่อื่น อาทิ ด้านหลักสูตร ต ารา สื่อการเรียนรู้ การทดสอบ การประเมินสถานศึกษา บุคลากร การเงิน รวมทั้งความสอดคล้องของการบริหารงานด้านต่างๆ 4. ร่วมมือกับภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน และประชาสังคมในการจัด การศึกษาการพัฒนา และการขยายผลนวัตกรรมการศึกษา 1.3 พืน้ที่นวตักรรมการศึกษาน าร่อง พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาน าร่อง คือ พื้นที่พิเศษด้านการศึกษาที่เอื้อให้คนในพื้นที่ทุกภาค ส่วนรวมพลังร่วมจัดการศึกษา สร้างนวัตกรรมการศึกษา และการเรียนรู้ตอบโจทย์คุณภาพ การศึกษาของผู้เรียน และพื้นที่เป็นพื้นที่เรียนรู้ร่วมกันและสร้างองค์ความรู้เพื่อการขยายผลสู่การ เปลี่ยนแปลง ซึ่งปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาน าร่อง จ านวน 6 พื้นที่ใน 6 ภูมิภาค ดังนี้ 1. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มีนวัตกรรม การศึกษาที่ส าคัญ เช่น
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 33 1.1 การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning หรือ PBL) และ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community หรือ PLC) 1.2 นวัตกรรมจิตศึกษา 1.3 การเรียนการสอนตามแนวคิด (Montessori) 1.4 โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา 1.5 โครงการ (Project Approach) ระดับปฐมวัย 1.6 การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยเป็นฐาน (Research-Based Learning: RBL) 1.7 ห้องเรียนหุ่นยนต์ 2. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดระยอง (ภาคตะวันออก) โดยมีนวัตกรรมการศึกษา ที่ส าคัญเช่น 2.1 การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2.2 การจัดตั้งสถาบันการสอนและการเรียนรู้จังหวัดระยอง (Rayong Teaching and Learning Academy) 2.3 โครงการผลิตนักเรียนทุนคุรุศึกษาจังหวัดระยอง 2.4 หลักสูตรระยอง หรือ Rayong MARCO 3. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล (ภาคใต้ มีนวัตกรรมการศึกษาที่ส าคัญ เช่น 3.1 การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงานฐานวิจัย (Research Based Learning: RBL) 3.2 การจัดการเรียนรู้แก่ครูสามเส้า ที่ประกอบด้วย ครูโรงเรียน ครูชุมชน ครูผู้ปกครอง 3.3 การเรียนรู้ภูมิสังคม 3.4 การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ 3.5 หลักสูตรแกนกลาง 3.6 หลักสูตร Geo Park (อุทยานธรณี) 4. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ (ภาคเหนือ มีนวัตกรรมการศึกษาที่ส าคัญ เช่น 4.1 แนวทางการสอนภาษาไทยโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐานส าหรับเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ (ทวิ/พหุภาษา) 4.2 นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบ Montessori 4.3 การจัดการศึกษากลุ่มโรงเรียนบนพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร อ่างขางโมเดล (Angkhang Model) 4.4 สะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเชิงพาณิชย์
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 34 4.5 การบริหารจัดการการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Narong Model: Nurse Adjustment Relax Organization Normal และ Goal) ส าหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ 5. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี(ภาคกลาง) มีนวัตกรรมการศึกษาที่ส าคัญ เช่น 5.1 การส่งเสริมทักษะอาชีพ 5.2 การจัดการเรียนรู้แบบพหุศึกษา 6. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดชายแดนใต้ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส มีนวัตกรรมการศึกษา ที่ส าคัญ เช่น 6.1 Active Learning 6.2 การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 6.3 Lesson Study & Open Approach ปัจจุบันได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2562 เนื่องจากต้องพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอันเป็นรากฐาน ส าคัญของการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ มีความใฝ่ รู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการ สื่อสาร สามารถอยู่และท างานร่วมกับผู้อื่นซึ่งมีความแตกต่างหลากหลายได้ มีความรู้เท่าทันโลก และมีทักษะในการประกอบอาชีพตามความถนัดของผู้เรียนแต่ละคน และให้รัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมกันพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพและลดความ เหลื่อมล ้าในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างแท้จริง ดังนั้นจึงก าหนดให้มีพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาซึ่งเป็นพื้นที่ปฏิรูปการบริหารและการจัดการการศึกษาขึ้นเพื่อสนับสนุนการสร้าง นวัตกรรมการศึกษาเป็นการน าร่องในกรกระจายอ านาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการบริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพและลดความเหลื่อมล ้า รวมทั้งมี การขยายผลนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนและวิธีการปฏิบัติที่ดีไปใช้ในสถานศึกษาอื่น พระราชบัญญัติฉบับนี้มีสาระส าคัญในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. ระยะเวลาใช้บังคับเจ็ดปี เนื่องจากพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มีขึ้นเพื่อให้เกิดพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ส าหรับทดลอง การบริหารจัดการศึกษาจึงต้องก าหนดระยะเวลาการทดลองให้ ชัดเจน ดังนั้นพระราชบัญญัตินี้จึงมีผลใช้บังคับเป็นระยะเวลาเจ็ดปีและสามารถขยายระยะเวลา ออกไปได้อีกหนึ่งครั้งแต่ไม่เกินเจ็ดปี โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 2) 2. นิยามศัพท์
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 35 "นวัตกรรมการศึกษา" หมายความว่า แนวคิด วิธีการ กระบวนการ สื่อการเรียนการสอน หรือการบริหารจัดการในรูปแบบใหม่ ซึ่งได้มีการทดลอง และพัฒนาจนเป็นที่น่าเชื่อถือว่าสามารถ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดการศึกษา และให้ความหมายรวมถึงการน าสิ่งดังกล่าวมา ประยุกต์ใช้ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาด้วย "พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา" หมายความว่า พื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีประกาศก าหนดให้เป็น พื้นที่ปฏิรูปการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมการศึกษา "ผลสัมฤทธิท์างการศึกษา" หมายความว่า พัฒนาการของผู้เรียนทั้งในด้านความรู้ สมรรถนะ ทักษะ และเจตคติ "สถานศึกษาชั้นพื้นฐาน" หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาในระบบ ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประเภทสามัญศึกษา "สถานศึกษาน าร่อง" หมายความว่า สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือของเอกชน ที่อยู่ในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาอนุมัติให้เป็นสถานศึกษาน าร่อง 3. การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 3.1 การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) คิดค้นและพฒันานวตักรรมการศึกษาและการเรยีนรู้เพ่ือยกระดบัผลสมัฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรียน รวมทั้งเพื่อด าเนินการให้มีการขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น 2) ลดความเหลื่อมล ้าในการศึกษา 3) กระจายอ านาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาน าร่อง ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ และประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4) สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (มาตรา 5 วรรคหนึ่ง) 3.2 การก าหนดพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา คณะรัฐมนตรีโดยค าแนะน าของคณะกรรมการนโยบายเป็นผู้มีอ านาจก าหนดให้จังหวัด ใดเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้โดยประกาศในราชกิจจานนุเบกษาโดยคณะกรรมการนโยบายจะต้อง พิจารณาความเหมาะสมของจังหวัด ความพร้อม การมีส่วนร่วมและโอกาสที่จะประสบความส าเร็จและต้อง ค านึงถึงผลการด าเนินการที่ผ่านมาของพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่มีการจัดตั้งอยู่ก่อนแล้วด้วย (มาตรา 6) 3.3 การขอเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 36 จังหวัดใดประสงค์จะเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้คณะผู้เสนอโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเพื่อด าเนินการขอจัดตั้งพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาคณะผู้สนอจะต้องแสดงให้เห็นถึงความมีส่วนร่วม และความพร้อมของจังหวัด ในการ เป็นพื้นที่การศึกษา พร้อมทั้งด าเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด (มาตรา 7 และมาตรา 8) 4. คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ก าหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรีหรือ รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธานกรรมการ กรรมการโดยต าแหน่งเจ็ดคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ผู้อ านวยการส านักงบประมาณ และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจ านวนไม่เกินแปดคน และให้เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกรรมการและเลขานุการ (มาตรา 10) มีหน้าที่ก าหนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ ของประเทศในการด าเนินการส่งเสริมให้มีพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้ค าแนะน าในการก าหนด และ ยุบเลิกพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ก ากับดูแล การด าเนินการของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ตลอดจนก าหนดหลักเกณฑ์ และกฎหมายล าดับรองต่างๆ เพื่อด าเนินการให้ เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 10 และมาตรา 15) 5. การบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ก าหนดให้มีคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา จ านวนไม่เกินยี่สิบเอ็ดคน ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นซึ่งอย่างน้อยต้อง ประกอบด้วยกรรมการโดยต าแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่ ผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตและพัฒนาครู ผู้แทนองค์กรเอกชน และ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้ศึกษาธิการจังหวัดเป็นกรรมการ และเลขานุการมีหน้าที่ในการ ก าหนดยุทธศาสตร์ และแผนการด าเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา น าหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไปปรับใช้กับการจัดการศึกษาในสถานศึกษาน าร่องให้เหมาะสมกับ พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครูและบุคลากรทาง การศึกษาของสถานศึกษาน าร่องอย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการออกแบบการทดสอบผู้เรียนเพื่อวัด ผลสมัฤทธทิ์างการศกึษาในพน้ืทน่ีวตักรรมการศึกษา และจัดให้มีการประเมินผลการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาน าร่อง (มาตรา 19 และมาตรา 20) 6. สถานศึกษาน าร่อง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 37 การเป็นสถานศึกษาน าร่อง ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือของเอกชนที่อยู่ในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาซึ่งประสงค์จะเป็นสถานศึกษาน าร่อง ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการบริทารสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชนแล้วแต่กรณีและเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก หน่วยงานดังกล่าวแล้ว ให้ขออนุมัติต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อเป็น สถานศึกษาน าร่อง (มาตรา 27) 7. การประเมินผล ก าหนดให้มีการประเมินผลการด าเนินงาน และการบริหารจัดการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ทุกสามปีโดยคณะผู้ประเมินอิสระซึ่งคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาแต่งตั้งเป็นผู้ท า การประเมินแล้วรายงานผลการประเมินพร้อมข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาเพื่อพิจารณา หากปรากฏผลการประเมินว่าพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาใดไม่สามารถ ด าเนินการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้ให้คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อยุบเลิกพื้นที่นวัตกรรมการศึกษานั้นตามเงื่อนไข และเลื่อนเวลาที่ก าหนด ในการนี้ ให้ก าหนดมาตรการคุ้มครองสิทธิของนักเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อไม่ให้ได้รับ ผลกระทบจากการยุบเลิกด้วย ในกรณีที่ผลการประเมินปรากฎว่าการด าเนินงาน และบริหารจัดการ พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษามีผลสัมฤทธิต์ามวัตถุประสงค์ของการเป็นพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา ให้คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาด าเนินการเพื่อให้มีการขยายผลสมัฤทธดิ์งักล่าวไปใช้ กับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่นต่อไป (มาตรา 40 มาตรา 41 และมาตรา 42) 8. บทเฉพาะกาล ในวาระเริ่มแรกก าหนดให้คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกอบด้วย กรรมการโดยต าแหน่งและให้ท าการประชุมภายในหกสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ (มาตรา 43) นอกจากนี้ก าหนดให้พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่ได้มีการจัดตั้งอยู่ก่อนแล้วตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ต่อไป (มาตรา 44) รวมทั้ง ให้สถานศึกษาน าร่องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการดังกล่าว เป็นสถานศึกษาน าร่องตาม พระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 46) (บทสรุปส าหรับสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, ม.ป.ป.) 1.4 ประโยชน ์ ของพระราชบญัญตัิพืน้ที่นวตักรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ให้ความเห็นของประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับจาก พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ดังนี้
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 38 1. การมีกลไกในการบริหารจัดการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เพื่อให้สามารถทดลองจัด การศึกษาที่มีอิสระในด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการบริหารจัดการสถานศึกษาที่มี ความคล่องตัว อันส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีเวลาที่ใช้ในการเรียนการสอน และพัฒนา ผู้เรียนให้เกดิผลสมัฤทธทิ์างการศกึษาได้อย่างเต็มท่ีและเพ่อืให้มกีารคดิคนัและพฒันานวตักรรม ด้านการศึกษาและการเรียนรู้ รวมทั้งขยายผลไปใช้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งอื่น 2. เพื่อลดความเหลื่อมล ้าในการศึกษา กระจายอ านาจ และให้อิสระแก่หน่วยงานทาง การศึกษา และสถานศึกษา ตลอดจนเพื่อให้การสร้าง และพัฒนาการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นไปโดยเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาในแต่ละพื้นที่น าไปสู่การยกระดับกรจัดการศึกษา ของประเทศอันเป็นรากฐานส าคัญของการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพต่อไป (ส านักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา, 2562) กรณีศึกษา การบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่นวัตกรรม 8 จังหวัดของประเทศไทย ดังนี้ 1.5 ประเภทของหลกัสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวตักรรม การศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นพื้นที่ปฏิรูปการบริหารและการจัดการศึกษาเพื่อสนับสนุนการ สร้างนวัตกรรมการศึกษา ภายใต้พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นการ น าร่องในการกระจายอ านาจ และให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และลดความเหลื่อมล ้า รวมทั้งมีการขยายผลนวัตกรรม และวิธีการปฏิบัติที่ดีไปใช้ในสถานศึกษาอื่นๆ กลุ่มเป้าหมาย คือ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัด ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือส านักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ที่ได้รับการประกาศหรืออนุมัติเป็นสถานศึกษาน าร่องตาม พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 จากผลการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ หลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามมาตรา 20 (4) และ มาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 โดยคณะอนุกรรมการด้าน ส่งเสริมการบริหารวิชาการในคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา และมติ คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2563 ได้จ าแนกประเภทของ หลักสูตรที่สถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาสามารถเลือกใช้ได้โดยอิสระ (https://www.edusandbox.com/independence-of-school/) ดังนี้
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 39 ประเภทที่1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการปรับและได้รับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา เป็นหลักสูตรตามมาตรา 25 วรรค หนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเห็นชอบให้มีการน าหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไปปรับใช้กับการจัดการศึกษาในสถานศึกษาน าร่องให้ เหมาะสมกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา ตามมาตรา 20 (4) ทั้งนี้ หลักสูตรที่ปรับใช้ดังกล่าวจะต้องครอบคลุมสมรรถนะ ส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยจะต้องมีการบูรณาการสาระการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตอบสนองความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผู้เรียน และสภาพภูมิสังคม รวมทั้งมีกระบวนการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ประเภทที่2 หลักสูตรที่ปรับเพิ่มเติมจากหลักสูตรที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาให้ความเห็นชอบไปแล้วเป็นหลักสูตรตามมาตรา 25 วรรคสอง ที่สถานศึกษาน าร่อง ต้องการปรับเพิ่มเติมจากหลักสูตรตามประเภทที่ 1 ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ตามมาตรา 20 (4) ประเภทที่3 หลักสูตรอื่นๆ ที่สถานศึกษาน าร่องประสงค์จะจัดการเรียนการสอนโดยไม่ใช้ หลักสูตรตามมาตรา 20 (4) เป็นหลักสูตรตามมาตรา 25 วรรคสี่ ซึ่งคณะกรรมการนโยบายพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษา เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2563 มีมติเห็นชอบให้สถานศึกษาน าร่องสามารถ ประยุกต์ใช้แนวคิดหลักการของหลักสูตรอิงสมรรถนะหรือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ หรือใช้นวัตกรรมหรือแนวคิดใหม่ๆ ไปทดลองพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของตนเองได้ รวมทั้ง สถานศึกษาน าร่องสามารถปรับการจัดการเรียน การสอนและวัดประเมินผลให้สอดคล้องกับ หลักสูตรดังกล่าว ประเภทที่4 หลักสูตรต่างประเทศเป็นหลักสูตรตามมาตรา 25 วรรคสี่ที่สถานศึกษาน าร่อง ประสงค์จะจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรต่างประเทศ จะต้องเสนอคณะกรรมการขับเคลื่อน พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การปรับหรือใช้หลักสูตรต่างๆ ตามมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา หรือสถานศึกษาน าร่อง แล้วแต่กรณี ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้เรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษา องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนภาคเอกชน และผู้แทนภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ทั้งนี้ คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามีมติให้คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาเร่งขับเคลื่อน ส่งเสริมและสนับสนุน
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 40 ภาพที่5 นโยบายพื้นที่นวัตกรรม
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 41 การด าเนินการของสถานศึกษาน าร่อง ตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ดังภาพ ภาพที่6 ความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรที่ใช้ในสถานศึกษาน าร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา หลักสูตร ตามมาตรา 25 วรรค (4) หลักสูตรที่ไม่ใช้หลักสูตร ตามมาตรา 20 (4) ผู้เรียนรู้ ผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม พลเมืองที่เข้มแข็ง มาตรฐานการศึกษาของชาติ (DOE) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลกัสูตรอิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2551) กรอบยุทธศาสตร์การศึกษาของจังหวัด/กรอบหลักสูตรของพื้นที่ หลกัสูตรอิงสมรรถนะ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับใหม่ หลักสูตรตามมาตรา 20(4) คณะกรรมการขับเคลื่อนมีหน้าที่และอ านาจ น าหลักสูตรแกนกลางตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติไปปรับใช้การจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้ เหมาะสมกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา ที่ประยุกต์ใช้แนวคิดใหม่หรือนวัตกรรมที่สถานศึกษา ด าเนินการทดลองพัฒนา หลักสูตร ตามมาตรา 25 วรรคหนึ่ง หลักสูตรแกนกลางที่ปรับให้เหมาะสมกับ บริบทพื้นที่ครอบคลุมสมรรถนะส าคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และมาตรฐาน การเรียนรู้ โดยมีการบูรณาการสาระการ เ รี ย น รู้ ที่ ห ล า ก ห ล า ย ต อ บ ส น อ ง ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของ ผู้เรียน และสภาพภูมิสังคม เป็นหลักสูตรที่ ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ละ คณะกรรมการขับเคลื่อน หลักสูตร ตามมาตรา 25 วรรคสอง ปรับหลักสูตรเพิ่มเติมจากหลักสูตรตาม มาตรา 20 (4) ต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสถานศึกษาและ คณะกรรมการขับเคลื่อน สถานศึกษาน าร่อง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 42 รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ และวีนัส ศรีศักดา. (2566) กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านท่าน ้า เป็นโรงเรียน ขนาดเล็กที่อยู่ในขอบเขตพื้นที่ที่ผู้วิจัยก าหนด และมีบริบทที่มีการปฏิบัติโดยใช้เครือข่าย 5 โรงเรียน เพื่อสนับสนุนการจ้างวิทยากรต่างชาติร่วมกัน 5 โรงเรียน ในการสอนภาษาอังกฤษ สัปดาห์ละ 1 วัน ผู้บริหารมีแนวความคิดในการบูรณาการรายวิชาต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนทุกวิชา เพื่อให้ ผู้เรียนใช้สมรรถนะด้านภาษาให้เกิดอาชีพ ซึ่งเป็นจุดเด่นที่ผู้วิจัยต้องการจะส่งเสริมเพื่อให้เกิด หลักสูตรฐานสมรรถนะให้เกิดความยั่งยืน สรุปผลการวิจัย วัตถุประสงข้อ 1 ผลจากการศึกษาข้อมูลพื้นฐานองค์ความรู้หลักสูตรฐานสมรรถนะ : กรณีศึกษาท่าน ้าโมเดล ได้ข้อมูลโรงเรียนบ้านท่าน ้า ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้เป็นไปตาม ศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการออกแบบการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ส่งเสริมและพัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการน าเทคนิค วิธีการ สอนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน จัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนแสดงผลงาน การน าเสนอผลงาน และการพัฒนานักเรียนโดยการส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก โรงเรียน ข้อมูลที่ได้แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านกระบวนการบริหารและ การจัดการ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. คุณภาพผู้เรียน 1.1 วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนบ้านท่าน ้า ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร มีการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน ส่งเสริมและพัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถ ในการน าเทคนิค วิธีการสอนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน จัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนแสดง ผลงาน การน าเสนอผลงาน และการพัฒนานักเรียนโดยการส่งนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมกับ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เช่น การแข่งขันทางวิชาการระดับนานาชาติ การแข่งขัน ทางวิชาการ กิจกรรมการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปีการศึกษา 2562 และเน้นการอ่านออก ของผู้เรียนเป็นเรื่องส าคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ชั้น ป.1 พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการน าเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อ เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้มีการด าเนินการ เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน จนสามารถน าไปประกอบอาชีพได้ 1.2 ผลการด าเนินงาน ด้านผลสมัฤทธทิ์างการเรยีน มุ่งเน้นให้นักเรยีนมคีวามสามารถ ในการอ่าน การเขียน การส่อืสาร การคดิคา นวณ รวมทงั้การมผีลสมัฤทธทิ์างการเรยีนตามหลกัสูตร
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 43 สถานศึกษา มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐานเจตคติที่ดีต่อ งานอาชีพ รวมถึงความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งผลให้มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของ ผู้เรียน มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดี 1.3 จุดเด่น สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิท์างการเรียนและได้ก าหนดเป็น เป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน 3 ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดค านวณ ส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้าน เทคโนโลยีที่ทันสมัย 2. กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 วิธีการพัฒนา โรงเรียนบ้านท่าน ้า ด าเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา โดยใช้ข้อมูลฐาน ในการก าหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน ในการด าเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้น คุณภาพผู้เรียน รอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดท า แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ด าเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางด้าน วิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน ส าหรับด้านการเรียนการสอนเน้นการ แก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ของผู้เรียน แนวทางการแก้ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ โดยคณะครูได้ร่วมมือในการบริหารงานตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองและ การเป็นผู้ร่วมงานอย่างกัลยาณมิตร เสียสละ บริหารจัดการ แบบประชาธิปไตยเปิดโอกาสให้ทุกคน มีส่วนร่วมรับฟังปัญหาโดยใช้ระบบคุณธรรม มีความมุ่งมั่น ในการบริหารเพื่อประโยชน์ส่วนรวม อุทิศตนและเวลาเพื่อการท างานจึงท าให้ระบบงานขับเคลื่อนต่อไป 2.2 ผลการพัฒนา โรงเรียนบ้านท่าน ้า มีการก าหนดวิสัยทัศน์ การจัดท าแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการประจ าปี มีการแต่งตั้งคณะท างานบริหารงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีการประชุม วางแผนและแต่งตั้งคณะท างาน ประกอบด้วยครู กรรมการสถานศึกษา ผู้น าชุมชน และนักเรียน ด้านการจัดการศึกษาโรงเรียนมีการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและมีการตรวจสอบ ถ่วงดุล ที่เป็นระบบ บริหารโรงเรียนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีคณะกรรมสถานศึกษาขั้นพื้นฐานร่วมก าหนด ทิศทางการบริหารโรงเรียน โดยมีการประชุมอย่างน้อย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง ซึ่งคณะกรรรมการ สถานศึกษาได้มีโอกาสในการร่วมวางแผน ตรวจสอบ และรับทราบความเคลื่อนไหวความก้าวหน้า ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน มีการปรึกษาปัญหาของแต่ละงาน ร่วมกันตรวจสอบภายใน
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 44 โรงเรียน รายงานผลต่อผู้บริหารและน าข้อสรุปร่วมกันในที่ประชุม ท าให้บุคลากรมีการพัฒนาตนเอง ในการท างาน สามารถวางแผนและตัดสินใจในงานต่างๆ ที่ตนรับผิดชอบ 2.3 จุดเด่น โรงเรียนมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ที่ก าหนดไว้ชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ นโยบาย ของรัฐบาลและต้นสังกัด ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม พัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียน รอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ตรงตามความต้องการ ให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ ของผู้เรียน 2.4 จุดควรพัฒนา การจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง การศึกษา และสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น 2.5 แนวทางการพัฒนา โรงเรียนควรมีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา วัตถุประสงค์ข้อ 2 การสร้างองค์ความรู้หลักสูตรฐานสมรรถนะด้านภาษา กรณีศึกษาท่าน ้า โมเดล ได้ผลการวิจัยการพัฒนาองค์ประกอบของสมรรถนะได้จากการลงพื้นที่จากข้อมูลเชิงประจักษ์ แล้วน ามาสังเคราะห์ ได้รูปแบบ 5 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านความรู้ (Knowledge) คือ ความรู้ในเรื่องที่ต้องรู้ เป็นความรู้ที่เป็นสาระที่ส าคัญ ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยการด าเนินงาน/กิจกรรม อย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอน ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) เพื่อน าไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ด าเนินการ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และน าผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 2. ด้านทักษะ (Skills) คือ สิ่งที่ปฏิบัติได้และให้ท าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นภาพ ความส าเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ที่สนับสนุนผลการ ประเมินตนเอง ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมชุมนุม ให้นักเรียน เลือกตามความถนัดและความสนใจผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง การบันทึกการใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน าผลมา พัฒนาผู้เรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกโดยครูมีวิจัยชั้นเรียนและน าผลไปแก้ไขปัญหาจริง
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 45 ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้โดยจัด กิจกรรมค่ายวิชาการ และครูจัดนิทรรศการแสดงผลงาน 3. ด้านความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง (Self – Concept) คือ ค่านิยม เจตคติ รวมทั้ง ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของตน หรือสิ่งที่บุคคลเชื่อว่าตนเอง ครูมี ความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยี ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจน สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด 4. ด้านบุคลิกลักษณะประจ าตัวของบุคคล (Traits) เป็นสิ่งที่กล่าวถึงบุคคล จัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้ฝึกทักษะการแสดงออก น าเสนอผลงาน แสดงความคิดเห็น คิดเป็น ท าเป็น ส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน และแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ครูผลิต นวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย ก าหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการ เรียนรู้ 5. ด้านแรงจูงใจเจตคติ (Motives Attitude) เป็นแรงจูงใจ แรงผลักดัน แรงขับ โรงเรียนควร มีการจัดท าโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ (Active Learning) เพื่อฝึกให้เด็กได้คิด ท าและน าเสนอเพื่อฝึกความกล้าแสดงออก และทักษะในการพูดน าเสนอผลงานของนักเรียน ครูมี แผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถน าไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหาร จัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้และน าข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 46 สรุปท้ายบท พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (Education Sandbox) คือ พื้นที่การศึกษาที่ได้รับการประกาศให้ เป็นพื้นที่ส าหรับการทดลองบวัตกรรมการศึกษา โดยให้อ านาจแก่สถานศึกษาในการบริหารงานได้ อย่างอิสระและจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายการศึกษาที่ก าหนดไว้ โดยมี หน่วยงานส่วนกลางให้การสนับสนุนทรัพยากร และกลไกหนุนเสริมแก่โรงเรียนในพื้นที่อย่าง เหมาะสมผ่านการมีส่วนร่วม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของพื้นที่ โดยมีเป้าหมาย ดังนี้ 1. เพมิ่ผลสมัฤทธใิ์นการเรยีนรูข้องนักเรยีนในพ้นืท่นีวตักรรมการศกึษาทงั้ 3 ด้าน ได้แก่ เจตคติทักษะส าคัญ และความรู้ รวมทั้งขยายผลสู่นักเรียนทั่วประเทศในอนาคต 2. ลดความเหลื่อมล ้าด้านคุณภาพการศึกษา โดยยกระดับผลการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มผล การเรียนอ่อนและยากจน 3. พัฒนานวัตกรรมการบริหารการศึกษาระดับจังหวัด ขยายผลนวัตกรรมการศึกษา ทั้งเชิง นโยบาย การจัดการเรียนรู้ และการบริหารในสถานศึกษาไปสู่นโยบายการศึกษาในระดับชาติและ พื้นที่อื่น อาทิ ด้านหลักสูตร ต ารา สื่อการเรียนรู้ การทดสอบ การประเมินสถานศึกษา บุคลากร การเงิน รวมทั้ง ความสอดคล้องของการบริหารงานด้านอื่น 4. ร่วมมือกับภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน และประชาสังคมในการจัด การศึกษาการพัฒนา และการขยายผลนวัตกรรมการศึกษา ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาน าร่องจ านวน 6 พื้นที่ใน 6 ภูมิภาค ดังนี้1) พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จังหวัดระยอง (ภาคตะวันออก) จังหวัดสตูล (ภาคใต้) จังหวัดเชียงใหม่ (ภาคเหนือ) จังหวัดกาญจนบุรี (ภาคกลาง) จังหวัดชายแดนใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส) ดังนั้น พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นการจัดการศึกษารูปแบบหนึ่งที่น ามาใช้ในการลดความ เหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา โดยการจัดการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพในแต่ละพื้นที่ มีอิสระในด้านหลักสูตรการจัดการเรียนรู้การบริหารจัดการสถนศึกษาที่มีความคล่องตัว ตลอดจน การสร้างและพัฒนาการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเป็นไปโดยเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพปัญหาในแต่ละพื้นที่อันจะน าไปสู่การยกระดับการจัดการศึกษาของประเทศอันเป็นรากฐาน ส าคัญของการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพต่อไป
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 47 เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. (2562). เสนอเรื่อง “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” ไว้ใน (ร่าง) แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาและส่งมอบนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2562. (27 มีนาคม 2562). สืบค้น 19 กันยายน 2564 จาก https://www.edusandbox.com/ คณะกรรมการอิสระเพื่อการศึกษา สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2553) รูปแบบการพัฒนาความสามารถในการจัดการความรู้ของผู้ประกอบการ ที่มีนวัตกรรมในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/กรุงเทพฯ. สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์และคณะ. (2553). นวัตกรรม: ความหมาย ประเภท และความส าคัญต่อการเป็น ผู้ประกอบการ.วารสารบริหารธุรกิจคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 33(128), 49-65. สมพงษ์ จิตระดับ และคณะ. (2564). โครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบกลไก และแนวโน้มผลกระทบ ของนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัดสตูล. 2563. ส านักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). กรุงเทพฯ. สมพงษ์ จิตระดับ และคณะ. (2562). Sandbox สตูล นวัตกรรมปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ส านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2549). สุดยอดนวัตกรรมไทย. กรุงเทพฯ : ส านักงานนวัตกรรม แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2566). “การพัฒนาองค์ความรู้หลักสูตรฐานสมรรถนะด้านภาษา : กรณีศึกษาท่าน ้าโมเดล” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2566) Thomas, Hughes. (1987). The Social Construction of Technological Systems: New Directions in the sociology and History of Technology. Cambridge : M.I.T.Press.
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 48 บทที่ 2 การบร ิ หารสถานศึ กษาบนพื้นที่เกาะ การบริหารสถานศึกษาบนพื้นที่สูง ห่างไกล ถิ่นทุรกันดาร มีการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน เป็นหมู่บ้าน หย่อมบ้านตามที่ราบเชิงเขา หุบเขา บนเขา การคมนาคมไม่สะดวก ประชากรส่วนใหญ่ มีอาชีพท าไร่ ท าสวน และมีฐานะยากจน ค าว่าลักษณะพิเศษ คือ มีลักษณะเฉพาะ เป็นพื้นที่ ประกาศให้มีลักษณะพิเศษ เช่น มีบริบทของชุมชนในพื้นที่แตกต่างกัน รวมทั้งกลุ่มผู้เรียนส่วนมาก จะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ พื้นที่ที่มีความยากล าบากในการเดินทาง และเป็นพื้นที่ที่ประกาศตาม หลักเกณฑ์ตามการพิจารณาก าหนดส านักงานในพื้นที่พิเศษ ส่วนพื้นที่เกาะ ประเทศไทยมีเกาะ จ านวนทั้งสิ้น 936 เกาะ กระจายอยู่ทั่วไปตามจังหวัดชายฝั่งทะเล 19 จังหวัด เป็นเกาะในฝั่งอ่าว ไทย 374 เกาะ และฝั่งทะเลอันดามัน 562 เกาะ ซึ่งมีโรงเรียนพื้นที่เกาะ จ านวน 121 โรงเรียน ปัญหาความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาของโรงเรียนพื้นที่เกาะ เป็นประเด็นส าคัญในการจัดการศึกษา ที่ส่งผลให้คุณภาพทางการศึกษามีความแตกต่างกัน นักเรียนในพื้นที่ดังกล่าว มีคุณภาพชีวิต และ คุณภาพทางการศึกษาที่ไม่ทัดเทียมกับโรงเรียนในพื้นที่ปกติทั่วไป มีการคมนาคมที่ยากล าบาก เพราะตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นเกาะ มีน ้าล้อมรอบ มีลักษณะตัดขาดจากแผ่นดินตลอดปี การสื่อสารไม่มี ความเสถียร ระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปาไม่มีคุณภาพ อีกทั้งเป็นพื้นที่เสี่ยงภัย ไม่มีความ มั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ประสบปัญหาในการเดินทาง และการด ารงชีวิต ส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ขาดขวัญก าลังใจในการท างาน มีการ โยกย้ายบ่อย เกิดปัญหาขาดแคลนครู ขาดความต่อเนื่องในการจัดการเรียนการสอน นอกจากนั้น นักเรียนยังมีความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมไปถึงความ ยากจน ท าให้ผู้ปกครองให้ความส าคัญกับการเลี้ยงชีพ มากกว่าการให้การศึกษา ซึ่งส่งผลต่อ คุณภาพนักเรียน และการบริหารจัดการศึกษา ในบทนี้จะเน้นโรงเรียนพื้นที่เกาะ เนื่องจากผู้เขียนมี ประสบการณ์การท าวิจัย และการลงพื้นที่ในลักษณะพื้นที่เกาะ และโรงเรียนในพระราชด าริ โรงเรียน มูลนิธิชัยพัฒนาและโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน
กลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารสถานศึกษา 49 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) ทรงพระราชทานกระแสรับสั่งด้านการศึกษาที่ส าคัญ ได้แก่ 1) มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อ บ้านเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีคุณธรรม 3) การมีงานท า 4) เป็นพลเมืองดี คณะกรรมการ จัดท าแผนยุทธศาสตร์ชาติ จึงน ามาเป็นหลักคิดในการก าหนดวิสัยทัศน์ของแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) คือ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม (6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐกระทรวงศึกษาธิการได้จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของคนในประเทศ โดยก าหนด วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579) ไว้ว่า “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและ เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ด ารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” และก าหนดกรอบเป้าหมายและทิศทางการ จัดการศึกษาของประเทศ มุ่งเน้นการจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาส และความ เสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบ การบริหารการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาก าลังคนให้มีสมรรถนะในการท างานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการ พัฒนาประเทศ 2.1 การบริหารโรงเรียนพื้นที่เกาะ ลักษณะของโรงเรียนพื้นที่เกาะ คู่มือเกณฑ์การคัดกรองโรงเรียนที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ (โรงเรียนพื้นที่เกาะ) มีลักษณะดังนี้ 1. สภาพภูมิศาสตร์โรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เป็นเกาะที่มีน ้าล้อมรอบ มีลักษะตัดขาด จากแผ่นดินใหญ่หรือเดินทางได้โดยทางเรือเท่านั้น พิจารณาจากสภาพที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ในพื้นที่ ที่เป็นเกาะ ที่มีน ้าล้อมรอบ มีลักษะตัดขาดจากแผ่นดินใหญ่ หรือเดินทางได้โดยทางเรือเท่านั้น แผน ที่อิเล็กทรอนิกส์ ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ 2.สภาพที่ตั้งของโรงเรียน 2.1 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่ บ่งบอกถึงความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ฐานะความเป็นอยู่ของชุมชน ซึ่งส่งผลต่อระดับความยุ่งยากล าบากในการบริหารจัดการศึกษา