The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chananya Phenglun, 2024-06-18 12:28:19

ปก-ภาคผนวก_merged

ปก-ภาคผนวก_merged

รายงานผลการศึกษา เรื่อง การพฒันาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที่3 นางสาวชนัญญา เพ็งลุน รหัสนกัศึกษา 611505105 ชั้นปท่ี5 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร รายงานผลการศึกษาเพ่อืพัฒนาการเรียนรูฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ รายวิชา การฝกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา 5002702 ประจำภาคการศึกษาที่ 2/2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ


ก คำนำ รายงานการศกึษาเพื่อพัฒนาการเรียนรูเร่อืง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอน แบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 เลมนี้ สำเร็จลุลวงไดดวยดี โดยไดรับความอนุเคราะห ดูแล ชวยเหลือ ใหคำแนะนำ และ กำกับติดตามจากทานอาจารยนิธิพงษ โยธชัย อาจารยที่ปรึกษาในรายวิชาฝกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (5002702) และทานอาจารย ดร. เฉลิมวุฒิ อุทัยกัน อาจารยนภาพร เลขาโชค อาจารยนิเทศ ผูศึกษารูสึก ซาบซึ้งในพระคุณ จึงขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณทานผูเชี่ยวชาญที่ใหความกรุณาในการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรูและเครื่องมือ ในการพัฒนาการเรียนรูในครั้งนี้ ซึ่งไดแก คุณครูไอยดา โสภา ตำแหนง ครู โรงเรียนบานหนองหญาปลอง คุณครูเสรี ออไธสง ตำแหนง ครู โรงเรียนหวยตอนพิทยาคม และคุณครูสุตะกาล กางนอก ตำแหนง ครูอัตราจาง โรงเรียนหวยตอนพิทยาคม ที่ไดตรวจสอบเน้อืหาและชี้แนะแนวทางที่ถูกตอง จนทำใหการพัฒนา การเรียนรูในครั้งนี้ ดำเนินการไปไดดวยดี ขอขอบพระคุณทานผูอำนวยการโรงเรียนบานหนองหญาปลอง ที่ใหความอนุเคราะห ในการฝกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (5002702) โดยอนุญาตใหทำการเก็บขอมูลกับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในครั้งนี้ ดวยความกรุณาของครูพี่เลี้ยง คุณครูไอยดา โสภา ตำแหนง ครู ที่ไดให ความกรุณาใหคำแนะนำ ชี้แนะแนวทางการเก็บขอมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจนสำเร็จลุลวง ดวยดี ตลอดจนคณะครูโรงเรียนบานหนองหญาปลองทุกทาน ที่ใหกำลังใจ และอำนวยความสะดวก ในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนอยางดี และขอขอบใจนักเรียนกลุมตัวอยางจากโรงเรียนบานหนองหญาปลอง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่ใหความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลดวยความตั้งใจ จนทำใหขอมูล ครบถวน ชนัญญา เพ็งลุน นักศึกษาฝกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2


ข สารบัญ เรื่อง หนา คำนำ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ง สารบัญรูปภาพ จ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ 1 1.2 วัตถุประสงคการศึกษา 3 1.3 คำถามการศึกษา 3 1.4 ประโยชนของการศึกษา 3 1.5 สมมติฐานของการศึกษา 4 1.6 ขอบเขตของการศึกษา 4 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ 5 บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 วิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) 8 2.2 หลักการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 19 2.3 หลักการประเมินและพัฒนานวัตกรรม 22 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 27 บทที่3 วิธีการดำเนนิการวิจัย 3.1 กลุมตัวอยาง 32 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศกึษา 32 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 35 3.4 การวิเคราะหขอมูล 38 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 39 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 4.1 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 41 4.2 ผลการวิเคราะหการตรวจสอบประสิทธิภาพของเคร่อืงมอืในการวิจัย 41 4.3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบกอนเรียน 45 4.4 ผลความพึงพอใจภายหลังการจัดการเรียนการสอน 46


ค สารบัญ (ตอ) เรื่อง หนา บทที่ 5 สรุปผลกสรวิจัย อภิปรายและขอเสนอแนะ 5.1 สรุปผลและอภิปรายผลการศึกษา 49 5.2 ขอเสนอแนะในการศึกษา 52 บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใชในการศึกษา - ตัวอยางแผนการจัดการเรยีนรจูำนวน 8 แผน - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน 40 ขอ - แบบประเมินหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู - แบบประเมินหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน - แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ภาคผนวก ข คาสถิติตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญ - การประเมินหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู จำนวน 8 แผน จากผูเชี่ยวชาญ - ผลการวิเคราะหความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรยีนรู จำนวน 8 แผน จากผูเชี่ยวชาญ - การประเมินหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจำนวน 40 ขอ จากผูเชี่ยวชาญ - ผลการวิเคราะหความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจำนวน 40 ขอ จากผูเชี่ยวชาญ ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะหขอมูล ภาคผนวก ง รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน


ง สารบัญตาราง เรื่อง หนา ตารางที่ 1 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลการศกึษาเพื่อพัฒนาการเรยีนรแูละเพื่อเปรียบเทียบ 36 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพเครื่องมือในการวิจัย ไดแกแผนการจัดการเรยีนรู 41 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพเครื่องมือในการวิจัย ไดแก แบบทดสอบกอนเรียน 43 และแบบทดสอบหลังเรียนจากแผนการจัดการเรียนรู ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบผลตางของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนแบบทดสอบ 45 กอนเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู ตารางที่ 5 ผลการทดสอบคาคะแนนที (t-test) 46 ตารางที่ 6 ผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนการสอน 47


จ สารบัญรูปภาพ เรื่อง หนา รูปภาพที่ 1 ภาพแสดงกรอบแนวคิดเพื่อการเรยีนรูในศตวรรษที่21 15 รูปภาพที่ 2 แบบวิจัยในการเก็บรวบรวมขอมูล 35


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติมุงเนนความสำคัญทั้งดานความรูความคิด ความสามารถ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสำคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได สงเสริมใหผูเรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ใหความสำคัญตอความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเอง กับสังคม และมุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพ ในการจัดการการสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทำงานไดเหมาะสมกับสถานการณ (คณะกรรมการการศกึษาแหงชาติ2542 : 1) สังคมโลกปจจุบันเปนสังคมขอมูลขาวสาร ความกาวหนา ความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลง ทางดานเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม มีผลกระทบทั่วถึงอยางรวดเร็ว บุคคลในสังคมตองติดตอพบปะ เพื่อดำเนิน กิจกรรมทางสังคมหรือเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น สำหรับโลกในศตวรรษที่ 21 นั้นมีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ที่มีความกาวหนาไปหลายดาน ซึ่งดานที่มีความจําเปนตอครูนั่นคือดานการศึกษา ซึ่งจะมุงประเด็นสำคัญไปท่ี วิธีการสอนภาษาอังกฤษ (อรรชนิดา หวานคง/วารสารสถาบนวิจัยสังวรณ ปที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559) ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรูภาษาตางประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษนั้นมีความสำคัญ อยางมาก เนื่องจากภาษาอังกฤษเปนสิ่งสำคัญอยางยิ่ง ตอการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ประเทศตางๆ สวนใหญในโลกลวนแตใชภาษาอังกฤษ ดังนั้น ภาษาอังกฤษจึงเปนเครื่องมือที่สำคัญ ในการติดตอสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรูและการประกอบอาชีพ (หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, หนา 1) และเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมโลก สงผลให ภาษาอังกฤษกลายเปนเครื่องมืออันสำคัญยิ่งในการถายทอดความรูสึกนึกคิดเพื่อใหเกิดความเขาใจ ซึ่งกัน และกัน การศึกษาหาขอมูลความรู และการถายทอดวิทยาการตาง ๆ แกกัน (กรมวิชาการ, 2545 หนา 1) ดวยเหตุที่ภาษาอังกฤษมีความสำคัญและจำเปนดังกลาว กระทรวงศึกษาธิการ จึงไดกำหนดใหสาระ ภาษาตางประเทศเปนสาระการเรียนรูพื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุมสาระ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และไดกำหนดสาระการเรียนรูไว 4 สาระ ประกอบดวย สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร หมายถึง การใชภาษาตางประเทศ เพื่อทำความเขาใจแลกเปลี่ยน นำเสนอขอมูลขาวสาร แสดงความคิดเห็น เจตคติ อารมณและความรูสึกในเรื่องตาง ๆ ทั้งที่เปนภาษาพูดและภาษาเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม หมายถึง ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู พฤติกรรมทางสังคม คานิยม ความเชื่อที่แสดงออก ทางภาษา สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น หมายถึง ความสามารถในการใช ภาษาตางประเทศในการแสวงหาความรูที่สัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และสาระที่ 4 ภาษา


2 กับความสัมพันธกับชุมชนโลกหมายถึง ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศภายในชุมชนและเปนพื้นฐาน ในการประกอบอาชีพ และการเรียนรูตลอดชีวิต สาระการเรียนรูกลุมวิชาภาษาตางประเทศ เปนสาระ การเรียนรูที่เสริมสรางพื้นฐานความเปนมนุษยและสรางศักยภาพในการคิดและการทำงานอยางสรางสรรค เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามจุดหมายของหลักสูตร การเรียนภาษาตางประเทศ ชวยให ผูเรียนมีวิสัยทัศนกวางไกลและเกิดความมั่นใจในการที่จะสื่อสารกับชาวตางประเทศ รวมทั้งเกิดเจตคติที่ดี ตอภาษาและวัฒนธรรมตางประเทศ โดยยังคงความภาคภูมิใจในภาษาและวัฒนธรรมไทย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น ทักษะการพูดนับวาเปนทักษะที่สำคัญที่สุดและจำเปนอยางยิ่ง เนื่องจากเปนทักษะเบื้องตนที่ใชในการสื่อสาร (สุมิตรา อังวัฒนกุล, 2537: 167) ทักษะการพูดจึงเปนทักษะ ที่นักเรียนตองไดรับการพัฒนามากที่สุด ซึ่งเออร (Ur, 1998) ไดใหความคิดเกี่ยวกับเหตุผลที่ตองพัฒนา ทักษะการพูดของผูเรียนวา ทักษะการพูดเปนทักษะที่สำคัญที่สุดในบรรดาทักษะทั้งหมด เนื่องจากทักษะ การพูดเปนทักษะที่แสดงใหเห็นวาผูพูดมีความรูทางภาษา และชวยใหผูเรียน เรียนรูทักษะอื่นไดงายขึ้น สำหรับประเทศไทย รายวิชาภาษาอังกฤษไดกำหนดให จัดการเรียนการสอนในลักษณะภาษาตางประเทศ นักเรียนแทบไมมีโอกาสไดพูดหรือใชภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน นอกจากเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ในหองเรียนเทานั้น ทั้งนี้ปญหาดังกลาว ชูมิน (Shumin, 1997: 8) ไดใหความเห็นเกี่ยวกับการสอนการพูดวา การพูดภาษาอังกฤษเปนสิ่งที่ยากอยางยิ่ง สำหรับผูเรียน ผูเรียนมักพูดภาษาอังกฤษไดไมดี ขาดความคลองแคลวในการใชโครงสรางภาษาและสำนวนตาง ๆ เนื่องจากผูเรียนไมไดอยูในสิ่งแวดลอม ที่มีการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ตลอดจนการขาดความเขาใจในสภาพความเปนจริงทางวัฒนธรรม ของเจาของภาษา จากการศกึษาสภาพปญหาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในชั้นเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ดวยวิธีการสังเกต พฤติกรรมการเรียนของนักเรยีน ผูศึกษาพบวา นักเรียนมีพื้นฐานทางดานทักษะการพูดภาษาอังกฤษท่ีคอนขาง ออนและยังไมสามารถใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารไดดีเทาที่ควร จากการสอบถามคุณครูประจำชั้นและ ครูผูสอนในรายวิชาภาษาอังกฤษทานอื่น พบวา นักเรียนไมกลาพูดเพราะกลัวพูดผิด ไมกลาแสดงออก มีความ กังวลในการออกเสียง ดวยเหตุนี้ผูศึกษาจึงไดมีความสนใจที่จะนำเอาการสอนทักษะการพูดโดยใชวิธีการสอน แบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) มาใชในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 เพื่อพัฒนาทักษะการพูดเพื่อการสื่อสาร และเปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถใหเกิดทักษะ การพูดที่ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพ


3 1.2 วัตถุประสงคของการศกึษา 1.2.1 เพื่อหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 1.2.2 เพื่อหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของขอสอบเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 3 1.2.3 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบกอนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (อ13101) เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 1.2.4 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ที่มีตอการกัดการเรียนการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการ แสดงบทบาทสมมติ (Role Play) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 1.3 คำถามการศกึษา จากวัตถุประสงคการศึกษา ผูศึกษาใชเนื้อหารายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศกึษาปที่ 3 จึงกำหนดคำถามการศึกษาไดดังนี้ 1.3.1 คาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 มีคาความสอดคลองที่เหมาะสมหรือไม 1.3.2 คาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของขอสอบเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่3 มีคาความสอดคลองที่เหมาะสมหรือไม 1.3.3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ (อ13101) เพื่อพัฒนาทักษะ การพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) สำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 เปนอยางไร 1.3.4 ผลการศึกษาความพึงพอใจของกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการ แสดงบทบาทสมมติ (Role Play) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เปนอยางไร 1.4 ประโยชนของการศึกษา 1.4.1 นักเรียนไดรับการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ จากแผนการจัดการเรียนรูที่ผูศึกษา ไดสรางขึ้น ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเขาใจกระบวนการเรียนภาษาอังกฤษมากขึ้น


4 1.4.2 นักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางไดรับประสบการณทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เปนพื้นฐาน ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับตอไป 1.4.3 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ดวยแผนการจัดการเรียนรูรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เปนการสรางเจตคติที่ดี ตอการเรียนภาษาอังกฤษ อันจะสงผลใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะทางภาษาของตนเองในการสื่อสารตอไป 1.5 สมมติฐานของการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง มีคะแนนสูงกวาคะแนนแบบทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ 1.6 ขอบเขตของการศกึษา 1.6.1 ประชากรที่ใชในการศึกษา ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญา ปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 กำลังศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 จำนวน 1 หอง จำนวนทั้งสิ้น 20 คน 1.6.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา 1. กลุมตัวอยางที่ใชในการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนการพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวนทั้งสิ้น 20 คน 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการจัดการเรียนรู โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวนทั้งสิ้น 20 คน 3. กลุมเปาหมายกลุม เปาหมายในการศึกษานี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวนทั้งสิ้น 20 คน ที่กำลัง ศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ซึ่งไดมาจากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 1.6.3 ตัวแปรในการศึกษาศึกษา 1. ตัวแปรตน คือ บทเรียนพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดง บทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวน 8 แผน 2. ตัวแปรตาม ไดแก 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยศึกษาผลจากแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน


5 (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึษาชัยภูมิเขต 1 2.2 ผลการศกึษาความพึงพอใจภายหลังการจัดการเรียนการสอน โดยใชวิธีการสอนแบบ การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถามความพึงพอใจ ตอการจัดการเรยีนการสอน 1.6.4 เนื้อหาในการศึกษา เนื้อหาที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแกแผนการจัดการเรียนรูรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เนื้อหาที่ใชในการจัดทำแผนการจัดการเรยีนรูจำนวน 8 แผน ดังนี้ แผนการจัดการเรยีนรูที่15 เรื่อง Go to School แผนการจัดการเรยีนรูที่16 เร่อืง Places around Me แผนการจัดการเรยีนรูที่17 เร่อืง Yummy Food แผนการจัดการเรยีนรูที่18 เร่อืง Variety of Drinks แผนการจัดการเรยีนรูที่19 เร่อืง My Meals แผนการจัดการเรยีนรูที่20 เร่อืง Sports แผนการจัดการเรยีนรูที่21 เร่อืง Activities time แผนการจัดการเรยีนรูที่22 เร่อืง Fun Hobbies 1.6.5 ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา ดำเนินการในภาคเรียนท่ี2 ปการศึกษา 2565 ตั้งแตเดอืนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่31 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2566 โดยใชเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งสิ้นจำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง รวมการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 2 ชั่วโมง รวมเวลาทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง ณ โรงเรียน บานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 1.7 นิยามศัพทเฉพาะ 1.7.1 ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หมายถึง ทักษะการใชภาษาอังกฤษ สนทนาโตตอบในสถานการณ ตาง ๆ ที่กำหนดใหไดอยางถูกตองและเหมาะสม ซึ่งวัดไดจากคะแนนจากการทำแบบทดสอบการพูด ภาษาอังกฤษกอนเรียนและหลังเรียน 1.7.2 บทเรียนพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ หมายถึง แผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้น จำนวน 8 แผน โดยเนนทักษะการพูด รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3


6 1.7.3 วิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารซึ่งเนนการสอนโดยใชบทบาทที่ถูกสมมติขึ้นจากสถานการณใดสถานการณหนึ่ง ที่ใกลเคียงกับความเปนจริง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนใชภาษาเพื่อการสื่อสารตามบทบาทที่ตนไดรับ ซึ่งการใหผูเรียนแสดงบทบาทสมมตินั้นเพื่อใหเกิดความนาสนใจมากขึ้น 1.7.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ไดมาจากการทำแบบทดสอบ หลังเรียน การจัดการเรียนการสอนโดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน โดยใชเนื้อหาจากแผนการจัดการเรียนรูทั้งหมด 8 แผน ที่ผูศึกษาสรางขึ้น 1.7.5 แบบทดสอบกอนเรียน หมายถึง แบบทดสอบรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) จำนวน 40 ขอ เพื่อใหทราบความรูพื้นฐาน และภูมิหลังทางการเรียนในเรื่องนั้น ๆ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 โดยใชเนื้อหาจากแผนการจัดการเรียนรู ทั้งหมด 8 แผน ที่ผูศึกษาสรางขึ้น 1.7.6 แบบทดสอบหลังเรียน หมายถึง แบบทดสอบรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) จำนวน 40 ขอ เพื่อวัดและประเมินผลหลังจากการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเปนประโยชนทั้งตอผูเรียนและผูสอน สามารถนำขอมูลดังกลาวไปพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนหรือกิจกรรม การเรียนรูใหเหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 โดยใชเนื้อหาจากแผนการจัดการเรียนรู ทั้งหมด 8 แผน ที่ผูศึกษาสรางขึ้น 1.7.7 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบกอนเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 แบบปรนัย 3 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ รวมคะแนน 40 คะแนน ยึดตามตัวชี้วัด ในแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 8 แผน 1.7.8 แบบสอบถามความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของนักเรียนในการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบกอนเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 1.7.9 แผนการจัดการเรียนรู หมายถึง แผนการจัดการเรียนการสอนหรือแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรูไวลวงหนาอยางเปนระบบที่ผูศึกษาจัดทำขึ้น ซึ่งประกอบดวย หนวยการเรียนรู สาระสำคัญ จุดประสงคการเรียนรู เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู สื่อและแหลงเรียนรู และการวัดและประเมินผล การเรียนรู ในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบาน หนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1 โดยแผนการจัดการเรียนรู ทั้งหมด 8 แผน ที่ผูศึกษาสรางขึ้น


7 1.7.10 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวน 20 คน ที่กำลังศึกษา อยูในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 1


บทที่ 2 เอกสาร ทฤษฎีและงานวิจยัที่เกี่ยวของ การศึกษาในครั้งนี้เปนการพัฒนาทักษะการอานภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาท สมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผูศึกษา ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษา และเพื่อตอบคำถามการศึกษาในครั้งนี้ จึงไดนำเสนอองคความรูเกี่ยวของกับหัวขอการศึกษาตามลำดับตอไปนี้ 2.1 วิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) 2.1.1 ความหมายของวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) 2.1.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) 2.1.3 กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 2.1.4 หลักการจัดการเรียนรู 2.1.5 ประโยชนที่เกิดกับผูเรียน 2.1.6 ประโยชนที่เกิดกับครผู ูสอน 2.2 หลักการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 2.2.1 ความหมายของทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 2.2.2 หลักการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 2.3 หลักการประเมินและพัฒนานวัตกรรม 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.4.1 งานวิจัยในประเทศ 2.4.2 งานวิจัยตางประเทศ 2.1 วิธีการสอนแบบ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) 2.1.1 ความหมายของวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) กิจกรรมบทบาทสมมติ เปนกิจกรรมประเภทหนึ่งที่นิยมนำมาใชในการเรียนการสอนภาษา มุงเนนและเปดโอกาสใหผูเรียนไดใชบุคลิกภาพของตนเองในการเรียนภาษา ดวยการเลียนแบบและแสดง ทาทาง จินตนาการ รวมทั้งความจำ อารมณ ความรูสึก เจตคติที่มีตอบทบาท เปนกิจกรรมที่เอื้อใหผูเรียน สามารถใชทักษะทางภาษาในการแสดงพฤติกรรมตามบทบาทที่ไดรับจากสถานการณที่ใกลเคยีงความเปนจริง ตามวัตถุประสงคที่ผูสอนไดกำหนดไว โดยใหผูเรียนเปนผูแสดงบทบาทสมมตินั้นๆ โดยผูเรียนไดแสดงออก ทางดานความรู ความคิด บทบาทความรูสึก เจตคติที่มีตอบทบาทนั้น เปนการนำประสบการณการเรียนรูมาใช ในการฝกทักษะ ซึ่งตองใชกระบวนการคิด การปฏิบัติ การเผชิญสถานการณซึ่งเปนการประยุกตความรู ของผูเรียน ซึ่งมีจุดมุงหมายสำคัญ คือ ใหผูเรียนใชภาษาอังกฤษสื่อสารกันอยางเหมาะสม มากกวาการเนน


9 ไวยากรณและโครงสราง นอกจากนี้ ยังเปนกิจกรรมที่ชวยกระตุนใหผูเรียนสามารถใชภาษาสื่อความหมาย ไดเหมาะสมกับสภาพทางสังคม เพราะผูเรียนสามารถสวมบทบาทที่ผูเรียนมีโอกาสนำไปประยุกตใชในชีวิตจริง ทิศนา แขมมณี (2550 : 358) กลาวถึงวิธีสอนโดยใชการแสดงบทบาทสมมติ คือ กระบวนการ ที่ผูสอนใชในการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่กำหนด โดยการใหผูเรียนสวมบทบาท ในสถานการณ ซึ่งมีความใกลเคียงกับความเปนจริง และแสดงออกมาตามความรูสึกนึกคิดของตน และนำเอา การแสดงออกของผูแสดง ทั้งทางดานความรู ความคิด ความรูสึกและพฤติกรรมที่สังเกตพบวาเปนขอมูล ในการอภิปราย เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรยีนรูตามวัตถุประสงค สุพิน บุญชูวงศ (2544 : 67) กลาววาวิธีสอนที่ใชบทบาทที่สมมติขึ้นจากความเปนจริง มาเปนเครื่องมือในการสอนโดยที่ครูสรางสถานการณสมมติและบทบาทขึ้นมาใหนักเรียนไดแสดงออกตามที่ตน คิดวาควรจะเปน มีการนำการแสดงออกทั้งทางดานความรู ความคิด และพฤติกรรมของผูแสดง มาใชเปนพื้นฐานในการใหความรู และสรางความเขาใจใหแกนักเรียนในเรื่องความรูสึกและพฤติกรรม และปญหาตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม อาภรณใจเที่ยง (2550 : 160) อธิบายถึง วิธีสอนโดยใชบทบาทสมมติหมายถึง วิธีสอนที่ผูสอน สรางสถานการณและบทบาทสมมติขึ้นจากความเปนจริง มาใหผูเรียนไดแสดงออกตามที่ผูเรียนคิดวา ควรจะเปน ผูสอนจะใชการแสดงออกทั้งทางดานความรูความคิด และพฤติกรรมของผูแสดงมาเปนพื้นฐาน ในการใหความรู และสรางความเขาใจแกผูเรียน อันจะทำใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาสาระของบทเรียนอยางลึกซึ้ง และรูจักปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการแกไขปญหาตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม บุญชม ศรีสะอาด (2541 : 161) กลาวถึงการสอนโดยการแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) คือ เทคนิคการสอนที่ใหผูเรียนแสดงบทบาทในสถานการณที่สมมติขึ้น นั่นคือ แสดงบทบาทที่กำหนดให อินทิรา บุณยาทร (2542 : 98) อธิบายการสอนดวยบทบาทสมมติ หมายถึง วิธีสอนที่ผูสอน สรางสถานการณและบทบาทสมมติขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดแสดงออกตามที่ตนคิดวาควรจะเปน โดยแสดงออก ทั้งทางดานความรู ความคิด และพฤติกรรมเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนรู เทเลอร และ วอลฟอรด (Tayler & Walford, 1974, p. 12) ไดใหความหมายของบทบาท สมมติวาบทบาทสมมติเปนวิธีการที่จะทำใหผูเรียนเขาใจในเรื่องที่เรียน หรือพฤติกรรมตาง ๆ ไดอยางลึกซึ้ง ทั้งไดฝกฝนทักษะการคิด การวิเคราะห การอภิปราย การแสดง การแกปญหา การตัดสินใจอยางมีเหตุผล โดยครูเปนผูจัดสถานการณใหผูเรียนไดแสดงบทบาทตาง ๆ ในสถานการณน ั้น ลีฟวิงสโตน (Livingstone, 1983, pp. 5-6) ไดอธิบายความหมายของกิจกรรมบทบาทสมมติ ไววา กิจกรรมบทบาทสมมติเปนกิจกรรมในชั้นเรียนที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกภาษา ไดแสดงออก ซึ่งพฤติกรรม และบทบาทที่แทจริง ฝกใหผูเรียนไดเขาใจถึงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการแสดงบทที่ไดรับ มุงฝก ใหผูเรยีนไดใชทักษะความรทูี่ไดเรียนและนำมาประยุกตใชในสถานการณตาง ๆ จากความหมายของบทบาทสมมติที่กลาวมา สรุปไดวา วิธีการสอนการแสดงบทบาทสมมติ เปนกิจกรรมการสอนที่ผูสอนสรางสถานการณและบทบาทสมมติขึ้นมา เปนเทคนิคที่ผูเรียนไดแสดงพฤติกรรม โดยสวมบทบาทที่อาจถูกกำหนดไวหรือเปนสถานการณจำลอง ทำใหผูเรียนสามารถแสดงออกทั้งดานความคิด


10 ลักษณะทาทาง อีกทั้งเปนการพัฒนาทักษะดานการพูดภาษาอังกฤษ โดยที่ผูเรียนสามารถนำความรู ดานคำศัพทหรือเกิดจินตนาการที่จะนำรูปแบบทางภาษามาใช เพื่อการสื่อสารตามสถานการณที่ไดรับบทบาท ไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.1.2 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) อาภรณ ใจเที่ยง (2550 : 161-163) อางใน กรมวิชาการ (2527 : 37 – 40) ไดเสนอขั้นตอน ที่สำคัญของการสอนโดยใชบทบาทสมมติมี 5 ขั้นตอน ในแตละขั้นตอนมีวิธีการสอน ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการสอน เปนการเตรียมใน 2 หัวขอใหญ ไดแก 1.1 เตรียมจุดประสงคของการแสดงบทบาทสมมติใหแนชัดและเฉพาะเจาะจง วาตองการใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจอะไรบางจากการแสดง 1.2 เตรียมสถานการณสมมติ เพื่อใหผูเรียนฟงโดยใหสอดคลองกับจุดประสงค ที่กำหนดไว การเตรียมสถานการณและบทบาทสมมตินี้อาจเตรียมเขียนไวอยางละเอียด เพื่อมอบให แกผูเรียน หรือเตรยีมเฉพาะสถานการณเพื่อเลาใหผูเรียนฟง สวนรายละเอียดผูเรียนตองคิดเอง 2. ขั้นดำเนินการสอน จัดแบงยอยได 7 ขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ขั้นนำเขาสูการแสดงบทบาทสมมติ เปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจ และกระตือรือรนที่จะเขารวมกิจกรรม โดยผูสอนอาจใชวิธีโยงประสบการณใกลตัวผูเรียน เลาเรื่องราวหรือ สถานการณสมมติ ชี้แจงประโยชนของการแสดงบทบาทสมมติ และการรวมกันชวยกันแกปญหา 2.2 เลือกผูแสดง เมื่อผูเรียนเกิดความกระตือรือรนที่จะเขารวมกิจกรรมแลว ผูสอน จะคัดเลือกผูแสดงในบทบาทตาง ๆ ในการเลือกตัวผูแสดงนั้นอาจใชวิธี ดังนี้ 1) เลือกอยางเจาะจง เชน เลือกผูที่มีปญหาออกมาแสดง เพื่อใหไดรูสึกในปญหา และเห็นวิธีแกปญหา 2) เลือกผูที่มีบุคลิกลักษณะคุณสมบัติ มีความสามารถเหมาะสมกับบทบาท ที่กำหนดให 3) เลือกผูแสดงโดยใหอาสาสมัคร เพื่อใหเสรีภาพแกผูเรียนในการเรียน ในการตัดสินใจ 2.3 การเตรียมความพรอมของผูแสดง เมื่อเลือกผูแสดงไดแลว ผูสอนควรใหเวลา ผูแสดงไดเตรียมตัวและตกลงกันกอนการแสดง ผูสอนควรชวยใหกำลังใจ ชวยขจัดความตื่นเตนประหมา และความวิตกกังวลตางๆ เพื่อใหผูแสดงไดแสดงอยางเปนธรรมชาติ 2.4 การจัดฉากการแสดง การจัดฉากการแสดงอาจจะจัดแบบงาย ๆ คำนึง ถึงความประหยัด ทั้งเวลาและทรัพยากร เชน อาจสมมติโดยการเลื่อนโตะเพียงตัวเดียว เพราะการจัดฉากนี้ เปนเพียงสวนประกอบยอยของการแสดง 2.5 การเตรียมผูสังเกตการณ ในขณะที่ผูแสดงเตรียมตัว ผูสอนควรไดใชเวลานั้น เตรียมความพรอมของผูชมดวย โดยควรทำความเขาใจกับผูชมวาควรสังเกตอะไร จึงจะเปนประโยชน


11 ตอการวิเคราะหและอภิปรายในภายหลัง ผูสอนอาจเตรียมหัวขอการสังเกตหรือจัดทำแบบสังเกตการณ เตรียมไวใหพรอม แลวเลือกผูสังเกตการณชวยกันดู และบันทึกพฤติกรรมและเหตุการณที่เกิดขึ้น 2.6 การแสดง เมื่อทุกฝายพรอมแลวจึงเริ่มแสดง การแสดงนี้ควรปลอยใหเปนไปตาม ธรรมชาติผูสอนและผูชมไมควรเขาขัดกลางคัน นอกจากในกรณีที่ผูแสดงตองการความชวยเหลือ ในขณะที่ แสดง ผูสอนควรสังเกตพฤติกรรมของผูแสดงและผูชมอยางใกลชิด 2.7 การตัดบท ผูสอนหรือผูกำกับควรตัดบทหรือหยุดการแสดงเมื่อการแสดงผานไป เปนเวลาพอสมควร ไมควรปลอยใหการแสดงเยิ่นเยอเกินไปจะทำใหเสียเวลาและผูชมเกิดความเบื่อหนาย การตัดบทควรทำดังนี้ 1) การแสดงไดใหขอมูลแกกลุมเพียงพอที่จะนำมาวิเคราะหและอภิปรายได 2) ผูชมและผูแสดงพอจะเลาไดวา เรื่องราวจะเปนอยางไรถามีการแสดงตอไป 3) ผูแสดงไมสามารถแสดงตอไปได เพราะเกิดความเขาใจผิดบางประการ หรือเกิดอารมณสะเทือนใจมากเกินไป 4) การแสดงยืดเยื้อไมยอมจบหรือจบไมลง และผูชมหมดความสนใจที่จะชม การแสดงจนจบเรื่อง 3. ขั้นวิเคราะหและอภิปรายผลการแสดง (ขั้นประเมินผล) ขั้นนี้ถือเปนขั้นที่สำคัญยิ่ง ในการสอน เนื่องจากเปนขั้นที่จะชวยใหผูเรียนไดรวบรวมขอมูลตาง ๆ ที่ไดสังเกตเห็นและนำมาวิเคราะห อภิปรายจนเกิดเปนการเรียนรูที่มีความหมายสำหรับตนเอง ในขั้นนี้ครูควรจะเตรียมคำถามตาง ๆ ไวเปนแนวทางสำหรับตนเอง ที่จะใชกระตุนใหผูเรียนคดิวิเคราะหและอภิปรายรวมกัน โดยทั่ว ๆ ไปวิธีการที่ใช ในการดำเนินการในขั้นนี้ มีดังนี้ 3.1 ชี้แจงใหทั้งผูแสดงและผูชมเขาใจวา การอภิปรายจะเนนที่เหตุผลและพฤติกรรม ที่ผูแสดงไดแสดงออกมาไมใชเนนที่ใครแสดงดีไมดีอยางไร 3.2 สัมภาษณความรูสึกและความคิดของผูแสดง 3.3 สัมภาษณความรูสึกและความคิดของผูสังเกตการณหรือผูชม 3.4 ใหกลุมผูแสดงและผูชมวิเคราะหเหตุการณ เสนอความคิดเห็นและอภิปรายรวมกัน โดยครูอาจใชคำถามตางๆ เพื่อเปนการกระตุนใหผูเรียนคิด ขอสำคัญขอหนึ่งที่ครูพึงระวังในการดำเนินการอภิปรายคือ ครูควรแสดง ความเปนประชาธิปไตย ใหเสรีภาพแกผูเรียนอยางเต็มที่ในการคิด ตัดสินใจ ไมประเมินคาตัดสิน ความคิดเห็น ของผูเรียน อันอาจทำใหผูเรียนเกิดความรสูึกไมปลอดภัย ไมกลาเปดเผยความรูสึกที่แทจริง 4. ขั้นแสดงเพิ่มเติม หลังจากการวิเคราะหและอภิปรายผลการแสดงแลว สมาชิก ภายในกลุมอาจจะเสนอแนวทางใหม ๆ ในการแกปญหาหรือการตัดสินใจ ครูอาจจะใหมีการแสดงเพิ่มเติมได แตถาการแสดงเพิ่มเติมนี้ไมจำเปนครูสามารถขามขั้นไปถึงขั้นที่ 5 ได 5. ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณและสรุป หลังจากอภิปรายเกี่ยวกับการแสดงแลว ครูควรกระตุนใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยนประสบการณที่มีสวนสัมพันธหรือเกี่ยวของกับเรื่องที่ไดศึกษาแกกัน


12 และกัน การแลกเปลี่ยนประสบการณนี้จะชวยใหผูเรียนไดแนวความคดิกวางขึ้น และสงเสริมใหผูเรียนเห็นวา สิ่งที่เรียนนั้นเกี่ยวของกับความจริง จะทำใหผูเรียนสามารถที่จะหาขอสรุปหรือไดแนวความคิดรวบยอด ที่ตนสามารถเขาใจไดเปนอยางดี ขอดีของการจัดการเรียนการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) นักวิชาการหลายทานไดกลาววาการสอนโดยใชบทบาทสมมติเปนวิธีสอนที่มีทั้งขอดี และขอจำกัดหลายประการดวยกัน ซึ่งจะกลาวไวดังนี้ บุญชม ศรสีะอาด (2541 : 61-62) กลาววา การสอนโดยใชบทบาทสมมติมีขอดี ดังนี้ 1. ชวยใหเกิดความเขาใจวาผูอื่นอาจคิด รูสึก และปฏิบัติอยางไร และเห็นอกเห็นใจผูอื่น 2. ชวยในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ 3. ผูเรียนไดรับการเตรียมสำหรับสถานการณจริงที่จะเผชิญ 4. กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค 5. สามารถใชพัฒนาทักษะทางสังคม 6. ใชในการสอนหรือประเมินผลการเรียนรูดานจิตพิสัย หรือทั้งสองประการ 7. ผูแสดงบทบาทเรียนรูการจัดระบบความคิด และการตอบสนองโดยฉับพลัน 8. ฝกการใชระบบสื่อสารจากการปฏิบัตมิากกวาจากการใชถอยคำ ขอจำกัดของการจัดการเรียนการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) บุญชม ศรสีะอาด (2541 : 61-62) กลาววา การสอนโดยใชบทบาทสมมติมีขอจำกัด ดังนี้ 1. ใชเวลามาก 2. นักเรียนเกงมักผูกขาดกับสถานการณ 3. ผูที่ขาดทักษะที่จำเปน เชน เปนคนขี้อาย พูดติดอางจะรูสึกไมสบายใจและเปนปญหามาก 4. ผูเรยีนบางคนไมสามารถแสดงบทบาทตามกำหนดได 5. ถาไมสามารถเชื่อมโยงการแสดงบทบาทสมมติกับบทเรียนใหกับผูเรียนได ก็จะทำใหกิจกรรมทั้งหมดนี้ดอยคุณคา 2.1.3 กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โลกปจจุบันนี้ถือไดวามีความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการใชเทคโนโลยี เพื่อเชื่อมโยงขอมูลตาง ๆ จากทุกภูมิภาคของโลกเขาดวยกัน ทำใหกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้น ในศตวรรษที่ 21 สงผลตอวิถีการดำรงชีพของสังคมอยางทั่วถึง แมแตในวงการทางการศึกษาเอง ผูบริหาร การศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ตลอดจนคุณครูจึงตองมีความตื่นตัวและเตรียมพรอมเพื่อรองรับ ความเปลี่ยน แปลงนี้ จึงงมุงเนนใหครูผูสอนมีความสามารถในการจัดการเรียนรูเพื่อเตรียมความพรอม ใหนักเรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู (Learning Skill) สงผลใหมีการเปลี่ยนแปลง การจัดการเรียนรูเพื่อใหเด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู ความสามารถ และทักษะจำเปน ซึ่งเปนผลจากการ


13 ปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพรอมดานตาง ๆ ที่เปนปจจัย สนับสนุนที่จะทำใหเกิดการเรียนรู ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ พานิช (2555 : 16-21) ไดกลาวถึง ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบดวย 1) ภาษาแมและภาษาสำคัญของโลก 2) ศิลปะ 3) คณิตศาสตร 4) การปกครองและหนาที่พลเมือง 5) เศรษฐศาสตร 6) วิทยาศาสตร 7) ภูมิศาสตร 8) ประวัติศาสตร วิชาแกนหลักนี้จะนำมาสูการกำหนดเปนกรอบแนวคิดและยุทธศาสตรส ำคัญ ตอการจัดการเรียนรูในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวขอสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยการสงเสริมความเขาใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแหงศตวรรษที่ 21 เขาไปในทุกวิชา แกนหลัก ดังนี้ 1) ความรูเกี่ยวกับโลก (Global Awareness) 2) ความรูเกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร ธุรกิจ และการเปนผูประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) 3) ความรูดานการเปนพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) 4) ความรูดานสุขภาพ (Health Literacy) 5) ความรูดานสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy) ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม จะเปนตัวกำหนดความพรอมของนักเรียนเขาสู โลกการทำงานที่มีความซับซอนมากขึ้นในปจจุบัน ไดแก 1) ความริเริ่มสรางสรรคและนวัตกรรม 2) การคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา 3) การสื่อสารและการรวมมือ ทักษะดานสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องดวยในปจจุบันมีการเผยแพรขอมูลขาวสาร ผานทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผูเรียนจึงตองมคีวามสามารถในการแสดงทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ และปฏิบัติงานไดหลากหลาย โดยอาศัยความรูในหลายดาน ดังนี้ 1) ความรูดานสารสนเทศ 2) ความรูเกี่ยวกับสื่อ


14 3) ความรูดานเทคโนโลยี ทักษะดานชีวิตและอาชีพในการดำรงชีวิตและทำงานในยุคปจจุบันใหประสบความสำเร็จ นักเรียนจะตองพัฒนาทักษะชีวิตที่สำคัญดังตอไปนี้ 1) ความยืดหยุนและการปรับตัว 2) การริเริ่มสรางสรรคและเปนตัวของตัวเอง 3) ทักษะสังคมและสังคมขามวัฒนธรรม 4) การเปนผูสรางหรือผูผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได (Accountability) 5) ภาวะผูนาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะตองเรียนรูตลอดชีวิต คือ การเรียนรู 3R X 7C ทักษะดังกลาวนี้ เปนความสามารถทางดานภาษา คณิตศาสตร การคิด ทักษะที่การอยูรวมกันตลอดจน ทักษะที่เปนเครื่องมือในการเรียนรู รายละเอียดดังตอไปนี้ 1) ทักษะ 3R ประกอบดวย Reading (อานออก), (W) Riting (เขียนได) และ (4) Rithemetics (คดิเลขเปน) 2) ทักษะ 7C ประกอบไปดวย (1) Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา) (2) Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม) (3) Cross-cultural Understanding (ทักษะดานความเข าใจ และความตาง ดานกระบวนทัศน) ( 4) Collaboration, Teamwork and Leadership (ท ักษ ะด า น ควา ม ร  ว ม มื อ การทำงานเปนทีมและภาวะผูนำ (5) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศและรูเทาทันสื่อสารสนเทศ (6) Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) (7) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยีนรกูารเรียนรู) ในศตวรรษที่ 21 เปนการกำหนดแนวทางยุทธศาสตรในการจัดการเรียนรู โดยรวมกันสราง รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสรางประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยเนน ที่องคความรู ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผูเรียน เพื่อใชในการดำรงชีวิตในสังคม แหงความเปลี่ยนแปลงในปจจุบัน โดยจะอางถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือขายองคกรความรวมมือ เพื่อทักษะแหงการเรียนรใูนศตวรรษที่21 (Partnership For 21st Century Skills) ที่มีชื่อยอวา เครือขาย


15 (วรพจน วงศกิจรุงเรือง และอธิป จิตตฤกษ, 2554) ซึ่งไดพัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู ในศตวรรษที่21 โดยผสมผสานองคความรูทักษะเฉพาะดาน ความชำนาญการและความเรูเทาทันดานตาง ๆ เขาดวยกัน เพื่อความสำเร็จของผูเรียนทั้งดานการทำงานและการดำเนินชีวิต กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ที่แสดงผลลัพธของนักเรียนและปจจัยสงเสริม สนับสนุนในการจัดการเรียนรูเพื่อรองรับศตวรรษที่ 21 ดังภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบที่ 1 ภาพแสดงกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศนสาหรับทักษะแหงศตวรรษที่ 21 เปนที่ยอมรับในการสรางทักษะ การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเปนที่ยอมรับ อยางกวางขวางเนื่องดวยเปนกรอบแนวคิดที่เนนผลลัพธที่เกิดกับผูเรียน (Student Outcomes) ทั้งในดาน ความรูสาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ที่จะชวยผูเรียนไดเตรียมความพรอม ในหลากหลายดาน รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรียนรูไดแกมาตรฐานและการประเมินหลักสูตรและการเรยีน การสอน การพัฒนาครู สภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการเรียนในศตวรรษที่ 21 การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ตองกาวขาม “สาระวิชา” ไปสูการเรียนรู “ทักษะแหงศตวรรษ ที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเปนผูสอนไมได แตตองใหนักเรียนเปนผูเรียนรูดวยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู ฝกฝนใหตนเองเปนโคช (Coach) และอำนวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรูแบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เปนตัวชวยของครูในการจัดการ เรียนรู คือ ชุมชนการเรียนรูครูเพื่อศิษย (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัว กันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณการทำหนาที่ของครูแตละคนนั่นเอง


16 2.1.4 หลักการจัดการเรียนรู การนำแนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ไปใชใหเกิดผลอยางมีประสิทธิภาพ ผูสอนตองปรับเปลี่ยน วิธีคดิวิธีการทำงานของตนใหมหลายอยาง ซึ่งสามารถสรุปหลักการปฏิบัติไดดังนี้ 1) เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูเรียน ศรัทธาและเชื่อมั่นวาผูเรียนทุกคนเรียนรู และพัฒนาตนเองได ทุกคนใฝดีและปรารถนาความสุข ความสำเร็จในชีวิต 2) ตระหนักวาผูสอนไมใชผูบอกความรู แตเปนผูสนับสนุนการเรียนรู อำนวยการใหเกิด การเรียนรู จัดเตรียมกิจกรรมชวยเหลือดูแลใหความสะดวก และใหคำปรึกษาแนะนำในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู 3) การพัฒนาผูเรียนมุงพัฒนาความสามารถพื้นฐานที่จำเปนของผูเรียน 3 ดาน คือ ดานภาษา ดานคำนวณ และดานเหตุผล รวมทั้งการปฏิบัติในชีวิตประจำวัน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู ในลักษณะหลอมรวมบูรณาการ 4) การใหผูเรียนมีสวนรวมในการกำหนดเนื้อหาสาระยอยที่จะเรียนรูดวยตนเอง ทำใหการเรยีนรสูอดคลองกับความจำเปนในชีวิตประจำวันของผูเรียนและทองถิ่น 5) การกำหนดเวลาเรียนแตละแผนที่เหมาะสม ใหผูเรียนมีเวลาเพียงพอ ที่จะใชกระบวนการคิดกระบวนการปฏิบัติ และสามารถจัดเวลาในการสอนไดตามตารางสอนปกติ 6) การสรางความรูสึกอยากรูอยากเห็นใหกับผูเรียน เปนกาวแรกของการจัดการเรียนรู ที่สำคัญ ความสนใจใครรูในสิ่งที่เรียน ทำใหการจัดการเรียนรูประสบการณความสำเร็จตามจุดประสงค 7) ผูเรียนเปนเจาของกระบวนการเรียนรูที่แทจริง มีสิทธิ์ที่จะตัดสินใจ กำหนดเปาหมาย การเรียนรู วิธีการเรียนรู ฯลฯ ตามความถนัด ความสนใจ ผูสอนตองชวยใหผูเรียนเลือกไดเหมาะสมกับตนเอง และใชขั้นของกระบวนการเรียนรู เปนแนวทางในการคิดและปฏิบัติ 8) ผูเรียนทุกคนมีความสามารถ มีจุดเดนเฉพาะตัว ผูสอนตองคน ใหพบ และชวยใหผูเรียน นำจุดเดนและความสามารถของผูเรียนมาใชประโยชนในการเรียนรู เพื่อใหทุกคนมีโอกาสประสบความสำเร็จ ในการเรียนรู 9) การเปดโอกาสใหผูเรียนนำขอมูลที่ไดจากการเรียนรูมานำเสนอเพื่อวิเคราะห อภิปราย วิพากษวิจารณอยางกวางขวาง เพื่อจำแนกเปรียบเทียบ จัดลำดับ เชื่อมโยงความสัมพันธ ฯลฯ ทำใหสามารถ สรุปและสรางองคความรูไดดวยตนเอง 10) การใหผูเรียนนำความรู ขอคนพบนำมาจัดทำขึ้นงานในรูปแบบตาง ๆ ตามความถนัด ความสนใจ ทำใหความรูความคิดของผูเรียนเปนรูปธรรมชัดเจน ความสามารถในการถายทอดความรู ความคิด ใหผูอื่นเขาใจ ชวยทำใหผูเรยีนภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเองมากยิ่งขึ้น 11) การใชสื่อ อุปกรณ เทคโนโลยีที่หลากหลายและเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน ชวยให ผูเรียนสามารถสรางสาระความรูและชิ้นงานตาง ๆ ดวยตนเองไดดี


17 12) การใชกระบวนการกลุมในการเรียนรู ใหผูเรียนเรียนรูในลักษณะรวมคิด รวมทำ ชวยใหมีความรูความคิดกวางขวางซับซอนหลากหลายยิ่งขึ้น รวมทั้งมีการพัฒนาในทักษะตาง ๆ เชน ทักษะ ดานมนุษยสัมพันธ ทักษะทางภาษา ทักษะดานการรูจักเขาใจตนเอง เปนตน 13) การจัดกลุมผูเรียนที่มีความถนัด ความสามารถและประสบการณแตกตางกัน ไดเรียนรู และปฏิบัติงานรวมกันจะเอื้อใหเกิดการสรางสรรคชิ้นงานและความรู และชวยใหการเรียนรูประสบความสำเร็จ ตามเปาหมาย 14) การวัดและการประเมินผลเพื่อใหทราบความสำเร็จและพัฒนาการที่แทจริงของผูเรียน ตองประเมินอยางตอเนื่องดวยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายตามหลักการของการประเมินผลตามสภาพ จริง ประโยชนที่ไดรับจากการจัดการเรียนรู แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ผูเรียนจะไดเปนเจาของการเรียนรู ที่แทจริง ไดรับประสบการณการเรียนรูที่ตนเองเปนผูเผชิญสถานการณ ผานกระบวนการคิดการปฏิบัติจริง จนตกผลึกเกิดเปนความรูใหมของตนเอง ดังนั้น แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้จึงมีประโยชนทั้งตอผูเรียน และครูผูสอนดังนี้ 2.1.5 ประโยชนที่เกิดกับผูเรียน แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ทำใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่แทจริง มีการพัฒนาความสามารถ พื้นฐานที่จำเปน 3 ดาน รวมทั้งมีคุณลักษณะและทักษะอันพึงประสงคอื่น ๆ อีกมากมายดวยเหตุผลดังตอ ไปนี้ 1) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยใหผูเรียนไดเขาใจวาพฤติกรรมมีสาเหตุ การที่ใหผูเรียน ไดแสดงบทบาทตาง ๆ ที่ถูกจำกัดอยูในสภาพการณตาง ๆ จะทำใหผูเรียนเขาใจถึงสาเหตุตาง ๆ ที่ผลักดัน ใหตองแสดงพฤติกรรมใด ๆ ออกไป ความเขาใจนี้จะชวยใหผูเรียนไมดวนตัดสินใจอะไรงาย ๆ กอนที่จะ พิจารณาถึงสาเหตุนอกจากนั้นยังจะชวยใหผูเรยีนไดแนวทางในการแกปญหาใหตรงจุดอีกดวย 2) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูและเขาใจความรูสึกของผูอื่น การที่ใหผูเรียนไดสวมบทบาทของผูอื่น จะชวยใหผูเรียนไดมีประสบการณวา ผูอื่นมีความคิดและความรูสึก อยางไร ความเขาใจนี้จะชวยใหผูเรียนรูจักเอาใจเขามาใสใจเรา 3) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยลดความรูสึกตึงเครียดของผูเรียน ในบางครั้งผูเรียน อาจจะมีความรูสึกรุนแรงในใจหลายประการที่ไมสามารถแสดงออกมาไดครอูาจใชบทบาทสมมติเปนเครื่องมือ ในการชวยใหผูเรียนไดระบายความรูสึกนั้น ๆ ออกมา เปนการชวยผอนคลายความตึงเครียดของผูเรียน ลงไดบาง 4) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาความรูสึกเกี่ยวกับตนเอง ในทางที่ดี การใหผูเรียนไดมีโอกาสสำรวจตนเองและเรียนรูเกี่ยวกับผูอื่น โดยใชบทบาทสมมติเปนเครื่องมือ จะชวยใหผูเรียนมีความเขาใจตนเองมากขึ้นและพัฒนาความรูสึกที่ดีกับตนเอง สิ่งนี้นับวาเปนพื้นฐาน ของความเจริญงอกงามทางจิตใจอันจะชวยใหบุคคลนั้น ดำรงชีพอยูอยางปกติสุขและสามารถทำงาน อยางมีประสิทธิภาพ 5) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยสงเสริมใหผูเรียนไดมีโอกาสสำรวจคานิยมของตนและ หาหลักยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิตของตนในขณะที่ผูเรียนแสดงบทบาทสมมติอยูนั้น ผูเรียนจะมีพฤติกรรม


18 การตัดสินใจที่แสดงใหเห็นถึงคานิยมของตน การที่มีโอกาสไดแสดง อภิปรายและวิเคราะหถึงคานิยมเหลานั้น จะชวยใหผูเรียนมีความเขาใจในตนเองมากขึ้น 6) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยใหผูเรียนไดพัฒนาความสามัคคีในกลุมใหดีขึ้น ในการทำงานรวมกันสมาชิกในกลุม มักจะมีปญหาขัดแยงกันอยูบาง ความขัดแยงนี้ทำใหเกิดความไมเขาใจกัน และเกิดความแตกแยกกันในหมูคณะ วิธีการสอนแบบบทบาทสมมตินี้สามารถนำมาใชทำใหคนในกลุม เกิดความเขาใจกันและมีความสามัคคีปรองดองกัน 7) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในสังคม มนุษยเปนสัตวสังคม ดังนั้นการเรียนรูที่จะปฏิบัติตนใหเหมาะสมในสังคมจึงเปนสิ่งจำเปน บทบาทสมมติ จะชวยใหการเรียนรูนี้เปนจริงและสนุกสนานยิ่งขึ้น 8) แนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ ชวยใหผูเรียนไดฝกการแกปญหาและการตัดสินใจ บทบาทสมมติแทบทุกบทบาท มักจะมีสถานการณที่มีความขัดแยงแฝงอยู ผูแสดงจะตองใชวิจารณญาณ และไหวพรบิในการแกปญหา จึงนับวาวิธีการน้ชีวยฝกเรื่องการแกปญหาและการตัดสินใจไดอยางดี 2.1.6 ประโยชนที่เกิดกับครูผูสอน สำหรับประโยชนที่ครูผูสอนจะไดรับจากการปฏิบัติตามแนวคิดการจัดการเรียนรูนี้ สรุปไดดังนี้ 1) มีโอกาสไดพัฒนาตนเองทั้งดานความรู ความคิด จิตใจ ทักษะกระบวนการ เพราะครูไมไดทำหนาที่เพียงแคถายทอดความรู แตทำหนาที่อำนวยการใหเกิดการเรียนรู ใหผูเรียนสามารถ สรางความรูของตนเองได เพื่อใหสามารถออกแบบและวางแผนการจัดการเรียนรู กำหนดกิจกรรม การเรียนรู ใหผูเรียนคิด ปฏิบัติจริงไดเหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหาวิชา วัย ความสนใจ ความสามารถของผูเรียน ลงมือจัดกิจกรรมการเรียนรู สังเกตและประเมินผลที่เกิดขึ้นกับผูเรียนและปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู ของตนเองอยางตอเนื่อง ยอมมีผลทำใหผูสอนพัฒนาทั้งความรู ความคิด เจตคติและทักษะกระบวนการ ตามลำดับ 2) การทำหนาที่จัดการเรียนรูไดสมบูรณจนปรากฏผลอยางชัดเจนวาผูเรียนเกิดการเรียนรู ที่แทจริง มีการพัฒนาความสามารถตามเปาหมาย ครูจะรูสึกวาตนเองประสบความสำเร็จในวิชาชีพครู มีความสุขและภาคภูมิใจในตนเอง รักและศรัทธาในอาชีพครู รักเด็ก รักโรงเรียน มีจิตสำนึกรับผิดชอบ ตอผูเรียนและโรงเรียนมากขึ้น 3) การจัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้ เปนแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เคารพในศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยของผูเรียน ยึดหลักการที่เชื่อมั่นวาทุกคนเรียนรูและพัฒนาตนเองได ทุกคนมีความสามารถ ผูเรียน มีหนาที่ตองเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนไดรับประสบการณการเรียนรูที่หลากหลาย มีกิจกรรมการคิด และปฏิบัติกับเพื่อนๆ อยางมีความสุข ครทูำหนาที่เพียงคอยชวยเหลือดูแล กระตุนใหผูเรียนคิดและปฏิบัติงาน ใหการเสริมแรงเพื่อสนับสนุนและใหกำลังใจและประคับประคองการเรียนรูของผูเรียนสูความสำเร็จ 4) การจัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้ เปนแนวคิดการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู การที่ครูไดศึกษาเรียนรู ฝกปฏิบัติพัฒนาตนเองจนสามารถจัดการเรียนรู


19 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียนเกิดการเรียนรูมีคุณภาพตามเปาหมาย ครูยอมไดรับเกียรติ ยกยองจากหนวยงานจากผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงานและผูเกี่ยวของ เพราะไดชื่อวาเปนผูยกระดับวิชาชีพครู ใหเปนวิชาชีพชั้นสูง ทำใหสังคมยกยองวิชาชีพครู 5) การจัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้นับวาครูมีสวนสำคญั ในการสรางสรรคจรรโลงสังคมไทย ใหเจริญกาวหนาและไดชื่อวามีคุณูปการตอประเทศชาติอยางใหญหลวง เพราะการพัฒนาคนคือการพัฒนา ชาติ 6) การจัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้ ครูที่ทำหนาที่จัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้ได อยางมีประสิทธิภาพ จะมีความกาวหนาในวิชาชีพ เพราะการปรับเปลี่ยนการสอนจากแบบเดิมที่ครูใชตนเอง เปนแหลงความรู สอนแบบเนนการอานจากเรื่องหรือการสอนแบบบอกความรูตรง ๆ มาเปนการจัดการเรียนรู ใหผูเรยีนคิดและปฏิบัติจริงจนสามารถสรางความรดูวยตนเอง ยอมกอใหเกิดผลดีตอตัวผูเรียนและตัวผูสอนเอง ดวย 7) การจัดการเรียนรูตามแนวคิดนี้ชวยใหครูไดเรียนรถูึงความตองการของผูเรียน ในกรณีที่ ผูเรียนไมสามารถจะบอกความตองการของตนออกมาได ครูอาจจัดบทบาทสมมติใหผูเรียนไดแสดง ซึ่งผูเรียน อาจจะเปดเผยความตองการของตนออกมาโดยไมรตูวั 2.2 หลักการสอนทักษะการพดูภาษาอังกฤษ 2.2.1 ความหมายของทักษะการพดูภาษาองักฤษ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2539: 167) ไดใหความหมายวา การพูดเปนการถายทอดความคิด ความเขาใจ และความรูสึกใหผูฟงไดรับรู และเขาใจจุดมุงหมายของผูพูด ดังนั้นทักษะการพูดจึงเปนทักษะ ที่สำคัญสำหรับบุคล ในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ในการประกอบอาชีพธุรกิจตาง ๆ ในการเรียนการสอน ภาษาตางประเทศ ทักษะการพูดจึงนับไดวาเปนทักษะที่สำคัญและจำเปนมาก เพราะผูที่พูดไดยอมสามารถฟง ผูอื่นไดเขาใจ และจะชวยใหการอานและเขียนงายขึ้นดวย อยางไรก็ตาม ทักษะการพูดเปนทักษะทางภาษา ที่ซับซอนและเกิดจากการฝกฝนเปนเวลานานไมใชเกิดจากการเขาใจและจดจำ เตือนใจ เฉลิมกิจ (2545: 57) ไดใหความหมายวา การพูดเปนทักษะที่สอนยาก เพราะผูเรียน จะตองมีความรูในเรื่ององคประกอบตาง ๆ ของภาษาเปนอยางดี เพื่อที่จะพูดในสิ่งที่ตองการสื่อได เชน คำศัพท การออกเสียง โครงสรางทางไวยากรณ หัวขอทางภาษาเปนตน อัจฉรา วงศโสธร (2539: 316) ไดใหความหมายวา ทักษะพูดเปนทักษะทางสังคม (Social Skill) การพูดอยางมีประสิทธิภาพขึ้นอยูกับความรูองคประกอบทางภาษา และความตระหนักถึงลีลาภาษา ตลอดจนการสื่อความหมายโดยสื่อที่ไมไดเปนตัวภาษา (Non-verbal Medium) ภาษาพูดมีลักษณะเฉพาะ ของตัวเอง ซึ่งประกอบดวยการใชลักษณะภาษาตอไปนี้บอยครั้งกวาภาษาเขียน คือการรวมคำใหสั้น- (Contractions)-บุรุษสรรพนาม-(Personal-pronoun)-คำถาม-(Questions) คำที่เปนรูปธรรม (Concretewords)-คำที่มีพยางคสั้น ๆ-(Fewer-syllables) การทวนคำ-ทวนความหมาย (Restatement) การซ้ำคำ ซ้ำความหมาย (Repetition) การออกอุทาน (Interjection) นอกจากนี้ โครงสรางทางภาษามักไมเปนระเบียบ


20 แบบแผนเหมือนภาษาพูด เพราะมีการกลาวดวยความลังเล การพูดกลับไปกลับมา การเปลี่ยนตัวประธาน ในขอความ พรสวรรค สีปอ (2550: 163) ไดใหความหมายวา การพูด คือ การปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ในสังคม เปนการสื่อสารทางวาจาของคนตั้งแตสองคนขึ้นไป ตางฝายตางมีจุดประสงคที่จะสื่อความหมาย ของตัวเอง และตางฝายก็ตองตีความสิ่งที่ตนเองไดฟง-ดังนั้น-จุดประสงคของทักษะการพูด คือ สามารถสื่อสาร ไดอยางมีประสิทธิภาพ ตองสามารถพูดใหผูอื่นเขาใจ หลีกเลี่ยงการทำใหผูฟงสับสนเนื่องจากการออกเสียงผิด ไวยากรณผิด ใชคำผิดหรือไมเหมาะสม นอกจากนั้นยังตองพูดใหเหมาะสมกับสังคมและวัฒนธรรมดวย จากความหมายดังกลาวสรุปไดวา การพูด (speaking) หมายถึง การเปลงเสียงออกมา เพื่อใหเกิดความหมาย การพูดเปนกระบวนการปฏิสัมพันธระหวาง ผูพูด ผูฟง และขอมูล การพูดเปน productive skills เพราะผูพูดเปนผูใหขอมูล หรือเปนผูสงสาร การพูดกับการเขียนถือวาเปน productive skills สวนการฟงและการอานเปน receptive skills เปนการรับสาร 2.2.2 หลักการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ สุภัทรา อักษรานุเคราะห. (2532:55-56) ไดเสนอวา ในการสอนทักษะการพูดนี้ เนนการพูด ภาษาอังกฤษเพื่อใหผูเรยีนสามารถนำภาษาอังกฤษที่เรียนมาแลว มาใชในการสื่อสารไดและฝกความเขาใจในการฟง ภาษาอังกฤษของชาวตางประเทศโดยที่ผูเรียนไมจำเปนตองออกเสียงชัดเหมือนชาวตางประเทศ ทั้งนี้ในการสนทนา ครูมีหนาที่ชวยเหลือแนะนำและควรคำนึงวา ผูพูดสามารถพูดใหผูฟงเขาใจสิ่งที่ตนเองตองการจะสื่อความหมาย หรือไม ถาผูฟงเขาใจดีก็ถือวาผูเรียนสามารถใชภาษาอังกฤษสื่อสารได ถึงแมวาจะพูดผิดไวยากรณหรือใชศัพทผิด ก็ตาม ตัวอยางจุดประสงคของทักษะพูดมีดังนี้คือ ฟงการสนทนาแลวพูดออกความคิดเห็น พูดตอหรอืถามเกี่ยวกับ สิ่งที่สนทนาพูดออกคำสั่งได ตามที่ตองการตั้งคำถามหรืออภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่อานพูดหรืออานรายงานใหผูอื่น เขาใจ พูดและสนทนาไดตามความตองการในชีวิตประจำวัน เชน ใหเชิญเพื่อนไปงานเลี้ยงวันเกิด ใหสนทนา เกี่ยวกับการทำงานในระหวางปดเทอม ใหสัมภาษณเพื่อรับสมัครเขาทำงานใหแสดงความคิดเห็นและขอความ คิดเห็น สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540:169) ไดเสนอกิจกรรมตางๆ ในการสอนทักษะการพูด ซึ่งผูสอน อาจเลือกใชใหเหมาะกับผูเรียนแตละระดับ ดังนี้ 1. ใหตอบคำถามซึ่งครูหรือเพื่อนในชั้นเปนผูถาม 2. บอกใหเพื่อนทำตามคำสั่ง 3. ใหนักเรียนถามหรือตอบคำถามของเพื่อน เกี่ยวกับในชั้นนอกหรือชั้นเรียนชั้น 4. ใหบอกลักษณะวัตถุสิ่งของจากภาพ 5. ใหเลาประสบการณตางๆ ของนักเรียน โดยครูอาจใหคำสำคัญเพื่อใหนักเรียนรูหัวขอ ที่จะตองออกมาเลาประสบการณขอตนเอง 6. ใหรายงานเรื่องราวตามที่กำหนดหัวขอ 7. จัดสถานการณในชั้นเรียน ใหนักเรียนไดใชบทสนทนาที่แตกตางกันไป เชน รานขายของ รานอาหาร ธนาคาร เปนตน


21 8. ใหเลนเกมตางๆ ทางภาษา 9. ใหโตวาทีอภิปรายแสดงความคิดเห็นในหัวขอที่หลากหลาย 10. ใหฝกการสนทนาทางโทรศัพท 11. ใหอานหนงัสือพิมพไทยแลวรายงานเปนภาษาอังกฤษ 12. ใหแสดงบทบาทสมมติ กุศยา แสงเดช. (2548:136) ไดกลาววาในการสอนทักษะการพูดเบื้องตนมุงเนนใหใชทักษะการพูด เพื่อการสื่อสารไดในสถานการณจริงสิ่งสำคัญคือตัวครูผูสอนจะตองใหความถูกตองรูปแบบเสียง ดังนั้นกิจกรรม ตาง ๆ จึงเปนกิจกรรมที่ผูเรียนจะตองปฏิบัติตามแบบหรือตัวอยางที่กำหนด เพื่อนำไปสูขั้นการสอนพูด ใหมีประสิทธิภาพ และไดผลสัมฤทธิ์สูงสุดการเตรียมกิจกรรมที่จะนำไปสูกิจกรรมการสอนพูด ครูผูสอนตองคำนึงถึง ความถูกตองเหมาะสมกับสถานการณและระดับภาษาที่เหมาะสมกับผูเรียน ซึ่งมีแนวทางการจัดกิจกรรมการสอน ทักษะการพูด ดังนี้ 1. จัดบรรยากาศของหองใหเอื้อตอการเรียนภาษาและครูผูสอนใช Classroom English Expression ใหมากที่สุดเทาที่จะทำไดเพื่อใหผูเรียนมีความคุนเคย 2. ใชสื่อการสอนที่หลากหลาย ปจจุบันนี้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาจะชวยใหผูเรียน ฝกทักษะการพูดไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ในการฝกการพูดไมควรอยางยิ่งที่จะแกไขขอผิดพลาดของผูเรียนทุกจุดควรแกเฉพาะ ในขั้นนำเสนอ (Presentation) ที่ตองการความถูกตองของการใชภาษา (Accuracy) แตถาขั้นฝกปฏิบัติ (Practice) ที่ตองการฝกความคลองของการใชภาษา (Fluency) และขอผิดพลาดนั้น ไมไดมีผลตอความเขาใจภาษา ก็คงไมตองแกทันทีควรรอโอกาสที่เหมาะสมเพื่อมิใหผูเรียนเกิดความทอถอยและขาดความเชื่อมั่น 4. ครูสอนภาษาอังกฤษมีความจำเปนอยางยิ่งที่จะตองฝกทักษะและความสามารถในการใชภาษา ใหพัฒนากาวหนาอยูเสมอ 5. การจัดกิจกรรมการฝกควรมีรูปแบบหลากหลาย มุงเนนใหผูเรียนสนุกสนานเกิดเจตคติที่ดี ตอการเรียนภาษา 6. การสอนภาษาควรสอนทักษะสัมพันธหรืออยางนอยตองสอนคูกันเชนสอนทักษะการพูดคูกับ ทักษะการฟง เปนตน 7. การสอนทักษะการพูดควรจัดกิจกรรมคูใหมาก เพราะการทำกิจกรรมคูจะชวยฝกใหผูเรียน ใชภาษาในการสื่อสารและแสวงหาขอมูลไดดี เปดโอกาสใหผูเรียนที่ขาดความเชื่อมั่นมีโอกาสแสดงออก 8. ควรชมเชยผูเรียนใหกำลังใจบอยๆ เพราะเปนแรงกระตุนที่สรางความเชื่อมั่นใหกับผูเรียน 9. การฝกพูดเริ่มจากงายไปหายาก การพูด คือ การเปลงเสียงดวยคำ เพื่อบอกเลาถึงความรูสึกนึกคิดเปนภาษาอังกฤษ มีจุดประสงค เพื่อการสื่อสารระหวางกัน และการพูดของคนนั้นยอมมีกำเนิดมาจากความจำเปนของตนเอง ที่จะใชเสียงพูด ใหเปนเครื่องมือสื่อสารระหวางกัน ซึ่งเปนสิ่งจำเปนมากกวาเรื่องอื่น ๆ การสอนพูดจึงดูจะเปนปญหาใหญ สำหรับครูผูสอน ครูบางคนพยายามพูดกับนักเรียนในชั้นเรียนเสมอ ซึ่งเปนโอกาสที่ดีสำหรับนักเรียนที่จะได


22 มีโอกาสฝกฝนพูดภาษา โดยที่ครูยอมจะตองคิดหาวิธีการกระตุนใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นภายในขอบเขต ความรูทางดานภาษาอังกฤษที่นักเรียนมีอยู จุดประสงคที่สำคัญในการสอนพูดคือ เพื่อจะใหนักเรียน ใชภาษาอังกฤษสื่อความหมายได วิธีการสอนพูดแบบพื้นฐานคือ การเลียนแบบเสียงของเจาของภาษาใหถูกตอง โดยการใหพูดเปนคำเปนวลีและเปนประโยค แตเนื้อหาที่จะนำมาสอนพูดนั้นควรเปนเนื้อหาที่นักเรียนเกี่ยวของ ในชีวิตประจำวันมากที่สุดหรือถามีบทเรียนบทสนทนา หรือเอกสารประกอบกับเทปที่บันทึกเสียงพูดของเจาของ ภาษาก็จะยิ่งทำใหนักเรียนมีความเขาใจ และสามารถจับสำเนียงของภาษาไดรวดเร็วยิ่งขึ้นการสอนพูดน้ันควรสอน ควบคูไปกับการฟง บทพูดที่จำเปนและสำคัญที่สุดคือบทสนทนาที่ใชในชีวิตประจำวันที่มีโครงสรางที่สั้นและงาย สามารถสื่อความหมายไดมากที่สุด สำหรับการสอนพูดนั้น ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของสุไรพงษ ทองเจริญ. (2525) ไดกลาวแยกเนื้อหาการสอนพูดออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื 1. การออกเสียง (Pronunciation) ไดแก การสอนการออกเสียงที่เปนปญหา ทั้งเสียงสระ เสียงพยัญชนะ การฝกเสียงเนนหนักเบา สำเนียงสูงต่ำในประโยครวมทั้งการฝกจังหวะการพูดอีกดวย 2. การฝกพูดเพื่อสนทนาโตตอบกับผูอื่น (Speaking for communication) การพูด ในรูปแบบนี้จะมีแทรกอยูในทุกวิชาที่เรียน เชน การอานการเขียนเพราะในการฝกเนื้อหาเหลานี้ จะใชการฝกปากเปลา เพื่อใหนักเรียนเกิดความแมนยำในเนื้อหานั้นๆ การฝกพูดนี้รวมถึงการสนทนา ขั้นพื้นฐาน ซึ่งนักเรียนควรมีความรูเบื้องตน เชน การตอบคำถามงายๆ ตอบรับหรือตอบปฏิเสธ การสนทนา เรื่องราวตางๆ การบรรยายภาพเหตุการณ เปนตน 2.3 หลักการประเมินและพฒันานวัตกรรม 2.3.1 ทฤษฎีการเรียนรู (Learning Theories) ทิศนา แขมมณี กลาววา “ทฤษฎีการเรียนรู เปนแนวความคิดที่ไดรับการยอมรับวาสามารถ ใชอธิบายลักษณะของการเกิดการเรียนรู หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได” การเรียนรูเปนกระบวนการในการพัฒนาความสามารถและศักยภาพของมนุษยในดานตาง ๆ เชน ดานความรู ดานทักษะ ดานเจตคติ เปนตน ซึ่งแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูของมนุษยไดรับความสนใจ จากนักปรัชญาและนักจิตวิทยามาตั้งแตในอดีต ซึ่งตางก็มีแนวคิดหรือทัศนะที่หลากหลาย และไดพัฒนา ไปเปนรากฐานในการจัดการศึกษาในปจจุบัน ทฤษฎีการเรยีนรกูลุมพฤติกรรมนิยม (Learning Theory : Behaviorism) นักจิตวิทยาในกลุมพฤติกรรมนิยมมองธรรมชาติของมนุษยในลักษณะเปนกลาง คือ ไมดี ไมเลว (neutral-passive) การกระทำตาง ๆ เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดลอมภายนอกพฤติกรรมของมนุษย เกิดจากการตอบสนองตอสิ่งเรา (stimulus-response) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรา และการตอบสนอง กลุมพฤติกรรมนิยมใหความสำคัญกับ “พฤติกรรม” มาก เพราะพฤติกรรม เปนสิ่งท่สีังเกตเห็นไดสามารถวัดและทดสอบได ทฤษฎีการเรยีนรใูนกลุมพฤติกรรมนิยม ประกอบดวยแนวคิดสำคัญ 3 แนวคิด ดังตอไปนี้ 1) ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Thorndike’s Connectionism Theory)


23 2) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) 3) ทฤษฎีการเรียนรูของฮัลล(Hull’s Systematic Behavior Theory) ทฤษฎีพื้นฐานทางความคิด (assumption) ของทฤษฎีกลุมพฤติกรรมนิยม คือ พฤติกรรม ทุกอยางเกิดขึ้นโดยการเรียนรูและสามารถสังเกตได พฤติกรรมแตละชนิดเปนผลรวมของการเรียนรู ที่เปนอิสระหลายอยางเสริมแรง (Reinforcement) ชวยใหพฤติกรรมเกิดขึ้น 2.3.2 การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา 1. ความหมายของการพฒันานวัตกรรมการศกึษา นวตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคำวา “นว” หมายถึง ใหม และ “กรรม” หมายถึง การกระทำ เมื่อนำสองคำนี้มารวมกันเปน นวกรรม หรือนวัตกรรม จึงหมายถึง การกระทำใหมๆ หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใด ๆ แลวทำใหดีขึ้น และเมื่อนำนวัตกรรมมาใชในวงการศึกษาจึงเรียกวา “นวัตกรรมการศึกษา” การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) จึงหมายถึง การกระทำ ใหม การสรางใหม หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใด ๆ แลวทำใหการศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำใหผูเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการเรียนรู ทำให เกิดการเรียนรูอยางรวดเร็ว มีแรงจูงใจในการเรยีน ทำใหเกิดประสิทธิภาพและประสทิธิผลสูงสุดกับผูเรียน 2. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมที่นำมาใชในทางการศึกษา ทั้งการกระทำใหมใด ๆ การสรางสิ่งใหมๆ รวมทั้ง การพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใด ๆ เพื่อใชในการเรียนการสอน แบงเปน 5 ประเภท คือ 1) นวัตกรรมดานสื่อการสอน เชน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) หนังสือ อิเล็กทรอนิกส บทเรียนสำเร็จรูป หนังสือเลมเล็ก ชุดสื่อผสม ชุดการเรียนรูทางไกล ชุดเสริมความรู/ ประสบการณแบบเรยีนเพิ่มเติม ฯลฯ เปนตน 2) นวัตกรรมดานวิธีการจัดการเรียนการสอน เชน การสอนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) การสอนแบบศูนยการเรียนรู (Learning Center) การสอนแบบสืบเสาะความรู (Inquiry Based) การสอนแบบโครงงาน (Project Method) ฯลฯ เปนตน 3) นวัตกรรมทางดานหลักสูตร เชน หลักสูตรสาระเพิ่มเติม หลักสูตรทองถิ่น หลักสูตร การฝกอบรม หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ฯลฯ เปนตน 4) นวัตกรรมดานการวัดและการประเมินผล เชน การสรางแบบวัดตาง ๆ การสราง เครื่องมือวิจัย การประยุกตใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ฯลฯ เปนตน 5) นวัตกรรมดานการบริหารจัดการ เชน การบริหารเชิงระบบ การบริหารเชิงกลยุทธ การบริหารแบบหลอมรวม การบริหารเชิงบูรณาการ การบริหารเชิงวิจัยปฏิบัติการ ฯลฯ เปนตน 3. ขั้นการพัฒนานวัตกรรม ขั้นการวิจัยเชิงพัฒนา (Research and Development) โดยทั่วไปมักกำหนดเปน 4 ขั้น ดังนี้ 1) ขั้นสำรวจและวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นวาเปนปญหาในเรื่องใด


24 2) ขั้นการสรางและหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวของ รางนวัตกรรมไมวาจะเปน สื่อ วิธีการสอน หลักสูตร การวัดประเมินผล เปนตน จากนั้น นำนวัตกรรมที่สรางขึ้นเสนอใหผูเชี่ยวชาญตรวจเพื่อหาคาความสอดคลอง 3) ขั้นศึกษาผลและการทำไปใชกับกลุมตัวอยางหรือกลุมเปาหมาย จากน้ัน ทำการทดสอบผลและประเมินผลการใชนวัตกรรม โดยอาจจะเปนหารเปรียบเทียบกอนและหลังใช (t-test แบบ t-pair) หรือเปรียบเทียบกับเกณฑท ี่กำหนด (t-test แบบ one-sample) 4) ขั้นประเมินผล โดยใชแบบวัดความพึงพอใจ แบบวัดทัศนคติ แบบวัดความคิดเห็น หรือใชรูปแบบประเมินใด ๆ เพื่อการประเมินผลการใชนวัตกรรมนั้น แตสำหรับการพัฒนานวัตกรรมเพื่อนำไปใชแกปญหากับนักเรียนโดยทั่วไป ในลักษณะ ของการวิจัยเชิงวิชาการในชั้นเรียน การตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของนวัตกรรมกอนนำไปใชจริงจำเปน จะตองดำเนินการตามหลักการอยางเขมงวด ซึ่งจะไดอธิบายอยางคราวๆ ดังนี้ 1. การตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญ การตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมตนแบบโดยผูเชี่ยวชาญนั้นถือเปนการตรวจสอบ เบื้องตน โดยอาจใหผูเชี่ยวชาญประมาณ 3-5 คน พิจารณาตนแบบของนวัตกรรมแลววิพากษเกี่ยวกับคุณภาพ ของนวัตกรรมตามประสบการณของทานเหลานั้น พรอมทั้งใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขตัวนวัตกรรม ตนแบบ การตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญนี้มีขอสังเกต 2 ประการ คือ 1.1 เกี่ยวกับตัวผูเชี่ยวชาญ ผูเชี่ยวชาญที่จะใหตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม ตนแบบ ควรเปนผูเชี่ยวชาญทั้งทางดานเนื้อหาที่เกี่ยวของกับเนื้อเรื่องที่นำมาจัดทำ เชน ถาเปนนวัตกรรม ทางดานคณิตศาสตรก็ควรเปนผูเชี่ยวชาญทางดานคณิตศาสตร ถาเปนนวัตกรรมทางดานภาษาอังกฤษ ก็ควรเปนผูเชี่ยวชาญทางดานภาษาอังกฤษ เปนตน 1.2 เกี่ยวกับคุณภาพที่จะตรวจสอบ การตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมตนแบบ ในขั้นนี้ ไมจำเปนตองใชการวิเคราะหโดยคาสถิติอะไร อาจเปนเพียงการวิพากษวิจารณตามประสบการณ พรอมทั้งใหขอเสนอแนะในการแกไขปรับปรุง หรือในบางกรณีที่ตองพิจารณาความสอดคลองของความเห็น ของผูเชี่ยวชาญก็อาจใชสถิติพื้นฐานงายๆ บางตัว เชน การใชคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) เปนตน 2. การพัฒนานวัตกรรมทางการสอนและการหาประสิทธิภาพ 2.1 ความหมายหมายของ E1/E2 E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (กระบวนการในที่นี้ คือ กระบวนการ จัดการเรียนการสอนระหวางเรียนทั้งหมด โดยคิดจากคะแนนหลังเรียนของแตละหนวย บท ของแตละเรื่อง) เชน ตัวเลข 80 หมายถึง ผูเรียนทั้งหมดไดทำแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 ซึ่งหาไดจากสูตร ผลรวมของคะแนน หารดวยจำนวนผูเรียนทั้งหมด คูณดวย 100 แลวหารดวยผลรวม ของคะแนนเต็มของแบบทดสอบทุกชุดก็จะได E1 E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ (ผลลัพธในที่นี้หมายถึง หลังจากผูเรียน เรียนจบกระบวนการ โดยคิดคะแนนจากหลังเรียน ไดมาจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์นั่นเอง) เชน ตัวเลข 80


25 หมายถึง ผูเรียนทั้งหมดไดทำแบบทดสอบหลังเรียนไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 หาไดจากสูตร ผลรวม ของคะแนน หารดวย จำนวนผูเรียนทั้งหมด คูณดวย 100 แลวหารดวย ผลรวมของคะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลังเรียนก็จะได E2 2.2 การหาประสิทธิภาพของสื่อ การหาประสิทธิภาพของสื่อ บุญชม ศรีสะอาด (2553) ไดกลาวถึงวิธีการ หาประสิทธิภาพของสื่อที่สรางขึ้น 2 วิธี ดังนี้ 1) วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) กระบวนการนี้ เปนการหาประสิทธิภาพโดยใชหลักของความรู และเหตุผลในการตัดสินคุณคาของสื่อการเรียนการสอน โดยอาศัยผูเชี่ยวชาญ (Panel of Expert) เปนผูพิจารณา ตัดสินคุณคา ซึ่งเปนการหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมในดานการนำไปใช (Usability) ผลการประเมินของผูทรงคุณวุฒิ แตละคนจะนำมาหาคาประสิทธิภาพตอไป 2) วิธีการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ (Empirical Approach) วิธีการนี้ จะนำสื่อไปทดลองใชกับกลุมนักเรียนหรือเปาหมาย การหาประสิทธิภาพของสื่อ เชน บทเรียนคอมพิวเตอร (CAI) บทเรียนโปรแกรม เอกสารประกอบการเรียน แผนการสอน แบบฝกทักษะ เปนตน สวนมากใชวิธีการหา ประสิทธิภาพดวยวิธีนี้ ประสิทธิภาพที่วัดสวนใหญจะพิจารณาจากเปอรเซ็นตการทำแบบฝกหัด หรือกระบวนการเรียน หรือแบบทดสอบยอยโดยแสดงเปนคาตัวเลข 2 ตัว เชน E1/E2 = 80/80, E1/E2= 85/85, E1/E2 = 90/90 เปนตน เกณฑประสิทธิภาพ (E1/E2) มีความหมายแตกตางกันหลายลักษณะในที่นี้ จะยกตัวอยาง E1/E2 = 80/80 ดังนี้ 1) เกณฑ 80/80 ในความหมายที่ 1 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ นักเรียนทั้งหมดทำแบบฝกหัดหรือแบบทดสอบยอยไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 ถือเปนประสิทธิภาพ ของกระบวนการ สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือนักเรียนทั้งหมดที่ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post – test) ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 2) เกณฑ 80/80 ในความหมายที่ 2 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คือ จำนวน นักเรียนรอยละ 80 ทำแบบทดสอบหลังเรียน (Pos-test) ไดคะแนนรอยละ 80 ทุกคน สวนตัวเลข 80 หลัง (E2) คือ นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียนครั้งนั้นไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 เชน มีนักเรียน 40 คน รอยละ 80 ของนักเรียนทั้งหมดคือ 32 คน แตละคนไดคะแนนจากแบบทดสอบกอนเรียนถึงรอยละ 80 (E1) สวน 80 ตัวหลัง (E2) คือ ผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด (40 คน) ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 3) เกณฑ 80/80 ในความหมายที่ 3 ตัวเลขแรก 80 (E1) คือ จำนวน นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 สวน ตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) คือ คะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 ที่นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) สามารถ อธิบายใหชัดเจนได ดังนี้ สมมติวานักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 10 แสดงวา แตกตางจากคะแนนเต็ม (รอยละ 100) เทากับ 90 ถานักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียน


26 (Post-test) ไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 85 แสดงวามีความแตกตางของการสอบ 2 ครั้งนี้ (กอนเรียนและหลัง เรียน) เทากับ 85-10 = 75 ดังน้นัคา (75/90) × 100 = 83.33% ถือวาสูงกวาเกณฑที่กำหนดไว(E2 = 80) 4) เกณฑ80/80 ในความหมายที่4 ตัวเลข 80 ตัวแรก (E1) คอืนักเรียน ทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียนไดคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80 สวนตัวเลข 80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง นักเรียน ทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียนแตละขอถูกมีจำนวนรอยละ 80 (ถานักเรียนทำขอสอบขอใดถูกมีจำนวน นักเรียนไมถึงรอยละ 80 แสดงวา สื่อไมมีประสิทธิภาพและชี้ใหเห็นวาจุดประสงคที่ตรงกับขอนั้น มีความบกพรอง) กลาวโดยสรุปไดวา เกณฑในการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียน การสอนจะนิยมตั้งเปนตัวเลข 3 ลักษณะ คือ 80/80, 85/85, และ 90/90 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับธรรมชาติของวิชา และเนื้อหาที่นำมาสรางสื่อนั้น ถาเปนวิชาที่คอนขางยากก็อาจตั้งเกณฑไว 80/80 หรือ 85/85 สำหรับวิชา ที่มีเนื้อหางายอาจตั้งเกณฑไว 90/90 เมื่อคำนวณแลวคาที่ถือวาใชไดคือ 87.50/87.50 หรือ 87.50/90 เปน ตน ขั้นการหาประสิทธิภาพ ชัยยงค พรหมวงศ กลาวถึง ขั้นการทดสอบประสิทธิภาพไว ดังนี้ 1) แบบเดี่ยว (1:1) เปนการทดลองกับผูเรียน 1 คน โดยใชเด็กออน ปานกลาง และเด็กเกง คำนวณหาประสิทธิภาพเสร็จแลวปรับปรุงใหดีขึ้น โดยปกติคะแนนที่ไดจากการทดลองแบบเดี่ยว นี้จะไดคะแนนต่ำกวาเกณฑมาก แตไมตองวิตกเมื่อปรับปรุงแลว จะสูงขึ้นมากกวากอนนำไปทดลองแบบกลมุ ในขั้นนี้ E1/E2 ที่ไดจะมีคาประมาณ 60/60 วิธีดำเนินการแบบเดี่ยวนี้เปนการทดลองครู 1 คน ตอนักเรียน 1 คน ใหทดลองกับเด็กออนเสียกอน ทำการปรับปรุงแลวนำไปทดลองกับเด็กปานกลาง และนำไปทดลอง กับเด็กเกง อยางไรก็ตามหากเวลาไมอำนวยและสภาพการณไมเหมาะสมก็ใหทดลองกับเด็กออนหรือปานกลาง (ชัยยงค พรหมวงศ :2521) 2) แบบกลุม (1:10) เปนการทดลองกับผูเรียน 6-10 คน (คละผูเรียบเกงกับออน) คำนวณหาประสิทธิภาพแลวปรับปรุง ในครั้งนี้คะแนนของผูเรียนจะเพิ่มขึ้นเกือบเทาเกณฑ โดยเฉลี่ย จะหางจากเกณฑประมาณ 10% นั้นคอื E1/E2 ที่ไดจะมีคาประมาณ 70/70 วิธีดำเนินการสำหรับการทดลอง แบบกลุม เปนการทดลองที่ครู 1 คน ตอเด็ก 6-10 คน โดยใหคละกันทั้งเด็กเกง ปานกลาง และออน หามทดลองกับเด็กเกงลวน หรือเด็กออนลวน เวลาทดลองจะตองจับเวลาดวยวากิจกรรมแตละกลุมใชเวลา เทาไร 3) ภาคสนาม (1:100) เปนการทดลองกับผูเรียนทั้งชั้น 40-100 คน คำนวณ หาประสิทธิภาพแลวทำการปรับปรุง ผลลัพธที่ไดควรใกลเคียงกับเกณฑท่ตีั้งไวหากต่ำกวาเกณฑไมเกิน 2.5% ก็ใหยอมรับ หากแตกตางกันมาก ผูสอนตองกำหนดเกณฑประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนใหม โดยยึดสภาพความจริงเปนเกณฑ วิธีดำเนินการในภาคสนาม เปนการทดลองที่ใชครูเพียง 1 คน กับนักเรียน ทั้งชั้น 30-40 คน (หรือ 100 คน สำหรับเอกสารประกอบการเรียนรายบุคคล) ชั้นที่เลือกมาทดลอง จะตองมีนักเรียนคละกันทั้งเกงและออน ไมควรเลือกหองเรียนทีมีเด็กเกงหรือออนลวน


27 จากการศึกษาการหาประสิทธิภาพของสื่อ สรุปไดวา การหาประสิทธิภาพของสื่อที่ใช มี 2 วิธี คือ การหาประสิทธิภาพเชิงเหตุผล (Rational Approach) และการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ (Empirical Approach) ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดใชวิธีการหาประสิทธิภาพเชิงประจักษ ในการหาประสิทธิภาพของส่ือที่ใชในการจัดการเรียนการสอน วิธีนี้เปนการนำสื่อไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง แลวนำผลที่เปนคะแนนจากการทำแบบฝกหรือแบบทดสอบโดยพิจารณาเปนรอยละของคะแนนโดยมีเกณฑ ประสิทธิภาพ คือ E1/ E2 กระบวนการดังกลาวมีความสำคัญในการพัฒนาสื่อที่ใชในการเรียนการสอน ใหมีประสิทธิภาพในการนำไปใชและประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนกับผูเรียน นอกจากนี้ผูวิจัยไดศึกษา งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนานวัตกรรมทางการสอนและการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชวิธีการ สอนรูปแบบกระบวนการเรียนรู 5 ขั้น (5STEPs Learning Process) ทั้งงานวิจัยในประเทศและตางประเทศ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมที่ใชและพัฒนาทักษะการในสอนใหประสบผลสำเรจ็ตามวัตถุประสงค ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับงานวิจัยที่ผูวิจัยไดทำการศึกษามีในหัวขอตอไป 2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.4.1 งานวิจัยในประเทศ กมลวรรณ ศรีสุโคตร (2554: บทคัดยอ) วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการพูด และเจตคติตอวิชาภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมบทบาทสมมติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ผลการศึกษาพบวา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชกิจกรรม บทบาทสมมติที่ไดสรางขึ้นมีประสิทธิภาพเทากับ 81.57 /80.11 แสดงวาแผนการ จัดการกิจกรรมการเรียนรู ที่สรางขึ้นเพื่อพัฒนาทักษะการพูดมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑ 75/75 ดัชนีประสิทธิผลของแผนการ จัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชกิจกรรมบทบาท สมมติ มีคาเทากับ .6427 ซึ่งหมายความวานักเรียนมีความกาวหนาในการเรียนรอยละ 64.27 และนักเรียน ที่เรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชกิจกรรมบทบาทสมมติ มีเจตคติตอการเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับดีมาก กรรณิการ กาญจันดา (2550) ไดทำการศึกษา เรื่อง การใชกิจกรรมบทบาทสมมติ ตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารสงเสริมความสามารถในการฟง พูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจสำหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนพิงครัตน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม จำนวน 12 คน ซึ่งผลจากการวิจัย พบวานักเรียนมีความสามารถในการฟง พูดภาษาอังกฤษผานเกณฑที่กำหนดไวคือ รอยละ 60 และนักเรียน มีแรงจูงใจเพิ่มขึ้นหลังการเรยีนโดยใชกิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร กาญจนา ครุฑมณี และคณะ (2558: บทคัดยอ) วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการฟง และการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชวิธีการสอนแบบบทบาทสมมติ มีผลการวิจัย พบวา การเปรียบเทียบคะแนนทักษะการฟงและการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชการเรียนสอนแบบบทบาทสมมติ กอนและหลังการทดลองพบวานักเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังการเรียนสูง กวากอนเรยีน และคา t มีความแตกตางอยางมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05


28 เกศสุดา ปงลังกา (2550: บทคัดยอ) ศึกษาการใชกิจกรรมบทบาทสมมติในการพัฒนา ความสามารถดานการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 พบวา ความสามารถดานการพูด ของนักเรียนหลังการทดลองเพิ่มขึ้นจากกอนการทดลองอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และระหวาง การทดลอง ความสามารถดานการพูดของนักเรียนพัฒนาขึ้นโดยลำดับ จากความสามารถในระดับปานกลาง ในชวงตน และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเมื่อสิ้นสุดการทดลอง พบวา นักเรียนมีความสามารถดานการพูด ในระดับมาก ทั้งดานการใชคำศัพท และไวยากรณ การพูดสื่อสารเพื่อใหผูฟงเขาใจ ตลอดจนความคลอง ในการพูด โดยมีคาเฉลี่ยที่นักเรียนประเมินตนเองเปน 2.83 , 3.01 , 3.56 และ 3.95 ตามลำดับ นุชจรี ภูเงิน (2556: บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชบทบาทสมมติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปที่ 3 สาขางานคอมพิวเตอร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ผลการศึกษาวิจัยพบวา คะแนนการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียน กอนการสอนโดยใชบทบาทสมมติ สอบได 1 - 2 คะแนน มีคาเฉลี่ยเปน 1.47 คะแนน สวนการพูด ภาษาอังกฤษหลังการใชบทบาทสมมติ สอบได 3 - 8 คะแนน มีคาเฉลี่ยเปน 4.47 คะแนน และเมื่อพิจารณา คะแนนพัฒนาการ พบวา นักเรียนกลุมตัวอยาง ทุกคนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น คือได 12.55 - 75.00% คาเฉลี่ย เปน 34.89% และพฤติกรรมของนักเรยีนจะเกิดทักษะในการสนทนาภาษาอังกฤษ นักเรียนมีการพัฒนาทักษะ การพูดภาษาอังกฤษไดอยางถูกตอง มีความเชื่อมั่นในการอานออกเสียง อีกทั้งชวยใหนักเรียน เกิดความเขาใจ ในการเรียนมากยิ่งขึ้น ปาริชาติ เตชะ (2553) ไดทำการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการฟงและการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชบทบาทสมมติ โรงเรียนแมมอกวิทยา อำเภอเถิน จังหวัด ลำปาง ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการฟงและการพูดภาษาอังกฤษโดยใชบทบาทสมมติของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ระหวางเรียนทักษะการฟงและการพูดมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 86.95 และ 80.25 ตามลำดับ และจากการทดสอบโดยใชแบบทดสอบคิดเปนคะแนนเฉลี่ยรอยละ 80.00 และ 80.25 ตามลำดับ ซึ่งสูงกวาเกณฑที่ตั้งไวรอยละ 70.00 และไดใหขอเสนอแนะในงานวิจัยครั้งนี้วา ในการจัดกิจกรรมบทบาท สมมติ ครูผูสอนควรคำนึงถึงความเหมาะสมในเรื่องของเวลาเรียน การทำกิจกรรมในแตละเรื่องใชเวลาเรียน ไมเทากันขึ้นอยูกับประโยคในหัวขอสนทนาที่กำหนดไวในแตละบทเรียนและทักษะการฟง การพูดเปนทักษะ ที่ตองอาศัยเวลาในการทำความเขาใจและฝกฝนจึงจะเกิดความคลองแคลวในการใชภาษา ดังนั้นครูผูสอน อาจเตรียมตัวนักเรียนลวงหนานอกเวลาเรียนและนำมาเรียนในชั่วโมง จะทำใหการเรียนการสอนไดผล มากยิ่งขึ้น ในระหวางการจัดการเรียนการสอนครูผูสอนควรกระตุนใหนักเรียนใชภาษาอังกฤษใหมากที่สุด สรางบรรยากาศในการเรียนโดยเนนการลงมือปฏิบัติจริง ใหความชวยเหลือตามที่จำเปน และพยายามสราง ความมั่นใจในการใชภาษาของผูเรียน ไมควรจับผิด ควรใหโอกาสผูเรียนไดฝกฝนและแกไขขอผิดพลาด ดวยตนเอง ควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการกำหนดสถานการณการใชภาษาที่คิดวาอยากเรียน เปนการกระตุนความสนใจใฝรูในการเรียนรูภาษา สรางแรงจูงใจและความมั่นใจในการใชภาษาอังกฤษใน ชีวิตประจำวัน


29 พิชญภวิศ ภูมิมณี และ สมบูรณ พินธุรักษ (2553) ไดศึกษาการพัฒนาความสามารถ ดานการพูดภาษาอังกฤษของนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่3 โดยใชบทบาทสมมติโรงเรยีนบานโคกลาด อำเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 จำนวน 30 คน ผลการวิจัยปรากฏวา นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์จากการทำแบบทดสอบยอยในการประเมินความสามารถดานการพูดของนักเรียนดีขึ้น และนักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการพูดภาษาอังกฤษโดยภาพรวมอยูในระดับดีมาก และไดใหขอเสนอแนะ ไวในงานวิจัยวา การจัดกลุมนักเรียนควรจัดเปนกลุมแบบคละความสามารถ คือ เกง ปานกลาง และออน เพื่อใหนักเรียนไดชวยเหลือกันและกัน นักเรียนที่ออนจะไดพัฒนาความสามารถตนเองตามศักยภาพ สวนนักเรียนที่เกงจะไดเพิ่มทักษะการอธิบายหรือการถายทอดความรูใหเพื่อนในกลุม นอกจากนี้ครูผูสอน จะตองเตรียมแหลงขอมูลความรูใหแกผูเรียนทั้งในรูปแบบของสื่อการเรียนการสอน และวัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่จะใชประกอบกิจกรรมบทบาทสมมติที่ผูเรียนสามารถคนควาไดตามตองการ วันเพ็ญ ไขลายหงส (2551 : 95) ไดพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูทักษะการพูด ภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมบทบาทสมมุติระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปที่1 ผลการศกึษาคนควา ปรากฏ ดังนี้ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรทูักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมบทบาทสมมุติ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพเทากับ 70.82/71.38 คาดัชนีประสิทธิผล เทากับ 0.56 แสดงวาจากการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรยีนรทูำใหนักเรียนมีความกาวหนา รอยละ 56 สุวัฒนชัย ถุนาพรรณ(2555 : 91) ไดพัฒนาทักษะการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชกิจกรรมบทบาทสมมติ ผลการวิจัย พบวา ประสิทธิภาพของกิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะ การพูดภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ เทากับ 79.05/78.92 ความสามารถ ดานการพูดของนักเรียนหลังการทดลองเพิ่มขึ้นจากกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระดับความพึงพอใจของนักเรียนตอการเรียนวิชาภาษาอังกฤษโดยใชกิจกรรมบทบาทสมมติโดยรวม มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก อรุโณทัย กิตติธีระวัฒน (2551) ศึกษาเรื่อง การจัดกิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะ การพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนบานรองเชียงแรง กิ่งอำเภอ ภูซาง จังหวัดพะเยา จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใชในการศึกษามีทั้งหมด 3 ชนิด คือ 1) แผนการเรียนรู การจัดทำกิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 2) แบบประเมินการพูดระหวางเรียน และ 3) แบบวัดความรูความเขาใจในการเลือกใชภาษาสื่อสารในบทสนทนา โดยใชแบบวัดความรูความเขาใจ ในการเลือกใชภาษาสื่อสารในบทสนทนาทดสอบกอนเรียน หลังจากนั้นจึงดำเนินการสอนทีละแผนควบคู กับการใชแบบประเมินการพูดระหวางเรียนจนครบทั้ง 10 แผน และใชแบบวัดความรูความเขาใจในการ เลือกใชภาษาสื่อสารในบทสนทนาทดสอบหลังเรียน นำผลการประเมินการพูดระหวางเรียน และผลการ ประเมินการวัดความรูความเขาใจในการเลือกใชภาษาสื่อสารในบทสนทนามาวิเคราะหขอมูล โดยการหาคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคารอยละ ผลการศึกษาพบวา 1) แผนการจัดกิจกรรม โดยใชบทบาทสมมติชวยใหนักเรียนพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษดีขึ้น 2) ผลการประเมินการพูด ระหวางเรียนโดยเฉลี่ยนักเรียนผานเกณฑระดับ 3 ขึ้นไปมากกวารอยละ 60 และ 3) ผลการประเมินแบบวัด


30 ความรูความเขาใจในการเลือกใชภาษาสื่อสารในบทสนทนาหลังเรียน ปรากฏวานักเรียนไดคะแนนเฉลี่ย รอยละ 76 2.4.2 งานวิจัยตางประเทศ Cheng, Han-Yin (2008 : DAI) ไดสํารวจทฤษฎีของรูปแบบการสอนโดยใชการแสดงบทบาท สมมติ ผลการวิจัยพบวา การใชรูปแบบการเรียนการสอนโดยใชการแสดงบทบาทสมมุติจะชวยใหนักเรียน มีทัศนคติที่ดีตอการเรียนรูภาษาอังกฤษ ทักษะทางสังคมและสมรรถนะทางการพูด ผลการวิจัยเหลานี้ เปนหลักฐานสนับสนุนการพัฒนาการใชรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มผลสมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาอังกฤษ ในฐานะเปนภาษาตางประเทศของนักเรียนชาวไตหวัน Erasma, Gatot Sutapa, and Salam. (2012) ทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อศึกษาการพัฒนา ความสามารถในการพูดของนักเรียนโดยใชเทคนิคบทบาทสมมติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 สำหรับ นักเรียนสายวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร (SMP) Negeri 3 Meliau Indonesia ซึ่งนักเรียนกลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 38 คน วิธีการวิจัยเปนแบบวิจัยในชั้นเรียน ในการเก็บขอมูลผูวิจัยใชการวัดผล ประเมินผลโดยใชแบบบันทึกภาคสนามและแบบสังเกต และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ซึ่งผลการวิจัยพบวา ความสามารถในการพูดของนักเรียนเพิ่มขึ้นภายหลังจากการใชบทบาทสมมติในการเรียน การสอน โดยอางจากผลการวิเคราะหขอมูลคาเฉลี่ยจากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน กลาวคือ ผลการทดสอบกอนเรียนรอยละ 57.24 และผลทดสอบหลังเรียนรอยละ 66.18 ซึ่งมีคุณภาพในเกณฑดี ซึ่งหมายความวาการใชเทคนิคบทบาทสมมติในการสอนสามารถพัฒนาความสามารถของนักเรยีนไดดีขึ้น Islam P. & Islam T. (2012) ทำการศึกษาผลของการใชบทบาทสมมติเพื่อกระตุนทักษะ การพูดสำหรับนักเรียนในหองเรียนที่มีขนาดใหญเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียน บังคลาเทศ 120 คนที่ศึกษาในสาขาภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยสแตมฟอรด ประเทศบังคลาเทศ ระยะเวลา จากมกราคม ถึง เมษายน 2012 ในชั่วโมงภาษาอังกฤษ การรวบรวมขอมูลใชแบบสอบถาม การสัมภาษณ เปนกลุม การสังเกตในหองเรียน และผลการประเมินพฤติกรรมในหองเรียน ซึ่งผลการประเมินพฤติกรรม ในหองเรียนนำเสนอในรูปแบบกราฟซึ่งผลของการพัฒนาทักษะการพูดที่เรียนรูผานบทบาทสมมติ พัฒนาการ ที่ดขีึ้นและมีทัศนคติที่ดีตอการพัฒนาทักษะการพูด ซึ่งอางอิงจากผลแบบสอบถามของนักเรยีนซึ่งผลปรากฏวา บทบาทสมมติชวยกระตุนความคิดสรางสรรค และความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักเรียนไดเปนอยางดี นอกจากกระตุนใหนักเรียนมีแรงจูงใจในการพูดแลว นักเรียนยังมีความมั่นใจในการพูดและสื่อสาร ไดอยางถูกตองคลองแคลวมากขึ้น ผลการสัมภาษณเปนกลุม แสดงใหเห็นถึงขอดีและขอจำกัดของพฤติกรรม ของนักเรียนในขณะทำบทบาทสมมติเปนกลุมในขณะที่อยูในชั้นเรียน แบบสังเกตในหองเรียนทำใหครูรูถึง ความสามารถทางการพูดของนักเรียนในสถานการณตาง ๆ และประเมินความคลองแคลว ความถูกตอง ในการใชภาษาไดอีกดวย นอกจากนี้ครูผูสอนยังสามารถบันทึกพัฒนาการของนักเรียนในการประเมิน พัฒนาการทักษะการพูดและสามารถสรุปผลของการใชบทบาทสมมติในหองเรียนที่มีขนาดใหญอีกดวย ซึ่งผลของการวิจัย พบวา นักเรียนมีความกระตือรือรนในการแสดงบทบาทสมมติซึ่งมีความแตกตางกับการ ทำกิจกรรม อื่น ๆ ที่ทำในหองเรียน ซึ่งภายหลังจากการใชบทบาทสมมติ นักเรียนมีพัฒนาการ


31 ดานความสามารถในการพูดมากขึ้น มีความมั่นใจในการใชภาษาในสถานการณจริงในชีวิตได มีการแบงปน ความรูสึกที่ซอนอยูภายในได และแสดงออกอยางอิสระในหองเรียนที่มีขนาดใหญ กิจกรรมบทบาทสมมติ เปนเทคนิคที่ดีในการที่จะใชสังเกตพฤติกรรมของนักเรยีนในจำนวนที่จำกัด นักเรียนไดรับผลตอบรับที่สามารถ นำไปพัฒนาในคราวตอไปไดซึ่งผลตอบรบัของนักเรียนอยูในรปูแบบวิดีโอ ทำใหผูเรียนเห็นจุดออนและจุดแข็ง ของตนได อยางไรก็ตามแมวาบทบาบาทสมมติจะเปนเทคนิคที่มีผลทางบวกตอการพัฒนาทักษะการพูดก็ตาม แตยังมีขอเสนอแนะเพื่อใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ เนื่องจากบางครั้งนักเรียนลืมบทสนทนา ซึ่งอาจจะทำใหการดำเนินกิจกรรมติดขัดซึ่งครูผูสอนควรจะคำนึงถึงประเด็นนี้อีกดวย และครูผูสอนควรจะให แบบบันทึกผลตอบรับแบบที่เตรียมและเปนรูปแบบการเขียน Sumpana (2010) ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะการพูดของนักเรียนโดยใช บทบาทสมมติในการเรียนการสอนในหองเรียนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ในหลักสูตร Immersion Program 1 of the Sate Senior High School Of Karangpandan, Indonesia โ ด ย มีจ ุด ป ระ ส ง ค คื อ เพื่อพัฒนาทักษะการพูดของนักเรียนและเพื่อศึกษาตรวจสอบหาประสิทธิภาพของเทคนิคการสอน แบบบทบาทสมมติและเพื่อหาจุดแข็งและจุดออนของการสอนแบบบทบาทสมมติ ปญหาในการวิจัยคือ ความสามารถในการพูดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ขั้นตอนการวิจัย ประกอบดวยการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการตรวจสอบผล โดยการเก็บรวบรวมขอมูล ใชเทคนิคการสังเกต และไมสังเกต ซึ่งเทคนิคที่ไมใชการสังเกต คือ การใชแบบสอบถาม และการสัมภาษณ สวนเทคนิคการสังเกตใชบันทึก ภาคสนามและแบบฟอรมการสังเกตเปนการเก็บขอมูล มีการประเมินผานการทดสอบกอนเรียน และทดสอบ หลังเรียนเพื่อเปรียบเทียบวาบทบาทสมมติสามารถพัฒนาทักษะการพูดของนักเรียนไดดีเพียงไร ซึ่งผลการวิจัย พบวา บทบาทสมมติสามารถพัฒนาความสามารถในการพูดของนักเรียนไดดีและเปนเทคนิคการสอน ที่มีประสิทธิภาพสำหรับการเรียนรูและมีจุดแข็งมากกวาจุดออน นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังพบวา นักเรียน สามารถพูดไดดีขึ้นและพัฒนาคำศัพทและโครงสรางหลักไวยากรณไดดีขึ้นอีกดวย การใชบทบาทสมติ ในการเรียนการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในหองเรียน ทำใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียน และพูดภาษาอังกฤษมากขึ้น ซึ่งจากการเปรียบเทียบผลตางคะแนนการทดสอบกอนเรียน คือรอยละ 59 และหลังเรียนโดยใชบทบาทสมมติรอยละ 71 Sunardi (2013) นักศึกษามหาวิทยาลัย Tanjungpura Indonesia ทำการวิจัยเรื่องการสอน เพื่อพัฒนาความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษโดยใชบทบาทสมมติสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ซึ่งเปนนักเรียนใน SMA NEGERI 1 PESAGUANKETAPANG Indonesia โดยทำการทดสอบกอนเรียน และหลังจากใชบทบทบาทสมมติในการสอน หลังจากนั้นทำการทดสอบหลังเรียนพบวา มีคะแนนทดสอบ หลังเรียนสูงกวากอนเรียน คิดเปนรอยละ 11.47 ซึ่งสามารถสรุปไดวา การสอนโดยใชบทบาทสมมติ สามารถพัฒนาความสามารถในการพูดของนักเรียนได


บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรูเรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบ การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชัยภูมิเขต 1 ผูศึกษาไดดำเนนิการศึกษาตามขั้นตอน ดังนี้ 3.1 กลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การวิเคราะหขอมูล 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 3.1 กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคร้งันี้คอืชั้นประถมศึกษาปที่3 จำนวน 20 คน ที่กำลังศกึษาในภาคเรียน ที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 3.2 เครื่องมือที่ใชในการศกึษา 3.2.1 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู เรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต 1 ในคร้งันี้ประกอบดวย 3.2.1.1 แผนการจัดการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) ชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง จำนวน 8 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง 3.2.1.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) ซึ่งใชเปนทั้งแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (แบบทดสอบหลังเรียน) แบบทดสอบนี้เปนแบบทดสอบปรนัยประเภทเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ 3.2.1.3 แบบประเมินเพื่อหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู จำนวน 3 ชุด 3.2.1.4 แบบประเมินเพื่อหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 3 ชุด


33 3.2.1.5 แบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน จำนวน 1 ชุด 3.2.2 การพัฒนาเครื่องมือในการศึกษา 3.2.2.1 แผนการจัดการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรูรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ประกอบไปดวยตัวชี้วัดที่สอดคลองกับจุดประสงคในหนวยการเรียนรูทั้งสิ้น จำนวน 3 ตัวชี้วัด และแผนการจัดการเรียนรู จำนวน 8 แผนการจัดการเรียนรู ดังนี้ 1) แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 เรื่อง Go to School 2) แผนการจัดการเรียนรทูี่16 เรื่อง Places around Me 3) แผนการจัดการเรียนรทูี่17 เรื่อง Yummy Food 4) แผนการจัดการเรียนรทูี่18 เรื่อง Variety of Drinks 5) แผนการจัดการเรียนรทูี่19 เรื่อง My Meals 6) แผนการจัดการเรียนรทูี่20 เรื่อง Sports 7) แผนการจัดการเรียนรทูี่21 เรื่อง Activities time 8) แผนการจัดการเรียนรูที่ 22 เรื่อง Fun Hobbies ซึ่งไดมีการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูดังกลาว ตามลำดับขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) การศึกษาและวิเคราะหปญหาการเรียนการสอนรายวิชา รายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (อ13101) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เพื่อกำหนดปญหาและทักษะที่จำเปนตองพัฒนา 2) การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการจากเอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อสรางและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู 3) กำหนดตัวชี้วัด วัตถุประสงค และเนื้อหาสาระที่ใชในการพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู 4) ดำเนินการจัดทำแผนจัดการเรยีนรู(ฉบับราง) ขึ้น 5) นำแผนการจัดการเรียนรู (ฉบับราง) ไปปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เพื่อหา คาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) และขอคำแนะนำในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูผูเชี่ยวชาญจำนวน ทั้งสิ้น 3 ทาน ไดแก (1) นางสาวไอยดา โสภา ตำแหนง ครู โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต 1 (2) นายเสรี ออไธสง ตำแหนง ครู โรงเรียนหวยตอนพิทยาคม สังกัดองคการ บริหารสวนจังหวัดชัยภูมิ (3) นางสาวสุตะกาล กางนอก ตำแหนง ครูอัตราจาง โรงเรียนหวยตอน พิทยาคม สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดชัยภูมิ


34 หลังจากที่ไดนำแผนการจัดการเรียนรูไปปรึกษาผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทานแลว พบวา แผนการจัดการเรียนรูทั้ง 8 แผน มีความเรียบรอย และเนื้อหาถูกตองครบถวนสมบูรณ สามารถนำไปทดลอง กับกลุมตัวอยางได 6) นำแผนการจัดการเรียนรูไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง 3.2.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เปนแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ ซึ่งไดมีการพัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยีนดังกลาว ตามลำดับขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ศึกษาหลักการ และทฤษฎีที่เหมาะสมในการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยีน 2) วิเคราะหตัวชี้วัด วัตถุประสงค และเนื้อหาสาระจากแผนการจัดการเรียนรู จำนวนทั้งสิ้น 5 แผนการจัดการเรียนรู 3) สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหครอบคลุมเนื้อหาสาระ และสอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรู 4) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไปปรึกษาผูเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจคุณภาพแบบทดสอบดานความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (IOC) และขอคำแนะนำในการจัดทำแบบทดสอบ ยังมีผูเชี่ยวชาญจำนวนทั้งสิ้น 3 ทาน ไดแก (1) นางสาวไอยดา โสภา ตำแหนง ครู โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึษาประถมศึกษาชัยภูมิเขต 1 (2) นายเสรี ออไธสง ตำแหนง ครู โรงเรียนหวยตอนพิทยาคม สังกัดองคการ บริหารสวนจังหวัดชัยภูมิ (3) นางสาวสุตะกาล กางนอก ตำแหนง ครูอัตราจาง โรงเรียนหวยตอน พิทยาคม สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดชัยภูมิ ผูเชี่ยวชาญไดใหคำแนะนำในการปรับปรุงแกไขแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยีน ดังน้ี - ควรมีการเพิ่มรูปแบบความหลากหลายในการออกแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น เชน บทสนทนาใหมีความยาวมากขึ้น แลวถามหลายขอในบทสนทนาเดียว 5) แกไขปรับปรุงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามคำแนะนำ ของผูเชี่ยวชาญเพื่อใหไดแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี - ปรับแกบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยการเพิ่มรูปแบบความหลากหลาย ในการออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น 6) นำแบบทดสอบไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง (ทั้งในการสอบกอนเรียนและหลัง เรียน)


35 3.2.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจ การสรางและการพัฒนาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนรู รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปที่3 มีขั้นตอนการพัฒนา ดังน้ี 1) ศึกษาหนังสือ เอกสารที่เกี่ยวของในการพัฒนาแบบสอบถามความพึงพอใจ และจากงานวิจัยตาง ๆ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาแบบสอบถามความพึงพอใจ หลังการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน 2) แบบสอบถามความพึงพอใจนี้ เปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามเกณฑและความการแปรคาเฉลี่ย ดังนี้ สรางแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน โดยใชแนวคิด จากหนังสือ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถามความพึงพอใจที่ไดศึกษามา โดยใชขอคำถามเกี่ยวกับดานเนื้อหาที่เรียน ดานครูผูสอน ดานวิธีการสอน ดานสื่อประกอบการสอน และขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3) นำแบบสอบถามไปใชภายหลังจากการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการ เรียนรูจำนวนทั้งสิ้น 8 แผน กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 จำนวน 20 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรยีนบานหนองหญาปลอง 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.3.1 รูปแบบการศึกษา การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยรูปแบบกึ่งทดลอง (Quasi – experimental Design) ในกลุมเดียวมีการทดลองกอนและหลังเรียน (One Group PretestPosttest Design) เรียกวา (O1 X O2 ) รายละเอียดของการวิจัยคือ ภาพประกอบที่ 2 แบบวิจัยในการเก็บรวบรวมขอมูล สัญลักษณที่ใชในแบบแผนการศึกษา O1 คือ การทดสอบกอนเรียน X คือ การพัฒนาวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานของนักเรียน ชั้นประถมศกึษาปที่3 O2 คือ การทดสอบหลงัเรียน 3.3.2 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาไดปฏิบัติหนาที่ในการฝกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ซึ่งเปนการปฏิบัติหนาที่ ในการทดลองสอนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง ผูศึกษาจึงไดทำการสอบถาม O1 X O2


36 คุณครูประจำชั้นและคุณครูที่สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เกี่ยวกับ ปญหาในดานการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน เพื่อนำมาศึกษาและพัฒนาการเรียนรูสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษา ซึ่งสามารถ นำเสนอตามลำดับขั้นตอนตามตารางที่ 1 ดังตอไปนี้ ตารางที่ 1 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรูและเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยีน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่3 วัน/เดือน/ป เรื่อง วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการ เก็บรวบรวมขอมูล 8 ธ.ค. 2565 สอบกอนเรียน (Pre-test) จำนวน 40 ขอ ใหนักเรียนทำแบบทดสอบ ก  อ น เ ร ี ย น ( Pre-test) จำนวน 40 ขอ ขอสอบกอนเรียน (Pretest) จำนวน 40 ขอ 13 ธ.ค. 2565 Go to School จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรียนรูที่ 15 เรื่อง Go to School แผนการจัดการเรียนรูท่ี 15 เรื่อง Go to School 14 ธ.ค. 2565 Places around Me จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรยีนรทูี่16 เรื่อง Places around Me แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 เรื่อง Places around Me 15 ธ.ค. 2565 Yummy Food จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรียนรูที่ 17 เรื่อง Yummy Food แผนการจัดการเรียนรูท่ี 17 เรื่อง Yummy Food 19 ธ.ค. 2565 Variety of Drinks จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรียนรูที่ 18 เรื่อง Variety of Drinks แผนการจัดการเรียนรูท่ี 18 เร ื ่อง Variety of Drinks 20 ธ.ค. 2565 My Meals จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรยีนรทูี่19 เรื่อง My Meals แผนการจัดการเรียนรูท่ี 19 เรื่อง My Meals


37 ตารางที่ 1 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรูและเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยีน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่3 (ตอ) วัน/เดือน/ป เรื่อง วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการ เก็บรวบรวมขอมูล 21 ธ.ค. 2565 Sports จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรยีนรทูี่ 20 เรื่อง Sports แผนการจัดการเรียนรูท่ี 20 เรื่อง Sports 22 ธ.ค. 2565 Activities time จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรยีนรทูี่21 เรื่อง Activities time แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 1 เ ร ื ่ อ ง Activities time 26 ธ.ค. 2565 Fun Hobbies จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนตามแผนการจัดการ เรียนรูที่ 22 เรื่อง Fun Hobbies แผนการจัดการเรียนรูท่ี 22 เรื่อง Fun Hobbies 29 ธ.ค. 2565 - สอบหลังเรียน (Posttest) จำนวน 40 ขอ - แบบสอบถามความพึง พอใจ - ใหนักเรียนทำแบบทดสอบ ห ล ั ง เ ร ี ย น ( Post-test) จำนวน 40 ขอ - ใ ห  น ั ก เ ร ี ย น ท ำ แบบสอบถามความพึงพอใจ ที่มีตอการจัดกิจกรรมการ เรยีนการสอน - ขอสอบหล ังเรียน (Post-test) จำนวน 40 ขอ - แบบสอบถามความพึง พอใจ สรุปขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล การศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู เรื่อง การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใชวิธีการสอนแบบ การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 นี้ เปนการเนนพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ซึ่งผูศึกษา ไดดำเนินการทดสอบกอนเรียน (Pre - test) โดยใชแบบทดสอบกอนเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เปนแบบปรนัย 3 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ ใชเวลา 1 ชั่วโมง กอนจัดการเรียนการสอน จากนั้น ไดดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูทั้งหมด 8 แผน ใชเวลา 2 สัปดาห รวมจำนวน 8 ชั่วโมง โดยทำการสอนสัปดาหละ 4 ชั่วโมง ทั้งนี้ไมรวมเวลาที่ใชในการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน และหลังจาก จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ผูศึกษาไดดำเนินการทดสอบหลังเรียน (Post - test) โดยใชแบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) เปนแบบปรนัย 3 ตัวเลือก


38 จำนวน 40 ขอ ใชเวลา 1 ชั่วโมง หลังการจัดการเรียนการสอนเสร็จสิ้น และในขั้นตอนสุดทายผูศึกษา ใหนักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจภายหลังการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3.4 การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดำเนินการวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้ 3.4.1 แผนการจัดการเรียนรู วิเคราะหหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) ซึ่งหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC : Item Index of Objective Congruence) โดยการประเมินของผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน แลวหาดัชนีความสอดคลองเทากับขอคำถาม ที่ตองการประเมิน (IOC) โดยใชเกณฑการประเมิน ดังตอไปนี้ ใหคะแนน +1 หมายถึง แนใจวาคำถามสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการวัด ใหคะแนน 0 หมายถึง ไมแนใจวาขอคำถามสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการวัด ใหคะแนน -1 หมายถึง แนใจวาขอคำถามไมสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการวัด แลวนำขอมูลที่ไดจากการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทานมาหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา ของขอคำถามที่ตองการประเมิน (IOC : Item Index of Objective Congruence) ซึ่งคาความสอดคลอง ที่ยอมรับไดตองมีคาตั้งแต 0.50 – 1.00 มีคาความเที่ยงตรง ใชได ขอคำถามที่มีคา IOC ต่ำกวา 0.50 ตองปรับปรุง ยังใชไมได 3.4.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะหคะแนนจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) จากการนำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไปใหผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทานมาหาคาความสอดคลองเชิงเนื้อหาที่ตองการประเมิน (IOC : Item Index of Objective Congruence) ซึ่งคาความสอดคลองที่ยอมรับไดตองมีคาตั้งแต 0.50 – 1.00 มีคาความเที่ยงตรง ใชได ขอคำถามที่มีคา IOC ต่ำกวา 0.50 ตองปรับปรุง ยังใชไมได 3.4.3 แบบสอบถามความพึงพอใจภายหลังการจัดกิจกรรมการสอน วิเคราะหระดับความพึงพอใจจากแบบสอบถามความพึงพอใจโดยใชคาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) คารอยละ (%) ซึ่งแบบประเมินเปนแบบมาตรสวนประมาณคามี 5 ระดับ ตามเกณฑและความหมายการแปลคาเฉลี่ย (บุญชม ศรสีะอาด. 2545: 103) ดังตอไปนี้ แบบสอบถามความพึงพอใจนี้เปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ตามเกณฑ และความหมายการแปลคาเฉลี่ย ดังนี้ x


39 เกณฑการใหคะแนน 5 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 4 หมายถึง ความพึงพอใจระดับมาก 3 หมายถึง ความพึงพอใจระดับปานกลาง 2 หมายถึง ความพึงพอใจระดับนอย 1 หมายถึง ความพึงพอใจระดับนอยที่สุด เกณฑการแปลความหมาย คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับนอยที่สุด 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 3.5.1 สถิติที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพ/ประสิทธิภาพของเครื่องมือ ซึ่งประกอบดวย คาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) คาความยากงาย (P) คาอำนาจจำแนก (R) คาความเชื่อมั่น (Reliability) KR20 โดยมีสูตรการหาคาดังตอไปนี้ 3.5.1.1 การหาคาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสูตรดัชนีคาความสอดคลอง IOC (สมนึก ภัททิยธนี. 2544: 221) ดังนี้ IOC = N R เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางจุดประสงคเชิง พฤติกรรมกับการสอบ R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ N แทน จำนวนผูเชี่ยวชาญ 3.5.2 คาสถิติพื้นฐานในการวิเคราะหขอมูล 3.5.2.1 คารอยละ (%) หาจากสูตร ดังตอ ไปนี้(บุญชม ศรสีะอาด, 2545: 104) P = f N x100 เมื่อ P แทน รอยละ f แทน ความถี่หรือจำนวนขอมูลที่ตองการหารอยละ N แทน จำนวนขอมูลทั้งหมด


40 3.5.2.2 คาเฉลี่ย (Mean) คะแนนผลการเรียน คาเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนใชสูตร x = N x เมื่อ x แทน คาเฉลี่ย x แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุม N แทน จำนวนคะแนนในกลุม 3.5.2.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) มีสูตรดงันี้ S.D. = 1 2 2 N N N x x เมื่อ S.D. แทน คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตละตัว N แทน จำนวนนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง แทน ผลรวม 3.5.3 สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐาน สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐานในการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ การทดสอบ คา t-test แบบสองกลุมไมเปนอิสระตอกัน (pair sample test) มีสูตร ดังนี้ t = ∑ ஽ ට೙ ∑ ವమష(∑ ವ)మ ೙షభ df = n – 1 เมื่อ t แทน คาสถิติที่จะใชเปรียบเทียบกับคาวิกฤต D แทน ผลตางระหวางขอมูลแตละคู ∑D แทน ผลรวมของผลตางระหวางขอมูลแตละคู (∑D) 2 แทน ผลรวมของผลตางระหวางขอมูลแตละคูแลวนำมา ยกกำลังสอง ∑D2 แทน ผลรวมของผลตางระหวางขอมูลแตละคูยกกำลังสอง N แทน จำนวนกลุมตัวอยาง


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ13101) สำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบานหนองหญาปลอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยภูมิ เขต 1 ผูศึกษาไดดำเนินการวิเคราะหขอมูลและนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลำดับดังนี้ 4.1 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 4.2 ผลการวิเคราะหการตรวจสอบประสิทธิภาพของเคร่อืงมือในการวิจัย 4.3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบกอนเรียน 4.4 ผลการศึกษาความพึงพอใจภายหลังการจัดการเรียนการสอน 4.1 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดกำหนดความหมายของสัญลักษณในการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหเกิดความเขาใจ ในการแปลความหมายและนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลใหถูกตอง ตลอดจนการสื่อความหมายของขอมูล ที่ตรงกัน ดังนี้ ̅ หมายถึง คะแนนเฉลี่ย S.D. หมายถึง สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน N หมายถึง จำนวนนักเรยีน t หมายถึง คาจากการทดสอบ 4.2 ผลการวิเคราะหการตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือในการวิจัย ผลการวิเคราะหคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู รายวิชาภาษาอังกฤษ พื้นฐาน (อ13101) จากการปรึกษาผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน มีผลตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพเครื่องมือในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรู ลำดับ เครื่องมือ ผูเชี่ยวชาญ ดัชนีความ สอดคลอง (IOC) 1 2 3 1 ตัวชี้วัดขอที่ 8 แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 เรื่อง Go to School 1.00 1.00 1.00 1.00


42 ตารางที่ 2 (ตอ) ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู ลำดับ เครื่องมือ ผูเชี่ยวชาญ ดัชนีความ สอดคลอง (IOC) 1 2 3 2 ตัวชี้วัดขอที่ 8 แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 เรื่อง Places around Me 1.00 1.00 1.00 1.00 3 ตัวชี้วัดขอที่ 8 แผนการจัดการเรียนรูที่ 17 เรื่อง Yummy Food 1.00 1.00 1.00 1.00 4 ตัวชี้วัดขอที่ 8 แผนการจัดการเรียนรูที่ 18 เรื่อง Variety of Drinks 1.00 1.00 1.00 1.00 5 ตัวชี้วัดขอที่ 7 แผนการจัดการเรียนรูที่ 19 เรื่อง My Meals 1.00 1.00 1.00 1.00 6 ตัวชี้วัดขอที่ 10 แผนการจัดการเรียนรูที่ 20 เรื่อง Sports 1.00 1.00 1.00 1.00 7 ตัวชี้วัดขอที่ 10 แผนการจัดการเรียนรูที่ 21 เรื่อง Activities time 1.00 1.00 1.00 1.00 8 ตัวชี้วัดขอที่ 17 แผนการจัดการเรียนรูที่ 22 เรื่อง Fun Hobbies 1.00 1.00 1.00 1.00 ดัชนีความสอดคลอง (IOC) แผนการจัดการเรียนรู 1.00 จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะหการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู จากผูเชี่ยวชาญจำนวน 3 ทาน มีผลการวิเคราะหคาความสอดคลองเชิงเนื้อหา (IOC) ของแผนการจัดการเรียนรู จำนวน 8 แผน โดยรวม มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 เมื่อพิจารณาเปนรายแผน ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรูที่ 15 มีคา ความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 16 มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 17 มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 18 มีคา ความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 19 มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 20 มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 แผนการจัดการเรียนรูที่ 21 มีคา ความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 และแผนการจัดการเรยีนรูที่22 มีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 ตามลำดับ


43 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพเครื่องมือในการวิจัย ไดแก แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนจากแผนการจัดการเรียนรู ลำดับ เครื่องมือ ขอ ผเูชี่ยวชาญ ดัชนีความ สอดคลอง (IOC) 1 2 3 1 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 15 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 2 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 16 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 3 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 17 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 4 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 18 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 5 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 19 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00


44 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหและหาประสิทธิภาพเครื่องมือในการวิจัย ไดแก แบบทดสอบกอนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนจากแผนการจัดการเรียนรู (ตอ) ลำดับ เครื่องมือ ขอ ผเูชี่ยวชาญ ดัชนีความ สอดคลอง (IOC) 1 2 3 6 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 20 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 7 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 21 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 8 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 22 1 2 3 4 5 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูทั้ง 8 แผน จำนวน 40 ขอ 1.00 จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหการตรวจสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากแผนการ จัดการเรียนรู ทั้ง 8 แผน จำนวน 40 ขอ โดยรวมมีคาความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.00 เมื่อพิจารณา เปนรายขอ ดังนี้ แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 15 ขอ 1-5 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคา ความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 16 ขอ 6-10 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคาความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการ เรียนรูที่ 17 ขอ 11-15 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคาความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่18 ขอ 16-20 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคาความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่19 ขอ 21-25 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคา ความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 20 ขอ 26-30 จากผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน ซึ่งมีคาความสอดคลอง (IOC) แตละขอ เทากับ 1.00 แบบทดสอบจากแผนการจัดการ


Click to View FlipBook Version