The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g3570kanyatipsa, 2021-03-10 12:45:51

ท่าศาลาศึกษา

ท่าศาลา

Keywords: ท่าศาลา,ศึกษา

เอกสารประกอบการเรียน

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก

ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗

สาระพฒั นาสังคมชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
จำ� นวน ๓ หนว่ ยกิต (๑๒๐ ช่ัวโมง)

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำ� เภอทา่ ศาลา
สำ� นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นครศรธี รรมราช

ส�ำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เอกสารประกอบการเรยี น
หลักสูตรวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
สิขสทิ ธิข์ อง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำ� เภอทา่ ศาลา
ปที ี่พมิ พ์ ๒๕๖๔
สถานทพี่ ิมพ์ : หจก.โรงพิมพ์ประยรู การพมิ พ์ จ.นครศรธี รรมราช โทร. ๐๗๕-๔๔๖๑๕๕

ค�ำ น�ำ

คู่มือครูการจัดการเรียนรู้รายวิชาท่าศาลาศึกษา รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ รายวิชาเลือกเสรี
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
เปน็ เอกสารสำ� หรบั ครู กศน. ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนใหก้ บั นกั ศกึ ษา ตามหลกั สตู รการศกึ ษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่ึงมีเนื้อหาประกอบด้วย ๗ เน้ือหาสาระ
ตามรายละเอียด ดงั นี้
บทที่ ๑ ภาพลักษณท์ ่าศาลา
บทที่ ๒ พฒั นาการดา้ นประวตั ศิ าสตรท์ า่ ศาลา
บทท่ี ๓ นามบา้ นนามเมือง
บทที่ ๔ รุง่ เรอื งวิถี
บทท่ี ๕ บุคคลสำ� คัญท่าศาลา
บทที่ ๖ ภมู ปิ ญั ญาทา่ ศาลา
บทท่ี ๗ เมืองมหาวทิ ยาลัย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอท่าศาลา ขอขอบคุณผู้เช่ียวชาญ
เน้ือหา ที่ให้การสนับสนุนองค์ความรู้เพ่ือประกอบการน�ำเสนอเนื้อหา รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องในการจัดท�ำคู่มือ
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือเล่มน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อครู ผู้เรียน และผู้ท่ีสนใจเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ
เก่ียวกับอ�ำเภอท่าศาลา มีความภาคภูมิใจ รัก ศรัทธา หวงแหน แหล่งเรียนรู้โบราณสถาน ศิลปวัฒนธรรม
แหลง่ เรยี นรเู้ กย่ี วกบั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ขนบธรรมเนยี มประเพณี และดำ� เนนิ ชวี ติ ตามขนบธรรมเนยี มประเพณี
อันดีงาม มีคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาเห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย เห็นความส�ำคัญของส่วนรวม
และรว่ มกนั พัฒนาอำ� เภอทา่ ศาลา

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำ� เภอทา่ ศาลา
พฤศจิกายน ๒๕๖๓



สารบญั

ค�ำน�ำ หน้า

บทท่ี ๑ ภาพลักษณท์ า่ ศาลา ๑

เร่อื งที่ ๑ ท่ีตงั้ อาณาเขต ลักษณะภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ อ�ำเภอทา่ ศาลา ๓

๑.๑ ที่ต้งั อาณาเขตอ�ำเภอทา่ ศาลา ๔

๑.๒ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศอำ� เภอท่าศาลา ๗

๑.๓ ลำ� น้�ำท่ีส�ำคัญอำ� เภอท่าศาลา

๑.๔ ลกั ษณะภูมิอากาศ อำ� เภอท่าศาลา ๙
๑๐
๑.๕ การคมนาคมของอำ� เภอทา่ ศาลา
๑๒
เร่อื งท่ี ๒ ประชากร การเมอื งการปกครอง ส่วนราชการ (ส่วนกลาง สว่ นภมู ภิ าค) ๑๒
๑๖
และหนว่ ยงานรฐั วิสาหกจิ ๑๗
๑๗
๒.๑ ประชากร อ�ำเภอท่าศาลา ๑๗
๑๗
๒.๒ การเมืองการปกครอง อ�ำเภอทา่ ศาลา ๑๘
๑๙
๒.๓ สว่ นราชการ (สว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค) และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ๑๙
๑๙
อำ� เภอทา่ ศาลา ๒๐
๒๑
เรอ่ื งที่ ๓ เศรษฐกจิ และการประกอบอาชีพอำ� เภอท่าศาลา ๒๒
๒๔
๓.๑ การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพด้านเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ ๒๖
๒๗
๓.๒ การวิเคราะหศ์ กั ยภาพด้านอตุ สาหกรรมและพาณชิ ย์

๓.๓ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

เรื่องท่ี ๔ การศกึ ษาอำ� เภอทา่ ศาลา

๔.๑ การศึกษาปฐมวยั

๔.๒ การศกึ ษาในระบบ

๔.๓ สถาบันระดับอุดมศกึ ษา

๔.๔ การศึกษานอกระบบ

เรือ่ งที่ ๕ ประเพณี ความเช่ือและพธิ ีกรรมอำ� เภอท่าศาลา

๕.๑ ประเพณีท�ำบุญลอยแพ “บ้านบ่อนนท์”

๕.๒ ประเพณที �ำบญุ สารทเดอื นสิบแห่หมฺรับ

๕.๓ ประเพณชี กั พระวฒั นธรรมวถิ ีชวี ิตคนทา่ ศาลา

๕.๔ ประเพณีใหท้ านไฟ

๕.๕ พธิ นี ่ังเจ้าเขา้ ทรง บวงสรวงพอ่ ทา่ นกลาย

๕.๖ ประเพณรี ดน้�ำด�ำหัวผู้สงู อายใุ นวนั สงกรานต์

๕.๗ ประเพณฮี ารรี ายอ

สารบัญ (ตอ่ )

หนา้
๒๘
๕.๘ ประเพณถี อื ศีลอดเดือนรอมฎอนของไทยมุสลิม ๓๐

๕.๙ ประเพณีลอยกระทง ๓๑
๓๔
๓๔
๓๕
บทที่ ๒ พฒั นาการด้านประวตั ิศาสตรอ์ ำ� เภอท่าศาลา ๓๖
๓๙
เรื่องท่ี ๑ อำ� เภอท่าศาลายุคกอ่ นประวตั ศิ าสตร ์ ๓๗
๔๔
๑.๑ ยคุ หิน ๔๑
๔๔
๑.๒ ยุคโลหะ ๔๔
๔๕
เรื่องที่ ๒ อำ� เภอท่าศาลาชว่ งทีเ่ ปน็ แคว้นอสิ ระบนคาบสมทุ รมลายู ๔๖
๕๑
๒.๑ ทา่ ศาลายุคก่อนอาณาจักรตามพรลงิ ค์ ๕๒
๕๔
๒.๒ อาณาจักรตามพรลิงคย์ ุคที่ ๑ ๕๗
๕๗
๒.๓ แหลง่ โบราณคดีท่ีสำ� คัญสมยั อาณาจักรตามพรลงิ ค์ยคุ ท่ี ๑ ๕๘
๕๘
๒.๓.๑ โบราณสถานโมคลาน ๕๙
๕๙
๒.๓.๒ โบราณคดีท่งุ นำ้� เคม็ ๖๑
๖๒
๒.๓.๓ โบราณสถานไทรขาม ๖๒
๖๒
๒.๓.๔ โบราณสถานวดั ตาเณร ๖๓
๖๕
๒.๓.๕ โบราณสถานตมุ ปงั (วดั ร้าง)

๒.๓.๖ โบราณสถานเกาะพระนารายณ์

๒.๓.๗ วัดมเหยงคณ์

๒.๓.๘ วดั นางตรา หรอื สมยั กอ่ นเรยี กวา่ วัดพะนงั ตรา

๒.๓.๙ โบราณสถานบ้านนางนำ� สงั ข์ทอง

๒.๓.๑๐ โบราณสถานบา้ นนายสวา่ ง พรหมสวุ รรณ

๒.๓.๑๑ โบราณสถานวัดปา่ เรยี น

๒.๓.๑๒ โบราณสถานวัดดอนใคร

เร่อื งที่ ๓ อำ� เภอทา่ ศาลาชว่ งท่เี ป็นส่วนหนึง่ ของอาณาจักรไทย

๓.๑ ยคุ กรุงสโุ ขทัย

๓.๒ ยุคกรุงศรอี ยธุ ยา

๓.๒.๑ สมัยกรงุ ศรอี ยุธยาตอนตน้

๓.๒.๒ สมยั กรุงศรอี ยุธยาตอนกลาง

๓.๒.๓ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

๓.๓ ยุคกรงุ ธนบรุ ี พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕

๓.๔ ยุคกรงุ รตั นโกสินทร์ พ.ศ.๒๓๒๕-ถึงปัจจบุ นั

สารบญั (ต่อ)

หน้า
๙๕
บทท่ี ๓ นามบา้ นนามเมอื ง ๙๗
๙๗
เรอ่ื งท่ี ๑ ภูมหิ ลัง ความเป็นมาของการตั้งชอื่ ตำ� บลในอ�ำเภอทา่ ศาลา ๙๘
๙๘
๑.๑ ตำ� บลท่าศาลา ๙๙
๑๐๐
๑.๒ ตำ� บลสระแก้ว ๑๐๑
๑๐๑
๑.๓ ตำ� บลโพธิ์ทอง ๑๐๒
๑๐๓
๑.๔ ตำ� บลดอนตะโก ๑๐๓
๑๐๔
๑.๕ ตำ� บลท่าข้นึ ๑๐๔
๑๐๔
๑.๖ ตำ� บลกลาย ๑๐๕
๑๐๕
๑.๗ ตำ� บลหัวตะพาน ๑๐๕
๑๐๖
๑.๘ ตำ� บลโมคลาน ๑๐๖
๑๐๖
๑.๙ ตำ� บลไทยบรุ ี ๑๐๗
๑๐๗
๑.๑๐ ตำ� บลตลง่ิ ชนั ๑๐๗
๑๐๗
เร่ืองท่ี ๒ ภูมิหลงั ความเป็นมาการตั้งชือ่ หมบู่ ้านในตำ� บลทา่ ศาลา ๑๐๘
๑๐๘
๒.๑ หมู่ ๑ บ้านโดน ๑๐๘

๒.๒ หมู่ ๒ บา้ นเตาหมอ้ เหนอื บา้ นโคกเหรียง บา้ นสก่ี ๊กั บา้ นทุ่งเข่ือน

๒.๓ หมู่ ๓ บ้านท่าสงู บา้ นนางตรา

๒.๔ หมู่ ๔ บา้ นท่าสูงบน

๒.๕ หมู่ ๕ บา้ นในถงุ้

๒.๖ หมู่ ๖ บา้ นสระบัว

๒.๗ หมู่ ๗ บา้ นหนา้ ทับ

๒.๘ หมู่ ๘ บา้ นปากน�ำ้ ใหม ่

๒.๙ หมู่ ๙ บ้านด่านภาษี

๒.๑๐ หมู่ ๑๐ บา้ นบ่อนนท ์

๒.๑๑ หมู่ ๑๑ บ้านฝายท่า

๒.๑๒ หมู่ ๑๒ บ้านในไร ่

๒.๑๓ หมู่ ๑๓ บ้านในไร่ บา้ นเตาหม้อใต้ บา้ นสวนพรกิ

๒.๑๔ หมู่ ๑๔ บา้ นแหลม

๒.๑๕ หมู่ ๑๕ บา้ นบางตง

สารบัญ (ต่อ)

หนา้
๑๐๙
บทที่ ๔ ร่งุ เรืองวถิ ี ๑๑๑
๑๑๒
เรือ่ งที่ ๑ เรยี นรูว้ ถิ ชี วี ติ และอาชพี ๑๑๓
๑๑๔
๑.๑ อาชพี เกษตรกรรมทโี่ ดดเดน่ ในปจั จุบันทีม่ อี ยู่ในชมุ ชน ๑๑๕
๑๑๖
๑.๒ อาชพี พาณิชย์ทีก่ ้าวไกลในปัจจบุ นั
๑๑๖
๑.๓ อาชพี บริการในปจั จุบัน ๑๑๗
๑๑๗
๑.๔ การสบื สานการละเลน่ ทโ่ี ดดเดน่ ทค่ี งอยใู่ นชุมชน ๑๑๘
๑๑๙
๑.๕ หตั กรรมทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชน ท่ีสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ติ ของคน
๑๒๐
ในอดีตและหตั ถกรรมท่ผี ลติ ขึ้นเพอ่ื สงั คมปจั จบุ ัน ๑๒๐
๑๒๑
๑.๕.๑ เครือ่ งปน้ั ดนิ เผา ๑๒๒
๑๒๒
๑.๕.๒ การท�ำหางอวน ๑๒๒
๑๒๓
๑.๕.๓ การท�ำวา่ ว ๑๒๓
๑๒๔
๑.๕.๔ การท�ำกรงนก ๑๒๔
๑๒๕
๑.๕.๔ อาชีพประมง และวถิ ีชวี ิตของชาวประมงพืน้ บา้ น ๑๒๕
๑๒๕


เร่ืองที่ ๒ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรชายฝงั่ ทะเล

๒.๑ สถานการณป์ า่ ชายเลนอำ� เภอท่าศาลา

๒.๒ การอนุรักษ์ปา่ ชายเลน

เร่อื งที่ ๓ แหล่งท่องเท่ยี วอำ� เภอท่าศาลา

๓.๑ แหล่งทอ่ งเท่ียวทางธรรมชาติ

๓.๑.๑ อทุ ยานแห่งชาติเขานนั

๓.๑.๒ หาดทรายแก้ว

๓.๑.๓ หาดท่าสูงบน

๓.๑.๔ หาดซนั ไรส์

๓.๑.๕ บ้านแหลมโฮมสเตย์

๓.๒ แหลง่ ท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม

๓.๒.๑ โบราณสถานโมคลาน

๓.๒.๒ โบราณสถานตมุ ปงั

สารบัญ (ตอ่ )

หนา้

บทท่ี ๕ บคุ คลสำ� คัญท่าศาลา ๑๒๖

เรอ่ื งท่ี ๑ ประวัติบุคคลสำ� คญั ทีป่ ระสบผลสำ� เร็จในการประกอบอาชพี ๑๒๗

และบคุ คลท่ีมีคุณคา่ ควรคา่ แก่การยกยอ่ ง กระทำ� คุณงามความดีใหก้ ับชุมชน

๑. พระอธิการแดง จนฺทสโร (พ่อทา่ นแดง) ๑๒๗

๒. นายจงกติ ติ์ คณุ ารักษ์ ๑๓๐

๓. นายบุญเสริม แก้วพรหม ๑๓๖

๔. นางเยมิ้ เรอื งดิษฐ ์ ๑๓๘

๕. นายนิคม คงทน ๑๔๑

บทท่ี ๖ ภมู ิปญั ญาท่าศาลา ๑๔๕

เร่ืองที่ ๑ ความหมายของภูมปิ ัญญาไทย ๑๔๗

เรอ่ื งที่ ๒ ประวัติ องคค์ วามร้ขู องภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ อำ� เภอทา่ ศาลา ๑๔๗

๒.๑ ด้านศิลปกรรมและวัฒนธรรม ๑๔๗

๒.๑.๑ นางกน้ั เชาวพ้อง ๑๔๗

๒.๑.๒ นายจำ� ลอง เมฆาวรรณ์ ๑๔๘

๒.๑.๓ นายจำ� เนยี ร คำ� หวาน ๑๔๙

๒.๒ ด้านคหกรรม ๑๕๐

๒.๒.๑ นางผอ่ งศรี มะหมดั การท�ำปลารา้ ฝงั ดิน ๑๕๐

๒.๒.๒ นางสาวลาวลั ย์ ปริงทอง การท�ำนำ้� มันมะพรา้ วสกัดเย็น ๑๕๓

๒.๒.๓ นายยุโสบ หลา้ เก ทำ� น�้ำตาลมะพร้าว ๑๕๕

๒.๒.๔ นางอารี เชาวลิต การท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) ๑๕๗

๒.๒.๕ นายหนูพัน สงั วาลย์ การท�ำขนมกะละแม ๑๕๘

๒.๓ ดา้ นหตั ถกรรม ๑๖๐

๒.๓.๑ นางจำ� เปน็ รกั เมอื ง การท�ำหตั ถกรรมเครือ่ งปั้นดนิ เผาบ้านมะยงิ ๑๖๐

๒.๓.๒ นายเสวก ยุโส้ การท�ำกรงนก ๑๖๕

๒.๓.๓ นายกบิ หลี หมาดจิ การท�ำหัตถกรรมจกั สานไม้ไผ่ ๑๖๘

๒.๓.๔ นายหมูด ทรงเลิศ การต่อเรือประมงพื้นบา้ น ๑๖๙

๒.๓.๕ นางฉลวย ปลอ้ งเกิด การท�ำอิฐแดงหรอื อฐิ มอญ ๑๗๑

๒.๔ ด้านประมง ๑๗๔

๒.๔.๑ นายเจรญิ โตะ๊ อิแต การท�ำประมงพื้นบ้านการดหุ ล�ำและธนาคารปู ๑๗๔

สารบญั (ต่อ)

หน้า

๒.๕ ดา้ นเกษตรกรรม ๑๗๖

๒.๕.๑ นายนวิ ฒั น์ ดิมาร การแปรรูปผลผลติ ทางการเกษตรยาเสน้ “ยากลาย ๑๗๖

๒.๕.๒ นายธีรชัย ชว่ ยชู การท�ำปยุ๋ หมกั ชีวภาพ ๑๗๙

๒.๕.๓ นางสมจิตร เดชบญุ การเล้ียงไสเ้ ดอื น“ปุ๋ยมูลไวเ้ ดือน” ๑๘๓

๒.๕.๔ นายสุพจน์ ศรีสชุ าติ การเกษตรน้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง ๑๘๘

๒.๕.๕ นายเลอ่ื น พรมวี ศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๘๙

บทที่ ๗ เมืองมหาวทิ ยาลยั ๑๙๓
๑๙๔
เรอื่ งท่ี ๑ ประวัติความเป็นมาของการกอ่ ตั้งมหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ ์ ๒๐๑
๒๐๒
เรื่องที่ ๒ การเกิดศนู ยก์ ารแพทยข์ องมหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ ์ ๒๐๕
๒๐๙
เรอ่ื งท่ี ๓ ผลที่เกิดข้นึ ในการก่อต้ังมหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ ์ ๒๑๙

บรรณานกุ รม

ภาคผนวก

คณะผจู้ ัดท�ำ

บ๑ทท่ี ภาพลกั ษณท์ ่าศาลา

สาระสำ� คญั

เรียนร้เู กี่ยวกบั ที่ต้ัง อาณาเขต ลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู อิ ากาศ ประชากร การเมือง การปกครอง
เศรษฐกจิ การประกอบอาชีพ การจดั การศกึ ษา ประเพณี ความเช่ือ ของอ�ำเภอทา่ ศาลา

ตัวช้ีวดั

๑. ระบุที่ตั้ง อาณาเขตอำ� เภอทา่ ศาลา
๒. อธิบายลักษณะภมู ิประเทศ ลกั ษณะภูมิอากาศของอ�ำเภอท่าศาลา
๓. อธบิ ายเกยี่ วกบั ประชากร การเมืองการปกครองอ�ำเภอทา่ ศาลา
๔. วเิ คราะห์เศรษฐกิจ การประกอบอาชพี ในอำ� เภอทา่ ศาลา
๕. อธบิ ายการจัดการศกึ ษาอำ� เภอท่าศาลา
๖. อธิบายและยกตัวอยา่ งประเพณี ความเชื่อ อำ� เภอท่าศาลา

ขอบข่ายเนื้อหา

เรอื่ งที่ ๑ ที่ตง้ั อาณาเขต ลกั ษณะภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ อ�ำเภอท่าศาลา
๑.๑ ทตี่ งั้ อาณาเขตอำ� เภอทา่ ศาลา
๑.๒ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ อ�ำเภอทา่ ศาลา
๑.๓ ลำ� นำ้� ทีส่ ำ� คญั อำ� เภอท่าศาลา
๑.๔ ลักษณะภูมอิ ากาศ อ�ำเภอท่าศาลา
๑.๕ การคมนาคมของอำ� เภอทา่ ศาลา
เรอ่ื งท่ี ๒ ประชากร การเมืองการปกครอง สว่ นราชการ (สว่ นกลาง ส่วนภูมิภาค) และหนว่ ยงาน
รัฐวิสาหกจิ
๒.๑ ประชากร อ�ำเภอทา่ ศาลา
๒.๒ การเมืองการปกครอง อำ� เภอท่าศาลา
๒.๓ ส่วนราชการ (ส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค) และหน่วยงานรัฐวสิ าหกิจ อ�ำเภอท่าศาลา
เรื่องท่ี ๓ เศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ
๓.๑ การวิเคราะห์ศักยภาพดา้ นเศรษฐกจิ
๓.๒ การวิเคราะหศ์ ักยภาพดา้ นอตุ สาหกรรม
๓.๓ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม


หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 1

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

เรอ่ื งที่ ๔ การศกึ ษาอำ� เภอทา่ ศาลา
๔.๑ การปฐมวัย
๔.๒ การศึกษาในระบบ
๔.๓ สถาบันระดับอดุ มศึกษา
๔.๔ การศกึ ษานอกระบบ
เรอ่ื งที่ ๕ ประเพณี ความเชือ่ อำ� เภอท่าศาลา
๕.๑ ประเพณีท�ำบญุ ลอยแพ “บ้านบ่อนนท์”
๕.๒ ประเพณีท�ำบญุ สารทเดอื นสบิ แหห่ มฺรับ
๕.๓ ประเพณชี กั พระวัฒนธรรมวถิ ชี วี ติ คนทา่ ศาลา
๕.๔ ประเพณใี ห้ทานไฟ
๕.๕ พธิ ีนงั่ เจ้าเข้าทรง บวงสรวงพอ่ ท่านกลาย
๕.๖ ประเพณรี ดน้�ำดำ� หวั ผู้สงู อายุในวนั สงกรานต ์
๕.๗ ประเพณฮี ารรี ายอ
๕.๘ ประเพณีถือศีลอดเดอื นรอมฎอนของไทยมสุ ลมิ
๕.๙ ประเพณีลอยกระทง

เวลาที่ใช้ในการศึกษา ๑๔ ชว่ั โมง
สือ่ การเรียนรู้

๑. ชุดวิชาท่าศาลาศึกษา รหัสรายวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗
๒. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชุดวชิ าทา่ ศาลาศึกษา รหสั รายวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗
๓. สอ่ื เสริมการเรียนรู้อื่น ๆ

2 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

เรื่องที่ ๑ ที่ตงั้ อาณาเขต ลกั ษณะภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ อำ�เภอทา่ ศาลา
๑.๑ ท่ีต้งั อาณาเขตอำ� เภอท่าศาลา

อ�ำเภอท่าศาลาต้ังอยู่ริมทะเลอ่าวไทย อยู่ทางทิศเหนือของอ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
ห่างจากศาลากลางจังหวดั นครศรีธรรมราช ประมาณ ๓๐ กโิ ลเมตร ทต่ี งั้ ของทว่ี า่ การอำ� เภออยูท่ ี่ ถนนศรที า่ ศาลา
หมทู่ ่ี ๑ ต�ำบลทา่ ศาลา อำ� เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช มอี าณาเขต ดังนี้

ทิศเหนือ ตดิ ต่อกบั อ�ำเภอสิชล จังหวดั นครศรธี รรมราช
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับ อ่าวไทย
ทศิ ใต ้ ติดตอ่ กับ อ�ำเภอเมืองและอ�ำเภอพรหมครี ี จงั หวัดนครศรีธรรมราช
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กับ อ�ำเภอนบพิตำ� จงั หวดั นครศรธี รรมราช

หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 3

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

๑.๒ ลักษณะภูมปิ ระเทศอ�ำเภอท่าศาลา

อ�ำเภอท่าศาลามีพื้นท่ีประมาณ ๓๖๓.๘๙๑ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๒๒๗,๔๓๒ ไร่
แบ่งเปน็ ดงั น้ี
๑.๒.๑ พ้ืนที่ราบเชิงเขา อยู่ทางด้านทิศตะวันตกเกิดจากแนวเทือกเขาหลวง ได้แก่
พน้ื ทต่ี ำ� บลตลง่ิ ชนั และบางสว่ นของตำ� บลสระแกว้ ตำ� บลโมคลาน ตำ� บลดอนตะโก มปี า่ ไมอ้ ดุ มสมบรู ณม์ พี น้ื ทบ่ี างสว่ น
อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขานัน เป็นแหล่งต้นน้�ำของคลองหลายสายท่ีไหลผ่านหล่อเล้ียงพื้นท่ีอ�ำเภอท่าศาลา
ลงสู่อา่ วไทย สภาพดนิ เปน็ ดินร่วนและดินร่วนปนทราย เหมาะแกก่ ารท�ำสวนผลไม้ สวนยาง การเล้ียงสัตว์ เปน็ ตน้
๑.๒.๒ พน้ื ทีร่ าบและที่ราบล่มุ อยู่ทางตอนกลางของพื้นทีต่ ามแนวยาวจากทิศเหนือจรดทศิ ใต้
ได้แก่ ต�ำบลไทยบรุ ี ตำ� บลหวั ตะพาน และบางส่วนของตำ� บลท่าขน้ึ ตำ� บลโมคลาน ต�ำบลดอนตะโก ตำ� บลโพธทิ์ อง
ซึ่งพืน้ ทรี่ าบและที่ราบล่มุ ใช้เปน็ ท่ใี นการท�ำนาและท�ำสวน
๑.๒.๓ พ้ืนท่ีราบชายฝั่งทะเล ทางทิศตะวันออกตามแนวชายฝั่งจากทิศเหนือจรดทิศใต้
ประมาณ ๒๐ กโิ ลเมตร ชายฝ่งั เป็นหาดทรายสลบั กบั ป่าชายเลน ประเภทป่าโกงกาง ป่าแสม ไดแ้ ก่ พื้นท่ตี �ำบลกลาย
ตำ� บลสระแก้ว ตำ� บลท่าข้ึน ตำ� บลทา่ ศาลา ต�ำบลโพธท์ิ อง เปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวการท�ำประมงชายฝง่ั การเพาะเลี้ยง
สัตว์น�ำ้ พ้ืนท่รี าบใชท้ ำ� สวนมะพรา้ ว สวนยาง สวนผลไม้ และการเล้ยี งสัตว์

๑.๓ ลำ� นำ้� ท่ีส�ำคญั ของอำ� เภอท่าศาลา

อำ� เภอท่าศาลามลี ำ� น�ำ้ ธรรมชาติ ท่สี �ำคัญ ดังนี้
๑.๓.๒ คลองกลาย ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขาหลวง ไหลผ่านเขตอ�ำเภอนบพิต�ำ ต�ำบลนบพิต�ำ
ต�ำบลกะหรอ ในเขตอ�ำเภอทา่ ศาลาไหลผ่านตำ� บลสระแกว้ และต�ำบลกลาย ออกทะเลท่ปี ากน้�ำกลาย
๑.๓.๒ คลองทา่ เปรง ตน้ นำ้� เกดิ จากเขาทงุ่ ใน เทอื กเขาหลวง ไหลผา่ นอำ� เภอนบพติ ำ� ตำ� บลกะหรอ
ในเขตอำ� เภอทา่ ศาลาไหลผา่ นตำ� บลไทยบุรี ตำ� บลทา่ ข้นึ ตำ� บลทา่ ศาลา ออกทะเลทป่ี ากนำ�้ ทา่ สูง
๑.๓.๓ คลองทา่ พดุ ตน้ นำ้� เกดิ จากเขาไมแ้ บง่ เทอื กเขาหลวงไหลผา่ นอำ� เภอนบพติ ำ� ตำ� บลกะหรอ
ในเขตอำ� เภอท่าศาลาไหลผ่านตำ� บลไทยบรุ ี ต�ำบลท่าศาลา ออกทะเลท่ปี ากน้�ำทา่ สูง
๑.๓.๔ คลองชุมขลิง ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขาหลวงอ�ำเภอพรหมคีรี ไหลผ่านต�ำบลหัวตะพาน
เรียกว่าคลองขุด ไหลผ่านต�ำบลโมคลาน เรียกว่า คลองวัดโหนด ไหลผ่านต�ำบลโพธ์ิทองเรียกว่า คลองบ้านยิง
ไหลไปบรรจบที่ปากคลองปากโพธิ์ สู่คลองปากพยิง ออกสู่ทะเลท่ีปากน้�ำปากพยิง ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง
จงั หวัดนครศรีธรรมราช
๑.๓.๕ คลองในเขยี วหรอื อา้ ยเขยี ว ตน้ นำ้� เกดิ จากเขาขแี้ รด เทอื กเขาหลวงในเขตอำ� เภอพรหมครี ี
ไหลผา่ นอ�ำเภอทา่ ลา ต�ำบลดอนตะโก เรยี กวา่ คลองจนั พอ ไหลผ่านต�ำบลโมคลานเรยี กวา่ คลองอตู่ ะเภา ไหลผ่าน
ต�ำบลโพธทิ์ อง เรียกวา่ คลองไหล ไปบรรจบที่ปากคลองปากโพธ์ิ ส่คู ลองปากพยงิ ออกส่ทู ะเลท่ปี ากน้�ำ ปากพยงิ
ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช
๑.๓.๖ คลองห้วยหินลับ ต้นน้�ำเกิดจากเทือกเขาหลวงในเขตอ�ำเภอพรหมคีรี ไหลผ่าน
อ�ำเภอท่าศาลา ต�ำบลดอนตะโก เรยี กวา่ คลองลาว ไหลผ่านตำ� บลโมคลาน เรยี กวา่ คลองโต๊ะเน็ง ไหลไปบรรจบ
ทป่ี ากคลองปากโพธ์ิ สคู่ ลองปากพยงิ ออกสทู่ ะเลทป่ี ากนำ�้ ปากพยงิ ตำ� บลปากพนู อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นครศรธี รรมราช

หมายเหตุ : ปากคลองปากโพธิบ์ รรจบดว้ ยสายนำ�้ ๓ สาย คอื คลองบา้ นยิง คลองอู่ตะเภา คลองโต๊ะเนง็

4 หลักสูตรรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

สระน�้ำระหว่างสนั ทราย
๑. ห้วยเตาฮือ พ้นื ที่ ๓ ไร่ ตำ� บลตล่ิงชัน
๒. หนองหงส์ พ้นื ที่ ๖ ไร่ ต�ำบลดอนตะโก
๓. สระทดิ เมือง พื้นที่ ๓ ไร่ ต�ำบลท่าศาลา

หนองบงึ แบง่ ตามต�ำบล มดี งั น้ี
- ต�ำบลกลาย หนองน้ำ� พังปรงิ หนองเปาะ หนองนำ�้ เวยี น
- ต�ำบลท่าข้ึน คลองเตียน หนองคลองตะเคียน หนองทุ่งลานควาย หนองคลองเกาะ
หนองหารอโี ป๊ะ คลองทา่ นาย คลองโอทอง ท่งุ สงวนไสโก
- ตำ� บลตลิ่งชัน หนองยายเขยี ว ห้วยเตาฮอื
- ตำ� บลไทยบุรี หนองข้ีเปด็ หนองหารเป็ด หนองวงั แร่ หนองทา่ จีน คลองลานควาย
- ตำ� บลสระแกว้ ทอนฟ้าผ่า ทอนเกาะดง ทอนผใู้ หญ่สง่ คลองกลาย หนองทอนมเหยงค์
- ต�ำบลดอนตะโก หนองหงส์
- ตำ� บลหวั ตะพาน คลองชมุ ขลงิ

หมายเหตุ หนองบึงบางแหง่ ต้ืนเขนิ ในชว่ งหน้าแลง้


๑.๔ ลักษณะภูมอิ ากาศของอำ� เภอทา่ ศาลา

อำ� เภอทา่ ศาลาอยตู่ ดิ ทะเลจงึ มลี มทะเลและลมบกพดั ผา่ นตลอดปี ทำ� ใหอ้ ากาศอบอนุ่ มฝี นตกชกุ
ตลอดปี โดยจะตกหนักในเดือนพฤศจิกายน – เดือนธันวาคม ปริมาณน้�ำฝนเฉล่ียปีละ ๒,๕๐๐ ลูกบาศก์เมตร
มี ๒ ฤดูกาล คอื ฤดูร้อน เร่ิมตัง้ แต่เดือน มกราคม - กรกฎาคม และฤดฝู น เรม่ิ ตั้งแตเ่ ดือนพฤศจกิ ายน - ธันวาคม
อ�ำเภอท่าศาลาเป็นอ�ำเภอหน่ึงในกลุ่มอ�ำเภอตอนเหนือของตัวเมืองนครศรีธรรมราช ที่มีลักษณะพื้นที่พิเศษ คือ
ลักษณะภูมิประเทศด้านตะวันตกเป็นเทือกเขาสูง เสมือนก�ำแพงด่านหลัง ตอนกลางน้ันเป็นที่ราบ และด้านตะวัน
ออกจดแนวชายทะเล จึงทำ� ใหเ้ กิดลักษณะเฉพาะของอากาศและสามารถแบ่งลมไดเ้ ป็น ๔ กลุ่ม ดงั นี้
๑.๔.๑ ลมบกลมทะเล ถอื วา่ เป็นลมประจำ� วัน ตอนกลางวนั (ลมทะเล) จะพดั จากทะเลข้ึนฝงั่
และตอนกลางคืน (ลมบก) จะพัดจากฝง่ั ส่ทู ะเล สง่ ผลให้พืน้ ทีอ่ ำ� เภอทา่ ศาลาอากาศสบาย ไดร้ บั ลมตลอดเวลา
๑.๔.๒ ลมมรสุม อำ� เภอท่าศาลาในรอบหน่ึงปี จะมี ๒ มรสุม
๑) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เกิดในช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์
จะนำ� ฝนตกจากทะเลจีนใตเ้ ขา้ สู่อา่ วไทย
๒) ลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ เกดิ ชว่ งเดอื นพฤษภาคม ถงึ เดอื นตลุ าคม จะมฝี นมากฝง่ั
อนั ดามนั และสง่ ผลใหม้ ฝี นบา้ งในเขตอำ� เภอทา่ ศาลา
๑.๔.๓ ลมประจำ� ถนิ่ เป็นลมท่คี นท้องถิ่นนครศรธี รรมราชแถบทะเลทางตอนเหนือ ได้จ�ำแนก
ลมมรสุมมาเปน็ ลม ๘ ทศิ เพื่อประโยชน์ของการทำ� กจิ กรรม การเดินทาง การเพาะปลูกและอน่ื ๆ ดงั นี้
๑) ลมอตุ รา ลมพดั จากทศิ เหนือประมาณเดือนกันยายน
๒) ลมว่าว ลมพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนมกราคม
พร้อมลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลกั ษณะฟ้าลน่ั ลึกๆ ส่นั สะเทอื น ทะเลกัดเซาะชายหาด

หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 5

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

๓) ลมออก ลมพดั จากทิศตะวันออก
๔) ลมเภา หรอื ลมเภา ๔๐ ลมเภา ๔๕ พดั จากทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์
ถงึ เดอื นเมษายน ประมาณ ๔๐ – ๔๕ วนั น�ำทรายมาคืนชายหาด บางพ้นื ที่ชาวบ้าน เรียกวา่ ลมดบั หาด หรือลมพระ
๕) ลมหลาตัน พดั จากทศิ ใต้ หมายถงึ ลมที่พดั ให้เรอื ใบมาจากกลนั ตนั ได้
๖) ลมพลัดยา พัดจากทศิ ตะวันตกเฉียงใต้ พรอ้ มลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้
๗) ลมพลดั กลาง พดั มาจากทศิ ตะวนั ตก บางพน้ื ทเ่ี รยี กวา่ ลมหวั ษา นำ� พาความหนาว
เยน็ จากเทือกเขาลงสพู่ นื้ ราบ
๘) ลมพัดหลวง พัดจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีความแรงสูงเป็นลมที่นักเดินทาง
เรอื ใบจะกลวั มาก เพราะจะน�ำเรอื กลับเขา้ ฝ่งั ยาก

ลมประจำ�ถนิ่ (ภาษาสิชล - ทา่ ศาลา)
(ลม ๘ ทศิ )

๑.๔.๔ ลมพายุ ตัวอ�ำเภอท่าศาลาเป็นเขตรับลมพายุจากอ่าวไทย ซึ่งช่วง ๑๐๐ ปีที่ผ่านมา
ไดเ้ กิด ๓ เหตกุ ารณ์ คอื
๑) ลมพายุโซนร้อนแฮเรียส เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ เสียหายมาก
ท่ีบา้ นปากดวด ตำ� บลกลาย
๒) ลมพายุโซนรอ้ นฟอรเ์ รสต์ เม่ือวันที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๕
๓) ลมพายุโซนรอ้ นปาบึก เมอื่ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ อำ� เภอทา่ ศาลาไดร้ บั
ความเสยี หายเล็กนอ้ ย

6 หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

๑.๕ การคมนาคมของอำ� เภอท่าศาลา

การเดนิ ทางของชาวอำ� เภอทา่ ศาลา ปจั จบุ นั ใชก้ ารเดนิ ทาง คมนาคม ๓ ชอ่ งทาง ๑.) การคมนาคม
ทางบก ไดแ้ ก่ รถยนต์ การเดินทางโดยรถยนต์สาธารณะ ที่ใชใ้ นปจั จุบัน ได้แก่ รถตู้ รถสองแถว รถเมล์ (รถมินิบสั
จากจังหวัดสุราษฎร์ธานี - ไปสู่อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งจะผ่านตัวอ�ำเภอท่าศาลา) และหรือรถทัวร์
เดนิ ทางระยะทางไปไปกรงุ เทพมหานคร การเดนิ ทางภายในตวั อำ� เภอกจ็ ะมรี ถสองแถว รถจกั รยานยนต์ ๒.) คมนาคม
ทางน้�ำ เป็นการเดินทางทางน้�ำคนโดยทั่วไปไม่นิยมใช้มีบ้างท่ียังใช้การเดินทางทางน้�ำในการ เช่น เรือ การบรรทุก
สินค้าแร่ และชาวประมงในการออกไปประกอบอาชีพ ๓.) การคมนาคมทางอากาศ ซ่ึงท่าอากาศยาน
จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอท่าศาลา ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ประชาชนมักจะใช้เส้น
ทางการเดินทางทา่ อากาศยานไป กรงุ เทพมหานคร การเดนิ ทางของประชาชน ยงั มคี วามต้องการและหลากหลาย
ตามสภาพพนื้ ที่ พน้ื ทใ่ี ดใกลแ้ มน้ ำ้� ลำ� คลอง กย็ งั มกี ารสญั จรทางนำ�้ แตป่ จั จบุ นั ความเจรญิ ทางดา้ นเศรษฐกจิ การขนสง่
การคมนาคมมกี ารสรา้ งถนนเพมิ่ มากขน้ึ ทำ� ใหค้ วามคลอ่ งตวั ในการเดนิ ทาง คนสว่ นใหญข่ องประชาชนใชก้ ารเดนิ ทาง
ทางบก ทางอากาศ และทางน�ำ้ ลดลนั่ กันตามลำ� ดบั วิถีชีวติ เปล่ียนไป ท�ำให้บางชุมชนท่เี คยเปน็ ท่าเรือ ยงั คงเหลือ
ไว้เป็นท่าเรืออนุสรณ์สถาน ไม่มีการเดินทางทางน�้ำ เด็กรุ่นหลานก็ต้องมีการเรียนรู้ ว่าชุมชนใดท่ีภูมิหลังอย่างไร
ท�ำความเขา้ ใจเรยี นรู้วิถีชีวติ ของคนไดด้ ียง่ิ ข้นึ
๑.๕.๑ การคมนาคมทางบกของอ�ำเภอทา่ ศาลา
การคมนาคม คือ การไปมาติดต่อระหว่างท้องถ่ินต่างๆ เร่ิมจากระหว่างหมู่บ้าน
ตำ� บล อำ� เภอ จงั หวัด โดยใช้เสน้ ทาง ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข ๔ หรอื ถนนเพชรเกษม เปน็ ถนนสายหลกั ทไ่ี ปสู่
ภาคใต้ ดังตามตารางท่ี ๑

ตารางท่ี ๑ แสดงเส้นทางหลวงแผน่ ดนิ ในเขตภาคใต้ การแบ่งภาค
ป้านทางหลวง

ทางหลวงท่ีขึ้นต้นดว้ ยหมายเลข 4 แสดงว่า
ทางสายนัน้ อยู่ในภาคใต้

ดงั นั้น เสน้ ทางรถยนต์ มักจะพบวา่ เป็นเส้นทางหลวงแผ่นดนิ
- เสน้ ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข ๔๐๑ ถนนนครศรธี รรมราช- สู่จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
- เสน้ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข ๔๑๔๐ ท่าศาลา – นบพติ �ำ
- เสน้ ทางหลวงชนบท หมายเลข ๓๐๕๐ แยกหน้าทบั – พรหมครี ี
๑.๕.๒ การคมนาคมทางอากาศ : อ�ำเภอท่าศาลา ห่างจากท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช
ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ปัจจบุ นั มีสายการบนิ นกแอร์ แอร์เอเชยี ไทยไลออ้ นแอร์ ไทยสมายล์ และไทยเวียตเจ็ท ให้
บรกิ ารบนิ ตรงสู่กรุงเทพฯ เชยี งใหม่ สายการบนิ ที่ใหบ้ รกิ าร

หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 7

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

๑.๕.๓ การคมนาคมทางนำ�้ ของอ�ำเภอท่าศาลา
ท่าศาลาเมืองติดต่อทางน�้ำ ในอดีตเป็นเมืองท่าท่ีส�ำคัญ เป็นเส้นทางการขนส่งทางน้�ำ
อ�ำเภอทา่ ศาลา ปัจจุบันมีท่าเทยี บเรือใช้ในการขนสง่ สินคา้ เอกชน ดังน้ี

ทา่ เทียบเรอื ทีใ่ ชใ้ นการขนส่งสนิ คา้

เรอื ขนถา่ นหนิ อำ� เภอท่าศาลา ท่าเทยี บเรอื เชฟรอนอ�ำเภอท่าศาลา ท่าเทยี บเรือ อำ� เภอทา่ ศาลา

ตารางท่ี ๒ ขอ้ มลู ท่าเทียบเรือทใี่ ชข้ องเอกชน
ที่ เจ้าของ ตำ�บลสถานที่ต้งั ประเภทสินค้า

ท่าเทียบเรือขนาดไม่เกนิ ๕๐๐ ตันกรอส แร่

๑ บริษัท พพิ ัฒน์กร จำ�กัด ชายฝง่ั ทะเลอ่าวไทย ต.ท่าชน้ื อ.ท่าศาลา สินค้าประมง
สินคา้ ประมง
ทา่ เทียบเรือขนาดไมเ่ กนิ ๒๐ ตนั กรอ สนิ คา้ ประมง
แร่
๑ นายฉัตรชัย ง่านวสิ ทุ ธิพันธ์ คลองท่าสงู ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา

๒ นายนภดล แปกพงค์ ม.๒ ต.ทา่ ศาลา อ.ทา่ ศาลา

๓ นางพวงเพ็ญ พงคส์ ุวรรณ คลองทา่ สูง ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา

๔ เอเชยี เหมืองแรอ่ ตุ สาหกรรม ๑๕๔/๒ ม.๖ ต.ทา่ ศาลา อ.ท่าศาลา

8 หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

เรือ่ งท่ี ๒ ประชากร การเมอื งการปกครอง สว่ นราชการอำ�เภอทา่ ศาลา
๒.๑ ประชากรอำ� เภอท่าศาลา โดยมจี �ำนวนประชากร ดงั ตารางท่ี ๓ ดงั นี้

ตารางท่ี ๓ แสดงขอ้ มลู จำ� นวนประชากรอำ� เภอท่าศาลาจ�ำแนกตามตำ� บล
ลำ�ดบั จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวนประชากร
ท่ี ตำ�บล หมู่บ้าน ครวั เรือน ชาย หญิง รวม

๑ ทา่ ศาลา ๑๕ ๑๐,๒๒๖ ๑๔,๗๑๒ ๑๕,๐๘๓ ๒๙,๗๙๕

๒ ทา่ ขึ้น ๑๕ ๔,๒๖๓ ๖,๘๗๑ ๗,๐๖๗ ๑๓,๙๓๘

๓ โมคลาน ๑๕ ๓,๘๒๔ ๗,๓๘๖ ๗,๒๗๕ ๑๔,๖๖๑

๔ กลาย ๑๒ ๓,๑๒๙ ๔,๓๖๑ ๔,๔๖๕ ๘,๘๒๖

๕ สระแกว้ ๑๑ ๓,๑๗๒ ๔,๓๕๔ ๔,๕๙๘ ๘,๙๕๒

๖ ไทยบุรี ๑๐ ๒,๕๑๓ ๓,๙๙๘ ๖,๓๕๕ ๑๐,๓๕๓

๗ ตล่ิงชนั ๙ ๒,๗๗๐ ๔,๔๐๘ ๔,๔๐๖ ๘,๘๑๔

๘ หัวตะพาน ๙ ๑,๕๕๙ ๒,๕๓๐ ๒,๕๕๔ ๕,๐๘๔

๙ โพธ์ทิ อง ๘ ๒,๖๒๘ ๔,๖๐๙ ๔,๖๗๓ ๙,๒๘๒

๑๐ ดอนตะโก ๖ ๑,๕๙๘ ๒,๔๘๓ ๒,๖๔๖ ๕,๑๒๙

รวม ๑๑๐ ๓๕,๖๘๒ ๕๕,๗๑๒ ๕๙,๑๒๒ ๑๑๔,๘๓๔

ท่มี า : ขอ้ มูลประชากรจากสำ� นกั ทะเบยี นอ�ำเภอทา่ ศาลา ณ วนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

ตำ� บลทีม่ ปี ระชากรมากท่สี ดุ คือ ตำ� บลท่าศาลา รองลงมา คอื ต�ำบลโมคลาน ต�ำบลทา่ ขน้ึ ต�ำบลไทยบุรี
ตำ� บลโพธ์ทิ อง ต�ำบลสระแกว้ ต�ำบลกลาย ตำ� บลตล่งิ ชนั ตำ� บลดอนตะโก และต�ำบลหวั ตะพาน

๒.๒ การเมอื งการปกครองอ�ำเภอท่าศาลา

อ�ำเภอทา่ ศาลา แบ่งการปกครองออกเปน็ ๑๐ ต�ำบล จ�ำนวน ๑๑๐ หม่บู า้ น มีก�ำนนั ผใู้ หญบ่ ้าน
สารวัตรก�ำนัน แพทย์ประจ�ำต�ำบล ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ฝ่ายปกครอง และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านฝ่ายรักษาความสงบ
รวมทง้ั ส้ิน จ�ำนวน ๔๓๒ คน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ มจี �ำนวน ๑๑ แหง่ คอื ๑ เทศบาล ๑๐ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
มสี มาชกิ สภาเทศบาล จำ� นวน ๑๑ คน มีสมาชกิ องค์การบริหารสว่ นต�ำบล จ�ำนวน ๒๐๔ คน พ้นื ทบ่ี รเิ วณของต�ำบล
แตล่ ะตำ� บลในเขตอำ� เภอทา่ ศาลา แตล่ ะตำ� บลโดยมรี ายละเอยี ด ตามตารางที่ ๔ ดงั นี้

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 9

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

ตารางท่ี ๔ แสดงพื้นทกี่ ารปกครองกำ� กบั ดูแลของหนว่ ยงานในพื้นท่ี เทศบาล และองค์การบรหิ าร
องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บล พืน้ ที่ (ตร.กม.)

๑. เทศบาลตำ�บลท่าศาลา ๑.๒๔

๒. องค์การบริหารสว่ นตำ�บลท่าศาลา ๒๖.๘๔

๓. องคก์ ารบริหารสว่ นตำ�บลกลาย ๔๑.๓๓๖

๔. องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลดอนตะโก ๒๗.๙๑

๕. องค์การบริหารสว่ นตำ�บลตลิ่งชัน ๖๐.๖๒๖

๖. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลท่าขึน้ ๔๗

๗. องค์การบรหิ ารสว่ นตำ�บลไทยบรุ ี ๒๘.๗๒

๘. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บลโพธทิ์ อง ๒๗.๙๙

๙. องค์การบริหารสว่ นตำ�บลโมคลาน ๓๙.๘๔

๑๐. องค์การบริหารส่วนตำ�บลหวั ตะพาน ๓๐.๑๗

๑๑. องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลสระแก้ว ๓๙.๖๑

๒.๓ ส่วนราชการ (ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค) และหนว่ ยงานรฐั วิสาหกิจอ�ำเภอทา่ ศาลา

อ�ำเภอทา่ ศาลา มี ส่วนราชการ (ส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค) และหนว่ ยงานรัฐวสิ าหกิจในพ้ืนที่
จ�ำนวน ๒๗ แห่ง ดงั นี้
๑. ท่ที �ำการปกครองอำ� เภอทา่ ศาลา
๒. สถานตี ำ� รวจภธู รอำ� เภอท่าศาลา
๓. ส�ำนกั งานปศุสตั ว์อำ� เภอท่าศาลา
๔. ส�ำนกั งานท่ีดินจงั หวัดนครศรีธรรมราช สาขาอำ� เภอทา่ ศาลา
๕. ส�ำนักงานสรรพากรพ้ืนทน่ี ครศรีธรรมราช สาขาอ�ำเภอท่าศาลา
๖. ส�ำนักงานสรรพสามิตพื้นทน่ี ครศรีธรรมราช สาขาอำ� เภอทา่ ศาลา
๗. ส�ำนักงานพฒั นาชมุ ชนอำ� เภอทา่ ศาลา
๘. ส�ำนักงานหน่วยสสั ดีอำ� เภอทา่ ศาลา
๙. ส�ำนักงานเกษตรอ�ำเภอทา่ ศาลา
๑๐. ส�ำนักงานสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ อำ� เภอทา่ ศาลา
๑๑. สำ� นักงานสาธารณสุขอ�ำเภอทา่ ศาลา
๑๒. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล
๑๓. สำ� นักงานประมงอ�ำเภอทา่ ศาลา
๑๔. ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔
๑๕. ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอทา่ ศาลา
๑๖. มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์
๑๗. โรงพยาบาลท่าศาลา

10 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๑๘. ศูนย์ฟ้ืนฟอู าชพี คนพกิ ารนครศรธี รรมราช
๑๙. ท่ีทำ� การอุทยานแหง่ ชาตเิ ขานัน
๒๐. หมวดการทางอำ� เภอทา่ ศาลา
๒๑. กองทุนสงเคราะหก์ ารทำ� สวนยางอำ� เภอทา่ ศาลา
๒๒. สำ� นกั งานการไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคอ�ำเภอท่าศาลา
๒๓. บรษิ ทั ไปรษณียไ์ ทย จำ� กัด สาขาอ�ำเภอทา่ ศาลา
๒๔. บริษัท ทโี อทจี �ำกัด (มหาชน) สาขาอ�ำเภอทา่ ศาลา
๒๕. ส�ำนักงานการประปาสว่ นภมู ิภาคอำ� เภอท่าศาลา
๒๖. ส�ำนักงานหน่วยโครงการชลประทานคลองคูถนน
๒๗. ศนู ยก์ ารแพทย์มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ(์ กำ� ลังกอ่ สร้าง)
อำ� เภอทา่ ศาลา มีธนาคารพาณชิ ย์ จำ� นวน ๘ แห่ง ดังนี้
๑. ธนาคารออมสิน สาขาอำ� เภอท่าศาลา
๒. ธนาคารกรุงไทย สาขาอำ� เภอทา่ ศาลา
๓. ธนาคารกสิกรไทย สาขาอำ� เภอทา่ ศาลา
๔. ธนาคารกรงุ เทพ สาขายอ่ ยห้างเทสโกโ้ ลตัส
๕. ธนาคารออมสิน สาขามหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์
๖. ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขายอ่ ยห้างเทสโกโ้ ลตสั
๗. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาปากน้�ำกลาย
๘. ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร สาขาอ�ำเภอทา่ ศาลา

หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 11

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

เร่อื งท่ี ๓ เศรษฐกิจและการประกอบอาชพี อำ�เภอท่าศาลา
๓.๑ การวเิ คราะห์ศักยภาพดา้ นเศรษฐกิจและการประกอบอาชพี

ประชากรในอ�ำเภอทา่ ศาลา มีการประกอบอาชพี ที่หลากหลาย เกษตรกรรม เชน่ ท�ำสวน ท�ำนา
ท�ำการประมง และการปศสุ ตั ว์ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้
๓.๑.๑. การทำ� การเกษตรกรรม ประชากรอ�ำเภอท่าศาลา รอ้ ยละ ๖๐ ประกอบท�ำสวน ท�ำนา
รอ้ ยละ ๗.๑ พืชเศรษฐกิจทสี่ �ำคัญ เช่น ทุเรียน ปาลม์ น�ำ้ มนั ยางพารา ผลไม้ มะพรา้ ว ปริมาณพนื้ ที่และจ�ำนวนครวั
เรือนทีด่ �ำเนนิ การปลูกพชื เศรษฐกิจ อ�ำเภอทา่ ศาลา จงั หวัดนครศรีธรรมราช ของปี พ.ศ.๒๕๖๒
ข้อมูลจากสำ� นกั งานเกษตรอำ� เภอทา่ ศาลา ข้อมลู ดังตาราง ท่ี ๕ ดังนี้

ตารางที่ ๕ ข้อมลู แสดงจำ� นวนครัวเรือน และพื้นท่ีในการท�ำการเกษตรของประชาชนในเขตพ้นื ที่
อำ� เภอท่าศาลา
ชนิด จำ�นวน (ครัวเรอื น) พน้ื ที่ (จำ�นวนไร่)

๑. ข้าว ๑,๒๑๖ ๖,๙๒๐

๒. ยางพารา ๕,๘๗๑ ๔๓,๐๗๘

๓. ปาลม์ นำ้ �มัน ๒,๙๗๖ ๒๒,๐๖๐

๔. มะพรา้ ว ๑,๓๔๓ ๔,๕๗๒

๕. ทุเรียน ๒,๑๖๖ ๑๐,๘๒๓

๖. มงั คดุ ๒,๕๒๔ ๖,๖๗๙

๗. ลองกอง ๔๘๐ ๑,๑๔๗

๘. เงาะ ๓๒๗ ๘๔๕

๙. โกโก้ ๖๑ ๒๐๗

รวมจำ�นวน ๑๖,๙๖๔ ๙๗,๓๓๑

๓.๑.๒. การท�ำประมงชายฝั่งและเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำ ประชากรอ�ำเภอท่าศาลา ร้อยละ ๗
ประกอบอาชีพประมงชายฝัง่ และเพาะเลี้ยงสตั วน์ ำ�้ โดยแยกเปน็
- การท�ำประมง มเี รอื ประมง จ�ำนวน ประมาณ ๓๘๗ ล�ำ
- เพาะเลยี้ งสัตว์น้�ำ มเี กษตรกรเพาะเลี้ยงสตั ว์น�้ำ จ�ำนวน ๙๙๑ ราย ใช้พนื้ ที่เพาะเลี้ยง
สัตว์นำ�้ จำ� นวน ๔,๒๗๘ ๐๙ ไร่ พื้นที่ฟารม์ จ�ำนวน ๖,๘๑๘.๑๐๕ ไร่ ได้แก่ การเล้ียงกุ้งขาว กงุ้ กลุ าด�ำ ปลาหมอไทย
ปลาช่อน ปลากะพงขาวในกระชงั

12 หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

ข้อมลู ทะเบยี นผู้เพาะเลี้ยงสตั วแ์ ละสตั วน์ �้ำ
๑) เกษตรกรมายื่นขอขึ้นทะเบยี นผ้เู พาะเลย้ี งสตั ว์น�ำ้ (ทบ.๑) ทุกประเภท จำ� นวน ๙๙๗ ราย
คดิ เปน็ พื้นที่ ๑,๙๖๗.๘๖ ไร่ ข้อมูลปรากฏตารางท่ี ๖ และ ๗ ดงั น้ี

ตารางที่ ๖ เกษตรกรทข่ี นึ้ ทะเบยี นประเภทฟารม์ ยังชพี และพาณิชย์ รวม
พาณชิ ย์ ยงั ชพี
อำ�เภอ จำ�นวน พน้ื ท่ีในการ จำ�นวน พนื้ ท่ีในการ จำ�นวน พ้ืนทีใ่ นการ
เกษตรกร เลีย้ ง (ไร่) เกษตรกร เลีย้ ง (ไร่) เกษตรกร เล้ยี ง (ไร)่
ท่าศาลา ๖๕๐ ๑,๖๗๗.๖๑ ๓๔๗ ๒๙๐.๒๕ ๙๙๗ ๑,๙๖๗.๘๖

ทีม่ า : ขอ้ มลู จาก ประมงอำ� เภอท่าศาลา พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓

ตารางที่ ๗ เกษตรกรทีข่ น้ึ ทะเบียนประเภทพาณิชย์แยกตามกลุ่มชนดิ สัตว์นำ้� เนื้อในการเล้ียง (ไร่)
ชนดิ สตั วน์ ้�ำ จำ� นวนเกษตรกร
ปลาน้�ำจืด ๓๙๒ ๑,๖๗๗.๖๑

ปลาทะเล ๑๑๔ ๒๑.๔๘

กงุ้ ทะเล ๑๐๓ ๑,๑๒๑.๘๔

สัตว์น้�ำอื่นๆ ๒๐ ๑๓.๖๙

ปู ๑๑ ๗๒.๘๐

สตั ว์น้ำ� สวยงาม ๑๐ ๐.๖๖

ที่มา : ข้อมลู จาก ประมงอำ� เภอท่าศาลา พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓

๒) เกษตรกรมายน่ื ขอขนึ้ ทะเบยี นผปู้ ระกอบการดา้ นประมง (ทบ.๒) แยกตามประเภทการดำ� เนนิ
กิจการ ตามรางท่ี ๘ ดังนี้

ตารางท่ี ๘ จ�ำนวนผู้ประกอบการด้านประมง (ทบ.๒) แยกตามประเภทการดำ� เนินกจิ การ
ประเภทผ้ปู ระกอบการ จำ� นวน (ราย)
แพ พอ่ คา้ ผู้รวบรวม ๓๑

สถานประกอบการแปรรูปเบ้ืองตน้ ๑๐

สถานประกอบการแปรรปู พ้นื เมือง ๓

สถานประกอบการหอ้ งเยน็ ๑

ผคู้ ้าปัจจัยการผลติ สตั ว์นำ้� ๑

ผนู้ ำ� เขา้ และส่งออกสัตว์นำ�้ ๑

รวม ๔๗

ทม่ี า : ข้อมลู จาก ประมงอำ� เภอทา่ ศาลา พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓

หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 13

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๓) จ�ำนวนเกษตรกรท่ีมาขึ้นทะเบียนผู้ท�ำการประมง(ทบ.๓) โดยแยกเป็นต�ำบล ตามรางท่ี ๙
ดังน้ี

ตารางที่ ๙ จำ� นวนเกษตรกรที่มาขน้ึ ทะเบยี นผ้ทู ำ� การประมง (ทบ.๓) แยกเปน็ ต�ำบล
ตำ� บล จำ� นวน(ราย)
ตำ� บลทา่ ศาลา ๓๐๙

ตำ� บลไทยบรุ ี ๗๗

ต�ำบลท่าขึ้น ๓๗

ต�ำบลตลิง่ ชนั ๗

ต�ำบลหัวตะพาน ๓

ต�ำบลโมคลาน ๒

รวม ๔๓๕

ทมี่ า : ขอ้ มูลจาก ประมงอำ� เภอท่าศาลา พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

๔.) จ�ำนวนเรอื ประมง แยกเปน็ ประเภท ประมงพาณิชยแ์ ละประมงพ้นื บ้าน มีดงั นี้
(๑.) เรอื ประมงพาณิชย์ ท้ังหมด จ�ำนวน ๙๙ ลำ� โดยแยกเป็น
(๑.๑.) เรอื อวนลาก จำ� นวน ๘๑ ลำ� โดยแยกเป็น
- อวนลากคานถา่ ง จำ� นวน ๒๕ ลำ�
- อวนลากแผน่ ตะเฆ่ จำ� นวน ๕๖ ล�ำ
(๑.๒.) เรืออวนตาตดิ จ�ำนวน ๒ ลำ�
(๑.๓.) เรอื ลอบปู จ�ำนวน ๑๖ ล�ำ
(๒.) เรอื ประมงพืน้ บา้ น ทง้ั หมดจ�ำนวน ๖๔๗ ลำ�

หมายเหตุ : อวนลาก เป็นเครื่องมือประมงท่ีใช้อวนลักษณะคล้ายถุง แล้วใช้เรือลากจูงให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
อย่างตอ่ เนอ่ื งในการจบั สตั วน์ ้ำ� อวนลากเปน็ เคร่อื งมอื ทใี่ ชจ้ ับสัตวน์ ำ้� ที่อาศัยอยทู่ ่ีบรเิ วณพ้นื ทะเลหรอื เหนือพืน้ ทะเล
ซึ่งมีทั้งชนิดที่อยู่รวมกันเป็นฝูง หรือแพร่กระจายเป็นบริเวณกว้าง ขณะท�ำการประมงสัตว์น�้ำที่อยู่หน้าปากอวน
จะถูกกวาด ต้อนให้เข้าไปรวมกันที่ก้นถุง ซึ่งเป็นส่วนท้ายสุดของอวน ในการลากอวนจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์
หรือวิธีการช่วยให้ปากอวนกางหรือถ่างออก วิธีท่ีนิยมใช้กันแพร่หลายมีอยู่ ๓ วิธีคือ ใช้เรือสองล�ำใช้แผ่นตะเฆ่
และใช้คานถ่าง อวนลากหน้าดินในประเทศไทยแบ่งตามวิธีการท�ำประมงออกเป็น ๔ ชนิดคือ อวนลากคานถ่าง
อวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลากแคระ และอวนลากคู่ (ส�ำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้, ๒๕๕๐)
ประมงพนื้ บา้ น หมายความวา่ การทำ� การประมงในเขตทะเลชายฝง่ั ไมว่ า่ จะใชเ้ รอื ประมง หรอื ใช้
เคร่อื งมือโดยไมใ่ ชเ้ รือประมง ท้ังนี้ ทม่ี ิใช่เป็นประมงพาณชิ ย์
ประมงพาณิชย์ หมายความว่า การท�ำการประมงโดยใช้เรือประมงท่ีมีขนาดตั้งแต่สิบตันกรอส
ขึ้นไปหรอื เรอื ประมงทีใ่ ช้เครอ่ื งยนต์มีกำ� ลังแรงม้าถึงขนาดท่ีรฐั มนตรปี ระกาศก�ำหนด

14 หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ผลผลติ จากการทำ� การประมง
(๑) ปริมาณการจบั สตั วน์ ำ�้ ประมงพาณชิ ย์ โดยประมาณตอ่ ปี ข้อมูลดงั ตารางท่ี ๑๐ ดงั น้ี

ตารางท่ี ๑๐ จำ� นวนปรมิ าณการจับสัตวน์ ำ�้ ประมงพาณชิ ย์โดยประมาณต่อปี
ชนดิ สตั วน์ �้ำ จ�ำนวนสตั วน์ ำ�้ ทีจ่ บั ได้ (กก.)
หมกึ กระดอง ๔๒๘,๑๗๒

สัตว์นำ�้ ชนดิ อืน่ ๆ ๓๕๙,๒๙๐

กุ้ง ๒๑๕,๗๙๖

หมึกกล้วย ๙๒,๔๒๘

ปูม้า ๘๖,๓๔๓

ปลาตาหวาน ๕๗,๙๓๖

หมกึ สาย ๕๐,๐๔๐

ปลาทรายแดง ๒๒,๕๒๐

ปลาสกี ุน ๑๕,๙๔๐

ปลาทลู ัง ๑๒,๗๐๒

ปลาปากคม ๕,๓๗๐

ปลากะพง ๒,๑๖๐

กั้ง ๑,๑๓๐

ปลาเก๋า ๘๕๖

(๒) ปริมาณการจับสัตวน์ ำ้� จดื ในแหลง่ นำ้� ธรรมชาติ โดยประมาณทง้ั สนิ้ ๑๔,๕๕๐ กิโลกรัม
- ปลานลิ ประมาณ ๑,๕๐๐ กโิ ลกรมั
- ปลาชอ่ น ประมาณ ๑,๐๐๐ กิโลกรมั
- ปลาหมอไทย ประมาณ ๘๐๐ กิโลกรมั
- ปลาตะเพียน ประมาณ ๕๐๐ กิโลกรัม
- ปลากระดี ่ ประมาณ ๔๕๐ กโิ ลกรัม
- ปลาดกุ ประมาณ ๓๐๐ กโิ ลกรัม
- สตั ว์นำ้� อืน่ ๆ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ กโิ ลกรัม
(๓) ปริมาณการการเพาะเลย้ี งสัตวน์ ้�ำ โดยประมาณ ทัง้ ส้นิ ๑,๒๕๑.๘๐ ตัน
- กุ้ง ประมาณ ๑,๑๓๐ ตัน
- ปลากะพงขาว ประมาณ ๙๗ ตนั
- ปลาดกุ ประมาณ ๑๒ ตัน
- ปลาหมอ ประมาณ ๗.๕ ตัน
- ปลานลิ ประมาณ ๔.๕ ตนั
- ปูทะเล ประมาณ ๐.๘ ตัน

หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 15

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๓.๑.๓. การปศสุ ัตว์ ประชากรอ�ำเภอท่าศาลา จ�ำนวน ๗,๙๙๙ ราย รอ้ ยละ ๒๐ ของประชากร
ประกอบอาชพี เลยี้ งสตั ว์ แหลง่ ขอ้ มลู การเลยี้ งสตั วท์ ส่ี ำ� คญั อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช ของปี พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยสำ� นักงานปศสุ ัตวอ์ ำ� เภอทา่ ศาลา โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
๑) โคเนื้อ จำ� นวน ๑๓,๑๖๗ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๒,๘๓๗ ราย
๒) โคนม จำ� นวน ๓๔ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๖ ราย
๓) กระบือ จ�ำนวน ๒๖๑ ตวั เกษตรกร จำ� นวน ๓๒ ราย
๔) สุกร จำ� นวน ๒๖,๔๑๑ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๗๔๔ ราย
๕) แพะ จำ� นวน ๒,๖๙๕ ตวั เกษตรกร จำ� นวน ๓๔๑ ราย
๖) แกะ จำ� นวน ๓๗ ตวั
๗) ไก่พ้ืนเมือง จำ� นวน ๒๐๗,๓๗๑ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๔,๒๔๙ ราย
๘) ไก่เน้ือ จำ� นวน ๓๐๒,๗๐๐ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๑๑๐ ราย
๙) ไก่ไข่ จำ� นวน ๒๐๘,๗๓๒ ตวั เกษตรกร จำ� นวน ๑๖๓ ราย
๑๐) เป็ดไข่ จำ� นวน ๕๔, ๔๖๔ ตัว เกษตรกร จำ� นวน ๔๑๔ ราย
๑๑) นกกระทา จ�ำนวน ๔๕,๘๑๕ ตัว


๓.๒ การวิเคราะหศ์ ักยภาพด้านอตุ สาหกรรมและพาณิชย์

อ�ำเภอท่าศาลา มีการประกอบอาชีพด้านอุตสาหกรรมและพาณิชย์ คิดเป็นร้อยละ ๓
โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้
๓.๒.๑ การท�ำเหมอื งแร่ ดงั นี้ ๑) โรงแยกแร่ ๓ แหง่ ๒) เหมอื งแรแ่ บไรท์ ๑ แห่ง
๓) เหมืองแร่เฟลด์สปาร์ ๓ แหง่
๓.๖.๒ โรงอฐิ ๑๔ แหง่
๓.๖.๓ โรงผลิตเครือ่ งป้ันดินเผา (ขนาดเลก็ ) ๒ แห่ง
๓.๖.๔ โรงเล่ือยแปรรปู ไม้ยางพารา ๔ แห่ง
๓.๖.๕ โรงคา้ ไม้ ๔ แห่ง
๓.๖.๖ โรงงานแปรรูปยางของสหกรณ์ ๓ แห่ง
๓.๖.๗ โรงน�้ำแขง็ ๓ แหง่
๓.๖.๘ อตู่ อ่ เรือ ๕ แห่ง
๓.๖.๙ โรงงานคอนกรีตผสมส�ำเร็จ ๓ แหง่
๓.๖.๑๐ ป๊มั นำ�้ มัน ๑๙ แหง่
๓.๖.๑๑ ปม๊ั แกส๊ LPG ๑ แห่ง
๓.๖.๑๒ บรษิ ัท/ห้างหุ้นส่วน ๕๖ แหง่
๓.๖.๑๓ โรงแรม ๑๒ แหง่
๓.๖.๑๔ หา้ ง Tesco Lotus ๑ แหง่
๓.๖.๑๕ ร้าน ๗-Eleven ๓ แหง่
๓.๖.๑๖ ร้านค้าปลีกทัว่ ไปไมน่ ้อยกวา่ ๕๐ ร้าน

16 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

๓.๓ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

อ�ำเภอท่าศาลา มีทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย ท้ังป่าไม้ แร่ธาตุ และทรัพยากรชายฝั่ง
โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
๓.๓.๑ ป่าไม้ อ�ำเภอท่าศาลามีป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติเขานัน ต�ำบลตลิ่งชัน พ้ืนท่ีป่าไม้
ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ พืชพรรณ ในอุทยานแหง่ ชาตเิ ขานัน พื้นทีส่ ว่ นใหญเ่ ปน็ ปา่ ดงดิบชน้ื ทอี่ ดุ มสมบรู ณ์ครอบคลมุ
กว่า ๙๐ เปอร์เซ็นต์ของพ้ืนท่ี มีพันธุ์ไม้ท่ีมีค่าหลายชนิด เช่น ยาง หลุมพอ ตะเคียนทอง ไข่เขียว ตะเคียนทราย
เสยี ดช่อ และจ�ำปาปา่ เป็นตน้
๓.๓.๒ แรธ่ าตุ อำ� เภอท่าศาลาเปน็ อ�ำเภอท่ีมแี รธ่ าตุหลายชนิด ได้แก่ แร่ดบี กุ แบไรท์ วลุ แฟรม
เฟลด์สปาร์ ในตำ� บลตลิ่งชัน และทรายในคลองกลาย ตำ� บลตลิง่ ชัน ต�ำบลสระแกว้ ต�ำบลกลาย
๓.๓.๓. ทรัพยากรชายฝั่ง อ�ำเภอท่าศาลามีชายหาดฝั่งทะเลยาวประมาณ ๒๐ กิโลเมตร
และพ้ืนท่ีป่าชายเลนอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร ไม่น้อยกว่า ๔,๐๐๐ ไร่ และเป็นแหล่งขยายพันธุ์
และทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั วน์ านาชนดิ เชน่ กงุ้ หอย ปู โดยเฉพาะปลาบางชนดิ เขา้ มาเลยี้ งตวั ในวยั ออ่ นในแหลง่ นำ้� ชายฝง่ั
อันสมบูรณ์ จนเจริญเติบโตแล้วออกสู่ทะเลลึกเพื่อการแพร่พันธุ์วางไข่ในทะเลลึกแล้วเข้ามาเติบโตในชายฝั่ง
สืบพนั ธุแ์ ละเป็นห่วงโซอ่ าหาร ณ ปา่ ชายเลนตอ่ ไป

เร่อื งที่ ๔ การศกึ ษาอำ�เภอท่าศาลา

อำ� เภอทา่ ศาลา มกี ารจดั การศกึ ษา ๓ รปู แบบ คอื การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย คือ ๑) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีก�ำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษาหลักสูตรระยะเวลา
ของการศกึ ษา การวัดและประเมนิ ผล ซ่ึงเป็นเงือ่ นไขของ การส�ำเร็จการศกึ ษาทีแ่ น่นอน ๒) การศึกษานอกระบบ
เป็นการศึกษาท่ีมีความยืดหยุ่นในการก�ำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมนิ ผล ซึง่ เป็นเงอื่ นไขส�ำคัญของการส�ำเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะ
สมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม ๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษา
ทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ตามความสนใจ ศกั ยภาพ ความพรอ้ ม และโอกาส โดยศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์
สงั คม สภาพแวดลอ้ ม สอื่ หรอื แหลง่ ความรูอ้ ื่น ๆ โดยมีหนว่ ยงานการศกึ ษาและสถานศกึ ษาท่จี ดั การศกึ ษา ดังนี้

๔.๑ การศึกษาปฐมวยั คอื ศูนย์อบรมเดก็ ก่อนเกณฑ์ ที่อยใู่ นวัดและมัสยิด จ�ำนวน ๒๘ แหง่
๔.๒ การศึกษาในระบบ ของอำ� เภอทา่ ศาลา มีสถานศึกษาในสงั กัด ดังนี้

๔.๒.๑ โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔
จ�ำนวน ๔๓ แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส จ�ำนวน ๑๓ แห่ง เช่น โรงเรียนท่าศาลา โรงเรียนปทุมมานุกูล
โรงเรียนบ้านสองแพรกมิตรภาพท่ี ๙๒ โรงเรียนบ้านท่าสูง โรงเรียนวัดชลธาราม โรงเรียนบ้านทุ่งเกราะ
โรงเรยี นวดั หญา้ ปลอ้ ง โรงเรยี นบา้ นทงุ่ ชน โรงเรยี นชมุ ชนใหม่ โรงเรยี นวดั เทวดาราม โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๘
เป็นต้น
๔.๒.๒ โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานการศึกษาเขตมัธยมท่ี ๑๒ จ�ำนวน ๓ แห่ง ประกอบด้วย
โรงเรยี นทา่ ศาลาประสทิ ธศิ์ กึ ษา โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ และโรงเรยี นสระแก้วรัตนวิทย์

หลักสตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา 17

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๔.๒.๓ โรงเรียนในสังกัดเอกชน จ�ำนวน ๓ แห่ง ประกอบด้วย โรงเรียนอนุบาลอินทิรา
โรงเรยี นสตรดี ำ� รงเวท โรงเรยี นอนุบาลวัยวฒั น์
๔.๒.๔ โรงเรียนสอนศาสนา จ�ำนวน ๓ แห่ง ประกอบด้วย โรงเรียนปัญญาสารธรรมมูลนิธิ
มัสยิดนรู ดุ ดีนยามาอาตลุ อสิ ลาม และโรงเรียนประทปี ศาสนอ์ สิ มาอีลอนุสรณ์

๔.๓ สถาบันระดบั อุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นสถาบันอุดมศึกษาในก�ำกับของรัฐบาล ท่ีจัดการเรียนการสอน
ครอบคลุมท้ังด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ แพทย์ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ฯลฯ มีสภาพแวดล้อม
ให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัย ท่ีมีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการแบบครบวงจร ค�ำว่า “วลัยลักษณ์”
เป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภานเรนทิราเทพยวดี ต้ังอยู่ในเขตต�ำบลไทยบุรี
และต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช บนเน้ือที่กว่า ๙,๐๐๐ ไร่ ซ่ึงเป็นมหาวิทยาลัย
ทม่ี ีพ้นื ท่ีใหญ่มากที่สุดของประเทศไทยและอาเซียน

๔.๔ การศกึ ษานอกระบบ

อ�ำเภอท่าศาลา มีสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษานอกระบบ จ�ำนวน ๑ แห่ง คือ ศูนย์การศึกษา
นอกระบบโรงเรยี นอำ� เภอทา่ ศาลา ไดเ้ ปลยี่ นชอ่ื ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
พ.ศ. ๒๕๕๑ เปลย่ี นชอื่ เปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำ� เภอทา่ ศาลา (กศน.อำ� เภอ ทา่ ศาลา)
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยมี และห้องสมุดประชาชนอ�ำเภอท่าศาลา จ�ำนวน ๑ แห่ง
และมี กศน.ต�ำบล จ�ำนวน ๑๐ แห่ง ดงั น้ี
๑) กศน.ตำ� บลกลาย บ้านในไร่ หม่ทู ่ี ๑๑ ต�ำบลกลาย อำ� เภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช
๒) กศน.ตำ� บลสระแกว้ บา้ นเราะ หมทู่ ี่ ๓ ตำ� บลสระแกว้ อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๓) กศน.ตำ� บลทา่ ศาลา บา้ นในไร่ หมทู่ ่ี ๑๒ ตำ� บลทา่ ศาลา อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๔) กศน.ตำ� บลตลงิ่ ชนั บา้ นปลกั ปลา หมทู่ ี่ ๒ตำ� บลตลงิ่ ชนั อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๕) กศน.ตำ� บลโมคลานบา้ นตน้ เลยี บหมทู่ ี่๕ตำ� บลโมคลานอำ� เภอทา่ ศาลาจงั หวดั นครศรธี รรมราช
๖) กศน.ต�ำบลท่าข้ึน บริเวณอาคารในพ้ืนที่ของอบต.ท่าขึ้น (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ
บา้ นวดั เทวดาราม) หมู่ท่ี ๕ ตำ� บลทา่ ขน้ึ อ�ำเภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช
๗) กศน.ตำ� บลไทยบรุ ีบา้ นตน้ กระทอ้ นหมทู่ ่ี ๗ ตำ� บลไทยบรุ ีอำ� เภอทา่ ศาลาจงั หวดั นครศรธี รรมราช
๘) กศน.ต�ำบลโพธิ์ทอง บ้านสองแพรก หมู่ที่ ๑ ต�ำบลโพธ์ิทอง อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรธี รรมราช
๙) กศน.ต�ำบลดอนตะโก บ้านชุมแสง หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลดอนตะโก อ�ำเภอท่าศาลา
จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๑๐) กศน.ต�ำบลหัวตะพาน บ้านเหมืองใหม่ หมู่ท่ี 7 ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรธี รรมราช


18 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

เร่ืองท่ี ๕ ประเพณี ความเช่ือ และพิธีกรรมอำ�เภอท่าศาลา

อ�ำเภอท่าศาลา ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๘.๔๒ ศาสนาอสิ ลาม คดิ เป็นรอ้ ย
ละ ๓๑.๔๕ ศาสนาครสิ ต์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐.๑๒ โดยมี ศาสนสถาน ดังนี้ วดั จ�ำนวน ๔๖ แห่ง มสั ยิด จ�ำนวน ๓๒ แห่ง
และโบสถค์ ริสต์ จำ� นวน ๑ แห่ง

งานประเพณที อ้ งถนิ่ ท่สี ำ� คญั
๕.๑ ประเพณีท�ำบญุ ลอยแพ “บา้ นบ่อนนท”์ หมู่ที่ ๑๐ ตำ� บลท่าศาลา อำ� เภอท่าศาลา

ประเพณลี อยแพสะเดาะเคราะหเ์ ปน็ ประเพณที างศาสนาพราหมณ์ ซง่ึ ทอ้ งถน่ิ นไ้ี ดส้ บื สานถา่ ยทอด
มาจากบรรพบุรษุ มาเปน็ เวลา ๑๐๐ ปีเศษ จากต�ำนาน เล่าต่อกันมาวา่ เปน็ การท�ำบุญอุทิศส่วนกศุ ลให้กับผู้พระคณุ
คือเทพเจ้าแห่งปฐพีและเทพเจ้าแห่งวารี ซ่ึง พวกเราได้อยู่อาศัยท�ำมาหากินทั้งบนดินและในน�้ำประเพณีลอยแพ
เปน็ ประเพณเี กา่ แกท่ ชี่ าวบา้ นในทอ้ ง ถน่ิ ไดจ้ ดั ใหม้ แี ละสบื ทอดกนั มาเปน็ เวลาชา้ นานหลาย ชว่ั อายคุ น เปน็ ประเพณี
ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเชอ่ื ถอื ในการสะเดาะเคราะห์ เพอ่ื นำ� เอาสงิ่ ชว่ั รา้ ยออกไปจาก ตวั เองและทำ� บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ล
ให้แก่สิ่งต่างๆในทะเลท่ีเราได้ล่วงล้�ำและท�ำลายในช่วงเวลาหลังวันเข้าพรรษา ของทุกปีก่อนถึงวันลอยแพชาวบ้าน
ในชุมชนจะช่วยกันตัดไม้ไผ่มาประกอบเป็นรูปเรือตกแต่งด้วยธงชายให้ดู สวยงามจากน้ันจะตัดเล็บ ตัดผมใส่ลงไป
ในแพหรือเรอื ไมไ้ ผ่ โดยเชอ่ื วา่ เปน็ การสะเดาะเคราะหน์ �ำส่ิงชั่วร้ายต่างๆออกไปจากตัวก่อนจะนำ� แพไปลอยลงทะเล
กอ่ น จะถงึ วนั ลอยแพจะมกี ารจดั งานสมโภช ๑ คนื พอรงุ่ เชา้ จะมกี ารตกั บาตรทำ� บญุ ทางศาสนาฟงั ธรรมถวายอาหาร
เพลแด่พระสงฆ์หลงั จากเสร็จพิธีจงึ จะรวมกนั นำ� แพไปลอยออกสูท่ ้องทะเล
อีกต�ำนานหน่ึงเล่าในอดีตได้
บังเกิดโรคระบาดมีผู้คนล้มตายจ�ำนวนมาก
เหลอื ผคู้ นไมก่ ค่ี นคนทมี่ ชี วี ติ อยมู่ ชี อื่ ตามคำ� บอกเลา่
ของปยู่ า่ ตายาย ๖ คน คอื นายแหม นายดำ� นายเอยี ด
นายนดุ นายหมู และนายแกว้ เมอ่ื ทั้ง ๖ มาพบกัน
นายแหมกเ็ ลา่ วา่ ตนเองนอนไมค่ อ่ ยหลบั เมอ่ื หลบั ตา
ก็จะได้ยินเสียงเหมือนลูกเมียมาร้องไห้อยู่ตลอด
ท้ังคืนแม้ว่าอยากจะส่งอาหารสิ่งของท�ำบุญไปให้
ก็ท�ำไม่ไดเ้ พราะไมม่ วี ดั ให้ไปทำ� บุญ
ทัง้ หมดจงึ รว่ มกนั หาวธิ ีนำ� อาหารไปลอยน�้ำท่ที างน้ำ� ไหล โดยตดั ตน้ กล้วยเอาไมม้ าเสยี บใหต้ ิดกัน
เพื่อสร้างเป็นแพปูด้วยใบกล้วยและน�ำอาหารและส่ิงของท่ีต้องการท�ำบุญมาวางน�ำแพพร้อมอาหารและส่ิงของ
ดังกล่าวไปลอยในแม่น้�ำพร้อมตั้งจิตอธิษฐานอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว เมื่อได้ปฏิบัติ ดังกล่าวก็พบว่า
เสียงเหมือนลูกเมียมาร้องไห้ที่เคยได้ยินก็หายไป จึงมีความเชื่อต่อๆกันมาว่าผู้ท่ีตายไปแล้วได้รับส่วนบุญ
จากการกระท�ำพิธีลอยแพ และเป็นการขับไล่สิ่งอัปมงคลออกไปจากหมูบ้านประชาชนในพ้ืนท่ีอ�ำเภอท่าศาลา
จงึ ไดส้ บื ทอดอนุรักษป์ ระเพณลี อยแพ มาตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๓๖๓ มาจนถงึ ปจั จบุ ัน

หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 19

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๕.๒ ประเพณีท�ำบุญสารทเดอื นสิบ แห่หมฺรับ

ประเพณบี ญุ สารทเดอื นสบิ มกี ารสบื ทอดกนั มา ยาวนานหลายรอ้ ยปี ซงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลดา้ นความเชอื่
ทม่ี าจากศาสนาพราหมณ์โดยมกี ารผสมผสานกบั ความเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนาทเ่ี ขา้ มาในภายหลังโดยมีจดุ มุง่ หมาย
สำ� คญั เพอื่ เปน็ การอทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหแ้ กด่ วงวญิ ญาณ ของบรรพชนและญาตทิ ลี่ ว่ งลบั ซง่ึ ไดร้ บั การปลอ่ ยตวั มาจากนรก
เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยท�ำไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่โดยจะเริ่มปล่อยตัวจากนรกใน ทุกวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๐
เพื่อมายังโลกมนุษย์ในการมาขอรับส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง ท่ีได้เตรียมการอุทิศไว้ให้ เป็นการแสดง
ความกตัญญูกตเวทีต่อผู้ลว่ งลบั หรอื ท่ีเรยี กกนั วา่ “วันรับตายาย” หรือเปน็ วนั บุญแรก หลงั จากนน้ั ก็ จะกลับไปยัง
นรกในวันแรม ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๐ เรยี กว่า “วันสง่ ตายาย” หรอื เปน็ วันบุญหลังหรือบญุ ใหญ่ ซงึ่ วนั น้ี มแี ห่กระจาด
ท่ีมกี ารบรรจขุ นมเดือนสบิ อาหารแหง้ ของใช้ ผลไม้ และอนื่ ๆ พรอ้ มภัตตาหาร (ป่ินโต) ไปวดั
เม่ือถึงวันแรม ๑๔ คำ�่ เดอื นสบิ ซงึ่ เรียกกันวา่ “วันหลองหฺมฺรับ” (หฺมรฺ บั อ่านออกเสียง ม ควบ ร
เป็นค�ำภาษาไทยถิ่นใต้) แต่ละครอบครัวหรือวงศ์ ตระกูลจะร่วมกันน�ำข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ มาจัดเป็น หฺมฺรับ
สำ� หรบั การจดั หมฺ รฺ บั นน้ั ไมม่ รี ปู แบบทแ่ี นน่ อนจะจดั เปน็ รปู แบบใดกไ็ ด้ แตล่ ำ� ดบั การจดั ของลงหมฺ รฺ บั จะเหมอื นๆ กนั
คอื เริ่มต้นจะน�ำกระบงุ กระจาด ถาดหรือกะละมัง มาเปน็ ภาชนะ แลว้ รองก้นด้วยข้าวสาร ตามดว้ ยหอม กระเทียม
พรกิ เกลอื กะปิ น้ำ� ตาล และเครอื่ งปรุงอาหารท่ีจำ� เปน็ อ่ืนๆ ตอ่ ไปกใ็ สข่ องจำ� พวกอาหารแหง้ เชน่ ปลาเค็ม เนือ้ เค็ม
และผักผลไมท้ ่เี ก็บไว้ไดน้ าน เช่น ฟกั เขียว ฟักทอง มะพร้าว ขมน้ิ มัน ลางสาด เงาะ ลองกอง กล้วย ออ้ ย ข้าวโพด
ขา่ ตะไคร้ ฯลฯ จากนน้ั ก็ใส่ของใชใ้ นชีวิตประจำ� วนั เช่น ไตน้ ำ�้ มันมะพร้าว นำ�้ มันก๊าด ไมข้ ดี หม้อ กระทะ ถ้วยชาม
เข็ม-ด้ายและเคร่ืองเช่ยี น หมาก สดุ ท้ายใสส่ ่ิงที่ ส�ำคัญที่สุดของหมฺ ฺรบั คอื ขนม ๕ อย่าง (บางทา่ นบอกวา่ ๖ อย่าง)
ซ่งึ ขนมแต่ละอยา่ ง ล้วนมี ความหมายในตวั เอง ได้แก่ ขนมพอง เป็นสญั ลักษณ์ แทนแพ สำ� หรบั ผ้ลู ว่ งลบั ใช้ล่องขา้ ม
หว้ งมหรรณพ, ขนมลา แทนเคร่ืองนุ่งห่มแพรพรรณ, ขนมกงหรอื ขนมไข่ปลา แทนเครอ่ื งประดับ, ขนมดีซ�ำ แทนเงิน
เบ้ยี สำ� หรบั ใชส้ อย, ขนมบา้ แทนสะบ้าใช้เล่นในกรณที ่ีมขี นม ๖ อยา่ ง จะเพมิ่ ขนมลาลอยมัน ซงึ่ ใชแ้ ทนฟูกหมอน
เขา้ ไปด้วย การยกหมฺ ฺรับ ในวันแรม ๑๕ คำ�่ เดอื นสบิ ซ่ึงเป็น วนั ยกหมรฺ บั ต่างกจ็ ะน�ำหมฺรบั พรอ้ มภตั ตาหารไปวัด
โดยแต่ละคนจะแต่งตัวอย่างสะอาดและสวยงาม เพราะถือเป็นการท�ำบุญครั้งส�ำคัญ วัดท่ีไปมักจะเป็นวัดใกล้
บ้านหรือวัดท่ีตนศรัทธา การยกหมฺรับไปวัดอาจต่าง ครอบครัวต่างไปหรืออาจจัดเป็นขบวนแห่ ท้ังน้ีเพ่ือต้องการ
ความสนกุ สนานรื่นเริงด้วย วัดบางแห่งอาจจะ จดั ใหม้ ีการประกวด หมฺ รฺ บั ในส่วนของจงั หวดั นครศรธี รรมราชนน้ั
จะจดั ใหม้ ีขบวนแหห่ มรฺ ับอยา่ งย่ิง ใหญ่ ตระการตาในงานเดือนสบิ ของทกุ ๆ ปี โดยมี องคก์ ร ทง้ั ภาครฐั และองคก์ ร
เอกชนต่างส่งหฺมฺรับของตนเข้าร่วมขบวนแห่และร่วมการประกวด ซ่ึงในช่วงเทศกาลนี้สามารถจูงใจนักท่องเท่ียว
ให้มาทอ่ งเท่ยี วจงั หวดั นครศรีธรรมราชมากยง่ิ ขน้ึ
เมื่อขบวนแห่หฺมฺรับมาถึงวัดแล้วก็จะร่วมกันถวายภัตตาหารแก่ภิกษุสงฆ์ เสร็จแล้วจะร่วมกัน
“ตง้ั เปรต” เพอ่ื แผส่ ว่ นบญุ สว่ นกศุ ลใหแ้ กผ่ ทู้ ล่ี ว่ งลบั ไปแลว้ ในอดตี มกั ตงั้ เปรตบรเิ วณโคนตน้ ไมห้ รอื บรเิ วณกำ� แพงวดั
แตป่ ัจจบุ ันนิยมตัง้ บน “หลาเปรต” หรือรา้ นเปรต โดยอาหารที่จะตงั้ นนั้ จะเป็นขนม ๕ อย่าง หรือ ๖ อย่างดงั กล่าว
ขา้ งต้น รวมถึงอาหารอื่น ๆ ทบี่ รรพชนชื่นชอบ เมอ่ื ตง้ั เปรตเสร็จพระสงฆ์จะสวดบงั สกุ ลุ โดยจับสายสิญจน์ทผ่ี ูกไวก้ บั
หลาเปรต เมื่อพิธีสงฆ์เสร็จส้ิน ผู้คนจะร่วมกัน “ชิง เปรต” โดยการแย่งชิงอาหารบนหลาเปรต ทั้งนี้ นอกจาก
เพ่ือความสนุกสนานแลว้ ยังมีความเชอ่ื ว่า หากใครได้ กนิ อาหารบนหลาเปรตจะได้รับกุศลแรงเปน็ สิรมิ งคลแกต่ นเอง
และครอบครวั

20 หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

ชิงเปรต เป็นกิจกรรมหนึ่งในประเพณีของภาคใต้ท่ีท�ำกันในวันสารทเดือนสิบเป็นประเพณี
ทด่ี ำ� รงอยบู่ นความเชอื่ ของการนบั ถอื ผบี รรพบรุ ษุ ผลู้ ว่ งลบั ไปแลว้ หากยงั มบี าปอยจู่ ะกลายเปน็ เปรตในภมู นิ รกปหี นงึ่
จะถูกปล่อยให้มาเมืองมนษุ ย์ ๑๕ วัน โดยมาในวันแรม ๑ ค่�ำเดอื น ๑๐ ซ่ึงถือว่าเปน็ วนั “รับเปรต” หรือ วันสารทเลก็
ลูกหลานต้องเตรียมขนมมาเลี้ยงดูให้อ่ิมหมีพีมันและฝากกลับเมืองเปรต ในวันแรม ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๐
นนั้ คอื วนั สง่ เปรตกลบั คนื เมอื ง เรยี กกนั วา่ วนั สารทใหญ่ ผเู้ ฒา่ ผแู้ กห่ ลาย คนยนื ยนั วา่ การชงิ เปรตไมเ่ ปน็ ความอปั มงคล
แก่ผู้ชิงเปรตแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการได้บุญเพราะเชื่อกันว่าหากลูกหลานของเปรตใดชิงได้
เปรตตนน้นั ย่อมไดร้ บั สว่ นบญุ สว่ นกศุ ลนั้น

๕.๓ ประเพณชี กั พระวฒั นธรรมวิถีชวี ิตคนท่าศาลา

“อี้สาระพา เฮโล เฮโล ไอ้ไหรกลมกลม หัวนมสาวสาว ไอ้ไหรยาวยาว สาวสาวชอบใจ”
ในเสียงบทกลอนสุดแสนทะล่ึงดังมาจากผู้ถือเชือกเส้นฝ่ายชายขับร้องหยอกล้อหญิงสาว ขณะออกแรงดึงนมพระ
สรา้ งความสนกุ สนานและตลกขบขนั เรยี กรอยยมิ้ และเสยี งหวั เราะจากทกุ คนจนลมื ความเหนอ่ื ยไปสนิ้ ประเพณชี กั พระ
หรือลากพระนั้นเป็นประเพณีท้องถ่ินของชาวใต้ ที่ได้มีการสืบทอดกันมาต้ังแต่สมัยศรีวิชัยเป็นประเพณีท�ำบุญ
ในวันออกพรรษา ปฏบิ ตั ิตามความเชือ่ ว่าเมอ่ื คร้ังทพ่ี ระพทุ ธเจ้าเสด็จไปจ�ำพรรษา ณ สวรรค์ช้นั ดาวดึงส์ เพื่อโปรด
พระมารดาเม่อื ครบพรรษาจึงเสด็จกลบั มายังโลกมนุษย์ พทุ ธศาสนิกชนไปรับเสด็จแล้วอัญเชิญพระพทุ ธเจา้ ประทบั
บนบษุ บกแลว้ แห่แหน
ประเพณลี ากพระ วนั แรม ๑ คำ่� เดอื น ๑๑ เปน็ การแสดงออกถงึ ความพรอ้ มเพรยี ง สามคั คพี รอ้ มใจ
กันในการท�ำบุญท�ำทาน ชาวบ้านเชื่อว่าอานิสงส์ในการลากพระจะท�ำให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลเกิดคติเช่ือว่า
“เมื่อพระหลบ (กลับ) หลังฝนจะตกหนัก” นมพระจึงสร้างสัญลักษณ์พญานาค เพราะเช่ือว่าเป็นการให้น้�ำ
การลากพระจึงสัมพันธ์ เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมเกษตร เป็นประเพณี ท่ีปฏิบัติตามความเชื่อว่าใคร
ได้ลากพระทุกปีจะได้บุญมากส่งผลให้พบความส�ำเร็จในชีวิต ดังน้ันเมื่อนมพระลากผ่านหน้าบ้านของใคร คนท่ีอยู่
ในบ้านจะออกมาช่วยลากพระและคนบ้านอ่ืนจะมารับทอดลากพระต่ออย่างไม่ขาดสายท�ำให้เกิดแรงบันดาลใจ
แต่งบทร้อยกรองส�ำหรับขับร้องในขณะที่ช่วยกันลากพระ ซ่ึงมักจะเป็นบทกลอนส้ันๆตลกขบขัน และโต้ตอบกัน
ได้ฝกึ ท้งั ปัญญาและการปฏิภาณไหวพริบ
นมพระ หมายถึง พาหนะท่ีใช้บรรทุกพระลาก นิยมท�ำ ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า
นมพระ ลากพระทางนำ้� เรยี กวา่ “เรอื พระ” นมพระสรา้ งเปน็ รา้ นมา้ มไี มส้ องทอ่ นรองรบั ขา้ งลา่ ง ทำ� เปน็ รปู พญานาค
มีลอ้ ๔ ลอ้ อยใู่ ต้ตัวพญานาค รา้ นม้าใช้ ไม้ ไผ่สานท�ำฝาผนังตกแต่งลวดลายระบายสีสวยรอบๆ ประดับดว้ ยผ้าแพรสี
ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดท�ำอุบะห้อยระย้า
มตี ้มหอ่ ด้วยใบพ้อแขวน หน้านมพระ ตวั พญานาคประดบั กระจกแวววาวสสี วยขา้ งๆ นมพระแขวนโพน กลอง ระฆงั
ฆ้อง ด้านหลัง นมพระวางเกา้ อี้ เป็นที่นงั่ ของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บน สุดของนมพระ ได้รบั การแต่งอยา่ งบรรจงดูแล
เปน็ พิเศษ เพราะความสงา่ ได้สดั สว่ นของนมพระขึ้นอยู่กบั ยอดนม
การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ พระลาก คือ พระพุทธรูปยืน แต่ท่ีนิยมคือ
พระพุทธรปู ปางอุ้มบาตร เมอื่ ถึงวันขึ้น ๑๕ คำ�่ เดอื น ๑๑ พทุ ธบรษิ ัทจะสรงน้�ำพระลากเปลยี่ นจีวร แล้วอัญเชญิ ขนึ้
ประดษิ ฐานบนนมพระ แลว้ พระสงฆจ์ ะเทศนาเรอื่ งการเสดจ็ ไปดาวดงึ สข์ องพระพทุ ธเจา้ ตอนเชา้ มดื ในวนั แรม ๑ คำ่�
เดอื น ๑๑ ชาวบา้ นจะมาตกั บาตรหนา้ นมพระ เรยี กวา่ ตกั บาตรหนา้ ลอ้ เสรจ็ แลว้ จงึ อญั เชญิ พระลาก ขนึ้ ประดษิ ฐาน
บนนมพระในตอนน้ีบางวัดจะท�ำพิธีทางไสยศาสตร์เพ่ือให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย การลากพระ จะใช้เชือก

หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 21

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

แบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้ หญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็น เคร่ืองตี ให้จังหวะเร้าใจ
ในการลากพระ คนลากจะเบียดเสยี ดกนั สนุกสนานและประสานเสยี งรอ้ งบทลากพระ เพื่อผ่อนแรง

๕.๔ ประเพณีใหท้ านไฟ

การให้ทานไฟเป็นประเพณีต้นแบบเฉพาะของ พุทธศาสนิกชนชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช
ท่ีได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน แต่ประเพณีการให้ทานไฟน้ี อาจจะไม่คุ้นหู หรือเป็นที่รู้จัก
ของผทู้ ไ่ี มส่ นั ทดั กบั ประเพณที างถน่ิ ใต้ อาจจะคดิ วา่
เป็นการให้ “ไฟ” เป็นทาน หรือถวายไฟร้อนๆ แก่
พระภิกษุสงฆ์เคยมีผู้เข้าใจว่า “ถวายถ่านไฟ”
เพราะภาษาถน่ิ ใตอ้ อกสำ� เนยี ง “ทาน” เปน็ “ถา่ น”
จงึ เขา้ ใจไปอยา่ งน้นั การใหท้ านไฟนี้ เปน็ การถวาย
อาหารร้อนๆ แก่พระภิกษุสามเณรในฤดู หนาว
หรือในช่วงอากาศเย็นของชาวนครศรีธรรมราช
ประเพณีนี้เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่มีความเชื่อ
ในพระพุทธศาสนา ต้องการท�ำบุญกับพระภิกษุ
สามเณร โดยการถวายอาหารบิณฑบาตภายในวดั เพราะเม่ืออากาศหนาวเยน็ พระภิกษุ สามเณรไม่สะดวกทจ่ี ะออก
ไปบิณฑบาตนอกวัด จึงก่อกองไฟให้เกิดความอบอุ่น และให้พระสงฆ์ได้ฉันอาหารร้อนๆ ไปพร้อมกันด้วย เพื่อให้
พระภิกษุสงฆ์เกิดความอบอุ่นในตอนเช้ามืดของคืนท่ีมีอากาศหนาวเย็น โดยใช้ลานวัดเป็นที่ก่อไฟแล้ว ท�ำขนม
ถวายพระ ซ่ึงเป็นการท�ำบุญอย่างหน่ึงท่ีมีมาแต่สมัยพุทธกาลและนิยมท�ำกันจนกลายเป็นประเพณีท้องถ่ินของ
จงั หวัดนครศรธี รรมราช
ประวัติความเป็นมาของประเพณีการให้ทานไฟน้ี มีเรื่องราวความเป็นมาต้ังแต่สมัยพุทธกาลว่า
ณ เมืองสาวัตถี นครหลวงแห่งแคว้นโกศล ที่ปกครองโดย พระเจ้าปเสนทิโกศล ซ่ึงเป็นกษัตริย์ที่เป็นพุทธมามกะ
และเปน็ ศาสนปู ถมั ภก อกี ทงั้ เปน็ เมอื งทพี่ ระพทุ ธเจา้ เสดจ็ มาประทบั จำ� พรรษามากท่ี สดุ คอื รวมทง้ั หมด ๒๕ พรรษา
ครง้ั หนง่ึ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลประทบั อยบู่ น ปราสาทชนั้ บนทอดพระเนตรไปทางถนนในพระนคร
เห็นพระภิกษุ จ�ำนวนนับร้อยนับพันไปยังบ้านของท่านอนาถปัณฑิกเศรษฐีบ้าง บ้านของนางวิสาขาบ้าง และ
บ้านของคนอ่ืนๆ บ้างเพื่อรับบิณฑบาตบ้างเพ่ือฉันภัตตาหารบ้างพอเห็น ดังนั้นพระเจ้าปเสนทิโกศลจึงโปรดฯ
ใหจ้ ัดภตั ตาหารอันประณีตเพอ่ื พระภกิ ษปุ ระมาณ ๕๐๐ รปู แตป่ รากฏวา่ ไม่มีพระมารับสกั รปู คงมีแต่พระอานนท์
เพียงรปู เดยี วเทา่ นนั้
พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงกริ้วภิกษุทั้งหลาย จึงเสด็จไปเฝ้าพระพุทธเจ้าและกราบทูลว่าได้
ใหห้ อ้ งเครื่องจัดภัตตาหาร ตงั้ ไวถ้ วายพระประมาณ ๕๐๐ รูป ไม่ปรากฏมี พระมารับกันเลยของท่จี ดั ไว้ เหลอื เดนอยู่
อย่างน้ัน เหตุใดพระภิกษุไม่เห็นความส�ำคัญในพระราชวังเลย น่ีเรื่องอะไรกันพระพุทธเจ้าได้ทรงฟังพระด�ำรัสดัง
นนั้ ก็เข้าพระทยั ตลอด ไมต่ รสั ต�ำหนิโทษพระภิกษุทง้ั หลายและถวายพระพรวา่ “สาวกของอาตมภาพไม่มี ความคนุ้
เคยกบั มหาบพิตร เพราะเหตทุ ีไ่ มม่ คี วามคุ้น เคย นนั่ เองจงึ ไมพ่ ากนั ไป”
เมื่อเร่ืองน้ีผ่านไปแล้ว พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงครุ่นคิดอยู่ว่าพระพุทธองค์ตรัสแต่ว่าสาวก
ของพระองค์ไม่มีความคุ้นเคยในราชส�ำนักทรงด�ำริ ต่อไปว่าถ้าภิกษุสามเณรมีความคุ้นเคย ในราชส�ำนักแล้ว
ก็คงจะพากันเข้ามาวันละมากๆ รูปเหมือนพากันไปในบ้านของนางวิสาขาและบ้านของอนาถปัณฑิกเศรษฐี

22 หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ทรงคิดอยู่ว่า “ท�ำอย่างไรพระเณรจะมีความคุ้นเคยกับเราได้ “พระองค์ ทรงพิจารณาถึงสภาพในฤดูหนาว
ในเมอื งสาวตั ถี พระภกิ ษสุ ามเณรคงหนาว เยน็ กวา่ ฆราวาสผอู้ ยคู่ รองเรอื น ทว่ั ไป โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ยามออกบณิ ฑบาต
ในตอนเช้าตรู่ความหนาวเย็นคงเป็นอุปสรรคมาก เพราะพระภิกษุสงฆ์เป็นผู้ครองผ้ากาสาวพัสตร์เพียง ๓ ผืน
นอกจากนี้ ยงั ท�ำให้พระภิกษทุ ท่ี �ำหนา้ ทีเ่ ผยแผ่พระพุทธศาสนา อยู่ตามวัดและสถานท่ีต่างๆ บางรปู ร่างกายอ่อนแอ
ถงึ กับอาพาธได้พระเจา้ ปเสนทิโกศลจึงเกิดความเวทนาและก่อไฟถวายพระใหไ้ ดผ้ ิงในยามใกลร้ งุ่
ต่อมาชาวเมืองเห็นว่าการให้ทานไฟในตอนใกล้รุ่งอีกไม่นานฟ้าก็จะสว่าง จึงได้เสาะหาหัวเผือก
หัวมันมาเผา และน�ำแป้งมาปรุงเป็นภัตตาหารถวายพระภิกษุ สามเณร เป็นการท�ำบุญจะได้อานิสงส์มากขึ้น
เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่มาทางภาคใต้ของไทย โดยเฉพาะท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราชประเพณีให้ทานไฟ
พลอยตกทอดมาถงึ พทุ ธศาสนิกชนชาวนครศรธี รรมราชดว้ ย
ประเพณีการให้ทานไฟ นิยมประกอบพิธีกันใน เดือนอ้าย หรือ เดือนยี่ของทุกๆ ปี (ประมาณ
ปลายเดือนธันวาคมถึงต้นเดือนกุมภาพันธ์) ซึ่งเป็นช่วงหรือ ฤดูท่ีอากาศหนาวเย็นใน ภาคใต้ ปัจจุบันนิยมท�ำกัน
ในวันเสาร์ท่ี ๒ ของเดือนมกราคม เพราะตรงกับวันเด็กแห่งชาติ ทางสถานศึกษาได้น�ำเด็ก ครู และผู้ปกครอง
มาประกอบพธิ ใี หท้ านไฟในบรเิ วณวดั ทใ่ี กลโ้ รงเรยี นนบั เปน็ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รของเดก็ ทเี่ กย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนา
ด้วย
ในตอนรงุ่ หรอื เชา้ ตรใู่ นวนั นดั หมายทจี่ ะใหท้ านไฟชาวบา้ นพทุ ธศาสนกิ ชนในละแวก นน้ั จะพรอ้ มใจ
มากันท่วี ัด โดยจดั แจงเตรียมอปุ กรณ์ เช่น ถา่ น ไมฟ้ นื เตาไฟ พรอ้ มดว้ ยเครื่องปรงุ อาหารหรอื เครือ่ งท�ำขนมไปด้วย
เมอ่ื ถงึ บรเิ วณวดั กช็ ว่ ยกนั กอ่ กองไฟและปรงุ อาหาร
ท�ำขนม กันทันที กองไฟจะก่อกี่กองก็ได้ข้ึนอยู่
กั บ จ� ำ น ว น ข อ ง พ ร ะ ภิ ก ษุ ส า ม เ ณ ร ภ า ย ใ น วั ด
เมอื่ กอ่ กอง ไฟเสรจ็ แลว้ กน็ มิ นตพ์ ระมาผงิ ไฟ เพอ่ื ให้
ร่างกายอบอุ่น อาหารและขนมท่ีปรุงสุกแล้ว
ยงั รอ้ นๆ อยกู่ ถ็ วายประเคนพระภกิ ษสุ ามเณรใหฉ้ นั
ได้ทันที ไม่ต้องเจริญพระพุทธมนต์ หรือกล่าวค�ำ
ถวายสังฆทานเหมือนกับ พิธีท�ำบุญในโอกาสอื่น
ขณะที่ท�ำขนมกันไปพระสงฆ์ก็ฉันไปพร้อมๆ กัน
ขณะเดียวกันชาวบ้านจะจัดเตรียมถุงหรือภาชนะเพ่ือให้พระภิกษุสามเณรบรรจุอาหารน�ำไปฉันในตอนเพล
เพราะตอนเช้าไม่ ไดอ้ อกรับบณิ ฑบาตตามปกตเิ หมือนทกุ วนั เม่อื ฉันเสร็จแลว้ อาจจะอาราธนา ให้ประธานสงฆ์กล่าว
สมั โมทนยี กถากไ็ ด้ เสรจ็ แลว้ ประธานสงฆจ์ ะใหพ้ รอบุ าสกอบุ าสกิ ากรวดนำ้� รบั พร อาหารที่ จะถวายพระภกิ ษุ สามเณร
สว่ นใหญจ่ ะเปน็ อาหารทป่ี รงุ งา่ ยเปน็ อาหารพนื้ บา้ นทยี่ งั รอ้ นอยู่ เชน่ ขา้ วตม้ ขา้ วผดั ขา้ วหมกไก่ ขา้ วยำ� ขา้ วเหนยี วปง้ิ
ข้าวเหนียวหลาม หมี่ผัด หรือ เป็นอาหารอื่นๆ ก็ได้ท่ีสมควรแก่สมณะบริโภค ส่วนขนมก็จะเป็นขนมทางถ่ินใต้
ขนมพนื้ บา้ นอะไรกไ็ ดแ้ ตส่ ว่ นใหญจ่ ะนยิ มขนมทส่ี ามารถปรงุ เสรจ็ ในเวลาอนั รวดเรว็ ขนมสว่ นมากจะปรงุ โดยใชไ้ ฟแรง
เชน่ ขนมเบ้อื ง ขนมครก ขนมโค ขนม พมิ พ์ ขนมจาก ขนมจจู้ นุ
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันขนมและอาหารในประเพณีให้ทานไฟเพ่ิมข้ึนจ�ำนวนมากมาย
ตามความ สะดวกและศรัทธาของชาวบ้าน มีท้ังอาหารพ้ืนเมือง อาหารประจ�ำภาคต่างๆ ในประเทศ ไทย และ
อาหารฝร่งั พรอ้ มทง้ั ผลไม้และเคร่ืองดมื่ เปน็ จำ� นวนมาก

หลักสตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 23

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๕.๕ พธิ นี ่งั เจ้าเขา้ ทรง บวงสรวงพ่อท่านกลาย

การเชญิ เจ้าเข้าทรง
การเชญิ เจา้ เขท้ รงถอื เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ทสี่ ดุ ทบี่ คุ คลตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หถ้ กู ตอ้ งตอ่ สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ น่ี บั ถอื บชู า
เปน็ การบวงสรวงเพ่อื อ้อนวอนขอพรต่อสิ่งศกั ดส์ิ ทิ ธ์นิ น้ั เพือ่ ใหเ้ กดิ สิรมิ งคลแก่ผ้ปู ฏบิ ัติและบุคคลทวั่ ไป การเชญิ เจ้า
เขา้ ทรงกห็ มายถงึ การเรยี กดวงวญิ ญาณใหม้ าปรากฏนน่ั เอง
การเชญิ เจ้าเข้าทรงของพ่อท่านกลายทีก่ ระท�ำอยมู่ ี ๒ แบบ
คือ การเชิญเจ้าเข้าทรงแบบธรรมดาเป็นแบบง่ายๆ ต้องมี
“คนทรง” หรือบางทีเรียกว่า “มา้ ทรง” และคนกล่าวคาถา
เพื่อเรียกดวงวิญญาณพ่อท่านกลายให้มาสิงสู่คนทรง
อีกคนหน่ึง คนทรงจะต้องนั่งสมาธิคลุมด้วยผ้าขาว
ประนมมือ ท�ำจิตใจให้สงบที่สุด ซึ่งหาได้ไม่ง่ายนักแล้ว
วญิ ญาณจะเข้าสูค่ นทรง แลว้ บอกเร่อื งราวตา่ ง ๆ ใหฟ้ ังอกี
แบบหน่ึงเป็นพิธีท�ำกันใหญ่โตต้องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ มาก
มีการตระเตรียมงานไว้ล่วงหน้าซึ่งจัดท�ำกันทุกปี ปีละคร้ัง
ท�ำกันทีศ่ าลเจ้าเลยทเี ดียว และมลี ำ� ดับข้นั ตอนดังต่อไปนี้
การปลูกโรงพิธี
ก่อนถึงก�ำหนดท่ีจะมีการท�ำพิธีเชิญเจ้าเข้าทรงประมาณ ๔-๕ วัน ทางคณะกรรมการจัดงาน
จะช่วยกนั ปลูกโรงพธิ ชี ่วั คราวขึ้นหลงั หนง่ึ ใกล้ๆ ศาลเจา้ ทีต่ ลาดสระแก้ว โรงพิธีกวา้ งยาวพอสมควร ภายในยกพ้ืนขน้ึ
สงู ประมาณครง่ึ เมตร แบง่ เปน็ ทต่ี งั้ เครอื่ งบวงสรวงตา่ งๆ ไวต้ อนหนง่ึ อกี ตอนหนง่ึ เปน็ ทนี่ งั่ ของคณะโนราซง่ึ ใชบ้ รรเลง
เปน็ เคร่อื งประโคมเวลาเรยี กดวงวญิ ญาณของพอ่ ท่านกลายและบรวิ ารคนอ่นื ๆ ให้มาเขา้ ทรง เมอ่ื ปลูกโรงเสรจ็ แล้วก็
จะน�ำสายสิญจน์มาขึงไว้รอบโรงพิธีทั้งสี่ด้าน และจะมีการตกแต่งโรงพิธีอย่างสวยงาม ประดับด้วยธงทิวไปทุกทิศ
เป็นบรเิ วณกวา้ ง
อปุ กรณต์ า่ ง ๆ
อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ะใช้ประกอบเวลาทำ� พธิ มี มี ากมายหลายอย่าง ไดแ้ ก่
๑. บายสี ประดษิ ฐ์ดว้ ยใบตอง ตอ้ งท�ำ ๗ ยอด แต่ละยอดตอ้ งเสียบด้วยดอกไมข้ าว
๒. ธปู และเทยี น เฉพาะเทยี นตอ้ งใช้ ๙ เลม่ เพราะหมายถงึ พอ่ ทา่ นกลายและบรวิ ารของทา่ นดว้ ย
๓. ดาบ เปน็ ดาบคู่ จะนำ� มาตัง้ ไว้หน้าโตะ๊ บชู า
๔. ส�ำรบั จะประกอบดว้ ยอาหารทงั้ หมด ๑๒ อย่าง จะขาดอยา่ งหนงึ่ อย่างใดไมไ่ ด้ ซงึ่ เป็นแบบ
ฉบบั ทจ่ี ดั กนั มานานแลว้ ไดแ้ ก่ ขา้ ว แกงสม้ ขนมโค ขนมแดง ขนมขาว ขา้ งเหนยี วกลว้ ย ออ้ ย ปลามหี วั มหี างทสี่ กุ แลว้
แกงจดื ย�ำ ขา้ งตอก
๕. เบาะ ปดู ว้ ยผา้ ขาวใชส้ ำ� หรบั เปน็ ทนี่ งั่ ของคนทรง เมอ่ื ดวงวญิ ญาณของพอ่ ทา่ กลายเขา้ ทรงแลว้
ทัง้ หมดน้จี ะจัดเอาไว้ในโรงพธิ ีทจ่ี ดั ไว้สว่ นหนึง่ มองดูแลว้ เหมอื นจะมีมนตข์ ลังอะไรสักอยา่ งหน่ึง

24 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

พิธีเชิญเจ้าเขา้ ทรง

เมอ่ื ถงึ วนั กำ� หนดพธิ มี าถงึ คณะกรรมการจะตอ้ งเตรยี มอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ดงั ทก่ี ลา่ วแลว้ ไวใ้ หเ้ รยี บรอ้ ย
ตัง้ แต่ตอนเชา้ สายขนึ้ มาก็จะมผี ู้คนเริ่มหล่งั ไหลไปรว่ มในพธิ ีนมี้ ากขนึ้ ซึ่งแตล่ ะครง้ั จะมผี คู้ นไปรว่ มนับเป็นพนั ๆ คน
ถอื ว่าเป็นงานบญุ กุศลงานหน่ึงของทอ้ งถิ่นน้ี เมอื่ เตรยี มอะไรทุกอยา่ งเรียบรอ้ ยแลว้ พธิ ีการจะเรมิ่ ข้ึน โดยคณะโนรา
กจ็ ะกล่าวคำ� เชญิ วญิ ญาณพอ่ ทา่ นกลายไปเร่อื ย ๆ เช่นเดยี วกัน ซึ่งคำ� เชิญหรือเรียกพอ่ ทา่ นกลายมีดงั นี้
ฤกษ์งามยามดี
ปานนช้ี อบยามพระเวลา
ชอบฤกษ์เบกิ โรง
บวงสรวงราชครดู ว้ นหนา้
จ�ำเพาะเจาะจง
ทา่ นกลายตวั ยงตัวกลา้
ทา่ นกลายของขา้
ทำ� ไมเรยี กนานขานยาก
เชิญพ่อท่านมานงั่
ไมใ่ หร้ ้อยชง่ั ล�ำบาก
เข้าปลาของหายาก
หมากพลมู าสูใ่ ห้พ่อกนิ ฯลฯ
หัวหน้าคณะโนราก็จะเรียกพ่อท่านกลายไปเรื่อย ๆ พร้อมกับจังหวะของดนตรีท่ีตีประโลม
ฟังดูขนพองสยองเกล้าท�ำอย่างน้ีไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งมีใครสักคนหนึ่งว่ิงตะโกนมาแต่ไหนไม่ทราบ ส่งเสียงดัง
ครวญครางโวยวายเนื้อตัวส่นั วิง่ เขา้ ไปในโรงพิธี ขนึ้ ไปจบั ดาบทีต่ งั้ เตรยี มไว้ แลว้ กระโจนข้นึ ไปนง่ั ขัดสมาธิบนเบาะ
ที่ต้งั เตรยี มไว้ สองมอื ชดู าบออกกวัดแกวง่ ปากกค็ �ำรามไปเรอ่ื ย ๆ เน้ือตวั สนั่ ระรัวไปหมด นี้แสดงวา่ พอ่ ท่านกลาย
เขา้ ทรงใครสกั คนหน่งึ คนใดเขา้ แลว้
ตอนนเ้ี ครอ่ื งประโคมพรอ้ มทง้ั คนเชญิ หยดุ คนจะเฮโลเขา้ ลอ้ มโรงพธิ เี บยี ดเสยี ดยดั เยยี ดเขา้ ไปดกู นั
แน่นไปหมด ต่อจากน้ันก็จะมีคนเข้าไปกราบกรานแล้วถามไถ่ทุกข์สุกต่าง ๆ หรือไม่พ่อท่านกลายพูดออกมาให้ฟัง
เองว่า ให้คนทั่ว ๆ ไปท�ำอย่างหรือปฏิบัติอย่างไร ใครท�ำผิดก็จะรู้กันตอนนี้ เม่ือได้เวลาพอสมควรแล้วคนทรง
กจ็ ะเปลง่ เสยี งออกมาดัง ๆ ว่า “กกู ลับแลว้ ” จากน้นั คนทรงก็ล้มกลิ้งลงนอนเหมือนคนหมดสตอิ ย่พู กั ใหญ่
ต่อจากนน้ั ทกุ คนกจ็ ะน�ำสิง่ ของตา่ ง ๆ เชน่ อาหาร เงนิ ทองเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ พรอ้ มกับตดั เลบ็ เสน้ ผม
ไปใสใ่ นแพรท่ีเตรยี มไว้ แล้วน�ำไปลอยในคลองกลาย เปน็ การสะเดาะเคราะห์ และอุทศิ ส่วนกุศลให้แกพ่ อ่ ท่านกลาย
ด้วย

ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ

ตามที่ได้กล่าวมา พ่อท่านกลายได้เป็นสิ่งศักด์ิสิทธิ์ข้ึนนี้ก็เพราะพ่อท่านกลายเป็นบุคคลส�ำคัญ
มาก่อน เป็นบคุ คลทีม่ ีชอ่ื เสยี งในการรบเปน็ ถึงทหารเอกของเมอื งนครศรีธรรมราช ทง้ั น้ีกเ็ พราะบรรพบรุ ษุ ของทา่ น
เคยเป็นนักรบมาก่อน ท่านจึงเป็นเช้ือสายของเลือดนักสู้อย่างแท้จริง เป็นเชื้อผู้ดีมีตระกูล ประกอบท้ังเป็นผู้มีวิชา
ความรใู้ นทางไสยศาสตร์ มเี วทมนต์คาถาอยู่ยงคงกระพนั หาตัวจับยาก สามารถน�ำสมคั รพรรคพวกหนีเอาตัวรอดได้
ทุกครั้ง มีความรักความเมตตาต่อสมัครพรรคพวกยิ่งนัก ซึ่งเป็นที่ยกย่องนับถือของบุคคลท่ัวไปในสมัยเม่ือท่าน

หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 25

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ยังมชี วี ิตอยู่ ไม่เป็นบคุ คลท่ีเหน็ แก่ตัว ทำ� ความดเี พ่อื สว่ นรวม จากความดเี ดน่ ตา่ ง ๆ เหล่านี้ เปน็ ผลบญุ ท่ตี ามสนอง
ให้ท่านเกิดศักด์ิสิทธ์ิขึ้นในภายหลัง ยังความเคารพนับถือแก่คนทั่วไปมานานแล้ว และจะคงยังมีต่อไปอย่างไม่มีวัน
เสอ่ื มสลาย ชาวตำ� บลกรงุ ชงิ นบพติ ำ� สระแกว้ ตำ� บลกลาย และตำ� บลใกลเ้ คยี งรสู้ กึ ภมู ใิ จเปน็ อยา่ งยงิ่ ทพี่ อ่ ทา่ นกลาย
เปน็ ส่ิงศกั ดิ์สทิ ธข์ิ องเขาและเปน็ บรรพบุรษุ ของท้องถ่นิ ท่ีใหค้ วามคมุ้ ครองตลอดมา พอ่ ทา่ นกลายจึงเปน็ เทพประจ�ำ
ท้องถน่ิ โดยเฉพาะ
เม่ือท่านได้ทราบเรื่องราวมาโดยตลอดแล้ว เพื่อเป็นสิริมงคล จึงขอให้ท่านผู้อ่านทุกท่านปฏิบัติ
ตามกตกิ าทพ่ี อ่ ทา่ นกลายไดว้ างเอาไว้ เชน่ ไมท่ ำ� ใหน้ ำ�้ ในคลองกลายสกปรกโดยประการทง้ั ปวง ใหบ้ คุ คลอยใู่ นศลี ธรรม
กระท�ำแต่ความดี ให้ปฏิบัติตามเม่ือดวงวิญญาณของท่านมากระซิบบอก แล้วอ�ำนาจบุญบารมีของพ่อท่านกลาย
จะให้ความคุ้มครองท่านเสมอ

๕.๖ ประเพณรี ดน้�ำดำ� หัวผู้สงู อายุในวันสงกรานต์

กตญั ญตุ า น�ำพาซ่งึ สริ มิ งคลชวี ติ
ทำ� บญุ เดอื นหา้ หรอื ขนึ้ ปใี หมไ่ ทย ประเพณขี อง คนไทยทมี่ มี ายาวนาน พธิ ดี งั กลา่ วจะมี การรดนำ�้
พระพทุ ธรปู พระสงฆแ์ ละผหู้ ลกั ผใู้ หญ่ เรยี กวา่ “สรงนำ�้ ” หรอื อกี อยา่ งหนงึ่ เรยี กวา่ ตรษุ สงกรานต์ โดยตรษุ สงกรานต์
คือวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนย้ายจากฤดูหนาว เข้าสู่
ฤดูร้อน ในระยะนี้เรียกว่าตรุษสงกรานต์ เพราะมี
ก�ำหนดท�ำในเดือนห้าจึงได้ช่ือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า
“บุญเดือนห้า” โดยถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทย
ในสมัยโบราณ หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า
“วันสงกรานต์”
วนั สงกรานต์ นอกจากจะเปน็ วนั
ข้ึนปีใหม่ไทยแล้ว นัยยะส�ำคัญประการหนึ่งคือ
กิจกรรมท่ีเกิดข้ึนในวันนี้จะมีการจัดท�ำบุญปีใหม่
สรงน้�ำพระและรดน้�ำด�ำหัวผู้ใหญ่ เพ่ือขอพรให้เป็นสิริมงคลกับชีวิตของลูกหลานในการเริ่มต้นปีถัดไปอย่างราบร่ืน
และมคี วามสุข ดงั นนั้ วนั ดังกลา่ วจงึ เปรยี บเสมือนเปน็ วนั ครอบครวั ได้ รวมญาตพิ น่ี อ้ งและลูกหลานทที่ ำ� งานไกลบา้ น
ได้กลับ มาฉลองปีใหม่ร่วมกันอย่างพร้อมหน้าพร้อมตากันอีกวันหนึ่งลูกหลานได้แสดงออกถึงความรักความกตัญญู
ต่อพอ่ แม่ปู่ ยา่ ตา ยาย และผูส้ ูงอายุ สรา้ งสมั พันธ์อัน ดีในครอบครัวอันจะนำ� มาซึ่งความม่นั คงของสังคม
การท่ีเด็กและเยาวชนได้รับการปลูกฝังคุณลักษณะ ที่ดีในเรื่องของความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
ถือเป็นเร่ืองท่ีดีเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้สังคมการเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีจะช่วยอบรมและส่งเสริม
พฤติกรรมของเด็กเยาวชนให้มีคุณลักษณะของการเป็นคนมีความกตัญญูความตระหนักรู้ในบุญคุณของบุคคล
และสงิ่ แวดล้อมที่มีผลตอ่ ตนเองท้งั โดยตรงและโดยอ้อม
กจิ กรรมวันกตญั ญู มีการสรงนำ้� พระในวันตรษุ สงกรานต์ ศาสนาพุทธ ใชค้ �ำวา่ ถวายเคร่ืองเถรา
ภิเษก (สรงน�้ำพระ) มีจิตศรัทธาท่ีจะให้พระวรกายของพระพุทธเจ้าสะอาดปราศจากมลทินผลบุญนอกจะท�ำให้
เราเปน็ ผมู้ คี วามสดชน่ื เยน็ กายเยน็ ใจ ไมม่ เี รอ่ื งขนุ่ ขอ้ งหมองใจแลว้ ยงั มี อานสิ งสท์ ำ� ใหไ้ ดไ้ ปสสู่ วรรค์ ชน้ั ดสุ ติ เลยทเี ดยี ว
อีกท้ังกิจกรรม รดน้�ำด�ำหัว ผู้สูงอายุ เพ่ือขอขมา และขอพรจากญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ สูงอายุที่เป็นที่เคารพนับถือ
เพือ่ เปน็ สริ มิ งคลกบั ชวี ิต และครอบครวั ตอ่ ไป

26 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๕.๗ ประเพณีฮารีรายอ

วันฮารีรายอ (ตามภาษามาลายู ปัตตานี) หรือวันฮารีรายา (ภาษามาลายูกลาง) เป็นวันร่ืนเริง
ของชาวมุสลมิ ทั่วโลก ซ่งึ ใน ๑ ปี ชาวมุสลมิ มวี ันฮารรี ายอ ๒ คร้งั คอื อดี ิลฟติ รี ตรงกับวนั ข้ึน ๑ ค่�ำเดือนเชาวาล
ซ่งึ เปน็ เดอื น ๑๐ ตามปฏิทินอสิ ลาม คือ วนั ออกบวช และ อดี ลิ อฏั ฮา ตรงกบั วันท่ี ๑๐ เดือน ซุลฮจิ ญะ หรอื ตรงกบั
เดือน ๑๒ ของปฏิทินอิสลาม ซึ่งเป็นการฉลอง วัน ออกฮัจญ์ ซ่ึงในวันดังกล่าวชาวมุสลิมจะไปเยี่ยมเยียน พ่อแม่
ญาติพ่ีน้อง เพื่อนบ้าน เพ่ืออภัยต่อกันในส่ิงท่ีผ่านมา โดยในวันอีดีลฟิตรีมุสลิมทุกคนจะต้องจ่าย ซะกาตฟิตเราะห์
(การบรจิ าคขา้ วสาร) คือการบริจาคทานแก่คนยากจนอนาถา
สว่ นในวนั อีดลิ อัฏฮา จะมกี ารเชอื ดสตั วพ์ ลี คำ� ว่า อัฎฮา แปลว่า การเชือดพลี เป็นการเชอื ดสตั ว์
เพื่อเป็นอาหารแก่ประชาชนและคนยากจน อิดัลอัฏฮา หมายถึงวันร่ืนเริงเนื่องในวันเชือดสัตว์พลี ตรงกับวันที่สิบ
ของเดือนซุลฮจญะ เป็นเวลาเดียวกับการประกอบ พิธีหัจญ์ ที่เมืองเมกกะของชาวอิสลามทั่วโลก ชาวไทยอิสลาม
จึงนิยมเรียกวันตรุษนี้ว่า วันอีดใหญ่ และท�ำกุรบันแจกจ่ายเนื้อเพ่ือเป็นทานแก่ญาติ มิตร สัตว์ท่ีใช้ในการเชือดพลี
ได้แก่ อูฐ วัว แพะ ถือเป็น การขัดเกลาจิตใจ ของมนุษย์ให้เป็นผู้บริจาค เป็นการเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ต่อเพื่อนมนุษย์
ในวนั ฮารรี ายอ ชาวมสุ ลมิ จะเดนิ ทางกลบั ภมู ลิ ำ� เนาของตน มารว่ มประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา โดยพรอ้ มเพรยี งกนั
ได้พบปะ สังสรรคก์ บั เพ่อื นญาติ พ่นี ้อง เพอ่ื จะได้ขออภยั ตอ่ กนั
สำ� หรบั พธิ กี รรมในวนั ดงั กลา่ ว ชาวมสุ ลมิ จะตนื่ นอนแตเ่ ชา้ ตรู่ โดยเฉพาะผหู้ ญงิ จะตกแตง่ บา้ นเรอื น
ให้สะอาดสวยงามเป็นพิเศษ จัดเตรียมอาหาร ขนมต่างๆ ไว้ต้อนรับเพ่ือน ญาติพ่ีน้อง และแขกที่มาเยี่ยมเยียน
หลังเสร็จสิ้นภารกิจแล้วจึงจะอาบน�้ำช�ำระร่างกายให้สะอาด เรียกว่า อาบน�้ำสุนัต ก�ำหนดเวลาอาบต้ังแต่เท่ียงคืน
เร่ิมต้นวันฮารีรายอ จนถึงพระอาทิตย์ตกแต่เวลาที่ดีที่สุดและเป็นท่ีนิยมอาบน้�ำสุนัต คือเม่ือแสงอรุณขึ้นขอบฟ้า
ในวนั ฮารรี ายอ ในขณะอาบน้�ำสนุ ัตทกุ คนจะต้องกลา่ วดุอารเ์ ปน็ การขอพร จากนั้นจะเดนิ ทางไปมสั ยดิ เพ่อื ละหมาด
และเยยี่ มเยียนญาติ พี่ นอ้ งที่ ลว่ งลบั ไปแลว้ ในกุโบร์ หรอื สสุ าน ท่ตี ้ังอยู่ภายในมสั ยดิ นนั้ ๆ

“มาโซ๊ะยาวี ก้าวสู่การเปน็ มสุ ลมิ ท่สี มบรู ณ์”

พิธีเข้าสนุ ัตถือเปน็ ส่วนหน่ึงของความดีตาม บทบัญญัตอิ ิสลามท่ี “อัลลอฮ”ฺ ทรงบัญญตั แิ ก่บา่ ว
ของพระองค์ และท�ำให้ความดีทั้งภายนอกและภายในมีความสมบูรณ์ เนื่องจากเป็นการช�ำระความสกปรก
สรา้ งความสะอาด การเขา้ สนุ ตั เปน็ พธิ กี รรมทสี่ ำ� คญั อยา่ ง หนง่ึ ของคนมสุ ลมิ ถอื กนั วา่ คนมสุ ลมิ ทแ่ี ทจ้ รงิ ตอ้ งเขา้ สนุ ตั
ถ้าไมเ่ ขา้ ถอื ว่าเป็นมุสลิมที่ไมส่ มบูรณ์
การเข้าสุนัตภาษามาลายูเรียกว่า มาโซ๊ะยาวี ภาษาอาหรับเรียกว่า คิตาน คือการขลิบหนังหุ้ม
ปลายอวัยวะเพศชาย ซ่ึงเป็นแนวทางของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ.ล.) ดังท่ีท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวว่า
สีป่ ระการซง่ึ เป็นแนวทางของบรรดานบี มีดงั น้ี ๑. การท�ำคิตาน (ขลิบหนงั หมุ้ ปลายอวยั วะเพศ) ๒. การใช้ของหอม
๓. การแปรงฟนั ๔. การแต่งงาน
การเขา้ สนุ ตั จำ� เปน็ สำ� หรบั ผชู้ ายมสุ ลมิ อกี ทงั้ ทางดา้ นวงการแพทย์ สมยั ใหมไ่ ดว้ เิ คราะหม์ าแลว้ วา่
การขลิบหนงั หุ้มปลายอวัยวะเพศน้นั มีคณุ ประโยชน์มากมาย เช่น สามารถป้องกนั การเปน็ มะเรง็ อวยั วะเพศชายได้
เนอื่ งจากไมม่ กี ารหมกั หมมของสงิ่ สกปรกตา่ งๆ เพราะงา่ ยตอ่ การทำ� ความสะอาด ซง่ึ การเขา้ สนุ ตั จะกระทำ� เมอื่ ถงึ วยั
อนั ควร คอื ชว่ งอายรุ ะหวา่ ง ๘ - ๑๓ ปี การขลบิ ในสมยั กอ่ นนยิ มกระทำ� กนั ในเวลาเชา้ ประมาณ ๐๘.๐๐ – ๑๐.๐๐ น.
หรือตอนเย็นเพราะเป็นช่วงท่ีอากาศเย็นกว่าช่วงเวลาตอนกลางวันเมื่อขลิบแล้วเลือดจะไหลไม่มากและหยุดง่าย
หลงั จากท�ำการขลิบแลว้ ใช้เวลารักษาประมาณ ๑๕ วันก็หายเปน็ ปกติ

หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 27

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๕.๘ ประเพณถี ือศลี อดเดือนรอมฎอนของไทยมสุ ลมิ

ในทุกๆ ปี ศาสนิกชนมุสลิมในศาสนาอิสลามจะ ปฏิบัติภารกิจถือศีลอดเดือนรอมฎอน
เป็นการทดสอบความศรัทธาอันแรงกล้าต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าท่ีประทาน พระบัญญัติ แก่มวลมนุษย์เพื่อฝึกฝน
ให้มวลมนุษย์รู้จักความอดกล้ันอดทน มีจิตใจ
หนกั แนน่ และไมท่ อ้ ถอย อยา่ งงา่ ยดายตอ่ ความยาก
ล�ำบากท่ีเผชิญอยู่ ณ เบ้ืองหน้ารอมะฎอน หรือ
รอมฎอน คอื เดอื นท่ี ๙ ของ ปฏทิ นิ ฮจิ ญเ์ ราะห์ หรอื
ปฏิทินอิสลามเป็นเดือนท่ีมุสลิมถือศีลอดทั้งเดือน
ด้วยเหตุนี้จึงเรียกกันอีกช่ือหนึ่งว่า เดือนบวช
เปน็ เดอื นทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ เดอื นหนงึ่ เนอื่ งจากชาวมสุ ลมิ
จะต้องปฏิบัติเพราะเป็นศาสนบัญญัติ ด้วยการงด
อาหารทุกชนิดรวมถึงน้�ำด่ืม ในช่วงเวลา พระอาทิตย์ข้ึน - พระอาทิตย์ตกดิน รวมท้ังให้อดทนต่อสิ่งรอบตัว
หยดุ ท�ำความชั่วและออกหา่ งจากสิ่งหรอื คน ทจ่ี ะชักนำ� เราไปสู่การฝ่าฝืนค�ำสงั่ ของพระเจา้ ไม่วา่ จะ โดยมือ (ทำ� ร้าย
หรือขโมย) เท้า (เดนิ ไปสสู่ ถานท่ตี อ้ งห้าม) ตา (ดูสิ่งลามก) หเู ช่นการฟงั ส่ิงไร้สาระ (ฟงั เรอ่ื งชาว บา้ นนินทากนั ) ปาก
(การนนิ ทาวา่ รา้ ยคนอนื่ โกหก โป้ ปด) เดอื นรอมฎอนเปน็ เดอื นทจ่ี งู ใจใหผ้ ศู้ รทั ธาทำ� ความ ดมี ากยงิ่ ขน้ึ กวา่ เดอื นอนื่ ๆ
เนน้ การบรจิ าคทาน หัวใจ จะจดจ่ออยกู่ บั การแสดงความเคารพภกั ดี (อิบาดะฮฺ) ต่ออลั ลอฮฺ และหนั ไปหาพระองค์
มากขนึ้ เรยี กไดว้ า่ รอมฏอน เปน็ เดอื นแหง่ การอบรมจติ ใจ นนั่ เอง เพราะจะไมท่ ำ� สง่ิ ไรส้ าระ จะทำ� อะไรตอ้ งระมดั ระวงั
ทุกการกระท�ำและคำ� พูด มเิ ชน่ นัน้ ก็จะเปน็ การถอื ศีลอดท่ไี ดแ้ คเ่ พียง การอดอาหาร เทา่ น้ันเอง รวมทงั้ จะได้รับรู้
ความยาก ล�ำบากคนที่ยากไร้ด้วย การถือศีลอดเดือนรอมฎอนตามบัญญัติอิสลาม เป็นอิบาดะฮฺที่ต้องมีการปฏิบัติ
ในประชาชาตอิ สิ ลาม โดยพร้อมเพรยี งกนั เพราะต้องปฏบิ ตั ิในชว่ งเดือนรอมฎอน ที่มีเพยี งเดือนเดียวต่อปี จึงทำ� ให้
ชาวมุสลิมต้อง ตระหนักถึงความเป็นปึกแผ่นของการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน ตามค�ำสอนของอัลลอฮฺตะอาลา
ท่ีตรัสไว้ว่า “เดือนรอมฎอนน้ันเป็นเดือนที่อัลกุรอานถูกประทานลงมาในฐานะเป็นข้อแนะน�ำส�ำหรับมนุษย์
และเป็นหลักฐานอันชัดเจนเก่ียวกับข้อแนะน�ำนั้น และเกี่ยวกับส่ิงท่ีจ�ำแนกระหว่างความจริงกับความเท็จ
ดังน้ัน ผู้ใดในหมู่พวกเจ้าเข้าอยู่ในเดือนนั้นแล้วก็จงถือศีลอดในเดือนน้ันเถิด” ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วน
ต�ำบลทา่ ศาลาร้อยละ ๓๐ นบั ถือศาสนาอิสลาม ทั้งน้ี ประชาชนมสุ ลมิ จะท�ำการละศลี อดเมอ่ื พระอาทติ ยล์ บั ขอบฟ้า
โดยมารวมตัวกันท่ีมัสยิดหรือสถานที่นัดหมายเพื่อละศีลอดพร้อมกันร่วมรับประทานอาหารพร้อมกันและพบปะ
สนทนา ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวแสดงออกถึงความสามัคคี ของประชาชนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีสมานฉันท์
ของประชาชนทกุ หมเู่ หลา่ ใหเ้ ดก็ เยาวชน และประชาชน ในพน้ื ทมี่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกดิ ความตระหนกั ในการสง่ เสรมิ
ศาสนา กิจกรรมอันดีงาม และสืบสานประเพณีท่ีมีคุณค่าของท้องถิ่นที่ถูกต้องให้คงอยู่สืบไป และเป็นการปฏิบัติ
ใหส้ อดคลอ้ งกับแนวนโยบายของ รฐั บาล และเพ่ือสง่ เสรมิ ให้เกิดความสนั ตสิ ขุ อย่างยง่ั ยนื
สาระสำ� คญั ของการถือศีลอดในเดือนรอมฎอน น้นั มีวตั ถุประสงค์ คอื เพื่อให้ผู้ถอื ศลี อดได้สัมผัส
และรับรถู้ ึงความทกุ ข์ ยากล�ำบาก ไดเ้ รยี นร้ถู งึ อุปสรรคต่างๆ ของการด�ำเนนิ ชีวติ และเมอื่ ได้สัมผสั ได้รับรู้ถงึ ความ
ทุกข์ยากแล้ว การถือศีลอดจึงส่งผลสืบเน่ืองให้ผู้ถือศีล นั้นรู้จักอดกล้ันอดทนต่อความทุกข์ยากต่างๆ ด้วยความ
พากเพยี รและสตปิ ัญญา กล่าวคือ ฝกึ ฝนจิตใจของชาว มสุ ลิมทุกคนใหเ้ ปน็ ผมู้ ีสติ หนกั แน่น มจี ติ ใจอดทนอดกลนั้
ทง้ั ตอ่ ความหวิ โหย ตอ่ ความโกรธ ความปรารถนา แหง่ อารมณ์ และสงิ่ ยว่ั ยวนนานบั ประการ ซงึ่ ผลทไ่ี ดจ้ ากความเพยี ร
คือการพัฒนาตนเองไปในทางที่ดี มีความใฝ่สูงด้านจิตใจอยู่ตลอดเวลา จิตสงบ ไม่ฟุ้งซ่านและพร้อมที่จะเผชิญ

28 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

และฝ่าฝันอุปสรรคต่างๆ นานา มุ่งสู่ความส�ำเร็จ การถือศีลอดในเดือนรอมฎอนของชาวมุสลิมจึงมีคุณประโยชน์
อย่างย่ิงต่อการด�ำเนินชีวิตต่อหน้าที่การงาน และกิจวัตรประจ�ำวันของชาวมุสลิมนอก เหนือไปจากความย�ำเกรง
และศรทั ธาอย่างแรงกลา้ ที่ จะได้ใกล้ชิดพระผูเ้ ป็นเจา้
นอกเหนือจากการได้สัมผัสความทุกข์ยาก และการอดทนแล้ว การถือศีลอดรอมฎอน
ยังเปน็ กุศโลบาย ให้มวลมนษุ ย์ร้จู ักดำ� รงชพี ด้วยความสมถะและเอื้อเฟ้ือ เผ่ือแผ่ แกผ่ ้อู ่นื แก่นธรรมน้ี คอื การขดั เกลา
จติ ใจให้ ละเวน้ จากความละโมบ และความตระหนี่ นั่นเอง ซ่ึงเป็นกญุ แจสำ� คญั ตอ่ การอยูร่ ว่ มกันในสงั คมของมนุษย์
ชาวมุสลิมท่ีจะถือศีลอดได้จะต้องบรรลุศาสนะ ภาวะ มีอายุ ๑๕ ปีข้ึนไป และหญิงท่ีเร่ิมมี
ประจ�ำเดือน จะต้องเร่ิมถือศีลอดในปีน้ันๆ เป็นผู้ที่มีร่างกายสมบูรณ์ ไม่เจ็บป่วย ไม่อยู่ในระหว่างการเดินทาง
หากมเี หตดุ งั กลา่ วเกดิ ขนึ้ สามารถขอผอ่ นผนั ไดโ้ ดยเมอ่ื หายปว่ ยไข้ โดยสมบรู ณห์ รอื เสรจ็ สน้ิ การเดนิ ทางจะตอ้ งกลบั
มาถือศลี อดใหค้ รบตาม จ�ำนวนวันที่ขาดหายไป และผ้ทู ่ี ไดร้ ับการยกเวน้ เขา้ ถือศลี อดในเดือนรอมฎอน แต่ใหจ้ ่าย
ซะกาตประเภทอาหารแก่ ผูย้ ากไร้ เปน็ การทดแทน ไดแ้ ก่ คนชรา คนปว่ ยเร้ือรังท่ีแพทยว์ ินจิ ฉยั ว่ารกั ษาไมห่ ายหญงิ
มคี รรภ์ และแมล่ กู ออ่ นท่ี ให้นมทารก ซ่งึ เกรงว่าการ ถอื ศีลอดอาจเปน็ อนั ตรายแกท่ ารก บุคคลท่ีสขุ ภาพไมส่ มบูรณ์
ซ่ึงเมื่อเขาถือศีลอดจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ บุคคลที่ท�ำงานหนักบุคคลที่ท�ำงานกลางแจ้ง เช่น งานในเหมือง
งานในทะเลทราย เป็นตน้
ผทู้ จี่ ะถอื ศลี อดตอ้ งมคี วามพรอ้ มทง้ั ดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ และมคี วามแนว่ แน่ ทจ่ี ะฝา่ ฟนั อปุ สรรค
ความยากลำ� บากดว้ ยความสมคั รใจตลอดเดอื นรอมฎอน ภารกจิ ทผี่ ถู้ อื ศลี อดควรกระทำ� ตลอดชว่ งเดอื นรอมฎอน คอื
การศกึ ษาพระคมั ภรี อ์ ลั กรุ อา่ นเพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจ อยา่ งถอ่ งแทแ้ ละสามารถ ปฏบิ ตั ติ ามพระวจั นะของ พระเจา้ ไดโ้ ดย
ไมผ่ ดิ เพย้ี น ดว้ ยคตทิ างศาสนาวา่ เดอื น รอมฎอนคอื เดอื นทพ่ี ระผเู้ ปน็ เจา้ ทรงประทานคมั ภรี อ์ ลั กรุ อา่ นใหเ้ ปน็ ธรรมนญู
ชีวิตของมุสลิมทุกคนพึงยึดถือ ปฏิบัติไว้ให้มั่นชาวมุสลิมจึงยึดถือว่าเดือนรอมฎอนเป็นเดือนที่มีความประเสริฐ
การปฏบิ ตั ศิ าสนพธิ ีและท่องค�ำภีรอ์ ลั กุรอ่านในเดือนรอมฎอนน้จี ึงปฏิบตั ิเปน็ กรณพี ิเศษ
ระยะเวลาการถือศลี อดในแตล่ ะวันจะดำ� เนนิ ไป ในช่วงรงุ่ อรุณจนถงึ พลบคำ่� เมอื่ พน้ เวลาดังกลา่ ว
แลว้ จงึ สามารถละศลี อด สามารถรบั ประทานอาหาร ดมื่ เครอ่ื งดม่ื และปฏบิ ตั กิ จิ วตั รไดต้ ามปกติ แตต่ อ้ งกระตอื รอื รน้
ละศีลอดทันทีในเวลาท่ีพระผู้เป็นเจ้าได้ ก�ำหนดไว้ให้เพ่ือการรักษาคุณงามความดีของผู้ปฏิบัติวิธีการละศีลอด
ทชี่ าวมสุ ลมิ ยดึ ถอื คอื ใหร้ บี ละศลี อดกอ่ นละหมาด และรบั ประทานผลอนิ ทผลมั และดม่ื นำ้� เพอื่ ชดเชยนำ�้ วติ ามนิ แรธ่ าตุ
และสารอาหารที่จ�ำเป็นที่ สูญเสียไปในระหว่างวันการถือศีลอดจะด�ำเนินไปตลอดทั้งเดือนรอมฎอน กระท่ังเข้าสู่
๑๐ คืน สดุ ท้ายของเดือนชาวมสุ ลมิ จะปฏิบตั ิศาสนกิจเรียกวา่ เอี๊ยะตกิ าฟ คือ การบ�ำเพญ็ ตนเพ่ือประกอบศาสนกิจ
ในมสั ยดิ อาทิ การละหมาด การอา่ นคำ� ภรี อ์ ลั กรุ อา่ น การขอดอุ าอ์ ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ภิ ายในมสั ยดิ เทา่ นนั้ และไมส่ ามารถ
ออกจากมัสยิดได้ นอกจากเหตุจ�ำเป็นเท่าน้ันเม่ือสิ้นสุดการถือศีลอดในวันอิฎิลฟิตรี หรือ วันอีด คือ วันที่ ๑
ของเดือนเชาวาล (เดือน ๑๐ ต่อจากเดือนรอมฎอน) ชาวมุสลิมจะอาบน�้ำช�ำระร่างกาย สวมเส้ือผ้าสวยงาม
ทานอาหารเลก็ นอ้ ยกอ่ นจะไปรว่ มละหมาดอฎิ ลิ ฟติ รี ซงึ่ เปน็ การละหมาดรว่ มกนั ทล่ี านกวา้ ง จา่ ยซะกาต (ฟติ เราะห)์
เยยี่ มเยียนญาติมิตรเพ่ือใหอ้ ภยั และอวยพรให้ แก่กนั เพ่อื เร่ิมต้นการด�ำเนนิ ชีวิตในวันใหมอ่ ยา่ งผาสกุ

หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 29

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

๕.๙ ประเพณีลอยกระทง

“ลอยๆ กระทง ลอยกระทงกนั แล้ว ขอเชิญน้องแก้วออกมาร�ำวงๆ วนั ลอยกระทง บญุ จะสง่
ให้เราสขุ ใจๆ”
ความรู้สึกสขุ ใจ และความสนุกสนานจาก ทว่ งท�ำนองบทเพลง เสียงดนตรี ทีค่ ุน้ หูมาตง้ั แต่เด็กๆ
สอื่ สารใหร้ สู้ กึ ถงึ บรรยากาศรมิ สายนำ้� ยามคำ�่ คนื แสงไฟระยบิ ระยบั เมอื่ ยามแสงเทยี นในกระทงสอ่ งแสงกระทบคลน่ื
ผวิ นำ�้ มองดู กระทงทก่ี ำ� ลงั ลอ่ งลอยไหลไปกบั สายนำ้�
ให้พัดพาเคราะห์โศกโรคภัยท่ีเอาใส่ลงในกระทง
ใหแ้ มน่ ำ�้ กลนื กนิ ความโชคร้ายทง้ั มวล
ลอยกระทง เป็นประเพณี
ของไทยที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแต่โบราณ ในอดีต
งานลอยกระทงเร่ิมท�ำตั้งแต่ กลางเดือน ๑๑
ถึงกลางเดือน ๑๒ ซ่ึงเป็นฤดูน�้ำหลาก น�้ำจะเต็ม
สองฝัง่ แม่นำ้� ท่นี ยิ มมาก คอื ช่วงวนั เพ็ญเดอื น ๑๒
เพราะพระจนั ทร์เตม็ ดวงทำ� ให้แมน่ ำ�้ ใสสะอาด แสงจนั ทรส์ ่องเวลากลางคนื เปน็ บรรยากาศที่สวยงาม เหมาะแก่การ
ลอยกระทง เดมิ พธิ ลี อยกระทงเรียกวา่ พระราชพิธีจองเปรยี งชักโคม ลอยโคม ซงึ่ เปน็ พิธขี อง พราหมณ์ เพอ่ื บูชา
พระเป็นเจ้าท้ังสาม คือ พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม คร้ันคนไทยรับนับถือ พระพุทธศาสนา ก็ท�ำพิธี
ยกโคมเพ่ือบชู าพระบรม สารรี กิ ธาตุ พระจุฬามณี ณ สวรรคช์ นั้ ดาวดึงส์ ลอย โคมบูชาพระพทุ ธบาท ณ หาดทราย
แมน่ ำ้� นมั มทานที ประเทศอินเดีย
เมอ่ื ครงั้ สโุ ขทยั เรยี กวา่ การลอยพระประทปี หรอื ลอยโคม เปน็ งานนกั ขตั ฤกษร์ น่ื เรงิ ของประชาชน
ทั่วไป ตอ่ มานางนพมาศหรือท้าวศรีจุฬาลักษณส์ นมเอกของ พระรว่ ง ไดค้ ิดประดิษฐด์ ัดแปลงเปน็ รปู กระทงดอกบัว
แทนการลอยโคม พระร่วงทรงให้ลอยกระทงตามสายน้�ำไหล ในหนังสือต�ำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ พระร่วงตรัสว่า
“แตน่ ีส่ ืบไปเบือ้ งหน้า โดยลำ� ดับกษตั ริยใ์ นสยามประเทศถึงกาลก�ำหนดนักขัตฤกษ์วนั เพญ็ เดือน ๑๒ ให้ท�ำโคมลอย
เป็นรูปดอกบัวอุทิศสักการบูชาพระพุทธบาทนัมฆทานที ตราบเท่ากัลปาวสาน” การลอยกระทง หรือลอยโคม
ในสมยั นางนพมาศ กระทำ� เพอื่ เปน็ การสกั การะรอยพระพทุ ธบาททแ่ี มน่ ำ�้ นมั มทานที ซง่ึ เปน็ แมน่ ำ้� สายหนง่ึ อยใู่ นแควน้
ทกั ขิณาบถของประเทศอนิ เดีย ปจั จุบนั เรยี กว่า แมน่ ้�ำเนรพทุ ทา
การลอยกระทงในปัจจบุ ัน ยังคงรักษารูปแบบ เดมิ เอาไวไ้ ดต้ ามสมควร เมือ่ ถงึ วนั เพญ็ พระจนั ทร์
เตม็ ดวงในเดอื น ๑๒ ชาวบา้ นจะจัดเตรียมทำ� กระทงจากวัสดุ ท่หี าง่ายตามธรรมชาติ เชน่ หยวกกล้วยและดอกบวั
นำ� มาประดษิ ฐเ์ ป็นกระทงสวยงาม ปักธูปเทียนและ ดอกไม้เครอ่ื งสักการบชู า ก่อนทำ� การลอยในแมน่ �้ำก็จะอธิษฐาน
ในสิ่งท่ีมุ่งหวัง พร้อมขอขมาต่อพระแม่คงคา ตามคุ้มวัดหรือสถานที่จัดงานหลายแห่งมีการประกวดกระทง
ประกวดนางนพมาศ และมีมหรสพสมโภชใน ตอนกลางคืน นอกจากนั้นยังมีการจุดดอกไม้ไฟ พลุ ตะไล
ซ่ึงในการเล่นต้องระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ วัสดทุ ีน่ �ำมาใช้กระทง ควรเป็นของที่สามารถยอ่ ยสลายไดง้ ่าย ตามธรรมชาต ิ
นอกจากนี้แล้วส�ำหรับความเชื่อของคนไทยยังมี เหตุผลอ่ืนท่ีให้เกิดประเพณีลอยกระทง เช่น การลอยกระทง
เพ่ือขอขมาแก่พระแม่คงคา เพราะได้อาศัยน�้ำท่านกินและใช้ อีกทั้งมนุษย์มักจะท้ิงขยะและถ่ายส่ิงปฏิกูลลงไป
ในน้ำ� ด้วย หรอื เพือ่ ลอยทุกข์ โศกโรคภัยและสิ่งไม่ดคี ลา้ ยกบั พิธลี อยบาปของพราหมณ์

30 หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

บ๒ทท่ี พฒั นาการดา้ นประวัติศาสตรอ์ ำ�เภอทา่ ศาลา

สาระสำ� คญั

เรียนรู้เก่ียวกับล�ำดับความเป็นมาของอ�ำเภอท่าศาลา ตั้งแต่อาณาจักรตามพรลิงค์ สมัยกรุงสุโขทัย
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยกรุงธนบุรี จนถึงสมัย
กรุงรตั นโกสินทร์ตอนตน้

ตัวชีว้ ดั

๑. อธิบายความเป็นมาของอำ� เภอทา่ ศาลาในยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์
๒. อธิบายความเป็นมาของอำ� เภอท่าศาลาช่วงทเี่ ปน็ แคว้นอิสระบนคาบสมุทรมลายู
๓. อธบิ ายการความเปน็ มาของอำ� เภอทา่ ศาลาช่วงทเ่ี ป็นส่วนหนง่ึ ของอาณาจักรไทย

ขอบขา่ ยเนื้อหา

เรือ่ งท่ี ๑ อำ� เภอทา่ ศาลายคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์
๑.๑ ยุคหิน
๑.๒ ยคุ โลหะ
เร่ืองที่ ๒ อำ� เภอทา่ ศาลาช่วงทีเ่ ป็นแควน้ อสิ ระบนคาบสมทุ รมลายู
๒.๑ ทา่ ศาลายคุ ก่อนอาณาจกั รตามพรลิงค์
๒.๒ อาณาจกั รตามพรลิงคย์ ุคท่ี ๑
๒.๓ แหลง่ โบราณคดีท่ีสำ� คญั สมัยอาณาจกั รตามพรลิงค์ยคุ ท่ี ๑
๒.๓.๑ โบราณสถานโมคลาน
๒.๓.๒ โบราณคดีทงุ่ นำ้� เค็ม
๒.๓.๓ โบราณสถานไทรขาม
๒.๓.๔ โบราณสถานวดั ตาเณร
๒.๓.๕ โบราณสถานตมุ ปัง (วัดร้าง)
๒.๓.๖ โบราณสถานเกาะพระนารายณ์
๒.๓.๗ วดั มเหยงคณ ์
๒.๓.๘ วัดนางตรา หรือสมัยกอ่ นเรยี กว่าวัดพะนังตรา
๒.๓.๙ โบราณสถานบ้านนางนำ� สงั ขท์ อง
๒.๓.๑๐ โบราณสถานบา้ นนายสว่าง พรหมสวุ รรณ
๒.๓.๑๑ แหลง่ โบราณสถานวัดปา่ เรยี น
๒.๓.๑๒ โบราณสถานวดั ดอนใคร

หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 31

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

เรอ่ื งที่ ๓ อำ� เภอท่าศาลาชว่ งที่เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจักรไทย
๓.๑ ยุคกรงุ สโุ ขทยั (พ.ศ.๑๗๘๐-๑๙๘๑)
๓.๒ ยคุ กรงุ ศรอี ยุธยา (พ.ศ.๑๘๙๓-๒๓๑๐)
๓.๓ สมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนต้น
๓.๔ สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนกลาง
๓.๕ สมัยกรงุ ศรีอยุธยาตอนปลาย
๓.๖ ยุคกรุงธนบุรี พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕
๓.๗ ยคุ กรงุ รตั นโกสินทร์ พ.ศ.๒๓๒๕-ถึงปจั จบุ ัน

เวลาท่ีใช้ในการศึกษา ๔๐ ชว่ั โมง

สอ่ื การเรยี นรู้

๑. ชดุ วิชาท่าศาลาศึกษา รหสั รายวชิ า สค ๒๓๐๐๑๒๗
๒. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชุดวชิ าท่าศาลาศึกษา รหสั รายวิชา สค ๒๓๐๐๑๒๗
๓. สื่อเสรมิ การเรยี นรอู้ ่ืน ๆ

ชุมชนซ่ึงเป็นท่ีต้ังของอ�ำเภอท่าศาลาปัจจุบัน ได้ปรากฏหลักฐานร่องรอยการอาศัยของมนุษย์
มาตงั้ แตย่ คุ หนิ ปรากฏชดั จากการพบเครอื่ งมอื ในเขตลมุ่ นำ�้ คลองกลายและบรเิ วณใกลเ้ คยี ง และตอ่ เนอื่ งมาทกุ ลมุ่ นำ้�
ในเขตอำ� เภอท่าศาลา จนกลายเป็นชุมชนลมุ่ นำ�้ พัฒนามาเป็นชมุ ชนเมือง และเปน็ อาณาจักรในเวลาตอ่ มา ดงั น้ี
อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ เปน็ อาณาจกั รทอ่ี ยตู่ ง้ั บนคาบสมทุ รสยาม เรม่ิ พทุ ธศตวรรษท่ี ๖ แบง่ ออกเปน็ ๓ ยคุ
คือ ตามพรลิงค์ยุคที่หนึ่งมีศูนย์กลางท่ีสิชลและท่าศาลา ซ่ึงปรากฏหลักสำ� คัญแหล่งโบราณสถานส�ำคัญกระจายอยู่
ทวั่ ไปตลอด ๑๑ ลมุ่ น้ำ� สำ� คญั ในนครศรีธรรมราช โดยมีศาสนาพราหม์ เปน็ หลกั ยคุ ทีส่ องมีศนู ยก์ ลางท่ีเมอื งพระเวียง
ซ่ึงชนส่วนใหญ่เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน และยุคท่ีสามมีศูนย์กลางที่เมืองนครศรีธรรมราช
โดยถอื ศาสนาพทุ ธแบบหนิ ยานเปน็ หลกั ครนั้ ถงึ ตน้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ไดเ้ ปลยี่ นชอื่ เมอื งมาเปน็ ศรธี รรมราชมหานคร
หรอื ทีเ่ รยี กว่า ศริ ธิ รรมนคร ในพงศาวดารโยนก
สมยั กรงุ สโุ ขทยั ตำ� นานเมอื งนครศรธี รรมราชบนั ทกึ วา่ พ.ศ.๑๘๓๐ พระพนมทะเลศรมี เหสวสั ดทิ ราธริ าช
ผู้ครองเมืองเพชรบุรี ซ่ึงเป็นหลานปู่ของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ที่ถูกส่งไปปกครองเมืองเพชรบุรี ครั้นอาณาจักร
นครศรธี รรมราชลม่ สลายจากโรคระบาด พระเจา้ ศรธี รรมโศกราชสน้ิ พระชนมจ์ ากโรคหา่ บา้ นเมอื งขาดผนู้ ำ� พระพนม
ทะเลศรีมเหสวัสดิทราธิราช จึงส่งพระพนมวังกับพระนางสะเดียงทองมาซ่อมเมืองนครศรีธรรมราช พระพนมวัง
และพระนางสะเดียงทองยกพลมาต้ังหลักท่ีเมืองจงสระ (อ�ำเภอเวียงสระ) เน่ืองจากเวลาน้ันเมืองนครศรีธรรมราช
เปน็ เมอื งรา้ ง ถงึ สมยั เจา้ ศรรี าชาเปน็ พระเจา้ ศรธี รรมโศกราชไดซ้ อ่ มองคพ์ ระบรมธาตุ ซอ่ มวดั วาอาราม ซอ่ มบา้ นเมอื ง
จดั ส่งผ้คู นไปถางป่าเป็นนาตามทต่ี า่ งๆ ทั่วภาคใต้ เฉพาะที่ท่าศาลา พระพนมวังสง่ คนมาถางป่าเป็นนาท่ีทุ่งกะโดน
(บ้านโดน) ทท่ี งุ่ ไผ่ (ปจั จบุ นั เปน็ ทต่ี ง้ั มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์) ให้นายอาย เจา้ ปา เอาคนไปสร้างป่าเปน็ นาแลรกั ษา
พระใน วัดพะนงั ตรา (วดั นางตรา) ใหน้ ายแก้ว นายใส ต้งั บ้านอยู่ กรุงชงิ (นบพติ ำ� ) เปน็ ต้น
สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาตอนตน้ เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๓ สมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจา้ อู่ทอง) กอ่ นนี้
นครศรีธรรมราชเกิดโรคระบาดกลายเป็นเมืองร้าง หลังจากซ่อมแซมเมืองนครศรีธรรมราชเสร็จแล้วมีผู้คนพลเมือง

32 หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

กลับมาอยู่อาศัยอีกครั้ง แต่ผู้น�ำของนครศรีธรรมราชไม่เข้มแข็งพอท่ีจะต้ังตนเป็นผู้น�ำบนคาบสมุทรมลายู
ไดเ้ มอื งนครศรีธรรมราชจงึ เปน็ ประเทศราชของกรงุ ศรีอยุธยา
สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง พงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศบันทึกว่า ประมาณ พ.ศ.๒๐๗๓
พระมหาจักรพรรดิราชาธิราช (พระเทียรราชา) ทรงเห็นว่า ขุนอินทรเทพ มีความดีความชอบช่วยก�ำจัด
ขนุ วรวงศาธิราช และ แมศ่ รสี ดุ าจันทร์ พระองค์แต่งตงั้ ขนุ อนิ ทรเทพเปน็ เจา้ พระยาศรีธรรมโศกราช พระราชทาน
ลูกพระสนมองคห์ นง่ึ เจียดทองคู่หนงึ่ พานทองคหู่ น่งึ เตา้ น�้ำทอง กระบ่ี ก้นั หย่นั เสลีย่ งงา เสลยี่ งกลบี บัว เครือ่ งสงู
เป็นตน้ ช่วงเวลานีน้ ครศรธี รรมราชเป็นประเทศราชของกรุงศรีอยธุ ยา
สมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนปลาย ครง้ั รัชสมัยพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๐๑ จากค�ำสั่งแตง่ ต้งั
พระยาไชยาธเิ บศรเ์ ปน็ เจา้ พระยานครศรธี รรมราช ในสมดุ ตำ� แหนง่ มชี อื่ เมอื งและชอ่ื ขา้ ราชการเมอื งนครศรธี รรมราช
อยดู่ ว้ ย นา่ เสยี ดายทสี่ มดุ ตำ� แหนง่ แตง่ ตงั้ ขา้ ราชการยงั หาไมพ่ บ จงึ ไมท่ ราบวา่ ทา่ ศาลาในสมยั พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
มีเมืองใดบ้าง แต่ละเมอื งมใี ครเป็นเจา้ เมืองและมีใครเปน็ ขา้ ราชการ
สมัยกรุงธนบุรี ครั้งพระเจ้าตากสินมหาราช พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕ พระเจ้าตากสินเข้ายึดครอง
นครศรีธรรมราช ตั้งเจ้านราสุริยวงศ์ปกครองเมืองนครศรีธรรมราช เจ้านราสุริยวงศ์ทิวงคตเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๙
พระเจ้าตากสินยกฐานะเมืองนครศรีธรรมราช เป็น ประเทศราช แต่งต้ังพระปลัดหนูผู้รั้งเมืองนครศรีธรรมราช
เป็น พระเจา้ นครศรีธรรมราช
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ครั้งรัชกาลท่ี ๒ พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๙ จากค�ำส่ังแต่งตั้งข้าราชการ
เมืองนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๓๕๔ เร่ือง แต่งตั้งพระบริรักษ์ภูเบศร์เป็นพระยานครศรีธรรมราช แผ่นดินท่าศาลา
เวลาน้ันประกอบด้วยเมืองใหญ่ ๒ เมือง ได้แก่ เมืองไทยบุรี (ออกหลวงไทยบุรีศรีมหาสงคราม) เมืองอินทรคีรี
(หลวงอนิ ทรครี ศี รสี งคราม) และเมอื งเมอื งยอ่ ย ๕ เมอื ง คอื เมอื งทา่ สงู (เมอื งเพชรชลธ)ี เมอื งรอ่ นกะหรอ (ขนุ ไชยบรุ )ี
เมอื งนบพติ �ำ (ขุนเดชธานคี ุนบพิตำ� ) เมอื งกลาย (ขนุ พชิ ยั ธานีศรีสงคราม) เมืองโมคลาน (ขุนทณั ฑธ์ าน)ี เมืองไทย
บุรีและเมืองอินทรคีรีเป็นเมืองขนาดใหญ่ศักดินา ๑,๒๐๐ ไร่ ที่เหลือเป็นเมืองขนาดเล็กฐานะเจ้าเมืองเทียบเท่า
นายอ�ำเภอ เทยี บเทา่ ก�ำนัน เทยี บเทา่ ผใู้ หญบ่ ้าน ศักดินา ๖๐๐ ไร่ ๔๐๐ ไร่ และ ๒๐๐ ไร่ พ้ืนท่บี างสว่ นของเมอื ง
อนิ ทรครี ีโอนมาอย่กู ับอำ� เภอกลาย (ทา่ ศาลา) คือ ตำ� บลดอนตะโก และ ต�ำบลทอนหงส์ ปัจจบุ นั ตำ� บลทอนหงสโ์ อน
กลับไปอยกู่ บั อำ� เภอพรหมครี ี (เมอื งอินทรคีรี)
การศึกษาประวัติความเป็นมาของท่าศาลาจะท�ำการศึกษา ดังน้ี ตอนที่ ๑ ท่าศาลาสมัยก่อนยุค
ประวัตศิ าสตร์ ประกอบด้วย ๑.๑ ยคุ หิน ๑.๒ ยุคโลหะ ตอนที่ ๒ ท่าศาลาชว่ งทีเ่ ปน็ แควน้ อสิ ระบนคาบสมุทร
มลายู ประกอบด้วย ๒.๑ ท่าศาลายุคก่อนอาณาจักรตามพรลิงค์ ๒.๒ ท่าศาลายุคอาณาจักรตามพรลิงค์
ประกอบดว้ ย ๒.๒.๑ อาณาจักรตามพรลงิ ยุคที่หน่งึ (สิชล - ทา่ ศาลา) ๒.๒.๒ อาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ทีส่ อง
(เมืองพระเวียง) ๒.๒.๓ อาณาจักรตามพรลิงค์ยุคท่ีสาม (เมืองนครศรีธรรมราช) ตอนที่ ๓ ท่าศาลาช่วงท่ีเป็น
สว่ นหนงึ่ ของราชอาณาจกั รไทย อนั ประกอบดว้ ย ๓.๑ สมยั กรงุ สโุ ขทยั ๓.๒ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ๓.๓ สมยั กรงุ ธนบรุ ี
๓.๔ สมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ จะกล่าวโดยละเอียดต่อไป

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 33

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

เร่อื งที่ ๑ อำ�เภอทา่ ศาลายคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์
๑.๑ ยุคหิน หลักฐานโบราณวัตถุที่ขุดพบในเขตอ�ำเภอท่าศาลาบอกให้รู้ว่า อ�ำเภอท่าศาลามีมนุษย์

อยอู่ าศยั กนั มาตงั้ แตย่ คุ หนิ โดยขดุ พบเครอื่ งมอื หนิ ขดั ลกั ษณะคลา้ ยระนาดหนิ ทบ่ี า้ น นายชม เตม็ สงสยั รมิ คลองกลาย
ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา ซ่ึงเป็นผู้ดูแลสวนมะพร้าวของนายเห้ง คุณารักษ์ ขุดพบขณะก�ำลังขุดหลุม
ปลกู มะพรา้ ว เป็นเครอ่ื งมือยคุ หนิ ใหมช่ ว่ งอายุ ๔,๐๐๐-๖,๐๐๐ ปี กลา่ วไดว้ ่า ยุคหินแผน่ ดินท่าศาลาบางสว่ นน่า
จะจมอยใู่ ตท้ ะเล
พื้นท่ีสูงบริเวณต�ำบลนบพิต�ำ
ต�ำบลกะหรอ ต�ำบลไทยบุรี และต�ำบลท่าศาลา
ต�ำบลสระแกว้ เป็นตน้ พ้นื ทขี่ องตำ� บลดงั กล่าวนำ�้ ทะเล
ท่วมไม่ถึง แผ่นดินบริเวณน้ีเป็นท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์
ยุคหินใหม่ ขุดพบเครอ่ื งมอื ใช้สอยทีท่ ำ� มาจากหนิ และ
ท�ำมาจากดินเผาตามสถานท่ีตา่ งๆ
จากโบราณวัตถุท่ีพบโดยเฉพาะใน
แหลง่ โบราณคดยี คุ หนิ ใหม่ แสดงถงึ การกระจายตวั ของ ภาพเครื่องมือหินขัด ลักษณะคล้ายระนาดหิน พบที่บ้านนายชม เต็มสงสัย
การต้ังชุมชนบนพื้นราบเชิงเขา พ้ืนราบริมน�้ำ พ้ืนราบ ริมคลองกลาย ตำ� บลสระแก้ว อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช
แนวสันทราย โดยมแี มน่ ำ้� ลำ� คลองที่เกิดจากภเู ขาทางตอนกลาง ไหลลงสูท่ ี่ราบท้ังด้านตะวันออก และ ดา้ นตะวันตก
เป็นเส้นทางการเช่ือมโยง การเคล่ือนย้าย การกระจายตัวของกลุ่มชุมชนเกษตรกรรมต่อเนื่องมาจนย่างเข้าสู่ยุค
ประวัติศาสตร์ กำ� หนดอายชุ ุมชนโบราณยุคหนิ ใหมใ่ นพน้ื ท่ีจังหวัดนครศรธี รรมราช พบวา่ มีอายุประมาณ ๒,๐๐๐-
๔,๐๐๐ ปมี าแลว้
เครอ่ื งมอื หินขดั ขุดพบที่บา้ นของนายชม ริมคลองกลาย ตำ� บลสระแก้ว อำ� เภอท่าศาลา คล้ายกบั
ระนาดท่ีท�ำมาจากหินหลายชิ้น แต่ละชิ้นสั้นยาวไม่เท่ากัน เคาะจะมีเสียงสูงเสียงต่�ำเหมือนเสียงดนตรี ยังพบ
เคร่ืองมือหินขัดรูปร่างคล้ายระนาดเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ของวัดป่าเรียน ต�ำบลตล่ิงชัน อ�ำเภอท่าศาลา ขุดพบ
ขวานหินหลายช้ินทั้งขวานหินมีบ่าและไม่มีบ่า แหล่งโบราณคดีวัดป่าเรียนมีโบราณวัตถุตั้งแต่ยุคหิน ยุคโลหะ
ยคุ ศาสนาพราหมณ์ และ ยุคศาสนาพทุ ธ เปน็ แหลง่ โบราณคดีทส่ี �ำคัญมาก ยงั ไมม่ กี ารส�ำรวจศึกษาโดยละเอียด

ภาพเครอื่ งมือหนิ ขดั คลา้ ยระนาดหิน ขดุ พบทแี่ หลง่ โบราณคดวี ัดป่าเรียน ภาพมีดหินเฉือนเน้ือสัตว์ เครื่องมือมีดหินมีคมใช้เฉือนเนื้อสัตว์ เน้ือปลา
ตำ� บลตลง่ิ ชนั อำ� เภอทา่ ศาลา ตงั้ แสดงอยทู่ พี่ พิ ธิ ภณั ฑว์ ดั ปา่ เรยี น เจา้ อาวาส เป็นเครื่องมือของมนุษย์ในสมัยหินใหม่ พบท่ีวัดป่าเรียน ต�ำบลตล่ิงชัน
วัดป่าเรียนสนั นิษฐานวา่ นา่ จะเปน็ เคร่ืองมือเกษตรอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ อำ� เภอทา่ ศาลา ต้ังแสดงอยทู่ พ่ี ิพิธภณั ฑว์ ดั ปา่ เรียน

34 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๑.๒ ยคุ โลหะ อายุ ๒,๕๐๐-๔,๐๐๐ ปี โลหะทม่ี นษุ ยน์ ำ� มาทำ� เปน็ เครอ่ื งมอื ครงั้ แรกเรยี กวา่ สำ� รดิ โลหะ

ส�ำริดท�ำได้โดยการหลอม ทองแดง กับ ตะกั่ว หรือ ทองแดง กับ ดีบุก เข้าด้วยกัน โดยใช้ความร้อนไม่มากนัก
ไม่นานก็ค้นพบวิธีถลุงเหล็กการถลุงเหล็กต้องใช้ความร้อนมากกว่าการท�ำส�ำริด นับจากบัดนั้นเป็นต้นมา มนุษย์
น�ำโลหะมาท�ำเครือ่ งใชไ้ มส้ อยแทนทเี่ ครอื่ งมอื หิน เชน่ นำ� โลหะมาท�ำเป็นมีด น�ำมาท�ำเปน็ อาวุธ น�ำมาท�ำเครื่องมอื
การเกษตร และ นำ� โลหะมาท�ำรูปเคารพบูชา เช่น พระพทุ ธรูป (พทุ ธ) พระวษิ ณุ (พราหมณ์) เปน็ ตน้ การตั้งถ่นิ ฐาน
ช่วงท่ีสองของท่าศาลา (ช่วงแรกอยู่บนภูเขาอาศัยอยู่ในถ้�ำและเพิงผา) เร่ิมต้นจากยุคหินใหม่มนุษย์ลงจากภูเขา
มาอาศัยบนพื้นราบระหว่างเชิงเขาและสันทราย เข้าสู่ชุมชนกสิกรรมมีการปลูกพืชและเล้ียงสัตว์ เครื่องมือโลหะ
มผี ลตอ่ พฒั นาการของชมุ ชนเกษตร ทำ� ใหป้ ลกู ขา้ วไดม้ ากกวา่ เดมิ เนอื่ งจากสนมิ เหลก็ ทำ� ใหเ้ หลก็ เสอ่ื มสภาพเรว็ กวา่
สนิมที่เกิดกับส�ำริด จึงพบเห็นโบราณวัตถุที่ท�ำจากเหล็กน้อยมาก ส่วนใหญ่พบเคร่ืองมือที่ท�ำจากส�ำริด มนุษย์เร่ิม
ตั้งถิ่นฐานอย่างถาวร เลือกต้ังถิ่นฐานในภูมิประเทศที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ชุมชนโบราณจึงมีอยู่
ตามที่ราบลุ่มด้านหลังสันทราย โดยเฉพาะสองฝั่งคลองในเขตอ�ำเภอท่าศาลา ผู้คนรวมกันเป็นกลุ่มก้อน บ้านเรือน
สิ่งก่อสร้างท�ำจากวสั ดุที่มอี ยู่ตามธรรมชาติ เช่น บ้านเรือนทำ� ด้วยไม้ไผ่ หลงั คามงุ จาก พ้ืนปูไมก้ ระดาน วัสดุทนี่ �ำมา
ใชไ้ มม่ น่ั คงแขง็ แรงเสอ่ื มสลายไดง้ า่ ย การคมนาคมการขนสง่ อาศยั ลำ� นำ้� เปน็ หลกั โดยใชเ้ รอื ใชแ้ พ รวมทงั้ การเดนิ เทา้
และการใช้สตั ว์เปน็ พาหนะเดินทางไปมาหาสกู่ ับชุมชนอ่นื ๆ



ภาพโบราณวตั ถยุ คุ โลหะ ภาพแรกโลหะสำ� รดิ กลองมโหระทกึ นำ� เขา้ จากเมอื งธนั หวั ทางตอนใตข้ องเวยี ดนาม พบทคี่ ลองทา่ ทน บา้ นยวนเฒา่ ตำ� บลเทพราช
อ�ำเภอสชิ ล อกี ภาพไมท่ ราบรายละเอียด อาจเป็นพานพมุ่ หรือ จานทรงสงู

ชมุ ชนในยคุ โลหะมกี ารพบกลองมโหระทกึ สำ� รดิ ทภี่ าคใตร้ วม ๑๓ ใบ พบทน่ี ครศรธี รรมราช ๕ ใบ
ดังนี้ พบทตี่ �ำบลทา่ เรือ อำ� เภอเมือง ๑ ใบ พบที่อ�ำเภอฉวาง ๒ ใบ พบท่ีต�ำบลทา่ ขน้ึ อำ� เภอท่าศาลา ๑ ใบ พบท่ี
ตำ� บลเทพราช อำ� เภอสชิ ล ๑ ใบ นอกจากนยี้ ังพบทช่ี ุมพร ๓ ใบ พบทสี่ ุราษฎร์ธานี ๕ ใบ แสดงใหเ้ ห็นถึงพฒั นาการ
ด้านโลหะกรรม ที่น�ำมาใช้ในการประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อของชุมชน กลองมโหระทึกเป็นวัตถุท่ีน�ำเข้ามา
จากชุมชนภายนอก เม่ือมีการค้าขายแลกเปล่ียนสินค้า มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมความเช่ือกับชุมชนโพ้นทะเล

หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 35

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ที่มาจากอินเดยี จากเปอร์เซีย จากอาหรบั จากจีน จากเจนละ จากจามปา จากเวยี ดนาม เปน็ ต้น กลองมโหระทึก
ท้งั ๑๓ ใบ ทำ� ขึ้นชว่ ง พ.ศ. ๒๐๐ - ๓๐๐ เปน็ ศลิ ปะแบบ ดองซอน น�ำเข้าจากเมอื ง ธันหัว ตอนใตล้ ุ่มแมน่ ้ำ� แดง
ประเทศเวียดนาม พบกลองมโหระทึกท่ีคลองท่าทน เขายวนเฒ่า ต.เทพราช อ.สิชล หน้ากลองเส้นผ่าศูนย์กลาง
๕๒ เซนตเิ มตร คลอง ทา่ ทน เปน็ สายนำ�้ ใหญไ่ หลอยทู่ างทศิ ตะวนั ตก และ ทศิ เหนอื ของเขาคา สมยั โบราณคลองทา่ ทน
เปน็ สายนำ�้ ทสี่ ำ� คญั เปน็ แหลง่ นำ้� หลอ่ เลยี้ งศาสนสถานของพราหมณบ์ นเขาคา บนสนั ทรายปากคลองทา่ ทนเปน็ ทา่ เรอื
ขนาดใหญ่ ทุกวันน้ีเรียกว่า บ้านท่าหมาก เรือจากเมืองอ่ืนแล่นเข้าออกท่าเรือแห่งน้ีอยู่เสมอ จึงพบโบราณวัตถุ
ในคลองท่าทนถ้าค้นหากันจริงจังคงพบโบราณวัตถุอีกมาก ท่าศาลา พบวัตถุคล้ายกลองมโหระทึกท่ีสวนมะพร้าว
ของนายไพศกั ดิ์ ยอ้ ยนวล ทปี่ ากนำ้� คลองเราะ ยงั มหี มอ้ ดนิ โถนำ�้ เตา้ จนี ใสเ่ หลา้ กำ� ไล แผน่ ทอง มดี หมอ วางอยใู่ กลก้ นั
นายไพศักดิ์น�ำไปเก็บไว้ที่วัดพระบรมธาตุ ต่อมามโหระทึกถูกน�ำไปเก็บไว้ท่ีสงขลา โดยเจ้าหน้าที่ได้มาสอบถาม
นายไพศกั ด์ิถงึ รายละเอียดของสถานทแ่ี ละการขดุ พบ

เร่อื งที่ ๒ อำ�เภอทา่ ศาลาช่วงท่ีเป็นแควน้ อิสระบนคาบสมุทรมลายู

ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ หรอื ยคุ ประวตั ศิ าสตร์ กำ� หนดโดยใชต้ วั อกั ษรทข่ี ดี เขยี นเปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนภาษาพดู
ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตรไ์ มม่ กี ารบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร อาจมกี ารวาดภาพเอาไวบ้ นผนงั ถำ้� และเพงิ ผา แตเ่ ปน็ เพยี ง
รปู วาดไม่ใชต่ วั หนงั สอื หรือตัวอักษร จงึ ไมถ่ อื วา่ เป็นยคุ ประวตั ิศาสตร์
ยุคประวัติศาสตร์มีการบันทึกเร่ืองราวต่างๆ เหตุการณ์ต่างๆ เอาไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น บันทึก
เรื่องราวเอาไว้โดยแกะสลักเป็นตัวอักษรลงบนหินเรียกว่าศิลาจารึก บันทึกไว้บนดินเหนียวน�ำดินเหนียวไปเผาไฟ
จนกลายเป็นดินเผาเรียกว่าอักษรคูนิฟอร์ม (ตะวันออกกลาง) สามารถคงสภาพอยู่ได้เป็นเวลานานหลายพันปี
หากบันทึกไว้บนแผน่ ทองคำ� สามารถคงสภาพอยไู่ ด้นานหลายหมนื่ ปี เน่อื งจากแผน่ ทองคำ� ไม่เป็นสนิม ส�ำหรบั หวั ข้อ
ทา่ ศาลาในชว่ งทเี่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รอสิ ระบนคาบสมทุ รมลายู แบง่ เปน็ ๒ ชว่ ง คอื ทา่ ศาลายคุ กอ่ นอาณาจกั ร
ตามพรลิงค์ (พ.ศ. ๑ - ๖๐๐) และ ทา่ ศาลายคุ อาณาจักรตามพรลิงค์ (พ.ศ. ๖๐๑ - ๑๘๒๐) มีรายละเอียดดงั นี้

ภาพศิลาจารึกวัดมเหยงคณ์ พบที่วัดมเหยงคณ์
บ้านลุ่มโหนด ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา
เมอื่ พทุ ธศตวรรษที่ 12 จดุ เรม่ิ ตน้ ของยคุ ประวตั ศิ าสตร์
บนคาบสมุทรมลายู ตัวอักษรปัลวะ ภาษาสันสกฤต
ผู้จารึกน่าจะเป็นชาวอินเดียแท้ เพราะตัวอักษร
ท่ีเกะสลักลงบนก้อนหนิ สวยงามมาก ศลิ าจารกึ หลักนี้
ตง้ั แสดงที่พิพธิ ภัณฑสถาน

36 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๒.๑ ท่าศาลายุคก่อนอาณาจักรตามพรลงิ ค์ (พุทธศตวรรษท่ี ๑ - ๖ พ.ศ. ๑ - ๖๐๐)

เวลานี้ยังอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ลงจากภูเขามาอาศัยอยู่บนพ้ืนราบกว้าง ระหว่าง
เทือกเขาหลวงกับสันทรายของชายฝั่งอ่าวไทย ประกอบอาชีพท�ำกสิกรรมเพาะปลูกเล้ียงสัตว์ ประมาณ
ต้นพุทธศตวรรษชาวอินเดียแล่นเรือมาค้าขายและเผยแผ่ศาสนา มาแสวงหาทรัพย์สมบัติในดินแดนท่ีพวกเขา
เรียกกันว่า สุวรรณภูมิ โดยเดินเรือมาถึงฝั่งตะวันตกแล้วข้ึนบกที่ ตักโกลา และท่าต่างๆ เดินทางข้ามคาบสมุทร
ถึงฝั่งตะวันออก ที่เรียกกันว่า คาบสมุทรมลายู พุทธศตวรรษท่ี ๓ พราหมณ์ชาวอินเดียกับคนพื้นเมืองกัมพูชา
รว่ มกนั กอ่ ตง้ั อาณาจกั รฟนู นั ขนึ้ ในดนิ แดนของประเทศกมั พชู า อาณาจกั รฟนู นั มอี ำ� นาจครอบคลมุ เอเชยี ตะวนั ออก
เฉียงใต้ท้ังหมด กล่าวเฉพาะคาบสมุทรมลายู ชาวอินเดียที่เดินทางเข้ามามีอารยธรรมเหนือกว่าชาวพื้นเมือง
ต้ังตนเป็นผู้น�ำเกิดเป็นชุมชนขนาดย่อม กระจัดกระจายอยู่บนคาบสมุทรมลายู การเกิดชุมชนขนาดย่อมดังกล่าว
ในขณะท่ีผู้คนของชุมชนไม่มีความรู้เร่ืองสุขภาพอนามัย เป็นสาเหตุส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดโรคระบาด จนต้องอพยพ
โยกย้ายถิ่นท่ีอยู่อาศัยกันเสมอ อ�ำเภอท่าศาลาเป็นส่วนหนึ่งของคาบสมุทรมลายู มีลักษณะการเกิดชุมชนโบราณ
ในแบบเดียวกัน ชุมชนท่าศาลาและชุมชนอ่ืนในละแวกนี้ นิยมสร้างบ้านที่อยู่อาศัยใกล้กับแม่น้�ำล�ำคลอง เช่น
ชมุ ชนลมุ่ นำ�้ คลองกลายอนั เปน็ สายนำ�้ ขนาดใหญ่ ชมุ ชนลมุ่ นำ�้ คลองทา่ เปรง (คลองเตาหมอ้ ) ชมุ ชนลมุ่ นำ�้ คลองทา่ พดุ
(คลองท่าพุดสายเก่า) ชุมชนลุ่มน้�ำคลองตูน (คลองยายปุด คลองสิงห์) ชุมชนลุ่มน้�ำคลองเกียบ (คลองลุ่มเข้)
ชุมชนลุ่มน้�ำคลองชุมขลิง (คลองมะยิง) ชุมชนลุ่มน้�ำคลองลาว (คลองโต๊ะเน็ง) และ ชุมชนลุ่มน้�ำคลองอ้ายเขียว
(คลองอา้ ยคู คลองหญา้ ปลอ้ ง คลองจนั พอ คลองอูต่ ะเภา) เป็นตน้ การเข้ามาของชาวอนิ เดียน�ำความเชอ่ื ทางศาสนา
เข้ามาด้วย ศาสนาพราหมณ์มีทั้งลัทธิไศวนิกาย และลัทธิ ไวษณพนิกาย ศาสนาพุทธมีท้ังหินยาน และ มหายาน
ชาวอนิ เดยี ทีเ่ ขา้ มามที ้งั นักแสวงโชคลาภ โจรผู้ร้าย ขุนนาง นักบวช และ เชอ้ื พระวงศ์ของกษตั ริย์ อีกหลายรอ้ ยปี
ตอ่ มาเกดิ เป็นแว่นแคว้นอสิ ระเล็กๆ มากมายหลายแวน่ แคว้น จากนนั้ มกี ารรวบรวมแคว้นตา่ งๆ เข้าด้วยกนั พฒั นา
เป็นอาณาจักรที่มีกษัตริย์ปกครอง อาณาจักรกว้างใหญ่ขึ้นมีเขตแดนชัดเจนข้ึน มีสิ่งก่อสร้างของศาสนาพราหมณ์
และ ศาสนาพุทธ สร้างอยู่บนเนินเขาบ้าง สร้างอยู่บนพื้นราบบ้าง มีอยู่มากมายกระจายไปท่ัวทั้งอ�ำเภอท่าศาลา
อ�ำเภอสิชล และ อำ� เภออื่นๆ พบเห็นไดโ้ ดยทว่ั ไป

๒.๒ อาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ท่ี ๑ (พุทธศตวรรษท่ี ๗ - ๑๓ พ.ศ. ๖๐๑ ถึง พ.ศ. ๑๓๐๐)

อาณาจักรตามพรลิงค์ปรากฏให้เห็นเป็นคร้ังแรกเมื่อต้นพุทธศตวรรษท่ี ๗ บันทึก คัมภีร์มหา
นิทเทศติสสเมตเตยยสูตร อันเป็นวรรณคดีอินเดียโบราณ บันทึกเป็นภาษาบาลี เมื่อพุทธศตวรรษที่ ๘ กล่าวถึง
การเดนิ ทางของนกั เผชญิ โชคเพอ่ื แสวงหาโชคลาภ แสวงหาความรำ่� รวยในดนิ แดนตา่ งๆ ชอื่ เมอื งทป่ี รากฏอยใู่ นคมั ภรี ์
มหานิทเทศ เป็นเมืองท่าในภูมิภาคท่ีต้ังอยู่บนเส้นทางการค้าและการเดินเรือ เช่น เมืองท่าในอินเดีย เมืองท่า
อเล็กซานเดรีย เมืองท่าในศรลี ังกา เมืองทา่ ในพมา่ เมอื งทา่ ในชวา และเมอื งทา่ บนคาบสมทุ รมลายู เมืองทา่ เหล่านี้
มอี ยเู่ มอื งหนงึ่ เรยี ก กะมะลงิ หรอื ตะมะลงิ เมอื งกะมะลงิ ทก่ี ลา่ วนี้ หมายถงึ เมอื งตามพรลงิ ค์ ซงึ่ เปน็ เมอื งทา่ ทสี่ ำ� คญั
บนคาบสมุทรสยามตั้งแต่ศตวรรษท่ี ๗ อาณาจักรตามพรลิงค์ยุคท่ี ๑ อาณาจักรตามพรลิงค์ในยุคน้ีตั้งอยู่บริเวณ
อ�ำเภอสิชล และ อ�ำเภอท่าศาลา มีศูนย์กลางอยู่ท่ี เขาคา พระราชวังของอาณาจักรตามพรลิงค์น่าจะอยู่บริเวณ
วัดสธุ รรมาราม (สระใหญ)่ ทางทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของเขาคา บา้ นเรอื นของชาวเมอื งตามพรลงิ คก์ ระจายไปทัว่
ภูมิภาค ปัจจุบันเหลือซากโบราณสถานโบราณวัตถุอยู่ในต�ำบลโมคลาน ต�ำบลดอนตะโก ต�ำบลท่าศาลา
ต�ำบลไทยบุรี ต�ำบลท่าขึ้น ต�ำบลสระแก้ว ต�ำบลตลิ่งชัน ต�ำบลกลาย ของอ�ำเภอท่าศาลา ต�ำบลนาเหรง
ของอ�ำเภอนบพติ ำ� ตำ� บลฉลอง ตำ� บลเสาเภา ต�ำบลเทพราช ต�ำบลสิชล ตำ� บลท่งุ ปรงั ตำ� บลเขาน้อย ของอำ� เภอสิชล

หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 37

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

สว่ นทา่ เรอื ใหญข่ องอาณาจกั รตามพรลงิ คค์ วรจะอยทู่ ปี่ ากนำ้� คลองทา่ ทน ตรงบรเิ วณ บา้ นทา่ หมาก ยงั มที า่ เรอื อนื่ ๆ
เช่น ทา่ เรือปากน�้ำคลองทา่ หนิ สองฝง่ั คลองท่าหินมีศาสนสถานและบ้านเรอื นของชาวเมอื งตามพรลงิ คอ์ ย่อู าศัยกนั
หนาแน่น ยังมีท่าเรือท่ีปากน้�ำคลองกลาย ท่าเรือปากคลองกลายก็มีความส�ำคัญมากเช่นเดียวกัน มีศาสนสถาน
และบ้านเรือนของชาวเมืองตามพรลิงค์อยู่อาศัยกันหนาแน่น ทั้งทางฝั่งสระแก้ว (ฝั่งขวา) และ ฝั่งกลาย (ฝั่งซ้าย)
ท่าเรือปากน�้ำคลองท่าเปรง หรือ เรียกว่าปากคลองเตาหม้อ ขุดพบสิ่งของโบราณมากมาย ท่าเรือปากน�้ำคลอง
ท่าสูง ริมคลองท่าสูงในที่ดินของผู้ใหญ่อาภรณ์ บุญญวงศ์ ขุดพบดาบโบราณ สร้อยทองค�ำ ชิ้นส่วนกระดูกมนุษย์
(ทรัพย์สมบัติท่ีขุดพบถูกชาวบ้านถือครองเป็นเจ้าของ) ท่าเรือปากคลองชุมขลิง ท่าเรือปากคลองในเขียว อู่ตะเภา
เป็นท่าเรือส�ำคัญของศาสนาพราหมณ์ เป็นท่าเรือของชุมชนโบราณโมคลาน ขุดพบเหรียญเงินฟูนัน ๑๕๐ เหรียญ
เปน็ ต้น ตามทา่ เรอื ของปากนำ้� ดังกล่าว มกั ขดุ พบโบราณวตั ถุเป็นจ�ำนวนมาก เช่น ซากเรอื เดนิ ทะเล โอง่ ไห หมอ้
จาน ชาม เหรียญเงนิ เหรยี ญทอง และ มกี ารขุดพบกลองมโหระทึกส�ำรดิ วัฒนธรรมดองซอนในประเทศเวยี ดนาม
พบทีค่ ลองทา่ ทน บ้านเขายวนเฒ่า ต�ำบลเทพราช อำ� เภอสชิ ล เปน็ ตน้
เมอื่ กลา่ วถงึ อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ มหี ลกั ฐานบอกเลา่ ถงึ อาณาจกั รแหง่ นอี้ ยมู่ ากมาย ทง้ั ในบนั ทกึ
ของอินเดยี จีน อาหรบั ทุกคนยอมรับว่ามอี าณาจกั รนี้อยูท่ ่นี ครศรธี รรมราช แต่นักประวตั ิศาสตรแ์ ละนกั โบราณคดี
กลับหลีกเล่ียงที่จะบอกว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ต้ังอยู่ที่ใด มีบางคนต้ังสมมุติฐานว่าอาณาจักรตามพรลิงค์น่าจะต้ัง
อยทู่ เี่ ดยี วกบั เมอื งพระเวยี ง หรอื เมอื งตามพรลงิ คน์ า่ จะตง้ั อยทู่ เี่ ดยี วกบั เมอื งนครศรธี รรมราช อยา่ งไรกต็ ามมคี วามจรงิ
อยูอ่ ย่างหนึง่ คอื ช่ือของอาณาจักรตามพรลิงค์มคี วามเกยี่ วขอ้ งสัมพนั ธก์ ับศาสนาพราหมณ์ แตห่ ลักฐานที่มอี ยู่
ในเมืองพระเวียง และ หลักฐานท่ีมีอยู่ในเมืองนครศรีธรรมราช ไม่พบโบราณสถานของพราหมณ์ขนาดใหญ่อยู่เลย
อาณาเขตเมอื งพระเวยี งทศิ ใตจ้ ดคลองคพู าย ทศิ เหนอื จดคลองสวนหลวง และ ขยายไปถงึ คลองปา่ เหลา้ เมอื งพระเวยี ง
มแี ตว่ ดั วาอารามของศาสนาพทุ ธ เชน่ วดั สวนหลวงตะวนั ออก วดั สวนหลวงตะวนั ตก วดั บอ่ โพง วดั เพชรจรกิ ตะวนั ออก
วดั เพชรจรกิ ตะวนั ตก วัดพระเวียง วัดกฏุ ิ วดั พระเสดจ็ นอกเมืองทางเหนือกม็ ีวัดชายนา วัดทา้ วโคตร วัดโคกธาตุ
เปน็ ตน้ ขณะทอ่ี าณาเขตเมอื งนครศรธี รรมราชทศิ ใตจ้ ดคลองปา่ เหลา้ ทศิ เหนอื จดคลองหนา้ เมอื ง ไมพ่ บไมเ่ หน็ โบราณ
สถานของพราหมณ์ที่มีขนาดใหญ่อยู่ในตัวเมือง แม้แต่การประกอบพิธีกรรมของพราหมณ์เมืองนครศรีธรรมราช
ก็ใช้วัดพระบรมธาตุเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม เนื่องจากไม่มีโบสถ์พราหมณ์ให้ใช้นั่นเอง โบราณสถานที่มีอยู่
กเ็ ปน็ วดั วาอารามของศาสนาพทุ ธ เชน่ วดั พระบรมธาตุ วดั หนา้ พระบรมธาตุ วดั หนา้ พระลาน วดั สระเรยี ง วดั พระนคร
วัดเสมาเมือง วัดเสมาชัย วัดสวนป่าน เป็นต้น โบราณสถานของพราหมณ์ที่มีอยู่ก็มีขนาดเล็ก เช่น ฐานพระเล่ียม
หอพระอศิ วร หอพระนารายณ์ และเสาชงิ ชา้ สง่ิ กอ่ สรา้ งดงั กลา่ วถกู สรา้ งขน้ึ มาในชนั้ หลงั อกี ทงั้ โบราณวตั ถทุ เี่ ปน็ รปู
เคารพของศาสนาพราหมณ์ เชน่ พระวิษณุ พระศิวะ ศิวลึงค์ ฐานโยนโิ ทรณะ รวมทงั้ ศลิ าจารึกหลักต่างๆ สง่ิ ดงั กล่าว
เหลา่ นส้ี ามารถเคลอ่ื นยา้ ยไปมาได้ โบราณวตั ถทุ ม่ี อี ยใู่ นเมอื งพระเวยี ง ทม่ี อี ยใู่ นเมอื งนครศรธี รรมราช ถกู เคลอื่ นยา้ ย
มาจากท่าศาลา สิชล นบพิต�ำ พรหมคีรี เป็นต้น ที่กล่าวว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ยุคแรกตั้งอยู่ที่เมืองพระเวียง
หรือ อาณาจักรตามพรลิงค์ยุคแรกต้ังอยู่ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช จึงไม่เป็นความความจริง แต่มีหลักฐานบ่งบอก
อย่างชัดเจนในศิลาจารึกว่าเมืองพระเวียง และ เมืองนครศรีธรรมราชเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรตามพรลิงค์
เชน่ เดยี วกนั แต่เปน็ ในชว่ งหลงั เมื่ออาณาจักรตามพรลิงค์หันมานับถอื ศาสนาพทุ ธแล้ว โดยเป็นศูนยก์ ลางอาณาจักร
ตามพรลงิ คใ์ นยุคที่ ๒ และยุคท่ี ๓ ตามลำ� ดบั
อาณาจักรตามพรลิงค์ต้องอยู่คู่กับศาสนาพราหมณ์ ช่ือของอาณาจักรมาจากส่ิงที่ส�ำคัญท่ีสุด
ของศาสนาพราหมณ์ ดังนนั้ ทต่ี ัง้ ของอาณาจกั รตามพรลิงค์ตอ้ งมีส่ิงก่อสร้างของศาสนาพราหมณ์ ในขณะทแี่ ผน่ ดิน
ของ อ�ำเภอสิชล และ แผ่นดินของอำ� เภอทา่ ศาลา เตม็ ไปดว้ ยโบราณสถานโบราณวตั ถุของศาสนาพราหมณ์ ดงั นนั้

38 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

อาณาจักรตามพรลิงคจ์ ึงเริ่มตน้ จากอำ� เภอสชิ ล และ อ�ำเภอทา่ ศาลา ทกี่ ล่าวมานอ้ี าจเปน็ คำ� ตอบของคำ� ถามท่วี ่า
โบราณสถานของศาสนาพราหมณ์ในอำ� เภอสิชล และในอำ� เภอท่าศาลา เกิดขึน้ มาได้อยา่ งไร ใครเป็นคนสรา้ ง
สร้างข้ึนมาเพื่ออะไร ท�ำไม่ต้องสร้างเสียใหญ่โตมโหฬารอย่างนี้ โบราณสถานโบราณวัตถุที่มีอยู่ในพ้ืนที่ของ
อำ� เภอสชิ ล และ ในพน้ื ทขี่ องอำ� เภอท่าศาลา จะไดร้ วบรวมแลว้ นำ� มาบันทึกไว้ในเอกสารฉบบั น้ีโดยละเอียดตอ่ ไป
ค�ำว่า ตามพรลิงค์ อันเป็นชื่อของอาณาจักรตามพรลิงค์น้ัน เป็นค�ำผสมมาจากค�ำว่า ตามพ
แปลวา่ ทอง หรือ ทองแดง กับคำ� ว่า ลงิ ค์ หรือ ลงึ ค์ คอื อวยั วะเพศชาย หมายถึง ลงิ ค์ของพระศิวะ หรอื ศิวลงึ ค์
ตั้งอยู่บน ฐานโยนิโทรณะ แทนอวัยวะเพศหญงิ ของพระอุมา ใช้ในการประกอบพิธกี รรมส�ำคญั ของศาสนาพราหมณ์
ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๗-๑๓ ถือเป็น ยุคทองของสิชล - ท่าศาลา เพราะมีส่ิงก่อสร้างของศาสนาพราหมณ์เกิดข้ึน
เปน็ อันมาก รวมท้ังบา้ นเรอื นที่อยู่อาศยั ของชาวเมอื ง กลา่ วได้วา่ สิชล - ท่าศาลา มีสงิ่ กอ่ สร้างของศาสนาพราหมณ์
มากที่สุด มากยิ่งกว่าพื้นที่ใดบนคาบสมุทรมลายู พ้ืนท่ีอ�ำเภอท่าศาลาและอ�ำเภอสิชลนับเนื่องเป็นพ้ืนที่เดียวกัน
หากเป็นแคว้นก็ถือว่าอยู่ในแคว้นเดียวกัน โบราณสถานโบราณวัตถุท่ีค้นพบอยู่ในแหล่งเดียวกัน ไม่สามารถแบ่ง
เป็นส่วนๆ ได้ ดังน้ัน การส�ำรวจค้นหาศึกษาโบราณสถานโบราณวัตถุ ที่มีปรากฏในทุกอ�ำเภอต้องท�ำไปพร้อมกัน
เพราะเกดิ ในยคุ เดียวกัน
นายคงเดช ประพัฒน์ทอง อดีตนักโบราณคดีอาวุโสท่านหน่ึงเรียกพ้ืนที่ อ�ำเภอสิชล และ
อ�ำเภอท่าศาลา ท่ีพบโบราณสถานโบราณวัตถุของศาสนาพราหมณ์เป็นจ�ำนวนมากว่า ไศวภูมิมณฑล แปลว่า
มณฑลสถานแห่งพระศิวะ โบราณสถานโบราณวัตถุท่ีมีอยู่มากมายน้ีเอง นักโบราณคดีหลายท่านลงความเห็นว่า
สิชล - ท่าศาลา คือศูนย์กลางของ อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ โบราณสถานเขาคาเปน็ สถานท่สี �ำคัญที่สุดของอาณาจักร
ตามพรลิงค์ เพราะมีก้อนหินลักษณะคล้ายศิวลึงค์อยู่บนเนินเขาด้านทิศเหนือ แท่งหินธรรมชาติท่ีตั้งเด่นเป็นสง่า
อยบู่ นฐานหินนี้ จะต้องเปน็ สัญลักษณ์สงู สดุ ทางศาสนาพราหมณ์ ซ่งึ จะเป็นอะไรอย่างอนื่ ไปไมไ่ ดน้ อกจาก ศิวลงึ ค์
บางท่านเรียกศิวลึงค์น้ีว่า ลิงคบรรพต แท่งหินโบราณด้านทิศเหนือของเขาคาเข้าข่าย ลิงคบรรพต เป็นการเลือก
ชยั ภมู ทิ ม่ี คี วามเหมาะสมกบั คตคิ วามเชอื่ ทางศาสนา เกดิ บรู ณาการในการสรา้ งบา้ นเมอื งทผี่ กู พนั อยกู่ บั ภเู ขาศกั ดสิ์ ทิ ธิ์
บนภเู ขามสี ง่ิ ทพ่ี ระศวิ ะทรงประทานมาให้ เปน็ ลงึ คท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตเิ รยี กวา่ สวยมั ภลู งึ ค์ ถา้ หาก สวยมั ภลู งึ ค์
เกิดการแตกหกั ตอ้ งเอาทองหรือทองแดงไปซอ่ ม น้อี าจเป็นที่มาของค�ำวา่ ตามพรลงิ ค์ ลงิ คบรรพตเป็นศาสนสถาน
พราหมณ์แห่งแรกที่สร้างบนเขาคา มีลักษณะเป็นเทวสถานกลางแจ้ง ไม่มีตัวอาคารครอบคลุม สร้างกลมกลืนอยู่
กับธรรมชาติ จากนั้นก็มีการสร้างเทวสถานเพ่ิมเติมบนเนินเขาทางด้านทิศใต้ อาจารย์ก่องแก้ว วีระประจักษ์
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษภาษาโบราณ กรมศิลปากร ให้ข้อสังเกตเก่ียวกับการอธิบายว่า ส่ิงใดคือ ลิงคบรรพต โดยดูท่ี
องคป์ ระกอบแวดลอ้ มของสถานทแ่ี หง่ นน้ั ถา้ มอี งคป์ ระกอบแวดลอ้ มบง่ บอกโดยชดั เจนวา่ สงิ่ นน้ั สรา้ งขนึ้ หรอื ปรบั ใช้
เพอื่ อุทศิ แดพ่ ระศวิ ะ การสถาปนาศิวลงึ คท์ มี่ ีอยใู่ นธรรมชาตบิ นยอดเขา ถือว่าสิง่ น่ันคือ ลิงคบรรพต การทมี่ โี ขดหิน
ในธรรมชาตโิ ผล่พ้นดนิ ข้นึ มาท�ำมุมเอยี ง ๗๐ - ๘๐ องศา สูง ๒ เมตรเศษ หนิ ก้อนน้มี รี อ่ งรอยการกะเทาะทีข่ อบ
ส่วนบน ท�ำให้มีลักษณะคล้ายเส้นเอ็นของหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เรียกว่า เส้นพรหมสูตร สลักเป็นเส้นดิ่ง
บนสว่ นหนา้ แลว้ ลากลงมาทางซา้ ยและทางขวา จากนน้ั กล็ ากใหไ้ ปพบกนั ทด่ี า้ นหลงั เรยี กวา่ เสน้ ปารศวสตู ร แมศ้ วิ ลงึ ค์
จากแท่งหินธรรมชาติแท่งนี้ จะมีเส้นพรหมสูตรและปารศวสูตรไม่ชัดเจน ไม่เหมือนกับศิวลึงค์ที่มนุษย์สกัดขึ้นมา
จากหิน แต่องค์ประกอบของศาสนสถานแห่งนี้ บ่งชี้ว่าแท่งหินน้ีเป็นศิวลึงค์สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ ดังนั้น
ช่ือของ อาณาจักรตามพรลิงค์ นา่ จะได้มาจาก ศิวลงึ ค์ ท่ีสถติ อยบู่ นเนนิ เขาด้านทิศเหนอื ของโบราณสถานเขาคา
หรือ อาจได้มาจาก ศวิ ลงึ คท์ องคำ� จำ� นวน ๔ องค์ที่ขดุ พบในถำ�้ เขาพลเี มือง ต�ำบลสิชล อำ� เภอสิชล เม่ือเร็วๆ น้ี

หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 39

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น


Click to View FlipBook Version