The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g3570kanyatipsa, 2021-03-10 12:45:51

ท่าศาลาศึกษา

ท่าศาลา

Keywords: ท่าศาลา,ศึกษา

ประวตั กิ ารเรยี นรู้ เปน็ ศนู ยเ์ รยี น
รู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการท�ำสวนแบบผสม
ผสานด้วยการท�ำเกษตรแบบอินทรีย์ชีวภาพการผลิต
มังคุดในฤดูกาลและนอกฤดูกาล การเล้ียงหมูคอนโดฯ
ระบบการปลกู พชื แบบผสมผสาน การใชเ้ ทคโนโลยรี ะบบ
น�้ำแบบสปริงเกอร์การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุม
โรคพืช การผลติ น้�ำหมักชวี ภาพ และการนำ� หลักวิชาการ
มาใชร้ ว่ มกบั ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น องคค์ วามรู้ การจดบนั ทกึ
ขอ้ มลู ต่างๆ เชน่ ตน้ ทุนการผลิต รายไดจ้ ากการการผลิต ราคาที่ขายได้ ตลอดจนการคำ� นวณผลตอบแทนทไ่ี ด้จาก
การขายผลผลติ เปน็ ท่ีสำ� คัญในการท�ำการเกษตร ซ่งึ สวนนายเลอ่ื น พรมวี ไดท้ ำ� การจดบันทกึ ข้อมูลดงั กลา่ วไวเ้ ป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษรทช่ี ดั เจน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การผลติ มงั คดุ ถอื ไดว้ า่ เปน็ อกี จดุ เดน่ หนง่ึ ของสวน
นายเล่ือน พรมวี
แนวคดิ /ปรชั ญาความเชอื่ การเพมิ่ รายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั ถอื เปน็ สง่ิ ทสี่ ำ� คญั อกี ประการหนงึ่
สวนนายเล่ือน พรมวี ได้ด�ำเนินการตามแนวทางของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปลูกพืชที่มีความหลากหลาย
ทั้งพืชผักสวนครัว และ พืชเศรษฐกิจหลัก โดยเน้น
การสร้างรายได้ทั้งแบบรายวัน รายเดือน และรายปี
ผลงานท่ีผ่านมาจนถึงปัจจุบัน การผลิตมังคุดในฤดูกาล
และนอกฤดูกาล การเลี้ยงหมคู อนโด ระบบการปลกู พชื
แบบผสมผสาน การใชเ้ ทคโนโลยรี ะบบนำ�้ แบบสปรงิ เกอร์
การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช การผลิต
นำ�้ หมกั ปญั หาอปุ สรรคปจั จบุ นั เสน้ ทางการเขา้ ออกและ
การเข้าไปศนู ยเ์ รียน ป้ายตา่ งๆในการนำ� เสนอ และพนื้ ที่
ในการใหค้ วามรคู้ วามสำ� เรจ็ ภมู ใิ จทไ่ี ดน้ ำ� เสนองาน และเปน็ วทิ ยากรใหก้ บั อาจารย์ นกั ศกึ ษา นกั เรยี น ประชาชนทว่ั ๆ
ไปทม่ี าศกึ ษาหาความรู้ และน�ำกลับไปพฒั นาตนเอง และชมุ ชน
การผลิตมังคุดนอกฤดูบ้านสระแก้ว โดย : นายเล่ือน พรมวี ที่อยู่ : ๑๖ หมู่ท่ี ๙
ตำ� บลสระแก้ว อ�ำเภอทา่ ศาลา
มังคุดท่าศาลามีช่ือเสียงเป็นที่รู้จักทั้งในและต่างประเทศมีลักษณะท่ีโดดเด่น คือ มีรสชาติ
หวาน อมเปรย้ี ว ถูกปากคนไทย ผลมีขนาดประมาณ ๘ – ๑๐๐ กรัมตอ่ ผล ๘ – ๑๐ ผลต่อกิโลกรมั ผวิ เรียบสีแดง
อมสม้ ไมม่ ยี างเนอ้ื ในสขี าวไมเ่ ปน็ เนอื้ แกว้ เหมาะตอ่ การสง่ ออก เปน็ พชื เศรษฐกจิ ภายในพนื้ ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช
๙ อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอท่าศาลา อ�ำเภอสิชล อ�ำเภอนบพิต�ำ อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอชะอวด
อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอเมือง และอ�ำเภอพระพรหม อ�ำเภอท่าศาลาจะปลูกมากท่ีต�ำบลสระแก้ว และค่อนข้าง
จะปลกู เปน็ สว่ นมาก ผลผลติ มงั คดุ ในฤดกู าล จะออกในชว่ ง กรกฎาคมและสงิ หาคม แตร่ าคาจะตกตำ�่ ประมาณกโิ ลกรมั
ละ ๓๐ – ๕๐ บาท ดังนั้นการที่มีการผลิตมังคุดนอกฤดูกาลจึงเป็นปัจจัยท่ีส่งเสริมให้เกษตรกรมีรายได้ท่ีเพิ่มข้ึน
และราคาสูงข้ึนตามปัจจัยที่ตลาดต้องการมากกว่าผลผลิตมังคุดตามฤดูกาลท่ีปกติ มังคุดนอกฤดูกาลจะมีราคาสูง
กโิ ลกรมั ละประมาณ ๑๒๐ – ๑๘๐ บาท ซง่ึ จะออกสตู่ ลาดประมาณ มกราคม – มนี าคม ทำ� ใหม้ เี งนิ หมนุ เวยี นในระบบ
เปน็ จำ� นวนมาก

190 หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

ขน้ั ตอนการผลิตมังคุดนอกฤดู
ตอนที่ ๑ : ตัดแต่งกง่ิ (เดอื นกมุ ภาพันธ์)
การเตรียมต้นมังคดุ ใหพ้ ร้อมในการออกดอกมีวิธีการ ดังน้ี
๑. สงั เกตดใู บของมังคุดจะตอ้ งมใี บกว้างและหนาอยู่ในระยะเพสลาด
๒. กวาดหญา้ บรเิ วณใตท้ รงพมุ่ ออกไวน้ อกบรเิ วณทรงพุม่
๓. ตัดแต่งกงิ่ นำ้� ค้างภายในทรงพ่มุ และปลายกง่ิ ให้สูงจากพนื้ ดนิ ๑.๕๐ ถงึ ๒.๐๐ เมตร
๔. เปดิ ยอดสุดออกเพือ่ ให้แสงเขา้ ภายในทรงพมุ่ ได้ ซ่งึ จะท�ำให้ต้นมีความแขง็ แรง ผลผลติ ออก
มามผี วิ ลายนอ้ ย ผลผลิตจะโตกวา่ ตน้ ท่ีไม่เปดิ ยอด แลมังคุดจะออกดอกกอ่ น

ขนั้ ตอนท่ี ๒ : เปิดตาออก (เดือนมิถนุ ายน-กรกฎาคม)
ตรวจดคู วามพรอ้ มของตน้ และใบมงั คดุ วา่ มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะออกดอกหรอื ไม่ ซงึ่ มงั คดุ ตน้ ทพี่ รอ้ ม
จะออกดอกจะตอ้ งมีลกั ษณะ ดงั นี้
๑. ใบมังคุดใบหนาและเขียวกว้าง
๒. สีใบเหมอื นกันท่วั ต้นและมีปลายใบเหลือง
๓. ให้นำ้� ตดิ ต่อกนั ๓ วัน จึงใสป่ ๋ยุ
๔. กวาดใบออกแลว้ ใสป่ ยุ๋ เรง่ สูตร ๘-๒๔-๒๔ / ๙-๒๔-๒๔ / ๑๒-๒๔-๑๒ ตน้ ละ ๑ กิโลกรัม
๕. ให้ปยุ๋ ทางใบ โดยการฉดี พน่ ทกุ ๗-๑๕ วนั / ครง้ั ให้ชุ่มท้งั รอบทรงพ่มุ

ข้นั ตอนท่ี ๓ : บำ� รุงดอกและลกู ปอ้ งกนั เพลี้ยไฟไรแดง
ให้ตรวจดตู น้ มังคุด ถา้ ต้นพร้อมออกดอกจะมลี ักษณะ ดงั น้ี
๑. งดนำ้� และปุ๋ย
๒. ใบร่วงใตโ้ คนถึง ๗๐ เปอร์เซ็นต์ หรือยงั
๓. กง่ิ มงั คดุ เหยี่ วถึงปลอ้ งท่ี ๒ หรอื ยัง
๔. เมือ่ ปล้องที่ ๒ เห่ียวมองเหน็ ชัดเจนแล้ว ใหเ้ ราใหน้ ำ้� ๕๐ เปอร์เซน็ ต์
๕. สงั เกตการณแ์ ตกตาดอกวา่ มจี ำ� นวนเท่าไหร่ ถา้ ไม่ได้ ๒๐ เปอร์เซน็ ต์ ใหเ้ รางดนำ้� ต่อไปอกี
๖. เมอ่ื ดอกออกถึง ๓๐-๔๐ เปอร์เซน็ ต์ ให้นำ�้ สม่�ำเสมอ วนั เว้น
๗. ใหส้ ังเกตดูวา่ ดอกทอ่ี อกมาว่ามียางหรอื ไม่ ถา้ ยางออกรอบตน้ เกนิ ๑๐ ดอก ใหเ้ ราใช้ยาเลย
๘. ให้สังเกตลกู หากลกู มีขนาดเทา่ กบั ด้ามของมีดพร้า ให้ใสป่ ุ๋ยบำ� รงุ สตู ร ๑๓-๑๓-๒๑

สรปุ ตารางการผลิตมงั คุดนอกฤดู

๑. เดือนธนั วาคม-เดือนมกราคม เปน็ ช่วงของการเก็บเก่ียวผลผลติ นอกฤดู
๒. เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ใหต้ ดั แตง่ กงิ่ ของมงั คดุ ใสป่ ยุ๋ และใหน้ ำ�้ มากประมาณ ๖๐ % โดยใชป้ ยุ๋ ชวี ภาพ
ควบคูก่ ับปุ๋ยเคมที ่มี เี ลขตวั หน้าสูง เพือ่ เรง่ ใบชดุ ที่ ๑ ชักน�ำให้แตกใบอ่อนหลังเก็บเก่ียว ๒ อาทติ ย์
๓. เดือนมนี าคม ให้ฉดี ยาปอ้ งกันหนอนกัดกินใบและเพลย้ี ไฟไรแดง
๔. เดอื นเมษายน ใบชดุ ที่ ๒ มลี กั ษณะเปน็ เพสลาด ในชว่ งนใ้ี หน้ ำ�้ ใสป่ ยุ๋ เรง่ นบั เวลาหลงั เกบ็ เกยี่ ว
๑๔ - ๑๖ สปั ดาห์ หรือ ๑๐๐ วันนั่นเอง จากนน้ั ให้งดนำ�้ ๙ สัปดาห์หรือ ๒ เดอื นครงึ่

รหัสวชิ า หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 191

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

๕. เดอื นมถิ นุ ายน เมอ่ื งดใหน้ ำ้� ๙ สปั ดาห์ จะสงั เกตเหน็ ลกั ษณะของมงั คดุ ทแี่ ลง้ นำ้� จนกงิ่ มงั คดุ
ปล้องที่ ๒ เห่ยี ว ถ้าจะเหน็ ให้ชัดเจนให้ดูที่ใบปลายสดุ มอี าการปลายใบตก แล้วให้นำ�้ คร้งั แรก ประมาณ ๓๐ - ๔๐
มิลลิเมตร พรอ้ มกบั ฉดี พน่ ปุ๋ยเร่งให้ชมุ่ ทั้งตน้ ถา้ หากมงั คดุ ยังไม่ออกดอกให้น้�ำอีกครง้ั ห่าง ๗ - ๑๐ วัน จ�ำนวนนำ้�
ทีใ่ ห้ประมาณ ๑๗.๕ - ๒๐ มลิ ลิลิตร
๖. เดือนกรกฎาคมมังคุดจะออกดอก

๗. ในช่วงเดอื นสิงหาคมถึงเดอื นพฤศจกิ ายน ใหน้ ำ�้ อย่างสมำ่� เสมอ
๘. ประมาณตน้ เดอื นกนั ยายนใสป่ ุ๋ยสตู รเสมอเพอ่ื บ�ำรงุ ตน้ และผล
๙. เดอื นกันยายนใหใ้ สป่ ุ๋ยทีม่ ตี วั เลขหลังสูงเช่น ๑๓-๑๓-๒๑ เพอ่ื บำ� รุงผลมังคุด
๑๐. เมอ่ื เขา้ เดอื นธนั วาคม มนี าคม กส็ ามารถเกบ็ เกยี่ วมงั คดุ ขายได้ ซงึ่ รวมระยะเวลาตง้ั แตม่ งั คดุ
เร่มิ ออกดอกจนถงึ เก็บเกีย่ วผลผลิตใชร้ ะยะเวลาประมาณ ๖ เดอื น

อุปกรณ์ท่ีจำ� เป็น
๑. ปยุ๋ เรง่ สูตร ๘-๒๔-๒๔ / ๙-๒๔-๒๔ / ๑๒-๒๔-๑๒ ต้นละ ๑ กิโลกรมั
๒. กรรไกรตดั แต่ง
๓. ไม้กวาดใบไม้หรอื หญา้
๔. ปล้อง
๕. เครอ่ื งฉดี พ่น
การผลติ มงั คดุ นอกฤดู เปน็ วธิ ที นี่ ยิ มทำ� กนั ในพนื้ ทภี่ าคใต้ โดยเฉพาะในพนื้ ทจี่ งั หวดั นครศรธี รรมราช
ซ่งึ มีปัจจัยที่เออ้ื ต่อการผลติ เป็นอยา่ งย่ิง จึงพบวา่ มีเกษตรกรประสบความส�ำเรจ็ หลายทา่ น

192 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

บ๗ทท่ี เมอื งมหาวิทยาลัย

สาระสำ� คัญ

ประวตั คิ วามเปน็ มาของการกอ่ ตงั้ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ เหตผุ ลการเกดิ ศนู ยก์ ารแพทยข์ องมหาวทิ ยาลยั
วลยั ลกั ษณ์ และผลทเี่ กิดข้ึนจากการกอ่ ตงั้ มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์

ตัวชว้ี ดั

๑. อธิบายประวตั ิความเปน็ มาของการก่อตัง้ มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์
๒. อธิบายเหตผุ ลการเกิดศูนยก์ ารแพทย์ของมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์
๓. อธบิ ายถึงผลที่เกดิ ข้นึ จากการก่อตงั้ มหาวทิ ยาลัยวลัยลักษณ์

ขอบข่ายเน้ือหา

เรอ่ื งที่ ๑ ประวัตคิ วามเป็นมาของการก่อต้ังมหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์
เรื่องที่ ๒ การเกิดศนู ย์การแพทยข์ องมหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์
เร่อื งท่ี ๓ ผลทเ่ี กดิ ข้ึนในการกอ่ ตัง้ มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์

เวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา ๔ ชั่วโมง
สือ่ การเรยี นรู้

๑. ชุดวิชาท่าศาลาศึกษา รหัสรายวิชา สค๒๓๐๙๐๙๑๒๗
๒. สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนร้ปู ระกอบชดุ วชิ าท่าศาลาศกึ ษา รหัสรายวิชา สค๒๓๐๙๐๙๑๒๗
๓. สอ่ื เสริมการเรียนรู้อน่ื ๆ

รหัสวชิ า หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 193

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

บทที่เรื่องที่ ๑ ประวตั คิ วามเป็นมาของการกอ่ ตัง้ มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์

๑.๑ ภมู หิ ลงั มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณเ์ กดิ ขนึ้ จากความพยายามของชาวนครศรธี รรมราชทต่ี อ้ งการจะมสี ถาบนั
การศึกษาระดับอุดมศึกษาข้ึนในจังหวัด ความคิดน้ีถูกจุดประกายและก่อตัวมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๐ จนกระทั่ง
ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๗ นายอเนก สิทธิประศาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช สมัยนั้นในนาม
ของชาวนครศรีธรรมราชได้เสนอเรื่องไปยังรัฐบาล ให้พิจารณาจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขณะเดียวกันประชาชนได้รวมตัวกันจัดต้ังเป็นคณะกรรมการรณรงค์ให้มีมหาวิทยาลัยท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช
เพื่อแสดงถึงพลงั ความต้ังใจใหร้ ฐั บาลทราบ
วันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๔ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยท่ี
จังหวัดนครศรีธรรมราช พร้อมทั้งได้น�ำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาเพื่อขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัย
ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์”
อนั เปน็ สรอ้ ยพระนามในสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณอ์ คั รราชกมุ ารี เมอื่ วนั ที่ ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๕
และเม่ือวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๓๕ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พุทธศักราช
๒๕๓๕ โดยพระราชบัญญัตดิ งั กลา่ วมีผลบงั คบั ใชไ้ ด้ในวนั ที่ ๘ เมษายน ๒๕๓๕ หลงั จากท่ีประกาศในราชกิจนุเบกษา
มหาวิทยาลยั วลัยลักษณจ์ ึงได้ถือเอาวนั ท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๓๕ เปน็

วนั สถาปนามหาวิทยาลยั
นบั ต้งั แต่พระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ พทุ ธศักราช ๒๕๓๕ มผี ลบงั คบั ใช้ ได้มกี ารแตง่
ตงั้ คณะอนกุ รรมการจดั หาทดี่ นิ เพอื่ จดั ตง้ั มหาวทิ ยาลยั ทจ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราชโดยคณะกรรมการชดุ นไี้ ดพ้ จิ ารณา
ท่ีดินสาธารณะประโยชน์ในอ�ำเภอท่าศาลา ท่ีข้ึนทะเบียนไว้เม่ือปีพุทธศักราช ๒๔๗๖ คือ ที่ดินสงวนทุ่งบ้านไผ่
กบั ทดี่ นิ สงวน ทงุ่ คลองปดุ ทงุ่ หาดทรายขาว และทงุ่ บอ่ นงิ เปน็ ทตี่ ง้ั มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ และกระทรวงมหาดไทย
ได้อนุมัติในหลักการให้ใช้ที่ดินสาธารณะประโยชน์ดังกล่าว ๙,๐๐๐ ไร่โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้จ่ายเงินชดเชย
คา่ ทรพั ยส์ นิ และผลอาสนิ ให้แก่ราษฎรท่ีอยใู่ นพื้นท่ีน้ัน
ขณะเดียวกันกระทรวงมหาดไทยได้อนุญาตให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
โดยส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ด�ำเนินการจัดสรรให้ราษฎรครัวเรือนละห้าไร่ตามกฎหมายที่ปฏิรูป
ที่ดินเมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๗ เพ่ือเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรท่ีไม่มีท่ีอยู่อาศัยและท่ีท�ำกิน
อันเนื่องมาจากการจดั ต้ังมหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณแ์ ละ เม่ือวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๔๐ ได้มพี ิธีมอบหนงั สอื อนุญาต
ใหเ้ ข้าทำ� ประโยชน์ (ส.ป.ก.๔-๐๑) ใหแ้ ก่ ราษฎรร่นุ แรก

๑.๒ ประวตั คิ วามเป็นมาของมหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์
พ.ศ. ๒๕๑๐ ชาวนครศรีธรรมราชเริม่ กอ่ ตวั เรียกรอ้ งให้มีการจดั ตง้ั มหาวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๒๒ ส.ส. นครศรีธรรมราช เรม่ิ เสนอร่างพระราชบัญญตั จิ ดั ตั้งมหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์
ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
พ.ศ. ๒๕๒๗ ประชาชนรวมตัวกันจัดต้ังคณะกรรมการรณรงค์ให้มีมหาวิทยาลัยท่ี
จังหวัดนครศรีธรรมราช คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่
ทีจ่ งั หวัดนครศรธี รรมราช

194 หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

๑๓ กันยายน ๒๕๓๑ คณะรัฐมนตรีมีมติใหจ้ ัดตั้งวทิ ยาลยั นครศรีธรรมราช สงั กัดมหาวิทยาลยั
สงขลานครนิ ทรเ์ พือ่ ยกฐานะเป็นมหาวทิ ยาลัยเอกเทศตอ่ ไป
๔ เมษายน ๒๕๓๓ คณะรัฐมนตรียกเลิกมติเดิมและอนุมัติให้จัดต้ังมหาวิทยาลัยที่
จังหวัดนครศรีธรรมราช
๒๐ สิงหาคม ๒๕๓๔ คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติโครงการจัดต้ังมหาวิทยาลัยที่
จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช มหาราช พระราชทานชอื่
ว่า มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๕
๒๙ มนี าคม ๒๕๓๕ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหาราช ทรงลงพระปรมาภไิ ธย
ในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์พุทธศักราช ๒๕๓๕ และมหาวิทยาลัยถือเอาวันนี้เป็นวันสถาปนา
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์
๗ เมษายน ๒๕๓๕ ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์พุทธศักราช ๒๕๓๕
ในราชกิจจานเุ บกษา
๘ เมษายน ๒๕๓๕ พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ มผี ลบงั คบั ใช ้ ๘
เมษายน ๒๕๓๖ สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอเจา้ ฟา้ จุฬาภรณ์วลยั ลักษณอ์ ัครราชกมุ ารพี ระราชทานพระอนุญาตให้อญั เชิญ
ตราพระนามของพระองคท์ า่ นเปน็ ตราประจ�ำมหาวทิ ยาลัย
๒๔ มถิ นุ ายน ๒๕๓๖ จดั ต้งั สำ� นกั งานอธิการบดแี ละหน่วยประสานงานมหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ์
กรงุ เทพมหานคร
๑๐ มกราคม ๒๕๓๙ รัฐบาลโดยมติคณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการอุทยานการศึกษาเฉลิม
พระเกยี รตใิ นวโรกาสเฉลมิ ฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๕๐ ปี
๒๑ มกราคม ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชพระราชทานช่ือ
อทุ ยานการศกึ ษาเฉลมิ พระเกยี รติ
๒๙ มีนาคม ๒๕๓๙ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารีเสด็จพระ
ดำ� เนนิ เปน็ องคป์ ระธานในพธิ วี างศลิ าฤกษอ์ าคารมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ณ อำ� เภอทา่ ศาลาจงั หวดั นครศรธี รรมราช
๑ กรกฎาคม ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าด�ำเนินงาน ณ ท่ีต้ังมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช
๒๓ พฤษภาคม ๒๕๔๑ เปดิ ดำ� เนินการรบั นักศึกษารนุ่ แรกข้ึนทะเบยี น
๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ เปดิ สอนวนั แรก

๑.๒.๑ ฐานะและรปู แบบ
ฐานะและรูปแบบตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พุทธศักราช ๒๕๓๕
มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ มฐี านะเปน็ มหาวทิ ยาลยั ของรฐั มรี ปู แบบเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในกำ� กบั ของรฐั บาลบรหิ ารอสิ ระ
จากระบบราชการ มรี ะบบบรหิ ารงานเปน็ ของตนเอง เปน็ มหาวทิ ยาลยั สมบรู ณแ์ บบ (Comprehensive University)
ที่มีการพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยในรูปแบบ (Residential University)
และเป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือชุมชนโดยจัดพ้ืนท่ีทั้งหมดของมหาวิทยาลัยให้เป็นแหล่งศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบ
ในลักษณะอทุ ยานการศึกษาและเปน็ มหาวทิ ยาลยั ท่มี วี ทิ ยาเขตเดียว

รหัสวิชา หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 195

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๑.๒.๒ ภารกิจ
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ มภี ารกจิ หลัก ๔ ประการ คือ
๑) ผลติ และพฒั นากำ� ลงั คนระดบั สงู ใหม้ มี าตรฐานทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการในการ
พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้และของประเทศ
๒) ด�ำเนินการศึกษาค้นคว้าวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ให้สามารถน�ำไปใช้ในการ
ผลิตให้มีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพเพอื่ ความสามารถในการพง่ึ ตนเองในการแขง่ ขนั ในระดับนานาชาติ
๓) ให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนในด้านการให้ค�ำ
ปรึกษาและแนะน�ำการวิจัยและพัฒนาการทดสอบการส�ำรวจรวมทั้งการฝึกอบรมและการพัฒนาอันก่อให้เกิดการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยที จี่ �ำเปน็ และเหมาะสมเพือ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของภูมภิ าคและประเทศชาติ
๔) อนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรมอันเป็นจารีตประเพณีรวมท้ังศิลปะบริสุทธ์ิ
และศิลปะประยุกตเ์ พือ่ ใหม้ หาวิทยาลัยเป็นศนู ย์รวมของชมุ ชนและเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ขี องสังคม
๑.๒.๓ ตราประจำ� มหาวทิ ยาลยั
เปน็ ตราสญั ลกั ษณท์ อี่ ญั เชญิ ตราพระนามยอ่ “จภ” ภายใตจ้ ลุ มงกฎุ ซง่ึ เปน็ ตราพระนาม
ในสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อคั รราชกมุ ารี
๑.๒.๔ วิสัยทัศน์
“เปน็ องค์การธรรมรัฐ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ เป็นหลกั ในถิน่ เป็นเลศิ สสู่ ากล”
มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว พระราชทานช่ือว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์”อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (ร.๙) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ
(Comprehensive University) ที่จัดการเรียนการสอนครอบคลุมทั้งด้าน วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และสังคมศาสตร์ โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้เป็นเมืองมหาวิทยาลัยในรูปแบบ Residential
University
๑.๒.๕ ระบบการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณใ์ ชร้ ะบบหนว่ ยวชิ า (Course Unit) จดั การเรยี นการสอนแบบ
ไตรภาค (Trimester) ปีหนงึ่ แบ่งเป็น ๓ ภาคการศกึ ษา นกั ศึกษาระดับปริญญาตรจี ะใช้เวลาศึกษาตามหลักสตู ร ๔,
๕ และ ๖ ปตี ามลำ� ดบั โดยมหาวทิ ยาลัยกำ� หนดให้นักศึกษาไปปฏบิ ัตงิ าน สหกจิ ศึกษา (Cooperative Education)
เป็นระบบการศึกษาที่จัดให้มีการผสมผสานการเรียนของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยและสถานประกอบการ
เพ่ือเพ่ิมประสบการณ์เสริมทักษะด้านวิชาชีพแก่นักศึกษาให้สามารถน�ำทฤษฎีไปสู่ภาคปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
พฒั นาบณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ภาพสงู ขนึ้ และตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยนกั ศกึ ษาจะตอ้ งออกไปปฏบิ ตั งิ าน
จริงในสถานประกอบการอย่างน้อย ๑ ภาคการศึกษา โดยคณาจารย์ร่วมกับสถานประกอบการจะนิเทศงาน
และประเมินนักศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ ศักยภาพนักศึกษา และน�ำข้อมูลท่ีได้จากการนิเทศมาพัฒนาหลักสูตร
และงานวิชาการของสถานศกึ ษา

196 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

๑.๒.๖ การรับนักศึกษา
มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์ มกี �ำหนดรบั นักศกึ ษาในระดับปริญญาตรี ดังน้ี
๑. ประเภทรบั ตรงทว่ั ประเทศดว้ ย Portfolio เดอื นตลุ าคม ๒๕๖๐ - กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑
๒. ประเภทโควตา ๑๔ จงั หวดั ภาคใต้ และจงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ เดอื นธนั วาคม ๒๕๖๐
– เมษายน ๒๕๖๑
๓. รับสมัครนกั ศึกษาระบบส่วนกลาง (ทปอ.) เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๑
๔. ประเภท Admissions (สกอ.) เดอื นมถิ ุนายน ๒๕๖๑
การรบั สมคั รนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตร์ สำ� นกั วชิ าแพทยศาสตร์ ใน ๕ จงั หวัด คอื
จังหวดั นครศรธี รรมราช ภเู กต็ ตรัง กระบ่ี และพงั งา โดยมีเกณฑค์ ุณสมบตั ิตามที่มหาวทิ ยาลัยก�ำหนด
๑.๒.๗ ปณธิ านมหาวิทยาลัย
มจี ดุ มงุ่ หมายหลกั ในการบกุ เบกิ แสวงหา บำ� รงุ รกั ษา และถา่ ยทอดความรู้ เพอื่ สรา้ งสรรค์
จรรโลงความก้าวหน้า และความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาบคุ คลใหเ้ ป็นผ้มู ีความเรอื ง
ปัญญาและคุณธรรม รวมท้ังเอ้ืออ�ำนวยต่อความเจริญของสังคมและของมนุษยชาติมิมีวันเส่ือมสูญ มุ่งสร้างบัณฑิต
ใหเ้ ป็นทัง้ คนดแี ละคนเกง่ โดยเนน้
๑) ความเปน็ คนทที่ ันสมัยในฐานะพลเมอื ง และพลโลก ทมี่ อี ุดมการณป์ ระชาธปิ ไตย
รู้รอบ และมที ัศนคตทิ ี่กว้างไกล
๒) ความเปน็ นกั วชิ าการและวชิ าชพี ชนั้ สงู ทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะในสาขา
ที่ศกึ ษาลึกซงึ้ และประยุกต์ไปสกู่ ารปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๓) ความเป็น “ศึกษิต” ที่มีมโนธรรม คณุ ธรรม และจรรยาวิชาชพี
๑.๒.๘ เพลงประจำ� มหาวทิ ยาลยั
มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์ มีเพลงประจ�ำมหาวิทยาลัยหลายเพลง เชน่ เพลงรวมใจมวล
เพลงแสดม่วงในดวงใจ เพลงแสดม่วงสามัคคี เพลงรักวลัยลักษณ์ เพลงร�ำวงลูกมวล เพลงราตรีแสดม่วง
เพลงเพ่ือโลกสวย เพลงวลัยลักษณ์ของเรา เพลงศรัทธารักวลัยลักษณ์ เพลงสายใยวลัยลักษณ์ เพลงสู้ด้วยใจ
เพลงลาแล้ววลัยลกั ษณ์ เป็นต้น

รหสั วชิ า หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 197

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

๑.๒.๙ ส�ำนักวิชาและหลักสตู รการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณเ์ ปดิ รบั นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา(โท-เอก) ดงั นี้

สำ� นกั วิชา ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก
วทิ ยาศาสตร์ - วิทยาศาสตร์เชิงคำ� นวณ - เคมี - เคมี
- ฟสิ กิ ส์ - ฟิสกิ ส์
- วทิ ยาศาสตรเ์ ชิงค�ำนวณ - วทิ ยาศาสตรเ์ ชงิ ค�ำนวณ

ศลิ ปศาสตร์ - ภาษาอังกฤษ - ภาษาองั กฤษ - เอเซยี ศกึ ษา
- ภาษาจนี - เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้
- อาเซยี นศกึ ษา ศกึ ษา
- ไทยศึกษาบูรณาการ

การจดั การ - บัญชี - บรหิ ารธุรกิจ - บริหารธรุ กิจ
- เศรษฐศาสตร์
- บริหารธุรกิจ
- บรหิ ารธุรกิจ
(อตุ สาหกรรมท่องเทีย่ ว)

สารสนเทศศาสตร์ - นเิ ทศศาสตร์
- เทคโนโลยีสารสนเทศ
- การจัดการสารสนเทศ
ดิจทิ ัล
- เทคโนโลยีมัลติมเี ดยี
และแอนเิ มชนั
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์

เทคโนโลยีการเกษตร - นวัตกรรมการเกษตรและ - วิทยาศาสตรก์ ารเกษตร - วิทยาศาสตร์การเกษตร
การประกอบการ - อุตสาหกรรมเกษตร - อุตสาหกรรมเกษตร
- อตุ สาหกรรมเกษตร

วิศวกรรมศาสตร์ - วิศวกรรมไฟฟา้ - วสั ดุศาสตรแ์ ละวศิ วกรรม - วัสดุศาสตร์และวศิ วกรรม
และทรัพยากร - วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ วัสดุ วัสดุ
- วิศวกรรมพอลเิ มอร์ - วิศวกรรมโยธา - วิศวกรรมโยธา
- วศิ วกรรมโยธา และสิง่ แวดลอ้ ม และสิง่ แวดล้อม
- วศิ วกรรมเคมีและ - วศิ วกรรมเคมี - วิศวกรรมเคมี
กระบวนการ
- เทคโนโลยีการจดั การ
ทรัพยากรทางทะเล
และชายฝง่ั
- วทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยสี ิง่ แวดล้อม

198 หลักสูตรรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

สำ� นกั วชิ า ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
สหเวชศาสตร์ - เทคนคิ การแพทย์ - ชวี เวชศาสตร์ - ชวี เวชศาสตร์
- กายภาพบำ� บัด
- เทคนิคการแพทย ์
(Bilingual program)

สาธารณสุขศาสตร์ - อนามัยสิง่ แวดล้อม - สาธารณสุขศาสตร์
- อาชวี อนามัยและ
ความปลอดภยั
- สาธารณสุขศาสตร์

ประกาศนียบตั รผชู้ ่วยพยาบาล

สถาปัตยกรรมศาสตร์ - สถาปัตยกรรมศาสตร์
และการออกแบบ - การออกแบบอตุ สาหกรรม

ผลิตภณั ฑ์ เฟอรน์ ิเจอร ์
และบรรจภุ ัณฑ์
- การออกแบบภายใน
- ภมู สิ ถาปัตยกรรมศาสตร์

เภสชั ศาสตร์ - เภสชั ศาสตร์ - วทิ ยาการดา้ นยาและ - วิทยาการดา้ นยาและ
เครือ่ งส�ำอาง เครือ่ งส�ำอาง

แพทยศาสตร์ - แพทยศาสตร์ - วิทยาศาสตร์การแพทย์ - วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์

รฐั ศาสตรแ์ ละ - รฐั ศาสตร์ - รฐั ศาสตร์ - รฐั ศาสตร์
นติ ศิ าสตร์ - นติ ศิ าสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร*์ * รฐั ประศาสนศาสตร์**
- รัฐประศาสนศาสตร์ - รัฐศาสตร์ - รฐั ศาสตร์
- นติ ิศาสตร์ กฎหมาย ตะวันออกกลางศึกษา** ตะวนั ออกกลางศึกษา**
ประยกุ ต์ (ทวภิ าษา)

วิทยาลัย - ทนั ตแพทยศาสตร์*
ทนั ตแพทยศาสตร์
นานาชาติ

วทิ ยาลยั สตั วแพทย - สตั วแพทยศาสตร์* วทิ ยาศาสตร์ทางการ
ศาสตรอ์ รั ราชกมุ ารี สัตวแพทย์ศาสตร*์

วทิ ยาลัยนานาชาติ - วศิ วกรรมนวตั กรรม
ดิจิทลั *
- ศลิ ปศาสตร์ กิจการ
สาธารณะ*
- บรหิ ารธรุ กิจ
การวิเคราะห์โลจสิ
ติกสแ์ ละการจัดการ
ซพั พลายเชน*

* หลักสูตรนานาชาติ
** หลักสูตรท่อี ยู่ระหว่างดำ� เนินการ

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 199

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๑.๒.๑๐ Wireless Campus แหล่งเรียนรู้ไร้ขีดจ�ำกดั
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้น�ำระบบเครือข่ายไร้สายมาใช้ในมหาวิทยาลัยเพ่ือความ
คลอ่ งตวั ของนกั ศกึ ษาในการรบั สง่ ขอ้ มลู ระหวา่ งคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครอ่ื งสามารถเชอื่ มตอ่ กบั เครอื ขา่ ยไดต้ ลอดเวลา
นักศึกษาสามารถใช้คอมพิวเตอร์พีซีหรือโน้ตบุ๊คเพื่อค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด หรือใช้อินเตอร์เน็ตจากสนามหญ้า
หอพกั นักศึกษา หรอื บรเิ วณใดๆ ของมหาวทิ ยาลยั ได้
๑.๒.๑๑ Green Campus แหล่งเรยี นรู้ภายใต้สิง่ แวดล้อมทีด่ ี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เป็นมหาวิทยาลัยท่ีเป็นอุทยานการศึกษา ได้รับ
พระมหากรณุ าธคิ ณุ จากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั (ร.๙) พระราชทานชอื่ วา่ “อทุ ยานการศกึ ษาเฉลมิ พระเกยี รต”ิ
โดยไดอ้ อกแบบพ้ืนทีท่ ัง้ หมดกวา่ ๙,๐๐๐ ไร่ ให้เป็นแหล่งเรยี นรทู้ ีร่ ื่นรมยท์ ั้งดา้ นธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและโบราณคดี ฯลฯ มีทางเดินหลังหลังคาคลุม (Cover Walk Way)
เช่ือมต่ออาคารเรียนต่าง ๆ เพ่ือให้นักศึกษาเดินหรือใช้จักรยานในพ้ืนที่มหาวิทยาลัยเพ่ือความปลอดภัย ประหยัด
พลังงานด้วยความคาดหวังให้มหาวทิ ยาลยั แหง่ นี้ เปน็ มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว รม่ ร่นื เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ท่ีมสี ิง่ แวดล้อมทีด่ ี
๑.๒.๑๒ กิจกรรมนกั ศกึ ษา
มหาวิทยาลัยได้จัดระบบส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมนักศึกษาเป็นเครื่องมือส�ำคัญ
ในการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่ ดีและเก่ง สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีและมีจิตส�ำนึกสาธารณะ
ภายใตโ้ ครงสรา้ งองคก์ ารนกั ศกึ ษาระดบั มหาวทิ ยาลยั เพยี งระดบั เดยี วประกอบดว้ ย สภานกั ศกึ ษา องคก์ ารนกั ศกึ ษา
และชมรม โดยเน้นให้นักศึกษาเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมซ่ึงนักศึกษาสามารถรวมกันจัดตั้งชมรม หรือกลุ่ม
กจิ กรรมตามความสนใจภายในองคก์ ารนักศึกษา และเข้ารว่ มกิจกรรมกบั ชมรมตา่ งในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่
๑) ดา้ นพฒั นาทักษะบุคลกิ ภาพและคุณภาพชีวิต
๒) ด้านกฬี าพลานามยั
๓) ดา้ นศลิ ปะและวัฒนธรรม
๔) ดา้ นพัฒนาสังคมและบ�ำเพญ็ ประโยชน์
๕) ดา้ นอนุรกั ษ์ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
๖) ด้านวิชาการ
มหาวิทยาลัยจัดบริการและสวัสดิการนักศึกษาควบคู่ไปกับการจัดการเรียนการสอน
โดยจัดสภาพแวดลอ้ มในมหาวทิ ยาลยั ให้เออ้ื อำ� นวยตอ่ การพัฒนานักศกึ ษาทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สตปิ ัญญา
และบุคลิกภาพ ดังนี้
๑) บริการสุขภาพอนามยั และประกนั สุขภาพ
๒) บรกิ ารให้ค�ำปรกึ ษาและแนะแนว
๓) บริการด้านการสอ่ื สาร
๔) บริการด้านทหารและการเดินทาง
๕) ทนุ การศึกษา
๖) หอพกั นักศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั จดั หอพักนกั ศกึ ษาภายในมหาวทิ ยาลัยให้เป็นชุมชน
แหง่ การเรียนรู้ อยอู่ าศัยและเออื้ อาทร (Living Learning and Caring Center) โดยจัดให้มบี รกิ ารและสวสั ดิการ
ต่าง ๆ ในแตล่ ะหอพกั และมีทปี่ รกึ ษาหอพกั เปน็ พ่ีเล้ียงตลอด 24 ชัว่ โมง

200 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

บทท่ีเรือ่ งที่ ๒ การเกดิ ศนู ย์การแพทยข์ องมหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์

โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นโรงพยาบาลในสังกัด มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ซึ่งเกิดจากความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี จัดต้ังเพ่ือให้บริการและเป็นโรงพยาบาลช้ันน�ำของภาคใต้ตอนบน
บนพนื้ ท่ี ๔๐๕ ไร่
วันที่ ๒๔ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เปิดโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์
มหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ (ระยะน�ำรอ่ ง) ณ อาคารวิจัยวิทยาการสุขภาพ
วนั ท่ี ๒๓ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นายจำ� เรญิ ทพิ ญพงศธ์ าดา ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นครศรธี รรมราช
เป็นประธานเปิดโรงพยาบาลศูนยก์ ารแพทย์มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์ (ระยะแรก) อย่างเปน็ ทางการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เปิดโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในระยะเริ่มแรก
ไดเ้ ปดิ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารแกบ่ คุ ลากร นกั ศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไป พรอ้ มทงั้ สนบั สนนุ ดา้ นการเรยี นการสอน ดา้ นการวจิ ยั
ดา้ นบริการวิชาการ แก่สำ� นกั วิชากลมุ่ วิทยาศาสตร์สุขภาพของมหาวิทยาลัย
ตามนโยบายการก่อสร้างโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปี ๒๕๕๓ รัฐบาลได้
จัดงบประมาณในการก่อสร้าง จ�ำนวนเงิน ๕,๖๐๐ ล้านบาท บนเน้ือท่ี ๔๐๕ ไร่ และเริ่มก่อสร้างประมาณเดือน
มนี าคม ปี ๒๕๕๙ จ�ำนวน ๗ อาคาร ประกอบไปดว้ ย อาคาร A, B, C, D, E, และ F ซึ่งคาดว่าก่อสร้างแลว้ เสรจ็
ในปี ๒๕๖๒ รับรองผูม้ าใช้บริการมากกว่า ๑,๐๐๐,๐๐๐ คนตอ่ ปี เมือ่ การกอ่ สรา้ งตกึ แลว้ เสรจ็ พร้อมเปดิ ให้บริการ
ใน ปี ๒๕๖๓ กจ็ ะเพ่ิมจ�ำนวนเตียง จนถึง ๗๕๐ เตียง และเปดิ ให้บรกิ ารรักษาในระดับตตยิ ภมู ิ คือ ใหบ้ ริการดแู ล
รักษาโรคท่ีซับซ้อนและใช้เคร่ืองมือท่ีเป็นเทคโนโลยีชั้นสูงใหม่ล่าสุด รวมถึงการศึกษาวิจัยการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้
ด้วย รวมท้ังจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้านศูนย์หัวใจ ๒. ด้านศูนย์มะเร็ง ๓. ด้านศูนย์ผิวหนัง
๔. ดา้ นศูนย์ผสู้ งู อายุ และเปน็ ศูนย์ในการรับสง่ ตอ่ ผ้ปู ่วยจากโรงพยาบาลอน่ื ๆ ในเขตภาคใตต้ อนบน โดยมผี ้อู �ำนวย
การคนแรก คอื นายแพทยจ์ รัส จันทร์ตระกูล ด�ำรงตำ� แหน่งเมื่อวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๐

รหัสวิชา หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 201

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

บทที่เรื่องท่ี ๓ ผลที่เกดิ ข้ึนในการกอ่ ตง้ั มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์

พันธกิจของมหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณต์ อ่ การพัฒนาชมุ ชนและสังคม
ภายใต้วสิ ยั ทัศนข์ องมหาวิทยาลยั วลัยลักษณท์ ม่ี ุ่งเปน็ “หลกั ในถ่นิ ” มหาวิทยาลัยมคี วามมุ่งมนั่ ทีจ่ ะรบั ใช้
ชุมชนและสังคม โดยเน้นการบูรณาการองค์ความรู้จากคณาจารย์ นักวิชาการ และผู้เชี่ยวชาญจากทุกหน่วยงาน
ของมหาวิทยาลัยเพ่ือส่งมอบองค์ความรู้ หลักวิชาการและแนวปฏิบัติเพ่ือช่วยเหลือและร่วมแก้ไขปัญหาของชุมชน
และสงั คม โดยมศี นู ยบ์ รกิ ารวชิ าการเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการกำ� หนดทศิ ทาง การดำ� เนนิ งานดา้ นวชิ าการรบั ใชส้ งั คม
รว่ มประสานงานความรว่ มมอื ระหวา่ งสำ� นกั วชิ า บรู ณการความรว่ มมอื กบั เครอื ขา่ ยภายนอกมหาวทิ ยาลยั ทง้ั ภาครฐั
และเอกชน รวมท้ังท�ำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน เพ่ือสร้างผลประโยชน์แก่ภาพรวมทุกภาคส่วน
ที่เป็นผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย และยกระดบั คุณภาพชีวติ ของชุมชนเชิงประจักษ์
ศนู ย์บริการวชิ าการได้สรา้ งแบบจำ� ลองตน้ ไมแ้ ห่งความสุข มวล. (WU HAPPY TREE) เพ่อื สร้างแนวทาง
การท�ำงานน�ำผลงานวิชาการ วิจัย และนวัตกรรมจากมหาวิทยาลัย เพ่ือพัฒนาต่อยอดการใช้ในชุมชน ต้นไม้แห่ง
ความสุข เพ่ือสร้างความสุขให้กับชุมชนแบบองค์รวม Holistic area based development โดยประกอบด้วย
๕ กิ่งก้านความสขุ ในมติ ิต่างๆ ดงั น้ี
ดา้ นอาชพี มงุ่ สรา้ ง ยกระดับ และผลกั ดนั ให้ชุมชนมอี าชีพทย่ี ่ังยนื สรา้ งรายได้ และความเป็นอยู่ทดี่ ขี ้นึ
บนพ้ืนฐานตามความต้องการ จดุ เด่นของพื้นที่ บริบทชมุ ชน และความถนดั ของชมุ ชนเปา้ หมาย ประยกุ ตใ์ ชค้ วาม
เป็นเลิศทางวิชาการจากมหาวิทยาลัยเพ่ือตอบโจทย์ตามแง่มุมท่ีชุมชนต้องการ การด�ำเนินงานในช่วงเวลาที่ผ่านมา
มีหลากหลายพื้นที่ได้ยกระดับอาชีพเพ่ือความย่ังยืนอย่างชัดเจน อาทิ การยกระดับการผลิตและการแปรรูปส้มโอ
ทับทิมสยาม โดยร่วมมอื กับภาคเอกชน มลู นธิ ิ และภาครฐั เกษตรอ�ำเภอ ผู้นำ� หมบู่ ้าน ผนู้ ำ� ศาสนา และประชาชน
ในพนื้ ท่ี ยกระดบั การแปรรปู และการผลติ โดยชวี นิ ทรยี ์ เชอ้ื ราไตรโคเดอมาร์ ซงึ่ ชว่ ยใหผ้ ลผลติ สม้ โอมคี ณุ ภาพมากขนึ้
ลดการใชส้ ารเคมี และลดตน้ ทุนการผลิต
โครงการยกระดับสินค้าปลาดุกร้าท่าซัก ควบคุมความชื้นและกระบวนการจัดท�ำบรรจุภัณฑ์ รวมท้ังยื่น
จดมาตรฐานสนิ ค้า น�ำมาซึ่งผลงานรางวลั สนิ คา้ ยอดเยยี่ มมอบให้โดยหลายหน่วยงาน
นอกจากนยี้ งั นอ้ มรบั โครงการพระราชดำ� ริ สรา้ งชมุ ชนตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งทไ่ี ดร้ บั รางวลั ระดบั ชาติ
โดยทำ� งานร่วมมือแบบบูรณาการกบั ทกุ ภาคสว่ นที่มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย เช่น ชมุ ชนบา้ นวังอา่ ง ชมุ ชนสาธิตวลัยลกั ษณ์
ซง่ึ เปน็ พน้ื ทนี่ ำ� รอ่ งทำ� งานรว่ มกบั เครอื ขา่ ย HAB โดยความรว่ มมอื กบั ภาคเอกชน บรษิ ทั เบทาโกร และ ๑๑ มหาวทิ ยาลยั
เครือข่ายทวั่ ประเทศ
โครงการฟื้นฟูทรัพยากรปูม้า เป็นโครงการวิชาการรับใช้สังคม อีกโครงการท่ีสร้างรายได้เพิ่มให้กับ
ชาวประมงชายฝั่ง และประมงพาณิชย์ในพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ชาวประมงมีผล
จับปูม้าเพิ่มข้ึนกว่าเท่าตัว น�ำมาซึ่งรายได้ รวมท้ังผลงานวิจัยโครงการนี้น�ำไปใช้ประโยชน์เพื่อประเมินยกระดับ
การพฒั นาทางการประมงของไทย โดยสามารถยกระดบั จากเดมิ ระดบั C เปน็ ระดบั A จากผปู้ ระเมนิ จากตา่ งประเทศ
ท�ำให้เพิ่มปริมาณส่งออกของปูม้าไปยังต่างประเทศโดยมีอัตราการเติบโตของการส่งออกกว่าร้อยละ ๑๕๔ ต่อยอด
การวา่ จา้ งงานในประเทศ และนำ� มาส่กู ารเพ่มิ ขึ้นของการจ้างงานในโรงงานอตุ สาหกรรมต่อเนือ่ ง
นอกจากน้ียังมีโครงการอีกจ�ำนวนมากซ่ึงด�ำเนินการโดยการบูรณาการความร่วมมือของทุกภาคส่วน
เพอ่ื ยกระดบั ความเป็นอยู่ของชุมชน เช่น การส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วเชงิ นิเวศ บา้ นแหลมโฮมสเตย์ ท่องเที่ยวเชงิ นเิ วศ
ทางทะเลอนั ดบั ๑ ของประเทศไทย โครงการนำ�้ สม้ จาก ยกระดบั การปลกู ขา้ ว แปรรปู ไมย้ างพาราและปาลม์ ยกระดบั
สนิ คา้ พื้นเมือง มงั คุด ทุเรยี น และอน่ื ๆ อีกมากมาย

202 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ด้านสุขภาพ การจัดตั้งศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์นับจุดเด่นและโอกาสของมหาวิทยาลัย
ในการบรกิ ารสงั คมในมิติสขุ ภาพ การใหค้ �ำปรกึ ษาทางด้านสขุ ภาพ และการบรกิ ารหนว่ ยแพทย์เคลื่อนท่ีให้กับชาว
จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งผลงานการวิจัยรับใช้สังคมทางด้านการยกระดับความ
เป็นอยผู่ ้สู งู อายุ และสรา้ งเครือข่ายผูส้ ูงอายใุ นพื้นท่จี งั หวัดนครศรธี รรมราชและพน้ื ทีจ่ ังหวัดใกล้เคยี ง โครงการวิจัย
และการบริการวชิ าการเก่ยี วกับการป้องกนั ไข้เลือดออก ปอ้ งกันพยาธิในเดก็ และการประยุกตใ์ ช้สมนุ ไพรในชมุ ชน
เพ่อื ไลย่ ุง ไดด้ �ำเนนิ การโดยส�ำนกั วิชาดา้ นสขุ ภาพอย่างต่อเนอื่ งจนเกดิ การเปลีย่ นแปลงอย่างชดั เจน
ดา้ นการศกึ ษา ดว้ ยภารกจิ หลกั ทางดา้ นการเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลยั บคุ ลากรทมี่ คี ณุ ภาพในการสอน
ของมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณไ์ ดร้ ว่ มบรู ณาการเพอ่ื บรกิ ารวชิ าการแกโ่ รงเรยี นและชมุ ชนในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นครศรธี รรมราช
โรงเรยี นชมุ ชนใหม่ โรงเรยี นขยายโอกาสซงึ่ ตง้ั อยหู่ ลงั มหาวทิ ยาลยั ในพนื้ ทช่ี มุ ชนสาธติ วลยั ลกั ษณพ์ ฒั นา เปน็ โรงเรยี น
หนึ่งซึ่งเป็นพ้ืนที่ด�ำเนินโครงการโรงเรียนต้นแบบการยกระดับการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ร่วม
ออกแบบการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ท้ังในเร่ืองโครงสร้างหลักสูตร ร่วมสอนโดยเฉพาะในรายวิชาภาษา
ตา่ งประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ จีน มาลายู อีกทงั้ จัดท�ำโครงการศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี งตามศาสตร์พระราชา
เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะการด�ำรงชีวิต วางแผนการท�ำการเกษตรบนพื้นฐานของ business model
และหารายไดช้ ว่ ยเหลอื ครอบครวั ผลกระทบทส่ี รา้ งการเปลยี่ นแปลงอยา่ งชดั เจนในเรอื่ งภาษาองั กฤษสามารถทำ� ให้
นักเรียนสอบแข่งขันทักษะค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้อันดับหนึ่งของภาคใต้ และได้เหรียญทองแดงจากการประกวด
ระดบั ประเทศ นกั เรยี นในโรงเรยี นขยายโอกาสแหง่ นสี้ ามารถสอบการแขง่ ขนั เพอื่ เขา้ ศกึ ษาตอ่ ในโรงเรยี นระดบั จงั หวดั
เปน็ อนั ดับที่ ๙ ผลกระทบเชิงบวกเหล่านท้ี ำ� ให้นกั เรยี นในโรงเรยี นเพ่ิมขน้ึ จากเดิม ๔๐-๕๐ คน เปน็ ๒๐๐ กวา่ คน
อนั เปน็ ผลมาจากการรบั รแู้ ละการจดั การเรยี นการสอนควบคกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นโรงเรยี นทมี่ มี าตรฐานทางการศกึ ษาสงู ขน้ึ
นอกจาก นม้ี หาวทิ ยาลยั ยงั มโี ครงการสอนทกั ษะภาษาองั กฤษใหก้ บั ชมุ ชนชายฝง่ั เพอื่ เปน็ กลไกสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว
เชงิ นเิ วศให้กับชมุ ชน และโครงการให้ค�ำปรึกษาทางวิชาการต่างๆอีกมากมาย
ด้านทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาอย่างยง่ั ยนื ตามโจทย์ Sustainable development goals
และแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เช่ือมโยงกับทิศทางการวิจัยเพ่ือความเป็นเลิศทางวิชาการ
และงานวจิ ยั ทสี่ ามารถใชป้ ระโยชนไ์ ดข้ องมหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ วชิ าการรบั ใชส้ งั คมตามบรบิ ทพน้ื ทจ่ี งึ เปน็ ผลงาน
เชิงประจักษ์ในหลายมิติ เช่น โครงการบรหิ ารจดั การทรัพยากรปูมา้ แบบมสี ว่ นร่วม ธนาคารปูมา้ ซึง่ มีขอบเขตพน้ื ที่
ในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสุราษฎร์ธานี จ�ำนวนกว่า ๖๐ ธนาคารปูม้าได้ด�ำเนินการตลอดแนวชายฝั่ง
ทั้งสองจังหวัด ส่งผลให้เกิดเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็งกว่า ๖๐ ชุมชนท่ีขับเคลื่อนกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝง่ั ผลงานวจิ ยั สามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ นโยบายเพอื่ กำ� หนดพน้ื ทแ่ี หลง่ อนบุ าลสตั วน์ ำ้� ในพนื้ ที่
เพ่ิมผลจับปมู า้ ในพ้ืนที่ ทำ� ใหร้ ะบบนเิ วศชายฝัง่ และทรัพยากรประมงมจี �ำนวนมากขน้ึ โครงการทะเลสขุ เพ่อื บรหิ าร
จัดการทรัพยากรทะเลและสร้างความสุขให้ชุมชนชายฝั่ง ลดและแก้ปัญหาขยะทะเล ด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง
เพ่ือสร้างความตระหนักให้ชุมชน และสร้างเครือข่ายดูแลทรัพยากรทะเล โครงการบริหารจัดการน�้ำในภาพรวม
ท้ังแก้ปัญหาน�้ำท่วม ภัยแล้ง ดินถล่ม หลุมยุบ ด�ำเนินการอย่างต่อเน่ืองโดยนักวิชาการในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เป็นนักวิจัยหลักในการป้อนข้อมูลให้กับจังหวัดในการบริหารจัดการทรัพยากรน้�ำในพื้นท่ี นอกจากน้ีนักวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ออกแบบและจัดสร้างเตาเผาขยะท่ีได้มาตรฐานเพื่อช่วยก�ำจัดขยะทุกชนิดในพื้นที่
รวมทั้งขยะอนั ตรายซ่ึงก�ำจัดยากนบั เป็นการแบง่ เบาชว่ ยเหลอื สังคมทม่ี หาวิทยาลัยตัง้ อยู่

รหัสวชิ า หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 203

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ด้านสังคมและวัฒนธรรม เมืองนครศรีธรรมราชได้ขนานนามว่าเป็นเมืองแห่งอารยธรรม
การรวบรวมคุณค่าและความเป็นตัวตนของเมืองนครศรีธรรมราช เพ่ือเผยแพร่ต่อสาธารณะในบริบทท่ีโดดเด่น
ของพนื้ ทีโ่ ดยใช้วชิ าการในมหาวิทยาลยั เปน็ กลไกทดี่ ำ� เนินการอยตู่ ลอดเวลา โบราณสถานตา่ งๆ เชน่ โบราณสถาน
ตุมปงั โบราณสถานเขาคา โบราณสถานโมคลาน มหาวิทยาลยั ไดด้ �ำเนนิ การศึกษาขอ้ มูลวิชาการและน�ำไปส่กู ารใช้
วชิ าการเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ เพอ่ื จำ� ลองภาพเมอื งโบราณ เพอื่ เลา่ ขานตอ่ คนในพนื้ ที่ เดก็ เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
หรอื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม ทำ� ใหส้ งั คมพฒั นาบนรากฐานของบรบิ ทของชมุ ชน และอกี ตวั อยา่ งของการ
ทำ� งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งประสมประสานการเรยี นการสอน การบรกิ ารวชิ าการในมติ สิ งั คมวฒั นธรรมในพนื้ ทอี่ โุ บสถสถาน
วดั แดง อำ� เภอเชยี รใหญ่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช รวมถงึ การสนบั สนนุ ทางวชิ าการและการมสี ว่ นรว่ มในการขบั เคลอ่ื น
วดั พระมหาธาตุ วรมหาวิหารเพื่อขน้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลก
การบริการวชิ าการ ผา่ นแนวทางวิชาการรับใช้สงั คม หรอื Social engagement นับเป็นภารกจิ
หลักอย่างหน่ึงของมหาวิทยาลัยท่ีมุ่งเน้นการน�ำองค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เพื่อยกระดับคุณภาพ
ชีวิตชุมชนแบบองค์รวม โดยความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบ
อย่างเปน็ รปู ธรรม

204 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

บรรณานุกรม

กรมศลิ ปากร. (๒๕๒๘). ประชุมศิลาจารึกภาคท่ี ๑. พระนคร: ส�ำนักนายกรัฐมนตรี.
กรมศิลปากร. (๒๕๒๘). ประชมุ ศิลาจารกึ ภาคที่ ๒. พระนคร: ส�ำนักนายกรัฐมนตรี.
กรมศลิ ปากร. (๒๕๒๘). ประชุมศิลาจารึกภาคท่ี ๓. พระนคร: ส�ำนกั นายกรัฐมนตร.ี
กล่มุ จารตี ประเพณี. (๒๕๖๓). ตำ� นานพระธาตุและตำ� นานเมอื งนครศรธี รรมราช.กรุงเทพฯ: สำ� นกั
วรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
กัตตกิ า ศรีมหาวโร (บรรณาธกิ าร). (๒๕๖๐). ชอ่ื บ้านนามเมอื ง ๑๒๐ ปี ท่าศาลา. นครศรีธรรมราช : เมด็ ทราย.
ก่องแกว้ วรี ะประจกั ษ์ และจำ� ปา เยื้องเจริญ, “จารึกวัดมหาธาตเุ มอื งนครศรธี รรมราช,” ใน จารึกใน
ประเทศไทย เล่ม ๒ : อกั ษรปัลลวะ อักษรมอญ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๒๑ (กรงุ เทพฯ : หอสมดุ
แหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร, ๒๕๒๙), ๓๘-๔๑.
ขนษิ ฐา อินทร์จันทร์. (๒๕๔๐). ประวัติและผลงานของนายจงกิตติ์ คุณารกั ษ.์ (ภาคนพิ นธ์ปรญิ ญา
มหาบณั ฑติ , สถาบนั ราชภฏั นครศรีธรรมราช).
จารึกถงึ การยกทพั เรือเข้าโจมตีดินแดนศรวี ิชยั รวมทัง้ ตามพรลงิ ค์ (เมอื งนครศรธี รรมราช). ๒๕๕๗. สบื ค้น
เมอื่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓. แหล่งทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/อาณาจักรศรีวชิ ยั
จำ� ปา เยือ้ งเจรญิ . (๒๕๒๒). ศลิ าจารึกวหิ ารโพธ์ิลงั กา เลขท่ี น.ศ. ๒ ระหว่าง พ.ศ. ๑๗๗๕-๑๘๒๕. ศิลปากร,
๒๕๒๓(๕), ๙๔-๙๘.
ฐานขอ้ มลู จารกึ ในประเทศไทย ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน). จารกึ พอ่ ขนุ รามค�ำแหง. (ปี).
สืบค้น ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗. จาก db.sac.or.th › inscriptions
นพรตั น์ สมพ้ืน. (๒๕๓๕). การบูรณะปรียอดทองคำ� พระบรมธาตเุ จดีย์. กรุงเทพฯ: กรงุ สยาม
พริ้นติง้ กรุ๊ป.
นรศิ รานุวัตวิ งศ์, สมเด็จเจ้าฟา้ กรมพระยา. (๒๕๑๗). ๒๔๐๖-๒๔๙๐ จดหมายระยะทางไปตรวจราชการ
แหลมมลายู ร.ศ.๑๒๑. กรงุ เทพฯ: ประชาชา่ ง.
น�้ำตกสนุ ันทา นครศรีธรรมราช. สืบคน้ จาก https://travel.mthai.com/blog/๖๒๙๙๘.html
ดำ� รหิ ์ เรืองสธุ รรม. (๒๕๔๔). ขบวนการแรงงานไทยในการต่อต้านกองทพั ญี่ปนุ่ ในสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒.
กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.
ดิเรก ชัยนาม. (๒๕๐๙). ไทยกบั สงครามโลกครง้ั ที่ ๒. กรงุ เทพฯ: แพร่พิทยา.
เทพชู ทบั ทอง. (๒๕๔๖). พระพทุ ธสิหิงค์. ตว่ ย’ตูน พเิ ศษ, ๑๐๕.
บุญเสรมิ แก้วพรหม. (๒๕๔๐). ทา่ ศาลา ๑๐๐ ปี. นครศรีธรรมราช: ส�ำนกั งานครุ ุสภาอำ� เภอท่าศาลา.
โบราณสถานวดั โมคลาน การขาดความเข้าใจของชมุ ชนคอื ตวั ตนทขี่ าดหาย. (๒๕๕๕). สืบคน้
จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/nn๑๒๓๔/๒๐๑๒/๑๒/๒๔/entry-๑
ประชมุ พงศาวดาร ภาคที่ ๒ (พมิ พ์คร้ังท่ี ๒). (๒๔๗๐). พระนคร: โรงพมิ พ์บ�ำรุงนกุ ูลกิจ.
ประชมุ พงศาวดาร ภาคท่ี ๕๓ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). (๒๔๗๖). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร.
ปรชี า นุ่นสุข. (๒๕๒๓). จารกึ หบุ เขาช่องคอย: หน้าใหม่ของประวัติศาสตรภ์ าคใต้. ศลิ ปวฒั นธรรม, ๑(๗),
๔๘–๕๙.

รหัสวชิ า หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 205

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ประวตั พิ ระอธกิ ารแดง จน.ทสโร (พอ่ ทา่ นแดง)วดั โทตรี. (๒๕๑๑). [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.]. (พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณ์ใน
งานฌาปนกิจศพของทา่ นเมือ่ วนั ที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๑).
พรรณี บวั เล็ก. (๒๕๔๐). จักรวรรดนิ ิยมญ่ีปนุ่ กบั พัฒนาการทนุ นิยมไทย: ระหว่างสงครามโลกครัง้ ที่ ๑-๒
(พ.ศ.๒๔๕๗-๒๔๘๔). กรุงเทพฯ: ส�ำนกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจยั .
พระเคร่ืองตม้ั ศรีวิชยั . (๒๕๖๐). ประวัติพระอธิการแดง. สืบค้นจาก http://www.tumsrivichai.com
พระเจา้ ราเชนทร์โจฬะแหง่ เมืองตันจาวูร์(ตันชอร์) รฐั ทมฬิ นาฑู พ.ศ.๑๕๗๓. (๑๕๖๘).
พระราชพงศาวดารกรงุ เก่า ฉบบั หลวงประเสรฐิ อกั ษรนิติ.์ (๒๔๕๐). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ไทย.
พิธนี ง่ั เจ้าเขา้ ทรง บวงสรวงพอ่ ท่านกลาย. (๒๕๖๓). สบื คน้ จาก http://www.klai.go.th/klai๑๑.php.
ภมู ปิ ัญญาแห่งแผ่นดิน: หนงั สือส่งเสรมิ ความร้เู พอ่ื การอนรุ ักษ์ ฟืน้ ฟูศิลปะภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่
อบต. ทา่ ศาลา. (ม.ป.ป.). สงขลา: บลอู ิมเมจ.
รายการรชั กะดกุ๊ ออนทัวร์. (๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖). พิพิธภณั ฑห์ าดทรายแก้ว ผ้ใู หญเ่ ยิ้ม เรืองดษิ ฐ์.
[รายการโทรทศั น]์ . สบื คน้ จาก https://www.youtube.com/watch?v=๒HUqv๒kuIVQเทศบาล
ยอรช์ เซเดส.์ (๒๕๒๙). จารึกวัดหัวเวยี งเมืองไชยา จารึกในประเทศไทย เล่ม ๔ อกั ษรขอม พทุ ธ
ศตวรรษท่ี ๑๗-๑๘. กรุงเทพฯ: กรมศลิ ปากร.
ยอรช์ เซเดส.์ (๒๕๒๙). จารึกวดั มเหยงค์ ใน จารึกในประเทศไทย เล่ม ๑: อักษรปลั ลวะ หลังปัลลวะ
พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔. กรงุ เทพฯ: กรมศลิ ปากร.
ยอรช์ เซเดส์ และคณะ. (๒๕๒๙). จารึกวัดเสมาเมือง. ใน จารึกในประเทศไทย เลม่ ๑: อักษรปลั ลวะ
หลังปลั ลวะ พุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๔. น. ๑๘๗-๒๒๒. กรงุ เทพฯ: หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร.
รายการรกั กระดุ๊กออนทัวร์. (๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖). พิพิธภณั ฑ์หาดทรายแกว้ ผใู้ หญเ่ ยิ้ม เรอื งดิษฐ์.
[รายการโทรทัศน]์ . สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=๒HUqv๒kuIVQเทศบาล
วนิ ยั ชามทอง. (๒๕๕๗). อนุสรณ์ จอน ชามทอง: สงครามมหาเอเชยี บูรพาและสงครามเมืองเชียงตงุ
๒๔๘๔-๒๔๘๕. นครศรธี รรมราช: (ม.ป.พ.).
วิกพี เี ดยี สารานุกรม. (๒๕๖๐). อำ� เภอพรหมคีร.ี สบื ค้นเมือ่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ สบื คน้ จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/อำ� เภอพรหมครี ี
วิกพิ เี ดยี สารานุกรม. (๒๕๖๐). วดั โมคลาน. สบื ค้นเมือ่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๕๖๓ สบื คน้ จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/วดั โมคลาน
วิกีพีเดียสารานุกรม. (๒๕๖๐). อำ� เภอนบพิต�ำ. สบื คน้ เมื่อ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๖๓ สบื คน้ จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/อำ� เภอนบพิต�ำ
วชิ ิตสรไกร, พระยา. และ วิเศษอกั ษรสาร, พระ. (๒๔๗๘). รายงานจดั การศกึ ษาและการพระศาสนากบั กวี
นิพนธ์ของท่านเจ้าคุณพระรัตนธชั มุนี. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลงิ ศพของท่านเจา้ คุณพระรตั น
ธชั มนุ ี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพโ์ สภณพิพรรฒธนากร.
วิเชียร ณ นคร และคณะ. (๒๕๒๑). นครศรีธรรมราช. กรงุ เทพฯ: อกั ษรสัมพันธ์.
วทิ ยากร เชยี งกลู . (๒๕๔๕). เศรษฐกจิ ไทย.เศรษฐกจิ โลก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตลุ าจ�ำกดั .
เรือประมงพื้นบา้ น. (๒๕๖๓). สบื คน้ จาก https://www.fisheries.go.th/rgm-songkhla/pdf/
DomesticFishingVessel.pdf

206 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ศริ ริ ตั น์ หวนั เหลม็ . (๒๕๕๖). เอกสารประกอบการเรยี นสาระเศรษฐศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖.
นครศรธี รรมราช: (ม.ป.พ.). (เอกสารอัดสำ� เนา).
สถาบนั ทักษิณคดศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒสงขลา. (๒๕๒๙). ภยาหง ใยโหนด: หัตถกรรม.
สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้. ๗, น. ๒๙๕๕-๒๙๕๗. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์การพิมพ์ .
สมพุทธ ธรุ ะเจน. (๒๕๖๒). ย้อนรอย ๑๐๐ ปี นครศรีธรรมราช. นครศรธี รรมราช : อักษรการพมิ พ์
สว่ นสอื่ สารองคก์ าร มหาวทิ ยาลัยวลยั ลกั ษณ์. (ม.ป.ป.). ขอ้ มลู มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์. (เอกสารอดั สำ� เนา).
นครศรธี รรมราช: มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณ.์
สำ� นักงานทะเบยี น อำ� เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรธี รรมราช. (๒๕๖๓). ข้อมลู ประชากรจากส�ำนักทะเบียน
อ�ำเภอทา่ ศาลา ณ วันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓. นครศรีธรรมราช: สำ� นักงานทะเบียนฯ.
สำ� นกั งานประมง อ�ำเภอทา่ ศาลา. (๒๕๖๓). ข้อมูลข้นึ ท�ำเบยี นการท�ำประมงอ�ำเภอทา่ ศาลา พ.ศ.๒๕๖๒ ณ
วนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓. นครศรีธรรมราช: สำ� นักงานประมงฯ.
สบื พงศ์ ธรรมชาติ (บรรณาธิการ). (๒๕๕๓). โบราณสถานตุมปงั โบราณสถานและโบราณวัตถุในจงั หวดั
นครศรีธรรมราช.มหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ.์
สุจินต์ พิมเสน. (๒๕๒๙). หมอนทอง ชวี ิตและผลงานของนายจงกิตต์ิ คุณรกั ษ.์ กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทร์
การพิมพ์. [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.]. (พมิ พ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกจิ ศพของท่านเมื่อวนั ที่ ๑๙ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๑๑).
หตั ถกรรมเครอ่ื งป้ันดินเผาบ้านมะยิง. (๒๕๖๒). สืบค้นจาก http://www.tungsong.com/
NakhonSr/manufacture/machin_din/ index_machin.html
หนว่ ยอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรมท้องถิ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช สำ� นักศิลปวฒั นธรรม สถาบัน
ราชภฎั นครศรธี รรมราช และสภาวัฒนธรรมจงั หวดั นครศรธี รรมราช. (๒๕๔๔). แหลง่ ศลิ ปกรรม
อ�ำเภอพรหมครี ี จังหวัดนครศรธี รรมราช. นครศรีธรรมราช : ไทม์ พร้ินตงิ้ .
อนญั ญา โปราณานนท์ และคณะ. (๒๕๔๒). เศรษฐศาสตร์ทว่ั ไป (พมิ พ์ครั้งที่ ๔). กรงุ เทพฯ:
เสมาสาส์น.
อนสุ รณ์งานฌาปนกิจศพกำ� นนั จงกติ ต์ิ คุณารักษ.์ (๒๕๕๔). [ม.ป.ท.: ม.ป.พ.]. (พมิ พเ์ ป็นอนสุ รณ์ใน
งานฌาปนกิจศพของทา่ นเมื่อวนั ท่ี ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๕๔).
อมรศักดิ์ สวัสด.ี (๒๕๖๓). ผลทเ่ี กดิ กับชมุ ชนในการก่อตงั้ มหาวทิ ยาลัย. (เอกสารอดั สำ� เนา) :
นครศรีธรรมราช: จงั หวดั นครศรธี รรมราช.
อวนลากหน้าดินในประเทศไทย. (๒๕๖๓). สืบค้นจาก http://repository.seafdec.or.th/
handle/๒๐.๕๐๐.๑๒๐๖๗/๑๔๒.
ก้ัน เชาวพ้อง. (๒๕๖๓, ๗ กันยายน). ภมู ิปัญญาด้านศิลปและวัฒนธรรม ศลิ ปการแสดงนโนราห์.
นางวนิดา เกิดด้วยทอง. สัมภาษณ์.
กิบหลี หมาดจิ. (๒๕๖๑, ๑๙ พฤษภาคม). ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน สาขาหัตถกรรม การจกั รสานไมไ้ ผ.่
นางสดุ ารัตน์ จันทร์อ�ำไพ. สมั ภาษณ.์
จำ� ลอง เมฆาวรรณ.์ (๒๕๖๓, ๗ กันยายน). ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ดา้ นศิลปและวัฒนธรรม ศลิ ปการท�ำ
เครอ่ื งดนตรีชุดมโนราห์. นางวนิดา เกิดด้วยทอง. สัมภาษณ์.

รหสั วชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 207

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

จ�ำเนยี ร คำ� หวาน. (๒๕๖๓, ๗ กนั ยายน). ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ดา้ นศลิ ปและวฒั นธรรม ด้านหนังตะลุง.
นายทรงชยั ชปู ระสูติ. สัมภาษณ์.
บญุ เสรมิ แกว้ พรหม. (๒๕๖๑, ๑๙ พฤษภาคม). บคุ คลสำ� คญั อำ� เภอท่าศาลา. นางกัลยา สุทนิ . สัมภาษณ์.
เย้มิ เรืองดษิ ฐ.์ (๒๕๖๑, ๑๙ พฤษภาคม). บคุ คลสำ� คัญอ�ำเภอทา่ ศาลา. นางกลั ยา สุทนิ . สัมภาษณ์.
หมดู ทรงเลศิ . (๒๕๖๒, ๒๐ พฤษภาคม). ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นดา้ นหัตกรรม การตอ่ เรือประมงพน้ื บ้าน.
นางกลั ยา สทุ นิ . สัมภาษณ.์
จำ� เปน็ รักษเ์ มอื ง. (๒๕๖๒, ๒๕ พฤษภาคม). ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สาขาการท�ำหตั กรรม เคร่อื งปัน้ ดนิ เผา
บ้านมะยงิ . นางสาวสจั มาศ กลั ยาโพธ์ิ และทรงชัย ชปู ระสตู ิ. สมั ภาษณ์.
ลาวลั ย์ ปริงทอง. (๒๕๖๐, ๑๐ พฤษภาคม). ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ สาขาคหกรรม การท�ำนำ้� มันมะพรา้ วสกดั เยน็ .
นางสาวทพิ วลั ย์ พรมมา. สมั ภาษณ์.
เลื่อน พรหมว.ี (๒๕๖๒, ๒๔ สงิ หาคม). ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น สาขาเกษตรกรรม ศนู ยเ์ รยี นรู้ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง. นางสาวสุภาณี มะหมนี . สมั ภาษณ.์
นิวัฒน์ ดมิ าร. (๒๕๖๒, ๑๕ มนี าคม). ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ สาขาเกษตรกรรม ดา้ นการแปรรปู ผลผลิตทาง
การเกษตร ยาเส้น”ยากลาย”. นางสาวทพิ วัลย์ พรมมา. สมั ภาษณ์.
ผอ่ งศรี มะหมัด. (๒๕๖๒, ๒๐ มีนาคม). ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สาขาคหกรรม การท�ำปลารา้ ฝังดิน.
นางสาวทิพวัลย์ พรมมา. สัมภาษณ์.
นิคม คงทน. (๒๕๖๑, ๒๐ เมษายน). บุคคลสำ� คญั ของอำ� เภอทา่ ศาลา. นางกัลยา สุทนิ . สัมภาษณ.์
สพุ จน์ ศรสี ชุ าติ. (๒๕๖๑, ๑๐ พฤษภาคม). ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น สาขาเกษตรกรรม ดา้ นการน�ำน้อมเศรษฐกจิ
พอเพยี ง. นางสาวสภุ าณี มะหมนี . สมั ภาษณ์.
เสวก ยุโส้. (๒๕๖๑, ๑ พฤษภาคม). ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น สาขาหตั ถกรรม ดา้ นการท�ำกรงนก. นางกลั ยา สุทนิ .
สัมภาษณ์.
อารี เชาวลิต. (๒๕๖๑, ๑๐ พฤษภาคม). ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น สาขาคหกรรม การท�ำขนมไทย ขนมเปียกปูน.
นายวิทยา โชตกิ ะ. สัมภาษณ์.
ฉลวย ปลอ้ งเกิด. (๒๕๖๑, ๑๐ พฤษภาคม). ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน สาขาหัตกรรม การท�ำอฐิ แดงหรืออิฐมอญ
นางสาวสัจมาศ กลั ยาโพธิ.์ สมั ภาษณ์.
เจรญิ โต๊ะอแิ ต. (๒๕๖๓, ๕ มนี าคม). ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ สาขาประมง. นางกัลยา สทุ นิ . สัมภาษณ.์
ยโุ สบ หลา้ เก. (๒๕๖๑, ๑๒ มนี าคม). ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน สาขาคหกรรม การท�ำน�้ำตาลมะพร้าว.
นางสุดารัตน์ จนั ทร์อำ� ไพ และนางกลั ยา สุทิน. สมั ภาษณ.์
หนูพนั สังวาลย์. (๒๕๖๒, ๒๕ เมษายน). ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น สาขาคหกรรม การท�ำขนมกะละแม.
นางกลั ยา สทุ นิ . สมั ภาษณ.์
ธรี ะชยั ชว่ ยช.ู (๒๕๖๒, ๒๕ พฤษภาคม). ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน สาขาเกษตรกรรม ด้านการท�ำปยุ๋ หมักชวี ภาพ.
นายวิทยา โชติกะ. สมั ภาษณ.์
สมจิตร เดชบญุ . (๒๕๖๒, ๑๐ พฤษภาคม). ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ สาขาเกษตรกรรม ดา้ นการปุ๋ยชีวภาพและ
การปยุ๋ มลู ใสเ้ ดือน. นางสาวอาทติ ย์ดาว แสงวิจิตร. สัมภาษณ.์

208 หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

ภาคผนวก

รหสั วิชา หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 209

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ประกาศสำ� นกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครศรีธรรมราช
เร่ือง แต่งตัง้ คณะกรรมการยกรา่ งหลักสูตรท่าศาลาศึกษา

ด้วยส�ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศูนย์การศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอท่าศาลา ประสงค์จะด�ำเนินการพัฒนาหลักสูตรท่าศาลาศึกษา เพ่ือน�ำไปใช้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน.อ�ำเภอท่าศาลา ได้เรียนรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชุมชน วิถีชีวิต

ความเปน็ อยู่ วฒั นธรรม ประเพณี และทรัพยากรธรรมชาติ ของชมุ ชนพน้ื ทอ่ี ำ� เภอทา่ ศาลา เพอื่ ใหน้ ักศกึ ษา และบุคลากร

กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา ไดม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจถงึ แกน่ แทข้ องอำ� เภอทา่ ศาลา อนั จะนำ� ไปสกู่ ารรกั ถน่ิ ฐานบา้ นเกดิ ทงั้ รว่ มอนรุ กั ษ์

พฒั นา สืบสาน และสืบทอดสคู่ นรุ่นตอ่ ไป

ดงั นน้ั เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ประวตั คิ วามเปน็ มาและความเปน็ ไปของชมุ ชนอำ� เภอทา่ ศาลาทถี่ กู ตอ้ งและสมบรู ณใ์ นการนำ�

มาเปน็ ข้อมลู จัดทำ� เน้อื หาสาระใหน้ ักศึกษา กศน. ไดเ้ รยี นรู้ จึงประกาศแต่งตั้งบคุ คลดงั ต่อไปนีเ้ พอื่ ยกร่างหลกั สตู รท่าศาลา

ศึกษา ดงั นี้

๑. นางเกษร ธานรี ัตน์ ผ้อู �ำนวยการ ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดนครศรีธรรมราช ประธานกรรมการ

๒. นางวิไลวรรณ ดาราพงศ์ รองผอู้ ำ� นวยการ สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั นครศรธี รรมราช รองประธานกรรมการ

๓. นายจ�ำรสั เพชรทบั อดีตศกึ ษานิเทศก์ ส�ำนักงาน สพป. เขต ๔ กรรมการ

จงั หวัดนครศรธี รรมราช (ขา้ ราชการบำ� นาญ)

๔. นายสวา่ ง อุษา ครู ช�ำนาญการพิเศษ กรรมการ

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๘

๕. นางศุภรนิ ทร์ เดน่ ดวง ศึกษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพเิ ศษ สพป.นศ.เขต ๔ กรรมการ

๖. นายมนตรี พรหมา อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดยางงาน สพป. กรรมการ

เขต ๔ จงั หวดั นครศรีธรรมราช (ขา้ ราชการบำ� นาญ) กรรมการ

๗. นายบญุ เสรมิ แก้วพรหม อดีตศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งาน สพป. เขต ๔ กรรมการ

จงั หวัดนครศรีธรรมราช (ข้าราชการบำ� นาญ)

๘. นายจรัญ ปลอดชแู ก้ว ผูใ้ หญ่บ้าน หมู่ ๑๒ ต�ำบลโมคลาน อ�ำเภอท่าศาลา กรรมการ

๙. นายวิชาญ เชาวลิตร อดีตขา้ ราชการครู โรงเรยี นทา่ ศาลาประสิทธิศกึ ษา

สพป. เขต ๔ จงั หวัดนครศรธี รรมราช (ขา้ ราชการบำ� นาญ) กรรมการ

๑๐. นางบษุ บา ดวงขจี อดีตครู คศ.๓ โรงเรยี นท่าศาลาประสิทธศิ ึกษา กรรมการ

๑๑. นางกนวรรณ ชโู ชติ ขา้ ราชการครู คศ. ๒ โรงเรยี นวดั ชลทาราม กรรมการ

๑๒. นางศริ ิรตั น์ หวันเหลม็ ขา้ ราชการครู คศ. ๓ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๘ กรรมการ

๑๓. นางบุษบา ดวงขจี อดตี ครู คศ.๓ โรงเรยี นท่าศาลาประสทิ ธิศกึ ษา กรรมการ

๑๔. นางกนวรรณ ชูโชติ ข้าราชการครู คศ. ๒ โรงเรยี นวดั ชลทาราม กรรมการ

๑๕. นางศิรริ ัตน์ หวนั เหล็ม ข้าราชการครู คศ. ๓ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๘ กรรมการ

210 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๑๖. นายเลือ่ น พรหมวี ภมู ปิ ญั ญา ต�ำบลสระแกว้ อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๑๗. นางเย้มิ เรืองดษิ ฐ์ อดตี ผู้ใหญบ่ ้านหมู่ ๑ ตำ� บลท่าขึ้น กรรมการ

๑๘. นายนิคม คงทน ทป่ี รกึ ษานายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บลสระแก้ว กรรมการ

๑๙. นางสาวลาวัลย์ ปริงทอง ภูมปิ ญั ญา ต�ำบลกลาย อ�ำเภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๐. นางผอ่ งศรี มะหมดั ภมู ปิ ัญญา ต�ำบลกลาย อ�ำเภอท่าศาลา กรรมการ

๒๑. นายยุโสบ หล้าเก ภูมปิ ัญญา ต�ำบลโมคลาน อำ� เภอท่าศาลา กรรมการ

๒๒. นายหนูพัน สงั วาล ภมู ปิ ญั ญา ตำ� บลหัวตะพาน อ�ำเภอท่าศาลา กรรมการ

๒๓. นายนวิ ัฒน์ ดิมาร ภมู ปิ ญั ญา ตำ� บลกลาย อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๔. นายสพุ จน์ ศรสี ชุ าติ ภมู ิปัญญา ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๕. นางอารี เชาวลติ ร ภูมปิ ัญญา ตำ� บลไทยบุรี อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๖. นางจำ� เปน็ รกั เมอื ง ภมู ิปัญญา ต�ำบลโพธทิ์ อง อำ� เภอท่าศาลา กรรมการ

๒๗. นายบงั หมดู พงเลิศ ภูมปิ ญั ญา ตำ� บลท่าศาลา อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๘. นายกิบหลี หมาดจิ ภูมปิ ัญญา ตำ� บลโมคลาน อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒๙. นายเจริญ โต๊ะอิแต ภูมิปัญญา ตำ� บลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา กรรมการ

๓๐. นายเสวก ยุโส้ ภมู ิปัญญา ต�ำบลท่าศาลา อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๓๑. นางกลั ยา สุทิน ผ้อู �ำนวยการ กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

๓๒. นางลัดดา ลอื ชา ครู กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

ใหผ้ ไู้ ดร้ บั การแตง่ ตงั้ ไดร้ ว่ มกนั ใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ ง ครบถว้ น และเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาหลกั สตู รทา่ ศาลาศกึ ษา

เพื่อใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์เปา้ หมายทวี่ างไว้

ทั้งน้ี ตงั้ แตว่ นั ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐

(นางเกษร ธานรี ัตน์)
ผ้อู ำ� นวยการ ส�ำนกั งาน กศน.จังหวัดนครศรธี รรมราช

รหัสวิชา หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 211

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ประกาศส�ำนักงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นครศรีธรรมราช
เร่ือง การแตง่ ต้งั คณะกรรมการพัฒนาเนอ้ื หาประกอบหลกั สูตรท่าศาลาศึกษา

ด้วยส�ำนักงาน การศึกษานอกระบ บและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศูนย์การศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอท่าศาลา ประสงค์จะด�ำเนินการพัฒนาหลักสูตรท่าศาลาศึกษา เพื่อน�ำไปใช้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน.อ�ำเภอท่าศาลา ได้เรียนรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของชุมชน วิถีชีวิตความ

เปน็ อยู่ วฒั นธรรม ประเพณี และทรัพยากรธรรมชาติ ของชมุ ชนพืน้ ท่อี ำ� เภอท่าศาลา เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษา และบคุ ลากร กศน.

อ�ำเภอท่าศาลา ได้มีความรู้ความเข้าใจถึงแก่นแท้ของอ�ำเภอท่าศาลา อันจะน�ำไปสู่การรักถ่ินฐานบ้านเกิด ท้ังร่วมอนุรักษ์

พฒั นา สืบสาน และสบื ทอดสู่คนรนุ่ ต่อไป

ดงั นัน้ เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มูล เนื้อหาสาระประกอบหลักสูตรได้สมบรู ณ์ และเปน็ ไปตามหลกั วิชาการการจัดท�ำเอกสาร

ประกอบหลักสูตร จงึ แต่งตง้ั คณะกรรมการ ดังน้ี

๑. คณะกรรมการทป่ี รึกษา ประกอบดว้ ย

๑.๑ นางเกษร ธานีรตั น์ ผ้อู �ำนวยการ ส�ำนักงาน กศน.จังหวดั นครศรีฯ ประธานกรรมการ

๑.๒ นางวิไลวรรณ ดาราพงศ์ รองผอู้ ำ� นวยการ สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั นครศรฯี รองประธานกรรมการ

๑.๓ ผศ.ดร.นิลรตั น์ นวกจิ ไพฑรู ย์ รองคณะบดี ฝา่ ยวางแผนและวจิ ัย กรรมการ

คณะคุรศุ าสตร์

มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช

จงั หวัดนครศรธี รรมราช

๑.๔ ผศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ อดีตผ้อู ำ� นวยการส�ำนกั อาศรม กรรมการ

มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์

ปัจจุบัน ดำ� รงตำ� แหนง่

ผู้อำ� นวยการสถาบันไทยคดศี ึกษา

มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ วทิ ยาเขตจงั หวัดสงขลา

๑.๕ ผศ.ดร.ไพโรจน์ นวลนมิ่ รองคณะบดี ส�ำนกั วิชาการจดั การ กรรมการ

มหาวิทยาลัยวลยั ลกั ษณ์

๑.๖ นางกลั ยา สทุ นิ ผู้อำ� นวยการ กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

มหี นา้ ท่ี อำ� นวยความสะดวก ใหค้ ำ� ปรกึ ษา การดำ� เนนิ การเรอ่ื งอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ การพฒั นา

เอกสารประกอบหลกั สูตรเปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย

212 หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๒. คณะกรรมการดำ� เนนิ การพฒั นาจัดทำ� เนื้อหาประกอบหลักสูตร ประกอบดว้ ย

๒.๑ คณะผู้จัดท�ำเนือ้ หา บทท่ี ๑ เรื่องภาพลักษณท์ ่าศาลา ประกอบดว้ ย

๒.๑.๑ นางกนวรรณ ชูโชติ ขา้ ราชการครู คศ. ๒ ประธานกรรมการ

โรงเรยี นวัดชลทาราม

๒.๑.๒ นางมะลพิ รรณ วงศ์สวสั ดิ์ ครูอาสาสมคั ร กศน. กรรมการ

๒.๑.๓ นางสาวอาทติ ย์ดาว แสงวิจติ ร ครู กศน. ต�ำบล กรรมการและ

เลขานุการ

๒.๒ คณะผจู้ ัดทำ� เนอื้ หา บทท่ี ๒ เรอื่ งพัฒนาการด้านประวัตศิ าสตร์อ�ำเภอท่าศาลา ประกอบด้วย

๒.๒.๑ นายจำ� รัส เพชรทบั อดตี ศกึ ษานเิ ทศก์ สำ� นกั งาน ประธานกรรมการ

สพป. เขต ๔ จังหวดั นครศรีธรรมราช

(ขา้ ราชการบ�ำนาญ)

๒.๒.๒ นายมนตรี พรหมา อดีตอาจารยใ์ หญโ่ รงเรยี นวัดยางงาม กรรมการ

สพป. เขต ๔ จงั หวัดนครศรีธรรมราช

(ขา้ ราชการบำ� นาญ)

๒.๒.๓ นายบุญเสริม แกว้ พรหม อดีตศึกษานเิ ทศก์ ส�ำนักงาน กรรมการ

สพป. เขต ๔ จงั หวัดนครศรธี รรมราช

(ขา้ ราชการบ�ำนาญ)

๒.๒.๔ นายจรัญ ปลอดชูแกว้ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๑๒ ตำ� บลโมคลาน กรรมการ

อ�ำเภอทา่ ศาลา

๒.๒.๖ นายวิชาญ เชาวลติ ร อดีตขา้ ราชการครู กรรมการ

โรงเรียนท่าศาลาประสทิ ธิศึกษา

สพป. เขต ๔ จังหวัดนครศรธี รรมราช

(ข้าราชการบำ� นาญ)

๒.๒.๗ นางสาวลัดดา ลือชา ครูช�ำนาญการ กรรมการและ

เลขานุการ

๒.๒.๘ นางสุดารัตน์ จนั ทร์อำ� ไพ ครู กศน. ต�ำบลโมคลาน กรรมการและ

ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

๒.๓ คณะผ้จู ัดท�ำเนอ้ื หา บทที่ ๓ เร่อื งนามบา้ นนามเมอื ง ประกอบด้วย

๗.๓.๑ นางบุษบา ดวงขจี ขา้ ราชการครู คศ.๓ โรงเรยี นท่าศาลา ประธานกรรมการ

๗.๓.๒ นางจไุ รรัตน์ ชว่ ยชู ครอู าสาสมคั ร กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการ

๗.๓.๓ นางกุสมุ าลย์ พลู แก้ว ครูอาสาสมคั ร กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานุการ

๒.๔ คณะผจู้ ัดท�ำเนอ้ื หา บทที่ ๔ เรือ่ งรุ่งเรืองวถิ ี ประกอบดว้ ย

๒.๔.๑ นางศริ ิรัตน์ หวนั เหลม็ ขา้ ราชการครู คศ. ๓ ประธานกรรมการ

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๘

รหัสวิชา หลักสูตรรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา 213

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

๒.๔.๒ นางสาวสจั มาศ กัลยาโพธิ์ ครูอาสาสมัคร กศน.อ�ำเภอทา่ ศาลา กรรมการ

๒.๔.๓ นางวนดิ า เกดิ ดว้ ยทอง ครู กศน. ตำ� บล กรรมการ

๒.๔.๔ นางนภิ าพรณ์ กระจ่างฉาย ครกู ารศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการและ

เลขานกุ าร

๒.๕ คณะผจู้ ดั ท�ำเน้ือหา บทที่ ๕ เรอ่ื งบคุ คลส�ำคัญท่าศาลา ประกอบด้วย

๒.๕.๑ นางกลั ยา สุทนิ ผอู้ �ำนวยการ กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา ประธานกรรมการ

๒.๕.๒ นางกนกวรรณ ชสู วุ รรณ ครชู �ำนาญการพิเศษ กรรมการ

๒.๕.๓ นางนลินรัชต์ ยเุ หลก็ ครู กศน. ตำ� บล กรรมการและเลขานกุ าร

๒.๖ คณะผู้จดั ทำ� เนอ้ื หา บทท่ี ๖ เรอื่ งภมู ิปัญญาทา่ ศาลา ประกอบดว้ ย

๒.๖.๑ นางวาสินี นาคงาม บรรณรักษ์ช�ำนาญการพิเศษ ประธานกรรมการ

๒.๖.๒ นางสาวสภุ านี มะหมีน ครู กศน. ตำ� บล กรรมการ

๒.๖.๓ นายเลื่อน พรหมวี ภูมปิ ญั ญา ตำ� บลสระแกว้ กรรมการ

๒.๖.๔ นางสาวทพิ วัลย์ พรมมา ครูการศกึ ษาพเิ ศษ กรรมการและเลขานกุ าร

๒.๗ คณะผู้จดั ท�ำเนอื้ หา บทที่ ๗ เร่ืองเมอื งมหาวิทยาลัย ประกอบดว้ ย

๒.๗.๑ ผศ.ดร.ไพโรจน์ นวลน่มิ รองคณะบดี ส�ำนักวิชาการจดั การ ประธานกรรมการ

มหาวทิ ยาลยั วลยั ลักษณ์

๒.๗.๒ นายวิทยา โชติกะ ครู กศน.ต�ำบลไทยบุรี กรรมการ

๒.๗.๓ นางสาวพัชรกัญญ์ ลอ่ งแกว้ ครู กศน. ตำ� บลกลาย กรรมการและเลขานกุ าร



มีหน้าที่ ส่งเสริมสนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ข้อเสนอแนะ ตลอดจนเขียนเนื้อหาประกอบหลักสูตรรายวิชาเลือก

ให้มีคณุ ภาพ ถกู ต้อง ครบถ้วน สมบรู ณ์ บรรลุตามวัตถปุ ระสงคต์ ามทต่ี ้งั ไว้

๓. ผู้เชย่ี วชาญดา้ นการพฒั นาหลักสูตร ประกอบด้วย

๓.๑ นางวไิ ลวรรณ ดาราพงศ์ รอง ผอ. ส�ำนกั งาน กศน. ประธานกรรมการ

จงั หวัดนครศรีธรรมราช

๓.๒ นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ์ วช ศึกษานเิ ทศก์ สำ� นกั งาน กศน. กรรมการ

๓.๓ นางกนวรรณ ชูสวุ รรณ ข้าราชการครู ชำ� นาญการ กรรมการ

๓.๔ นางสาวชนะจิต โมฬิยสวุ รรณ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งาน กรรมการ

กศน. จงั หวัดพัทลงุ

๓.๕ นางกลั ยา สทุ ิน ผอ.กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการและ

เลขานุการ

๓.๖ นางลัดดา ลือชา ครู ช�ำนาญการ กรรมการและ

เลขานุการ

มีหน้าที่ จัดท�ำและพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนควบคุมดูแลให้การจัดท�ำหลักสูตรรายวิชาเลือกให้มีคุณภาพ
ถกู ต้อง ครบถว้ น สมบรู ณ์ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ตามทตี่ ้งั ไว้

214 หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

๔. ผู้เชี่ยวชาญดา้ นเทคโนโลยี ประกอบดว้ ย

นางกัญญาทพิ ย์ เสนาะวงศ์ ครชู ำ� นาญการพิเศษ สถาบนั การศึกษาภาคตะวันออก

มหี น้าท่ี ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ ำ� ปรกึ ษา ข้อเสนอแนะ การจดั ทำ� พัฒนาส่ือ การน�ำเทคโนโลยมี าใชป้ ระกอบการ

จดั การเรียนการสอน หลกั สูตรรายวชิ าเลือกให้มีคุณภาพ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบูรณ์ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ตามทตี่ ั้งไว้

๕. ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นวดั ผลประเมินผลการศกึ ษา ประกอบด้วย

๕.๑ ผศ.ดร.นลิ รัตน์ นวกิจไพฑรู ย์ รองคณะบดี ฝา่ ยวางแผนและวิจัย ประธานกรรมการ

คณะคุรศุ าสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครศรีธรรมราช

จังหวดั นครศรีธรรมราช

๕.๒ นางสาวชมพู ชุตนิ นั ทกุล ข้าราชการครชู ำ� นาญการพเิ ศษ กรรมการ

กศน. อำ� เภอปากพนงั

๕.๓ นางกัลยา สทุ ิน ผูอ้ ำ� นวยการ กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

๕.๓ นางสดุ ารัตน์ จันทรอ์ ำ� ไพ ครู กศน.ต�ำบลโมคลาน กรรมการและ

ผชู้ ่วยเลขานุการ

มีหน้าท่ี ส่งเสริมสนับสนุน การด�ำเนินการจัดท�ำและออกแบบเคร่ืองมือวัดผลประเมินผลการประเมิน
การจัดการเรียนการสอน และการประเมินการใช้หลักสูตรรายวิชาเลือกให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ บรรลุตาม

วตั ถุประสงคต์ ามท่ตี ้ังไว้

๖. ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นพสิ จู น์อกั ษร การใชภ้ าษาและการอ้างองิ

๖.๑ นางเฉลิมลักษณ์ เติมภาชนะ ครู ช�ำนาญการพิเศษ ประธานกรรมการ

กศน.อำ� เภอเฉลมิ พระเกียรติ

๖.๒ นางจุไรรัตน์ ช่วยชู ครูอาสาสมัคร กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา กรรมการ

๖.๓ นางสาวสัจมาศ กลั ยาโพธ์ิ ครูอาสาสมคั ร กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการ

๖.๔ นางวาสนิ ี นาคงาม บรรณรกั ษ์ช�ำนาญการพเิ ศษ

กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

มหี น้าท่ี ตรวจสอบ ตวั อักษร การพิมพถ์ กู - พมิ พผ์ ิด และการอ้างอิงในบรรณานุกรม เอกสารประกอบหลกั สูตร
วิชาเลือกให้มคี ณุ ภาพ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบรู ณ์ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ตามทต่ี ัง้ ไว้

รหัสวิชา หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 215

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ใหผ้ ้ไู ด้รบั การแตง่ ตง้ั ปฏิบตั ิงานดว้ ยความรับผิดชอบ ทุม่ เท เสยี สละ เพื่อประโยชน์สูงสุดของทางราชการ
ทัง้ นี้ตัง้ แต่ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นตน้ ไป
สง่ั ณ วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(นางเกษร ธานีรตั น์)
ผู้อำ� นวยการสำ� นกั งาน กศน.จังหวดั นครศรธี รรมราช

216 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ประกาศสำ� นกั งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดนครศรธี รรมราช
เร่ือง การแต่งตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพหลกั สตู รทา่ ศาลาศกึ ษา

ด้วยส�ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยศูนย์การศึกษา

นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอท่าศาลา ประสงค์จะด�ำเนินการพัฒนาหลักสูตรท่าศาลาศึกษา เพ่ือน�ำไปใช้

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน.อ�ำเภอท่าศาลา ได้เรียนรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของชุมชน วิถีชีวิตความ

เป็นอยู่ วฒั นธรรม ประเพณี และทรัพยากรธรรมชาติ ของชุมชนพนื้ ท่อี �ำเภอทา่ ศาลา เพื่อให้นักศึกษา และบุคลากร กศน.

อ�ำเภอท่าศาลา ได้มีความรู้ความเข้าใจถึงแก่นแท้ของอ�ำเภอท่าศาลาอันจะน�ำไปสู่การรักถิ่นฐานบ้านเกิด ทั้งร่วมอนุรักษ์

พัฒนา สืบสาน และสืบทอดสู่คนรุน่ ตอ่ ไป

ดังน้ัน เพื่อเป็นการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรท่าศาลาศึกษา ท่ีมีเน้ือหาสาระถูกต้องครบถ้วน สมบูรณ์

และสามารถนำ� ไปใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรใู้ หก้ บั นกั ศกึ ษา จงึ แตง่ ตง้ั บคุ คลตอ่ ไปนเี้ ปน็ คณะกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพ

หลักสตู รทา่ ศาลาศกึ ษา ดังน้ี

๑. ผศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ อดตี ผ้อู ำ� นวยการส�ำนักอาศรม ประธานกรรมการ

มหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์

ปจั จบุ นั ด�ำรงตำ� แหน่ง

ผอู้ ำ� นวยการสถาบันไทยคดศี กึ ษา

มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ วทิ ยาเขตจังหวัดสงขลา

๒. ผศ.ดร.ไพโรจน์ นวลนิม่ รองคณะบดี ส�ำนักวิชาการจดั การ กรรมการ

มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์

๓. ผศ.ดร.นลิ รัตน์ นวกจิ ไพฑูรย์ รองคณะบดี ฝ่ายวางแผนและวจิ ัย กรรมการ

คณะคุรุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช

จังหวัดนครศรธี รรมราช

๔. นายจำ� รัส เพชรทบั อดตี ศึกษานเิ ทศก์ สำ� นักงาน กรรมการ

สพป. เขต ๔ จังหวดั นครศรธี รรมราช

(ขา้ ราชการบำ� นาญ)

๕. นายมนตรี พรหมา อดีตอาจารยใ์ หญโ่ รงเรียนวดั ยางงาม กรรมการ

สพป. เขต ๔ จังหวัดนครศรธี รรมราช

(ขา้ ราชการบำ� นาญ)

๖. นายบญุ เสรมิ แก้วพรหม อดีตศึกษานเิ ทศก์ สำ� นกั งาน กรรมการ

สพป. เขต ๔ จังหวัดนครศรธี รรมราช

๗. นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งาน กศน. กรรมการ

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 217

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

๘. นางสาวชมภู ชตุ นิ ันทกุล ครชู ำ� นาญการพิเศษ กศน.อ�ำเภอปากพนัง กรรมการ

๙. นางกญั ญาทพิ ย์ เสนาะวงศ์ ครูชำ� นาญการพเิ ศษ กรรมการ

สถาบันการศกึ ษาภาคตะวนั ออก

๑๐. นางสาวชนะจิต โมฬิยสวุ รรณ ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งาน กรรมการ

กศน. จงั หวัดพัทลุง

๑๑. นางกัลยา สุทิน ผู้อำ� นวยการ กศน.อำ� เภอท่าศาลา กรรมการและ

เลขานกุ าร

๑๒. นางลดั ดา ลือชา ครู ช�ำนาญการ กรรมการและ

ผชู้ ว่ ยเลขานุการ

มีหน้าท่ี ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร ก่อนน�ำไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้กับนักศึกษา ถูกต้องตามหลักวิชาการ

ถูกตอ้ ง ครบถ้วนสมบรู ณ์ เพอ่ื ประโยชนส์ ูงสุดของทางราชการ

ทงั้ น้ี ตัง้ แตว่ นั ท่ี ๒๕ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป

สงั่ ณ วันที่ ๒๕ เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓

(นายเรวัฒน์ เพช็ รสงฆ)์
ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งาน กศน.จังหวดั นครศรีธรรมราช

218 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

คณะผู้จัดทำ�

ที่ปรึกษา ผ้อู �ำนวยการ ส�ำนักงาน กศน.จงั หวดั นครศรฯี
อดตี ผูอ้ �ำนวยการ ส�ำนกั งาน กศน.จังหวัดนครศรฯี
๑. นายเรวัฒน์ เพช็ รสงฆ์ รองผู้อำ� นวยการ สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั นครศรฯี
๒. นางเกษร ธานีรัตน์ อดีตผ้อู ำ� นวยการสำ� นกั อาศรม มหาวิทยาลยั วลัยลักษณ์
๒. นางวไิ ลวรรณ ดาราพงศ์ ปัจจุบนั ดำ� รงตำ� แหนง่ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบนั ไทยคดศี ึกษา
๓. ผศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาต ิ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ วิทยาเขตในจงั หวัดสงขลา
รองคณะบดี สำ� นักวิชาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์
รองคณะบดี ฝา่ ยวางแผนและวจิ ยั คณะครุ ุศาสตร์
๔. ผศ.ดร.ไพโรจน์ นวลนมิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช
๕. ผศ.ดร.นลิ รตั น์ นวกิจไพฑูรย์ จังหวัดนครศรธี รรมราช
อดตี ผ้อู ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นสระบัว สพป. เขต ๔
จงั หวัดนครศรธี รรมราช (ขา้ ราชการบ�ำนาญ)
๖. ดร.กัตตกิ า ศรีมหาวโร อดีตศกึ ษานเิ ทศก์ สำ� นักงาน สพป. เขต ๔
จงั หวัดนครศรีธรรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
๗. นายจำ� รัส เพชรทบั อดตี ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงาน สพป. เขต ๔
จงั หวัดนครศรธี รรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
๘. นายบุญเสริม แกว้ พรหม อดตี อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวดั ยางงาม
สพป. เขต ๔ จงั หวดั นครศรีธรรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
๙. นายมนตรี พรหมา ผ้อู ำ� นวยการ กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา

๑๐. นางกลั ยา สทุ นิ อดตี ศกึ ษานเิ ทศก์ สำ� นักงาน กศน.
อดตี ข้าราชการครู โรงเรยี นทา่ ศาลาประสิทธิศึกษา
สพป. เขต ๔ จงั หวัดนครศรีธรรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
คณะทำ� งาน ขา้ ราชการครู คศ.๓ โรงเรยี นทา่ ศาลาประสิทธศิ กึ ษา
ขา้ ราชการครู คศ. ๒ โรงเรียนวดั ชลทาราม
๑. นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช ขา้ ราชการครู คศ. ๓ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๘
๒. นายวิชาญ เชาวลิตร ศกึ ษานเิ ทศก์ สำ� นกั งาน กศน. จังหวัดพัทลุง
ครชู ำ� นาญการพเิ ศษ สถาบันการศึกษาภาคตะวนั ออก
๓. นางบุษบา ดวงขจี ขา้ ราชการครูช�ำนาญการพิเศษ กศน. อำ� เภอปากพนัง
๔. นางกนวรรณ ชูโชต ิ ผ้ใู หญบ่ ้าน หมู่ ๑๒ ตำ� บลโมคลาน อ�ำเภอทา่ ศาลา
๕. นางศิรริ ตั น์ หวันเหลม็ ภมู ปิ ญั ญา ต�ำบลสระแก้ว
๖. นางสาวชนะจติ โมฬิยสุวรรณ ครูชำ� นาญการพเิ ศษ กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๗. นางกัญญาทพิ ย์ เสนาะวงศ์
๘. นางสาวชมพู ชตุ นิ นั ทกุล
๙. นายจรัญ ปลอดชูแกว้
๑๐. นายเลื่อน พรหมวี
๑๑. นางกนวรรณ ชูสุวรรณ

รหัสวชิ า หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 219

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

๑๒. นางสาวลดั ดา ลอื ชา ครูช�ำนาญการ กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๑๓. นางสาวฉตั รติมา ผดั วิเศษ ครูผูช้ ว่ ย กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๑๔. นางมะลพิ รรณ วงศ์สวสั ดิ์ ครูอาสาสมัคร กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๑๕. นางจไุ รรัตน์ ช่วยชู ครอู าสาสมัคร กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๑๖. นางสาวสัจมาศ กัลยาโพธ ิ์ ครูอาสาสมัคร กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๑๗. นางกสุ ุมาลย์ พลู แก้ว ครอู าสาสมคั ร กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๑๘. นางสาวอาทติ ยด์ าว แสงวจิ ติ ร ครู กศน.ตำ� บลท่าศาลา กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๑๙. นางสุดารัตน์ จันทรอ์ �ำไพ ครู กศน.ตำ� บลโมคลาน กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๐. นางสาวจนั ทิมา เชยกาญจน ์ ครู กศน.ตำ� บลท่าข้นึ กศน.อ�ำเภอทา่ ศาลา
๒๑. นายวทิ ยา โชตกิ ะ ครู กศน.ตำ� บลไทยบรุ ี กศน.อ�ำเภอท่าศาลา
๒๒. นางวนดิ า เกิดด้วยทอง ครู กศน.ตำ� บลดอนตะโก กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๓. นางสาวสุภานี มะหมีน ครู กศน.ตำ� บลสระแกว้ กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๔. นางสาวพัชรกญั ญ์ ล่องแก้ว ครู กศน.ตำ� บลกลาย กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๕. นางนลนิ รัชต์ ยเุ หล็ก ครู กศน.ตำ� บลตลิง่ ชนั กศน.อ�ำเภอทา่ ศาลา
๒๖. นายปญั ญา ราหกุ าญจน ์ ครู กศน.ตำ� บลหัวตะพาน กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๗. นายทรงชยั ชปู ระสตู ิ ครู กศน.ตำ� บลโพธิ์ทอง กศน.อำ� เภอท่าศาลา
๒๘. นางสาวทพิ วลั ย์ พรมมา ครูการศึกษาพิเศษ กศน.อำ� เภอทา่ ศาลา
๒๙. นางนภิ าพรณ์ กระจ่างฉาย ครูการศกึ ษาพเิ ศษ กศน.อำ� เภอท่าศาลา
อดตี ผู้อำ� นวยการส�ำนกั อาศรม มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์
บรรณาธกิ ารกิจ ปจั จบุ นั ดำ� รงตำ� แหนง่ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ไทยคดีศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ วิทยาเขตในจังหวดั สงขลา
๑. ผศ.ดร.สืบพงศ์ ธรรมชาติ อดตี ศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนักงาน สพป. เขต ๔
จังหวดั นครศรีธรรมราช (ขา้ ราชการบ�ำนาญ)
อดีตศกึ ษานเิ ทศก์ ส�ำนกั งาน สพป. เขต ๔
๒. นายจำ� รสั เพชรทบั จงั หวดั นครศรีธรรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรยี นวดั ยางงาม
๓. นายบญุ เสรมิ แกว้ พรหม สพป. เขต ๔ จงั หวัดนครศรธี รรมราช (ข้าราชการบ�ำนาญ)
อดตี ศึกษานิเทศก์ ส�ำนกั งาน กศน.
๔. นายมนตรี พรหมา ขา้ ราชการครู คศ. ๒ โรงเรียนวัดชลทาราม
ข้าราชการครู คศ. ๓ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๘
๕. นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช ผู้อำ� นวยการ กศน.อ�ำเภอทา่ ศาลา
๖. นางกนวรรณ ชูโชติ
๗. นางศิริรัตน์ หวนั เหลม็
๘. นางกัลยา สทุ นิ

220 หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

พสิ ูจนอ์ กั ษร
๑. นางเฉลิมลกั ษณ์ เต็มภาชนะ ครูชำ� นาญการพิเศษ กศน. อำ� เภอเฉลมิ พระเกยี รติ
๒. นางจไุ รรตั น์ ช่วยช ู ครูอาสามคั ร กศน. อ�ำเภอทา่ ศาลา
๓. นางสาวสจั มาศ กัลยาโพธิ ์ ครูอาสาสมคั ร กศน. อำ� เภอท่าศาลา
๔. นางวาสนิ ี นาคงาม บรรณารกั ษ์ ช�ำนาญการพเิ ศษ กศน. อำ� เภอทา่ ศาลา

ออกแบบปก
สำ� นกั พมิ พ์ หจก.ประยรู การพิมพ์ประยรู ์การพิมพ์

รหสั วิชา หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 221

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้


Click to View FlipBook Version