The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g3570kanyatipsa, 2021-03-10 12:45:51

ท่าศาลาศึกษา

ท่าศาลา

Keywords: ท่าศาลา,ศึกษา

จากขอ้ ความทว่ี า่ ตัง้ ดนิ ตัง้ ฟ้า ต้ังหญ้าเขด็ มอน โมคลานตั้งกอ่ น เมืองนครตงั้ หลงั เบ้ืองหนา้
พระยัง เบอ้ื งหลังพระภมู ี ต้นศรีมหาโพธิ ห้าโบสถ์หกวิหาร เจด็ ทวารแปดเจดยี ์ อันเป็นลายแทงบอกแหล่งสมบัติ
ของวัดโมคลาน โมคลานตง้ั ก่อน เมืองนครต้ังหลัง บอกใหร้ ู้ว่าแผ่นดินท่าศาลาได้รวมตัวเป็นแว่นแคว้นอย่างชัดเจน
บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองมานานแล้ว เมืองนครศรีธรรมราชเพ่ิงจะมาสร้างกันทีหลัง ดังน้ัน สมมุติฐานที่ว่า
สชิ ล - ทา่ ศาลา เปน็ ศนู ยก์ ลางของ อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ จากโบราณสถานและโบราณวตั ถทุ พี่ บชดั เจนวา่ อาณาจกั ร
ตามพรลิงค์ ต้ังอยู่ที่อ�ำเภอสิชลและอ�ำเภอท่าศาลา นอกจากน้ียังมีพื้นท่ีในอ�ำเภอใกล้เคียง คือ อ�ำเภอนบพิต�ำ
อ�ำเภอพรหมคีรี อ�ำเภอลานสกา อ�ำเภอพระพรหม อ�ำเภอร่อนพิบูลย์ อ�ำเภอจุฬาภรณ์ และ อ�ำเภอเมือง
ในแต่ละพื้นที่มีโบราณสถานโบราณวัตถุอีกเป็นจ�ำนวนมาก อาณาเขตของเมืองตามพรลิงค์นับเนื่องจากหุบเขา
ชอ่ งคอยในเขตอำ� เภอจฬุ าภรณ์ ไล่ขนึ้ ไปทางทศิ เหนอื ถึงคลองเหลงในเขตอ�ำเภอสชิ ล อาณาบริเวณเมอื งตามพรลิงค์
กว้างขวางใหญ่โตมากโดยไม่มีก�ำแพงล้อมรอบ เขตอิทธิพลของอาณาจักรตามพรลิงค์ครอบคลุมคาบสมุทรมลายู
ทั้งหมด ยังมีชุมชนพราหมณ์ขนาดใหญ่ที่ไชยา กษัตริย์ปกครองอาณาจักรตามพรลิงค์เรียกว่า ราชวงศ์ไศเลนทร์
ราชวงศไ์ ศเลนทรเ์ ปน็ ราชวงศท์ ย่ี ง่ิ ใหญม่ าก ปกครองทชี่ วา สมุ าตรา คาบสมทุ รมลายู อาณาจกั รเจนละ อาณาจกั รขอม
อาณาจักรจามปา ราชวงศ์ไศเลนทร์ปกครองครอบคลุมท่ัวเอเชียอาคเนย์ รูปแบบศิลปวัฒนธรรมการปกครองของ
ราชวงศไ์ ศเลนทร์ ไมม่ ศี นู ยก์ ลางควบคมุ อยทู่ เ่ี มอื งใดเมอื งหนง่ึ แตเ่ ปน็ รปู แบบทางศลิ ปวฒั นธรรมของกลมุ่ บา้ นเมอื ง
ทอี่ ยรู่ วมกนั มรี ปู แบบศลิ ปวฒั นธรรมเดยี วกนั มถี น่ิ กำ� เนดิ มาจากอนิ เดยี ใตเ้ หมอื นกนั แวน่ แควน้ เหลา่ นม้ี คี วามสมั พนั ธ์
เก่ียวข้องกันทางเศรษฐกิจการเมืองและสังคม อยู่รวมกันเป็นสหพันธรัฐโดยมีศูนย์อ�ำนาจตั้งอยู่ในรัฐท่ีเข้มแข็งท่ีสุด
ศูนย์อ�ำนาจสามารถเคล่ือนย้ายจากรัฐหน่ึงไปยังอีกรัฐหนึ่ง ขึ้นอยู่กับว่าผู้น�ำของรัฐใดเข็มแข็งท่ีสุด แต่ก็ไม่มีอ�ำนาจ
ที่แท้จริงในการบังคับบัญชาบ้านเมืองอื่น เพราะแต่ละรัฐยังมีอิสระในการปกครองตนเองอย่างสมบูรณ์ แต่มีการ
ยอมรบั ซงึ่ กนั และกนั เพอ่ื เขา้ รวมในสหพนั ธรฐั เพอื่ ผลประโยชนท์ างการคา้ การเดนิ ทางไปมาหาสู่ การมคี วามเลอ่ื มใส
ศรทั ธาในสง่ิ เดยี วกนั นายยอรช์ เซเดส์ คดิ วา่ นเี่ ปน็ เครอื ขา่ ยอารยธรรมแบบ ศรวี ชิ ยั เลยเรยี กแวน่ แควน้ ทอ่ี ยรู่ วมกนั
ในเอเชียอาคเนย์ว่า อาณาจักรศรีวิชัย อันเป็นการเข้าใจผิดข้อเท็จจริงมีว่า อาณาจักรศรีวิชัยเกิดจากแนวคิด
และทฤษฏขี อง ยอรช์ เซเดส์ นกั ประวตั ศิ าสตรแ์ ละผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตช้ าวฝรงั่ เศส คำ� วา่ ศรวี ชิ ยั
ของนายยอร์ช เซเดส์ มาจากศิลาจารึกหลักที่ ๒๓ จารึกเมื่อ พ.ศ. ๑๘๑๘ พบท่ีวัดเสมาเมือง อ�ำเภอเมือง
จังหวัดนครศรีธรรมราช จารึกว่า ศรีวชิ เยนทรราชา อนั เป็นชือ่ ของกษัตรยิ พ์ ระองคห์ นึ่งของอาณาจกั รตามพรลิงค์
ไม่ใช่เมืองศรวี ชิ ยั หรอื อาณาจกั รศรวี ิชัยแต่อยา่ งใด ทมี่ ีการอา้ งหลกั ฐานทีอ่ ินโดนีเซียบอกวา่ มคี ำ� ว่า ศรีวิชยั นน้ั กย็ งั
ไมช่ ดั เจนนัก ดงั นัน้ นกั ประวตั ศิ าสตร์นกั โบราณคดที ้งั ชาวไทยและชาวตา่ งชาติหลายคน ลงความเห็นวา่ อาณาจักร
ศรวี ชิ ยั ไมม่ ตี วั ตนอยจู่ รงิ ของจรงิ ทมี่ อี ยใู่ นเวลานนั้ คอื อาณาจกั รตามพรลงิ คท์ ่ี สชิ ล-ทา่ ศาลา กบั อาณาจกั รตามพรลงิ ค์
ท่ี ไชยา เมื่อพุทธศตวรรษที่ ๖-๑๓ และ อาณาจักรตามพรลิงค์ท่ี นครศรีธรรมราช กับ อาณาจักรตามพรลิงค์ที่
สวุ รรณปุระ (ไชยา) เม่ือพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๙ ดงั นั้น ทเ่ี รียกวา่ อาณาจักรศรีวชิ ัย ควรเปลย่ี นเปน็ อาณาจักร
แหง่ ราชวงศไ์ ศเลนทร์ จะถกู ตอ้ งยงิ่ กวา่ เพราะทกุ เมอื งปกครองโดยกษตั รยิ จ์ ากราชวงศไ์ ศเลนทร์ อาณาจกั รศรวี ชิ ยั
เปน็ อาณาจกั รท่ีสมมตุ ิขนึ้ มาโดย ยอรช์ เซเดส์ (Gorge Coedes) นกั ประวตั ิศาสตรแ์ ละนักโบราณคดีชาวฝร่งั เศส
แนวคดิ และทฤษฎีของ ยอร์ช เซเดส์ จึงยังไม่ชดั เจน แต่อยา่ งไรก็ตามแนวคิดของ ยอร์ช เซเดส์ ยงั ส่งอทิ ธพิ ลต่อ
ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย และ ประวัติศาสตรข์ องชาติตา่ งๆ ในเอเชยี อาคเนย์เรอื่ ยมาจนถงึ ปจั จุบัน
อาณาเขตของอาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ที่ ๑ (สชิ ล-ทา่ ศาลา) ดา้ นตะวนั ออกจดอา่ วไทย ดา้ นตะวนั
ตกจดทะเลอันดามัน ด้านเหนือพื้นท่ีครอบคลุมถึงเมืองเพชรบุรี (พริบพรี) ด้านใต้ถึงเมืองตรังแต่ยังไม่ครอบคลุม
ไปจนสุดแหลมมลายู เพราะทางภาคใต้ยังมีอาณาจักร ลังกาสุกะ สร้างข้ึนในศตวรรษท่ี ๗ ยุคเดียวกับอาณาจักร

40 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ตามพรลิงค์ ปัจจุบันลังกาสุกะกลายเป็นแหล่งโบราณคดีที่ส�ำคัญ ต้ังอยู่ในจังหวัดปัตตานี อาณาจักรลังกาสุกะ
เป็นอาณาจักรอิสระนับถือศาสนาพุทธ มีอิทธิพลครอบคลุมพ้ืนที่ตั้งแต่จังหวัดตรัง ลงไปจนสุดปลายแหลมมลายู
อาณาจกั รลงั กาสกุ ะรงุ่ เรอื งจนถงึ ศตวรรษท่ี ๑๑ เสอ่ื มอำ� นาจลงกลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ที่ ๑
(สิชล-ทา่ ศาลา) ถึงพุทธศตวรรษท่ี ๒๐ ลังกาสกุ ะล่มสลายกลายเป็นเมืองร้าง เนอื่ งจากตัวเมอื งอยู่ห่างไกลจากทะเล
ก่อนหน้านีม้ ีการสร้างเมืองใหมท่ ่อี ยใู่ กล้กบั ทะเลคือ เมอื งปัตตานี ชว่ งที่สรา้ งเมอื งปัตตานี เป็นเวลาของอาณาจกั ร
ตามพรลงิ คย์ คุ ที่ ๓ ศนู ยก์ ลางอยทู่ เ่ี มอื งนครศรธี รรมราช ปตั ตานมี ฐี านะเปน็ เมอื ง ๑๒ นกั ษตั รของเมอื งนครศรธี รรมราช
อาณาจักรตามพรลิงค์ยุคท่ี ๑ สิชล-ท่าศาลา ล่มสลายกลายเป็นเมืองร้างประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ เนื่องจาก
ศาสนาพราหมณ์เสื่อมความนิยม ในขณะที่ศาสนาพุทธได้รับความนิยมมากข้ึนกว้างขึ้น ศาสนสถานของพราหมณ์
หลายแห่งถกู ร้ือถอน น�ำอฐิ มาสร้างศาสนสถานของพุทธ กรอบประตู กรอบหนา้ ตา่ ง สว่ นประกอบอ่นื ถูกรอ้ื น�ำมา
ปักเป็นเสาเรียงรายอยู่ริมทางเดินหน้าวัดโมคลาน แต่ปัจจุบันถูกถอนน�ำไปกองรวมกันไว้ใกล้สนามเด็กเล่นของ
โรงเรียนวัดโมคลาน โบราณสถานพราหมณ์ท่ีวัดไทรขามถูกรื้อน�ำมาสร้างวัดไทรขาม ส่วนโบราณวัตถุถูกชาวบ้าน
หยบิ ฉวยไปครอบครองเปน็ เจา้ ของ มโี บราณวตั ถบุ างชน้ิ ถกู นำ� ไปไวท้ วี่ ดั จนั พอ ชว่ งทพ่ี ระครวู สิ ทุ ธจิ ารเี ปน็ เจา้ อาวาส
วัดจันพอ และ เจ้าคณะอ�ำเภอกลาย (ท่าศาลา) เช่น ฐานโยนิโทรณะท่ีได้มาจากวัดไทรขาม ปัจจุบันต้ังตากแดด
ตากฝนอยทู่ างทศิ เหนอื ของศาลาการเปรยี ญวดั จนั พอ อาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ที่ ๑ สชิ ล-ทา่ ศาลา ลม่ สลายตอ้ งยา้ ย
ไปต้ังม่ันในที่แห่งใหม่ ขณะท่ีศาสนาพุทธนิกายมหายานก�ำลังเจริญรุ่งเรือง มีการสร้างเมืองสร้างวัดบนสันทราย
ของหาดทรายแกว้ เปน็ อาณาจกั รตามพรลงิ คย์ คุ ที่ ๒ โดยศนู ยก์ ลางอยทู่ ่ี เมอื งพระเวยี ง สว่ นอาณาจกั รตามพรลงิ ค์
ยุคท่ี ๒ ศูนย์กลางที่เมืองพระเวียง ระหว่างคลองคูพายกับคลองสวนหลวง จะไม่กล่าวถึงในตอนน้ีและอาณาจักร
ตามพรลิงค์ยุคท่ี ๓ ศูนย์กลางที่เมืองนครศรีธรรมราช ระหว่างคลองป่าเหล้า กับ คลองหน้าเมือง มีเมืองบริวาร
๑๒ เมือง เรยี กว่าเมอื งสิบสองนักษตั ร

๒.๓ แหล่งโบราณคดที ่สี �ำคัญสมยั อาณาจักรตามพรลงิ ค์ยุคที่ ๑

แหล่งโบราณคดีท่ีส�ำคัญสมัยอาณาจักรตามพรลิงค์ยุคท่ี ๑ อ�ำเภอท่าศาลา (พุทธศตวรรษ
ท่ี ๗ - ๑๓ หรือ พ.ศ. ๖๐๑ - ๑๓๐๐) ประกอบด้วยแหลง่ โบราณสถาน ดังน้ี
๒.๓.๑ โบราณสถานโมคลาน หมู่ ๑๑ ต�ำบลโมคลาน อ�ำเภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช
เป็นเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย เมื่อพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก
ตอ่ มามโี บราณสถานของพทุ ธศาสนาสรา้ งซอ้ นทบั ลงไป ๓ หลงั โดยหนั ดา้ นหนา้ ไปทางทศิ เหนอื อาคารดา้ นตะวนั ออก
ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ตรงกลางเปน็ เจดยี อ์ งคใ์ หญ่ ดา้ นตะวนั ตกเปน็ เจดยี อ์ งคเ์ ลก็ ดา้ นหลงั เจดยี อ์ งคเ์ ลก็ เปน็ โบราณ
สถานของพราหมณ์ ภายในโบราณสถานของพราหมณ์มีเทวรูปต้ังอยบู่ นแทนเทวรปู พบแตแ่ ทนเทวรูป ส่วนเทวรปู
ยังหาไม่พบเข้าใจว่าคงจะถูกน�ำไปไว้ที่อ่ืน นอกจากนี้ยังพบศิวลึงค์ ฐานโยนิโทรณะ ชิ้นส่วนสถาปัตยกรรมได้แก่
ธรณีประตู กรอบประตู (หินแกะสลัก) กรอบหนา้ ตา่ ง เสาหนิ ฐานเสา เปน็ ต้น พบสระน�้ำที่ใช้ในพิธกี รรมของศาสนา
พราหมณ์และศาสนาพุทธ อยู่ทางตะวันออกของก�ำแพงแก้ว จ�ำนวน ๑ สระ ด้านหลังของอาคารท้ังหมด
ห่างไปทางทิศใต้ประมาณ ๒๕ เมตร เป็นอาคารที่อยู่อาศัยของสงฆ์จ�ำนวน ๒ หลัง เรียกว่าเขตสังฆาวาส
มีก�ำแพงแก้วล้อมสังฆาวาสกินอาณาเขตถึงตัวอาคารเรียนโรงเรียนวัดโมคลาน ด้านทิศใต้ของสังฆาวาสมีบ่อน�้ำต้ืน
๑ บ่อ รอบสังฆาวาสมคี รู ะบายนำ้� เสีย ครู ะบายน�้ำปลอ่ ยนำ้� เสยี ทอดยาวไปลงทะเลทางด้านทศิ ตะวันออก พบเหน็ อยู่
ในสวนปา่ ของวดั ตอนทข่ี ดุ แตง่ โบราณสถานโมคลานประมาณปี ๒๕๓๘ สมยั ทอ่ี าจารยฉ์ ลาด หนเู มอื ง เปน็ อาจารยใ์ หญ่
โรงเรียนวัดโมคลาน ปจั จบุ ันครู ะบายนำ�้ ถกู น้ำ� ฝนชะดนิ ลงไปถมจนมองไม่เห็น

หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 41

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ภาพโบราณสถานโบราณวัตถุ ศาสนาพราหมณ์ท่ี “โมคลาน” ขณะก�ำลงั ขุดแต่ง เหน็ เสาศลิ าทใ่ี ช้ปกั เป็นทางเขา้ วดั โมคลาน กอ่ นถูกถอนมากองรวมกนั
ไว้ใกล้กบั สนามเด็กเล่นของโรงเรยี นวดั โมคลาน

ภาพอาคารดา้ นตะวนั ออก เปน็ อาคารทางพทุ ธศาสนา ภาพอาคารตรงกลาง เปน็ อาคารทางพระพทุ ธศาสนา เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐาน
เปน็ ทป่ี ระดิษฐานพระพทุ ธรปู เจดยี อ์ งค์ใหญ่

ภาพอาคารด้านตะวันตก ด้านหน้าเป็นอาคารทางพุทธศาสนา ภาพรวมโบราณสถานโมคลาน อาคารท้ัง 3 หลังเรียงกันแนวตะวันออก-
ประดิษฐานเจดีย์องค์เล็ก ด้านหลังเจดีย์องค์เล็กเป็นโบราณสถาน ตะวันตก ทางด้านขวามีอาคารซ้อนกันอยู่หลายหลัง ด้านหน้าเป็นเจดีย์
ของพราหมณ์ โบราณสถานของพราหมณข์ ดุ พบศวิ ลงึ ค์ ฐานโยนโิ ทรณะ ของศาสนาพทุ ธ ดา้ นหลงั ของเจดยี เ์ ปน็ โบราณสถานของพราหมณ์ อาคารของ
กรอบประตู ธรณปี ระตู เป็นตน้ พราหมณซ์ อ้ นกนั อยู่ 2-3 หลงั และ หันหน้าไปทศิ ตะวันออก

42 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ภาพจากแหล่งโบราณโมคลาน เสาหินหน้าวดั โมคลานที่ปักเปน็ แนวทางเดนิ หน้าวัด ถูกถอนนำ� มารวมไวต้ รงนี้ ชนิ้ ส่วนฐานเสา กรอบประตู ธรณีประตู
กรอบหน้าตา่ ง เปน็ ตน้ นำ� มากองรวมกันไว้ใกล้สนามเด็กเลน่ ของโรงเรยี นวดั โมคลาน อำ� เภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรีธรรมราช
ภาพบริเวณสังฆาวาสวัดโมคลาน ต้ังอยู่ทางทิศใต้ของพุทธาวาส บริเวณนี้น่าจะเป็นท่ีต้ังของกุฏิสงฆ์ ด้านหลังของกุฏิมองเห็นแนวก�ำแพงล้อมรอบกุฏิ
และลอ้ มรอบบรเิ วณใชส้ อยของสงั ฆาวาสทงั้ หมด มอี าณาบรเิ วณกวา้ งใหญก่ วา่ แนวกำ� แพงแกว้ ของเขตพทุ ธาวาสทอี่ ยดู่ า้ นหนา้ แนวกำ� แพงสงั ฆาวาสเขา้ ไป
ถงึ ครงึ่ หน่งึ ของพนื้ ทีอ่ าคารเรียนโรงเรยี นวัดโมคลาน ภาพกลางอาจารยภ์ าณนุ ำ� นักเรยี นวดั โมคลานออกสำ� รวจพ้ืนที่

ภาพพระพทุ ธรูป พบทีว่ ัดโมคลาน อายุ พุทธศตวรรษท่ี 16-17 ลกั ษณะ
เป็นพระพุทธรูปยืน หัตถ์ซ้ายแสดงปางวิตรรกะ พระพักตร์เหล่ียม
พระนลาฎกวา้ ง พระนาสกิ ใหญ่ พระโอษฐก์ วา้ ง เกตมุ าลาเปน็ รปู กรวยแหลม
ลักษณะของพระพุทธรูปเป็นศิลปะแบบเขมร ช่วงเวลาที่โบราณสถาน
พราหมณโ์ มคลาน ปรบั เปลยี่ นมาเปน็ พทุ ธศาสนา เมอื่ พทุ ธศตวรรษที่ 14-18
พบพระพุทธรูปองค์น้ีตอนขุดแต่งโบราณสถานวัดโมคลานเม่ือ ปี 2538
ผู้เขียนจ�ำได้ว่าตอนนั้นอาจารย์ ฉลาด หนูเมือง เป็นอาจารย์ใหญ่
โรงเรยี นวดั โมคลาน พระพทุ ธรปู องคน์ จี้ ดั แสดงอยทู่ พี่ พิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ
นครศรธี รรมราช

หลักสตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 43

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๒.๓.๒. โบราณคดที งุ่ นำ้� เคม็ ตง้ั อยู่หมทู่ ่ี๙ตำ� บลโพธทิ์ องอำ� เภอทา่ ศาลาเมอื่ พ.ศ.๒๕๑๐-๒๕๑๑
ชาวบ้านขุดดินบริเวณทุ่งน�้ำเค็ม (น�ำดินมาท�ำอิฐและเคร่ืองปั้นดินเผา) อยู่ห่างจากโบราณสถานโมคลานไปทาง
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๑ กิโลเมตร (จากลักษณะทางภูมิศาสตร์พ้ืนดินบริเวณน้ีในยุคน้ันมีสภาพ
เป็นท้องทะเล) ได้พบเงินเหรียญแบบฟูนันอยู่ลึกลงไปในดิน ๑.๕ เมตร เป็นเหรียญแบบเดียวกับที่เคยพบท่ี
เมืองออกแก้วประเทศเวียดนาม แบบเดียวกับที่เคยพบบริเวณชุมชนโบราณ ในเขตภาคกลางของประเทศไทย
เหรยี ญเงนิ ฟนู นั ทพี่ บอยรู่ วมกนั ในกระปกุ จำ� นวน ๑๕๐ เหรยี ญ แสดงวา่ ดนิ แดนแถบนม้ี กี ารตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ดนิ แดน
ในประเทศกมั พูชา และ เวียดนามมาตง้ั แตพ่ ุทธศตวรรษท่ี ๓ เพราะอาณาจกั รฟนู ันเกดิ ขนึ้ ในดนิ แดนประเทศเขมร
ชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๓ หมายถงึ ดนิ แดนแถบนี้มีการติดต่อกับแวน่ แคว้นอืน่ มาก่อนแล้วประมาณ ๑,๘๐๐ - ๒,๒๐๐ ปี
นบั จากเวลาปัจจุบนั (๒๕๖๐)

ภาพเหรียญเงิน พบที่ “ทงุ่ น�้ำเค็ม” ต.โมคลาน อ.ท่าศาลา คลา้ ยกับท่พี บในเมืองโบราณ “ทวารวดี” ในเขตภาคกลาง

๒.๓.๓. โบราณสถานไทรขาม

ภาพซา้ ยคือปา้ ยชื่อวัดไทรขามสมัยกอ่ น ภาพขวาคอื ป้ายวดั ไทรขามในปจั จบุ ัน

วัดไทรขาม ตง้ั อย่ทู ่ี หมู่ ๖ ตำ� บลดอนตะโก อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช
เป็นวัดเก่าโบราณ วัดไทรขามแต่เดิมเป็นโบราณสถานของพราหมณ์ ลักษณะเป็นเนินดินมีพ้ืนที่ประมาณ ๑๐ ไร่
มีผู้พบโบราณวัตถุที่เรียกว่าฐานโยนิโทรณะ มีอายุรุ่นราวคราวเดียวกับโบราณวัตถุที่วัดโมคลาน บางชิ้นเป็นเศษ

44 หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ทรากวางเกะกะอยใู่ นวดั บางชนิ้ ถกู นำ� ไปไวท้ อี่ นื่ ๆ นอกจากนย้ี งั พบโบราณวตั ถอุ กี หลายชนิ้ ตามประวตั ขิ องวดั ไทรขาม
กลา่ วว่า แต่กอ่ นวัดไทรขามเป็นวดั รา้ งอยใู่ นการดูแลของวัดจันพอ เวลานั้นเจา้ อาวาสวัดจนั พอคือพระครูวสิ ุทธจิ ารี
(พ่อท่านพุ่ม) ได้น�ำฐานโยนิโทรณะ และ โบราณวัตถุต่างๆ ไปเก็บไว้ท่ีวัดจันพอ ช่วงที่ผู้เขียนเป็นอาจารย์ใหญ่
โรงเรียนวัดจันพอเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๒ เห็นหินที่เป็นโบราณวัตถุบางชิ้นถูกน�ำมาท�ำเป็นหินลับมีดต้ังอยู่
ข้างออกโรงธรรมวดั จนั พอ

ภาพซา้ ยคือทรากโยนิโทรณะวางอยรู่ อบโคนไม้ ภาพขวาคือสระน�้ำทใ่ี ชใ้ นพิธกี รรมของพราหมณก์ รดุ ว้ ยอฐิ โบราณ

๒.๓.๔. โบราณสถานวัดตาเณร
(วดั รา้ ง) เปน็ โบราณสถานของศาสนาพราหมณ์ จากการ
สอบถามผู้คนในท้องท่ีต�ำบลโพธิ์ทอง อ�ำเภอท่าศาลา
บอกว่าตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของมัสยิด
อิสลามบ้านตีนดอน ต�ำบลโพธิ์ทอง อ�ำเภอท่าศาลา
โดยสอบถามจากนายหนังจ�ำเนียร ค�ำหวาน และ
นายเขยี น รปู โอ เลา่ วา่ บรเิ วณนเ้ี ปน็ แหลง่ โบราณสถาน
ท่ีส�ำคัญมาก ช่วงแรกมีการขุดพบเทวรูปพระวิษณุ
อยู่ในการครอบครองของเอกชน เวลาน้ีต้ังแสดงอยู่
ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินครศรีธรรมราช ปัจจุบัน
แหลง่ โบราณสถานวดั ตาเณรมพี น้ื ทน่ี อ้ ยลงเกดิ จากการ
บุกรุกของชาวบ้าน ทางการควรเข้ามาควบคุมดูแล
ให้เข้มงวดมากกวา่ นี้ เพราะต่อไปอาจจะไม่เหลอื แหลง่ ภาพพระวษิ ณุ ขดุ พบทว่ี ดั ตาเณร อยทู่ างทศิ ตะวนั ออกของสเุ หรา่ บา้ นตนี ดอน
โบราณสถานแห่งนีอ้ กี เลย ต�ำบลโพธ์ิทอง อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ยุคพุทธศตวรรษ
ที่ 10-12

หลักสูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 45

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

๒.๓.๕. โบราณสถานตุมปงั (วดั รา้ ง)

โบราณสถานตุมปัง ต้ังอยู่ ณ หมู่ท่ี 6 ตำ� บลไทยบุรี อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นแหล่งโบราณสถาน
ในเขตพน้ื ทขี่ องมหาวทิ ยาลัยวลยั ลักษณ์ พบว่าอิทธพิ ลของวฒั นธรรมอินเดีย จากการส�ำรวจของกรม

โบราณสถานตมุ ปงั ตง้ั อยู่ ณ หมทู่ ่ี ๖ ตำ� บลไทยบรุ ี อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
เปน็ แหลง่ โบราณสถานในเขตพน้ื ที่ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ พบว่าอิทธพิ ลของวัฒนธรรมอินเดียแพรก่ ระจายอยู่
เปน็ จำ� นวนมาก จากการสำ� รวจของกรมศลิ ปากรเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๖ ขดุ พบช้นิ สว่ นทอ่ นล่างของเทวรปู พระนารายณ์
สกัดจากหิน (ตอนนั้นเข้าใจว่าเป็นรูปเคารพของศาสนาพราหมณ์) โบราณสถานตุมปังแห่งน้ีอาจบอกร่องรอยของ
ประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ ไมเ่ พียงแตป่ ระวตั ิศาสตร์ของอำ� เภอท่าศาลา หากศกึ ษากนั อยา่ งละเอยี ด อาจบง่ บอกความเปน็ มา
ของอาณาจักรตามพรลงิ คไ์ ด้ ดังนน้ั โบราณสถานตมุ ปงั จงึ มีความส�ำคญั มาก โดยเฉพาะทางมหาวิทยาลยั วลัยลกั ษณ์
ในฐานะเจา้ ของพนื้ ท่ี ท�ำการศึกษาเบ้อื งต้นพบเหน็ ความต่อเนอ่ื ง และ การเรียงลำ� ดับชว่ งเวลาของชุมชนในยคุ ต่างๆ
ซึ่งก็คือการเรียงล�ำดับความเป็นมาของประวัติศาสตร์เมืองนครศรีธรรมราชน่ันเอง แหล่งโบราณคดีแห่งน้ีต้ังอยู่บน
ทรี่ าบลมุ่ ทางทศิ ตะวนั ตกของสนั ทราย ชว่ งฤดฝู นมนี ำ�้ ทว่ มขงั บรเิ วณโบราณสถาน ดา้ นทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใตม้ ลี กั ษณะ
คล้ายคันดิน กั้นระหว่างพื้นที่ลุ่มด้านทิศตะวันออกกับพ้ืนท่ีของโบราณสถานอย่างชัดเจน คล้ายกับการสร้างคันดิน
ป้องกนั น�ำ้ ท่วม จงึ เหน็ ความแตกต่างของพืชทีอ่ ยนู่ อกคนั ดนิ กับพืชท่ีอย่ทู างทิศตะวันตกไดช้ ัดเจน
ลักษณะท่ัวไป เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖ กรมศิลปากรท�ำการส�ำรวจแหล่งโบราณสถานตุมปัง
อย่างเป็นทางการ พบว่าบริเวณแหล่งศิลปกรรมโบรานสถานตุมปังมีสภาพโดยทั่วไปเป็นพ้ืนราบ ต้ังอยู่ระหว่าง
แนวสนั ทรายท่าสูงกบั แนวเทือกเขาหลวง พื้นทบ่ี รเิ วณน้เี หมาะกับการท�ำนาปลกู ข้าว เพราะเป็นที่ราบลุ่มกอ่ นถงึ ตวั
สนั ทรายทา่ สงู ในสมยั กอ่ นเตม็ ไปดว้ ยตน้ ยางนา มกี อไผข่ นึ้ กระจดั กระจายทว่ั ไป สลบั กบั ปา่ ละเมาะ ในตอนหลงั พน้ื ท่ี
บริเวณโบราณสถานมีผู้นำ� ยางพาราไปปลูกเอาไว้ สว่ นรอบนอกออกไปเปน็ ที่ราบโล่งมตี น้ ยางนามีกอไผเ่ หลอื อย่บู า้ ง
แหลง่ โบราณคดตี มุ ปงั ประกอบดว้ ยโบราณสถาน ๔ อาคาร ปลกู สรา้ งตา่ งยคุ ตา่ งสมยั กนั แตอ่ ยภู่ ายในแนวกำ� แพงแกว้
เดยี วกนั มที างเขา้ ออกทางเดยี วประตตู ดั แนวกำ� แพงแกว้ ดา้ นทศิ ตะวนั ออก เสน้ ทางเขา้ ออกเดมิ เขา้ ทางทศิ ตะวนั ออก
ปจั จบุ ันเข้าออกทางด้านทิศใต้

46 หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ภาพเนนิ โบราณสถานตมุ ปงั ซง่ึ ตอนแรกเขา้ ใจวา่ เปน็ แหลง่ โบราณสถาน ภาพวาดเนินโบราณสถานตุมปงั มี 4 เนนิ โดยมีแนวกำ� แพงแกว้ ลอ้ มรอบเนนิ
ของศาสนาพราหมณ์ แต่เม่ือมีการขุดพบรูปเคารพของพระโพธิสัตว์ ที่ 1-2 ส่วนเนินท่ี 3-4 มีแนวก�ำแพงแก้วเดียวกัน เนินที่ 1 พบส่วนล่าง
พระอวโลกเิ ตศวรไดค้ รบถว้ น ทำ� ใหท้ ราบวา่ เปน็ โบราณสถานของศาสนา ของรูปเคารพ และ พบส่วนล�ำตัวของรูปเคารพ เนินที่ 3 พบพระเศียร
พทุ ธลัทธิมหายาน ของรูปเคารพ เม่ือน�ำมารวมกันกลายเป็นรูปเคารพพระโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวร และ/หรอื พระศรีอารียเมตไตรย์

ภาพพระโพธสิ ตั วห์ รอื องคพ์ ระอวโลกเิ ตศวร โบราณวตั ถขุ องศาสนาพทุ ธลทั ธมิ หายาน ขดุ พบทโ่ี บราณสถานตมุ ปงั มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ ตำ� บลไทยบรุ ี
อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ตอนแรกเข้าใจว่าเป็นรูปเคารพของศาสนาพราหมณ์ แต่ปัจจุบันทราบว่าเป็นรูปเคารพของของศาสนาพุทธ
ลัทธิมหายาน เรยี กว่าพระอวโลกเิ ตศวร หรือ พระศรีอารยี เมตไตรย์

หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 47

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ภาพของนักเรยี น โรงเรยี นเมืองนครศรีธรรมราช ก�ำลงั ศกึ ษาโบราณสถานตุมปงั ทอี่ าคารหมายเลขสี่

อาคารหมายเลขหนึ่ง เป็นสิ่งก่อสร้างสมัยแรกสุดของแหล่งโบราณคดี อาคารก่อด้วยอิฐ
ทรงสี่เหลีย่ มจัตรุ สั ขนาด ๓.๓๐ x ๓.๓๐ ตารางเมตร ภายในมหี อ้ งรูปสเ่ี หล่ยี มผืนผา้ ขนาด ๒.๕๐ x๑.๖๐ ตารางเมตร
ประกอบดว้ ยผนงั ๓ ดา้ น ดา้ นทศิ ตะวนั ออกเปน็ ทางเขา้
ไม่พบพ้ืนห้องภายในอาคาร การขุดค้นพบโบราณวัตถุ
เชน่ ชน้ิ สว่ นรปู เคารพสลกั จากหนิ ทรายทอ่ นลำ� ตวั ตงั้ แต่
คอลงมาถึงบ้ันเอว ช้ินส่วนรูปเคารพสลักท่อนแขน
และมือ อนึ่ง อาคารหมายเลขหน่ึงเคยขุดพบท่อนล่าง
ของพระอวโลกิเตศวรเมื่อหลายปีก่อน สามารถต่อเข้า
กับส่วนล�ำตัวที่พบทีหลังจากอาคารหมายเลขหนึ่ง
เหมอื นกนั และตอ่ ไดพ้ อดกี บั เศยี รของพระอวโลกเิ ตศวร ภาพอาคารหมายเลข 1 นา่ จะมรี ปู เคารพเปน็ พระอวโลกเิ ตศวรวางอยภู่ ายใน
ท่ีขุดได้จากอาคารหมายเลขสาม เศียรรูปเคารพ เน่ืองจากพบท่อนล่าง และ ทอนล�ำตัวของพระอวโลกิเตศวรฝังอยู่ภายใน
สวมเทรดิ สงู ดา้ นหน้าของเทรดิ เจาะเปน็ ช่องเล็กๆ รูป บริเวณนี้ เปน็ อาคารหลังแรกทีก่ ่อสร้างในพน้ื ทีโ่ บราณสถานตุมปัง

สามเหลย่ี ม ทำ� ใหส้ นั นษิ ฐานวา่ รปู เคารพองคน์ อ้ี าจเปน็ พระโพธสิ ตั ว์ เพราะชอ่ งเลก็ ๆ นคี้ ลา้ ยชอ่ งสำ� หรบั ใสพ่ ระพทุ ธ
รปู อนั เปน็ ลกั ษณะทางประตมิ านวทิ ยาของพระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร หรอื อาจใชบ้ รรจสุ ถปู ขนาดเลก็ อนั เปน็ ลกั ษณะ
ทางประติมานวิทยาของพระโพธิสัตว์ศรีอารียเมตไตรย์ ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายาน ชิ้นส่วน
ทั้งหมดท่ีได้จากการขุดแต่งสามารถต่อได้เป็นองค์เดียวกัน ปัจจุบันจัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
นครศรีธรรมราช

48 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

อาคารหมายเลขสอง เป็นสิ่ง
ก่อสร้างในสมัยที่ ๒ ของแหล่ง เหลือเพียงส่วนฐาน
ของอาคารท่ีเป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ส่วนบนของอาคาร
สมบูรณ์ที่สุดคือด้านทิศใต้ มองเห็นรูปแบบการก่ออิฐ
ของอาคารประกอบดว้ ยชนั้ ฐานเขยี ง ถดั ขนึ้ มามชี นั้ ฐาน
บวั แตส่ ว่ นบนจากนไี้ ปเสอื่ มสภาพทง้ั หมด สว่ นบนของ
อาคารมรี ่องรอยการลักลอบขุดคน้ หาส่ิงมคี า่
อาคารหมายเลขสาม เป็นสิ่ง ภาพอาคารหมายเลข 2 อยทู่ างขวามอื ของอาคารหมายเลข 1 สรา้ งเปน็ ลำ� ดบั
ที่ 2 สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเจดีย์และมีฐานเป็นสี่เหลี่ยม อาจคล้ายกับ
กอ่ สรา้ งสมยั สดุ ทา้ ยเปน็ อาคารกอ่ อฐิ ฐานสเี่ หลย่ี มจตั รุ สั พระบรมธาตุไชยา เพราะมีอฐิ ที่สกัดเปน็ บัวหงายอย่ทู ่ีฐานของเจดยี ์
ภายในเปน็ หอ้ งสเ่ี หลี่ยมขนาดเลก็ ๆ ประกอบดว้ ยผนัง
๓ ดา้ น ทางทศิ ตะวนั ออกเปน็ ชอ่ งทางเขา้ -ออก รปู แบบ
คล้ายเทวสถานในศาสนาพราหมณ์ ฐานอาคารพบว่า
ค่อนข้างสมบูรณ์ทั้ง ๔ ด้าน ภายในอาคารปูพื้นด้วย
แผน่ อฐิ เตม็ พนื้ ท่ี จดั วา่ เปน็ โบราณสถานทสี่ มบรู ณท์ ส่ี ดุ
ในจ�ำนวน ๔ แห่ง พบเศยี รรปู เคารพตรงพนื้ ท่ีทางเข้า
อาคารหลังนีด้ ้วย
อาคารหมายเลขส่ี อยูใ่ นสมยั เดยี ว ภาพอาคารหมายเลข 3 ตั้งอยู่หน้าอาคารหมายเลข 2 ทางขวาของอาคาร
กบั อาคารหมายเลขสาม เปน็ โบราณสถานทพี่ บจากการ มีประตูทางเขา้ ส่อู าคารหมายเลข 2 ประตูตดั ผา่ นก�ำแพงแกว้ ชัน้ ใน อาคารนี้
อาจเป็นเจดีย์ หรอื พทุ ธสถาน เพราะขุดพบเศียรพระอวโลกิเตศวรท่ีอาคาร
ขุดขยายพื้นที่ มีลักษณะเป็นแนวอิฐสี่เหล่ียมผืนผ้า หลงั น้ี
ก่อชนกับก�ำแพงแก้วของอาคารหมายเลขหน่ึง
เป็นอาคารโปร่งมีชุดหลังคาเป็นเคร่ืองไม้ พบฐานเสา
หนิ ทราย ๔ คู่ ฝงั อยใู่ นแนวกำ� แพงอฐิ ตรงกลางของหอ้ ง
ก่ออิฐที่มีรูปแบบคล้ายฐานรูปเคารพ ทางเข้าอาคาร
ก่อเป็นทางขึ้นเล็กๆ ด้วยอิฐ อยู่ทางทิศตะวันออก
ตรงกับประตูของก�ำแพงแก้วด้านทิศตะวันออก
หนา้ ประตกู ำ� แพงแกว้ ทางทศิ ตะวนั ออกมคี นั ดนิ อนั เปน็
ทางเดนิ หลกั เขา้ สโู่ บราณสถานวดั ตมุ ปงั สองขา้ งคนั ดนิ ภาพอาคารหมายเลข 4 สร้างอยู่หน้าอาคารหมายเลข 1 ก่อสร้างหลังสุด
หน้าอาคารมีทางขึ้นเลก็ ๆ ตวั อาคารมีหลงั ค่าคลุมมีเสา 4 คู่ ฐานเสาท�ำด้วย
มสี ระนำ้� ขนาบซา้ ยขวา นำ�้ ในสระทง้ั สองนำ� มาใชบ้ รโิ ภค หินสลักเป็นรูส�ำหรับวางเสาไม้ 8 ต้น ตรงกลางอาคารก่ออิฐรูปสี่เหล่ียม
อปุ โภค สระนำ�้ ตอ่ อยูก่ ับคนู �ำ้ ทข่ี ุดลอ้ มรอบกำ� แพงแก้ว น่าจะใช้วางดอกไม่ธูปเทียนบูชาพระอวโลกิเตศวรท่ีอยู่ในอาคารหมายเลข 1
ที่อยู่ข้างหลัง ด้านหลังอาคารหมายเลข 4 มีประตูผ่านก�ำแพงแก้วเข้าไปใน
เอาไวอ้ ีกช้นั หนึ่ง อาคารหมายเลข 1 ได้

หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 49

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ก�ำแพงแก้ว โบราณสถานทั้งหมด
มีก�ำแพงแก้วล้อมรอบ ส่วนใหญ่มีสภาพช�ำรุดจากการ
ขดุ แตง่ ลำ� ดบั การสรา้ งกำ� แพงแกว้ ดงั นี้ แนวกำ� แพงแกว้
แรกสุดเป็นก�ำแพงแก้วรอบอาคารหมายเลขหน่ึง
โดยมมุ กำ� แพงพบรอ่ งรอยการเซาะรอ่ งอฐิ คลา้ ยตอ้ งการ
ท�ำลวดลายประดับ ปรากฏอยู่ที่มุมก�ำแพงด้านตะวัน
ออกเฉยี งเหนอื และ ดา้ นตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ตอ่ มามกี าร
สร้างกำ� แพงสมัยที่ ๒ ซึ่งล้อมรอบอาคารหมายเลขสอง ภาพก�ำแพงแก้ว ล้อมรอบโบราณสถานตุมปังทั้งหมด ก�ำแพงแก้วด้านหน้า
เช่ือมต่อกับก�ำแพงแก้วรอบอาคารหมายเลขหน่ึง หนาประมาณ 125 เซนติเมตร ก�ำแพงแก้วด้านหลังหนาประมาณ 1 เมตร
โดยกอ่ ปดิ ทบั ลวดลายเสามมุ กำ� แพงดว้ ย สมยั สดุ ทา้ ยคอื บริเวณก�ำแพงแก้วทางขวามือของภาพเป็นประตูทางเข้าโบราณสถานตุมปัง
มเี พยี งประตเู ดยี ว สมยั โบราณเสน้ ทางเขา้ สโู่ บราณสถานมาทางทศิ ตะวนั ออก
ก�ำแพงแก้วรอบอาคารหมายเลขสาม มีขนาดใหญ่กว่า ของตุมปงั (ทางเข้าปัจจบุ ันมาทางทิศใต้)
ก�ำแพงแกว้ รอบโบราณสถานอกี สองหลัง โดยก�ำแพงแก้วเดิมมคี วามกว้างประมาณ ๑ เมตร ส่วนกำ� แพงแกว้ ในสมัย
สุดท้ายกว้างประมาณ ๑.๕-๒ เมตร ท้ังน้ีมีร่องรอยการก่อสร้างก�ำแพงซ้อน เพิ่มเติมขนาดของก�ำแพงท่ีบริเวณ
ก�ำแพงแก้วด้านทิศใต้ของอาคารหมายเลขสาม ตรงบริเวณรอยต่อกับก�ำแพงแก้วทิศใต้ของอาคารหมายเลขหนึ่ง
บริเวณช่วงกลางของก�ำแพงจะเห็นแนวก�ำแพงแก้วเดิมเรียงตัวต่อเน่ืองอย่างชัดเจน ถัดไปทางทิศตะวันออกห่าง
จากแนวก�ำแพงอฐิ ๑ เมตร รอบก�ำแพงแก้วทั้ง ๔ ดา้ น มีคูนำ้� ล้อมรอบ คูนำ�้ กว้างประมาณ ๒.๕ เมตร คนู �้ำอย่หู ่าง
จากก�ำแพงแก้ว ๒ เมตร โดยคนู ำ้� ดา้ นทศิ ใต้เชอื่ มต่ออยู่กบั สระน้�ำดา้ นทิศใต้
มีสระน้ำ� โบราณรปู สเ่ี หลยี่ มผืนผา้ ๒ สระ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๖๐ เมตร ลกึ ประมาณ ๒ - ๓ เมตร
ระหว่างสระน้ำ� ทงั้ สองมคี ันดินกว้าง ๕ เมตร แนวคนั ดนิ สันนิษฐานวา่ นา่ จะเป็นเส้นทางเข้าโบราณสถาน เพราะตรง
กับประตูทางเข้าโบราณสถานซึ่งมีอยู่เพียงประตูเดียว
นอกจากน้ี ยงั พบเครอ่ื งถว้ ยชามของจนี อกี หลายชนิ้ เชน่
ชามเคลือบสีเขียวสลักด้านนอกเป็นลายกลีบบัว
ผลิตจากเตาหลงฉวนมณฑลเจ้อเจียง มีอายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๙ พบคณฑีเคลือบสีเขียวและสีเหลือง
ลวดลายพรรณพฤกษาพิมพ์นูนสมัยราชวงศ์หมิง
พทุ ธศตวรรษที่ ๒๑ จักรพรรดเิ จยี้ จ้งิ พบถ้วยขนาดเล็ก
เคลอื บขาวทำ� จากเตาเตอ๋ ฮว่ั มณฑลฝเู จย้ี น ครง้ั ราชวงศ์
ชิงตอนต้น อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ มีการพบอิฐ ภาพประตูทางเข้าโบราณสถานตุมปัง เป็นประตูเดียวท่ีผ่านก�ำแพงแก้ว
โดยท่ัวไป ขนาดของอิฐยาว ๓๒ ซม. กว้าง ๑๗ ซม. เขา้ ไปในโบราณสถาน ถา่ ยภาพทหี่ นา้ ประตมู มุ กลอ้ งมองมาจากทศิ ตะวนั ออก
เข้าไปเป็นอาคารหมาย 4 สรา้ งอยขู่ า้ งหนา้ ถัดไปเป็นอาคารหมายเลข 1

หนา ๗ ซม. นอกจากพืน้ ยงั มีการพบอฐิ ทที่ �ำการขดั ฝน
เข้าใจว่าโบราณสถานแห่งนี้มีการท�ำบัวคว่�ำบัวหงายหรือลูกแก้วด้วย ด้วยเหตุท่ีสถานที่แห่งนี้ไม่พบกรอบประตู
และธรณปี ระตทู ีท่ ำ� จากหิน ไม่พบฐานโยนโิ ทรณะ ไมพ่ บศวิ ลึงค์ ไมพ่ บรปู เคารพองค์พระวษิ ณุ เป็นตน้ จึงแน่ใจได้วา่
ตมุ ปังไมใ่ ชโ่ บราณสถานของพราหมณ์

50 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ภาพคันดนิ ทางเข้าโบราณสถานตุมปัง เปน็ คนั ดินที่เดินเข้ามาทางทศิ ตะวันออก ด้านซ้ายมือของภาพเปน็ สระนำ้� โบราณ
ทางขวามือของภาพกเ็ ปน็ สระน้ำ� โบราณเหมือนกัน

๒.๓.๖. โบราณสถานเกาะพระนารายณ์ เปน็ โบราณสถานเกา่ แกข่ องอำ� เภอทา่ ศาลา มอี ายชุ ว่ ง
พุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓ มีผู้ขุดพบรูปพระวิษณุ (พระนารายณ์) สร้างตามความเช่ือของศาสนาพราหมณ์
ลัทธิไวษณพนกิ าย จ�ำนวน ๒ องค์ ไวษณพนกิ ายในทา่ ศาลามพี บไมก่ ี่แห่ง ท่ีพบส่วนใหญจ่ ะเปน็ ไศวนกิ าย หลักฐาน
ทพ่ี บมซี ากเศษอฐิ กระจดั กระจดั กระจายทวั่ บรเิ วณแหลง่ โบราณสถาน และยงั พบสระนำ�้ โบราณ ปจั จบุ นั สระนำ�้ โบราณ
ถกู ถมไปบา้ งแลว้ สำ� หรบั พระวษิ ณุ (พระนารายณ)์ ตามหลกั ฐานกลา่ ววา่ พบพระวษิ ณทุ วี่ ดั เกาะพระนารายณ์ ๒ องค์
คอื องค์พระวิษณุท�ำจากศิลาสงู ๖๘ เซนตเิ มตร อายุประมาณคร่ึงแรกของพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ อีกองคท์ ำ� จากศลิ าสงู
๕๒ เซนติเมตร อายุประมาณครึ่งแรกของพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ มีลักษณะพระวรกายแสดงกล้ามเน้ือตามธรรมชาติ
พระอังสากว้าง บั้นพระองค์คอด พระอุระกว้าง ทรงพระภูษาโจงขมวดเป็นปมอยู่ใต้พระนาภี พระกรท้ัง ๔
ข้างหักหายไป แต่ก็สลักให้แยกออกจากพระวรกาย องค์พระวิษณุท้ัง ๒ องค์ เก็บไว้ที่พิพิธภัณฑ์นครศรีธรรมราช
วัดเกาะพระนารายณ์ชาวบ้านเรียกว่า วัดเกาะรายณ์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของวัดนางตรา
(ประมาณ ๕๐๐ เมตร) หมู่ ๓ ต�ำบลไทยบุรี อยู่ริมถนนสายท่าศาลา-นบพิต�ำ ตรงข้ามกับปั๊มน้�ำมันของสหกรณ์
อ�ำเภอท่าศาลา

ภาพพระวิษณุ พุทธศตวรรษที่ 11-13 ขดุ พบจากวดั เกาะพระนารายณ์ (ร้าง) ทางตะวันตกเฉยี งเหนือของวัดนางตรา
ม.3 ต.ไทยบรุ ี อ.ท่าศาลา จ.นครศรธี รรมราช ปัจจบุ ันตั้งแสดงอยู่ทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช

หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 51

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

๒.๓.๗ วัดมเหยงคณ์ สถานที่ต้ัง บ้านลุ่มโหนด หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา
จงั หวัด อาณาเขต : ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั คลองกลาย ทศิ ใตต้ ดิ ต่อกับสวนยางของนายโสภาค ช่วยเชื้อ ทิศตะวันออก
ตดิ ตอ่ กบั ปา่ ชา้ และสวนของชาวบา้ น ทศิ ตะวนั ตกตดิ ตอ่ กบั ทอนวดั มเหยงคณ์ (ทอน หมายถงึ แผน่ ดนิ ซง่ึ เดมิ เปน็ สว่ น
หนง่ึ ของสายน้�ำ ปจั จบุ นั เปน็ พ้นื ดนิ ท่ีล่มุ ไมม่ ีนำ�้ ) มเหยงคณ์ เปน็ สว่ นหนึ่งของคลองกลายในอดีต ก่อนที่คลองกลาย
เปล่ียนทิศทางไปอยทู่ ี่อ่ืน
ประวัติความเป็นมา จากการสันนิษฐานแหล่งศิลปกรรมวัดมเหยงคณ์อายุประมาณ
พุทธศตวรรษที่ ๑๓ มกี ารเลา่ ขานต�ำนานเกี่ยวกบั ประวัติการสร้างวดั กล่าววา่ ผู้สร้างไดน้ ำ� ข้าวของเงินทองมาสรา้ ง
พระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ล่องเรือมาตามล�ำน�้ำกลายมาถึงบริเวณนี้ ทราบว่าพระบรมธาตุสร้างเสร็จแล้ว
ดว้ ยจติ ศรทั ธากไ็ มน่ ำ� ขา้ วของกลบั แตไ่ ดส้ รา้ งวดั บรเิ วณนแ้ี ทน คอื วดั มเหยงคณ์ อกี กระแสหนง่ึ กลา่ ววา่ วดั มเหยงคณ์
คือ วัดทผ่ี มู้ ยี ศฐาบรรดาศักดบิ์ ารมสี ูง เปน็ ผสู้ ร้าง ดงั นัน้ คำ� ว่า มเห น่าจะมาจากค�ำ มหา แปลวา่ ใหญ่ ช่ือสมณศักด์ิ
ที่สอบไล่ได้ช้ันเปรยี ญ มเหยงคณ์จงึ น่าจะมาจากคำ� วา่ มเหยงคณ์ ตามต�ำแหน่งและช่ือของผสู้ ร้างเองอีกด้วย
ลักษณะทว่ั ไป แหล่งศลิ ปกรรมวัดมเหยงคณต์ ้ังอยู่บนทรี่ าบลุ่ม อยู่ทางทิศใต้ของคลอง
กลาย ทางทิศเหนือและทิศตะวนั ตกของวัด เป็นทอนที่ลุม่ ตำ่� กวา่ ทต่ี งั้ ของวดั ประมาณ ๑.๕ เมตร ในฤดแู ลง้ ชาวบา้ น
จะเขา้ ไปใชพ้ นื้ ทท่ี ำ� การเกษตรกรรม
หลักฐานทพ่ี บ พบวา่ วดั มเหยงคณ์เปน็ วดั เกา่ แกโ่ บราณ คือ ได้พบซากอโุ บสถ มกี �ำแพง
โดยรอบอโุ บสถ และยงั มเี จดีย์บริวาร ๙ องค์ แต่ไดม้ กี ารขดุ ค้นหลายครั้ง ประกอบกบั ชาวบา้ นท�ำไร่รุกล�้ำเขา้ ไปใน
ท่ีดินของวดั จึงทำ� ให้ไมส่ ามารถเห็นลักษณะองคเ์ จดยี ์ในปัจจุบนั ไดช้ ัด แตม่ ีซากและต�ำแหน่งทีป่ ระดษิ ฐานพระพุทธ
รปู พระประธานในพระอโุ บสถวดั มเหยงคณก์ ลา่ วกนั วา่ มลี กั ษณะเดยี วกนั กบั พระประธานในพระอโุ บสถวดั นางตรา
เป็นพระพิมพ์ดินเผาสีขาวอมเหลือง แต่ถูกช้างแทงปรักหักพัง มีผู้เก็บไปไว้ท่ีวัดประดู่หอม อ�ำเภอท่าศาลา
นอกจากนชี้ าวบา้ นยังขดุ พบพระพิมพจ์ �ำนวนมากบรเิ วณพน้ื ท่ใี กลว้ ัด ชาวบ้านเรยี กวา่ “พระทอนไมส้ งู ” ประมาณ
๒ ปีมานี้ กรมศิลปากรได้ท�ำการขุดคน้ บรเิ วณพระอโุ บสถ พบพระท�ำดว้ ยหินทรายแดง ๒ องค์ ปางสมาธิ ชาวบา้ น
ยังได้ขุดพบใบเสมา ลูกนิมิต เสาหิน และ หม้อใส่กระดูก ปัจจุบันวัดมีเพียงกุฏิ โรงธรรม และ โรงครัว ยังไม่เป็น
อาคารถาวร สภาพพระอุโบสถและบริเวณภายในวัดเป็นป่ารกปกคลุมด้วยวัชพืช เช่น หญ้าคา หญ้าไมยราพ
ยงั มไิ ดม้ กี ารบรู ณปฏสิ งั ขรณ์ ภายในวดั ปจั จบุ นั มพี ระจำ� พรรษา ๒ - ๓ รปู และทส่ี ำ� คญั ได้ พบหลกั ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๒๗
ซ่งึ ไดม้ กี ารแปลไวด้ งั น้ี

ภาพศิลาจารึกวัดมเหยงคณ์ บา้ นลมุ่ โหนด ตำ� บลสระแกว้ อ�ำเภอทา่ ศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช

52 หลักสูตรรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

คำ� แปลจากศลิ าจารกึ วดั มเหยงคณ…์ ….พระระเบยี งและหอ้ งอาหารกบั อโุ บสถาคาร อาหารสาํ หรบั
คณะสงฆ์และบคุ คลตา่ งๆ....การนมัสการพระบารมี การเขยี นหนังสือ จาํ หน่ายน�้ำหมกึ กับแผน่ (ส�ำหรบั เขียน)........
เคร่ืองบูชา อาหารเคร่ืองบํารุงคณะพราหมณ์ของพระอคัสติมหาตมัน...........มีท้ังธรรมเทศนา ประกอบด้วยธูป
ประทปี พวงมาลยั ธงพิดาน จามร ประดบั ดว้ ยธงจีน ........บญุ กุศลอ่นื ๆ ตามคาํ สอน คอื การปฏิบตั พิ ระธรรมไมข่ าด
สักเวลา การบริบาลประชาราษฎร์ การทนต่ออิฎฐารมณ์และอนิฎฐารมณ์ การช�ำนะอินทรีย์สังวร (ให้ราบ)..........
ผไู้ ดท้ รัพย์สมบัติโดยความองอาจ ………......ช่ือ อรรณาย ………………..
นอกจากนั้นยังพบปริศนาค�ำทายทเ่ี ป็นมขุ ปาฐะ ซงึ่ กลา่ วถึงวดั มเหยงคณ์ ไว้ดังน้ี
“วดั มเหยงคณ ์ มีธงสามชาย
แม่นำ�้ กลาย อยู่ฝ่ายอุดร
มโี หนดตน้ ออ่ น มที ้อนตน้ แฉ้
ใครรู้จกั แก ้ กินไม่สิ้นเหลย”

ภาพแนวก�ำแพงแก้ว วัดมเหยงคณ์ ที่ขุดแต่งเมื่อเร็วๆ นี้ ท่ีเห็นเป็นแนวก�ำแพงแก้วด้านทิศใต้ ยังขุดส�ำรวจไปเพียงเล็กน้อย คาดว่าพ้ืนท่ีในก�ำแพงแก้ว
น่าจะมโี บราณวตั ถฝุ ังอยู่ในพืน้ ดินเป็นจ�ำนวนมาก การขุดแตง่ คราวนี้ทำ� โดยคณะสงฆ์ในวัดมเหยงคณ์ ไมเ่ กยี่ วกับกรมศลิ ปากรแตอ่ ยา่ งใด อิฐที่ทำ� เปน็ แนว
ก�ำแพงมีขนาดเล็กกวา่ ที่โบราณสถานตุมปัง

ภาพพระพทุ ธรปู แกะสลักจากหินทรายแดงท้ัง 2 องค์ ปางมารวิชยั องคแ์ รกขุดพบเศยี รพระดว้ ย สว่ นองค์ท่สี องพบส่วนทเ่ี ป็นหวั ไหลดา้ นขวาตกอย่ใู กล้ๆ
เป็นศลิ ปะสมยั อยุธยา ขดุ พบท่วี ดั มเหยงคณ์ ตำ� บลสระแก้ว อำ� เภอท่าศาลา

หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 53

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ภาพเสมาธรรมจักร ภาพแรกเป็นชน้ิ ส่วนเสมาธรรมจักรเหลือเฉพาะส่วนดมุ เกอื บคร่ึงซกี มีซี่ลอ้ ธรรมจกั ร 2 ซ่ี ขอบล้อดา้ นนอกหักหายไปหมด ชิ้นสว่ น
เสมาท�ำดว้ ยดินเผา ภาพทส่ี องช้นิ สว่ นเสมาธรรมจักรมซี ลี่ อ้ 2 ซ่ี และ มขี อบลอ้ เสมาธรรมจกั ร ช้นิ สว่ นเสมาทำ� ด้วยดินเผา ท้ังสองชิ้นขุดพบท่วี ัดมเหยงคณ์
ตัง้ แสดงอยทู่ ่พี พิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช

๒.๓.๘. วัดนางตรา หรือสมัยก่อนเรียกว่าวัดพะนังตรา ตั้งอยู่ที่หมู่ ๓ ต�ำบลไทยบุรี
อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช อาณาเขต : ทิศเหนือ ติดต่อกับทุ่งนาและถนนสายท่าศาลา-นบพิต�ำ
ทศิ ใต้ ติดต่อกับถนนในหมูบ่ า้ น ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับโรงเรียนวดั นางตรา ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับท่งุ นา
ประวตั คิ วามเปน็ มา แหลง่ ศลิ ปกรรมวดั นางตรา อาจมอี ายตุ ง้ั แตส่ มยั อาณาตามพรลงิ ค์
ยุคทีห่ น่งึ สชิ ล-ทา่ ศาลา จนถึงอาณาจักรศรโี พธิ์ อายอุ ย่ใู นช่วงพทุ ธศตวรรษ ๑๒-๑๘
ลักษณะท่ัวไป สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของแหล่งศิลปกรรมวัดนางตราเป็นท่ีราบ
รอบบริเวณวัดนางตราเป็นทุ่งนาโล่ง วัดนางตรามีลักษณะรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีเน้ือท่ีประมาณ ๘ ไร่
หลักฐานท่ีหลงเหลือบอกว่าเป็นวัดเก่า ก่อนท�ำการขุด
คน้ พระอโุ บสถซึง่ กว้างประมาณ ๕ เมตร ยาวประมาณ
๑๕ เมตร ท�ำด้วยอิฐหน้าวัว มีคูรอบพระอุโบสถ
มีเจดีย์ประธานลักษณะคล้ายพระบรมธาตุเมืองไชยา
อยู่ทางทิศเหนือ ขนาดฐานประมาณ ๘x๘ เมตร
สงู ประมาณ ๑๖ เมตร แตย่ อดหัก สภาพเจดียป์ จั จุบัน
มีแต่กองอิฐไม่มีอะไรหลงเหลืออยู่เลย ซากเจดีย์องค์
ประธานเหลือเพียงซากเนินดินสูงเท่าจอมปลวก
ขนาดใหญ่ ส่วนพระอุโบสถมีการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่
เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๔ สร้างองค์พระต่อกับพระเศียร
ที่ขุดพบ ใช้เป็นพระประธานในพระอุโบสถเช่นเดิม
มีเนินดินอยู่ทางทิศเหนือของวัดเรียกว่าดอนท�ำเนียบ
เชอื่ วา่ เปน็ ทปี่ ระทบั ของเจา้ หญงิ สพุ ตั ราในครงั้ ทส่ี รา้ งวดั
หลักฐานที่พบ ๑. พระพุทธรูปยืน ท�ำด้วยส�ำริดสูง
๔๓ เซนติเมตร อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ภาพพระพุทธรูปส�ำริดวดั นางตรา ต.ทา่ ศาลา อ.ทา่ ศาลา จ.นครศรีธรรมราช
๒. พระอโุ บสถ กว้างประมาณ ๕ เมตร ยาวประมาณ ลักษณะแบบเขมรพุทธศตวรรษที่ 15 ตามค�ำบอกเล่า ว่าฝังอยู่ใต้ฐาน
พระพุทธรูปที่สร้างข้ึนมาทีหลัง ปัจจุบันเก็บรักษาที่วัดพระบรมธาตุ
นครศรธี รรมราช

54 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

๑๕ เมตร ทำ� ดว้ ยอฐิ ขนาดใหญ่ (อฐิ หนา้ ววั ) มคี ลู อ้ มรอบพระอโุ บสถ ๓. เจดยี ป์ ระธาน ลกั ษณะคลา้ ยพระบรมธาตไุ ชยา
อย่ทู างทศิ เหนือ ขนาดฐานประมาณ ๘x๘ เมตร สูงประมาณ ๑๖ เมตร แต่ยอดเจดยี ห์ ักหายไป ปจั จุบันสรา้ งฐาน
พระพทุ ธรปู ครอบฐานเจดยี อ์ งค์เดมิ และ สร้างพระพุทธรปู วางอยบู่ นฐาน

ภาพเจดียว์ ดั นางตรา สันนษิ ฐานว่ารปู แบบของเจดยี ์คลา้ ยกบั เจดยี พ์ ระบรมธาตุไชยา ภาพน้ีมีการบรู ณะเบอ้ื งต้นโดยน�ำอิฐทีถ่ กู รื้อกระจดั กระจาย
จากการขดุ หาพระนางตรา น�ำมาวางเรยี งซอ้ นกนั ครา่ วๆ ให้คล้ายกบั เจดยี ์

ภาพเจดียว์ ดั นางตรา หมู่ 3 ตำ� บลทา่ ศาลา อำ� เภอท่าศาลา ถกู ขุดคน้ หา “พระนางตรา” สมัยสงครามเวยี ดนามจนมีสภาพพังเสยี หายยับเยนิ สนั นษิ ฐาน
ว่ารูปทรงเป็นแบบเดียวกับเจดีย์พระบรมธาตุไชยา ภาพบนได้รับการบูรณะครั้งแรก ส่วนภาพล่างมีการสร้างฐานพระพุทธรูปครอบเจดีย์เอาไว้ข้างใน
และสรา้ งพระพทุ ธรปู วางอยบู่ นฐานครอบเจดยี ์ จากการสอบถามชาวบา้ นรอบวดั นางตราเลา่ วา่ โบราณวตั ถขุ ดุ พบทว่ี ดั นางตราถกู ฝงั อยใู่ ตฐ้ านพระพทุ ธรปู
องคน์ ้ี

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 55

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ภาพโบสถว์ ดั นางตรา เดมิ มขี นาดใหญ่กวา่ นี้ มกี ำ� แพงล้อมรอบทงั้ 4 ดา้ น สงู ประมาณ 1 เมตร ข้างบนเป็นลานดิน มีโรงเรอื นสร้างแบบงา่ ยๆ แคก่ นั แดด
กนั ฝนใหก้ บั พระพทุ ธรปู ลานดนิ ถกู ขดุ คยุ้ หา “พระนางตรา” มสี ภาพเสยี หายยบั เยนิ เชน่ กนั ประมาณ 20 กวา่ ปที ผี่ า่ นมาจงึ สรา้ งโบสถห์ ลงั ทเ่ี หน็ อยนู่ ข้ี นึ้ มา
โบสถเ์ กา่ โบราณหันหน้าไปทางทิศเหนือ ส่วนโบสถท์ ี่สรา้ งใหมห่ ลงั นห้ี นั หนา้ ไปทางทิศใต้ แตพ่ ระพุทธรปู ในโบสถห์ ันหน้าไปทางทิศตะวันออก

ภาพพระนางตรา พระเครอ่ื งดังของอำ� เภอทา่ ศาลา ภาพพระนางสุพตั รา เชอ่ื กนั วา่ เปน็ ผสู้ รา้ งวัดนางตรา

56 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๒.๓.๙ โบราณสถานบ้านนางน�ำ
สงั ขท์ อง (บา้ นทงุ่ พนั ธ์ ๑ ) เลขที่ ๓๗๘ ม.๗ บา้ นทงุ่ พนั ธ์
ตำ� บลกลาย เขตลมุ่ นำ้� คลองทา่ ลาด ประวตั คิ วามเปน็ มา
ปัจจุบันบนเนินโบราณสถานแห่งน้ีถูกขุดค้นจนหมด
สภาพ โดยไม่เหลือร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดี
เหลืออยู่เลย เหลือเฉพาะเพียงอิฐท่ีมีการขุดค้นและ
วางไว้อย่างไม่มีระเบียบ บนเนินโบราณสถานเดิมนั้น ภาพฐานโยนิโทรณะ ขุดพบท่ีบ้านนางน�ำ สังข์ทอง บ้านทุ่งพันธ์ ต.กลาย
ถกู ขดุ เปน็ หลมุ ลกึ ลงไปประมาณ ๒ เมตร รอบ ๆ ปกคลมุ อ.ทา่ ศาลา เก็บรกั ษาไว้ทโี่ รงเรยี นวัดดอนใคร ตอนหลงั เกิดชำ� รุดจงึ นำ� ไปไว้ท่ี
ไปด้วยธัญพืชมากมายหลายชนิด มีการปลูกกล้วย วดั ดอนใคร ปจั จุบันไมท่ ราบวา่ ยงั มีอยหู่ รือไม่

บนเนินโบราณสถานแห่งนี้ ลักษณะท่ัวไป ประชากร
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในถ่ินนี้ตั้งแต่ต้น ไม่มีการอพยพ
เคล่ือนย้ายเพิ่มมาแต่อย่างใด ประชากรมีอาชีพท�ำนา
ท�ำสวนยางพารา และ มีการเลี้ยงสัตว์เป็นรายได้ของ
ครอบครัว หลักฐานท่พี บ ๑. ศิวลึงค์ องค์ท่เี กบ็ รกั ษาไว้
ทว่ี ัดดอนใครมอี ายอุ ยใู่ นราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔
๒. โยนโิ ทรณะ ทำ� ดว้ ยหนิ ปนู เกบ็ รกั ษาไว้ ณ วดั ดอนใคร
อายอุ ยใู่ นราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ๓. สระนำ�้ โบราณ
มีสระน้�ำโบราณทางทิศใต้และทิศตะวันตกของ
เนินโบราณสถานทิศละ ๑ สระ ห่างจากโบราณสถาน
สระละ ๑๐๐ เมตร ๔. อฐิ โบราณ อฐิ โบราณจากโบราณ
สถานแหง่ นี้ สภาพท่สี มบรู ณม์ ขี นาดหนา ๗ เซนติเมตร
กวา้ ง ๑๗ เซนตเิ มตร ยาว ๓๐.๕ เซนติเมตร อิฐเหล่านี้
ยงั มกี ระจายอยใู่ นพน้ื ท่ี ๕. พระพฆิ เนศ จ�ำนวน ๑ องค์ ภาพศวิ ะลงึ ค์ ขุดพบที่บา้ นนางนำ� สงั ข์ทอง บ้านทงุ่ พนั ธ์ ต.กลาย อ.ทา่ ศาลา
ท�ำด้วยศลิ า สงู ๒๐ เซนติเมตร ถกู ชาวบ้านขายไปอยู่ เกบ็ รักษาไวท้ วี่ ัดดอนใคร ปจั จบุ นั ไมท่ ราบวา่ ยงั มอี ยูห่ รือไม่
แถวอ�ำเภอทุ่งสง
๒.๓.๑๐ โบราณสถานบ้านนายสว่าง พรหมสุวรรณ บ้านทุ่งพันธ์ หมู่ ๒ ต�ำบลกลาย
อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช เขตลุ่มน�้ำคลองท่าลาด อาณาเขต ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับคลองท่าลาด ทิศใต้
ติดตอ่ กับถนนเข้าหมบู่ ้านดอนใคร ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั สวนยาง ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับสวนยาง ลักษณะทว่ั ไป
ลักษณะภูมปิ ระเทศโดยทั่วไปเปน็ ทีร่ าบ รอบบริเวณเปน็ สวนยางพารา หา่ งจากเนินโบราณไปทางทศิ เหนอื ประมาณ
๒๐๐ เมตร เป็นคลองท่าลาด ลักษณะของแหล่งศิลปกรรมโบราณสถานบ้านทุ่งพันธ์ บริเวณสวนของนายสว่าง
พรหมสวุ รรณ มลี กั ษณะเปน็ เนนิ ดนิ โบราณ ซงึ่ ในปจั จบุ นั เนนิ โบราณไดถ้ กู ทำ� ลายไปหมดแลว้ มเี ศษอฐิ กระจดั กระจาย
ไปทั่ว รอบบริเวณบนเนินโบราณสถานมีขนาดประมาณ ๘x๑๕ ตารางเมตร ชิ้นส่วนโบราณวัตถุท่ีพบ ๑. ศิวลึงค์
พบศิวลึงค์ท�ำดว้ ยศลิ าทรายตาม “ประเพณนี ิยม” อย่ใู นราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ถงึ กลางพทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ ปัจจุบัน
นีเ้ ก็บรักษาไว้ ณ วัดดอนใคร ๒. ธรณีประตู พบธรณีประตทู ำ� ดว้ ยหินปนู ซ่งึ ชำ� รุด ๑ ชนิ้ ขนาดกว้าง ๕๓ เซนติเมตร
ยาว ๘๔ เซนตเิ มตร หนา ๖ เซนตเิ มตร เกบ็ รกั ษาไวท้ ว่ี ดั ดอนใคร ๓. ซากอฐิ โบราณ กระจดั กระจายอยบู่ นเนนิ โบราณ
อนั ทม่ี ีสภาพสมบรู ณม์ ขี นาดกว้าง ๒๐ เซนตเิ มตร ยาว ๓๐ เซนตเิ มตร หนา ๗ เซนติเมตร

หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 57

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

๒.๓.๑๑ แหลง่ โบราณสถานวัดป่าเรยี น วัดปา่ เรียนตัง้ อยทู่ ี่ตำ� บลตลิง่ ชนั (แยกจากต�ำบลกลาย)
อ�ำเภอท่าศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช เปน็ แหล่งโบราณสถานยุคแรกๆ ของศาสนาพราหมณ์ พบเหน็ วัตถุโบราณ
เป็นฐานโยนิโทรณะ กรอบประตู ธรณีประตู บานประตู ทุกอย่างท�ำด้วยหินทราย พบกระจัดกระจายอยู่ท่ัวไป
เจ้าอาวาสวัดป่าเรยี นบอกวา่ ฐานโยนิโทรณะและศวิ ลงึ คช์ ดุ ทีส่ มบูรณ์ มผี ขู้ อน�ำไปไว้ทจี่ งั หวัดเชยี งใหม่ ส่วนฐานโยนิ
ท่ีมีขณะน้ีเป็นฐานโยนิรุ่นเก่าท่ียังไม่ท�ำร่องน้�ำให้น�้ำไหลเวลาที่ท�ำการสรงน้�ำศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังพบขวานหิน
ท้ังมีบ่าและไม่มีบ่า รวมทั้งที่คิดว่าเป็นระนาดหินด้วย เจ้าอาวาสวัดป่าเรียนให้ความเห็นว่าน่าจะไม่ใช่ระนาดหิน
แต่น่าจะเป็นเคร่อื งมือทำ� การเกษตร

ภาพโบราณวัตถุพบที่วัดป่าเรียน รูปร่างลักษณะคล้ายบานประตูหิน ธรณีประตู และ ภาพล่างมีลักษณะคล้ายศิวลึงค์วางอยู่บนฐานโยนิโทรณะ
แบบท่ีไม่มีร่องน�้ำมนต์ เป็นโยนิที่สร้างข้ึนในยุคแรก ๆ ที่ศาสนาพราหมณ์เผยแผ่เข้ามาท่ีคาบสมุทรมลายู คาดว่าแหล่งโบราณสถานแห่งนี้น่าจะมีอายุ
อยูใ่ นชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 7 คือ พ.ศ.601 เปน็ ต้นมา

๒.๓.๑๒ โบราณสถานวัดดอนใคร สถานที่ตั้ง บ้านดอนใคร ต�ำบลกลาย อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรธี รรมราช อาณาเขต : ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับถนนเขา้ หมู่บ้าน ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับบ้านนาเพรง ทิศตะวนั ออก
ตดิ ตอ่ กบั บา้ นทงุ่ พนั ธ์ ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั โรงเรยี นวดั ดอนใคร ลกั ษณะทวั่ ไป สภาพภมู ปิ ระเทศโดยทว่ั ไปของแหลง่
ศิลปกรรมวัดดอนใคร มีพื้นที่เป็นท่ีราบลุ่ม ด้านทิศเหนือเป็นทุ่งนา ด้านทิศใต้เป็นที่ราบและมีต้นไม้ข้ึนปกคลุม
ลกั ษณะของแหลง่ ศลิ ปกรรมวดั ดอนใคร มพี นื้ ทเี่ ปน็ รปู สเี่ หลยี่ มผนื ผา้ มเี นอ้ื ทป่ี ระมาณ ๔๐ ไร่ รอบบรเิ วณวดั ปกคลมุ
ไปดว้ ยตน้ ไมเ้ ลก็ และตน้ ไมใ่ หญ่ วดั ดอนใครเปน็ ทร่ี วบรวมโบราณวตั ถทุ พ่ี บอยใู่ นบรเิ วณนน้ั เชน่ บรเิ วณแหลง่ โบราณคดี
บ้านทุ่งพันธ์ หลักฐานที่พบ ๑. ศิวลึงค์ ท�ำด้วยหินทรายมีขนาดดังนี้ ส่วนยอด (รุทธภาค) ส่วนกลาง (วิษณุภาค)
และ ส่วนฐาน (พรหมภาค) สงู เทา่ กัน คือ สว่ นละ ๒๙ เซนตเิ มตร ฐานกวา้ ง ๑๙ เซนตเิ มตร ศิวลึงคอ์ งค์น้ีเปน็ ศิวลงึ ค์
ประเภท ประเพณนี ยิ ม มลี กั ษณะการถา่ ยทอดจากรปู ทรงเรขาคณติ สว่ นยอดเปน็ รปู โคง้ สว่ นกลางเปน็ รปู แปดเหลยี่ ม

58 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ส่วนฐานเปน็ รูปส่ีเหล่ียม อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๓ พบทีบ่ รเิ วณโบราณสถานบ้านโคกตึก ปัจจุบันทางวดั
ได้สร้างที่ประดิษฐานไว้ที่มิดชิดและปลอดภัย ๒. ศิวลึงค์ มีลักษณะคล้ายกับองค์ก่อน แต่มีขนาดสูงกว่าองค์ก่อน
ท�ำด้วยหินทรายเหมือนกัน มีขนาดดังนี้ ส่วนฐาน (พรหมภาค) สูง ๓๑ เซนติเมตร ส่วนกลาง (วิษณุภาค)
สูง ๒๙ เซนตเิ มตร สว่ นยอด (รุทธภาค) สงู ๓๒ เซนตเิ มตร ลกั ษณะตา่ งๆ เหมือนองค์ก่อนทุกประการ องคน์ ีป้ จั จุบนั
เจ้าอาวาสยังเก็บรักษาไว้ในกุฏิเจ้าอาวาส ๓. ฐานโยนิโทรณะ (ฐานศิวลึงค์) ท�ำด้วยหินปูนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
ขนาด ๑๐๐ x ๑๐๐ เซนตเิ มตร หนา ๙ เซนตเิ มตร ตรงกลางมีรู เสน้ ผา่ ศูนย์กลาง ๒๔ เซนติเมตร อายรุ าวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๔ ชาวบ้านท�ำฐานขึ้นมาเพื่อรองรับไม่ให้โยนิโทรณะต้ังอยู่บนพื้นดิน ๔. ฐานโยนิโทรณะ
ท�ำด้วยหินทรายสีขาว มีขนาดกว้าง ๙๕ เซนติเมตร ยาว ๙๘ เซนติเมตร ตรงกลางมีรูกว้าง ๓๗ เซนติเมตร
ปัจจุบันมรี อยร้าวตรงกลาง ชาวบา้ นไดย้ กไวเ้ หนอื พน้ื ดนิ ๕. ธรณปี ระตู ทำ� ด้วยหินปูน ช�ำรุด ๑ ชิน้ มขี นาดกว้าง
๕๓ เซนตเิ มตร ยาว ๘๔ เซนติเมตร หนา ๖ เซนติเมตร ปจั จบุ ันจมดินอยู่ใกลพ้ ระอโุ บสถหลงั เก่าของวัด ๖. หินบดยา
เป็นหินทรายใช้ส�ำหรบั บดยา

เรอื่ งท่ี ๓ อำ�เภอทา่ ศาลาช่วงทีเ่ ปน็ สว่ นหน่ึงของอาณาจกั รไทย

ชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ - ๑๙ ดนิ แดนสุวรรณภูมิประกอบดว้ ยแวน่ แคว้นนอ้ ยใหญ่มากมายหลายแคว้น
เช่น แคว้นจักรตามพรลิงค์ท่ีนครศรีธรรมราช แคว้นเพชรบุรี (พริบพรี) แคว้นทวาราวดีที่อู่ทอง สุพรรณบุรี
และ นครปฐม แคว้นสุโขทัย แคว้นโยนก (เชียงแสน) ส�ำหรับแคว้นโยนก (เชียงแสน) ถูกกองทัพของมอญโจมตี
เมอ่ื ปี พ.ศ. ๑๗๓๑ ตอ่ มาถกู นำ�้ ทว่ มซำ้� จนเมอื งเชยี งแสนลม่ สลายกลายเปน็ เมอื งรา้ ง ตอ้ งยา้ ยเมอื งไปอยทู่ เ่ี วยี งปรกึ ษา
เป็นเวลา ๙๔ ปี ต่อมาเกิดแผ่นดินไหวท�ำให้เวียงปรึกษากลายเป็นเมืองร้าง จนถึงสมัยของพญาเม็งรายสร้างเมือง
เชียงรายเมื่อ พ.ศ. ๑๘๐๕ จากนั้นพญาเม็งรายส่งกองทัพเข้ายึดครองอาณาจักรหริภุญชัย (ล�ำพูน) ของพระนาง
จามเทวี เมอ่ื พ.ศ. ๑๘๓๕ รวบรวมเมืองต่างๆ เข้าด้วยกัน ก่อต้ังเปน็ แคว้นจกั รล้านนา มีเมอื งเชยี งรายเป็นศนู ย์กลาง
ช่วง พ.ศ. ๑๘๒๐ - ๑๘๒๕ อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ท่ีเมอื งนครศรีธรรมราชลม่ สลายเนอ่ื งจากเกดิ โรคระบาดเรียกว่า
ไข้ยมบน ชาวเมืองนครศรีธรรมราชล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก พระเจ้าศรีธรรมโศกราช (พระเจ้าพงศาสุระ) กษัตริย์
เมืองนครศรีธรรมราชสวรรคตจากโรคระบาดในคร้ังนั้นด้วย เมืองนครศรีธรรมราชจึงกลายเป็นเมืองร้าง ชาวเมือง
หลบหนโี รครา้ ยไปอยตู่ ามป่าเขา ดังน้นั แควน้ ตามพรลิงค์ทนี่ ครศรีธรรมราชจึงขาดผูน้ �ำ เมือง ๑๒ นักษัตรมสี ภาพ
เป็นรัฐอิสระ แต่ไม่มีใครที่มีความสามารถรวบรวมเมือง ๑๒ นักษัตร ให้กลับมาเป็นรัฐอิสระและเป็นศูนย์กลาง
ของคาบสมุทรมลายูได้อกี เลย

๓.๑ ยุคกรงุ สุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๘๐ - ๑๙๘๑)

พ่อขุนรามค�ำแหง พ.ศ.๑๘๒๒-๑๘๔๒ จากข้อความในศิลาจารึกหลักท่ี ๑ มีบางตอนกล่าวถึง
เมืองนครศรีธรรมราชความว่า “เบื้องตะวันตกเมืองสุโขทัย มีอรัญญิก (อไรญิก) พ่อขุนรามค�ำแหงกระท�ำโอยทาน
แก่มหาเถรสังฆราชปราชญ์เรียนจบปิฎกไตร หลวกกว่าปู่ครูในเมืองนี้ ทุกคน ลุกแต่เมืองนครศรีธรรมราชมา
ในกลางอรัญญิก (อไรญิก) มีพิหารอันณึ่ง มนใหญ่สูงงามแก่กม มีอัฎฐารสอันณ่ึงลุกยืน” ช่วงท่ีพ่อขุนรามค�ำแหง
เป็นกษัตริย์ครองแคว้นสุโขทัย แคว้นนครศรีธรรมราชเป็นรัฐอิสระ ซึ่งตรงกับสมัยของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช
(พระเจ้าจันทรภาณุ และ พระเจ้าพงศาสุระ) จนกระทั่งประมาณ พ.ศ. ๑๘๒๐ - ๑๘๒๕ แคว้นตามพรลิงค์

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 59

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ทีน่ ครศรธี รรมราชล่มสลายจากไขห้ า่ บ้านเมืองขาดผู้น�ำ แตเ่ มอื งนครศรธี รรมราชก็ไม่ได้ตกเป็นส่วนหนง่ึ ของแคว้น
สโุ ขทัยแตอ่ ยา่ งใด ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ หน้า ๔ กลา่ ววา่ “ปราบเบื้องตะวันออก รอดสรลวง สองแคว สคา เทา้ ฝั่งของ
ถงึ เวยี งจันทนเ์ วยี งคำ� เปน็ ท่ีแล้ว เบอ้ื งหวั นอนรอดคนที พระบาง แพรก สุวรรณภมู ิ ราชบรุ ี เพชรบุรี ศรีธรรมราช
ฝั่งทะเลสมุทรเป็นที่แล้ว เบื้องตะวันตกรอดเมืองฉอด เมือง...น หงสาวดี สมุทรหา เป็นแดน เบ้ืองตีนนอน
รอดเมืองแพร่ เมอื งน่าน เมอื ง...น เมืองพลวั พน้ ฝ่ังของ เมอื งชวาเป็นท่แี ลว้ “ จากศิลาจารึกหลักท่ี ๑ แว่นแคว้น
ท่ีระบุอยู่ในศลิ าจารกึ ดังกล่าว คือ ดินแดนทีส่ โุ ขทัยมีการตดิ ตอ่ มีความสัมพนั ธ์ทางการทูต และ เก่ียวขอ้ งในเรอ่ื ง
ของการคา้ ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ มากกวา่ ทแี่ วน่ แควน้ ดงั กลา่ วจะตกเปน็ เมอื งขนึ้ ของกรงุ สโุ ขทยั เพราะเขตแดน
อาณาจักรสุโขทัยทิศตะวันตก ครอบคลุมถึงเมืองหงสาวดีคิดยังไงก็เป็นไปได้ยากมาก หากมาดูเบื้องหัวนอน (ใต้)
ท่ีบันทกึ ว่าอาณาเขตของสโุ ขทัยถงึ นครศรธี รรมราชกไ็ มน่ ่าจะเปน็ ไปได้ เพราะทิศใต้มอี าณาจกั รทวารวดีปกครองอยู่
หลังจากนั้นพระเจ้าอู่ทองซ่ืงสืบเช้ือสายจากอาณาจักรทรวดีอพยพชาวเมืองไปสร้างเมืองใหม่ท่ีหนองโสน
และตั้งกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๓ นอกจากน้ีทางตอนใต้ของอาณาจักรทวารวดียังมีอาณาจักรเพชรบุรี
ซ่ึงกษัตรยิ ร์ าชวงศ์ปัทมวงศ์ปกครองอยู่ ส่วนเบือ้ งตนี (เหนอื ) ทีบ่ อกวา่ ข้ามฝัง่ โขงไปถึงเมืองชวา ไม่ทราบวา่ เมืองชวา
คือเมืองอะไรต้ังตรงส่วนไหนของภาคเหนือ และ ในเวลานั้นพระยาเม็งรายก�ำลังเป็นใหญ่อยู่ท่ีเมืองเชียงราย
เมอ่ื พ.ศ. ๑๘๓๕ ยงั สง่ กองทพั โจมตเี มอื งหรภิ ญุ ชยั ของพระนางจามเทวี ผนวกเขา้ มาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของอาณาจกั รลา้ นนา
ดงั น้นั ศลิ าจารึกของพ่อขนุ รามคำ� แหง ซึ่งเปน็ ตอนที่ ๒ ทจ่ี ารึกข้ึนสมยั หลงั ท่ีข้นึ ต้นดว้ ย “เมอ่ื ชัว่ พ่อขนุ ราม...”
จงึ เป็นการจารึกเพ่อื เทดิ ประเกียรติ และตามวรรณกรรม ชนิ กาลมาลปี กรณ์ แตง่ พ.ศ. ๒๐๖๐ โดยพระรัตนปัญญา
เถระ ปราชญแ์ หง่ ลา้ นนา กไ็ ดเ้ ขยี นไวว้ า่ พระรว่ งประสงคท์ จี่ ะทอดพระเนตรทะเลจงึ เดนิ ทางไปเมอื งนครศรธี รรมราช
ที่ส�ำคัญแคว้นตามพรลิงค์มีเชื้อสายกษัตริย์ปัทมวงศ์ส่งไปปกครองเมืองเพชรบุรี ต�ำนาน
เมืองนครศรีธรรมราชกล่าวว่า พ.ศ. ๑๘๓๐ พระพนมทะเลศรีมเหสวัสดิทราธิราชผู้ครองเมืองเพชรบุรี หลานปู่
ของพระเจา้ ศรีธรรมโศกราช (อาจเปน็ หลานป่ขู องพระเจ้าจันทรภาณ)ุ ทส่ี ง่ ไปปกครองเมอื งเพชรบุรี ครัน้ อาณาจกั ร
นครศรีธรรมราชลม่ สลายจากโรคระบาด ทำ� ใหพ้ ระเจ้าศรีธรรมโศกราช (พระเจ้าพงศาสรุ ะ) ส้นิ พระชนมจ์ ากโรคห่า
บา้ นเมอื งขาดผนู้ ำ� พระพนมทะเลศรมี เหสวสั ดทิ ราธริ าชกษตั รยิ เ์ มอื งเพชรบรุ ี จงึ สง่ พระพนมวงั กบั พระนางสะเดยี งทอง
มาซ่อมแซมเมืองนครศรธี รรมราช มอบผคู้ นหลายร้อยคนรวมท้งั มอบขา้ วของเครอ่ื งใช้ เดนิ ทางมาซอ่ มพระบรมธาตุ
ที่นครศรีธรรมราช พระพนมวังและพระนางสะเดียงทองยกพลมาตั้งหลักที่เมืองจงสระ (อ�ำเภอเวียงสระ
จังหวัดสุราษฎรธ์ าน)ี เนอื่ งจากเวลาน้ันเมืองนครศรธี รรมราชเปน็ เมอื งรา้ ง พระพนมวัง จดั ส่งผคู้ นไปถางป่าเปน็ นา
ตามท่ตี า่ งๆ ท่วั ภาคใต้ เชน่ สร้างนาท่งุ เขน สรา้ งนาท่าทอง (เมอื งท่าทอง) สรา้ งนาตระชน (เมืองสชิ ล) ใหน้ ายราช
นายเขียวสรา้ งนาเมอื งไชยา นายยอดสรา้ งนาเวียง
กล่าวเฉพาะท่ีท่าศาลา พระพนมวังส่งคนมาถางป่าเป็นนาท่ี ทุ่งกะโดน (บ้านโดน) ที่ ทุ่งไผ่
(ปัจจุบันเป็นท่ีตั้งของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์) ให้นายอาย เจ้าปา เอาคนไปสร้างป่าเป็นนาแลรักษาพระ
ในวัดพะนังตรา (วัดนางตรา) ให้นายแก้ว นายใส ตั้งบ้านอยู่ กรุงชิง (นบพิต�ำ) เมืองอลอง ให้นายเชียงแสนอยู่
(เมอื งอลองปจั จบุ ันตำ� บลฉลองอำ� เภอสชิ ล) ไชยคราม ใหน้ ายมงคลอยู่ (ไชยครามคอื ต�ำบลไชยคราม อ�ำเภอดอนสกั
จงั หวัดสุราษฎรธ์ าน)ี เปน็ ต้น
ยงั มรี ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ อกี วา่ ผคู้ รองอาณาจกั รเพชรบรุ ี (พรบิ พร)ี พระพนมทะเลศรสี วสั ดทิ ราธริ าช
มีลูกชายชื่อพระพนมวัง มีลูกสะใภ้ช่ือพระนางสะเดียงทอง พระพนมวังกับนางสะเดียงทองเม่ือมาอยู่ท่ีเมืองจงสระ
ก็มีลูก ๓ คน คือ เจ้าศรีราชา เมียชื่อนางสนส่งไปปกครอง เมืองสระอุเลา (ปัจจุบันคืออ�ำเภอกาญจนดิษฐ์
จังหวัดสุราษฎร์ธานี) ต่อมาได้วันการสถาปนาเป็นพระเจ้าศรีธรรมโศกราช ปกครองเมืองตามพรลิงค์ และท�ำการ

60 หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

บุรณะพระบรมธาตุ เจ้าสนตรา เป็นสตรีมีผัวช่ือพระอินทรราชาถูกส่งไปปกครอง เมืองตระหนอม สร้างนาศรีชิน
สร้างนาสะเพยี ง (เมอื งตระหนอมปัจจุบนั คือ อ�ำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช) เจา้ กมุ าร มเี มียช่อื นางจนั ทร์
ถูกส่งไปปกครอง เมืองท่าทอง สร้างนาทุ่งเอน (เมืองท่าทองปัจจุบันคือต�ำบลท่าทอง อำ� เภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี)
คร้ันพระพนมวังทิวงคต เจ้าศรีราชาได้รับการแต่งต้ังให้เป็นพระเจ้าศรีธรรมโศกราช จัดการศพ
พระพนมวงั เสรจ็ แลว้ นำ� กระดกู ธาตไุ ปบรรจทุ เ่ี ขาอศั รจิ นั โดยกอ่ พระเจดยี ไ์ วใ้ นถำ้� และ ใหพ้ นั วงั อยรู่ กั ษาพระธาตนุ น้ั
การซ่อมองคพ์ ระธาตุและบ้านเรือนในเมอื งนครศรธี รรมราชเสร็จเรยี บร้อย เจา้ ศรีราชาและพระนางสนจึงย้ายมาอยู่
ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช ส่วนเมืองจงสระก็แต่งต้ังพระยาดีอยู่เป็นผู้ปกครอง เอาไว้คานอ�ำนาจกับกองก�ำลัง
จากเมืองอ่ืนๆ จากนั้นเจ้าศรีราชาก็แต่งตั้งให้เจ้ากุมารและนางจันทร์กลับไปปกครองเมืองท่าทองเหมือนเดิม
รวมทง้ั สั่งใหส้ รา้ งปา่ เป็นนา ใหน้ ายหมันคงไปสร้างปา่ เป็นนาที่ ตำ� บลพนงั (อ�ำเภอปากพนงั ) ใหน้ ายศรที องเอาคน
ไปสร้างปา่ เปน็ นาที่ ต�ำบลบางจาก (ต�ำบลบางจาก อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดนครศรธี รรมราช) ให้นายจัน นายพรมไชย
นายเทพ ต้ังบ้านอยู่ ต�ำบลเจ้าเหล็ก (น่าจะเป็นบ้านโรงเหล็ก อ�ำเภอนบพิต�ำ) ให้นายสามบุรีรัด นายพรฤๅไชย
นายสีวังไส เอาคนไปสร้างปา่ เปน็ นาที่ ต�ำบลหญิงปลดต่อพะนงั ตรา (วัดนางตรา ต�ำบลทา่ ศาลา อำ� เภอท่าศาลา)
ให้นายศรีเมืองนายปรัชญา รับเอาคนไปสร้างป่าเป็นนาที่ หนองไผ่ (ทุ่งบ้านไผ่) ท่ีทุ่งบ้านไผ่ในปัจจุบันมีวัดร้าง
รวมทั้งมีชุมชนโบราณอยเู่ ปน็ จ�ำนวนมาก เช่น วัดจันตก วดั จนั ออก วดั คลองดิน (เหนยี ว) วดั ขุนโขลง วดั กลาง
วัดท่าคอย วัดม่วงมอน วัดกุล วัดนางตรา วัดเกาะพระนารายณ์ วัดนาเตย เป็นต้น ที่ส�ำคัญสถานท่ีแห่งน้ีมี
โบราณสถานตมุ ปงั ทไ่ี ดอ้ ธบิ ายไว้แล้ว อนั เป็นวดั ในพระพทุ ธศาสนาลัทธิมหายานยาน นาลึก (ยงั ไมพ่ บหลกั ฐานวา่
เป็นสถานที่แห่งใด) คลองกะโดน (น่าจะเป็นบ้านโดนอยู่ติดกับคลองท่าพุดบริเวณท่ีเรียกว่าคลองอ้ายผลุ้ง
และคลองวงั ไทร) ต่อกับ ขม้าย (ยงั ไม่ทราบว่าเป็นที่ใด) ใกลก้ บั วดั ดา่ นหลวง (วดั ด่านหลวงนา่ จะเป็นวดั คลองดนิ
ที่มีอยู่ในปัจจุบัน) ให้นายใสนายแก้วต้ังบ้านอยู่ กรุงชิง (นบพิต�ำ) ให้นายไชย นายจัน เอาคนไปสร้างป่าเป็นนาที่
ตำ� บลกระแด๊ะ (บ้านกระแด๊ะ หรอื คลองกระแดะ๊ อำ� เภอกาญจนดิษฐ์ จงั หวัดสุราษฎร์ธานี) เปน็ ต้น
เร่ืองราวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ท่าศาลาในยุคกรุงสุโขทัย มีบอกไว้เป็นเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยดังกล่าว
โดยเรื่องราวส่วนใหญ่ท่ีมีอยู่ มีเนื้อหาเกี่ยวข้องเฉพาะเมืองนครศรีธรรมราชกับเมืองสุโขทัย ซ่ึงมีอยู่ในศิลาจารึก
หลกั ท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๓๕ กลา่ วถงึ เร่ืองราวของพอ่ ขนุ รามคำ� แหงมหาราช ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๒ พ.ศ. ๑๘๘๐ - ๑๙๑๐
พบที่วัดศรีชุมเมืองเก่าสุโขทัย ซ่ึงกล่าวถึงเร่ืองราวของพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทีปมหาสามี
ศิลาจารึกหลักท่ี ๓ พ.ศ.๑๙๐๐ พบท่ีวัดนครชุมเมืองก�ำแพงเพชร กล่าวถึงพญาลือไทยโอรสของพญาเลอไทย
พระนัดดาพระยารามราช เสวยราชยท์ ่ีเมอื งศรสี ชั นาลัยสุโขทัยเม่อื ปี ๑๘๙๐ นอกจากนี้ยังมีศลิ าจารกึ อีกหลายหลัก
เชน่ ศิลาจารกึ วัดปา่ มะม่วง ศิลาจารึกวดั อโศการาม และ ศิลาจารึกวัดบูรพาราม เปน็ ตน้

๓.๒ ยุคกรงุ ศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐)

สมัยกรุงศรีอยุธยา อาณาจักรตามพรลิงค์ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช รวมทั้งเมือง ๑๒ นักษัตร
ตอ้ งตกเปน็ ประเทศราชของอาณาจกั รอยธุ ยา โดยตอ้ งสง่ ดอกไมเ้ งนิ ดอกไมท้ องแสดงความจงรกั ภกั ดแี กก่ รงุ ศรอี ยธุ ยา
ในเวลาต่อมากรุงศรีอยุธยาได้ส่งคนมาปกครองควบคุมดูแลเมืองนครศรีธรรมราช ด้วยเหตุน้ีราชวงศ์ไศเลนทร์
หรอื ราชวงศป์ ทั มวงศท์ เี่ คยปกครองอาณาจกั รตามพรลงิ คม์ านาน ตอ้ งสญู สนิ้ อำ� นาจตอ้ งสญู สนิ้ ราชวงศก์ ลายมาเปน็
คนธรรมดาสามัญ จากบัดน้ันเป็นตน้ มาอาณาจักรตามพรลิงค์ที่เมืองนครศรีธรรมราช ไม่สามารถพลิกฟน้ื คืนอ�ำนาจ
มาเปน็ ศนู ยก์ ลางบนคาบสมุทรมลายไู ดอ้ ีก ตอ้ งตกอย่ภู ายใต้การปกครองของกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ เวลานานถงึ ๔๑๗ ปี
โดยแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง ดังนี้

หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา 61

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๓.๒.๑ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนตน้ พ.ศ. ๑๘๙๓ สมยั ของสมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจา้ อทู่ อง)
กรุงศรีอยุธยาย่ิงใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ขยายเขตแดนถึงอาณาจักรสุโขทัย ขยายเขตแดนเข้าไปในอาณาจักรล้านนา
ท่ีเมืองเชียงใหม่ ทางใต้บนคาบสมุทรมลายู กรุงศรีอยุธยาขยายอาณาเขตครอบคลุมถึงอาณาจักรตามพรลิงค์
ทน่ี ครศรธี รรมราช เขตอำ� เภอทา่ ศาลาอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของเมอื งนครศรธี รรมราช ทตี่ อ้ งขนึ้ ตอ่ อยธุ ยา ชมุ ชนตา่ งๆ
ในอ�ำเภอท่าศาลาจากการสร้างป่าเป็นนา ก็ได้มีการพัฒนาต่อเน่ือง ผสมผสานวัฒนธรรมท้องถิ่นเดิมกับส่วนกลาง
มากข้ึน
๓.๒.๒ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง พ.ศ. ๑๙๘๗ สมัยเจ้าสามพระยาพร้อมราชโอรส
พระราเมศวร ตีล้านนาไทยได้เรียกสงครามปราบพรรค อพยพชาวล้านนา ๑๒๐,๐๐๐ คน ส่วนหนึ่งมาไว้ที่
เมอื งนครศรธี รรมราช เปน็ การลดอำ� นาจของลา้ นนาไทยและเพม่ิ ประชากรใหเ้ มอื งนครศรธี รรมราช ตามประวตั ศิ าสตร์
เมืองนครศรีธรรมราชกล่าวว่า ชาวล้านนาไทยได้ซ่อมแซมก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราช ปักเสาไม้พูนดินท�ำเป็น
ก�ำแพงเมือง แทนก�ำแพงเมืองดั้งเดิมของเมืองนครศรีธรรมราช ท่ีมีแต่แนวคันดินและคูน้�ำล้อมรอบ ท�ำให้ก�ำแพง
เมืองนครศรีธรรมราชมั่นคงย่ิงกว่าก่อนและส่วนหนึ่งให้ไปอยู่เมืองฉลองปัจจุบัน พ.ศ. ๑๙๙๘ สมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถเปลีย่ นฐานะเมอื งนครศรีธรรมราช จากเมอื งพระยามหานครมาเป็นหวั เมืองเอก เจ้าเมอื งมบี รรดาศกั ด์ิ
เปน็ เจา้ พระยาศรธี รรมราช ครน้ั พ.ศ ๒๐๙๑ ขนุ อนิ ทรเทพ เจา้ กรมพระตำ� รวจขวาและคณะไดก้ ำ� จดั ขนุ วรวงศาธริ าช
และเจ้าแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ จึงได้อัญเชิญพระเทียรราชา ให้ลาผนวชและขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราช (พระเทียรราชา) เมื่อพระองค์ข้ึนครองราชย์แล้ว ทรงแต่งตั้งขุนนาง
ผู้มีความดีความชอบ เช่น ขุนพิเรนทรเทพ สถาปนาเป็นสมเด็จพระธรรมราชาธิราชส�ำเร็จราชการเมืองพิษณุโลก
สว่ น ขนุ อนิ ทรเทพ ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช สำ� เรจ็ ราชการเมอื งนครศรธี รรมราช เมอื่ พ.ศ. ๒๑๐๐
ชาวโปรตุเกสที่เข้ามาค้าขายแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้ามาท่ีกรุงศรีอยุธยาและท่ีนครศรีธรรมราช
ทางกรุงศรีอยุธยาเห็นว่าเมืองนครศรีธรรมราชมีความส�ำคัญ จึงให้ช่างชาวโปรตุเกสปรับปรุงก�ำแพงเมือง
นครศรีธรรมราชให้แข็งแรงม่ันคง ช่างชาวปอร์ตุเกสจึงสร้างท�ำก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราชด้วยอิฐ ก�ำแพงเมือง
นครศรธี รรมราชจึงม่นั คงมานานนับร้อยปี
๓.๒.๓ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๒๓๑
เปน็ ช่วงเวลาที่กรุงศรอี ยุธยาเขม็ แข็งท่ีสุด แมท่ พั เอกของพระนารายณ์คือเจา้ พระยาโกษาธบิ ดี (เหลก็ ) พระนารายณ์
สง่ กองทัพกรงุ ศรอี ยุธยาบุกเขา้ ยดึ ครอง เมืองจติ ตะกอง สิเรยี ม ย่างก้งุ แปร ตองอู หงสาวดี เปน็ ตน้ เมอื งดงั กล่าว
ถกู ผนวกเขา้ มาอยใู่ นอำ� นาจของกรงุ ศรอี ยธุ ยา ในสมยั ของพระนารายณม์ หาราชเมอื งนครศรธี รรมราชไดร้ บั การดแู ล
เอาใจใส่เป็นอย่างดี สมเด็จพระนารายณ์โปรดให้สร้างก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นใหม่ตามแบบฝรั่ง เรียกว่า
แบบชาโต (Chateau) ก�ำแพงเมืองนครศรีธรรมราชท่ีเห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นก�ำแพงที่สร้างในสมัยพระนารายณ์
มหาราช ในสมยั ของพระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๐๑ มคี �ำสงั่ แต่งต้งั พระยาไชยาธเิ บศรเ์ ป็นเจา้ พระยา
นครศรธี รรมราช คำ� สงั่ ดงั กลา่ วมชี อ่ื เมอื งและชอื่ ของขา้ ราชการแตล่ ะเมอื งอยดู่ ว้ ย นา่ เสยี ดายทค่ี ำ� สงั่ แตง่ ตง้ั ขา้ ราชการ
ดังกล่าวยังหาไม่พบ จึงไม่ทราบว่าท่าศาลาของเราในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีเมืองใดบ้างแต่ละเมืองมีใคร
เป็นเจ้าเมือง มีใครเป็นข้าราชการ เข้าใจว่าค�ำส่ังแต่งต้ังข้าราชการดังกล่าวสูญหายไป ช่วงเสียกรุงศรีอยุธยา
เมือ่ พ.ศ. ๒๓๑๐ ซ่งึ ในตอนน้ันกรงุ ศรอี ยุธยาถูกพมา่ เผาท�ำลายจนไมห่ ลงเหลืออะไรเลย
เรื่องราวของท่าศาลายุคกรุงศรีอยุธยาไม่มีหลักฐานอะไรให้เห็นชัดเจน สมัยกรุงศรีอยุธยา
สันนษิ ฐานว่าดนิ แดนของท่าศาลาในปัจจบุ นั ประกอบด้วยเมืองเลก็ ๆ ๕ - ๖ เมือง อยูห่ า่ งจากเมืองนครศรธี รรมราช
ไปทางทศิ เหนอื เมอื งเหลา่ นเ้ี ป็นแหลง่ ปลูกข้าวเพอ่ื ใช้เปน็ อาหารและผลไม้ มะพรา้ ว หมากพลู เลี้ยงชาวเมือง

62 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

นครศรธี รรมราช ชว่ งเวลาทบ่ี า้ นเมอื งเปน็ ปกตดิ อี ยู่ และ ขา้ วบางสว่ นถกู เกบ็ สะสมเอาไวใ้ นยงุ้ ฉางเพอื่ ใชใ้ นยาม
เกดิ ศึกสงคราม นอกจากนี้ เมอื งเล็กๆ ๕-๖ เมือง ในดินแดนของท่าศาลาถูกใชเ้ ปน็ แหลง่ เกณฑก์ องก�ำลงั ทหาร
ชว่ งเวลาทเ่ี มอื งนครศรธี รรมราชทำ� สงครามกบั ไทรบรุ หี รอื ปตั ตานี เวลาทเี่ มอื งไทรบรุ หี รอื ปตั ตานแี ขง็ เมอื งไมย่ อมขนึ้
กับไทยเจ้าเมือง หลายเมืองจากท่าศาลาจะท�ำหน้าที่ควบคุมกองทหาร พากองทหารไปรวมกับเมืองอ่ืน
ท่ีเมืองนครศรีธรรมราช เพื่อยกทัพลงใต้ไปปราบไทรบุรีหรือปัตตานีต่อไป เมืองที่อยู่ในเขตอ�ำเภอท่าศาลา ได้แก่
เมืองอินทรคีรี(อ�ำเภอพรหมคีรี) เมืองไทยบุรี(ท่าศาลา ท่าข้ึน หัวตะพาน โพธ์ิทอง ไทยบุรี) เมืองร่อนกะหรอ
(ต�ำบลกะหรอ) เมอื งนบพติ �ำ(อำ� เภอนบพติ ำ� ) เมืองกลาย(ต�ำบลกลาย) เมอื งโมคลาน (ต�ำบลโมคลาน) ยังมีเมอื ง
ทอี่ ยทู่ างเหนือ เช่น เมืองอลอง (ฉลอง) เมืองตระชล (สิชล) เมืองตระหนอม (ขนอม) เมอื งกาญจนดิษฐ์ (สระอุเลา)
เมอื งทา่ ทอง เมอื งทา่ อแุ ท เหนอื สดุ คอื เมอื งทา่ ขา้ ม (เมอื งพนุ พนิ ) อยรู่ มิ แมน่ ำ�้ หลวง (แมน่ ำ้� ตาป)ี ถา้ ขา้ มแมน่ ำ้� หลวง
เป็นเขตแดนของเมืองไชยา (ในพงศาวดารเมืองไชยา เรียกว่า เมืองบันไทสมอ เป็นภาษาขอมเพราะไชยาเคยตก
เปน็ เมอื งขน้ึ ของขอม) เมอื งไชยาเปน็ เมอื งขนาดใหญ่ เปน็ หนง่ึ ในเมอื ง ๑๒ นกั ษตั ร ทอ่ี ยภู่ ายใตก้ ารปกครองของเมอื ง
นครศรีธรรมราชมาแต่โบราณ บางช่วงเมืองไชยาก็เคยเป็นศูนย์กลางการปกครองบนคาบสมุทรมลายูเรียกว่า
อาณาจักรศรีโพธิ์ (สุวรรณปุระ) ดังนั้น เมืองนครศรีธรรมราชก็กลายเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรศรีโพธิ์ ท้ังนี้
เพราะเมอื งนครศรธี รรมราชกบั เมอื งสวุ รรณปรุ ะมผี นู้ ำ� มาจากราชวงศไ์ ศเลนทรห์ รอื ปทั มวงศเ์ หมอื นกนั อาจพดู ไดว้ า่
เป็นเมืองพ่ีเมืองน้อง การท่ีเมืองใดจะก้าวข้ึนเป็นผู้น�ำบนคาบสมุทรมลายู ข้ึนอยู่กับสติปัญญาบารมีอ�ำนาจ
และความเปน็ ผ้นู �ำของเจ้าเมอื งนน้ั ๆ

๓.๓ ยุคกรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕
พ.ศ. ๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปีเดียวกันน้ันพระยาตากสินรวบรวมกองก�ำลังทหาร
ขับไล่พม่าออกไปจากแผ่นดินสยาม ใช้เมืองธนบุรีเป็นศูนย์กลางในการรวมอาณาจักรสยาม สถาปนาตนเป็น
พระเจ้าตากสินท�ำหน้าที่รักษาการผู้น�ำประเทศ เม่ือกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า เมืองนครศรีธรรมราชรวมทั้งเมือง
บนคาบสมุทรมลายู เช่น เมืองชุมพร เมืองไชยา
เมืองท่าทอง เมืองระนอง เมืองถลาง เมืองตรัง
เมืองพัทลุง เมืองสงขลา เมืองยะลา เมืองปัตตานี
เมืองสายบุรี เมืองกลันตัน เมืองไทรบุรี เมืองปะลิศ
เมืองปาหัง เมืองตรังกานู เป็นต้น เม่ือกรุงศรีอยุธยา
หมดสภาพการเป็นศูนย์กลาง ทุกเมืองดังกล่าว
ต่างกเ็ ปน็ อสิ ระ เมอื งหลกั ท่อี ยู่ตามภูมภิ าคต่างๆ ตัง้ ตน
เปน็ ผนู้ ำ� รวบรวมเมอื งทอี่ ยใู่ กลๆ้ เขา้ ดว้ ยกนั และคมุ กำ� ลงั
กันเอาไว้ หลวงสิทธ์ินายเวรมหาดเล็ก (พระปลัดหนู)
ผู้ร้ังเมอื งนครศรธี รรมราช เน่อื งจากพระยาราชสุภาวดี
เจา้ เมืองนครศรธี รรมราชถูกถอดจากต�ำแหน่ง ตั้งเมอื ง
นครศรีธรรมราชเป็นรัฐอิสระรวบรวมบ้านเมือง ภาพอนุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สร้างประดิษฐาน
บนคาบสมุทรมลายู แม้จะรวบรวมได้ไม่หมดทุกเมือง อยู่ที่วดั เขาขนุ พนม ต�ำบลบ้านเกาะ อำ� เภอพรหมคีรี จงั หวดั นครศรีธรรมราช
ชาวเมืองนครศรีธรรมราชเชื่อว่า พระเจ้าตากสินหลบออกมาจากที่คุมขัง
กต็ าม แตถ่ อื ว่าเมอื งนครศรธี รรมราชในเวลาน้ันมีความ เมืองธนบุรี ทรงผนวชเปน็ พระสงฆม์ าจำ� พรรษาอยู่ ณ วัดเขาขุนพนม ส�ำหรบั
เขม้ แขง็ มาก อนุสาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าแห่งนี้ ลูกหลานและผู้มีจิตศรัทธาเชื่อมั่นใน
พระเจ้าตากสนิ ชว่ ยกนั สร้างถวาย

หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 63

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

พ.ศ. ๒๓๑๒ สมเดจ็ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ที รงใหเ้ จ้าพระยาจกั รี (แขก) เป็นแมท่ พั ใหญ่ คมุ กองกำ� ลงั
๕,๐๐๐ คน ยกไปตีเมืองนครศรีธรรมราชทางบก เม่ือยกกองทัพข้ามแม่น�้ำหลวง (แม่น�้ำตาปี) ไปถึงท่าหมาก
แขวงอ�ำเภอล�ำพูน (ปัจจุบันอยู่ในพื้นท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานี) แม่ทัพนายกองไม่สามัคคีเข้าตีค่ายชุมนุม
เจ้านครศรีธรรมราช (เมืองท่าทอง) ไม่พร้อมกัน จึงเสียทีแก่กองทัพเมืองนครศรีธรรมราช พระยาศรีพิพัฒน์
และ พระยาเพชรบุรี เสยี ชวี ิตในสนามรบ พระยาจักรี (แขก) จึงถอยทพั กลบั ไปตั้งหลักอยทู่ เี่ มืองไชยา เม่อื สมเดจ็
พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ที ราบขา่ วการเสยี ทแี กก่ องทพั เมอื งนคร จงึ ยกกองทพั เรอื มที หารจำ� นวน ๑๐,๐๐๐ คน ลงไปชว่ ยเหลอื
คร้ันกองทัพเรือถึงเมืองไชยาได้ส่งทหารขึ้นบกสมทบกับทหารของพระยาจักรี เดินทัพไปทางบกผ่านท่าศาลาเข้าตี
นครศรธี รรมราช ฝา่ ยกองทัพเรอื กล็ ่องเรือตามไปถงึ ปากพญาทา่ น้�ำเมอื งนครศรีธรรมราช กองทพั บกรวมกบั กองทพั
เรือเข้าตีค่ายปากพญาพร้อมกัน อุปราชจันทร์แม่ทัพเมืองนครศรีธรรมราชถูกจับกุม พระยานครศรีธรรมราช (หนู)
พร้อมกับครอบครัวหนีไปสงขลา และหนีต่อไปยังเมืองปัตตานี กองทัพของพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงรุกไล่เข้าเมือง
นครศรธี รรมราชไดโ้ ดยง่ายดาย
ท่าศาลายุคกรุงธนบุรี พ.ศ. ๒๓๑๐ ขณะที่กรุงศรีอยุธยาถูกพม่าเผาท�ำลายจนย่อยยับเหลือไว้
แต่เพียงเศษซากปรักหักพัง เมืองนครศรีธรรมราชก็อยู่ในลักษณะเดียวกัน ชาวบ้านถูกทหารพม่าไล่จับไล่ฆ่า
จนต้องท้ิงบ้านท้ิงเมืองหนีไปอยู่ตามป่าเขา ทุกข์ยากล�ำบากกันทุกผู้ทุกคน คร้ันพระเจ้าตากสินขับไล่พม่าพ้นไป
จากแผ่นดินไทย ชาวบ้านชาวเมืองจึงอพยพกลับมาอยู่อาศัยในบ้านในเมืองของตน ในเขตอ�ำเภอท่าศาลาสมัยก่อน
มีเมอื งใหญน่ ้อยหลายเมอื ง ชาวบา้ นกลับมายงั เมืองของตนทุกคนจงึ สามารถด�ำเนนิ ชีวติ กนั ไดต้ ามปกติ ชว่ งเวลานน้ั
เมอื งนครศรธี รรมราชต้งั ตนเปน็ อสิ ระ เมอื งในเขตอ�ำเภอท่าศาลา ได้แก่ เมืองไทยบรุ ี เมืองรอ่ นกะหรอ เมอื งนบพิตำ�
เมืองกลาย เมืองโมคลาน และ เมอื งอนิ คีรี ตา่ งก็สนบั สนนุ เมอื งนครศรธี รรมราชให้ตั้งตนเป็นรัฐอิสระ สะสมเสบยี ง
อาหารและส้องสมุ ผู้คนฝกึ ปรือทหารเตรยี มการเอาไว้ให้พรอ้ ม เพื่อรับศกึ ที่อาจจะมีมาในวันข้างหน้า อยา่ งไรก็ตาม
เรื่องราวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ท่าศาลาช่วงกรุงธนบุรีมีน้อยมาก มีเพียงเร่ืองเล่าจากปากต่อปาก ไม่แน่ใจว่าจะมี
ความจริงมากนอ้ ยแคไ่ หน

64 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

๓.๔ ยุคกรุงรตั นโกสนิ ทร์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - ถึงปัจจบุ ัน

เรอ่ื งราวเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ในพน้ื ทขี่ องอำ� เภอทา่ ศาลาสมยั รตั นโกสนิ ทร์ มบี นั ทกึ เปน็ หลกั ฐานใน
รปู แบบตา่ งๆ เอาไวค้ ่อนข้างมาก เชน่ พงศาวดาร ค�ำส่ัง หมายเหตุ รายงานต่างๆ บันทกึ ต่างๆ เป็นตน้

รัชกาลท่ี ๑ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒)

พระองค์สร้างเมืองหลวงแห่งใหม่โดยย้ายราชธานีจากฝั่งธนบุรีมาสร้างท่ีฝั่งพระนคร เมื่อสร้าง
กรุงรัตนโกสินทร์แล้วเสร็จเพียง ๓ ปี พระเจ้าปดุงกษัตริย์พม่ายกกองทัพมาประชิดชายแดนไทย มีจ�ำนวนทหาร

มหาศาลถงึ ๑๕๐,๐๐๐ คน แบง่ เปน็ ๙ ทพั ยกเขา้ มา ๕ ทาง ทพั ท่ี ๑
ชุมนุมพลที่เมืองมะริดเข้ามาทางด่านสิงขรตีชุมพรเร่ือยไปจนถึง
สงขลา ทัพท่ี ๒ ชุมนุมพลท่ีเมืองทะวายเข้ามาทางด่านบ้องตี้เข้าตี
ราชบุรี เพชรบุรี ถึงชุมพร รวมกับทัพที่ ๑ ยกลงใต้ ทัพท่ี ๓
เขา้ ทางดา่ นเชียงแสนเขา้ ตีล�ำปาง สุโขทยั ลงไปถงึ กรงุ เทพฯ ทัพ ๔
๕ ๖ ๗ ๘ ชุมนุมพลท่ีเมาะตะมะยกเข้ามาทางด่านเจดีย์ ๓ องค์
มุ่งหน้าเข้าตีกรุงเทพฯ ทัพท่ี ๙ เข้ามาทางด่านแม่ละเมาเข้าตี
เมืองตาก ก�ำแพงเพชร ลงมาถึงกรุงเทพฯ ทัพไทยรับทัพพม่า
ที่ชายแดน โดยเข้ายึดทุ่งลาดหญ้าเอาไว้ได้ก่อนทัพพม่าลงมาจาก
เขา ทพั ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ของพม่าจึงตดิ อยบู่ นเทือกเขาบรรทัด ลงมาตั้ง
หลักบนพ้ืนราบไม่ได้ยากล�ำบากในการต่อสู้ ซ้�ำถูกกองโจรของไทย
ตัดเสบียงตัดก�ำลังไปเร่ือยๆ กองทัพพม่าได้รับความเสียหายมาก
เดินหน้าก็ไม่ได้ พระเจ้าปดุงต้องส่ังถอยทัพกลับพม่า เมื่อเสร็จศึก
ท่ีทุ่งลาดหญ้า ไทยส่งกองทัพไปช่วยทางภาคใต้และภาคเหนือ
จนทหารพมา่ ตอ้ งถอยทพั กลบั ทง้ั ๙ ทพั สงคราม ๙ ทพั ในครง้ั นไี้ ทย
ได้ชยั ชนะอย่างงดงาม
กล่าวเฉพาะทัพที่ ๑ ของพม่าจากเมืองมะริดเข้ามาทางด่านสิงขร มีผลโดยตรงกับชุมพร ไชยา
ทา่ ทอง ขนอม สิชล ท่าศาลา นครศรธี รรมราช สงขลา และ พัทลงุ เวลานัน้ ผู้ทำ� หน้าที่เปน็ เจ้าเมืองนครศรธี รรมราช
คอื เจา้ พระยานครศรีธรรมราช (พัฒน์) ได้รบั การแต่งต้ังเป็นเจา้ เมืองนครศรธี รรมราชในสมยั รัชกาลที่ ๑ เจา้ พระยา
นครพัฒน์เป็นบุตรเขยของเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู) การสู้รบกับทหารพม่าทางฝั่งตะวันออกท่ีเมืองท่าทอง
อันเป็นเมืองหน้าด่านของเมืองนครศรีธรรมราช ในเวลาน้ันเจ้าเมืองท่าทองคือหลวงวิสิทธิสงคราม ทหารของ
หลวงวสิ ทิ ธสิ งครามตอ่ สกู้ บั ทหารพมา่ อยา่ งดเุ ดอื ด ทำ� ใหท้ หารทงั้ สองฝา่ ยลม้ ตายลงเปน็ จำ� นวนมาก แตเ่ มอื งทา่ ทอง
กไ็ มส่ ามารถตา้ นทานทหารพมา่ ได้ ตอ้ งทง้ิ เมอื งพาชาวเมอื งหลบหนเี ขา้ ปา่ เขา ทพั ของพมา่ ยกตอ่ มาถงึ เมอื งตระหนอม
เมืองตระชน เมอื ง อลอง เมอื งกลาย เมืองไทยบุรี เมอื งกะหรอ เมืองโมคลาน เมืองอินทรคีรี เมืองไชยมนตรี และ
เมืองนครศรีธรรมราช เมืองเหล่าน้ีเห็นทีว่าจะสู้พม่าไม่ได้จึงร้างเมืองสั่งให้ผู้คนล่าถอยหลบหนีเข้าป่า ทหารพม่า
จึงบุกเข้ายึดเมืองนครศรีธรรมราชเอาไว้ได้ จากนั้นทหารพม่าก็ยกไปโจมตีเมืองสงขลาและเมืองพัทลุงต่อไป
ทเ่ี มอื งพทั ลงุ มพี ระอธกิ ารรปู หนง่ึ เรยี กกนั วา่ พระมหาชว่ ย เมอ่ื เจา้ เมอื งพทั ลงุ หลบหนที หารพมา่ พระมหาชว่ ยรวบรวม
ชาวบา้ นตอ่ สกู้ บั ทหารพมา่ อยา่ งกลา้ หาญ ตา้ นทานทหารพมา่ เอาไวจ้ นไมส่ ามารถยดึ เมอื งพทั ลงุ ได้ เมอื่ ทางเมอื งหลวง
เสร็จศึกทางดา่ นเจดยี ส์ ามองค์แล้ว จงึ จัดแบง่ กองทัพลงมาช่วยทางปักษ์ใต้ ทกุ ฝ่ายชว่ ยกันขบั ไลพ่ มา่ จนลา่ ถอยกลับ

หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 65

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ไปจนหมดสิ้น เมอ่ื พระมหาช่วยลาสิกขาบท รชั กาลที่ ๑ โปรดเกลา้ แตง่ ตั้งเปน็ พระยาทุกขราษฎร์ ดำ� รงต�ำแหน่ง
กรมการเมืองพัทลุง
กองก�ำลังทางเรือของพม่าทางฝั่งตะวันตกเข้าโจมตีตะกั่วป่า ตะกั่วทุ่ง เข้าล้อมเมืองถลางเอาไว้
ท่ีเมอื งถลางบังเกดิ วรี สตรี ๒ ท่าน คือ คุณหญิงจันทร์และนางมุกนอ้ งสาว ทำ� การตอ่ สกู้ บั ทหารพม่าอยา่ งอาจหาญ
จนได้รับชัยชนะ โดยพม่าไม่สามารถยึดเมอื งถลางไดต้ ้องล่าถอยกลบั ไป คุณหญิงจนั ทร์และนางมกุ น้องสาวมีความดี
ความชอบ ได้รับการโปรดเกล้าแตง่ ตัง้ เปน็ ท้าวเทพสตรี และ ท้าวศรีสนุ ทร
ส�ำหรับดนิ แดนในเขตอำ� เภอท่าศาลาสมัยรชั กาลท่ี ๑ ช่วงแรกที่ท�ำสงครามกบั พม่า บ้านเรอื นไร่
นาการทำ� มาหากนิ การดำ� รงชวี ติ คงยากลำ� บากมาก ถกู ทหารพมา่ ไลจ่ บั ไลฆ่ า่ ตอ้ งหลบหนกี นั วนุ่ วาย แตเ่ มอื่ เหตกุ ารณ์
สงบเมอื งไทยบรุ อี นั เปน็ ศนู ยก์ ลางของทา่ ศาลาในเวลานนั้ รวมทง้ั เมอื งกลาย เมอื งกะหรอ เมอื งนบพติ ำ� เมอื งโมคลาน
เมอื งอนิ ทรคีรี บ้านเมอื งดังกลา่ วก็กลับมาอยู่กันเปน็ ปกติ

รชั กาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั (พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗)

พม่าเตรียมการยกกองทัพมาโจมตีไทย ๒ - ๓ ครั้ง แต่มีเหตุให้ต้องยุติเสียทุกคร้ัง มีคร้ังเดียว
เมื่อสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคต ไทยผลัดเปล่ียนแผ่นดิน พม่าจึงคิดมาตีหัวเมืองชายทะเล
เพอื่ ริบทรพั ย์จับเชลย การมาตีไทยในครั้งนอี้ ะเติงหวุ่นแมท่ ัพใหญไ่ มไ่ ด้มาเอง เพียงแตจ่ ดั ให้ทัพบกเขา้ ตีเมอื งชุมพร

และเมืองไชยา ทัพเรือตีเมืองตะก่ัวป่าและเมืองตะก่ัวทุ่งแล้วล้อม
เมอื งถลางไว้ ๒๗ วัน จงึ เข้าเมืองถลางได้ รัชกาลที่ ๒ โปรดให้กรม
พระราชวงั บวรมหาเสนานรุ กั ษเ์ ปน็ แมท่ พั ยกลงไปชว่ ย ทพั ไทยตพี มา่
แตกพ่ายกลับไปหมดได้เมืองถลางคืนมา แต่เมืองถลางเสียหายยับ
เยินเพราะถูกพม่าเผา นับเป็นการสงครามระหว่างไทยและพม่า
คร้ังสุดท้ายในสมัยพระเจ้าปดุง ทางฝั่งตะวันออกสงครามคราวนี้
ทัพพม่าและไทยสู้รบกันที่ชุมพรและไชยา แต่ถูกกองทัพของ
กรมพระราชวงั บวรมหาเสนานรุ กั ษข์ บั ไลต่ อ้ งถอยรน่ กลบั ไป สงคราม
ไม่ลุกลามถึงเมืองท่าทองเมืองตระหนอมเมืองตระชลเมืองอลอง
และเมืองไทยบุรี เมืองดังกล่าวจึงไม่เกิดความเสียหายแต่อย่างใด
แต่การด�ำรงชีวิตของชาวบ้านก็ยากล�ำบาก เน่ืองจากอยู่ในภาวะ
ของสงคราม การท�ำมาหากินประกอบอาชีพท�ำนาเพาะปลูกไม่ได้
การคา้ ขายก็ไม่สะดวกเหมือนก่อน แตห่ ลงั จากเสร็จสงครามวถิ ชี วี ติ
ของชาวบ้านกก็ ลบั มาอยูก่ นั ตามปกติ
รัชกาลท่ี ๒ จัดระเบียบบริหารราชการเมืองนครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๓๕๔ โดยยึดแนวทาง
จากทำ� เนยี บข้าราชการเมืองนครศรธี รรมราช ครัง้ สมยั พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศเม่ือ พ.ศ. ๒๒๘๕ โดยออกค�ำสงั่ แต่งตง้ั
ขา้ ราชการเมอื งนครศรธี รรมราชเมอื่ พ.ศ.๒๓๕๔ จากคำ� สงั่ นเี้ องทำ� ใหเ้ ราทราบถงึ อาณาเขตของเมอื งนครศรธี รรมราช
รวมท้ังบุคลากรท่ีได้รับการแต่งต้ังเป็นเจ้าเมือง ข้าราชการ นายที่ นายแขวง และ นายด่าน สรุปสาระส�ำคัญ
ของท�ำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชคร้ังรัชกาลที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๕๔ พิจารณาคัดเลือกเฉพาะหัวข้อท่ีส�ำคัญ
ทีเ่ กย่ี วข้องกับบ้านเมืองของอำ� เภอทา่ ศาลาในยุคปจั จบุ ัน อาจกลา่ วถงึ เร่อื งราวของเมืองอ่ืนๆ ที่อยใู่ กล้กับอาณาเขต
ของอ�ำเภอทา่ ศาลา และ ส่วนเกยี่ วขอ้ งพาดพงิ ถงึ อ�ำเภอทา่ ศาลา ซง่ึ จะได้สรปุ สาระสำ� คญั เปน็ ขอ้ ๆ ดงั น้ี

66 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๑. ท�ำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชครั้งรัชกาลที่ ๒ พ.ศ.๒๓๕๔ โดยยึดแนวทาง
จากท�ำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ครั้งพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๒๘๕ คร้ังนั้น
แต่งต้ัง พระยาไชยาธิเบศร์ เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช คร้ันในสมัยรัชกาลที่ ๒ มีการแต่งตั้งข้าราชการเมือง
นครศรีธรรมราช พ.ศ.๒๓๕๔ แต่บทกล่าวน�ำอ้างถึงข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
พ.ศ. ๒๒๘๕ ระบวุ า่ เปน็ พระยาสโุ ขทยั แสดงวา่ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราชสมยั พระเจา้ อยหู่ วั
บรมโกศมี ๒ คน คือ พระยาไชยาธิเบศร์ และ พระยาสุโขทัย และ พระยาสุโขทัย นี้เองท่ีอาจเป็นญาติผู้ใหญ่
ของ หลวงสิทธ์ินายเวรมหาดเล็ก (ตามประวัติบอกว่าหลวงสิทธ์ินายเวรมหาดเล็ก เป็นหลานของเจ้าพระยานคร
คนก่อน) ครั้นถึงสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ หลวงสิทธิ์นายเวรมหาดเล็ก ได้รับการแต่งตั้งเป็น พระปลัดเมือง
นครศรธี รรมราช (พระปลดั หน)ู ศกั ดนิ า ๓,๐๐๐ เมอ่ื เจา้ พระยานครศรธี รรมราช (พระยาราชสภุ าวด)ี กระทำ� ความผดิ
ถูกถอดออกจากต�ำแหน่ง พระปลัดหนูจึงรักษาราชการเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช จนกระท่ังกรุงศรีอยุธยา
เสียใหแ้ กพ่ ม่าเมือ่ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมืองนครศรธี รรมราชเปน็ อสิ ระ พระปลัดหนูจงึ ต้ังตนเปน็ เจา้ เมอื งนครศรธี รรมราช
(เอกสารท�ำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ. ๒๒๘๕ คงสูญหายไปช่วง
ทกี่ รุงศรอี ยุธยาเสียแก่พม่า ถูกพมา่ เผาท�ำลายเมอ่ื พ.ศ. ๒๓๑๐)
๒. สมยั รชั กาลที่ ๒ กรุงรตั นโกสินทร์ เจ้าพระยานครเข้าไปเฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาทมีความ
ปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบบั ท่ี ๗๓ ว่า “แจง้ ราชการนะกรุงเทพมหานคร กราบทลู พระกรนุ าวา่ สงู อายหุ ลงลมื
จงึ ทรงพระกรนุ าตรัสเหนอื เกลา้ ฯ สัง่ วา่ ฝ่ายปกั สไ์ ตเ้ มอื งนครสรธี ัมมราชไหยก่ ว่าหัวเมอื งทัง้ ปวง เปนทพ่ี �ำนักอาสยั
แก่แขกเมืองและลกู ค้านานาประเทส เจ้าพระยานครสูงอายุ ไหเ้ ลือ่ นข้นึ เปน เจ้าพระยาสุธัมมนตรี สรีโสกราชวง
เชสถ พงส์ลือไชย อนุทัยธิบดี อภัยพิรินปรากรมพาหุ เปนผู้ไหย่อยู่ไน เมืองนคร ไห้ พระบริรักส์ภูเบสร
เปนพระยาสรีธัมมโสกราช ชาติ เดโชชัย มไหสุริยาธิบดี อภัยพิริยปรากรมพาหุ พระยานครสรี ธัมมราช
ออกมาครองเมืองสำ� เหรด็ กิจสุขทุขของอานาประชาราสดร์ ตา่ งพระเนตรพระกรรณสบื ไป”*
(เจ้าพระยานครท่ีเข้าเฝ้าสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ กราบทูลว่าสูงอายุ
หลงลมื คือ เจา้ พระยานครพฒั น์ ส่วนเจ้าพระยานครคนใหม่ที่ไดร้ ับการแต่งตั้ง คือ เจ้าพระยานครน้อย)
๓. พระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมนื่ สกั ดพิ ลเสพย์ * มคี วามปรากฏตามประชมุ พงศาวดารฉบบั ที่ ๗๓
ว่า “กราบทูลพระกรุนาว่าพระหลวงกรมการเมืองนคร ขาดมิครบตามต�ำแหน่งและซงพระกรุนาโปรดเกล้าฯ
ไห้จัดแจงข้ึนไห้ครบคาบตามตำ� แหนง่ นะวัน จันทร์เดอื น ๑๒ ข้นึ ๕ ค่�ำปีมะแม ตรีสก พระหลวงกรมการพรอ้ มกนั
ไหห้ ลวงเทพสนามผวู้ า่ ทจ่ี า่ หลวงแพง่ นอก หลวงแพง่ ไน กรมการ คนเกา่ เชนิ พระอยั ยการตำ� แหนง่ นายทหานหวั เมอื ง
ซงช�ำระไหม่ ขนุ ทิพยมนเทียรเชินพระอยั ยการไนพระบรมโกส ซ่ึงซงพระกรุนา โปรดเกลา้ ฯ ไวส้ �ำหรับเมอื ง กบั สมุด
ตำ� แหน่งพระหลวงกรมการเมืองนคร ครั้งพระยาสโุ ขทยั ออกมาเปนเจา้ พระยานคร ดแู ลไน พระอัยยการ มแี ตก่ รม
การผู้ไหย่ สมุดต�ำแหน่งครังพระสุโขทัย เปนเจ้าพระนครนั้น มีกรมการขุนหม่ืนผู้น้อยหยู่ด้วย จึงเอาบันจบคัดขึ้น
เป็นจ�ำนวนกรมการเมืองนครสรธี ัมมราช ตาม ต�ำแหน่งแตก่ ่อน”
๔. แต่งตง้ั ออกพระสรรี าชสงครามราชภักดเี ป็นปลัดเมอื งนคร * มีความปรากฏตามประชุม
พงศาวดารฉบับท่ี ๗๓ ว่า “ถือสักดินา ๓๐๐๐ ฝ่ายขวา ถือตรารูปโตยืนบนแท่น เคร่ืองประจ�ำยสมีช้างพลาย ๑
ช้างพัง ๑ จ�ำลอง ๒ ทงทวน ๔ นวม ๖ แหลน ๔ ปืนนกสับ หลังช้าง ๒ กระบอก หมวกม้า ๒ เคร่ืองม้า ๒๐
ปืนกระสุนนวิ้ กึง่ ๓ บันดาสกั ด์ิ ๑๘ กระบอก ปนื นกสับบันดาสักด์ิ ๒๔ กระบอก ปนื นกสบั ชเลยสกั ดิ์ ๑๘ กระบอก
เสื้อพล ๔๒ หอกเขน ๓๐ ทวนเท้า ๑๕ เรือพนัก ๒ ได้รับพระราชทานกิจกะทงความและข้าวผูกกึ่งเจ้าเมือง
และท่พี กหมากตำ� บลพเนียนขนอมขน้ึ ส�ำหรับที่ ๓ ตำ� บล มีนาสัดทสิ ตะวันออกเมือง ๒ เส้น (แต่งต้ังออกพระศรีราช
สงครามเปน็ พระปลัดเมอื งนครศรธี รรมราช ศกั ดนิ า ๓,๐๐๐ ไร)่ ”*

หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 67

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๕. ออกหลวงไทยบุรี สรีมหาสงคราม * มีความปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบับท่ี ๗๓
“ถือสักดินา ๑๒๐๐ ฝ่ายซ้าย ถือตรารูปโต มชี ้างพลาย ๑ จ�ำลอง ๑ ทวน ๒ นวม ๓ แหลน ๒๐ ปืนนกสบั หลงั ชา้ ง
๑ กะบอก ปนื นกสบั ชเลยสกั ด์ิ ๖ กะบอก ปนื กะสนุ น้วิ กงึ่ ชเลยสกั ดิ์ ๑ กะบอก หอกเขน ๑๕ ทวน ๕๑ เท้า ๖
และไดร้ บั ผลพระราชทานไพร่เลวทไ่ี ทยบุรี และไดพ้ ิจารนาความต่ำ� แสน ซงึ่ ราสดรรอ้ งฟอ้ งแกก่ ันบรรจบราชการได้
เรียกสว่ ยอากรไนทไี่ ด้ รบั พระราชทานคา่ คำ� นบั รึชาพาสีสว่ ย ขนุ ราชบรุ ี รองทไี่ ทยบรุ ี ถอื สักดนิ า ๔๐๐ หมื่นเทพบรุ ี
สมุหบ์ ัญชี ถือสักดินา ๒๐๐ หมน่ื บาลบุรี “ “ หมื่นสิทธิ สารวัด ถอื สกั ดินา ๒๐๐ เมอื งเพช็ รชลธี เมอื งทา่ สูงขึ้น
ไทยบรุ ี ถือสักดินา ๒๐๐ ท่วี ัดโทลายสาย ๑ วดั ตะหมาย ๑ วดั พนงั ตรา ๑ เปนทเ่ี ลนทุบาตร หยู่ไนทีไ่ ทยบรุ ี สริ หิ ลวง
ขนุ หมนื่ ไนทไี่ ทยบรุ ี หลวง ๑ ขุน ๑ หมื่น ๓ เมอื ง ๑ รวม ๖ คน”
(ออกหลวงไทยบรุ ศี รสี งครามเปน็ เจา้ เมอื งไทยบรุ ี อาณาเขตเมอื งไทยบรุ ใี นปจั จบุ นั แบง่ ออก
เปน็ ๕ ตำ� บล คอื ต�ำบลไทยบรุ ี ตำ� บลท่าขึ้น ตำ� บลท่าศาลา ตำ� บลหัวตะพาน และ ต�ำบลโพธิ์ทอง ทงั้ ๕ ตำ� บล
รวมเรียกว่า ลายสาย ต�ำบลหวั ตะพานสมยั ก่อนเรยี กว่า หวั ตะพานลายสาย)
๖. ขุนพิชัยธานีสรีสงคราม * มีความปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบับท่ี ๗๓ นายท่ีกลาย
นา ๖๐๐ ฝ่ายซา้ ย หมื่นราชบรุ ี รองทก่ี ลาย นา ๓๐๐ หม่ืนรกั สาบรุ ี สมหุ บ์ ญั ชี นา ๒๐๐ หมืน่ อินทบุรี “ “ พนั พนู
นายที่กลาย ๕๕ วัดเหยงคนเ์ ปนที่เลนทบุ าตไนท่กี ลาย สิริ ขนุ หม่ืน ท่ีกลาย ขุน ๑ หมื่น ๓ พนั ๑ รวม ๕ คน
(ขุนพชิ ยั ธานศี รีสงครามเปน็ เจ้าเมืองกลาย (ต�ำแหน่งนายอำ� เภอ) เมืองกลายปจั จบุ นั ถกู แบง่ ออกเป็น ๓ ต�ำบล คอื
๑. ต�ำบลกลาย ๒. ต�ำบลสระแกว้ ตอ่ มาต�ำบลกลายแยกเป็น ๓. ตำ� บลตลงิ่ ชัน)*
๗. ขุนไชยบรุ ี * มีความปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบับที่ ๗๓ นายท่รี อ่ นกะหรอ ถอื สักดินา
๔๐๐ หมื่นสักดิบุรี รองที่ร่อนกะหรอ นา ๓๐๐ หม่ืนจงบุรี สมุห์บัญชี นา๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ที่ร่อนกะหรอ
ขนุ ๑ หมืน่ ๒ รวม ๓ คน* (ขุนไชยบรุ ีเป็นนายทรี่ ่อนกะหรอ (ต�ำแหน่งก�ำนัน) เมืองร่อนกะหรอปจั จบุ ันถกู แบ่งออก
เปน็ ๒ ตำ� บล คือ ต�ำบลกะหรอ และ ต�ำบลนาเหรง)
๘. ขุนเดชธานีคุนบพิต�ำ * มีความปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบับที่ ๗๓ นายท่ีนบพิต�ำ
นา ๔๐๐ ฝ่ายขวา หมน่ื หานบุรี รองทน่ี บพิตำ� นา ๓๐๐ หม่นื จบบุรี สมุห์บัญชี นา ๒๐๐ สิริ ขุน หมื่น ทนี่ บพิต�ำ
ขุน ๑ หมนื่ ๒ รวม ๓ คน (ขุนเดชธานคี ุนบพิต�ำเป็นนายท่นี บพิตำ� (ต�ำแหน่งกำ� นนั ) เมืองนบพิต�ำปัจจุบันแบ่งออก
เปน็ ๒ ตำ� บล คือ ตำ� บลนบพติ ำ� และ ต�ำบลกรงุ ชิง)
๙. ขุนทันท์ธานี * มีความปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบับที่ ๗๓ นายที่วัดโมคลาน
นา ๔๐๐ ฝา่ ยซ้าย หมนื่ ชนบรุ ี รองที่วดั โมคลาน นา ๓๐๐ ทีว่ ดั โมคลานเปนท่เี ลนทุบาตรไนทีช่ า้ งซ้าย สิริ ขนุ หมน่ื
ท่วี ดั โมคลาน ขุน ๑ หมนื่ ๑ รวม ๒ คน (ขุนทันฑ์ธานเี ป็นนายทเ่ี มืองโมคลาน (ตำ� แหน่งกำ� นนั ) เมอื งโมคลานปจั จุบนั
คอื ต�ำบลโมคลาน และบางสว่ นของเมืองโมคลานที่แยกไปขึ้นกับตำ� บลทอนหงส์ของอำ� เภอพรหมครี ี ๔ หม่บู า้ น คอื
บ้านดอนคา บ้านวงั ลุง บ้านชมุ ขลิง และบ้านทอนหงส์ )
๑๐. หลวงอนิ ทรคริ สี รสี งคราม * มคี วามปรากฏตามประชมุ พงศาวดารฉบบั ท่ี ๗๓ นายทอ่ี นิ ทรคริ ี
นา ๑๒๐๐ ฝ่ายขวา มีชา้ งพลาย ช้างจำ� ลอง ๑ ทงทวน ๒ หมวก ๓ แหลน ๒ นวม ๓ ปืนนกสบั บนั ดาสกั ดิ์ ๕ กะบอก
เสื้อ ๔ หอกเขน ๑๐ เส้ือพล ๑๐ ทวนเท้า ๕ ได้เรียกส่วยอากรไนท่ี ได้รับพระราชทานค่าค�ำนับรึชาพาสีส่วย
ขนุ เพ็ชรคริ ี รองอนิ ทรคริ ี นา ๔๐๐ หมื่นทิพคริ ี สมหุ บ์ ญั ชี นา ๒๐๐ หม่ืนพลคิรี สมุหบ์ ญั ชี “ “ หม่ืนสารวดั “ “
ที่วดั โพธด์ิ อนซาย ๑ วดั ไหย่รัตนโพธิ ๑ วดั จนั พอ ๑ รวม ๓ วัด เปนทเ่ี ลนทบุ าตร ไนทอี่ นิ ทรคริ ี สริ ิ หลวง ขนุ หมน่ื
ที่อนิ ทรคริ ี หลวง ๑ ขนุ ๑ หม่ืน ๓ รวม ๕

68 หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

(หลวงอินทรคีรีศรีสงครามเป็นเจ้าเมืองอินทรคีรี เมืองอินทรคีรีแบ่งเป็น ๘ ต�ำบล คือ
๑. ต�ำบลอินคีรี ๒. ต�ำบลบ้านเกาะ ๓. ต�ำบลนาเรยี ง ๔. ต�ำบลพรหมโลก ๕. ตำ� บลทอนหงส์ อาณาเขตบางส่วน
ของเมืองอินทรคีรีเคยมาข้ึนกับอ�ำเภอกลาย คือ บ้านอ้ายเขียว บ้านอ้ายคู บ้านคลองเมียด บ้านวัดใหม่ เป็นต้น
ตอนทต่ี ำ� บลทอนหงสไ์ ปขน้ึ กบั อำ� เภอพรหมครี ี มี ๓ หมบู่ า้ นของเมอื งโมคลาน ๑ หมบู่ า้ นของหวั ตะพาน (เมอื งไทยบรุ )ี
ท่แี ยกไปขึ้นกับต�ำบลทอนหงส์ อ�ำเภอพรหมคีรี คือ บ้านทอนหงส์ บ้านดอนคา บ้านวงั ลุง และบ้านชุมขลิง ๖. ตำ� บล
ดอนตะโก เคยอย่ใู นเขตของเมอื งอินทรคีรีแตถ่ ูกจัดให้มาข้นึ กับอ�ำเภอกลาย (ปัจจบุ ันอำ� เภอกลายเปลยี่ นเปน็ อำ� เภอ
ท่าศาลา) ๗. ต�ำบลนาทราย เคยอยู่ในเขตของเมืองอินคีรี แต่ถูกจัดให้มาขึ้นกับอ�ำเภอกลางเมือง ๘. ต�ำบลท่าง้ิว
เคยอยใู่ นเขตเมอื งอนิ ทรครี ี แตถ่ กู จดั ใหม้ าขน้ึ กบั อำ� เภอกลางเมอื ง (ปจั จบุ นั อำ� เภอกลางเมอื งเปลยี่ นเปน็ อำ� เภอเมอื ง)
พน้ื ท่ีของเมืองอินทรคีรที ม่ี ีมาแต่เดมิ (กอ่ นถกู นำ� ไปรวมกบั อ�ำเภอเมืองเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๔๐) เม่อื ตั้งเปน็ อ�ำเภอพรหมคีรี
๙ สงิ หาคม ๒๕๑๗ มเี หลอื เพยี ง ๕ ตำ� บล โดยถกู ตดั ไปขนึ้ กบั อำ� เภอทา่ ศาลา ๑ ตำ� บล และ ถกู ตดั ไปขน้ึ กบั อำ� เภอเมอื ง
๒ ตำ� บล )
๑๑. หมน่ื สรเี ดชะ * มคี วามปรากฏตามประชุมพงศาวดารฉบบั ท่ี ๗๓ นายดา่ นกลาย นา ๓๐๐
ฝา่ ยซา้ ย หมน่ื พล ปลดั ดา่ นกลาย นา ๒๐๐ ขนุ แพทยเ์ ดชะ นายดา่ นทา่ สงู นา ๓๐๐ ฝา่ ยซา้ ย หมนื่ เพช็ ร ปลดั ดา่ นทา่ สงู
นา ๒๐๐ ขนุ ไชยสาคร นายด่านมะยงิ นา ๓๐๐ ฝา่ ยซ้าย หม่นื ไชยเดชะ ปลดั ดา่ นมะยิง นา ๒๐๐ เป็นตน้

รชั กาลที่ ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยหู่ วั (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔)

ในสมยั รัชกาลท่ี ๓ ศกึ จากพม่าหมดไปเนื่องจากพม่าทะเลาะกับอังกฤษ การที่พมา่ เตรยี มตัวมา
รบกบั ไทยกต็ อ้ งลม้ เลกิ ไป องั กฤษทำ� สงครามกบั พมา่ ตอ้ งเสยี เปรยี บดา้ นภมู ปิ ระเทศ รวมทงั้ ทหารองั กฤษลม้ ตายจาก
ไข้ปา่ องั กฤษจงึ ขอก�ำลังกองทัพไทย ไทยสง่ ทหารไปชว่ ยองั กฤษรบกับพม่าเม่ือ พ.ศ. ๒๓๖๗ แต่แมท่ พั ไทยกบั ทหาร

อังกฤษขัดแย้งกันท่ีเมืองมะริดไทยจึงถอนทัพกลับ แต่อังกฤษ
ไมล่ ะความพยายามขอกำ� ลงั จากไทยอกี ไทยสง่ ทพั ไปชว่ ยองั กฤษรบ
พม่าเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๘ แต่ก็ขัดแย้งกันในการครอบครองเมือง
เมาะตะมะไทยจึงถอนทัพกลับ ช่วงหลังอังกฤษเน้นกองทัพเรือ
เข้าโจมตีเมืองชายทะเลของพม่า หลังจากน้ันอังกฤษก็เข้ายึดครอง
ประเทศพมา่ ไดส้ �ำเรจ็ ส่วนกองทพั ไทยก็ตดิ พนั กบั การท�ำศกึ กับลาว
ในสมัยของพระเจ้าอนุวงศ์ เม่ือจัดการกับเวียงจันทน์ได้แล้ว
กองทัพไทยก็เข้าไปติดพันกับการท�ำศึกกับญวนจากปัญหาของ
เขมร ไทยกับญวนรบกันไปรบกันมาถึง ๑๕ ปี สุดท้ายญวนก็ขอ
หยา่ ศกึ กบั ไทยเพราะตอ้ งไปรบกบั ฝรงั่ เศส เนอื่ งจากฝรงั่ เศสกระหาย
ทจี่ ะไดญ้ วนเปน็ ประเทศอาณานคิ มของตน ไทยกบั ญวนจงึ ตกลงกนั
ไดว้ า่ จะใหเ้ ขมรขน้ึ ทงั้ ไทยขน้ึ ทง้ั ญวน ขอ้ ตกลงดงั กลา่ วจงึ เกดิ ปญั หา
ขึ้นเมื่อฝรั่งเศสได้ญวนเป็นอาณานิคม ฝรั่งเศสอยากได้เขมรด้วย
โดยอ้างวา่ เขมรเป็นเมืองขึ้นของญวน
เหตุการณ์ต่างๆ เร่ืองราวต่างๆ ในเขตอ�ำเภอท่าศาลา ในสมัยของสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว
ไม่มีข้อมูลรายละเอียดใดๆ บ้านเมืองในเขตอ�ำเภอท่าศาลาเวลานั้นก็ยังประกอบด้วยเมืองไทยบุรี เมืองกลาย
เมืองร่อนกะหรอ เมืองนบพิต�ำ เมืองโมคลาน และ เมืองอินทรคีรี ในส่วนของเมืองไทยบุรีที่บ้านเราน่าจะมีการ

หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 69

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

เปลยี่ นแปลงเจา้ เมอื ง เนอ่ื งจากออกหลวงไทยบรุ ถี งึ แกก่ รรม ขนุ ราชบรุ รี องเจา้ เมอื งไทยบรุ จี งึ ขนึ้ เปน็ เจา้ เมอื งไทยบรุ ี
เจา้ เมอื งไทยบรุ ที ่านนี้มอี ำ� นาจมีบารมีมาก

รชั กาลท่ี ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑)

ในสมยั รชั กาลที่ ๔ ประเทศไทยเปดิ ประเทศตดิ ตอ่ กบั ตา่ งประเทศอยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะฝรง่ั
ทางยโุ รปและอเมริกา มีการเจริญสัมพนั ธไมตรี และ มกี ารติดต่อทางการทูตกับหลายสิบประเทศ เน่ืองจากรัชกาล
ที่ ๔ มีโอกาสศึกษาเล่าเรยี นศิลปวิทยาของพวกฝรง่ั ขณะทพ่ี ระองคท์ รงผนวช สามารถตรัสและเขยี นภาษาองั กฤษได้

ครั้นลาผนวชและขึ้นครองราชย์จึงเรียนรู้เข้าใจแนวคิดของพวกฝร่ัง
ได้เป็นอย่างดี ประกอบกับขณะที่ทรงผนวชได้เสด็จท่องไปทั่ว
ประเทศ รู้เห็นเหตุการณ์ต่างๆ รู้เห็นความเป็นอยู่ทุกข์สุข
ของอาณาประชาราษฎร์ สามารถน�ำมาเป็นข้อมูลในการบริหาร
จัดการบ้านเมือง เน่ืองจากพระองค์มีความรู้ทางวิทยาศาสตร์
สามารถค�ำนวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงที่ต�ำบลหว้ากอ
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ค�ำนวณได้อย่างแม่นย�ำล่วงหน้า ๒ ปี
กอ่ นเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคาจรงิ ในปี พ.ศ.๒๔๑๑ ดว้ ยความสามารถทางดา้ น
วิทยาศาสตร์ของพระองค์ดังกล่าว เมื่อ วันท่ี ๑๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๕๒๕ รฐั บาลไทยโดยพลเอกเปรม ตณิ สลู านนท์ นายกรฐั มนตรี
ในขณะนั้น ประกาศยกย่องสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น
พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย ย้อนกลับไปในปีท่ีเกิดสุริยุปราคา
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๑ คร้ันสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จกลับ
พระนครกม็ อี าการพระประชวรจบั ไข้ ทรงทราบวา่ นา่ จะไมห่ ายจาก
อาการประชวร วนั พฤหสั บดี ขน้ึ ๑๕ คำ่� เดอื น ๑๑ ตรงกบั วนั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๑๑ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้
เจา้ อย่หู ัวเสดจ็ สวรรคต พระชนมายุรวม ๖๔ พรรษา
สมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๔ คงมีเร่ืองราวเหตุการณ์ต่างๆ เกิดข้ึนท่ีท่าศาลา
บา้ นเรามากมายหลายสงิ่ หลายอยา่ ง อาจมหี มายเหตขุ องทางราชการบนั ทกึ เอาไว้ อาจมบี นั ทกึ ของหนว่ ยงานราชการ
บันทึกเอาไว้ อาจมีคนหลายคนบันทึกเร่ืองราวเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในสมัยน้ันเอาไว้ แต่ในขณะนี้ยังไม่มีเวลาค้นหา
ศึกษาแล้วน�ำมาบอกนำ� มาเลา่ หรือ น�ำมาเขียนใหไ้ ดอ้ า่ นกัน

70 หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

รชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓)

สมยั รชั กาลที่ ๕ ชว่ งเวลาทพ่ี ระองคค์ รองราชยย์ าวนานถงึ ๔๒ ปี จงึ มีเร่อื งราวต่างๆ เหตุการณ์
ต่างๆ เกดิ ข้ึนเป็นจำ� นวนมาก เน่ืองจากบ้านเมอื งมคี วามเจรญิ มากขนึ้ จึงมกี ารบันทึกเหตกุ ารณท์ ี่เกิดข้นึ ในรปู แบบ
ต่างๆ เช่น ภาพถ่าย หนังสือพิมพ์ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
ค�ำส่ัง บันทึกต่างๆ เช่น บันทึกประจ�ำวัน บันทึกการประชุม
บันทึกรายการ สมุดหมายเหตุ รายงานต่างๆ จดหมาย เป็นต้น
เร่ืองราวท่ีเกิดขึ้นจึงมีหลักฐานปรากฏให้เห็นเป็นจ�ำนวนมาก
แตจ่ ะกล่าวเฉพาะเรอื่ งราวเหตุการณท์ เี่ กีย่ วข้องกับนครศรธี รรมราช
ทา่ ศาลา และ อำ� เภอใกล้เคยี งท่ีอาจพาดพิงถึงกัน
รัชกาลที่ ๕ กับการจัดระบบการปกครองเมอื ง
นครศรธี รรมราช เมอื งนครศรธี รรมราชมรี ะบบการปกครองทเ่ี ปน็ ตน้
แบบใหเ้ มอื งอนื่ ตงั้ แตป่ ลายกรงุ ศรอี ยธุ ยาสมยั พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
สมัยนั้นเมืองนครศรีธรรมราชแบ่งการปกครองเป็น ๒ ส่วน คือ
การปกครองภายในตวั เมอื งนครศรธี รรมราช และการปกครองทอ้ งท่ี
ระบบการปกครองของนครศรีธรรมราชมรี ะเบยี บแบบแผนท่ชี ดั เจน
โดยเฉพาะการปกครองสว่ นทอ้ งทข่ี องเมอื งนครศรธี รรมราช โดยแบง่
ออกเป็นบา้ น แขวง อำ� เภอ และ เมอื ง ครั้นรชั กาลที่ ๕ จัดระบบการ
ปกครองเรยี กวา่ แบบมณฑลเทศาภบิ าล การปกครองแบบเทศาภบิ าล
น�ำวิธกี ารปกครองสว่ นทอ้ งทีข่ องเมอื งนครศรธี รรมราชมาใช้ โดยระบบเทศาภิบาลมวี ธิ จี ัดการปกครองคลา้ ยกับการ
ปกครองส่วนทอ้ งท่ี ทมี่ มี าแตเ่ ดิมของเมอื งนครศรีธรรมราช การปกครองส่วนทอ้ งที่ ท่มี ีมาแตเ่ ดิมช่ือ ตำ� แหน่งต่างๆ
เกา่ และใหมม่ ดี ังนี้
เก่าเรียกบ้าน หัวหน้าบา้ นเรยี กวา่ แกบ่ า้ น - ใหม่เรียกบ้าน หวั หน้าบ้านเรียกวา่ เจา้ บา้ น
เกา่ เรยี กแขวง หัวหน้าแขวงเรียกวา่ นายท่ี - ใหมเ่ รียกหมบู่ ้าน หัวหน้าหมู่บ้านเรยี กว่า ผู้ใหญ่บา้ น
เกา่ เรยี กอำ� เภอ หัวหนา้ อำ� เภอเรียกว่า นายท่ี - ใหม่เรยี กต�ำบล หัวหนา้ ตำ� บลเรยี กวา่ กำ� นนั
เก่าเรยี กเมอื ง หวั หนา้ เมืองเรียกวา่ เจ้าเมือง - ใหมเ่ รียกอำ� เภอ หวั หน้าอำ� เภอเรียกวา่ นายอ�ำเภอ

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรชั กาลท่ี ๕ รศ.๑๑๖ (วนั ที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๔๐) ไดป้ ระกาศ
จดั ตัง้ จังหวัดนครศรธี รรมราช และมอี ำ� เภอต่างๆ ๙ อ�ำเภอ ๑ กิ่ง ดังน้ี
๑. อำ� เภอกลางเมอื ง (อ�ำเภอเมอื ง) ๒. อำ� เภอทงุ่ สง
๓. อำ� เภอเบยี้ ซัด (อำ� เภอปากพนัง) ๔. อำ� เภอฉวาง
๕. อำ� เภอสิชล ๖. อ�ำเภอเขาพงั ไกร (อำ� เภอหัวไทร)
๗. อำ� เภอลำ� พูน (อ�ำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธาน)ี ๘. อ�ำเภอรอ่ นพิบูลย์
๙. อำ� เภอกลาย (อำ� เภอทา่ ศาลา) ๑๐. ก่ิงอำ� เภอเขาแกว้ (อำ� เภอลานสกา)

หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 71

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ส�ำหรับอ�ำเภอกลาย ต่อมาสมัยรัชกาลท่ี ๖ พ.ศ. ๒๔๔๙ เปลี่ยนช่ือเป็นอ�ำเภอท่าศาลา
และมีนายอำ� เภอทา่ ศาลา พ.ศ. ๒๔๔๐ ถึงปจั จบุ นั ดงั นี้
๑. นายเจริญ พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๔๔๒
๒. นายเงิน พ.ศ. ๒๔๔๒ - ๒๔๔๗
๓. ขุนชำ� นาญยุวกิจ พ.ศ. ๒๔๔๗ - ๒๔๔๙
๔. นายครวญ (บูรณภวงั ค)์ พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๐ ราชทินนามหลังสดุ คือ หลวงนิวาศวัฒนกจิ
๕. หลวงกลั ยา พ.ศ. ๒๔๕๐ - ๒๔๕๑
๖. ขนุ สงบธานี พ.ศ. ๒๔๕๑ - ๒๔๕๑
๗. นายชื่น สุคนธหงส์ (พระเสน่หามนตรี) พ.ศ. ๒๔๕๒ - ๒๔๕๓
๘. ขุนรฐั วุฒวิ จิ ารณ์ (นายเขยี น มาลยานนท)์ พ.ศ. ๒๔๕๕ - ๒๔๕๙
๙. นายพร้อม ณ ถลาง (พระยาอมรฤทธิธ�ำรง) พ.ศ. ๒๔๕๙ - ๒๔๖๐
๑๐. นายเจือ ศรยี าภัย พ.ศ. ๒๔๖๐ - ๒๔๖๑
๑๑. หลวงระวังประจนั ตคาม พ.ศ. ๒๔๖๑ - ๒๔๖๒
๑๒. หลวงประชาภิบาล พ.ศ. ๒๔๖๓- ๒๔๖๙
๑๓. หลวงมหานุภาพปราบสงคราม พ.ศ. ๒๔๖๗ - ๒๔๖๙
๑๔. หลวงณรงคว์ งษา พ.ศ.๒๔๖๕ - ๒๔๗๐
๑๕. นายสนธิ เกตกะโกมล พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๗๒
๑๖. หลวงรักษ์นรกจิ พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๗
๑๗. ขนุ ประจกั ษ์ราษฎร์บรหิ าร พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๗๙
๑๘. นายชาย โชตกิ ะพุกกะนะ พ.ศ. ๒๔๗๙ - ๒๔๘๐
๑๙. ขุนสิทธ์ิธรุ การ (รองอ�ำมาตย์โท พรอ้ ม ยงั บรรเทา) พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๔๙๐
๒๐. ร.ต.อ.จรูญ ศริ พิ านิช พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๕
๒๑. นายพาทย์ รตั นพรรณ์ พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๔๙๘
๒๒. นายกระจา่ ง คริ ินทรน์ นท์ พ.ศ. ๒๔๙๖ - ๒๕๐๑
๒๓. นายศุภโยค พานชิ วทิ ย์ พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๕๐๘
๒๔. นายพยงุ คันธวงค์ พ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๐๙
๒๕. นายสวัสด์ิ รตั นศิริ พ.ศ. ๒๕๐๙ - ๒๕๑๔
๒๖. นายผ่อง ชำ� นาญกจิ พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๑๖
๒๗. ร.อ.สุชาติ บำ� รงุ กรณ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ - ๒๕๑๗
๒๘. นายประกิจ เทพชนะ พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๕๑๙
๒๙. ว่าท่ี ร.ต.พิมล สุวรรณสภุ า พ.ศ. ๒๕๑๙ - ๒๕๒๒
๓๐. นายสัมพันธ์ ร่ืนรมย์ พ.ศ. ๒๕๒๒ - ๒๕๒๔
๓๑. นายประเวศ ราชฤทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๒๙
๓๒. นายถาวร บญุ ยะวันตัง พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๓๐
๓๓. นายยศ แก้วมณี พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๑
๓๔. นายบญั ชา ถาวรานุรกั ษ์ พ.ศ. ๒๕๓๑ - ๒๕๓๔

72 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

๓๕. นายบุญชอบ พฒั นสงค์ พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๙
๓๖. นายองอาจ สนทะมโิ น พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๑
๓๗. นายอริยะ รงั สิตสวัสด์ิ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒
๓๘. นายศิริพฒั พฒั กลุ พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๖
๓๙. นายอรุณ พุมเพรา พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๔๗
๔๐. นายไชยยศ ธงไชย พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๔๘
๔๑. นายดำ� รง ดวงแข พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๔๙
๔๒. นายโอภาส ย่งิ เจริญ พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒
๔๓. นายเสรี ทวพี ันธุ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๕
๔๔. นายถาวรวัฒน์ คงแก้ว พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗
๔๕. นายสรุ ะ สุรวัฒนากลู พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘
๔๖. นายรงั สรรค์ รัตนสิงห์ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๕๘
๔๗. นายไตรรตั น์ ไชยรตั น์ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑
๔๘. นายสุพงษ์วณิ ยั ชูยก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓

จดหมายระยะทางไปตรวจราชการแหลมมลายู ร.ศ. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕)
สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ัตตวิ งศ์

พระยาสนุ ทราธุรกจิ (ผวู้ ่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช) ยน่ื โปรแกรม ดังนี้
วันท่ี ๒๑ ออกจากปากพนัง พกั ร้อนปา่ หวาย ขา้ มคลองชเมาแรมฝงั่ ซ้ายแขวงอ�ำเภอเมือง
วนั ที่ ๒๒ ออกจากทพี่ ักคลองชเมา พกั ร้อนทา่ เรือ ถงึ นครนมัสการพระธาต-ุ แต่ ชเมา ไปท่าเรอื
๓๒๕ เสน้ แต่ ท่าเรือ ไปกลางเมือง ๒๐๐ เสน้ รวมทาง ๕๒๕ เส้น
วันที่ ๒๓ ดูวัดพระธาตุ
วนั ท่ี ๒๔ ไปสวนราชฤดี เขา้ ไปวัดพระธาตุ มีการสวดมนต์ฉลองพระเย็น
วนั ท่ี ๒๕ เข้าไปวัดพระธาตุ เล้ียงพระ เย็นไปวดั ดูละครฉลองพระ
วันท่ี ๒๖ ไปดูถนนเมืองตรัง (ถนนทจี่ ะสร้างไปเมอื งตรัง (ถนนราชด�ำเนนิ ) เริม่ จากศาลามีไชย)
วนั ท่ี ๒๗ ไปปากพนัง เปดิ คลอง (เปดิ ใช้งานคลองสุขุม) ค้างคนื
วนั ที่ ๒๘ กลับจากปากพนงั
วันท่ี ๒๙ ปรึกษาราชการ
วันท่ี ๓๐ พัก
วนั ท่ี ๑ กรกฎาคม ๑๒๑ ไปกาญจนดษิ ฐ์ โปรแกรมต่อ พระยาสุขุมให้ที่สงขลา (ใหโ้ ปรแกรมขณะ
ประทับทีส่ งขลา)
วนั ที่ ๑ กค. ๑๒๑ ออกจากนคร พักร้อนปากมยิง แรมทา่ สงู อ�ำเภอกลาย
วนั ท่ี ๒ กค. ๑๒๑ ออกจากทา่ สูง พกั รอ้ นคลองกลาย แรมปากดวด
วนั ที่ ๓ กค. ๑๒๑ ออกจากปากดวด พกั รอ้ นเสาเพา แรมสิชล
วันท่ี ๔ กค. ๑๒๑ ออกจากสชิ ล พกั ร้อนคลองเลง ๒๐๕ แรมเขาหนิ เหล็กไฟ ๑๘๙
วนั ที่ ๕ กค. ๑๒๑ ออกจากเขาหนิ เหลก็ ไฟ พักรอ้ นเขาพระอนิ ทร์ ๑๓๐ แรมพรมแดนไชยา ๑๔๕

หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 73

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

-ระยะทางจากสิชลถึงคลองเลง (คลองเหลง) ๒๐๕ เส้น -ระยะทางจากคลองเลง (คลองเหลง)
ข้ามเขาหวั ชา้ ง ถงึ เขาหนิ เหลก็ ไฟ ๑๘๙ เสน้ -ระยะทางจากเขาหินเหลก็ ไฟถึงเขาพระอนิ ทร์ ๑๓๐ เสน้ ระยะทางจาก
เขาพระอนิ ทรถ์ งึ พรมแดนไชยา ๑๔๕ เส้น
ท่ีต้ังของเมืองนครไล่เลียงได้ความจากพระยาจางวาง คือ พระยานครศรีธรรมราช (หนู)
เปน็ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นครศรธี รรมราช แตไ่ มส่ ามารถสนองตอบการปกครองยคุ ใหมส่ มยั รชั กาลท่ี ๕ จงึ ถกู ถอดออก
จากผู้ว่าราชการจังหวัด แต่งต้ังเป็นพระยาจางวางเมืองนครศรีธรรมราช และ แต่งตั้งพระยาสุนทราทรธุรกิจ
(ปรีชา หมี ณ ถลาง) มาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช) เนินทรายซึ่งเปนถนนเดินมาน้ี เปนเนินยาว
เรียกดอนเมือง เมืองตามขวางทำ� เตม็ เนื้อเนิน (ตัวเมอื งนครทำ� ตามขวางวางเตม็ เนื้อทบ่ี นสันทราย) นอกก�ำแพงออก
ไปก็เปนนา ข้างเหนือมียาวต่อไปถึงท่าวังปากพญาแลต่อไปจนถึงท่าแพแม่น้�ำปากพูน (สันทรายยังต่อเนื่องไปถึง
อ�ำเภอขนอม) ทางใต้ต่อแต่เมืองไปจนคลองการเกตคือปลายน้�ำคลองปากแพรก ปากน�้ำเมืองนครมี ๑๒ ปาก คือ
๑. ปากพนงั ๒. ปากบางจาก ๓. ปากนคร ๔. ปากพญา ๕. ปากพนู ๖. ปากมยงิ ๗. ปากท่าสงู ๘. ทา่ หมาก (ไมท่ ราบ
วา่ เปน็ ทีแ่ ห่งใดอาจเปน็ ปากเราะกไ็ ด)้ ๙. คลองกลาย ๑๐. ปากสิชล ๑๑. ปากขนอม ๑๒. ปากไชยคราม
เริม่ ต้นจากโปรแกรมตอ่ วันที่ ๑ กค. ๑๒๑ ที่เก่ียวขอ้ งกบั อำ� เภอกลาย (ท่าศาลา)
องั คาร ๑ ก.ค. ๑๒๑ (พ.ศ. ๒๔๔๕) เวลา ๕.๑๕ ขนึ้ มา้ ไปทางฟากตกเปนปา่ ลเมาะแลว้ ตอ่ ไปกลาย
(หมายถึงไปอ�ำเภอกลาย) เปนป่าแดง ซีกออกก็เปนป่าลเมาะแลป่าแดง แต่ข้างในเห็นต้นมพร้าวแปลว่ามีบ้าน
เม่ือจวนถึงท่าแพมีถนนตัดขวางสายหน่ึงเปนส่ีแยก แยกออกไปลงบ้านปากพูน แยกตกไปลงคลองขุดใหม่
เชื่อมปากพญาไปปากพูน แตเ่ ปนถนนโคลนๆ ขมี่ ้าตรงไปทางเหนือ สองฟากทางมบี า้ นแลสวน ๕.๓๕ ถึงพลบั พลา
ท่าแพอยูร่ ิมแมน่ �ำ้ ปากพนู หยดุ พักมา้ ถนนทม่ี าเปนทางเก่าตดั กวา้ งแปดวา พ้นื เปนทรายมหี ญา้ ขนึ้ แต่ไดท้ �ำอิมปรูฟ
ใหม่ (ปรับปรุงใหม่) คือโกยทรายข้างๆ มาพูนขึ้นตรงกลางกว้างประมาณ ๑๐ ศอก สูงศอกหนง่ึ ต้ังใจจะใหเ้ ปนถนน
สายโทรเลขไปรมิ ทางซกี ออก พาดสองสาย เสาสายเรยี บรอ้ ยหมด ณ ทา่ แพนน้ั เทศา (หมายถงึ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑล
นครศรีธรรมราชพระยาสุขุมนัยวินิต) ได้พาไปดูคลองใหม่ ขุดเช่ือมระหว่างปากพญาไปปากพูน (คลองขุด
ทางตะวันตกของสันทรายหลังกองทหารในปัจจุบัน โดยเชื่อมคลองปากพญา (ท่าดี) กับคลองปากพูน (นอกท่ากับ
ปลายอวน) เข้าด้วยกัน แต่เดิมคงมีรอ่ งนำ�้ ตามธรรมชาตเิ ชื่อมถึงกันอยู่ แต่ขุดลอกให้ลกึ เพ่อื ให้เรอื จากคลองปากพนู
สามารถแลน่ ไปยังคลองปากพญาได้) ซึง่ ปดิ ไวใ้ หท้ รายจม แต่ไมไ่ ด้เหน็ ท�ำนบมิได้ ด้วยรกเดนิ บกุ ไมไ่ หว
เวลาเที่ยง ๒๕ ขึ้นม้าออกจากพลับพลาท่าแพข้ามตพาน เสนาบดีสั่งเหนือแม่น้�ำปากพูนไป
แม่น�้ำปากพูนเป็นแม่น�้ำใหญ่ตพานยาวถึง ๓๐ วา ข้ึนฝั่งเหนือมีทางตรงไปทางหน่ึง ทางแยกเลียบริมแม่น�้ำ
ไปทางตะวันออกทางหน่ึง ว่าไปลงปากน้�ำปากพูน สายโทรเลข ๒ สายน้ัน ตรงไปตามทางข้างเหนือสายหนึ่ง
เลี้ยวแยกไปตามถนนปากน้�ำปากพูน สายหนึ่ง เปนสายโทรศัพท์ (สายโทรเลข) ปากน�้ำ ขี่ม้าไปตามทางข้างเหนือ
ทางตอนนไี้ มม่ พี นู ทรายเปนถนน เปนแตท่ างพน้ื ทรายมหี ญา้ ขน้ึ โดยปกติ เปน ชอ่ งกวา้ ง ๘ วา เสาโทรเลขปกั ไปกลาง
สองขา้ งทางเปนปา่ แดง แต่เปนป่าจริงแตซ่ กี ออก ซกี ตกเปนแตต่ ม ขา้ งในมีบ้านแลไรส่ บั ปะรสเป็นอนั มาก (บรเิ วณน้ี
ปัจจุบันเป็นสวนมะพร้าวขนาดใหญ่) ทางนั้นต้ังใจจะคุ้ยให้เปนทรายโล่งไปสักแปดศอก แต่ไม่ส�ำเร็จ ท�ำได้นิดหนึ่ง
แล้วก็เปนไปโดยธรรมดา สิ้นไร่สับปะรสแล้วสองข้างทางเปนป่าแดงแท้ แลต่อไปนี้เปนไม้ใหญ่แซม ต่อไปอีก
เปนไม้เบญพรรณใหญ่ๆ ข้ึนทึบไว้จนเกือบถึงคลองปากมยิง กลับเปนป่าแดงอีก ทางคงกว้างแปดวาตามเดิม
แต่การแตง่ ทางน้นั ลดลงเพยี งแตเ่ ปนไม้กอเต้ยี ริมทาง แต่ก็ไม่ส�ำเร็จอกี ต่อไปคงเปนไมก้ อเลก็ รกข้ึน ต่อแนวไมใ้ หญ่
มาจนจดทางงูเล้ือยโดยธรรมดา เสาโทรเลขไปกลางช่องท่ีฟันไม้ใหญ่ไว้กว้าง ๘ วาน้ัน เสาสายเรียบร้อยหมด
เมอ่ื จวนถงึ คลองปากมยงิ พนื้ ทเ่ี ปนแอง่ ตำ่� แลว้ ขน้ึ เนนิ สงู กค็ อื คนั คลองปากมยงิ เปนคลองกวา้ งประมาณ ๑๖ - ๑๗ วา

74 หลักสตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

เขาท�ำตพานเรยี ก (เขียนผิด) ข้ามม้าไปจนถึงท่ีพักร้อน ซึง่ ปลูกไวร้ บั ท่ีริมฝง่ั เหนอื (ฝง่ั อ�ำเภอกลาย) เขา้ หยุดพกั ทีน่ นั่
ในเวลาบา่ ย ๑.๓๐ พระยาสุนทรา น�ำนายเงินนายอำ� เภอกลายซึง่ มาคอยรบั ใหร้ ูจ้ ัก
เวลาบ่าย ๓.๒๕ กินข้าวแล้ว ออกเดินทางที่พักมยิง เดินทางตอนนี้เปลี่ยนเปนกระบวนช้าง
ขพ่ี งั เลบ็ ด�ำไปตามทาง พนื้ เปนทรายตัดช่องไม้กวา้ ง ๘ วาเหมอื นกนั ในพ้นื ชอ่ งเปนหญ้าแลกอไมเ้ ล็ก แตเ่ ขาถางคุ้ย
กลางไวเ้ หลอื แต่ทรายกว้างวาหนึง่ เสาโทรเลขไปชอ่ งกลาง สองขา้ งเปนป่าแดง ขา้ งในเหน็ จะมบี ้านบา้ งเพราะเห็น
คนมมี าเปนแขกมาก (น่าจะเปน็ บา้ นสระบวั ) เสาโทรเลขตอนนี้ช�ำรุดหลายตน้ ท่ยี นื คอดอยกู่ ็มีบ้าง ที่ลม้ แล้วเอาลวด
ไม้ปักแทนไว้ก็มี เดินไปถึงเวลาบ่าย ๓.๔๕ ทิ้งทางโทรเลข (ไม่เดินไปตามทางที่มีเสาโทรเลข) เดินแยกตัดทางไป
ตะวันออกลงฝั่งทเล (ตรงนี้ปัจจุบนั นา่ จะเปน็ บา้ นในถงุ้ ) ทางประมาณ ๑๐ เสน้ ถึงฝงั่ ทะเล เดินเลยี บตามชายหาด
เหตุที่ตัดทางมาเดินริมทะเลนี้ เพราะจะเดินไปถึงแม่น�้ำท่าสูงตามทางโทรเลข ช้างจะข้ามไม่ได้เพราะในท้องคลอง
เปน็ หลม่ เลน (คลองท่าสงู ) ตัดลงทเลเพือ่ จะไปขา้ มทางปากน�้ำซง่ึ เป็นทท่ี ราย เหตุท่ตี ัดกอ่ นไกลกเ็ พราะท่ีใกล้แม่น�้ำ
ทา่ สงู พนื้ เปนพรหุ ลม่ ทง้ั นน้ั (ปจั จบุ นั คอื คลองเคย) ทร่ี มิ หาดทรายซงึ่ เดนิ เลยี บไปนนั้ เปนบา้ นแลสวนมพรา้ วตลอดไป
(ปัจจุบนั คือบา้ นบางใบไมแ้ ละดา่ นภาษี) จนเวลาบา่ ย ๔.๓๕ ถงึ ปากน�้ำทา่ สงู (ปากน้�ำบางใบไม้) เดนิ ช้างข้ามปากน้�ำ
ตามแนวหาด นำ้� ลกึ เพยี งทอ้ งชา้ ง ขน้ึ หาดฟากโนน้ เดนิ ตอ่ ไปตามชายหาด แตแ่ มน่ ำ�้ หาไดป้ กั ตรงเขา้ ไปในพน้ื แผน่ ดนิ ไม่
แฝงไปกับหลังหาด (คือบริเวณอ่าวท่าศาลา) ที่แท้ยังไม่ถึงแม่น�้ำตรงนั้นคือทเล เปนแต่คลื่นซัดทรายมาเปนหาด
เดินไปจน ๔.๕๐ ฝั่งในสนหาดตล่ิง เปลี่ยนเปนโคลนมีต้นโกงกางขึ้น ฝั่งนอกหาดเบรกวอเตอร (อ่าวท่าศาลา
เป็นบ่อพักน�้ำขนาดใหญ่รับน้�ำจากคลองท่านาย คลองท่าเปรง คลองท่าพุด (คลองฆ่าสัตว์) และ คลองท่าสูง
ก่อนไหลลงทะเลที่ปากน้�ำท่าศาลา) กว้างออกไปทุกทีจนถึงฝั่งในหมดหาด ฝั่งนอกก็มีพรรณไม้ขึ้นบ้าง มีคนปลูก
มะพร้าวไว้พง่ึ งอกขน้ึ รนุ่ ๆ เวลาบ่าย ๕ โมง ๕ มนิ ติ ถึงทพ่ี กั ทา่ สงู (น่าจะเป็นบ้านพักรับรองทีด่ ่านภาษ)ี เขาปลกู ไว้
รับบนเบรก วอเตอร หน้าค่ายชิดทะเล หลังชิดแม่น้�ำ เข้าหยุดพักท่ีน้ัน นายเงินล่วงหน้ามารับ (นายเงินเป็น
นายอำ� เภอกลายคนที่ ๒)
พอถึงที่พักเห็นยังวัน จึงเลยเดินไปถึงท่ีพักโทรศัพท์ท่าสูง (โทรเลข) อยู่เหนือที่พักไปประมาณ
๑๐ เสน้ ตรงนน้ั พน้ื สงู เปนทแี่ งป่ ากนำ้� แท้ (คลองทา่ สงู ) สายขา้ มตรงนน้ั (สายหมายถงึ สายโทรเลข) ทขี่ า้ มกวา้ งประมาณ
๒ เส้น โรงโทรศัพท์ (โทรเลข) เป็นโรงจากหลังคาปั้นหญ้า (ปั้นหยา) ตรวจดูข้างในเรียบร้อย ท�ำเปนสองห้อง
หอ้ งนอกเปนห้องโทรศพั ท์ (โทรเลข) มโี ทรศัพท์ (โทรเลข) ติดอยเู่ รยี บร้อย หอ้ งในเปนท่ีพนักงานอยู่ พนกั งานมอี ย่ทู ี่
โรงนัน้ คอื นายจรไลนแ์ มน เปน็ คนเมืองนี้ (คนอำ� เภอกลาย) ท�ำมาแต่ศก ๑๑๗ (พ.ศ.๒๔๔๑) ไดเ้ งินเดือน ๑๕ บาท
มคี นการใชส้ องคน ไตถ่ ามดไู ดค้ วามวา่ สายเวลานด้ี ี ๗ วนั ออกเดนิ ตรวจไปนครทหี นงึ่ (เครอ่ื งโทรเลขในเวลานใี้ ชง้ านได้
ใน ๗ วนั จะเดนิ ตรวจสายโทรเลขจากอำ� เภอกลายไปชุมสายนครศรธี รรมราชทหี นง่ึ ) บา่ ย ๕.๓๐ กลบั มาถงึ ที่พัก
เวลาบ่าย ๕.๕๗ พระยาสุขุมมาชวนลงเรือเข้าไปเท่ียวในแม่น้�ำ แม่น�้ำนี้แยกไปเป็นห้าทาง
แต่ได้ไปทางหน่ึงซึ่งจะไปสู่ท่ีว่าการอ�ำเภอ อันต้ังอยู่ต�ำบลท่าศาลา เวลาย่�ำค�่ำ ๑๐ ถึงท่าน้�ำท่าศาลา (ศาลาน้�ำ)
ขนึ้ เดนิ ไปบนถนน เขาตดั ไวก้ วา้ ง ๔ วา ตรงไปไรส่ าย (ลายสาย) ทางบนดอนวา่ เปนบา้ นใหญม่ คี นมาก (เปน็ ชมุ ชนใหญ่
มบี า้ นเรอื นผคู้ นมาก) สองขา้ งทางทที่ า่ นำ้� มโี รงเจก๊ ขายของสองฟากกวา่ สบิ ทว่ งทคี ลา้ ยเมอื งกระบแ่ี ตเ่ ลวกวา่ สกั หนอ่ ย
ว่าตั้งขายพวกไร่สาย (ลายสาย) ลงมาซื้อ พ้นตลาดข้ึนไปถึงบ้านอ�ำเภอ (บ้านพักนายอ�ำเภอในปัจจุบัน)
เกอื บเปน็ เรอื นตกุ๊ ตาจมอยใู่ นหญา้ ตอ่ บา้ นอำ� เภอไปมบี า้ นพกั ขา้ ราชการใหญก่ วา่ บา้ นอำ� เภอนดิ หนง่ึ ตอ่ ไปถงึ ดงยาง
(ต้นยางนา) มีที่ว่าการอ�ำเภอท�ำไว้ในดงยาง ร่มรื่นดี (คืออาณาบริเวณท่ีเป็นที่ว่าการอ�ำเภอท่าศาลาในปัจจุบัน)
ทว่ี ่าการอ�ำเภอนัน้ ขนาดพอดีสมกับประเทศ (ภูมิประเทศ) หลังคาจากฝาไม้ไผ่ (คงเป็นอาคารที่ว่าการอ�ำเภอกลาย
หลังแรก ก่อนสร้างถาวรเป็นอาคารไม้ช้ันเดียวใต้ถุนโล่ง หลังคามุงด้วยกระเบื้อง ซึ่งอาคารถาวรหลังนี้ก็ถูกร้ือถอน

หลกั สูตรรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา 75

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ไปแล้ว โดยสร้างเป็นอาคารสองชั้นหลังที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยสร้างลงบนท่ีดินท่ีเคยเป็นอาคารถาวรหลังแรก
นั่นเอง) ดูแล้วกลับมาลงเรือเวลาย�่ำค่�ำ ๓๕ กลับมาที่พัก ริมฝั่งน้�ำเป็นต้นโกงกาง เห็นต้นมพร้าวข้างในเป็นหมู่ๆ
บางหมโู่ กงกางขาดเปน็ ชอ่ งเหน็ บา้ นเรอื น ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจวา่ มบี า้ นในโกงกาง เวลายำ�่ คำ�่ ๕๐ ถงึ ทพ่ี กั เวลาคำ่� มโี นรา ๒ โรง
หนงั (ตะลุง) ๒ โรง นอนค้างท่ีน่นั แตพ่ ระยาสุนทราล่วงหนา้ ไปจัดการข้างหนา้ เหตุดว้ ยท่ีพกั ต�ำบลน้ี อ�ำเภอลกั ขู
(อำ� เภอกลาย) จัดไม่เรยี บร้อยไม่พอเทศา (พระยาสขุ ุมนัยวินติ )
ระยะทางที่เดินมาวันนี้ แต่กลางเมือง (ตัวเมืองนครศรีธรรมราช) มาถึงคลองปากมยิงท่ีพักร้อน
๔๕๖ เส้น จากปากมยิงถงึ ทา่ สูง ๑๙๘ เสน้ รวมสองระยะทางเปน ๖๕๔ เส้น (๒๖ กโิ ลเมตร)
ดา้ นการศึกษา สมยั โบราณการศกึ ษามีเฉพาะในวดั และในวงั เท่านั้น ยังไม่มโี รงเรียนหรือชน้ั เรียน
แต่อยา่ งใด การสอนวชิ าชพี ช่างสบิ หมสู่ อนกันท่บี า้ นของช่างนัน้ ๆ ไม่มีการเรยี นการสอนวิชาสามัญ ถงึ รัชกาลที่ ๕
พ.ศ. ๒๔๑๔ สรา้ งโรงเรยี นหลวงเปน็ ครง้ั แรกในพระบรมมหาราชวงั จดั ใหก้ บั ลกู หลานเชอ้ื พระวงศแ์ ละบตุ รขา้ ราชการ
ปี ๒๔๒๘ ตั้งโรงเรียนเพ่ือราษฎรคร้ังแรกที่วัดมหรรณพาราม ประชาชนทั่วไปได้ศึกษาเล่าเรียน การจัดการศึกษา
เรม่ิ กระจายไปทวั่ ประเทศเมอื่ พ.ศ.๒๔๔๑ กลา่ วเฉพาะการจดั การศกึ ษาของมณฑลนครศรธี รรมราช พระศริ ธิ รรมมนุ ี
(พ่อท่านม่วง) ในฐานะผู้อ�ำนวยการศึกษามณฑลนครศรีธรรมราช กับพระยาสุขุมนัยวินิตสมุหเทศาภิบาลมณฑล
นครศรธี รรมราช ปรกึ ษาหารอื กนั กอ่ ตงั้ โรงเรยี นทวั่ ทง้ั มณฑลนครศรธี รรมราช จดั ตง้ั โรงเรยี นในจงั หวดั นครศรธี รรมราช
พัทลงุ สงขลา จะนะ เทพา หนองจกิ ปัตตานี ยะหร่ิง และ สายบรุ ี เฉพาะท่ีนครศรธี รรมราช จดั ตั้งรวม ๑๑ โรงเรียน
มีช่ือคลอ้ งจองว่า ๑. สุขมุ าภิบาลวทิ ยา ๒. วฒั นานุกลู ๓. ไพบลู ยบ์ ำ� รุง ๔. ราษฎรผดงุ วิทยา ๕. เกษตราภสิ จิ น์
๖. นิตยาภิรมย์ ๗. วิทยาคมนาคะวงษ์ ๘. บรรจงอนุกิตย์ ๙. น้อยประดิษฐ์ผดุงผล ๑๐. อุบลบริหาร
๑๑. ทศั นาคารสโมสร แม้จะมปี ญั หาอุปสรรคสรา้ งโรงเรยี นไมค่ รบตามทด่ี �ำรไิ ว้ แตจ่ ดั สรา้ งโรงเรยี นอ่ืนข้นึ ทดแทน
มรี ายละเอียดดังนี้
๑. โรงเรียนสุขุมาภิบาลวิทยา เดิมเป็นโรงเรียนราษฎร์ เรียกว่า วิทยาลัยเชลยศักดิ์ ตั้งอยู่ที่
วดั ทา่ โพธิ์ ผกู้ อ่ ตง้ั โรงเรยี นคอื พระมหามว่ ง รตั นธโช (พระรตั นธชั มนุ ศี รธี รรมราช) ปี ๒๔๔๒ พระมหามว่ งโอนวทิ ยาลยั
เชลยศักดิ์ให้เป็นโรงเรียนหลวงอยู่ในความอุปการะของสมุหเทศาภิบาล พระยาสุขุมนัยวินิต (ปั้น สุขุม)
โดยเปลี่ยนช่ือโรงเรียนเป็น โรงเรียนสุขุมาภิบาลวิทยา ถึงปี ๒๔๖๐ รัชกาลท่ี ๖ พระราชทานชื่อเป็น โรงเรียน
เบญจมราชทู ศิ
๒. โรงเรียนวัฒนานุกูล ตั้งท่ีวัดหมาย อ�ำเภอกลาย (ท่าศาลา) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๔ นายเจริญ
กรมการอำ� เภอ (ตรงนไี้ มถ่ ูกเพราะ พ.ศ.๒๔๔๔ นายเจรญิ ย้ายนายเงนิ มาเป็นนายอ�ำเภอกลาย) พระเสนเจ้าอธกิ าร
หมวดให้การสนับสนุน พ่อท่านเสนเป็นเจ้าอาวาสวัดสโมสร (วัดดาน) เป็นเจ้าคณะต�ำบลท่าศาลา และเป็น
รองเจ้าอธิการอ�ำเภอกลาย นายแก้วพนักงานเก็บเงินค่านาเป็นครูผู้สอน เพียงปีเดียวครูแก้วลาออก ปี ๒๔๔๕
โรงเรยี นวฒั นานุกูลย้ายไปวดั ท่าสงู อาจารย์เฉยเจา้ อาวาสวัดท่าสูงเปน็ ผอู้ ุปถัมภ์ ให้พระคงเปน็ ครผู ูส้ อน สมัยต่อมา
โรงเรยี นวดั ทา่ สงู มคี รปู านเปน็ ครใู หญ่ ทา่ นแตง่ กายนงุ่ ผา้ มว่ งโจงกระเบน ใสเ่ สอื้ ราชปะแตน ครเู ปลยี่ น ลพั นาเคนทร์
(ผัวป้าคงบ้านท่าสูง) ครูเหมือน นพรัตน์ (ลูกผู้ใหญ่ร่ม นพรัตน์ และ ทวดขี้หมูบ้านท่าสูง) ครูสว่าง ตันติกุล
ครดู ำ� รง ลเิ อม็ (ผวั ของนา้ ลา้ นลกู สาวยายเขม็ บา้ นในไร)่ ครนู ลิ อภยั เปน็ คนปากพนงั มาไดเ้ มยี ทปี่ ากพะยงิ มลี กู หลายคน
ครูนิลเป็นครูโรงเรียนไพศาลสถิตย์ หลังจากน้ันมาอยู่ที่ท่าศาลาสอนที่โรงเรียนวัดท่าสูง มาได้กับนางอุ่น (แม่ชีอุ่น)
สุทิน มลี ูกชายเท่าท่ที ราบ คอื นายมณีพัฒน์ อภยั และ ยังได้กบั ป้าปร่ิม ลกู สาวของยายหม้อ คณะนา มลี ูกอกี ๒ คน
คือ นายจนิ ดา อภยั และ นายอุดม อภยั โรงเรยี นวัดทา่ สงู เปิดสอนเปน็ เวลา ๒๕ ปี ก่อนหนา้ น้ัน ๒-๓ ปี ขุนเทพบรุ ี
(นายตุด ปทุมา) น่าจะเป็นก�ำนันต�ำบลท่าศาลาอาสาจะสร้างโรงเรียนใหม่ บนที่ดินที่เคยเป็นพลับพลาท่ีพัก

76 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ของข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช ท่ีเคยมาควบคุมการสร้างทางสายศาลาน้�ำ-ลายสาย ถนนสร้างเสร็จแล้วท่ีดิน
พลับพลาถูกท้งิ รา้ งอยู่ เมื่อขุนเทพบรุ สี ร้างอาคารเรยี นแลว้ เสรจ็ พ.ศ.๒๔๗๑ โรงเรยี นวัดทา่ สูงยา้ ยนักเรยี นยา้ ยครมู า
อยู่ท่โี รงเรียนปทมุ านุกลู ครูทีย่ า้ ยมา เช่น ครูด�ำรง ลเิ อม็ ครูสว่าง ตันติกลุ เปน็ ตน้ ป้าหลิว แซ่ตัน ปัจจุบันอายุ ๙๕ ปี
เล่าว่าเวลานั้นเรียนชั้น ป.๒ ห้องครูสว่าง ตันติกุล ครูสว่างมีศักดิ์เป็นอาของป้าหลิว เม่ือย้ายจากวัดท่าสูง
มาทีป่ ทมุ านกุ ูล ปา้ หลิวไมม่ าเรยี นท่โี รงเรยี น ปทุมานกุ ลู อีกเลย (พ.ศ.๒๕๖๔ โรงเรียนปมุ านุกลู อายุครบ ๑๒๐ ป)ี
๓. โรงเรยี นไพบลู ยบ์ ำ� รงุ ตง้ั ทวี่ ดั เสาธงทอง อำ� เภอเบย้ี ซดั (ปากพนงั ) ปจั จบุ นั โรงเรยี นปากพนงั
๔. โรงเรียนราษฎรผดุงวิทยา ตั้งท่ีวัดพระนคร พระครูกาชาดให้การสนับสนุน ปัจจุบัน
โรงเรยี นกลั ยาณศี รีธรรมราช
๕. โรงเรียนเกษตราภิสจิ น์ ตั้งท่ีวดั ร่อนนอก อ.รอ่ นพบิ ูลย์ ขุนเกษตรพาหนะ ให้การสนับสนุน
๖. โรงเรียนนิตยาภิรมย์ โรงเรียนต้ังในวัดแต่ไม่ระบุช่ือวัด อยู่ในอ�ำเภอทุ่งสง นายเที่ยง
กรมการอำ� เภอใหก้ ารสนบั สนุน เลอื กพระในวดั น้ันส่งไปฝกึ หดั ครกู บั พระมหาไวทวี่ ดั ท่าโพธ์ิ
๗. โรงเรียนวิทยาคมนาคะวงษ์ ตั้งท่ีวัดม่วง อ�ำเภอฉวาง นายนาค กรมการอ�ำเภอ และ
ผนู้ ำ� ชาวบา้ นใหก้ ารสนบั สนนุ มพี ระทองเปน็ ครผู สู้ อน ยงั สง่ พระลอ้ ม พระชว่ ย ไปฝกึ หดั ครกู บั พระมหาไวทวี่ ดั ทา่ โพธิ์
อกี ดว้ ย
๘. โรงเรยี นบรรจงอนุกติ ย์ ด�ำริว่าจะต้งั โรงเรียนทีว่ ดั สมั พันธ์ อ�ำเภอพระแสง ขนุ บรรจงสารา
กรมการอำ� เภอพระแสงเป็นผู้ให้การสนับสนนุ ขุนบรรจงสาราอาสาว่าจะสอนพระหนใู ห้สามารถท�ำหน้าที่เป็นครูได้
โรงเรยี นบรรจงอนุกติ ย์ไมส่ ามารถเปิดสอนได้ จดั ตัง้ โรงเรยี นที่วัดหนา้ ราหู (วัดหน้าพระบรมธาตุ) อ�ำเภอกลางเมอื ง
เปน็ การทดแทน
๙. โรงเรยี นนอ้ ยประดษิ ฐผ์ ดงุ ผล ตงั้ โรงเรยี นทอ่ี ำ� เภอลำ� พนู ตอนแรกคดิ วา่ จะตง้ั ทวี่ ดั เวยี งสระ
แต่กม็ ีปญั หาบางอย่างไม่สามารถต้ังโรงเรียนได้ ตอนหลงั พบกบั นายน้อย กรมการอ�ำเภอล�ำพูน จึงด�ำริจะตั้งโรงเรียน
ที่วดั บา้ นนา เตรียมพระสงฆเ์ ข้ามาศกึ ษาวิชาครูท่วี ัดท่าโพธ์ิ การตั้งโรงเรยี นท่ีวัดบ้านนากย็ งั ทำ� ไม่ได้ เพราะชาวบา้ น
ป่วยเปน็ โรคฝดี าษ ตอ้ งย้ายไปเปิดเรยี นท่ีวดั ปากแพรก
๑๐. โรงเรยี นอบุ ลบรหิ าร ตง้ั ทว่ี ดั ใหม่ (วดั ปทมุ ทายการาม) อำ� เภอสชิ ล ใชศ้ าลาวดั ใหมเ่ ปน็ สถาน
ท่ีเรียน พระอปุ ชั ฌาย์แกว้ เป็นครสู อนในชั้นตน้ ไปก่อน และ ส่งพระกรดไปเรียนการเป็นครทู ีว่ ดั ท่าโพธ์ิ เพอ่ื กลับไป
สอนยังโรงเรยี นเดมิ
๑๑. โรงเรียนทัศนาคารสโมสร ตั้งท่ีวัดเขาน้อย อ�ำเภอสิชล นายทัศน์หลานเจ้าพระยานคร
เป็นผู้ให้การสนับสนุน ให้พระอธิการวัดเขาน้อยเป็นครูสอนช้ันต้นไปก่อน พร้อมกับเลือกพระอันดับสองรูปส่งไป
ฝกึ หดั ครูทว่ี ดั ทา่ โพธ์ิ

หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 77

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

การปกครองส่วนท้องถิ่น การปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือให้ราษฎรปกครองกันเองดูแลกันเอง

เพราะคนที่รู้ความต้องการของชาวบ้านดีท่ีสุดคือคนที่เป็นชาวบ้านด้วยกัน การจัดการปกครองดังกล่าว
จัดเปน็ สขุ าภบิ าล และ เทศบาล สขุ าภิบาลแหง่ แรกของประเทศไทย คอื สุขาภิบาลทา่ ฉลอม เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๘
หลังจากนั้นก็กระจายไปท่วั ทกุ จังหวดั
ขา้ หลวงเทศาภบิ าล ข้าราชการอำ� เภอกลาย (ท่าศาลา) คร้งั รชั กาลที่ ๕
พระยาสขุ มุ นัยวนิ ิต (ปน้ั สขุ ุม)
คร้นั ถงึ สมยั รชั กาลท่ี ๕ ยกเลิกต�ำแหนง่ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช ยุคสุดท้ายเป็นสมัยของพระยา
นครศรีธรรมราช (หนูพร้อม) จากประวัติตระกูล ณ นคร บอกวา่ ชอื่ หนูเพยี งคำ� เดยี ว รชั กาลท่ี ๕ แตง่ ตั้ง พระยาสขุ มุ
นยั วนิ ติ มาดำ� รงตำ� แหนง่ ขา้ หลวงเทศาภบิ าลมณฑลนครศรธี รรมราช ตำ� แหนง่ หลงั สดุ คอื เจา้ พระยายมราช พระยา
สุขมุ นยั วินิตดำ� รงต�ำแหนง่ ต้ังแต่ พ.ศ.๒๔๓๙-๒๔๔๙ ส่วนเมืองนครศรธี รรมราชเปลยี่ นเป็นจังหวดั นครศรธี รรมราช
แตง่ ตง้ั พระยานครศรธี รรมราช (หน)ู กลบั มาเปน็ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เรยี กวา่ พระยาสธุ รรมมนตรศี รธี รรมราช (หน)ู
ช่วง พ.ศ.๒๔๔๐-๒๔๔๗ พระยาสุขุมนัยวินิตริเริ่มสร้างโรงเรียนในเขตท้องที่มณฑลนครศรีธรรมราชหลายโรงเรียน
โดยความรว่ มมอื ของพระรตั นธชั มนุ ี (ทา่ นมว่ งวดั ทา่ โพธ)ิ์ ทา่ นมว่ งทำ� หนา้ ทค่ี ลา้ ยศกึ ษาธกิ ารมณฑล โรงเรยี นวฒั นา
นกุ ลู เป็นโรงเรยี นแรกของอ�ำเภอกลาย (ท่าศาลา) นายเจริญเปน็ นายอำ� เภอ โรงเรยี นตง้ั ท่วี ัดหมายสอนเมือ่ ปี พ.ศ.
๒๔๔๔ (สมยั ของนายเงนิ เป็นนายอำ� เภอ) นายแก้วอดีตพนักงานเก็บเงินค่านาเป็นครูผู้สอน สอนเพยี งปีเดียวครูแก้ว
ลาออกไปสอบเป็นข้าราชการ โรงเรยี นยา้ ยไปอยทู่ ่วี ดั ทา่ สงู เรยี กวา่ โรงเรยี นวดั ท่าสงู เมอื่ ปี พ.ศ.๒๔๔๕ อาจารย์เฉย
เป็นเจ้าอาวาส ต้งั พระคงเป็นครผู ู้สอน เมื่อส้นิ บุญอาจารยเ์ ฉย พระคต พระประสทิ ธิ์ และ พระด�ำรง มาจากกะลนั
ตนั พน่ี ้องของครูด�ำรงบอกว่ามาจากกะลนั ตัน แต่ตามประวตั วิ ัดทา่ สูงบอกว่ามาจากอ�ำเภอตากใบ จงั หวัดนราธวิ าส
มาสกั การบชู าพระบรมธาตนุ ครศรธี รรมราช ชว่ งเวลานน้ั ชาวกะลนั ตนั จากประเทศมาเลเซยี นยิ มนงั่ รถไฟมาสกั การะ
พระบรมธาตกุ นั มาก พระทงั้ สามรปู พกั ทว่ี ดั จนั ทาราม เจา้ อาวาสวดั ทา่ โพธแิ์ ตง่ ตง้ั พระคตรกั ษาการเจา้ อาวาสวดั ทา่ สงู
เม่ือทา่ นเฉยมรณภาพ พระคตจงึ ขึ้นเปน็ เจ้าอาวาส พระประสทิ ธ์เิ ป็นรองเจ้าอาวาส ส่วนพระดำ� รงท�ำหนา้ ท่ีเป็นครู
สอนนกั เรยี น โรงเรียนวัดท่าสงู เปิดสอน พ.ศ. ๒๔๔๕ - ๒๔๗๐ เป็นเวลา ๒๕ ปี คร้นั ปี พ.ศ. ๒๔๗๑ โรงเรยี นยา้ ยไป
สอนท่ี โรงเรยี นปทมุ านกุ ูล จนถึงบัดนี้
ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๐-๒๔๔๒ พระยาสุขุมนัยวินติ สั่งทำ� ถนนจากศาลาน้�ำตรงไปลายสายเลย
ไปถงึ โรงเหลก็ เปน็ ระยะทาง ๗๐๐ เส้น (๒๘ กิโลเมตร) และ สายหนา้ อำ� เภอกลายไปจรดคลองท่าสงู ๑๐๐ เสน้
(๔ กิโลเมตร) ถนนกว้าง ๓ วา ๑ ศอก บริษัท เบอร์ล่ียุคเกอร์ เป็นผู้รับจ้างท�ำถนน โดยใช้รถตักดิน (แบคโฮ)
น่าจะนำ� มาจากปทมุ ธานี เวลาน้ัน บริษทั ขดุ คลองและคูนาสยาม ก�ำลงั ขดุ คลองท่ที ่งุ รงั สติ ปทุมธานี (พ.ศ. ๒๔๓๓-
๒๔๔๘) รถแบคโฮขุดคูน�ำดินขึ้นมาท�ำถนนท้ังสองข้างทาง เม่ือถนนสร้างเสร็จผู้คนพากันมาปลูกสร้างบ้านเรือนอยู่
ทงั้ สองขา้ งของถนน ตงั้ แตศ่ าลานำ�้ ไปจนถงึ ลายสายถงึ โรงเหลก็ ถนนใชง้ านไดไ้ มน่ าน ชว่ งหนา้ ฝนทบ่ี า้ นเราฝนตกหนกั
น้�ำจากคลองท่าพุดรวมกบั น้�ำจากคลองในหัน ไหลลงคูของถนนหน้าบ้านกำ� นันสว้ น สปุ ระดษิ ฐ์ น้ำ� ไหลแรงกัดเซาะคู
ท�ำใหค้ ูลกึ และกว้างขึน้ ในท่สี ดุ คูของถนนกลายเปน็ คลองเรยี กวา่ คลองคถู นนมาจนถึงบดั นี้ จากถนนทผี่ คู้ นใชส้ ญั จร
จากศาลานำ�้ ถึงบา้ นโรงเหล็ก ถนนกลายเปน็ คลองเปล่ยี นทางสัญจรเปน็ ทางนำ้� ไหล
การท�ำถนนสายศาลาน้�ำ-ลายสาย-โรงเหล็ก เกิดกรณี นาหัวแตก บางคนเคยได้ยินมาบ้าง
บางคนเพ่ิงได้ยินเป็นครั้งแรก นาหัวแตกต้ังอยู่ทางทิศใต้ของเปลวตูกป่าช้าของวัดประดู่หอม นาหัวแตกเป็นที่นา
ของตระกูลสามารถ เล่ากันว่า มีข้าราชการเมืองนครคนหนึ่งรับค�ำส่ังจากพระยาสุขุมนัยวินิต ให้มายึดท่ีนาของ
ชาวบ้านเพื่อใช้ท�ำถนนสายศาลาน้�ำ-ลายสาย ขณะยืนชี้นิ้วจะยึดเอาที่นาของพี่น้องตระกูลสามารถ เจ้าของท่ีนา
ไมย่ นิ ยอมเกดิ การโตเ้ ถยี งกนั ขน้ึ เมอื่ พดู กนั ไมร่ เู้ รอื่ งเจา้ ของนาตหี วั ขา้ ราชการผนู้ นั้ จนหวั แตก ตหี วั แลว้ ขชี่ า้ งกลบั บา้ น

78 หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

แต่เป็นเร่ืองท่ีแปลกมากเพราะไม่มีการฟ้องร้องแก่กัน ทั้งนี้เพราะว่าคนในตระกูลสามารถมีญาติพี่น้องท�ำงานอยู่
ในแผนกอยั การและศาลเมอื งนคร ทน่ี าตรงนจ้ี งึ เรยี กกนั วา่ นาหวั แตก นค่ี อื ผลจากการยดึ ทด่ี นิ ของชาวบา้ นโดยพลการ
อย่างไรก็ตาม ตอนยึดท่ีดินของตาเดช หวายน�ำ สร้างท่ีว่าการอ�ำเภอท่าศาลา และ ยึดท่ีดินของตาเคว็ด ฤทธี
สรา้ งบา้ นพกั นายอำ� เภอ สรา้ งบ้านพักข้าราชการ ไมม่ ีเหตกุ ารณแ์ บบน้ีเกดิ ขนึ้ เพราะผู้ถูกยึดทดี่ ินไมม่ ใี ครกล้าขดั ขืน
ญาติพี่น้องที่เคยย่ิงใหญ่ล้มหายตายจากกันไป หมดอ�ำนาจวาสนาไม่มีคนคอยคุ้มกะลาหัว (ตาเดช เป็นลูกหลาน
ของออกหลวงไทยบุรีอดีตเจา้ เมอื งไทยบุรี ตาเควด็ ฤทธี เปน็ ลกู หลานของ หมน่ื คง)
พระยาสขุ มุ นัยวินิตส่งั สรา้ งโรงเรียน สรา้ งทาง สรา้ งคคู ลองชลประทาน เช่น สัง่ ใหข้ ดุ คลองสุขมุ
ที่อ�ำเภอปากพนังเพื่อชักน้�ำจากคลองปากพนังไปใช้ในการเพาะปลูก ใช้รถตักดิน (แบคโฮ) น�ำมาจากทุ่งรังสิต
จังหวดั ปทุมธานีเช่นกนั แนน่ อนวา่ การสร้างคลองสุขมุ ต้องยดึ ท่ดี นิ ของชาวบ้าน ใช้วิธีการเดียวกบั การสร้างถนนสาย
ท่าศาลา-บ้านโรงเหล็ก คลองสุขุมกั้นอ�ำเภอเมืองกับอ�ำเภอปากพนัง นอกจากนี้ยังมี คลองนครพญา (เชื่อมคลอง
ปากพนงั กบั คลองปากนคร) คลองหวั ไทร-ระโนด คลองคอกชา้ ง คลองกระใหญ่ ในเขตจงั หวดั สงขลา และจงั หวดั พทั ลงุ
พระยาสุขุมนยั วนิ ติ ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลนครศรธี รรมราช รือ้ ก�ำแพงเมืองนครศรธี รรมราช
ด้านตะวันออก ด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันตก และ ทิศเหนือบางส่วน น�ำอิฐก�ำแพงเมืองมาท�ำเป็นถนนรอบเมือง
นครศรธี รรมราช เปน็ ความผดิ พลาดทร่ี า้ ยแรงมาก ชว่ งหลงั พระยาสขุ มุ นยั วนิ ติ มิ กั ไปอยทู่ เี่ มอื งสงขลา ทา่ นและลกู หลาน
ของทา่ นมคี วามสมั พนั ธก์ บั ตระกลู สคุ นธหงส์ หาดใหญช่ ว่ งเวลานน้ั เปน็ ชมุ ทางรถไฟสายใต้ มรี ถไฟเขา้ ตวั เมอื งสงขลา
มีรถไฟไปสะเดา มีรถไฟไปสุไหงโกลก เม่ือ ๓๐ กว่าปีที่ผ่านมาลูกหลานของตระกูลสุขุมและตระกูลสุคนธหงส์
โดยคณุ หญงิ ชื่นจติ สุขุม สรา้ งโรงแรมระดับ ๕ ดาวข้นึ มาทีอ่ �ำเภอหาดใหญ่ เมือ่ ปี ๒๕๑๕ ต้ังช่อื ว่า โรงแรมสคุ นธา
ชื่อโรงแรมก็น่าจะมาจากชื่อสกุลสุคนธหงส์น่ันเอง โรงแรมน้ีถูกรื้อถอนแล้วสร้างใหม่เปล่ียนชื่อเป็นโรงแรมโนโวเทล
เซ็นทารา หาดใหญ่

รชั กาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั (พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘)

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จ
พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๖ แห่งพระบรมราช
จักรวี งศ์ เสด็จพระราชสมภพเมือ่ วนั เสาร์ เดอื นย่ี ขึ้น ๒ คำ�่ ปมี ะโรง
วนั ที่ ๑ มกราคม ๒๔๒๓ เปน็ พระราชโอรสพระองคท์ ี่ ๒๙ ในพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีพัชริน
ทราบรมราชินินาถ ทรงศึกษาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
จนพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ศกึ ษาตอ่ ทป่ี ระเทศองั กฤษดา้ นการทหาร
ท่ีแซนเฮิสต์ ศึกษาประวัติศาสตร์และกฎหมายที่ออกซ์ฟอร์ด
เปน็ กษตั รยิ พ์ ระองคแ์ รกของประเทศไทยทเี่ รยี นจบจากตา่ งประเทศ
ขณะประทับท่ีอังกฤษ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
เสด็จสวรรคต พระมงกุฎเกล้าได้รับการแต่งตั้งเป็น สยามมกุฎราช
กุมาร แท่นพระเชษฐา คร้ันรชั กาลท่ี ๕ พระราชบิดาเสด็จสวรรคต
เมอื่ วนั เสารท์ ่ี ๒๓ ตลุ าคม ปจี อ พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๓ พระบาทสมเดจ็
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนเสวยราชสมบัติต่อ และเสด็จ
สวรรคตเมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ รวมพระชนมพรรษา
๔๕ พรรษา ด�ำรงอยใู่ นราชสมบตั ิรวม ๑๕ ปี

หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 79

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

สรปุ เหตุการณ์สำ� คัญสมัยรัชกาลที่ ๖ (ท่เี ก่ียวเนื่องถงึ อ�ำเภอทา่ ศาลา)

๑. ร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรประกาศสงครามกับเยอรมันเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งท่ี ๑
เมื่อ ๒๒ กรกฎาคม ๒๔๖๐ และ ส่งทหารไปร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นการตัดสินใจท่ีถูกต้อง เพราะฝ่าย
สัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม ไทยจึงเป็นฝ่ายที่ชนะสงครามด้วย ได้โอกาสแก้ไขสนธิสัญญากับต่างประเทศ
ทไ่ี ทยเสยี เปรยี บ เชน่ สนธสิ ญั ญาสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต สนธสิ ญั ญาจำ� กดั อำ� นาจการเกบ็ ภาษขี องพระบาทสมเดจ็
พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั และ สนธสิ ัญญาจำ� กัดอำ� นาจกลางประเทศไทย
๒. คนไทยและครอบครัวชาวไทยเร่ิมใช้นามสกุลเป็นคร้ังแรกเม่ือ ๑ เมษายน ๒๔๕๖
ก่อนหน้านี้ก็มีการใช้นามสกุลกันบ้างแต่ไม่นิยมแพร่หลาย สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามสกุล
ใหก้ ับผทู้ ่ตี อ้ งการเป็นจำ� นวนมาก สว่ นผู้คนท่ัวไปท้งั ประเทศตา่ งต้ังช่อื สกลุ กนั เองตามใจชอบ
๓. สมเด็จพระมงกุฎเกล้าทรงมีความรู้ความสามารถในการประพันธ์เป็นอย่างย่ิง ได้ประพันธ์
วรรณกรรมต่างๆ เอาไวเ้ ป็นจำ� นวนมาก พระองคไ์ ดร้ ับพระสมญั ญานามวา่ พระมหาธรี ราชเจ้า หนังสือที่พระองค์
ทรงประพนั ธป์ ัจจบุ ันถกู นำ� มาใชใ้ นการศึกษา
๔. จัดตัง้ กองเสอื ปา่ ขน้ึ เป็นคร้งั แรกในประเทศไทยเมื่อ ๑ พฤษภาคม ๒๔๕๔ ปัจจุบันพฒั นา
มาเป็น ลกู เสอื -เนตรนารี เพ่ือฝกึ เยาวชนให้มีความรกั ชาติ มีวินยั กลา้ หาญ เสยี สละ เป็นคนดี มคี ณุ ธรรม เมื่อโตขน้ึ
ก็จะเป็นประชาชนทมี่ คี า่ มีคุณภาพ
๕. จัดตั้งโรงเรียนแทนการสร้างวัดด้วยเห็นว่ามีวัดอยู่เป็นจ�ำนวนมากแล้ว ในการสร้างวัด
ก็เพ่ือใช้ในการศึกษา ดังน้ัน จึงทรงจัดสร้างโรงเรียนข้ึนแทน เช่น สร้าง โรงเรียนมหาดเล็กหลวง ปัจจุบันคือ
โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และ ส่งเสริม โรงเรียนราชวิทยาลัย ปัจจุบันคือ โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ทร่ี ชั กาลที่ ๕ ทรงสรา้ งเอาไวเ้ มอื่ พ.ศ. ๒๔๔๐ นอกจากนย้ี งั ทรงยกฐานะ โรงเรยี นขา้ ราชการ
พลเรอื น ทรี่ ชั กาลที่ ๕ ทรงสรา้ งเอาไวข้ น้ึ เปน็ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อนั เปน็ มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของประเทศไทย
เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๙
เหตกุ ารณส์ ำ� คญั ดงั กลา่ ว ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทอี่ ำ� เภอทา่ ศาลาของเราดว้ ยเชน่ เดยี วกนั เชน่
มกี ารสรา้ งโรงเรยี นทท่ี า่ ศาลากระจายไปทวั่ ทกุ ตำ� บล คนทา่ ศาลามนี ามสกลุ ใช้ เกดิ เปน็ เครอื ญาตทิ ใี่ ชน้ ามสกลุ เดยี วกนั
สถานศกึ ษาทง้ั ประถมศกึ ษา และ มธั ยมศกึ ษา มกี ารจดั กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี ในการเรยี นการสอนวชิ าภาษาไทย
ท้ังชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย บทประพันธ์ของรัชกาลท่ี ๖ หลายเรื่อง
ถกู นำ� มาให้นักเรียนได้ศกึ ษาไดเ้ รยี นรู้ เปน็ ต้น

80 หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

รชั กาลท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั (พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๘)

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั เปน็ พระมหากษัตรยิ ใ์ นราชวงศ์จกั รีล�ำดบั ท่ี ๗ แห่งราช
อาณาจักรสยาม พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพธุ แรม ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๑ ปีมะเสง็ เวลา ๑๒.๒๕ นาฬกิ า
หรือ ตรงกับวันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๖ พระองค์เป็น
พระราชโอรสองค์ที่ ๗๖ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระศรพี ชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราช
ชนนี พระพันปีหลวง สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้ึนเสวยราช
สมบตั เิ ปน็ พระมหากษัตริย์ เมอ่ื วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘
ทรงสละราชสมบตั เิ มอ่ื วนั ที่ ๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๗ (ศกั ราชแบบเกา่ )
รวมดำ� รงสริ ริ าชสมบตั ิ ๙ ปี เสดจ็ สวรรคต เม่อื วนั ที่ ๓๐ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๘๔ รวมพระชนมพรรษา ๔๗ พรรษา
สรุปเหตุการณ์ส�ำคัญสมัยรัชกาลท่ี ๗
(ทเี่ กย่ี วขอ้ งส่งผลถงึ ท่าศาลาบา้ นเรา)
๑. เป็นช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งท่ี ๑
ทกุ ประเทศทว่ั โลกไดร้ บั ความเสยี หายจากสงครามทเ่ี กดิ ขนึ้ เมอื่ เสรจ็
ส้ินสงครามท�ำให้ภาวะเศรษฐกิจตกต่�ำ ข้าวปลาอาหารสิ่งบริโภค
อุปโภคขาดแคลน ประชาชนชาวโลกอยู่กันอย่างยากล�ำบาก
ทั้งประเทศผู้แพ้สงครามและประเทศผู้ชนะสงคราม ต่างตกอยู่ใน
สภาพเดยี วกนั ประเทศไทยของเราเศรษฐกจิ ตกตำ�่ เป็นอยา่ งมาก ขา้ วยากหมากแพงสนิ ค้าบรโิ ภคอุปโภคขาดแคลน
เงินทองขาดแคลนมีไม่พอจ่ายเป็นเงินเดือน ต้องปลดพนักงานข้าราชการออกจากงาน สร้างความเดือดร้อน
สรา้ งความไม่พอใจไปทัว่ ประเทศ อันเป็นสาเหตุสำ� คัญท่ีท�ำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงการปกครองในเวลาตอ่ มา
๒. คณะราษฎรท์ ำ� การปฏวิ ตั ยิ ดึ อำ� นาจการปกครองประเทศ เพอ่ื เปลยี่ นการปกครองจากระบบ
สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ เป็นการปกครองในระบบประชาธิปไตย เม่อื วันท่ี ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ขณะที่สมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแปรพระราชฐานที่วังไกลกังวล อ�ำเภอหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หลังการเฉลิมฉลอง
ครบ ๑๕๐ ปี แหง่ การสถาปนากรงุ รัตนโกสินทร์ โดยพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั ยอมสละอำ� นาจของพระองค์อยภู่ ายใต้
กฎหมายรฐั ธรรมนญู และ ทรงพระราชทานรฐั ธรรมนญู ฉบบั แรกของประเทศไทย เมอ่ื วนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๕
๓. จากการปกครองในระบบประชาธปิ ไตยทดี่ ำ� เนนิ อยใู่ นเวลานนั้ มขี อ้ ขดั แยง้ กบั พระเจา้ อยหู่ วั
อยูห่ ลายประการ ท�ำให้พระองค์ตัดสินใจสละราชสมบตั ิ
เหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ สมยั รชั กาลที่ ๗ มผี ลถงึ ทา่ ศาลาบา้ นเราเพยี งไมก่ เี่ รอ่ื ง เรอื่ งแรกเกยี่ วกบั ความ
เดือดร้อนจากภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำท่ัวโลก บ้านเราได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน เรื่องที่สองคือการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง จากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นการปกครองระบบประชาธิปไตย ท�ำให้จังหวัดนครศรีธรรมราช
(รวมทงั้ อ�ำเภอท่าศาลา) มีผู้แทนราษฎรเป็นครง้ั แรก จากการเลือกตั้งโดยออ้ มเม่อื พ.ศ. ๒๔๗๖ คอื รองอำ� มาตย์โท
มงคล รัตนวจิ ิตร คร้นั ถงึ พ.ศ. ๒๔๘๐ มีการเลอื กตัง้ จากราษฎรโดยตรงแบ่งเขตเลือกต้งั เปน็ ๒ เขต มีผ้แู ทน ๒ คน
คอื นายฉ่ำ� จ�ำรสั เนตร และ ขนุ บุรณวาท (พรอ้ ย ณ นคร) ครน้ั ถงึ พ.ศ. ๒๔๘๑ มีการเลอื กตั้งโดยตรงแบ่งเป็น ๒ เขต
มีผู้แทน ๒ คน คอื นายฉำ�่ จ�ำรสั เนตร และ นายเปี่ยม บุณยะโชติ ถงึ ปี ๒๔๘๙ มกี ารเลอื กตัง้ โดยแบง่ ออกเป็น ๒ เขต
มีผู้แทน ๒ คน เขต ๑ คอื รอ้ ยตรมี งคล รตั นวจิ ิตร เขต ๒ คอื นายคลอ่ ง ไตรสวุ รรณ เป็นตน้

หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 81

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

รชั กาลท่ี ๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล (พ.ศ. ๒๔๗๘ - ๒๔๘๙)

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระราชสมภพเม่ือวันอาทิตย์ ขึ้น ๓ ค�่ำ
เดือน ๑๑ ปีฉลู ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี ตรงกับวันท่ี ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เป็นพระโอรส
ในสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดชกรมหลวง
สงขลานครินทร์ (เวลาต่อมาด�ำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จ
พระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก) และ
หม่อมศรีสังวาลย์ (เวลาต่อมาด�ำรงพระยศเป็น สมเด็จ
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชา
ร่วมพระชนกชนนีอีก ๒ พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ และ สมเด็จ
พระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ครองราชย์สมบัติ
เป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช รชั กาลท่ี ๙
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล
เสดจ็ ขน้ึ ครองราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั รยิ ล์ ำ� ดบั ท่ี ๘ แหง่ ราชวงศจ์ กั รี
เมื่อ ๒ มีนาคม ๒๔๗๗ ขณะท่ีมีพระชนมายุเพียง ๘ พรรษา
และประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ จึงมีการแต่งตั้งคณะ
ผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ เพ่ือท�ำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน
จนกว่าพระองคจ์ ะทรงบรรลนุ ิติภาวะ

สรปุ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั สมยั รชั กาลที่ ๘ สงครามมหาเอเชยี บรู พา (พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘)

เชา้ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ซงึ่ ขณะนัน้ สถานการณโ์ ลกอยู่ในข้ันวิกฤต ดว้ ยคา่ ยมหาอำ� นาจ
ตะวันตกมีความขัดแย้งระหว่างกันสูง ญ่ีปุ่นเองก็ปูกระแสต่อต้านมหาอ�ำนาจตะวันตกท่ีเข้ามายึดครองมีอาณานิคม
ในเอเซีย โฆษณาว่าจะปลดแอกชาวเอเซียให้พ้นจากชนชาติผิวขาว ขณะท่ีชาวไทยรวมทั้งชาวนครศรีธรรมราช
กำ� ลงั ตน่ื เตน้ กบั การจดั งานฉลองรฐั ธรรมนญู ทก่ี รงุ เทพฯ และทสี่ นามหนา้ เมอื ง เชา้ วนั นนั้ มฝี นตกหนกั เวลาประมาณ
๐๕.๓๐ น. ทางจังหวัดนครศรีธรรมราชก็ได้รับโทรเลข แจ้งข่าวจากสงขลาว่าญี่ปุ่นส่งเรือรบและยกพลข้ึนบก
ทสี่ งขลาแลว้ กระทงั่ ๐๖.๓๐ น. กองทหารญปี่ นุ่ กม็ าปรากฏตวั ทท่ี า่ แพพรอ้ มเรอื ทอ้ งแบนขนอาวธุ ยทุ โธปกรณม์ ากมาย
ซง่ึ ขณะนน้ั ทหารไทยทค่ี า่ ยวชริ าวธุ ภายใตก้ ารนำ� ของพลเอกหลวงเสนาณรงค์ ผบู้ ญั ชาการมณฑลทหารบกไดป้ ระชมุ
และสัง่ การวางก�ำลงั เตรียมพรอ้ มไวต้ ลอดแนว จากท่าแพถงึ โรงทหารและไดบ้ ันทึกรายงานว่า “...การอ�ำนวยการรบ
ท�ำไดไ้ ม่สะดวกนักเพราะตลอดเวลาฝนได้ตกลงมาอย่างหนัก จริงอยกู่ ่อนที่หนว่ ยทหารจะเข้ายดึ แนวน้นั ถึงหากจะ
ได้เตรียมตัวไว้แล้วแต่โดยเหตุที่ไม่แจ่มแจ้งพอ คือไม่ทราบว่าทางฝ่ายญี่ปุ่นมีก�ำลังเท่าใดมาข้ึนบกจริงที่ใดบ้าง
แนวจึงสับสนกันอยู่บ้าง ถึงกระน้ันก็นับว่าได้ปฏิบัติการทันเหตุการณ์ กล่าวคือพอกระผมส่ังการต่อสู้ต้านทาน
เจ้าหน้าที่ต่างๆ ก็เร่ิมด�ำเนินงานตามหน้าท่ีของตน หน่วยทหารก็เคล่ือนท่ีเข้าประจ�ำแนวตามล�ำดับ ได้ปฏิบัติตาม
อยา่ งรวดเรว็ กลา้ หาญเปน็ ทนี่ า่ ชมเชย ไมม่ แี มแ้ ตค่ นเดยี วทแ่ี สดงความอดิ เออื้ นหรอื หวาดกลวั บางคนทไ่ี มม่ หี นา้ ทร่ี บ
โดยตรง เชน่ พลทหารประจำ� ตวั กไ็ ดม้ ารบั จา่ ยอาวธุ กระสนุ และอาสาเขา้ ทำ� การรบดว้ ย...” ซง่ึ พอจะลำ� ดบั เหตกุ ารณ์
จากบนั ทกึ ตา่ งๆ ได้ดงั นี้

82 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

เวลา ๐๓.๐๐ น. ทหารญป่ี นุ่ ยกพลขน้ึ บกทป่ี ราจนี บรุ ี สมทุ รปราการ ประจวบครี ขี นั ธ์ สรุ าษฎรธ์ านี
และ ปัตตานี เวลา ๐๕.๐๐ น. ข้าหลวงประจ�ำจังหวัดและผู้บังคับบัญชาทหารบกค่ายวชิราวุธ ได้รับทราบข่าว
ทางโทรเลขจากจงั หวัดสงขลา สงั่ เตรียมพร้อมทัง้ ทหาร พลเรอื น และ ประชาชน รวมท้ังยวุ ชนทหารหลายรอ้ ยคน
อกี ด้วย เวลา ๐๖.๐๐ น. ทหารญีป่ ่นุ ๑ หมูพ่ รอ้ มเรือท้องแบนหลายลำ� ปรากฏที่ท่าแพ เวลา ๐๖.๕๐ น. เสียงปืน
นัดแรกดังข้ึนจากทหารไทย มีเสียงตอบโต้ระหว่างกันด้วยเสียงปืนเล็กปืนกลติดต่อกัน บางครั้งได้ยินปืนใหญ่
การสู้รบรุนแรงย่ิงข้ึนตามล�ำดับ เวลา ๐๗.๒๐ น. สั่งระงับการส่งก�ำลังทหารจากนครศรีธรรมราชที่จะไปเสริม
ก�ำลังรบท่ีสงขลา แต่ให้มาเสริมก�ำลังสู้รบกับญี่ปุ่นท่ีทาแพ เวลา ๐๗.๓๐ น. รัฐบาลไทยส่ังหยุดยิงชั่วคราว
เพอ่ื รอคำ� สง่ั จากผลการเจรจาทกี่ รงุ เทพฯ เวลา ๐๘.๐๐ น. กองกำ� ลงั ร.พนั ๓๙ กลบั ทพั จากลงใตม้ าขนึ้ เหนอื สสู่ มรภมู ิ
ระหว่างค่ายวชิราวุธกับท่าแพ เวลา ๐๘.๔๐ น. ยุวชนทหารประมาณ ๑๗๐ - ๓๕๐ คน ชุมนุมกันท่ีโรงเรียน
เบญจมราชทู ศิ ดว้ ยความรสู้ กึ วา่ อยากไปรบกบั ผรู้ กุ ราน ถา้ ไปพรอ้ มกบั สว่ นหลงั เกรงวา่ จะไมไ่ ดร้ บ จงึ เคลอื่ นพลผา่ น
ตลาดทา่ วงั มพี ระภกิ ษุสงฆ์ ประชาชนชาวนครศรธี รรมราช คอยเปน็ ก�ำลังใจอวยชัยให้พรอย่างเนืองแน่น ถึงสมรภมู ิ
ได้รบั อาวุธแยกยา้ ยกนั จัดขบวนรบรว่ มกบั ก�ำลังทหาร ขณะนนั้ รัฐบาลให้คำ� ขวญั ว่า ถ้าปราชัยแกไ่ พรี ใหไ้ ดแ้ ต่ปฐพี
ไมม่ คี น ซงึ่ ทางจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านไี ดป้ ฏบิ ตั ติ ามคำ� กลา่ วดงั กลา่ ว ทำ� การเผาศาลากลางจงั หวดั เมอ่ื สถานการณค์ บั ขนั
เวลา ๐๙.๒๐ น. หลังการประชุมหัวหน้าสว่ นราชการท่ศี าลากลางจงั หวัด มทบ.๖ รายงานสถานการณว์ า่ ฝ่ายเราอยู่
ในฐานะเสยี เปรียบทง้ั กำ� ลังพลและอาวธุ ก่อนจะเดินทางมาศาลากลาง เครือ่ งบินรบและเครอ่ื งบนิ ชว่ ยรบของข้าศึก
๔ - ๕ เคร่อื ง มาบนิ วนเวียนอยเู่ หนอื เขตทหาร แตย่ ังไมม่ กี ารใช้อาวธุ กับฝา่ ยเรา แตก่ ารส้รู บท่ีท่าแพฝา่ ยเราสูญเสยี
ทหารกล้าไปแล้วหลายนาย รวมทั้งพันตรีหลวงราญรอนสงคราม รองเสธ.มทบ.๖ และ ร้อยตรีประยงค์ ไกรกิตติ
ผบ.หมวด ป.พนั ๑๕ เวลา ๐๙.๓๐ น. ขา้ หลวงได้รบั โทรเลขจากรฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยว่า ใหห้ ยุดรบ
กับญปี่ ุ่น ใหญ้ ป่ี ุ่นผา่ น และ พกั ในประเทศไทยได้ เวลา ๐๙.๕๐ น. ผบ.มทบ.๖ ได้รบั คำ� สง่ั ทางวิทยุจากผบู้ ังคับ
บัญชาการทหารสูงสุด จอมพลแปลก พิบูลสงคราม ให้หยุดรบ หลีกทางให้ญ่ีปุ่นผ่านไป แล้วรอฟังค�ำสั่ง
เวลา ๑๐.๑๐ น. มทบ.๖ แตง่ ตง้ั คณะผเู้ จรจาการศกึ ฝา่ ยไทยพรอ้ มธงขาว เพอ่ื เจรจาการศกึ กบั ญป่ี นุ่ เวลา ๑๐.๒๐ น.
คณะเจรจาการศกึ ฝา่ ยญ่ปี นุ่ ปรากฏตัวพร้อมธงขาว เวลา ๑๐.๔๐ น. เปิดการเจรจาบนถนนราชดำ� เนินได้ผลสรุปว่า
ทง้ั ฝา่ ยไทยและฝา่ ยญป่ี นุ่ ไดท้ ราบคำ� สั่งใหห้ ยดุ รบแลว้ แตข่ ณะนนั้ ทหารญป่ี นุ่ มกี ารเคลอื่ นไหวเพอื่ ชงิ ความไดเ้ ปรยี บ
ว่ิงไปมาระหว่างต้นไม้ ก�ำบังตัวเคล่ือนที่เข้าหาทหารไทย ทหารไทยจึงยิงเพื่อยุติการเคลื่อนท่ีของญี่ปุ่น จึงเกิดการ
ยิงโตต้ อบกนั ขึ้นอย่างรนุ แรงถึงขั้นตะลุมบอน มผี เู้ สียชวี ิตตอ่ หนา้ คณะผู้เจรจาทั้งสองฝ่าย ซ่ึงต้องหลบเขา้ หาท่กี �ำบงั
ในบอ่ ดนิ ลกู รงั ขา้ งทาง เวลา ๑๐.๕๐ น. หลงั การเปา่ แตรหยดุ ยงิ หลายครงั้ กย็ งั ไมห่ ยดุ ยงิ ตะลมุ บอนกนั ไปมา ผเู้ จรจา
ทั้งสองฝ่ายจึงจัดหาผู้ห้ามยิงฝ่ายละ๑ คน เดินคล้องแขนเคียงคู่กันไปทางทิศเหนือซ่ึงญี่ปุ่นตรึงอยู่ แล้ววกกลับมา
ทางใตท้ ่ฝี ่ายไทยตรึงอยู่ การรบของท้งั สองฝา่ ยจึงยตุ ิลง เวลา ๑๑.๔๐ น. ผู้ห้ามยิงท้งั สองคนเดินกลับมาถงึ ทเี่ จรจา
การศึกอกี ครง้ั เวลา ๑๑.๔๕ น. เร่ิมต้นเจรจากนั ใหมไ่ ดค้ วามว่าทางญป่ี ุน่ ไม่ไดต้ ัง้ ใจรกุ รานประเทศไทย หรอื บุกเมอื ง
นครศรีธรรมราช แต่เข้าใจว่าให้กองก�ำลังของญ่ีปุ่นผ่านประเทศไทยไปมลายู และ สิงคโปร์ เพ่ือขับไล่คนผิวขาว
ผลการเจรจาญปี่ ุน่ ขอ ๕ ข้อ คอื พัก ผ่าน ฐานบิน เขตทหาร และ รักษาสนามบิน เวลา ๑๒.๑๐ น. การเจรจา
คร้ังท่ีสองฝ่ายไทยยินยอมเพียง ๔ ข้อ ขอยกเว้นข้อ ๕ ญี่ปุ่นจะต้องรักษาสนามบินเอง โดยก�ำหนดให้คลองท่าวัง
เป็นเส้นเขตแบ่งทหารไทยและทหารญี่ปุ่น และ ฝ่ายญี่ปุ่นต้องไม่กระท�ำการใดๆ ที่เสื่อมเสียเกียรติยศแก่ชาวไทย
และชาตไิ ทยเป็นอันขาด และ นดั เจรจาทำ� ความตกลงในรายละเอียดในเวลา ๑๓.๐๐ น. หากพน้ ก�ำหนดฝา่ ยญ่ปี ่นุ
ไม่แจ้งข้อขัดข้อง หรือขอเลื่อนการเจรจาการรบทั้งสองฝ่าย การรบเพ่ือขับไล่ทหารญ่ีปุ่นให้พ้นไปจากแผ่นดินไทย
อาจเร่ิมข้ึนอกี คร้งั เวลา ๑๓.๐๐ น. เจรจายุติการรบ เวลา ๑๔.๐๐ น. ยตุ ิการรบ

หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 83

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

ส�ำหรับการยกพลข้ึนบกของญี่ปุ่นบนดินแดนไทยครั้งน้ี นับว่าสมรภูมิเมืองนครศรีธรรมราช
รุนแรงที่สุด ทหารและพลเรือนได้ร่วมกันประกอบวีรกรรมอย่างกล้าหาญ พลเอกหลวงเสนาณรงค์ ผบ.มทบ.๖
ขณะน้ันบันทึกไว้ว่า “การรบได้เป็นไปโดยกระชั้นชิดในเวลารวดเร็ว ฝ่ายเราได้รุกเข้าไปจนถึงท่าเรือห่างจากข้าศึก
เพียง ๑๐ เมตร ส่วนย่อยของเราไดต้ ะลุมบอน เสียงไชโยดังลั่นทกุ แนวท่เี รายดึ คนื ได้ ขา้ ศกึ ถอยแลว้ ๆ เราร้องบอกกนั
ไม่มีคร้ังใดที่จะได้เห็นการต่อสู้อย่างทรหดจนถึงตะลุมบอนเหมือนอย่างในคร้ังน้ี” ณ สมรภูมิแห่งนี้ ๓๘ ชีวิต
ของทหารไทยได้พลีไว้ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราชของชาติ นายทหารสัญญาบัตร ๓ นาย นายทหาร ๓ นาย และ
พลทหาร ๓๒ นาย รวมกับทหารท่ีเสียชีวิตในภาคใต้ทั้งหมดจาก ชุมพร ประจวบคีรีขันธ์ สงขลา และ ปัตตานี
รวมเป็น ๑๑๖ นาย จารึกรายช่ืออยู่ท่ีฐานของอนุสาวรีย์วีระไทย (เจ้าพ่อด�ำ) ซึ่งออกแบบจัดสร้างโดย
อาจารย์ศิลป์ พรี ะศรี เพ่อื รำ� ลกึ ถึงวรี กรรมในคร้งั นน้ั ทุกวันท่ี ๘ ธนั วาคม ของทุกปี จะมารว่ มกันท�ำบุญตักบาตร
และวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์แหง่ นี้เสมอมา

ทหาร และ ยุวชนทหาร จากทา่ ศาลาท่รี ่วมรบในสงครามมหาเอเชยี บรู พา

จากการศึกษาคน้ หาประวตั ิของนายอำ� เภอท่าศาลาในอดตี ทำ� ใหเ้ ราทราบถึง ช่ือบคุ คล เรอื่ งราว
เหตุการณ์ ในช่วงเวลาน้ันๆ ได้ เช่น พบว่า พ.ศ.๒๔๘๔ ขุนสิทธ์ิธุรการ (รองอ�ำมาตย์โท พร้อม ยังบรรเทา)
เปน็ นายอำ� เภอ ทา่ ศาลา กำ� นนั อน้ พงศส์ วุ รรณ เปน็ กำ� นนั ตำ� บลทา่ ศาลา ครลู ภ ดำ� รกั ษ์ เปน็ ศกึ ษาธกิ ารอำ� เภอทา่ ศาลา
ครคู ลอ่ ง เวทยาวงศ์ เปน็ ครใู หญโ่ รงเรยี นปทมุ านกุ ลู ครเู นยี ม ฤทธมิ นตรี เปน็ ครใู หญ่ โรงเรยี นมธั ยมบรู ณวทิ ยาวดั ทา่ สงู
ชว่ ง พ.ศ. ๒๔๘๓ - ๒๔๘๔ โรงเรยี นบรู ณวทิ ยาถกู ยบุ มโี รงเรยี นมธั ยมดำ� รงเวทจดั ตง้ั ขน้ึ มาแทน นกั เรยี นโรงเรยี นมธั ยม
บูรณวิทยาย้ายไปเรียนในเมืองนครศรีธรรมราช ไปเข้าเรียนที่โรงเรียนนครสมาคม ท่ีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
แต่กม็ บี างคนเรยี นท่โี รงเรียนด�ำรงเวท เช่น อาจารย์เกยรู ไชยานุพงศ์ อดีตอาจารยใ์ หญโ่ รงเรยี นวดั คงคา นอกจากน้ี
ทำ� ใหร้ วู้ า่ ขนุ สทิ ธธ์ิ รุ การสง่ั ให้ ครลู ภ ดำ� รกั ษ์ ไปขดุ หาพระนางตราทวี่ ดั นางตรา นำ� มาเกบ็ รกั ษาไวท้ บ่ี า้ นพกั นายอำ� เภอ
เป็นต้น สำ� หรบั ช่วงสงครามหาเอเชียบรู พา มีชาวทา่ ศาลาเข้าไปเกี่ยวขอ้ งกับสงครามหลายคน ดงั น้ี
๑. ร.ท.พชิ ติ สมภู่ ทา่ นเปน็ เขยทา่ ศาลา สมรสกบั ปา้ สพุ ร เสพยธ์ รรม ลกู สาวของตาสายบวั -ยาย
เอยี ด เสพยธ์ รรม เนอ่ื งจากมกี ารจดั ตงั้ หนว่ ยทหารบกขนึ้ หลายหนว่ ยในภาคใต้ จงึ ไดย้ า้ ยกองบญั ชาการมณฑลทหาร
บกที่ ๕ ต�ำบลพงสวาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี มาต้ังที่ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๒ เพ่ือปกครองบังคับบัญชาหน่วยทหารในภาคใต้ รวมท้ังกองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๑๕ ซ่ึงตั้งอยู่ท่ี
ต�ำบลปากพูนอยู่ก่อนแล้ว ต่อมาเปล่ียนช่ือหน่วยเป็นมณฑลทหารบกที่ ๖ โดยมีนายพลตรี หลวงเสนาณรงค์
เปน็ ผบู้ ญั ชาการมณฑลทหารบกท่ี ๖ ร.ท.พชิ ติ สมภู่ กย็ า้ ยมาจากราชบรุ ใี นครง้ั นน้ั ดว้ ย ไมท่ ราบวา่ ทา่ นเปน็ คนราชบรุ ี
หรอื เปน็ คนจังหวดั ใดในภาคกลาง เปน็ ผ้หู น่ึงที่รว่ มรบในสงครามมหาเอเชียบรู พา เม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๔ ทา่ นกล่าวเอาไว้
วา่ “ญ่ีป่นุ มนั เคลื่อนทแี่ ปลก วง่ิ ขนึ้ มาเป็นแถวขบวน แถวหนา้ กระดานว่งิ แลว้ หมอบ วิ่งแล้วหมอบ พอหมอบแลว้ หา
ท่ีก�ำบัง พอมันจะหาท่ีหมายต้องกระโดดออกมา เราก็ยิงมัน ในท่ีสุดถึงตัวกัน ถึงขั้นตะลุมบอน คนไหนท่ีถึงตัว
ก็ใช้ดาบปลายปืน ไม่ใช้ปืนแล้วทีน้ี” ร.ท.พิชิต สมภู่ อดีตทหารค่ายวชิราวุธ จ.นครศรีธรรมราช เล่าถึงเหตุการณ์
ยกพลขึ้นบกของกองทัพญี่ปุ่นเข้าสู่ประเทศไทยตามจุดต่างๆ ทางภาคใต้ เมื่อวันท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
ช่วงสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ท่านรอดตายจากสงคราม ได้รับเหรียญตรามากมาย เกษียณราชการทหารแล้วยังมีชีวิต
ยนื ยาวหลายสบิ ปี เกษียณออกมาประกอบอาชีพท�ำการเกษตร ปัจจบุ ันท่านถึงแกก่ รรมแลว้

84 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๒. พลทหารจู้ พรหมมาศ เป็นชาวท่าศาลา บา้ นอย่ปู ระตชู ้างตะวันออก ตอ่ สู้กบั ทหารญป่ี ุ่น
จนตวั ตายในสมรภูมิรบ ไดร้ บั การเล่ือนยศเป็น จ.ส.อ.จู้ พรหมมาศ ได้รบั การจารกึ ชื่อทีฐ่ านของอนสุ าวรียว์ ีระไทย
ภายในค่ายวชริ าวธุ
๓. พลทหารปาน รว่ มสนิท ชาวทา่ ศาลา บา้ นอยู่หัวตะพาน เป็นน้องชายของลงุ หนู ร่วมสนทิ
ทา่ นรอดตายจากสงคราม ได้รับเหรียญชยั สมรภมู ิ ปจั จบุ ันถึงแก่กรรมแลว้
๔. พลทหารจอน ชามทอง ชาวท่าศาลา อยู่บ้านยาง (วัดพระเลียบ) จับได้ใบแดงจึงเป็น
พลทหารเกณฑ์อยู่ท่ีค่ายวชริ าวธุ รว่ มทำ� สงครามมหาเอเชยี บูรพา และ รอดตายจากสงคราม หลงั จากน้นั ถกู ส่งไปรบ
ท่ีเชียงตุง (ไทยใหญ่หรือสาธารณะรัฐไทยเดิม) ในประเทศพม่า กลับมาถึงบ้านจึงปลดประจ�ำการช้ากว่าคนอื่นๆ
ท่านได้รับเหรียญกล้าหาญ (เหรียญชัยสมรภูมิ) พลทหารจอน ชามทอง เป็นบิดาของอาจารย์วินัย ชามทอง
อดีตผู้อ�ำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จังหวัดนครศรีธรรมราช ลูกคนอื่น เช่น นายธนากร ชามทอง
(ผใู้ หญ่เพลิน) นายยทุ ธศกั ดิ์ ชามทอง (รงค)์ เป็นต้น

พลทหารจอน ยวุ ชนทหารประโพธิ ยวุ ชนทหารคร้นื

๕. พลทหารหนูกล่ัน ศรจี ันทร์ ชาวท่าศาลา เปน็ คนบ้านโพธิ์ ตำ� บลไทยบุรี ท่านรอดตายจาก
สงคราม หลังสงครามได้รับการปูนบ�ำเหน็จความดีความชอบ ได้รับเหรียญชัยสมรภูมิ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น
นกั การภารโรง โรงเรียนปทมุ านุกลู ปจั จุบนั ท่านถงึ แก่กรรมแล้ว
๖. พลทหารชื่น สดุ คดิ ชาวทา่ ศาลา บ้านอยู่ประตูช้างตะวนั ตก (บ้านปลักตอ) ท่านรอดตาย
จากสงครามไทยญ่ปี ุ่นทีท่ ่าแพ จากนั้นถูกสง่ ไปรบท่ีเชียงตุง (สาธารณะรฐั ไทยเดิม) ตามนโยบายของจอมพลแปลก
พิบูลย์สงคราม ซึ่งญ่ีปุ่นต้องการให้ไทยร่วมรบในสงครามด้วย หลังจากเสร็จสงคราม พลทหารช่ืน สุดคิด
ปลดประจำ� การกลบั มาบา้ น ไดร้ บั เหรยี ญกลา้ หาญ เหรยี ญชยั สมรภมู ิ พลทหารชน่ื สดุ คดิ เปน็ บดิ าของอาจารยบ์ ญุ โชค
สดุ คดิ ผอู้ �ำนวยการโรงเรยี นบ้านส�ำนักมว่ ง อาจารยส์ จุ นิ ต์ สุดคิด ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนชุมชนใหม่ มหาวิทยาลยั วลัย
ลกั ษณ์

หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 85

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

๗. พลทหารสว่าง พาหนะ ชาวท่าศาลา อยู่บ้านรั้ว เป็นน้องชายของนางหนูคล้าย พาหนะ
นางหนคู ลา้ ยไดก้ บั ผใู้ หญส่ นี วล ไทยสชุ าติ อดตี ผใู้ หญบ่ า้ นหมทู่ ่ี ๔ ตำ� บลไทยบรุ ี พลทหารสวา่ ง พาหนะ ตอ่ สกู้ บั ทหาร
ญี่ปุ่นจนตัวตายในสมรภูมิรบ ได้รับการเล่ือนยศเป็น จ.ส.อ.สว่าง พาหนะ ได้รับการจารึกช่ือท่ีฐานของอนุสาวรีย์
วรี ะไทย ทราบเรอื่ งของทา่ นจากอาจารยป์ ระโพธิ กาญจนภกั ด์ิ ทบี่ นั ทกึ ไวใ้ นหนงั สอื อนสุ รณ์ จอน ชามทอง ซงึ่ บรรยาย
เร่ืองราวของทหารผ่านศกึ สมัยสงครามโลกครงั้ ที่ ๒
๘. พลทหารเทิม่ สุขแก้ว ชาวท่าศาลา บา้ นอย่วู ดั เทวดาราม ต�ำบลท่าข้นึ ท่านรอดตายจาก
สงคราม ไดเ้ หรยี ญกล้าหาญ เหรียญชยั สมรภมู ิ ทราบเร่อื งของท่านจากอาจารยแ์ จง้ ปาลโิ พธิ
๙. ยุวชนทหารแนบ สรรพบพิตร ชาวท่าศาลา บ้านวัดพระหมาย จบมัธยมต้นจาก
โรงเรยี นบรู ณะวทิ ยา ชว่ งสงครามทา่ นกำ� ลงั เรยี นชนั้ มธั ยมปที ี่ ๔ โรงเรยี นนครสมาคม (วดั จนั ทาราม) เขา้ รว่ มสงคราม
ทีท่ ่าแพเมื่อปี ๒๔๘๔ ได้รับเหรยี ญชยั สมรภูมิ หลังจากจบการศึกษาออกมาเปน็ ครทู ีโ่ รงเรยี นบ้านสระบวั ลาออกมา
เป็นครูใหญ่โรงเรียนด�ำรงเวท เป็นผู้จัดการ เป็นเจ้าของโรงเรียนไปพร้อมกัน ปัจจุบันท่านยังมีชีวิตอยู่ อายุ ๙๒ ปี
(๒๔๖๖ - ๒๕๕๘) ท่านมบี า้ นพกั ที่ศาลานำ�้ ตำ� บลทา่ ศาลา อำ� เภอท่าศาลา

ภาพพลทหาร และ ยวุ ชนทหาร พลทหารผา่ นศกึ สวมหมวกเหลก็ นงั่ อยใู่ น ภาพยุวชนทหาร อยใู่ นท่ายืน สวมหมวกทรงหมอ้ ตาลสเี ขยี ว กระบังหน้า
รถเขน็ สวมชุดทหารเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว มผี า้ พันแขง้ สวมรองเท้า สดี ำ� ทำ� ดว้ ยหนงั หรอื วสั ดเุ ทยี มหนงั สวมชดุ ยวุ ชนทหารเสอื้ แขนยาว กางเกง
หนังสดี ำ� ขาสั้น ถุงเท้ายาวสีด�ำ รองเท้าหนังสีด�ำ ทุกคนประดับเหรียญชัยสมรภูมิ
ยุวชนทหารคนทางซ้ายดูคล้ายครูเฉลิมอดีตนายธนาคารออมสินสาขา
ท่าศาลา

๑๐. ยุวชนทหารจ�ำเริญ ภูมิมาศ ชาวท่าศาลา ลูกหลานของหมื่นแสนบุรี บ้านอยู่ศาลาน�้ำ
ตลาดท่าศาลา ภรรยาเป็นครูชื่อนางศุภมาศ ภูมิมาศ (ครูบวน) ท่านรอดชีวิตจากสงคราม ได้รับเหรียญกล้าหาญ
เมื่อเรียนจบแล้วรับราชการกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย คนท่าศาลามักเรียกท่านว่า หลัดเริญ ต�ำแหน่ง
คร้ังสุดท้ายเป็นหัวหน้ากิ่งอ�ำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช และ ท่านเกษียณราชการในต�ำแหน่งหัวหน้า
ก่ิงอำ� เภอนาบอน ปัจจบุ นั ท่านถึงแก่กรรมแล้ว
๑๑. ยุวชนทหารเฉ้ียง จินดาฤกษ์ ชาวท่าศาลา บ้านเดิมอยู่วัดเทวดาราม ท่านเป็นนักเรียน
โรงเรียนนครสมาคม (วัดจนั ทาราม) เข้ารว่ มสงครามที่ทา่ แพเมือ่ ปี ๒๔๘๔ ท่านรอดชีวติ จากสงคราม ไดร้ ับเหรียญ
กล้าหาญ ต่อมาประกอบอาชีพเป็นพ่อค้าอยู่ท่ีตลาดท่าศาลา เป็นประธานสุขาภิบาลต�ำบลท่าศาลาเป็นเวลานาน
หลายปตี ิดตอ่ กัน ก่อนที่ลกู ชายของท่านจะทำ� หน้าทีเ่ ป็นนายกเทศบาลตำ� บลทา่ ศาลาในเวลาต่อมา ทา่ นถงึ แกก่ รรม
แลว้ จากโรคลมปจั จบุ นั ลกู ชายคนทเี่ ปน็ นายกเทศบาลตำ� บลทา่ ศาลากถ็ งึ แกก่ รรมแลว้ เชน่ กนั จากการถกู ลอบทำ� รา้ ย
เมอื่ หลายปีก่อน

86 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

๑๒. ยวุ ชนทหารมนญู บญุ ญวงศ์ ชาวท่าศาลา บ้านอยฝู่ ายทา่ ลูกชายของก�ำนนั หลิว-ปา้ ผอ่ ง
บญุ ญวงศ์ ตอนเกดิ สงครามทา่ นเรยี นทโี่ รงเรยี นเบญจมราชทู ศิ เขา้ รวมรบสนบั สนนุ ทหารทท่ี า่ แพ รอดตายจากสงคราม
ไดร้ ับเหรียญชยั สมรภมู ิ เมอ่ื เรียนจบกเ็ ข้ารับราชการเปน็ ครทู อ่ี �ำเภอท่าศาลา ปจั จุบนั ท่านถงึ แกก่ รรมแลว้
๑๓. ยวุ ทหารสมบรู ณ์ เชาวลิต เปน็ ชาวท่าศาลา อยู่ที่ไทยบุรี ชว่ งเกดิ สงครามมหาเอเซียบูรพา
ท่านเรียนชั้นมัธยมปลายท่ีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ เป็นยุวชนทหารเข้าร่วมสงครามด้วย ท่านรอดตายจากสงคราม
ได้รับเหรียญกล้าหาญ เป็นเหรียญชัยสมรภูมิ เม่ือเรียนจบออกมาเป็นครูทราบว่าท่านเคยเป็นครูใหญ่
โรงเรียนปทุมานุกลู หลังจากนั้นสอบบรรจเุ ป็นข้าราชการกรมป่าไม้ และ โอนไปสงั กัดกรมป่าไมจ้ นเกษียณราชการ
ปจั จบุ นั ท่านยังมีชีวิตอยู่โดยมบี ้านพักอยู่ที่กรงุ เทพมหานคร
๑๔. ยวุ ชนทหารประโพธิ กาญจนภกั ด์ิ ชาวท่าศาลา บา้ นเดิมอยู่ที่บ้านรวั้ ตำ� บลไทยบรุ ี ลกู ชาย
ของครูฟื้น-ป้าสายห้วย กาญจนภักด์ิ ตอนเกิดสงครามไทยญ่ีปุ่นที่ท่าแพ ก�ำลังเรียนท่ีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
เขา้ รวมสงครามเม่ือ ๘ ธนั วาคม ๒๔๘๔ รอดตายจากการรบ ไดร้ บั เหรียญชัยสมรภูมิ เรียนจบโรงเรยี นเบญจมราชู
ทศิ มาทำ� งานเปน็ เสมยี นบนอำ� เภอทา่ ศาลา ตอ่ มาบรรจเุ ปน็ ครสู อนในเขตอำ� เภอทา่ ศาลา ตำ� แหนง่ สดุ ทา้ ยเปน็ อาจารย์
ใหญ่โรงเรียนวดั คงคา อำ� เภอทา่ ศาลา (บดั นีอ้ ยใู่ นเขตของอำ� เภอนบพติ �ำ) ปจั จบุ นั ยงั มชี วี ติ อยู่
๑๕. ยุวชนทหารแจ้ง ปาลิโพธิ ชาวท่าศาลา บ้านอยู่ในตลาดท่าศาลา ตอนเกิดสงครามไทย
รบญี่ปุ่นท่ีท่าแพ ท่านเรียนชั้นมัธยมท่ีโรงเรียนเบญจมราชูทิศ เข้าร่วมสงครามในวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔
ณ สมรภูมิรบท่าแพ รอดตายจากสงคราม ได้รับเหรียญชัยสมรภูมิ เม่ือเรียนจบจากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
ท่านเป็นครูสอนนักเรียนโรงเรียนราษฎร์ ต่อมาสอบบรรจุเป็นข้าราชการครู ต�ำแหน่งคร้ังสุดท้ายเป็นอาจารย์ใหญ่
โรงเรียนวัดเทวดาราม สมรสกับครูเกสรข้าราชการครูโรงเรียนปทุมานุกูล ครูเกสรถึงแก่กรรมเมื่อปี ๒๕๕๗
อาจารยแ์ จง้ ปาลิโพธิ รา่ งกายยงั แขง็ แรงมชี ีวิตยืนนานอกี หลายปี ท่านกรณุ าใหข้ ้อมลู ยวุ ชนทหารทเี่ ป็นเพ่ือนกนั มา
เสยี ดายที่ไมม่ ีรูปของท่านในขณะที่แตง่ เครื่องแบบยุวชนทหารเม่อื ปี ๒๔๘๔
๑๖. ยุวชนทหารฉลาด อรชร ชาวท่าศาลา อยู่ในตลาดท่าศาลา ตอนเกิดสงครามก�ำลังเรียน
ชั้นมธั ยมทีโ่ รงเรียนเบญจมราชทู ิศ เข้าร่วมสงครามไทยญป่ี ่นุ ทีท่ ่าแพ ไดร้ บั เหรยี ญชยั สมรภูมิ เรียนจบออกมาบรรจุ
เปน็ ครูท่โี รงเรียนบ้านทา่ สูง ถกู ย้ายไปสอนท่ีโรงเรียนบ้านปากลงตำ� บลนบพิตำ� จากน้ันไดล้ าออกมาประกอบอาชพี
สว่ นตวั สมรสกับครเู พมิ่ ลกู สาวของหมนื่ อไุ ร ปัจจบุ นั ถึงแกก่ รรมแล้วทั้งสองทา่ น
๑๗. ยวุ ชนทหารครน้ื สปุ ระดษิ ฐ์ ชาวท่าศาลา อยูท่ ี่บา้ นยาง (บา้ นวัดพระเลียบ) ต�ำบลท่าขน้ึ
ตอนสงครามกำ� ลงั เรยี นชนั้ มธั ยมในตวั เมอื งนครศรธี รรมราช รวมรบในสงครามไทยญปี่ นุ่ ทที่ า่ แพ รอดตายจากการรบ
ได้รับเหรียญชัยสมรภูมิ เมื่อเรียนจบออกมาบรรจุเป็นข้าราชการครู เคยเป็นครูสอนที่โรงเรียนปทุมานุกูล
ต�ำแหน่งคร้ังสุดท้ายเป็นครูโรงเรียนวัดพระเลียบ สมรสกับนางประจวบ ศรีนุรักษ์ ปัจจุบันมีบ้านพักท่ีบ้านยาง
ทางทศิ เหนอื ของวดั พระเลียบ ยงั มีชวี ติ อย่ทู ้ังสองท่าน
๑๘. ยุวชนทหารสมัย บุญสิงห์ ชาวท่าศาลา บ้านอยู่นบพิต�ำ (ปัจจุบันเป็นอ�ำเภอนบพิต�ำ)
ตอนเกดิ สงครามกำ� ลงั เรยี นอยใู่ นตวั เมอื งนครศรธี รรมราช ผา่ นการฝกึ วชิ ายวุ ชนทหาร เขา้ รว่ มรบในสงครามไทยญปี่ นุ่
ทที่ ่าแพ รอดตายจากสงคราม ไดร้ บั เหรยี ญชัยสมรภมู ิ ไมท่ ราบรายละเอียดของท่านมากนัก ขอ้ มลู ของทา่ นได้จาก
อาจารยแ์ จง้ ปาลิโพธิ

หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 87

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๑๙. ยวุ ชนทหารวชิ ยั อรชร ชาวทา่ ศาลา อยใู่ นตลาดทา่ ศาลา เปน็ นอ้ งของยวุ ชนทหารฉลาด อรชร
ท่านเรียนช้ันมัธยมที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เข้าร่วมสงครามไทยญ่ีปุ่นท่ีท่าแพ รอดตายจากสงคราม ได้รับเหรียญ
ชยั สมรภมู ิ เรยี นจบออกมาทำ� งานเปน็ ครอู ยชู่ ว่ งหนง่ึ จากนน้ั ไดล้ าออกมาประกอบชพี สว่ นตวั สมรสกบั ครสู ปุ รานี อรชร
ต�ำแหน่งคร้ังสุดท้ายครูสุปรานีเป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๘ ส�ำหรับยุวชนทหารวิชัย อรชร
และ ภรรยาถงึ แก่กรรมแล้วทงั้ สองท่าน
๒๐. ยวุ ชนทหารนจิ วยั วฒั น์ เปน็ ชาวทา่ ศาลา เปน็ บตุ รของหมน่ื วยั วฒั นว์ จิ ารณ์ อดตี ผใู้ หญบ่ า้ น
หมู่ที่ ๑ ต�ำบลท่าศาลา หมอนิจเป็นน้องชายของป้าศรีนวล ปักเข็ม บ้านเดิมของท่านอยู่ ณ ท่ีต้ังโรงเรียนอนุบาล
วยั วัฒน์ในปัจจุบนั น้ี เรม่ิ เรยี นประถมท่โี รงเรียนปทมุ านกุ ลู เรียนชั้นมธั ยมท่ีโรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ เกดิ สงครามไทย
ญป่ี นุ่ ทที่ า่ แพ จงึ เขา้ รว่ มในการทำ� ศกึ ครง้ั นน้ั ดว้ ย ทา่ นรอดตายจากสงครามไดร้ บั เหรยี ญชยั สมรภมู ิ เขา้ กรงุ เทพศกึ ษา
ดา้ นสาธารณะสขุ ศาสตร์ จบออกมารบั ราชการเปน็ เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณะสขุ อำ� เภอเกาะลนั ตา จงั หวดั กระบี่ ตอ่ มายา้ ย
มาที่อำ� เภอสชิ ล และ ยา้ ยมาเป็นสาธารณสขุ อ�ำเภอทา่ ศาลา ตอนหลังลาออกจากราชการ อีกหลายปีต่อมาหมอนิจ
ตง้ั โรงเรยี นอนบุ าลวยั วฒั น์ บนทดี่ นิ ทเ่ี ปน็ สว่ นแบง่ ของตนเอง เปดิ ทำ� การเรยี นการสอนมาจนถงึ ทกุ วนั น้ี ปจั จบุ นั ยวุ ชน
ทหารนจิ วยั วฒั น์ ถึงแกก่ รรมแล้วเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ ทกี่ รุงเทพมหานคร
ยังมีทหารเกณฑ์ ยุวชนทหาร และ ลูกเสือ ที่เป็นชาวท่าศาลาอีกหลายคน รายชื่อของ
ท่านเหล่าน้ันยังไม่ได้บันทึกเอาไว้ในเอกสารชิ้นน้ี หากมีการค้นพบทีหลังจะได้น�ำมาบันทึกเอาไว้ เพื่อความภูมิใจ
ในบรรพบรุ ษุ ของลกู หลานชาวทา่ ศาลาในยคุ ปัจจุบัน

รชั กาลที่ ๙ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๕๕๙)

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ราชสกุล มหิดล สายหนึ่งของราชวงศ์จักรี
ประสูติที่โรงพยาบาลเมาตอ์ อเบริ ์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชเู ซตส์ สหรฐั อเมรกิ า วนั จนั ทร์ เดือยอา้ ย ขน้ึ ๑๒ ค่�ำ
นพสก จุลศกั ราช ๑๒๘๙ ตรงกับ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐
เหตทุ สี่ มภพทสี่ หรฐั อเมรกิ ากเ็ พราะพระบรมราชชนก และ พระบรม
ราชชนนี ทรงก�ำลงั ศึกษาวิชาการอยู่ท่ีนั่น
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดลุ ยเดช เปน็ พระโอรสองค์ที่ ๓ ในสมเด็จเจ้าฟ้ามหดิ ลอดลุ ยเดช
กรมหลวงสงขลานครินทร์ เป็นสมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดลุ ยเดช
วิกรม พระบรมราชชนกในเวลาต่อมา และ หม่อมสังวาล
มหิดล ณ อยุธยา (ตระกุลเดิม ตะละพัฏ) เป็นสมเด็จพระศรี
นครินทราบรมราชชนนีในเวลาต่อมา ประสูติแล้วทรงได้รับ
พระราชทานนามว่า พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช
มีพระเชษฐาภคนิ ี และ พระเชษฐา ๒ พระองค์ คือ สมเดจ็ พระเจ้าพี่
นางเธอเจ้าฟา้ กลั ยานวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จข้ึนครองราชย์สมบัติเมื่อ
วนั ที่ ๙ มถิ นุ ายน ๒๔๘๙ รวมดำ� รงสริ ริ าชสมบตั ิ ๗๐ ปี เสดจ็ สวรรคต
เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ รวมพระชนมพรรษา ๘๙ พรรษา

88 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

เหตกุ ารณส์ �ำคัญสมัยรัชกาลที่ ๙

๑. กรณีพิพาทเขาพระวิหารระหว่างไทยกับกัมพูชา ความขัดแย้งเกิดข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑
จากปัญหาของการอ้างสิทธ์ิเหนือดินแดนบริเวณปราสาทพระวิหาร ชายแดนอ�ำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศีรษะเกศ
และ ชายแดนของกัมพูชาด้านจังหวัดพระวิหาร สาเหตุส�ำคัญเกิดจากการถือแผนท่ีปักปันเขตชายแดนตามแนว
สันน้�ำของเทือกเขาพนมดงรักคนละฉบับ ท�ำให้เกิดปัญหาพื้นท่ีทับซ้อนของทั้งสองฝ่าย ในพื้นท่ีอันเป็นที่ตั้งของ
ตัวปราสาท โดยท้ังสองฝ่ายทั้งไทยและกัมพูชายินยอมให้มีการพิจารณาปัญหา โดยศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(ศาลโลก) ณ กรงุ เฮก ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ เมอื่ พ.ศ.๒๕๐๒ คดนี ศ้ี าลโลกไดต้ ดั สนิ ใหต้ วั ปราสาทตกเปน็ ของกมั พชู า
เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๐๕ ดว้ ยคะแนนเสยี ง ๙ ตอ่ ๓ ทา่ มกลางความไมพ่ อใจของฝา่ ยไทย ซง่ึ เหน็ วา่ ศาลโลก
ตัดสินคดีอย่างไม่เป็นธรรม อย่างไรก็ตามการตัดสินครั้งน้ี ไม่สามารถแก้ปัญหาเรื่องอาณาเขตทับซ้อนระหว่างไทย
กับกัมพูชา ยังคงเป็นปัญหาเร้ือรังมาจนถึงปัจจุบัน และ ได้เกิดปัญหาขึ้นมาอีกเม่ือ ๕ - ๖ ปีท่ีผ่านมาน้ีเอง
พ.ศ.๒๕๐๑ - ๒๕๐๒ สถานีวิทยุกระจายเสียงรายงานถึงความขัดแย้งเร่ืองเขาพระวิหาร ระหว่างประเทศไทย
กับประเทศกัมพูชา ท�ำให้ประชาชนทั้งประเทศเกิดความไม่พอใจ ท�ำให้เกิดการประท้วงของประชาชนชาวไทย
ไปทวั่ ประเทศ ทอ่ี ำ� เภอทา่ ศาลา ขา้ ราชการ ประชาชน นกั เรยี น เดนิ ขบวนชธู งชาตแิ หแหนประทว้ งกมั พชู าไปตามถนน
ในตวั อ�ำเภอท่าศาลา เดินขบวนจากหนา้ อำ� เภอไปหวั ถนน ไปศาลาน�้ำ ไปตลาดอาทติ ย์จรดคลองทา่ สงู

ภาพแหลมตะลมุ พกุ อำ� เภอปากพนงั จังหวดั นครศรธี รรมราช ภาพซ้ายมอื เปน็ รปู รา่ งลักษณะของแหลมตะลมุ พุกในปจั จบุ ัน สว่ นภาพขวามอื เป็นภาพท่ี
แสดงให้เห็นถึงความเสียหายจากพายุแฮร์เรียตเม่ือปี 2505 ภาพความเสียหายท่ีอ�ำเภอท่าศาลา ไม่มีแสดงไว้ให้เราได้เห็นเนื่องจากไม่ได้เก็บภาพเอาไว้
แตค่ วามเสียหายก็ไม่ย่ิงหยอ่ นกว่ากนั สกั เทา่ ไร ไฟไหมป้ ากดวด ราชชนนเี สด็จ

๒. มหาวาตภัย พ.ศ. ๒๕๐๕ พายุเร่ิมก่อตัวจากหย่อมความกดอากาศต่�ำเป็นพายุดีเปรสช่ัน
ในทะเลจีนใต้ตอนล่างนอกชายฝั่งประเทศเวียดนาม เม่ือวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ แล้วค่อยๆ เคล่ือนตัวไป
ทางตะวันตกเข้ามาในอ่าวไทย ทวีก�ำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนนอกชายฝั่งจังหวัดสงขลา เรียกว่า พายุโซนร้อน
แฮร์เรียต (Harriet) จากนั้นพายุเปล่ยี นทศิ ทางตรงมายังจงั หวดั นครศรีธรรมราช เคลอื่ นขึ้นฝ่ังตอนคำ�่ ของวนั ท่ี ๒๕
ตุลาคม ๒๕๐๕ ตรงบริเวณแหลมตะลุมพุก อ�ำเภอปากพนัง ด้วยความเร็วลมสูงสุด ๙๕ กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ขึ้นฝั่งท่ีอ�ำเภอท่าศาลา ประมาณ ๒๑.๓๐ น. เมื่อขึ้นฝั่งความเร็วลมลดลงกลายเป็นพายุดีเปรสชั่น เคล่ือนผ่าน
นครศรีธรรมราช สรุ าษฎรธ์ านี กระบ่ี พังงา ภเู กต็ และ ลงทะเลอันดามนั เม่อื วันที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๐๕ กอ่ นสลายตัว
ไปในอา่ วเบงกอลใกลก้ ับประเทศบงั คลาเทศเมือ่ วนั ท่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ พายุแฮรเ์ รียตสรา้ งความเสยี หาย

หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 89

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้


Click to View FlipBook Version