The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g3570kanyatipsa, 2021-03-10 12:45:51

ท่าศาลาศึกษา

ท่าศาลา

Keywords: ท่าศาลา,ศึกษา

ไหมคะ” นีค่ อื ค�ำตอบทฉ่ี ันให้กับคนทุกคนในวนั น้นั เมอ่ื ปิดทา้ ยรายการ พิธกี ร พูดวา่ อยากใหข้ ้อคิดแก่คนไทยที่นง่ั
ชมรายการนอี้ ยู่ “ฉนั ก็บอกวา่ ถา้ ฉนั พดู ถูกเอาไปคดิ แตถ่ ้าฉันพูดผดิ ฉันขอโทษ ครวั ครวั ยิ่งใหญ่ คอื ชาติไทยของเรา
ทง้ั สองลน้ เกลา้ คอื บดิ ร และมารดา เหลา่ ประชากร เหมอื นทน่ี อ้ งคลานตามกนั มาเปน็ ของแนว่ า่ ยอ่ มมผี ดิ บา้ งหมองใจ
ดงั เพอื่ นไทยทเี่ คยหมางใจกนั มา โปรดลมื เถดิ หนา คดิ วา่ ผา่ นไปเหมอื นฝนั รกั กนั ดกี วา่ หนั หนา้ สามคั คกี นั จงสมานฉนั ท์
ป้องกันแคว้นไทย น้องพวี่ วิ าทย์ คอยแตม่ าดหมางกัน เหมอื นดัง่ มีดปัน่ ใจพ่อแม่แคไ่ หน อกี เป็นเส้นทาง ให้คนนอก
ยำ่� ยดี วงใจ อยา่ ไปใสใ่ จ ไมน่ านหายพลนั ” และตอ่ มามชี าวตา่ งชาตมิ าขอซอื้ ทด่ี นิ เพอ่ื ทำ� รสี อรท์ ในราคาแพง ๆ แตผ่ ใู้ หญ่
ก็ไม่ยอมขาย ทกุ สิง่ ทุกอยา่ งถา้ ไมม่ คี วามอดทน จะไม่มวี นั น้ี เรารัก พ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง แผน่ ดิน แผน่ ดนิ นจ้ี ะไม่ใหใ้ คร
แม้คนที่ใชท้ �ำอาชพี ยังมีอยู่ ทองคำ� เปลวไปเปลว ของใหมใ่ นวนั นี้ คือของเกา่ ในวนั ขา้ งหนา้ คนเราตอ้ งมีความซ่อื สตั ย์
ตอ่ ตัวเอง ของโบราณอย่างไร มีอยู่เพิ่มทกุ วัน เหมือนปลกู ตน้ ไมต้ อ้ งดแู ล
ปัจจบุ ันนางเยม้ิ เรอื งดษิ ฐ์ เปน็ เจ้าของรสี อร์ทหาดทรายแก้ว ตัง้ อยู่หมู่ ๑ ตำ� บลทา่ ข้นึ อำ� เภอทา่ ศาลา
จากการชอบสะสมของเกา่ มาตง้ั แตอ่ ายุ ๑๐ ปี ของสะสมสว่ นใหญ่รับซอื้ จากชาวบา้ นจากแหล่งตา่ ง ๆ โดยเฉพาะ
รับซ้ือจากชาวประมงที่งมโบราณวัตถุได้จากซากเรือโบราณ
ทอี่ บั ปางใตท้ ะเล โดยในอดตี ชาวประมงมกั จะนำ� โบราณวตั ถุ
ท่ีงมได้มาแลกกับข้าวสารและไก่ ป้าเยิ้มหลงใหลการสะสม
ของเกา่ จนถงึ กบั เคยขายทด่ี นิ มา ซอื้ จานราชวงศซ์ อ้ งอายกุ วา่
พันปี ในราคากว่าเจ็ดหมื่นบาท โดยเชื่อว่าใครครอบครอง
จานใบนจ้ี ะมกี นิ ไมม่ วี นั หมด ผใู้ หญเ่ ยม้ิ เองเชอ่ื ถอื ในปาฏหิ าร
ยข์ องโบราณวตั ถมุ ากเพราะสามารถทำ� ใหป้ า้ เยมิ้ ถกู หวยแลว้
ได้เงินมาก่อต้ังพิพิธภัณฑ์ ได้พิพิธภัณฑ์หาดทรายแก้วต้ังอยู่
ภายในรีสอรท์ หาดทรายแกว้ อยู่ตดิ ทะเล จดั แสดงโบราณ
วตั ถุและศิลปวตั ถุ โดยแบง่ ออกเป็นหอ้ ง ๆ ของส่วนใหญท่ ี่
จัดแสดง คอื เครือ่ งปัน้ ดนิ เผาโบราณ ถ้วยชาม เหลก็ ขูดหรือ
กระตา่ ยขดู มะพรา้ ว และเครอ่ื งมอื ทำ� มาหากนิ เครอื่ งจกั สาน
ลกู ปดั โบราณ เครอื่ งรางของขลงั เปน็ เครอื่ งประดบั ทมี่ คี วาม
งดงาม แฝงไวด้ ว้ ยความเขม้ ขลงั ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ สง่ พลงั อานภุ าพแกผ่ ทู้ เ่ี ชอื่ ถอื ศรทั ธาทงั้ ทางดา้ นเมตตามหานยิ ม แคลว้ คลาด
ปลอดภัย และค้าขายรำ�่ รวย ถงึ ขนาดบางแหง่ รวบรวมจดั ตง้ั เป็นพิพธิ ภัณฑก์ นั เลย เป็น “พิพธิ ภณั ฑล์ กู ปดั โบราณ”
เป็นผ้ทู ี่เก็บสะสมมาเป็นเวลาสบิ ปี ปัจจบุ ัน ถอื ว่าลกู ปดั อยใู่ นความครอบครองมากทส่ี ดุ จงึ ไดจ้ ัดสร้างพิพธิ ภัณฑข์ ึน้
มา เพ่ือใหล้ กู ปดั และของโบราณทพ่ี บในประเทศไทย รวมถงึ กระต่ายขูดมะพรา้ ว ปืนโบราณ ไหโบราณ กรชิ โบราณ
เช่ียนหมากโบราณ ไม่สูญหายออกไปนอกประเทศ ลูกหลาน เยาวชนรุ่นหลังจะได้ศึกษารู้ประวัติความเป็นมาเพื่อ
เปน็ วทิ ยาทาน “ผ้ใู หญเ่ ยิม้ เรืองดิษฐ”์ เล่าว่า ปัจจุบันลกู ปัดโบราณหาชมไดย้ าก
รางวัลชีวิต ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เม่ือปี
พุทธศักราช ๒๕๕๓

140 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๑.๕ นายนิคม คงทน

เกดิ เมือ่ วนั ที่ ๕ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๘๖ ปจั จบุ ันอายุ ๗๔ ปี อาศัยอยู่ ณ บ้านเลขท่ี ๕๒ หมทู่ ี่ ๑
ต�ำบลท่าข้ึน อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายยกเอี้ยน นางจีบ คงทน มีพี่น้องร่วมบิดา
มารดา จ�ำนวน ๓ คน ปจั จบุ ันอยบู่ า้ นเลขที่ ๑๙๔ หมูท่ ่ี ๕
ต�ำบลสระแก้ว อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
จบการศกึ ษาสงู สดุ ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๖ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา
ชายด�ำรงค์เวท อ�ำเภอท่าศาลา สมรสกับนางนันทา ชูเสน
มีบุตรธิดาจ�ำนวน ๔ คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสระแก้ว
ตั้งแต่วันท่ี ๑๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึงปัจจุบัน
(ขณะทจ่ี ัดเกบ็ ขอ้ มลู ปี ๒๕๖๐) อดตี เป็นผู้ใหญบ่ า้ น หมทู่ ี่ ๕
ต�ำบลสระแก้ว และเป็นคณะกรรมการต่าง ๆ ในชุมชน
และในหน่วยงานราชการทเ่ี ชญิ มา
ประวัติการด�ำรงชีวิต “จากวิกฤติทาง
ธรรมชาติ เป็นโอกาสสร้างครูเกษตรชุมชนสระแก้ว”
ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ อำ� เภอทา่ ศาลาประสบภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ
เนื่องจากพายุโซนร้อนแฮเรียส เป็นเหตุให้ จบมัธยมศึกษา
ปีท่ี ๖ จากโรงเรียนมธั ยมชายด�ำรงเวท ไม่ไดศ้ ึกษาต่อต้องออกมาท�ำงานช่วยเหลอื ครอบครัวในฐานะบุตรชายคนโต
เปิดโอกาสให้น้อง ๆ ได้เรียนหนังสอื โดยการสร้างสวนยางพารา จำ� นวน ๘๐ ไร่ การบุกเบกิ ท�ำสวนยางตอ้ งใช้แรง
กายล้วน ๆ ไม่มีเครื่องมือผ่อนแรง มีแต่จอบ พร้า ขวาน และเล่ือยตัดไม้ท่ีใช้คนสองคนช่วยกันฉุดและดัน
เรม่ิ จากการแผ้วถางป่า โคน่ ลม้ ไม้ขนาดใหญ่ โดยใช้ขวานและเล้อื ยตัดไม้ ใชไ้ ฟสุมขอนไมแ้ ล้วลากใหก้ ระจายโดยให้
ไฟที่สุมขอนเป็นตัวท�ำลายตอไม้น้อยใหญ่จนเป็นท่ีโล่ง แล้วจึง ลงมือปลูกยางพารา ขณะที่ต้นยางโต ๑ - ๓ ปี
ปลูกพืชแซม ไดแ้ ก่ ข้าวไร่ ข้าวโพด ยาสบู (ยากลาย) พริกข้ีหนู และกล้วย การทำ� การเกษตรในระยะแรกดว้ ยความ
อุดมสมบูรณ์ของดินไม่ต้องอาศัยปุ๋ยเคมี และยาฆ่าแมลงแต่อย่างใด การบุกเบิกในระยะนี้ต้องอาศัยความอดทน
ความทมุ่ เท และความเพียรพยาม ตามสโลแกนของรัฐบาลยุคน้ัน “งานคอื เงนิ เงินคืองาน บนั ดาลสุข” ความขยัน
สามารถเลี้ยงตนเองได้ การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมจึงเกิดรายได้ ส่งผลให้พ่อเฒ่าแม่เฒ่ายกตัวอย่าง
เปน็ แบบอยา่ งใหก้ บั บคุ คลอนื่ ๆ ในชมุ ชน และเปน็ ทย่ี อมรบั ของคนในชมุ ชน นบั ไดว้ า่ เปน็ ครชู มุ ชนทส่ี อนโดยการลงมอื
ปฏิบตั ิใหด้ ูเปน็ แบบอย่าง ชมุ ชนจึงตืน่ ตัวหนั มาทำ� การเกษตรอย่างจริงจงั โดยการปลกู ผกั สวนครัว และพืชอายสุ ้ัน
เป็นอาชพี เสรมิ ก่อนผลผลิตยางพาราจะกรดี หน้ายางได้ การด�ำเนินการดงั กลา่ วเป็นทย่ี อมรับและได้รบั การยกยอ่ ง
ให้เป็นผใู้ หญ่บ้าน หมู่ที่ ๕ ต�ำบลสระแกว้ อำ� เภอทา่ ศาลา เมื่อวนั ท่ี ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖
“การท�ำความดี ใช้หนแี้ ผน่ ดิน” ในปี ๒๕๒๐ ได้เกดิ แนวคดิ ท่จี ะพฒั นาชมุ ชนด้านคุณภาพชวี ติ
โดยเฉพาะความมัน่ คงในอาชีพของตนเอง จงึ เหน็ ควรจะพัฒนาสติปัญญาของคนก่อน พัฒนาคนใหไ้ ดผ้ ล คนต้องมี
ส่วนร่วมในการพัฒนา คนต้องมีปลุกจิตส�ำนึกให้คนต่ืนข้ึนมาเป็นการจุดประกายแห่งจิตสารธารณะที่มีในแต่ละคน
ได้เกิดแสงสว่างขึ้น จึงได้เร่ิมโครงการสร้างห้องสมุดของชุมชนสระแก้ว โดยระดมทุนจากชุมชน จ�ำนวน
๔๐๐,๐๐๐ บาทเศษ เป็นผลงานชิ้นแรกท่ีภาคภูมิใจ และต่อมาปี ๒๕๒๑ การสร้างเมรุเผาศพ ณ วัดสระแก้ว
โดยการระดมทุนจาการบริจาค การทอดผ้าป่า เป็นเมรุหลังแรกของอ�ำเภอท่าศาลา ด้วยเงินงบประมาณ

รหัสวิชา หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 141

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

๙๐๐,๐๐๐ บาทเศษ และปี พ.ศ. ๒๕๒๓ สรา้ งศาลาบำ� เพญ็ กศุ ลศพคกู่ บั เมรเุ พอื่ ใชใ้ นการบำ� เพญ็ กศุ ลศพทว่ี ดั สระแกว้
โดยเปลี่ยนค่านิยมการต้ังบ�ำเพ็ญกุศลศพท่ีบ้าน มาตั้งไว้ที่วัดซึ่งเป็นศูนย์รวมของชุมชนแทนท่ีจะกระท�ำที่บ้าน
เพือ่ ลดอบายมุข เช่น การเลยี้ งสุรา การเลน่ การพนนั
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ – ๒๕๔๖ ก่อสร้างโรงพยาบาลชุมชนบ้านสระแก้ว โดยมีผู้บริจาคท่ีดิน
ประกอบด้วย นายคณิต นเรธรณ์, นายพนม นเรธรณ์ และนางวิภาภรณ์ แก้วสีทอง รวมพื้นที่จ�ำนวน ๔ ไร่เศษ
ดำ� เนนิ การขอนบั บรจิ าคเปน็ ทุนจดทะเบยี น จำ� นวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ก่อตงั้ “มลู นิธิเทพโรจนป์ ระชาปติ ิ” เพื่อรบั
บรจิ าคหาทนุ ในการกอ่ สรา้ งโรงพยาบาลชมุ ชนบา้ นสระแกว้ โดยไมใ่ ชง้ บประมาณของทางราชการ โดยขอรบั บรจิ าค
จากคนในชุมชน และทอดผ้าป่าสามัคคี แข่งฟุตบอลจากกรุงเทพกับทีมพ่อค้าประชาชน ท่ีสนามกีฬา
จงั หวัดนครศรธี รรมราช ตอนกลางคนื จดั งานมโหรสพ หนังตะลงุ มโนราห์ ที่สนามหน้าเมอื ง การดำ� เนนิ การมอบให้
กระทรวงสาธารณสุขเพือ่ เป็นโรงพยาบาลชมุ ชน แตห่ น่วยงานดังกลา่ ว
ไมส่ ามารถรับได้ เนือ่ งจากติดขัดเร่อื งงบประมาณตอ่ เนอื่ ง เช่น ค่าเคร่อื งมอื แพทย์ คา่ บุคลากร
และคา่ ใชจ้ า่ ยในการดำ� เนนิ การ ตอ่ มาปี พ.ศ. ๒๕๒๖ จงึ มอบอาคารพรอ้ มทด่ี นิ ใหก้ รมประชาสงเคราะหเ์ ปน็ “ศนู ยฟ์ น้ื ฟู
อาชีพคนพิการภาคใต้” ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็น “ศูนย์ฟื้นฟูอาชีพคนพิการนครศรีธรรมราช” รับคนพิการจาก ๑๔
จังหวัดภาคใต้ ฝึกอาชีพให้ปีละ ๑ รุ่น จ�ำนวนไม่เกิน ๕๐ คน จากการด�ำเนินการเสียสละ อุทิศตนท�ำงานให้เกิด
ประโยชน์กับชมุ ชน โดยไม่มตี ำ� แหนง่ และสงิ่ ตอบแทน แตเ่ ปน็ คุณคา่ เม่อื ต�ำแหน่งผ้ใู หญบ่ ้าน หมูท่ ่ี ๕ ตำ� บลสระแกว้
วา่ งลง ชาวบา้ นในชมุ ชนขอใหช้ ว่ ยรบั ตำ� แหนง่ ผใู้ หญบ่ า้ น ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ จนกวา่ จะหาบคุ คลทเ่ี หมาะสมได้ ปรากฏวา่
เปน็ เวลา ๒๐ ปี กบั ๑ เดอื น ทย่ี งั ครองตำ� แหนง่ ผูใ้ หญบ่ ้าน จนเกษยี ณอายุราชการ เมอ่ื วันที่ ๔ มนี าคม ๒๕๔๖

ธรรมชาติ คือครูของเกษตรกร
ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตคิ รง้ั ที่ ๒ เนอื่ งจากพายดุ เี ฟรสชน่ั สวนยางพารา โดนพายุ
จงึ เปลย่ี นสภาพสวนยางพาราเปน็ การปลกู ทเุ รยี นแบบพฒั นา คอื ใชร้ ะบบนำ�้ หยดและใชป้ ยุ๋ เคมี การปลกู พชื เชงิ เดยี่ ว
เพ่ือมุ่งเน้นเชิงพาณิชย์โดยไม่ค�ำนึงถึงระบบนิเวศ จึงท�ำให้เกิดปัญหาตามมามากมาย เป็นต้นว่า ใช้เงินลงทุนสูง
มกี ารใชส้ ารเคมี ยาฆ่าแมลง ยากำ� จดั วชั พชื เรมิ่ แรกคดิ วา่ การใช้สารเคมนี า่ จะมีอนาคตที่สดใสเพราะช่วยประหยัด
เวลา ประหยดั พลังงาน แตเ่ มอ่ื เวลานาน ๆ ความเสียหายส่งผลต่อสภาพดินเรมิ่ แขง็ ตวั โรคพืชเรมิ่ มากขึ้น ในทีส่ ดุ
ทุเรยี นค่อย ๆ ตายไปจนหมด นี่คอื บทเรียนธรรมชาติสอนเรา จากประสบการณด์ ังกลา่ ว จึงปรึกษาผู้รเู้ กีย่ วกับระบบ
นิเวศแลว้ นำ� ไปใช้กับการสรา้ งสวนยางพาราในระบบใหม่ โดยการปลูกแตงโมพืชอายุหมนุ เวยี น โดยการปลกู แตงโม
และฝักเขียวในระบบน้�ำหยด ปีท่ี ๓ จะปลูกมะเขือ ปีท่ี ๔ จะไม่สามารถปลูกพืชอื่นได้เพราะยางพาราโตข้ึน
มีร่วมเงามาก การก�ำจัดหญ้าภายในสวนยางพาราจะใช้ระบบตัดหญ้าที่ได้น�ำมาเล้ียงโคขุน มูลโคท่ีได้น�ำมาใช้ผลิต
ก๊าซชีวภาพในการหุงต้ม น้�ำล้างคอกโคขุนน�ำมาเป็นปุ๋ยน�้ำ มูลโคและเศษหญ้าท่ีเหลือท�ำปุ๋ยหมักน�ำมาใช้ในสวน
ยางพารา จากประสบการณเ์ ป็นเกษตรกร ทำ� สวน เลยี้ งสตั ว์ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ จนถงึ ปจั จบุ นั จึงได้รบั มอบหมาย
จาก อบต.ตำ� บลสระแกว้ ใหเ้ ปน็ ผดู้ แู ลการสง่ เสรมิ อาชพี ดา้ นการเกษตรใหก้ บั ประชาชนในพน้ื ท่ี โดยการปลกู ผกั สวน
ครัว พืชอายสุ น้ั หมนุ เวยี น และจดั ตั้งกล่มุ อาชพี ต่าง ๆ โดยใชเ้ วลาว่างสรา้ งงานเกิดรายได้เพือ่ ลดรายจ่ายประจ�ำวนั
ของครวั เรอื น และไดส้ รา้ งองคค์ วามรแู้ นะนำ� ผา่ นศนู ยบ์ รกิ ารและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรประจำ� ตำ� บลสระแกว้
บ้านโคกตะเคียน หมู่ท่ี ๔ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านหัวคู หมู่ท่ี ๙ ทั้งสองศูนย์เปรียบเสมือนห้องเรียน
ตามธรรมชาติของต�ำบลสระแก้ว ให้นักเรียน นักศึกษาได้ใช้ท�ำโครงงาน ท�ำรายงานประกอบการเรียน และสนอง
นโยบายลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้เพอ่ื การพฒั นาอาชีพให้ยั่งยนื ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดย

142 หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

๑. เรอ่ื งน�้ำ หากไมม่ แี หลง่ น�้ำตามธรรมชาตจิ ะต้องมบี ่อน้�ำตืน้ บอ่ บาดาลหรือขดุ สระน�้ำแก้มลงิ
เก็บนำ้� ไว้ใช้
๒. เรอื่ งดนิ จะตอ้ งปรบั สภาพดนิ ทเี่ คยถกู ทำ� ลายดว้ ยสารเคมแี ละปยุ๋ เคมใี หเ้ กดิ ความอดุ มสมบรู ณ์
และหาพนั ธุใ์ หมม่ าปลกู ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของดิน
๓. การบำ� รงุ รกั ษา หลงั ปลกู พชื ควรใชป้ ยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ นำ�้ ชวี ภาพซง่ึ เกษตรกรสามารถผลติ
ได้เองจากการเลี้ยงสตั ว์
๓.๑ การเลยี้ งหมูคอนโด ผลติ ปยุ๋ นำ�้ หมักชีวภาพ จากมลู สัตว์ และน�้ำล้างคอกซ่งึ มบี ่อเก็บ
น้ำ� ผา่ นการฆา่ เช้อื นำ� ไปใชแ้ ทนปุย๋ เคมีสามารถลดค่าใช้จา่ ยจากปยุ๋ เคมี รอ้ ยละ ๘๐
๓.๒ การเลี้ยงโคขุนพันธุ์เน้ือ ลูกผสมแบบบูรณาการ เพื่อให้โคกับสวนอยู่ด้วยกันได้
โดยตัดหญ้าจากสวนมาให้วัว เป็นอาหารหยาบของวัว หรือโค กากหญ้าที่โคกินเหลือผสมกับมูลโคท�ำเป็นปุ๋ยหมัก
นำ� มาใช้กบั พชื แทนปุ๋ยเคมี
๓.๓ การเล้ียงเป็ดและไก่ (พันธุ์ไข่) ช่วยปราบหญ้าและปุ๋ยโดยใช้อวนล้อมสวนปล่อย ไก่
เป็ด ช่วยปราบหญ้า มูลเป็นปุ๋ยช่วยปรับสภาพดิน ลดการใช้สารเคมี ผลิตจากไก่ ออกเป็นไข่น�ำมาบริโภค
และท�ำอาหารได้
๔. เลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ “ผึ้งโพรงไทย” ช่วยผสมเกสรเพิ่มผลผลิตกับไม้ผล และมีรายได้จาก
การผลิตคือน้ำ� ผึ้ง ลงทนุ น้อยไมต่ อ้ งให้อาหารแตไ่ ดผ้ ลผลิต นำ�้ ผ้งึ มาจ�ำหน่ายได้
รางวลั
๑. ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ รางวลั หมบู่ า้ นบรรลสุ ุขภาพดีถว้ นหน้า บา้ นสระแก้ว หม่ทู ี่ ๕
๒. ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ รางวลั โครงการพัฒนาตำ� บลดีเดน่ ระดับ จงั หวดั นครศรธี รรมราช
๓. ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ รางวลั โครงการพฒั นาตำ� บลดเี ดน่ ระดบั ภาค การขดุ ลอกสระนำ�้ คลองลมุ่ เตย
หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลสระแก้ว
๔. ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ รางวัลผู้ปฏบิ ตั ิความดคี วามชอบในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ผใู้ หญบ่ ้าน รางวลั ท่ี ๑
จาก กระทรวงมหาดไทย
๕. ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ รางวลั ตำ� บลพัฒนาดเี ดน่ ระดับภาค
๖. ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ รางวลั โลเ่ กยี รตคิ ณุ บคุ คลตวั อยา่ ง สาขาผใู้ หญบ่ า้ นดเี ดน่ ของอำ� เภอทา่ ศาลา
๗. ปี พ.ศ.๒๕๔๑ รางวลั ผใู้ หญ่บา้ ยยอดเยยี่ ม แหนบทองคำ� จากกระทรวงมหาดไทย
๘. ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เกยี รติบัตร “พอ่ แห่งชาติ”
๙. ปี พ.ศ.๒๕๕๓ รับพระราชทานปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา
เกษตรศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช
๑๐. ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ รบั พระราชทานเหรยี ญสมนาคุณ สภากาชาดไทย ช้ันท่ี ๓
๑๑. ไดร้ บั การเผยแพรใ่ นหนงั สอื “สานฝนั ๘๐ ความดถี วายในหลวง” ของกรมพฒั นาสงั คมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ หน้า ๒๐๘ นายนิคม คงทน “คนผู้รัก”
๑๒. ได้รับการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๙ คอลัมภ์ผู้น�ำท้องถิ่น
เก่ียวกับการบรหิ ารงาน หัวข้อ “สรา้ งความดีใชห้ น้ีแผน่ ดนิ ” โดยคุณ อธวิ ัฒน์ ไชยนุรตั น์

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 143

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๑๓. ได้รับการตีพิมพ์บทความสะท้อนความส�ำเร็จในการพัฒนาอาชีพ การเลี้ยงผึ้งโพรงไทย
การเลย้ี งด้วงสาคแู บบพฒั นา ในหนังสือพิมพ์เดลนิ ิวส์ หน้า ๒๘ ฉบับวนั ท่ี ๒๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๖
๑๔. ได้รบั การตีพมิ พ์วารสาร โรงพยาบาลปที ี่ ๕ ฉบับที่ ๓๑ พฤศจกิ ายน – ธันวาคม ๒๕๔๙
หน้า ๕๒ - ๕๓ ศาลาดอกลำ� ดวน ชอ่ื เร่อื ง “บคุ คลตัวอยา่ งแห่งเมืองทา่ ศาลา” โดยคณุ อนงค์ มีพวกมาก
๑๕. ไดร้ บั การตีพมิ พว์ ารสาร โรงพยาบาลปที ่ี ๑๑ ฉบับท่ี ๖๓ มีนาคม – เมษายน ๒๕๕๕ หน้า
๒๔ - ๒๕ ศาลาดอกล�ำดวน ช่ือเรอ่ื ง “ปราชญ์เกษตร คงทน ตอนท่ี ๑” โดยคุณอนงค์ มีพวกมาก
๑๖. สารคดรี ายการพ่อหลวงในดวงใจ เรอ่ื ง การเล้ยี งโคขนุ แบบบรู ณาการ และการเล้ียงผึง้ โพรง
ไทย แบบพัฒนา ถ่ายทอดทางสถานีวทิ ยุโทรทัศนแ์ ห่งประเทศไทย จังหวดั นครศรีธรรมราช
๑๗. สารคดีรายการรอบรถู้ น่ิ ไทย เรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพยี ง ตอนการเพาะแตนเปยี นก�ำจดั แมลงด�ำ
หนามมะพรา้ วระบาดทำ� ลายสวนมะพรา้ ว การเพาะเช้ือไตรโคเดอร์ม่า ก�ำจัดโรคราไวทอปเทอริ่งรากโคน การผลิต
น้ำ� หมักชวี ภาพ นำ�้ ส้มควนั ไม้ ไวใ้ ชป้ อ้ งกันและกำ� จัดแมลงศัตรูพืช ปรับสภาพดิน ถ่ายทอดออกอากาศทางสถานวี ิทยุ
โทรทศั น์แหง่ ประเทศไทย จงั หวัดนครศรีธรรมราช

144 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

บ๖ทท่ี ภูมปิ ัญญาท่าศาลา

สาระสำ� คัญ

ความหมาย ความสำ� คัญของภูมปิ ญั ญาไทย และเรียนรู้ประวัติ ทักษะกระบวนการ และองคค์ วามรขู้ อง
ภูมิปญั ญา ในเขตพื้นทอ่ี ำ� เภอท่าศาลา

ตวั ช้ีวดั

๑. อธบิ ายประวัติ ทักษะ กระบวนการและองคค์ วามร้ใู นศาสตรแ์ ขนงต่างๆ เก่ยี วกบั ภมู ิปญั ญาท้องถิน่
ในชมุ ชน
๒. วิเคราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บองคค์ วามรู้ กระบวนการของภมู ปิ ญั ญาในศาสตรเ์ ดียวกบั ท้องถิ่นอ่ืน

ขอบขา่ ยเนือ้ หา

เรอ่ื งท่ี ๑ ความหมายของภูมปิ ญั ญาไทย
เรอ่ื งท่ี ๒ ประวตั ิ องคค์ วามรขู้ องภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ อำ� เภอทา่ ศาลา

๒.๑ ด้านศลิ ปกรรมและวฒั นธรรม
๒.๑.๑ นางก้นั เชาวพ้อง
๒.๑.๒ นายจ�ำลอง เมฆาวรรณ์
๒.๑.๓ นายจ�ำเนียร ค�ำหวาน
๒.๒ ดา้ นคหกรรม
๒.๒.๑ นางผ่องศร ี มะหมัด การทำ� ปลารา้ ฝงั ดนิ
๒.๒.๒ นางสาวลาวลั ย ์ ปรงิ ทอง การท�ำนำ้� มันมะพรา้ วสกดั เยน็
๒.๒.๓ นายยุโสบ หลา้ เก ท�ำน้ำ� ตาลมะพร้าว
๒.๒.๔ นางอาร ี เชาวลติ การท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน)
๒.๒.๕ นายหนพู นั สงั วาลย์ การทำ� ขนมกะละแม
๒.๓ ดา้ นหตั ถกรรม
๒.๓.๑ นางจำ� เปน็ รกั เมือง การท�ำหัตถกรรมเครอ่ื งปั้นดนิ เผาบ้านมะยิง
๒.๓.๒ นายเสวก ยุโส ้ การทำ� กรงนก
๒.๓.๓ นายกิบหลี หมาดจิ การท�ำหตั ถกรรมจักสานไม้ไผ่
๒.๓.๔ นายหมดู ทรงเลศิ การตอ่ เรอื ประมงพืน้ บา้ น
๒.๓.๕ นางฉลวย ปล้องเกิด การท�ำอฐิ แดงหรอื อฐิ มอญ
๒.๔ ดา้ นประมง
๒.๔.๑ นายเจริญ โต๊ะอิแต การท�ำประมงพน้ื บ้านการดหุ ล�ำและธนาคารปู

รหสั วิชา หลักสูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 145

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

๒.๕ ดา้ นเกษตรกรรม
๒.๕.๑ นายนิวัฒน ์ ดิมาร การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรยาเสน้ “ยากลาย”
๒.๕.๒ นายธีรชัย ชว่ ยชู การทำ� ปุ๋ยหมักชวี ภาพ
๒.๕.๓ นางสมจติ ร เดชบุญ การเลี้ยงไส้เดอื น“ปยุ๋ มลู ไว้เดือน”
๒.๕.๔ นายสุพจน ์ ศรสี ุชาติ การเกษตรน้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒.๕.๕ นายเลือ่ น พรมวี ศูนย์เรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงบ้านนายเลื่อน

เวลาท่ใี ช้ในการศกึ ษา ๒๐ ชัว่ โมง
สือ่ การเรยี นรู้

๑. ชดุ วชิ าทา่ ศาลาศกึ ษา รหสั รายวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗
๒. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นร้ปู ระกอบชดุ วิชาทา่ ศาลาศกึ ษา รหสั รายวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗
๓. สื่อเสริมการเรียนรอู้ ่นื ๆ

146 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

บทที่เร่ืองที่ ๑ ความหมายของภมู ปิ ัญญาไทย

ความหมายของภมู ปิ ญั ญา หรอื Wisdom หมายถงึ ความรู้ ความสามารถ ความเชอื่ ทนี่ ำ� มาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาของมนุษย์ หรอื ภมู ิปัญญา คอื พนื้ ความร้ขู องปวงชนในสังคมน้ัน ๆ และปวงชนในสงั คมยอมรบั รู้
เชอื่ ถือ เข้าใจ ร่วมกนั เรียกว่า ภูมิปญั ญา
ภมู ปิ ญั ญาไทย หมายถงึ องคค์ วามรู้ ความสามารถและทกั ษะของคนไทยอนั เกดิ จากการสงั่ สมประสบการณ์
ที่ผา่ นกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรงุ แต่ง พัฒนา และถา่ ยทอดสบื ต่อกนั มา เพอ่ื ใช้แกป้ ญั ญาและพัฒนาวิถชี ีวิต
ของคนไทยใหส้ มดุลกับสภาพแวดลอ้ มและเหมาะสมกับยุคสมัย ภูมปิ ัญญาไทยนี้มลี กั ษณะเป็นองค์รวม มีคณุ ค่าทาง
วัฒนธรรมเกิดขึ้นในวิถีชีวิตไทย ซึ่งภูมิปัญญาท้องถ่ินอาจเป็นท่ีมาขององค์ความรู้ที่งอกงามขึ้นใหม่ท่ีจะช่วยในการ
เรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการและการปรับตัวในการด�ำเนินวิถีชีวิตของคนไทย ลักษณะองค์รวมของภูมิปัญญา
มีความเด่นชัดในหลายด้าน เช่น ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม และหัตถกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย
ด้านการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ด้านศิลปกรรม ด้านภาษาและวรรณกรรม
ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี และด้านโภชนาการ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณะ
และภมู ิปญั ญาพน้ื ทอี่ �ำเภอท่าศาลาไดป้ รากฏ บคุ คลทีเ่ ป็นแบบอยา่ งหลายดา้ น ๆ เช่น
๑. ศิลปและวฒั นธรรม เช่น มโนราห์ การร้อยลกู ปัดส�ำหรับชุดการแตง่ กายมโนราห์ หนงั ตะลุง
๒. ด้านคหกรรม การท�ำน�้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น การขนมไทย การท�ำเส้นขนมจีน การท�ำกะปิ
การท�ำปลารา้ ฝังดนิ ดา้ นการเกษตร การทำ� การเกษตรแบบพอเพียง ดา้ นปลกู ยาเส้น (ยากลาย) การท�ำนา
๓. ด้านหัตถกรรมพ้ืนบ้าน การท�ำกรงนก การท�ำหางอวน การท�ำเคร่ืองปั้นดินเผา การท�ำอิฐมอญ
การจักรสานผลิตภณั ฑจ์ ากไมไ้ ผ่ การท�ำวา่ ว
๔. ดา้ นประมง การต่อเรือประมงพืน้ บา้ น การอนุรักษ์พันธป์ ูม้า การสร้างบ้านปลา
๕. ด้านเกษตรกรรม

บทที่เรอ่ื งท่ี ๒ ประวัตแิ ละองคค์ วามร้ขู องภูมิปญั ญา

๒.๑ ดา้ นศลิ ปและวฒั นธรรม

๒.๑.๑ นางกัน้ เชาวพอ้ ง ภมู ิปัญญาดา้ นศลิ ปการแสดง มโนราห์
นางกัน้ เชาวพ้อง หรือ “โนรากั้น“ บนั เทงิ ศิลป์ปัจจุบนั อายุ ๘๖ ปเี กิดวนั อาทติ ยเ์ ดอื นส่ี
ปีจอ พ.ศ. ๒๔๗๖ จบการศกึ ษาชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนวดั จันพอ หมู่ ๓ ตําบลดอนตะโก อําเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช เร่ิมต้นของการร�ำโนรา นางกั้น
บันเทิงศิลป์ เล่าว่าตอนอายุ ๑๕ ปี ตอนนั้นมีการประกวด
โนราห์ แกน่ังอยู่ที่บ้าน แล้วมีคณะโนราห์ผ่านหน้าบ้าน
เขาชวนแกใหร้ ำ� มโนราห์ แกกไ็ ป เมอื่ ไปแลว้ ตอนกลบั เขากลบั
อีกทาง แกก็เลยจ�ำเป็นต้องอยู่กบั คณะมโนราห์ จนถึง ๓ ปี
จึงได้กลับบ้านและมาตั้งคณะมโนราห์ โนราก้ัน มีความ
สามารถในการแสดงโนราเป็นอย่างมาก และเป็นศิลปินที่มี
ประชาชนชืน่ ชม รวมถึงเป็นบคุ คลท่ีมนี ้าใจมีความเออ้ื อาทร

รหสั วิชา หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 147

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

เสยี สละ เปน็ ทร่ี กั ใครข่ องบคุ คลทวั่ ๆ ไป จงึ ทาํ ให้ มคี นมาฝากตวั เปน็ ลกู ศษิ ยฝ์ กึ หดั ราํ โนราอยตู่ ลอดเวลารนุ่ แลว้ รนุ่ เลา่
โนรากนั้ ยนิ ดแี ละเตม็ ใจถา่ ยทอดความรู้ ซง่ึ ลกู ศษิ ยท์ โี่ นรากน้ั ไดฝ้ กึ หดั มที ง้ั เดก็ และผใู้ หญจ่ าํ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ คน
จากการทน่ี างกน้ั เชาวพอ้ ง หรอื โนรากน้ั บนั เทงิ ศลิ ปไ์ ดแ้ สดงโนรามาเปน็ เวลายาวนานกวา่ ๖๘ ปี
และประสบผลสาํ เรจ็ ในอาชพี เลยี้ งครอบครวั สง่ ใหล้ กู ไดเ้ รยี นหนงั สอื สรา้ งฐานะความเปน็ อยใู่ หด้ ขี น้ึ ดว้ ยการราํ มโน
รา ตลอดจนมีลกู ศษิ ยม์ ากมายไม่ต่�ำกว่า ๑๐๐ คน เปน็ บคุ คลท่ีครองตวั ครองตน ประพฤติตนอยูใ่ น ศีลธรรมอันดี
และไดบ้ าํ เพญ็ ตนเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ น่ื รวมถงึ สงั คมสว่ นรวมตา่ งๆ มามากมาย อกี ทง้ั มคี วามรู้ ความสามารถในดา้ น
การแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินหลายด้านจนเป็นท่ียอมรับ จึงเป็นปูชนียบุคคลที่สําคัญ อีกคนหน่ึงท่ียังคงสืบสาน
เอกลกั ษณ์ในศิลปะการแสดงอันเปน็ ภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของภาคใตไ้ วไ้ ด้อย่างดยี งิ่ นางก้ัน เชาวพอ้ ง จึงได้รบั
การยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตเิ ป็นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (โนรา) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑
๒.๑.๒ นายจำ� ลอง เมฆาวรรณ์ ภูมิปญั ญา การทำ� เครือ่ งดนตรี ชุดมโนราห์

148 หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

นายจำ� ลอง เมฆาวรรณ์ เกดิ เมื่อปี ๒๕๘๔ มีลูกทง้ั หมด ๘ คน ครจู �ำลองมีอาชีพทำ� เครอื่ งดนตรี
มาตั้งแต่เด็กๆโดยเร่ิมต้นการฝึกในโรงหนังมโนราห์ อาศัยความรักจากการท่ีอยู่กินนอนในโรงหนังมโนราห์ซึมซับ
การร�ำมโนราห์ ครูพักลักจ�ำหัดท�ำเคร่ืองดนตรีข้ึนเอง การซ่อมเครื่องดนตรี ลองผิดลองถูกคุณตาจ�ำลองท�ำ
เคร่ืองดนตรมี าตง้ั แต่อายปุ ระมาณ ๑๗-๑๘ ปี พรอ้ มเลน่ มโนราหด์ ว้ ย
ครจู ำ� ลอง ทำ� เครอื่ งดนตรที กุ ชนดิ ทเ่ี กย่ี วกบั อปุ กรณม์ โนราห์ ทบั กลอง โหมง่ แกระ ป่ี เครอ่ื งดนตรี
ต่าง ๆ ท�ำจากไม้ขนุน ไม้จ�ำปา ไม้รักเขา ส่วนหนังต้องใช้หนังค่าง หนังแพะ (เสียงจะทุ้ม) หนังกลองก็หามาจาก
โรงฆ่าสตั ว์ สมยั กอ่ นลงิ งคา่ งหาง่าย หนงั ของลิงค่างจึงนำ� มาใชเ้ ปน็ หนังกลอง แต่ปัจจบุ ันนิยมใช้ฟิลม์ เพราะหนงั สตั ว์
หายากและต้องฆ่าสัตว์ ตัวหน่ึงใช้ได้ ๕-๖ ปี ช่วงหนังหายาก ครูจ�ำลองดูกลองสากลว่าเค้าใช้อะไรท�ำหน้ากลอง
เหน็ กลองสากลใชฟ้ ลิ ม์ เลยประยกุ ตใ์ ชก้ บั โทนเปน็ ตน้ มา ซง่ึ ฟลิ ม์ จะใชไ้ ดน้ านกวา่ สว่ นไมข้ นนุ ซง่ึ หางา่ ยกวา่ สเี นอื้ ไมส้ วย
การรัดหนังกลองสมัยก่อนใช้หวาย แต่ในปัจจุบันใช้เอ็นรัดหนังกับหน้ากลอง ส่วนพวกโลหะที่ติดเครื่องดนตรี
จะส่ังซือ้ จากกรุงเทพ ครูจ�ำลองทำ� แต่พวกงานไม้ อปุ กรณต์ ่างๆดดั แปลงขน้ึ มาเอง เนอื่ งจากลูกเขยเปน็ ชา่ งอยแู่ ลว้
เมื่อมีเวลาว่างลูกเขยจะมาช่วยท�ำอุปกรณ์ เครื่องดนตรี เป็นการเรียนรู้ไปในตัว ตอนนี้คุณตาแก่มากแล้วไม่ได้เล่น
มโนราห์แลว้ ใหล้ ูกๆหลาน ๆเล่น
ช่างประเสริฐ นายประเสริฐ โสมนัส ลูกเขย กล่าวว่า ผมเห็นพ่อท�ำอุปกรณ์ดนตรีและส่วนตัว
กช็ อบงานไม้ งานชา่ งทกุ อยา่ งอยแู่ ลว้ เหน็ พอ่ ทำ� แลว้ ชอบ ซง่ึ ตอนนใี้ นจงั หวดั นครศรธรรมราชไมม่ ที ไ่ี หนทำ� เครอื่ งดนตรี
อีกแล้ว ส่วนมากตามโรงหนังตะลุงและโรงมโนราห์ คนท่ีมาซื้อส่วนใหญ่จะเป็นนักเรียน นักศึกษา โรงเรียนก็มาส่ัง
จากผม กลองโทนปกตริ าคาคูล่ ะ ๔๐๐๐ บาท กลองตวั ละ ๓๕๐๐ ราคาตามขนาดของกลอง โหม่งตัวละ ๖๐๐๐
นอกจากน้ี ช่างประเสริฐและลูกสาวครูเล็กยังท�ำชุดมโนราห์ เทริด งานลูกปัดมโนราห์ ซึ่งงานเหล่าน้ีเข้ามาเยอะ
จนทำ� ไม่ทัน

๒.๑.๓ นายจ�ำเนียร คำ� หวาน ภูมปิ ญั ญาหนงั ตะลุง
เกิดเม่ือวันท่ี ๒๓ มกราคม ๒๔๘๒ ณ บ้านหัวเกียน ต�ำบลท่าข้ึน อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นบุตรของนายร่าน (หนังร่าน) กับนางพูล ค�ำหวาน ปู่ชื่อ (หนังเร่ือย) บิดาและปู่
เป็นนายหนังตะลุง ท่ีมีช่ือเสียงในอดีต จึงกล่าวได้ว่าหนัง
จ�ำเนียร ค�ำหวาน เกิดในตระกูลของศิลปิน จึงมีวิญญาณ
ของศิลปินอยู่ในสายเลือด นายหนังจ�ำเนียร ค�ำหวาน
สมรสกับนางกิ้มแจ้ง มีบุตรธิดา ๙ คน ชายจ�ำนวน ๕ คน
หญงิ จำ� นวน ๔ คน ชวี ติ ครอบครวั หารายไดจ้ ากการประกอบ
อาชีพศิลปินมาเล้ียงครอบครัวและส่งบุตร ธิดาได้ศึกษา
และประกอบอาชีพท่ีม่ันคง นายจ�ำเนียร ค�ำหวาน จบการ
ศกึ ษาชนั้ ประถมปที ี่ ๔ จากโรงเรยี นวดั สโมสร ตำ� บลหวั ตะพาน
อ�ำเภอท่าศาลา และได้ศึกษาวิชาทางพระพุทธศาสนา
จบนกั ธรรมตรี ณ วดั ทา่ สงู อำ� เภอทา่ ศาลา ขณะบวชบรรพชา
อปุ สมบท เมื่อ อายุ ๒๐-๒๓ ได้ ๓ พรรษา
ความสามารถของนายหนังจ�ำเนียร
ค�ำหวาน เป็นศิลปิน ท้ังทางด้านมโนราห์ หนังตะลุง

รหสั วิชา หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 149

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

โดยเร่ิมหัดมโนราห์ และหนังตะลุงต้ังแต่วัยเด็ก เมื่อปี พุทธศักราช ๒๕๐๒ โดยมีคุณปู่ (หนังเร้ือย ค�ำหวาน)
และคุณพ่อเป็นผู้ฝกึ และถ่ายทอดวิชาความรูใ้ ห้ และเริ่มออกแข่งขนั .. เม่อื อายุ ๑๙ ปี นายหนังจำ� เนียร ไดเ้ ริ่มเปน็ ท่ี
รจู้ กั ของประชาชนโดยการเลน่ ประชนั กนั กบั หนงั ตะลงุ ในสมยั นน้ั และคอ่ ย ๆ มชี อ่ื เสยี งมาเรอื่ ย ๆ คแู่ ขง่ ในรนุ่ เดยี วกนั
เช่น นายหนังประยูรใหญ่ หนังแคล้วเสียงทอง หนังปรีชา และหนังบุญชุม ทางด้านการแสดงมโนราห์ เช่นกัน
ก็ไดป้ ระชนั แข่งขัน นายหนังจ�ำเนยี ร คำ� หวานไดถ้ ่ายทอดความรู้ มลี กู ศิษย์ ลกู หานบั เปน็ สิบ ๆ คณะ จนกลา่ วได้
วา่ การแสดงของทา่ นไดแ้ สดงความสามารถทัง้ ทางดา้ นศิลปะ การแสดงมโนราห์ และ การเล่นหนงั ตะลงุ ควบคูก่ นั
ตลอดมา การเล่นหนังตะลุงของนายหนังจำ� เนียร ค�ำหวานถอื ว่าเปน็ การแสดงชน้ั ครู ทีย่ ึดถอื เปน็ แบบฉบับไดท้ ้ังส้นิ
ตั้งแต่เครอ่ื งดนตรี เรื่องที่แสดง การด�ำเนินเรอื่ ง บทกลอน การลากรปู หรือเชิดรูป นำ�้ เสียง การวา่ บท การเจรจา
และมีการประสมกลมกลืน เป็นองค์ประกอบของหนังตะลุง ผลงานของท่านเป็นศิลปินนักแสดงที่น่าช่ืนชม
ของประชาชน มาเป็นเวลานานรวมกว่า ๔๐ ปี จนได้รับเกียรติคุณ เช่น รางวัลโล่ทองค�ำ จากการประชันโรง
กับหนังเคล้าน้อยและหนังปรีชา ณ สนามท่ีว่าการอ�ำเภอท่าศาลา รางวัลขันน้�ำพานรอง จากการประชันโรง
กับนายหนังปรีชา หนงั เคล้าน้อย หนงั ประยรู

๒.๒ ดา้ นคหกรรม

๒.๒.๑ นางผอ่ งศรี มะหมัด (ฉูดะ) ภมู ปิ ัญญา : การท�ำปลาร้าฝงั ดิน ต�ำบลกลาย
นางผอ่ งศรี มะหมดั (ฉดู ะ) เกดิ วนั ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๐๕ อายุ ๕๕ ปี บา้ นเลขที่ ๑๗๒/๒
หมู่ท่ี ๑๑ ต�ำบลกลาย อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ในสมัยโบราณ ปลาเป็นอาหารหลักอย่างหนึ่ง
ของคนไทย ซึง่ หาไดง้ า่ ยตามแม่นำ�้ ล�ำคลอง ทะเล

ดังนั้น ในวันท่ีจับปลาได้มาก ก็จะมีการแบ่งปันให้ญาติ หรือเพ่ือนบ้าน ได้รับประทานกัน
อยา่ งทว่ั ถงึ ตามนสิ ยั โอบออ้ มอารขี องคนไทยในสมยั กอ่ น สว่ นทเี่ หลอื จะเกบ็ รกั ษาไว้ โดยการหมกั เกลอื ทำ� เปน็ ปลารา้
ตากแดด หรือยา่ งรมควัน ส่วนผลไมอ้ าจนำ� มากวน ซึ่งเป็นการระเหยเอาน้�ำออก เพอ่ื ท�ำให้ผลไมน้ ้นั สามารถเกบ็ ไว้

150 หลักสูตรรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

ไดน้ าน อาจจะเตมิ นำ�้ ตาลดว้ ยหรอื ไมก่ ไ็ ด้ เพอื่ ใหร้ สชาตดิ ขี นึ้
ถึงแม้ว่าคนในสมัยก่อนจะไม่ทราบทฤษฎี หรือหลักการ
ในการถนอมรักษาผลิตผลการเกษตร ในด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี แต่กไ็ ด้มกี ารปฏบิ ตั ิตอ่ ๆ กันมาหลายช่วั อายุ
คน เปน็ วิธีงา่ ยๆ ไม่มกี รรมวิธยี ่งุ ยาก หรอื ซับซ้อน โดยอาศยั
ธรรมชาตเิ ปน็ สว่ นชว่ ยในการถนอมรกั ษา อาจจะมที งั้ การเกบ็
ในลักษณะสด และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใหม่
โดยท่ีคุณภาพเปล่ียนแปลงน้อยท่ีสุด และสามารถเก็บไว้
ไดน้ าน ซึง่ พอจะสรุปได้ดังนี้
นางผอ่ งศรี มะหมดั เปน็ เจา้ ของภมู ปิ ญั ญาการทำ� ปลารา้ ฝงั ดนิ ตง้ั บา้ นเรอื นอาศยั อยใู่ นตำ� บลกลาย
ซึ่งเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอพียง มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์มากมาย ปัจจุบัน
นางผ่องศรี มะหมัด ประกอบอาชีพชาวประมง นางผ่องศรี มะหมัด ได้มีการถ่ายทอดความรู้ในการท�ำปลาร้า
ให้นักศึกษา ชาวบ้าน การท�ำปลาร้าฝังดิน เป็นการรักษาคุณภาพปลาร้า ซ่ึงปลาร้าฝังดินเป็นปลาร้ามีรดชาติหอม
อร่อย สามารถเก็บไวไ้ ด้นานของชาวประมงในพน้ื ท่ตี ำ� บลกลาย
ข้ันตอนและกระบวนการในทำ� ปลาร้าฝงั ดนิ
ข้ันตอนที่ ๑ น�ำปลาสดๆ ได้แก่ ปลาจวด ปลาอินทรยี ์ ปลากุเลา ที่ข้นึ จากทะเลโดยไม่แช่น�ำ้ แขง็
มาขอดเกร็ดและล้างใหส้ ะอาดให้สะอาด จากการสอบถามภูมปิ ัญญา ปลาที่สดไมผ่ ่านการแช่นำ�้ แขง็ เมื่อเป็นปลารา้
แลว้ จะมคี วามหอม

รหสั วชิ า หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 151

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ข้ันตอนท่ี ๒ เมอื่ แชน่ �้ำเปลา่ ครบ ๖ ชัว่ โมงแลว้ นำ� ปลามาคลุกเคล้ากับเกลอื ผง และนำ� เกลือจกุ
เข้าไปในท้องปลาด้วยในปรมิ าณทพ่ี อเหมาะ

ข้นั ตอนท่ี ๓ น�ำปลาทหี่ ่อดว้ ยกระดาษซับมนั แล้ว ฝงั ทรายลงในบอ่ ซเี มนต์ แล้วกลบให้มิดชิดใช้
เวลาในการฝงั กลบ ๓ วัน

152 หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

ขั้นตอนที่ ๔ น�ำปลาท่ีหอ่ ด้วยกระดาษซับมนั แล้ว ฝงั ทรายลงในบอ่ ซเี มนต์ แลว้ กลบใหม้ ิดชิดใช้
เวลาในการฝังกลบ ๓ วนั
ขนั้ ตอนท่ี ๕ นำ� ปลารา้ ทฝ่ี งั กลบในดนิ ทรายขนึ้ มาลา้ งใหส้ ะอาด แลว้ ตากแดด ใหแ้ หง้ ใชเ้ วลาตาก
๒ วัน จงึ จะนำ� ปลารา้ มาทอดได้

๒.๒.๒ นางสาวลาวลั ย์ ปริงทอง ภูมิปญั ญา : นำ�้ มันมะพรา้ วสกดั เย็น
ชือ่ เล่น กะเมาะ เกดิ ๒๘ มกราคม ๒๕๐๕ อยบู่ า้ นเลขท่ี ๑๕๔ หมทู่ ี่ ๑๑ ต�ำบลกลาย
จังหวดั นครศรีธรรมราช เรียนร้วู ธิ กี ที่ �ำน้�ำมันมะพร้าวสกดั เย็น จากคณุ ครปู รารม มุสกิ อดีตครูโรงเรียนบ้านพงั ปรงิ
กะเมาะได้ไปช่วยคุณครูท�ำ ต้ังแต่คั้นมะพร้าว และช่วยตัก
น�้ำมันเม่ือน้�ำมันไช้ได้ เป็นวิชาความรู้ติดตัวมา ต้ังอายุ
ของกะเมาะ ๔๐ ปี และมาเรมิ่ ทำ� จรงิ จงั เปน็ อาชีพ เม่ืออายุ
๕๓ ปี โดยมคี ณะอาจารยจ์ าก มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณม์ าให้
ความรู้และเทคนิคการท�ำมะพร้าว เพราะรู้ว่าในชุมชนมี
มะพรา้ วเยอะ โดยมาสอนและนำ� เครอ่ื งมอื ปน้ั ทเ่ี ปน็ ขอ้ เหวยี่ ง
ใหน้ ำ้� กะทแิ ตกตวั โดยแยกนำ�้ กบั นำ�้ มนั ออกมา แตต่ อ้ งใชเ้ วลา
ในการน่ังเฝ้ามะพร้าว ใช้กระแสไฟฟ้า และเสียเวลามาก ๆ
กว่าท่ีเคยท�ำ เลยตัดสินใจไม่ใช้อุปกรณ์ชนิดดังกล่าวท่ี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ให้มา แต่กลบั มาทำ� โดยรูปแบบเดิม
กล่าว โดยมีบรษิ ัท เชพรอน สนับสนุนสง่ เสรมิ โดยสนับสนุน
ให้การอบรม โดยน�ำอาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎ
นครศรธี รรมราช มาชว่ ยสอนและเพ่ิมเติมให้ความรู้ และได้
รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน กศน. สนับสนุนส่งเสริมให้
ถา่ ยทอดความรกู้ ับเพอ่ื นบ้าน โดยนำ� มาเปน็ ภูมปิ ัญญา และ
สนับสนุนในการพาไปดูงานให้เกิดการเรียน สนับสนุนงบ
สถานท่ีท�ำการกลุ่มเป็นที่ฝึกประสบการณ์ช่างไฟฟ้าภายใน
บา้ น และชา่ งทาสี โดยใชท้ ท่ี ำ� การกลมุ่ เปน็ ทฝ่ี กึ ประสบการณ์
ให้กับผู้เรียน กลุ่มได้พัฒนาที่ท�ำการกลุ่ม และวิทยาลัย

รหัสวิชา หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 153

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

เทคนคิ สชิ ล สนบั สนนุ ครภุ ณั ฑ์ เชน่ โตะ๊ ชน้ั วางภาชนะและอปุ กรณ์ ทำ� ใหก้ ลมุ่ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ งานทเ่ี ขม้ แขง็ มากยง่ิ ขนึ้
กระบวนการทำ� ดงั น้ี การทำ� นำ�้ มนั สกดั เยน็ (นำ�้ มนั มะพรา้ วบรสิ ทุ ธ)ิ์ อปุ กรณแ์ ละวตั ถดุ บิ ประกอบดว้ ย ๑.ขวดโหลแกว้
หรอื ภาชนะอื่น ๆ ใชใ้ นการหมกั ๒. ผ้าขาวบางตาถี่ ๓. ผา้ พลาสติก ๔. กะละมงั ๕. เน้ือมะพรา้ วสดขูด ๑ กโิ ลกรัม
๖. น้�ำอนุ่ ๕๐ องศาเซลเซยี ส ๑ ลิตร ๗. ยางรดั หรือเชือก
วธิ ที ำ�
๑. นำ� เนอื้ มะพรา้ วขดู ใสก่ ะละมงั เตมิ นำ�้ อนุ่ อณุ หภมู ิ ๕๐ องศาเซลเซยี ส ในอตั ราสว่ นเนอ้ื มะพรา้ ว
ขดู ๑ สว่ นตอ่ นำ�้ อนุ่ ๑ ส่วน
๒. คัน้ น้ำ� กะทิในกะละมัง แลว้ ใช้ผา้ ขาวบางกรองเอากากมะพร้าวท้ิงไป
๓. น�ำน้�ำกะทิท่ีค้ันได้ ใส่ในขวดโหลหรือภาชนะอ่ืน ๆ ท่ีมีทรงสูง ให้น้�ำกะทิอยู่ห่างจาก
ปากขวดโหลอยา่ งนอ้ ย ๒ นวิ้ ปดิ ปากขวดโหลดว้ ยผา้ พลาสตกิ ใชห้ นงั ยางหรอื เชอื กรดั ใหแ้ นน่ ตง้ั ทง้ิ ไว้ ๓๖ - ๔๘ ชวั่ โมง
๔. จากนนั้ นำ้� มนั มะพรา้ วจะแยกตวั ออกจากนำ้� ลอยอยดู่ า้ นบนของภาชนะ ใชก้ ระบวยตกั นำ�้ มนั
ออกมาใส่ขวดโหลอีกใบ ตั้งท้งิ ไว้ ๒ - ๓ วัน ให้ตกตะกอน กรองดว้ ยผ้าขาวบางตาถี่ เอาแตน่ �้ำมันใส ๆ มาบรรจขุ วด
สีชา หรอื สเี ขยี ว สีน้ำ� เงิน ท่มี ีฝาปดิ สนิท
ข้อจำ� กดั
๑. คุณภาพของมะพร้าวท่ีใช้ในการท�ำต้องใช้มะพร้าวแก่จัดคาต้นหรือเม่ือไปซ้ือมะพร้าวขูด
ควรเลอื กมะพรา้ วใหแ้ ม่ค้าขดู ไม่ซื้อชนิดทีข่ ูดไวแ้ ลว้ เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ ไดม้ ะพรา้ วขดู ที่ใหม่จริง ๆ
๒. นำ�้ ทใ่ี ชค้ ัน้ กะทิไมค่ วรร้อนเกินกวา่ ๕๐ องศาเซลเซยี ส เพราะความรอ้ นจะเปล่ียนโครงสร้าง
และคุณสมบตั ขิ องนำ�้ มันใหเ้ ปลยี่ นแปลงไป
๓. ในการหมักควรจะหาปิดฝาให้แน่นหนา หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดแดดและไม่ควรหมัก
เกนิ ๒ วัน เพราะจะท�ำให้เกดิ กลิน่ เหม็นหนื
๔. มะพรา้ วขดู ๑ กโิ ลกรมั ใหน้ ำ�้ มนั ได้ ๑๕๐ กรมั หากตอ้ งการมากกวา่ นน้ั สามารถเพมิ่ ปรมิ าณ
มะพร้าวได้ตามความต้องการ
๕. ควรน�ำบรรจุใส่ขวดสีชา หลีกเลี่ยงแสงแดดและน�้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นสามารถเก็บไว้ใช้ได้
นานถึง ๒ ปี
๖. ไม่ควรตง้ั นำ้� มันไว้ในห้องครวั หรอื ที่อับชื้นเพราะเช้อื แบคทีเรียทำ� ให้น้�ำมันมีกลนิ่ หืนได้
๗. การด�ำเนินการทำ� น้�ำมันมะพรา้ วสกดั เย็น ไม่ควรด�ำเนินลงมือทำ� ในชว่ งฤดูฝน เพราะสภาพ
อากาศช้นื การแยกตวั ของชน้ั น�้ำมันกบั น้�ำจะไม่ไดผ้ ล
ปัจจุบันกะเมาะได้ศึกษาหาความรู้ ลองผิด ลองถูก เรียนรู้จากผู้รู้ สามารถผลิตสบู่ท่ีมีส่วนผสม
น้�ำมันสกัดเย็น การท�ำครีมบ�ำรุงผิวท่ีมีส่วนผสมน้�ำมันมะพร้าวสกัดเย็น ได้เกิดผลิตภัณฑ์เพ่ิมขึ้นให้กับกลุ่ม
โดยมีผลติ ภณั ฑข์ องกลมุ่ เพิ่มข้นึ

154 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

๒.๒.๓ นายยโุ สบ หลา้ เก ภูมิปัญญาบา้ น การทำ� นำ้� ตาลมะพรา้ ว : ตำ� บลโมคลาน
นายยุโสบ หล้าเก ชื่อเล่น : บังโสบ เกิดวันท่ี ๒ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘
จังหวดั นครศรีธรรมราช ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ : ๑๑๑ หมู่ที่ : ๑๑ ต�ำบล : โมคลาน อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวดั นครศรีธรรมราช รหสั ไปรษณยี ์ : ๘๐๑๖๐ โทรศพั ท์ : ๐๘๙-๖๕๒๔๕๒๖
นำ�้ ตาลมะพรา้ ว (นำ�้ ตาลปบ๊ี หรอื นำ�้ ตาลกอ้ น) ถอื เปน็ ผลติ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นทผ่ี ลติ โดยอาศยั
ภูมิปัญญาชาวบ้านมาเป็นเวลาช้านาน สามารถน�ำมาประกอบอาหารไทยได้ท้ังคาวและหวาน เป็นที่โปรดปราน
ของท้ังคนไทยและคนต่างชาติ อาหารท่ีท�ำจากน้�ำตาล
มะพร้าว เช่น แกงกะทิ หรือขนมหวานต่างๆ จะมีรสชาติ
หอม หวาน และมนั ตาลมะพรา้ วของแทท้ นี่ บั วนั เรมิ่ จะหาได้
ยากขนึ้ นายยโุ สบ หลา้ เก เป็นครอบครัวหนงึ่ ท่ีอยู่ตำ� บลโม
คลาน อ�ำเภอท่าศาลาได้อนุรักษ์และสืบทอดเจตนารม
ความรู้จากบิดา มารดา จนสู่รุ่นลูก เพ่ือไม่อาชีพดังกล่าว
สูญหาย จัดท�ำเป็นอาชีพรายได้ประจ�ำของครอบครัว และ
สอนลกู ใหท้ กุ คนไดเ้ รยี นรปู้ ระกอบอาชพี การทำ� ตาลมะพรา้ ว
ใหม้ ีรายไดเ้ ล้ียงครอบครวั ของตนเอง อกี ทัง้ เปน็ การอนรุ ักษ์
สบื ไวเ้ ป็นวัฒนธรรมภมู ปิ ญั ญาของท้องถน่ิ
ครอบครัวของนายยุโสบ หล้าเก
ได้ปลูกมะพร้าวในพ้ืนท่ีบริเวณรอบบ้านหลายไร่ ปลูกมา
ตั้งแต่รุ่นพ่อของนายยุโสบ ต่อมารุ่นนายยุโสบได้ดูแลเอาใจ
ใส่ การสานต่อปลูกซ่อมแซมต้นท่ีตายและมีการปลูกขยาย
จำ� นวนตน้ มะพรา้ วเพมิ่ ขน้ึ นายยโุ สบไดช้ ่วยพ่อแม่ไดเ้ รียนรู้
วธิ กี ารปาดนำ�้ หวานจากงวงมะพรา้ ว การปา่ ยปนื ตน้ มะพรา้ ว
ซ่งึ ต้องอาศัยความชำ� นาญ ความแข็งแรง และความพร้อมของร่างกาย และต้องมคี วามขยนั ความอดทนในการทำ�
ตื่นเช้ามาต้องสาละวนกับการข้ึนไป.ปาดน้�ำหวาน สายๆ ขึ้นไปเก็บน้�ำหวาน และปาดรอบใหม่ ท�ำวนเวียนอย่างนี้
ทุกวัน แสดงวา่ ได้น�ำ้ หวานมะพรา้ วเกบ็ ได้วนั ละสองรอบ ยกเว้นว่าวันใดฝนตกมากๆ ไม่สามารถขึ้นไปเกบ็ น�้ำหวาน
ได้ กจ็ ะหยุด เพราะจะเกิดความเสย่ี ง นายยุโสบ ไดด้ �ำรงต�ำแหน่งผูใ้ หญ่บ้านทำ� หน้าท่ผี ูใ้ หญบ่ า้ นจนปลดเกษียณอายุ
และขณะเดียวกันได้ท�ำอาชีพเสริมการท�ำน้�ำตาลจากมะพร้าวเลี้ยงจุลเจือครอบครัว ส่งให้ลูกได้เรียนจบการศึกษา
ระดับปริญญาตรี ปัจจุบันได้มอบความรู้ให้ลูกท�ำต่อรุ่นลูกซึ่งได้รับการศึกษาน�ำความรู้จากวิชาการท่ีร�่ำเรียนมาจาก
การการจบ ชา่ งยนต์ นำ� มาผลติ นวตั กรรมการโซมนำ้� ตาลดว้ ยเครอื่ งกลแทนการใชแ้ รงงานคน ซง่ึ ไดเ้ หน็ ความกา้ วหนา้
ดา้ นอาชีพจากรนุ่ สู่รนุ่ ได้เปน็ อย่างดี
การเขา้ มาบริเวณบ้านจะเหน็ ต้นมะพร้าวล�ำต้นโดนบากเปน็ ชว่ ง ๆ ถา้ ใครไม่สังเกต ก็จะไมร่ ู้
ว่าท�ำไมล�ำต้นมะพร้าวจึงเป็นเช่นนั้น ไม่ปกติเหมือนต้นมะพร้าวที่เราเห็นทั่วไป ได้รับค�ำตอบจากเจ้าของ ทราบว่า
เป็นการบาก “ถากล�ำตน้ ” ให้เป็นร่องลึกๆ เพ่อื ใหป้ นื ป่ายขึน้ ไปเอานำ�้ ตาลมะพร้าวไดส้ ะดวก ตอ้ งนำ� ขวดไปรองรบั
๒ ชว่ ง กลา่ วคอื ชว่ งเชา้ ทไี่ ปปาดนำ้� ตาลและนำ� ภาชนะไปรองรบั นำ้� หวานจากมะพรา้ ว และในขวดนนั้ มกั ใสไ่ มพ้ ะยอม
และหรือไมเ้ คียม เพอ่ื ปอ้ งกันการปดู เมอื่ น้ำ� หวานทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั อากาศ น�้ำหวานจากมะพร้าวจะมรี สชาติเปลยี่ นไป
และจะเปรี้ยว ชาวบ้านจงึ นยิ มใส่ไม้เคียมดังกล่าว และช่วงที่ไปเกบ็ น�้ำหวานก็นำ� ขวด หรือกระบอกไมใ้ ผ่ไปสลับสับ

รหสั วิชา หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศกึ ษา 155

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

เปลยี่ นเพอ่ื ไวร้ องรบั รอบตอ่ ไป เมอ่ื ชว่ งสายของแตล่ ะวนั จะขนึ้ ไปเกบ็ นำ�้ หวานจากมะพรา้ วลงมาเคยี้ วและตง้ั ไฟใหง้ วด
โดยใชเ้ วลานาน หลายชวั่ โมง การสงั เกตการณน์ ำ� มาผา่ นกระบวนการเคยี่ ว ใชเ้ วลา ๕ - ๖ ชวั่ โมง การสงั เกตวา่ นำ�้ ตาล
เคยี่ วไดพ้ อดี สงั เกตจากการปรมิ าณนำ้� หวานจะงวด ภาษาถนิ่ “นำ�้ ตาลเรมิ่ โพ”้ และสขี องนำ�้ หวานจะเปน็ สนี ำ้� ตาลเขม้
นายยุโสบ เล่าวา่ เพอ่ื ให้นำ�้ ตาลขึน้ รปู ไดง้ ่ายจะใชน้ ำ้� ตาลทรายผสมนดิ หน่อย แต่ถา้ ต้องการนำ�้ ตาลมะพรา้ วไม่เจือปน
ก็จะไม่ต้องใช้น้�ำตาลทรายผสมน�้ำตาลมะพร้าวที่ได้ที่มีเน้ือเหลวอ่อนตัว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า
เป็นหลัก
เวลาเคี่ยวน�้ำตาลจะเค่ียวน�้ำตาลกันตอนสาย ๆ เป็นต้นไป ผ้ึงจะไม่ค่อยมาท�ำความร�ำคาญ
หรือมาท�ำให้เกิดการปนเปื้อนได้ เวลาสาย ๆ และเที่ยง ๆ ผ้ึงจะกลับเข้ารังเพราะอากาศร้อนก็เป็นวิธีป้องกันด้วย
เทใส่ภาชนะ หรือหยอดใส่พิมพ์จนน้�ำตาลเย็น จึงเก็บใส่
หีบหอ่ เพอ่ื จำ� หนา่ ยต่อไป นำ้� ตาลสด ๗ ป๊ีบ จะเคี่ยว นำ้� ตาล
ได้ ๓๐ ก.ก. การตลาดไม่ตอ้ งกังวล ผลติ เท่าไหรข่ ายได้หมด
นอกจากตลาดในชุมชนแล้ว ยังส่งไปขายตลาดสดใน
กรุงเทพมหานครอีกด้วย เพราะปัจจุบันระบบการขนส่ง
กา้ วไกลไปไดท้ ุกท่ีทั่วไทย
อาชีพการท�ำน�้ำตาลจากมะพร้าว ซึ่งท�ำ
มาจากน้�ำหวานของต้นมะพร้าว เป็นวิถีชีวิตที่ทรงคุณค่า
เดก็ ยคุ ใหม่ ไมร่ ้ทู ่ีไปทม่ี า ว่าการไดม้ าอยา่ งไร การไดร้ ับรู้ถึง
กระบวนการ วธิ กี ารทำ� จะไดเ้ หน็ คณุ คา่ ของทเ่ี ราบรโิ ภคขนม
หวาน น�้ำตาลจากมะพร้าวเป็นส่วนหน่ึงท่ีเราบริโภคเข้าไป
จะได้คุณคา่ ของภูมปิ ญั ญา และสบื สานตอ่ ยอดใหเ้ กดิ อาชพี
และรายได้จากรุ่น สู่รุ่น และสิ่งท่ีน่าภาคภูมิใจที่เห็นได้ชัด
ลูกของนายยุโสบ ได้น�ำความรู้จากการเรียนวิชาช่างยนต์ใน
สถาบันการศึกษา น�ำมาย่อยอด การใช้มอเตอร์หมุนโซม
น�้ำตาลให้เย็นในเวลารวดเร็วและไม่ต้องใช้แรงคนอีก
เป็นสิ่งท่ีทุ่นแรง และการน�ำนวัตกรรมมาพัฒนาต่อยอด
สืบสานอาชีพของพอ่ ได้เปน็ อย่างดี

156 หลักสูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๒.๒.๔ นางอารี เชาวลิต ภมู ิปญั ญาการท�ำขนมไทย(ขนมเปยี กปนู ) :
นางอารี เชาวลิต ช่อื เลน่ : แดง เกิดวันที่ ๔ เดอื น เมษายน พ.ศ.๒๕๐๑ อายุ ๖๓ ปี
ทอี่ ยปู่ จั จบุ นั บา้ นเลขที่ : ๑๐ หมู่ท่ี : ๙ ตำ� บลไทยบุรี อำ� เภอท่าศาลา จังหวดั นครศรธี รรมราช
การท�ำขนมไทย (ขนมเปยี กปูน) ถอื เป็นผลิตภัณฑ์พ้ืนบ้านที่
ผลิตโดยอาศัยภูมิปญั ญาชาวบ้าน
มาเป็นเวลาช้านาน เป็นขนมหวาน เป็นที่โปรดปรานของ
ทง้ั คนไทย ขนมทที่ ำ� จากใบเตยหอม เชน่ หรอื ขนมหวานตา่ งๆ
จะมรี สชาติหอม หวาน และมนั องคค์ วามร้ทู ีไ่ ดศ้ กึ ษามานน้ั
จากบรรพบรุ ษุ ทส่ี บื ทอดกนั มาตงั้ แตป่ ยู่ า่ ตายาย จนถงึ พอ่ แม่
และประสบการณ์ของตัวเอง ท่ีท�ำกันในครอบครัวจนถึง
ปจั จบุ นั ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ - การทำ� ขนมไทย (ขนมเปยี กปนู )
การยึดอาชีพของนางอารี เชาวลิตสามารถเลี้ยง
ครอบครัวจากการท�ำขนมไทย(ขนมเปียกปูน) ถือเป็น
ผลติ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นทผ่ี ลติ โดยอาศยั ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นมาเปน็
เวลาช้านาน ไทยได้ท�ำขนมหวาน เป็นท่ีโปรดปรานของ
ทั้งคนไทยและคนต่างชาติ อาหารท่ีท�ำจากใบเตยหอม เช่น
หรือขนมหวานต่าง ๆ จะมีรสชาติหอม หวานและมัน
การอนุรักษ์และสืบทอดเจตนารมณ์ความรู้จากบิดา มารดา
จากรนุ่ สรู่ ุ่น ถ้าไม่มสี บื ทอดต่อ อาชีพดงั กล่าวสูญหาย จัดทำ�
ขนมเป็นอาชีพรายได้ประจ�ำของครอบครัว และสอนลูกให้
ทุกคนได้เรียนรู้ประกอบอาชีพการท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) ให้มีรายได้เล้ียงครอบครัวของตนเอง อีกท้ัง
เปน็ การอนุรักษส์ ืบไว้เป็นวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาของทอ้ งถน่ิ สตู รทีใ่ ช้ มะพร้าว ใบเตยหอม แปง้ ขา้ วเจา้ เกลือ น้ำ� ตาล
ในสดั ส่วนโดยวธิ ีการ น�ำแปง้ ข้าวจา้ วจำ� นวน ๑ กิโลกรมั น้�ำตาลทรายขาวจ�ำนวน ๓ กิโลกรัม เกลอื ผงประมาณครึ่ง
ช้อนกาแฟผสมน้�ำประมาณ ๑ ลิตร บดเตยหอมให้ละเอียดกรองกับผ้าขาวน�ำส่วนผสมท้ังหมดกวนให้เข้ากัน
ในการกวนตอ้ งใชเ้ วลา ๓ ชวั่ โมงการกวนตอ้ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั เมอ่ื ครบจำ� นวน ๓ ชวั่ โมงใหย้ กลงจากเตาและใสถ่ าด
การท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) การดูแลควบคุมการป้องกันความสกปรกและปนเปื้อนในการท�ำขนมไทย

รหัสวชิ า หลักสูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 157

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

(ขนมเปยี กปนู ) ไดแ้ ก่ ๑. การทำ� ความสะอาดรอบ ๆ เตาและทำ� ความสะอาดอปุ กรณท์ กุ อยา่ งทกุ วนั ไมใ่ หม้ ฝี นุ่ ละออง
ในขณะ การทำ� ขนมไทย (ขนมเปียกปนู ) ๒. การกองฟืนส�ำหรบั การท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) ปลอดสารปนเปื้อน
ต้องกองฟนื ให้เป็นระเบยี บไม่กองเกะกะและมฝี ่นุ ละออง และไม่ใชเ้ ชอ้ื เพลิงที่มกี ลิน่ เหม็น เช่น ยางรถยนต์ หรือวสั ดุ
ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ฝนุ่ ละออง ๓. อปุ กรณก์ ระชอนกรองใบเตยหอม ผา้ ทมี่ สี ขี าวมาก ๆ ตอ้ งซกั ใหส้ ะอาดและตากใหแ้ หง้ สนทิ
อย่าให้มีฝุ่นหรือราข้ึน ภาชนะในการท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) ต้องล้างหรือต้มน�้ำฆ่าเช้ือให้สะอาดก่อนน�ำมาใช้
ทุกคร้ัง เทคนิคการท�ำขนมไทย (ขนมเปียกปูน) การก่อไฟให้ไฟพอเหมาะกับการกวนขนมไทย (ขนมเปียกปูน)
เพราะถา้ ไฟมากขนมเปยี กปนู จะเปลย่ี นสเี ปน็ สนี ำ้� ตาลและการกวนจอ้ งไปในทศิ ทางเดยี วกนั ขนมเปยี กปนู จะมคี วาม
เหนยี วมากขนึ้ การพฒั นาของการทำ� ขนมไทย (ขนมเปยี กปนู ) นน้ั ไดพ้ ฒั นามาขนึ้ เรอื่ ย ๆ จากสมยั กอ่ นบรรจลุ งภาชนะ
เปน็ ถาด แต่ปจั จบุ ันได้มกี ารบรรจุผลิตภณั ฑ์ ได้หลายรปู แบบ เช่น บรรจเุ ป็นกล่อง เป็นถงุ และขวด
ขนมอร่อยในแต่ละครง้ั นางอารี เชาวลติ กล่าววา่ ของทุกอย่างตอ้ งใหม่ สด เพ่ือจะได้ถงึ ผ้บู ริโภค
ได้อย่างอรอ่ ย และน่ีคืออาชีพท่ไี มค่ วรมองขา้ ม เป็นขนมพนื้ บ้านของคนไทย ทท่ี รงคุณค่า และควรจะอนรุ กั ษไ์ วใ้ ห้
ลูกหลาน เยาวชนได้เรียนรู้ และเข้าใจวิธีการ กระบวนการท�ำอย่าง รู้สึกที่เป็นส่วนหนึ่งในการสืบสานต่อยอด
และพฒั นาใหค้ งอย่ใู นสงั คมไทย

๒.๒.๕ นายหนพู ัน สังวาลย์ การท�ำขนมกะละแม “ยาขนมบา้ นคลองดิน”
นายหนูพัน สงั วาลย์ เกดิ วนั ที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๔๙๔ อายุ ๖๘ ปี อยบู่ ้านเลขที่ ๔๖/๑
หมูท่ ่ี ๑ ตำ� บลหวั ตะพาน อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราช ๘๐๑๖๐ โทรศพั ท์ ๐๖๑-๓๗๘๐๙๒๙ กะละแม
บ้านคลองดิน ชุมชนหลังมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อ�ำเภอท่าศาลา ขนมพื้นบ้านตามวิถีชีวิตของคนเมืองคอน
ในอดีต เมื่อมีเทศกาลงานบวช งานแต่ง งานบุญ
งานขนึ้ บา้ นใหม่ มกั นยิ มทำ� กะละแมไวร้ บั แขกเมอื่ มารว่ มงาน
การท�ำยาขนมบ้านคลองดิน
“ขนมกะละแม” ในอดีตทุกครอบครัวนิยมท�ำกันทุกบ้าน
แตป่ จั จบุ นั นอ้ ยนกั ทจี่ ะเหน็ เพราะ คนปจั จบุ นั นยิ มขนมเบอร์
เกอรร์ ่ี ขนมไทยชนดิ อ่นื ๆ เชน่ ขนมเม็ดขนุน ขนมสงั หยา
ที่ท�ำง่ายกว่าไม่ยุ่งยากในการท�ำ ท�ำให้สังคมบ้านเราขณะน้ี

158 หลักสตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ไม่นิยมท�ำกัน ยังมีครอบครัวของคุณหนูพัน สังวาลย์ ครอบครัวเดียวในละแวกชุมชนน้ี ท่ียังคงสืบสานอนุรักษ์
ในการกวนขนมกะละแม “ยาขนม” แตจ่ ะกวนกต็ อ่ เมอ่ื มยี อดสง่ั ซอื้ ลว่ งหนา้ จะไมก่ วนตง้ั ไว้ เพราะขนมมอี ายใุ นการจดั
เกบ็ รักษา กระบวนการทำ� ขนมกะละแม ใช้เวลาประมาณ ๑๐- ๑๒ ชวั่ โมง โดยวนั แรกของการท�ำคือ การเคีย้ วน้�ำ
กระทำ� ใหแ้ ตกเปน็ มนั ใชเ้ วลา ๖ ชว่ั โมง แลว้ ตง้ั ไวใ้ หเ้ ยน็ แลว้ ตกั นำ�้ มนั จากการเคย้ี วนำ้� กระทิ เกบ็ ไวป้ ระมาณ ๑ กโิ ลกรมั
นำ�้ มนั ทเ่ี คยี่ วทเ่ี หลอื ในกระทะเตมิ นำ�้ ตาลลงไปเพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หน้ ำ�้ กะททิ แี่ ตกมนั จะเสยี งา่ ย “ขม้ี นั บดู ” เพอ่ื นำ� ไปผสม
กับสว่ นของแปง้ ทีจ่ ะนำ� มากมากวนในวันร่งุ ข้นึ วนั ทสี่ องบดแป้งข้าวเหนยี ว และน�ำมากวนกบั น้�ำมันท่ผี สมข้ีมนั ออก
สีน้�ำตาลนวล น�ำมากวนในส่วนผสมลงในกระทะ เค้ียวจนงวดขณะท่ีเค้ียวก็คนไม่ให้แป้งของขนมติดก้นกระทะ
ใชเ้ วลา ๕ ชว่ั โมง ขนมเรมิ่ หนืด กวนตอ้ งใชแ้ รงเยอะ ๆ เริ่มเหนยี วกวนไมไ่ หว ก็จะเติมน�้ำมนั มะพรา้ วท่ตี กั เก็บไวเ้ มือ่
วานนำ� มาใช้ นำ�้ มนั มะพรา้ วทเี่ คย่ี วนไี้ ปหยอดไปในกระทะขณะนกี้ วนจนกวา่ ขนมจะงวดไดท้ ่ี รสชาตอิ รอ่ ย หอม หวาน
นมิ่ ๆ และซอ่ นความเหนียว อร่อยจนอยากจะชมิ อกี รอบ
สูตรน้�ำตาลมะพร้าว ๖ กิโลกรัม น้�ำตาลทราย ๒ กิโลกรัม ข้าวเหนียว ๓ กิโลกรัม
มะพรา้ ว ๒๕ กโิ ลกรัม เกลือ ๑ ชอ้ นโตะ๊ แปง้ ขา้ วจา้ ว ๓ ชอ้ นโตะ๊

รหัสวิชา หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 159

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๒.๓ ดา้ นหัตถกรรม

๒.๓.๑ นางจ�ำเป็น รักษ์เมือง : หัตถกรรมพื้นบ้าน เคร่อื งปั้นดินเผาบ้านมะยงิ
นางจ�ำเป็น รักษ์เมือง ประธานกลุ่มเครื่องปั้นดินเผากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านมะยิง
หมู่ที่ ๖ ต�ำบลโพธ์ิทอง อ�ำเภอท่าศาลา เล่าให้ฟังว่า อาชีพท�ำเคร่ืองปั้นดินเผาในชุมชนท�ำกันมาโบราณนานมาก
สบื ทอดกนั มาประมาณ ๑๐๐ ปี สมยั กอ่ นทำ� เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา
พ้ืนเมืองแบบโบราณ จะปั้นหม้อยาส่วนใหญ่ สมัยพ่อแม่
คนรุ่นเดิม ๆ จะท�ำกันเป็นระบบครอบครัวจากเดิมท�ำกัน
แค่ ๑ - ๒ ครอบครวั ปัจจบุ ันเปน็ กลมุ่ ๑๐ กวา่ ครัวเรือน
สมัยก่อนดินท่ีในหมู่บ้าน ดินดีเป็นดินเหนียวอยู่ในทุ่งเค็ม
ในทงุ่ นาบ้านมะยงิ
นางจำ� เป็น รักษเ์ มืองหรือยายเอยี ด
เป็นอีกคนหนึ่งคนที่มีความภาคภูมิใจมากที่เอา โคมไฟ
เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาทท่ี ำ� กบั มอื สง่ เขา้ ประกวดและกไ็ ดร้ บั รางวลั
สนิ คา้ โอทอ็ ป ชนะเลศิ ๔ ดาว สรา้ งความภมู ใิ จใหต้ วั เองและ
ให้ชุมชน ได้เล่าถึงอาชีพนี้ว่า “รู้สึกดีใจท่ีได้รักษาอาชีพ
เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาตอ่ จากพอ่ แม่ ทที่ ำ� มาเพราะใจรกั มคี วามสขุ
สรา้ งรายไดเ้ ลีย้ งลูกถึง ๖ คน ได้จนถึงปัจจุบนั กอ่ นทจ่ี ะคิด
รวมกลุ่มมีปัญหาเรื่องของการท�ำเครื่องปั้นดินเผา แต่ก่อน
ต่างคนต่างครอบครัวก็ท�ำกันมา แล้วก็ขายแข่งกันแล้ว
มีการขายตัดราคา ช่วงน้ันมีปัญหาขายไม่ได้ เลยมาคิดรวม
กลุ่มกันแล้วก็มีการพูดคุยกันในการตกลงเราจะขายสินค้า
ราคาเหมือนกัน หลังจากจัดต้ังกลุ่ม เคร่ืองปั้นดินเผากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านมะยิง ขึ้นเมื่อปี ๒๕๔๑ ก็รวมตัว
ท�ำกันมา ตอนน้ันสินค้าที่ท�ำก็มีคนสนใจ ขายดีเพราะตอนนั้นอยู่ในช่วงเศรษฐกิจดี ราคายางก็ดีด้วย ขายดินเผา
ได้วันละ ๔๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท สร้างรายได้ให้กับกลุ่มอย่างมาก พอถึงส้ินปีก็ปันผลก�ำไรหลังจากหักค่าใช้จ่าย
ด�ำเนินการออกไป จงึ ปนั ผลเป็นส่ิงของใช้ให้สมาชกิ ท�ำสวัสดิการเจ็บป่วยรกั ษาพยาบาลด้วย จากน้นั ได้มีหนว่ ยงาน
กศน.ต�ำบลโพธ์ทิ องอำ� เภอท่าศาลา และหนว่ ยงานอื่น ๆ ของทางราชการมาท่ีกลมุ่ และแนะน�ำสนบั สนนุ ให้ยกระดับ
งานฝมี ือข้นึ มา ทางกล่มุ เองก็ไปอบรมศึกษาความรูเ้ พ่ิมเตมิ แล้วน�ำมาพัฒนางานเครอ่ื งปัน้ ดินเผา”
หัตถกรรมท่ีอยู่คู่กับชุมชนในนครศรีธรรมราชเป็นเวลาหลายร้อยปีแหล่งส�ำคัญที่มีการผลิตมา
ต้ังแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบันคือ ท่ีบ้านปากพะยิงในอ�ำเภอท่าศาลา อยู่ห่างจากชุมชนโบราณ วัดโมคลาน
ทางทิศเหนือราว ๑๐๐ เมตร มีล�ำน�้ำสายหน่ึงช่ือ “คลองโต๊ะแน็ง” หรือ “คลองควาย” หรือ “คลองโมคลาน”
ห่างจากคลองโต๊ะแน็งมาทางเหนือราว ๑ กิโลเมตร มีล�ำน้�ำอีกสายหน่ึงชื่อ “คลองชุมขลิง” (หรือ “คลองยิง”
หรือ “คลองมะยิง” คลองท้ังสองน้ีไหลผ่านสันทรายอันเป็นที่ต้ังของชุมชนโบราณโมคลานไปลงทะเลอ่าวไทย
ทางทศิ ตะวันออก ระหว่างคลองทัง้ ๒ สายน้ี เป็นบรเิ วณทชี่ มุ ชนแห่งนท้ี ำ� เคร่ืองปั้นดนิ เผามาแตโ่ บราณ และมกั จะ
เรยี กกนั วา่ “แหลง่ ทำ� เครอื่ งปน้ั ดนิ เผาโมคลาน” หรอื “แหลง่ ทำ� เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาบา้ นยงิ ” อยใู่ นหมทู่ ่ี ๙ ตำ� บลหวั ตะพาน
และหมู่ที่ ๑๐ และหมู่ที่ ๑๑ ต�ำบลโมคลาน อ�ำเภอท่าศาลา เนื้อที่ที่ใช้เพื่อการน้ีทั้งท่ีเคยใช้มาแล้วแต่โบราณ
และก�ำลังท�ำต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันน้ีประมาณ ๓๐ - ๔๐ ไร่ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ ศูนย์วัฒนธรรมภาคใต้

160 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

สถาบนั ราชภฏั นครศรธี รรมราช โดยอาจารยช์ วน เพชรแกว้ และคณะ ไดเ้ รม่ิ เขา้ ไปดกู ารทำ� ภาชนะดนิ เผาทบ่ี า้ นมะยงิ
พบว่า บริเวณน้ีเต็มไปด้วยเนินดินขนาดใหญ่ท่ีทับถมด้วยเศษภาชนะดินเผา ชาวบ้านเคยขุดดินบนเนินเพ่ือขยาย
เตาเผาออกไปอีก พบว่าเศษภาชนะดินเผาที่ทับถมกันอยู่ลึกมาก และได้พบเศษดินเผารุ่นเก่าเป็นดินเผาเนื้อแกร่ง
เป็นจ�ำนวนมาก ลายบนภาชนะดนิ เผาท่ีพบมหี ลายลาย เชน่ ขุดร่องแถวนอก ประสมดว้ ยลายจุดประ ลายประทบั
เปน็ รปู อกั ษรเอส (S) และลายประทบั รปู ตน้ ไมท้ ม่ี ยี อดคลา้ ยหวั ลกู ศร เปน็ ตน้ ลายประทบั หลากลายทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ย
กับลายภาชนะดินเผาแบบทราวดีที่ได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีท่ีแหล่งโบราณคดีบ้านคูเมือง อ�ำเภอสิงห์บุรี
จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ชุมชนในบริเวณแห่งน้ี ได้มีการท�ำเคร่ืองปั้นดินเผามาต้ังแต่โบราณกาล
ส�ำหรับเครื่องปั้นดินเผาที่บ้านมะยิงแห่งน้ี เกิดในยุคสมัยใดไม่มีข้อมูลที่แน่ชัด มีแต่ค�ำบอกกล่าวต่อ ๆ กันมาว่า
ในสมัยก่อนรัตนโกสินทร์ หมู่บ้านแห่งน้ีเป็นท่ีเลี้ยงม้าของท่านขุนคนหนึ่ง เพราะหมู่บ้านแห่งน้ีเป็นหมู่บ้าน
ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์มีน�้ำล้อมรอบ มีทุ่งกว้างทางตะวันตก และหมู่บ้านแห่งน้ี เป็นหมู่บ้านที่เล้ียงม้าที่ย่ิงใหญ่มาก
คนเลยเรียกว่า บา้ นม้าย่ิง ต่อมาหมู่บ้านนไ้ี ดเ้ กิดโรคระบาดท�ำใหม้ คี นล้มตายและทเ่ี หลืออพยพหนีออกจากหมบู่ า้ น
ไปเกอื บหมด ตอ่ มาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๒๕ ชาวบา้ นมะยิงในตอนนั้นมีคนอาศยั ไม่กีค่ รอบครวั
และหน่ึงในจ�ำนวนนี้ คือ ครอบครัวของนางดว้ ง – นางนาค ก็ท�ำเครื่องปั้นดนิ เผา จ�ำพวกหมอ้ หงุ ข้าว หม้อต้มยา
ท�ำใหค้ รอบครวั นีผ้ ลติ หมอ้ เพ่มิ ข้ึนและมีความเป็นอย่มู ด่ี ขี ้ึน นกั ปน้ั หม้อ นักปน้ั หมอ้ ทบี่ ้านมะยงิ มที ้ังผทู้ ่ดี �ำเนนิ การ
ผลิตโดยสืบทอดมาจากบรรพบุรุษหลายช่ัวคน สามารถบอกเล่าถึงเทคนิคด้ังเดิม ท่ีปัจจุบันสูญหายไปได้
และผ้ทู ่เี พิ่งเขา้ มาดำ� เนนิ การผลิตท่นี �ำเทคนคิ จากภายนอกเข้ามาประยุกต์ใช้ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี
๑. นางเกยูร ชลายนต์นาวิน (ปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว) บ้านเลขที่ ๙๕ หมู่ท่ี ๖ บ้านมะยิง
ตำ� บลโพธทิ์ อง อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช อายุ ๖๐ ปี เรยี นรกู้ ารปน้ั หมอ้ จากมารดาและบดิ า มารดา ชอื่
นางเลียบ บัวแกว้ เปน็ ชาวบา้ นมะยงิ บดิ าเปน็ ชาวมอญ ช่ือนายเหลียน มาจากปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี รู้วธิ กี ารป้ัน
หมอ้ แบบมอญ และนำ� เทคนคิ การเผาและสร้างเตาระบายความร้อนแนวเฉียง (เตานอน) แบบมอญมาปรับใช้แทน
เตาเผาแบบเดิม ซึ่งเป็นเตาแบบระบายความร้อนแนวต้ัง (เตายืนเตากลม) ซึ่งเตานี่พัฒนามาจาการขุดจอมปลวก
เข้าไป เพ่ือใช้เป็นเตา (เตาปลวก)
๒. นางสุดา บญุ สิน ต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช มาตัง้ เตาเผาเครอ่ื งป้ันดินเผา
ริมถนนสาย ท่าศาลา–นครศรีธรรมราช โดยเรียนรู้เทคโนโลยีการท�ำหม้อจากบรรพบุรุษ และกลุ่มนักปั้นหม้อ
ทบ่ี ้านมะยิง โดยจ้างชา่ งสร้างเตาเผา (บาท ๑ ช่างสร้างเตาเผามาจากจังหวัดราชบุรีชอ่ื นายเจริญคา่ จ้างสรา้ งเตาเผา
แบบเตา ๐๐๐๑ นอน
๓. ครอบครัวนางจำ� เป็น รกั เมือง ต้ังอยบู่ ้านเลขท่ี ๑๘ หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลโพธิท์ อง อ�ำเภอท่าศาลา
จงั หวดั นครศรธี รรมราช ปจั จบุ นั มลี กู หลานสบื ทอดกจิ กรรมของครอบครวั และยงั ผลติ เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาเพอื่ จำ� หนา่ ย
ในการเลยี้ งครอบครัว ลายบนภาชนะดนิ เผาทพ่ี บมี ลายขูดรอ่ งแถวนอกประสมด้วยลายจุดประ ลายประทบั เปน็ รปู
อกั ษรเอส (s) ลายประทับรปู ตน้ ไม้ทมี่ ยี อดคล้ายหัวลกู ศร ลายประทับหลายลายที่มีลกั ษณะคล้ายกับลายภาชนะดนิ
เผาแบบทวารวดีท่ีได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีท่ีแหล่งโบราณคดีบ้านคูเมือง อ�ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
เมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๔ ศนู ย์วฒั นธรรมภาคใต้ สถาบนั ราชภัฎนครศรีธรรมราช ไดเ้ ข้าไปส�ำรวจจ�ำนวนผ้ทู ี่ยังคงทำ� ภาชนะ
ดินเผาอยู่ ณ แหลง่ โบราณคดแี หง่ นี้ ปรากฎผลว่ามีผ้ทู ่ียงั คงทำ� ภาชนะดินเผาอยู่จ�ำนวน ๑๓ ราย คือ อยใู่ นหมทู่ ี่ ๙
ตำ� บลหวั ตะพาน ๙ ราย และหมูท่ ี่ ๑๑ ต�ำบลโมคลาน ๓ ราย
นายจ่าง สุวพันธ์ อดีตครูใหญ่โรงเรียนวันสระประดิษฐาราม หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลหัวตะพาน
อ�ำเภอทา่ ศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช กลา่ ววา่ เมอ่ื ตนได้เข้ามาในชุมชนนีใ้ นปี พ.ศ. ๒๔๗๗ มผี ทู้ �ำภาชนะดนิ เผา

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 161

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

ราว ๒๐ ครัวเรือน และสอบถามผู้เฒ่าในขณะน้ันดูได้ความว่าท�ำมานาน และท�ำต่อเนื่องกันมาโดยตลอด ดังท่ีได้
ปรากฏเนนิ ดนิ และเตาเผาทม่ี เี ศษภาชนะดนิ เผาทบั ถมกนั อยนู่ นั้ ในขณะนนั้ นยิ มทำ� เตาเผาโดยการขดุ เนนิ จอมปลวก
ให้เป็นโพรงภายในโพรงนั้น จะมีลักษณะเป็นห้องหรืออุโมงค์ส�ำหรับวางภาชนะในขณะที่เผาส่วนยอดจอมปลวก
ก็ตัดให้เปน็ ช่องขนาดใหญ่ เตาชนิดนีด้ า้ นขา้ งถกู เจาะเป็นท่ีสมุ ไฟ และดา้ นบนเป็นชอ่ งระบายความร้อนและล�ำเลยี ง
ภาชนะขึ้นลงเมื่อจะน�ำเข้าและออกจากเตาเผาคร้ังหนึ่ง ๆ ถ้าภาชนะที่เผามีขนาดไม่โตนัก เช่น หม้อขนาดเส้น
ผ่านศนู ย์กลางราว ๖ นิ้ว จะไดร้ าว ๒๐๐ ใบ เตาเผาแบบนีน้ บั วา่ เปน็ เตาเผาท่ที �ำอยา่ งง่าย ๆ และเป็นที่สืบทอดกัน
มาแตต่ ง้ั เดมิ และยงั ทำ� ตอ่ มาจนบดั นโ้ี ดยมไิ ดเ้ ปลย่ี นแปลงแตอ่ ยา่ งใดเลย เรยี กวา่ “เตาหลมุ ” อนั เปน็ เตาแบบดงั้ เดมิ
แบบหนึ่ง และเป็นต้นแบบของเตาเผาแบบระบายความร้อนขึ้น เนื่องจากช่องระบายความร้อนกว้างมาก
เม่ือเผาภาชนะจึงต้องใช้เศษภาชนะดินเผาที่แตก ๆ วางซ้อน กันขึ้นไปบนภาชนะท่ีจะเผาอีกทีหน่ึง เพ่ือช่วยรักษา
ความร้อนมิให้พุ่งออกไปทางด้านบนของเตาเร็วเกินไป เตาแบบนี้ให้ความร้อนไม่สูงพอและควบคุมอุณหภูมิไม่ได้
ดังนั้นจึงไม่สามารถท�ำภาชนะดินเผาแบบเคลือบได้ นายจ่าง สุวพันธ์ ได้เคยทดลองท�ำภาชนะดินเผาเคลือบ
โดยใชเ้ ตาเผาแบบนี้แล้วแตไ่ ม่ประสบความสำ� เร็จ
การศกึ ษาจากผมู้ ปี ระสบการณใ์ นการทำ� ภาชนะดนิ เผาในอดตี และปจั จบุ นั ในชมุ ชนโบราณแหง่ น้ี
ท�ำให้ทราบว่ากรรมวิธีในการผลิตภาชนะดินเผา ณ ชุมชน โบราณแห่งน้ีในปัจจุบันไม่แตกต่างไปจากที่เคยท�ำมา
เม่อื สมยั โบราณเลย โดยมขี นั้ ตอนการผลิต ดงั น้ี
วตั ถุดิบ ประกอบดว้ ย ๑. ดิน ๒. ทราย ๓. นำ�้
อุปกรณ์ ประกอบดว้ ย ๑. เสียบหรอื จอมด้ามสนั้ ๒. ถังน�ำ้ ๓. เคร่ืองคลมุ ดนิ ๔. ลานหรอื หลมุ
๕. เครือ่ งโม่ ๖. กระดานรองนวด ๗. เคร่ืองช่ังนำ�้ หนกั ๘. กระดานส�ำหรับรองแท่นดิน ๙. ไม้ตีลาย ๑๐. ลกู ถอื

ขน้ั ตอนการผลติ มี ๔ ข้ันตอน ดงั น้ี คือ
๑. การเตรียมดิน ๒. การป้นั ขึน้ รปู ๓. การตกแตง่ ๔. การเผา

วิธที ำ�
๑. น�ำดินเหนียวมาจากบริเวณที่ราบลุ่มต�่ำเรียกว่า “ทุ่งน้�ำเค็ม” ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออก
ของบา้ นมะยงิ มายงั บรเิ วณทต่ี ง้ั เผาบนสนั ทราย เอาดนิ เหนยี วทไี่ ดม้ า ซง่ึ มคี วามชนื้ พอเหมาะทจี่ ะทำ� ภาชนะดนิ เผาได้
ก็จะพรมน�้ำเอาผ้าคลุมแล้วเก็บไว้ แต่หากดินเปียกเกินไปต้องวางให้หมาดเสียก่อน เอาดินท่ีเตรียมไว้มาสับเป็นช้ิน
ด้วยไม้ไผ่บาง ๆ ซ่ึงเรยี กว่า “ไม้ไผฉ่ าก” เพ่ือให้เนอื้ ดินเข้าเปน็ เนอื้ เดยี วกนั
๒. น�ำดินที่สับเป็นเน้ือเดียวกันดีแล้วน้ัน มาคลุกผสมด้วยทรายละเอียด ใช้เท้านวดย่�ำ
และคลกุ เคลา้ ด้วยมอื ใหเ้ นอื้ ดินกับทรายเขา้ เป็นเนื้อเดียวกนั แล้วเอาผ้าคลุมไว้ เป็นทีน่ ่าสังเกตว่าการท�ำภาชนะทน่ี ี่
ไมไ่ ด้มีแกลบขา้ วเปน็ สว่ นผสม (โดยปกตกิ ารท�ำภาชนะดินเผาในที่อนื่ ๆ มกั จะใชแ้ กลบขา้ วหรือผงเชือ้ คอื ดินผสม
แกลบเผาแลว้ ตำ� ปน่ ละเอยี ดมาผสมกบั ดนิ เหนยี วทจี่ ะใชท้ ำ� ภาชนะดนิ เผา และการใชแ้ กลบเปน็ สว่ นผสมนม้ี มี าตงั้ แต่
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในยุคหินกลางประมาณ ๙,๐๐๐ ปีมาแล้ว อย่างท่ีถ้�ำผี จังหวัดแม่ฮ่องสอนส่วนท่ีแหล่ง
โบราณคดโี นนนกทา จงั หวดั ขอนแกน่ และทแี่ หลง่ โบราณคดบี า้ นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธานี จากการวเิ คราะหเ์ ศษภาชนะ
ดินเผาก็พบว่ามีการใช้แกลบข้าวเช่นน้ี และใช้ต่อมาจนปัจจุบันนี้ท่ีบ้านค�ำอ้อ ซ่ึงอยู่ไม่ห่างไปจากแหล่งโบราณคดี
บา้ นเชยี ง นกั โบราณคดบี างทา่ นจงึ ตง้ั ขอ้ สงั เกตวา่ การทำ� ภาชนะดนิ เผาทบ่ี า้ นคำ� ออ้ นา่ จะทำ� ตอ่ เนอ่ื งมาจากวฒั นธรรม
บา้ นเชียง)

162 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๓. นำ� ดนิ ทเ่ี ตรยี มไวแ้ ลว้ มาขนึ้ รปู โดยใชแ้ ปน้ หมนุ แปน้ หมนุ ทใี่ ชใ้ นแหลง่ นม้ี ที งั้ แปน้ หมนุ ชนิ้ เดยี ว
(ซง่ึ พบวา่ แปน้ หมนุ ลกั ษณะนเี้ รมิ่ มกี ารใชค้ รง้ั แรกทเี่ มอื งเออร์ (ur) ในสเุ มอร์ เมอื่ ประมาณ ๔,๐๐๐ - ๓๕,๐๐ ปมี าแลว้ )
และแป้นหมุน ๒ ชิ้น (ซ่ึงพบว่ามีใช้คร้ังแรกที่เมืองฮาเซอร์ (Hazor) ในอียิปต์เม่ือประมาณ ๓,๓๐๐ ปีมาแล้ว)
แปน้ หมนุ นน้ั ในชมุ ชนนเี้ รยี กวา่ “มอน” ในขณะใชแ้ ปน้ หมนุ ขน้ึ รปู นนั้ จะใชน้ ำ้� ประสานซงึ่ ชาวบา้ นเรยี กวา่ “นำ้� เขลอะ”
คอื นำ้� ละลายดว้ ยดนิ เหนยี วใหข้ น้ ชบุ ผา้ ลปู ไปตามผวิ ภาชนะรปู ทรงทตี่ อ้ งการในขณะทอ่ี กี คนหนงึ่ ชว่ ยหมนุ แปน้ ขา้ ง
ในภาชนะใช้ลกู ถือ (หินดุ) ซึง่ ชมุ ชนนีเ้ รียก “ลกู เถอ” ตกแต่งในขณะข้ึนรูป
๔. ตกแต่งและต่อหู (หากมีหู) หลังจาที่ข้ึนรูปเรียบร้อยแล้ว ใช้เชือกท่ีท�ำจากใยใบสับปะรด
ตัดที่ก้นให้ก้นภาชนะหลุดออกจากแป้นหมุน น�ำภาชนะท่ีขึ้นรูปเรียบร้อยแล้วมาวางให้หมาดแล้วฝากระป๋องขูด
ตกแต่งผิว จากน้นั จงึ ใช้ลูกสะบ้าถูทผี่ วิ เปน็ การขัดมัน
๕. แตง่ ผวิ ภายในดว้ ยลกู ถอื สว่ นภายนอกใชไ้ มแ้ บบตใี หเ้ ปน็ ลาย หรอื กดลายประทบั ตามตอ้ งการ
ลกู ถือ ไมต้ ีลาย กดลายประทบั
๖. วางภาชนะไวใ้ นทร่ี ม่ ราว ๓ - ๔ วัน จนภาชนะนน้ั แหง้ สนทิ (ไมน่ ิยมตากแดดเพราะภาชนะ
จะแตก) เมอื่ ภาชนะแหง้ สนทิ แลว้ นำ� เขา้ เตาเผาแบบหลมุ โดยมชี น้ั สำ� หรบั วางภาชนะ (Fire bars) รองรบั วางภาชนะ
ซอ้ นทับกนั ขึน้ มาราว ๑๐๐ - ๒๐๐ ใบ เมอื่ ภาชนะซอ้ นกนั ข้นึ มาจนถึงปากอโุ มงค์ของเตาแล้ว เอาเศษภาชนะดินเผา
ที่แตก ๆ และมีขนาดใหญ่ ๆ ปิดบนภาชนะเหลา่ นัน้ จนเตม็
๗. สุมไฟตอนล่างของหลุมทางช่องของเตาหรืออุโมงค์ท่ีขุดไว้ส�ำหรับสุมไฟ (มีเพียงช่องเดียว)
เมื่อไฟลุกจะเผาภาชนะซึ่งวางอยู่บนช้ันข้างบน ควันและความร้อนจะระบายออกทางปากอุโมงค์ เตาหลุมแบบนี้
จะให้ความร้อนไมเ่ กิน ๘๐๐ - ๙๐๐ องศาเซลเซยี ส ภาชนะดนิ เผาทีไ่ ด้จากการเผาด้วยเตาหลมุ แบบนจ้ี งึ ไม่แกรง่ พอ
มคี วามพรุน ดูดซมึ น�้ำไดด้ ี เวลาจบั ต้องจะหนึบมือ เน้ือดินยังหลอมติดไมค่ ่อยสนทิ เพราะอุณหภมู ใิ นขณะท่เี ผายังต�่ำ
ตอ้ งระมัดระวงั เรอ่ื งความร้อนมาก ต้องควบคมุ เรอื่ งการสุมไฟอยตู่ ลอดระยะเวลาแหง่ การเผา กลา่ วคอื ตอนเรมิ่ เผา
ให้ใช้เพียงควันไฟผ่านภาชนะเท่านั้น ระยะนี้จึงมักจะใช้วัสดุหรือไม้ท่ีให้ควันได้ดี เช่นไม้ผุ และกาบมะพร้าว
หากให้ไฟแรงในระยะแรกภาชนะจะแตก รมควันดังกล่าวนี้ ๖ ช่ัวโมง จึงจะให้ไฟแรงได้ซ่ึงการรมตอนน้ีชาวบ้าน
เรียกว่า “รมเบา” เม่ือรมเบาผ่านไปแล้วก็ให้ไฟแรง ข้ันน้ีชาวบ้านเรียกว่า “รมหนัก” หรือ “โจ้หม้อ” โดยใช้ฟืน
ที่ให้ความร้อนสูง และต้องควบคุมอยู่ตลอดเวลา ใช้เวลารมหนักราว ๓ - ๕ ช่ัวโมงจึงเอาฟืนออกจากเตาให้หมด
แลว้ เปลย่ี นเปน็ รมควนั อกี เพอื่ ใหภ้ าชนะมผี วิ สวยไมด่ ำ� เมอื่ ไฟดบั สนทิ และภาชนะภายในเตาเยน็ ตวั ดแี ลว้ จงึ เอาภาชนะ
ท่เี ผาแลว้ ออกจากเตาไดโ้ ดยลำ� เลียงออกมาทางปากอุโมงคซ์ งึ่ จะไดภ้ าชนะทสี่ วยงาม ในราว พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๔๙๐
มีการผลิตภาชนะดินเผาในชุมชนโบราณแห่งนี้กันมากที่สุด เพราะเป็นระยะหลังสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ซ่ึงภาคใต้
ได้ประสบวิกฤตการณ์จากสงครามครงั้ นี้ด้วย ทำ� ให้มีผู้ต้องการใช้ภาชนะดินเผามากเป็นพเิ ศษ สง่ิ ที่ผลติ ในระยะนั้น
คอื โอ่งน�้ำ อ่าง สวด หม้อข้าว หมอ้ แกง กระทะ ขนั กรอง (กะชอน) เนยี ง (คล้ายไห ส่วนปากกว้างกวา่ ) และกระถาง
โดยท�ำได้วันละ ๑๐๐ - ๑๕๐ ใบต่อคน เส้นทางล�ำเลียงภาชนะดินเผาออกขายในสังคมภายนอกขณะน้ันคือ
คลองโตะ๊ แน็ง และคลองชุมขลงิ โดยใช้เรือใบบรรทกุ มาสง่ ทท่ี ่าแพและทา่ โพธิ์ อนั อย่ใู นบรเิ วณเมอื งนครศรธี รรมราช
เพ่ือล�ำเลียงต่อไปยังปากพนัง เกาะสมุย สิชล ปากนคร และปากพญา เรือใบแต่ละล�ำบรรทุกภาชนะดินเผา
ได้ราวเท่ยี วละ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ ใบ แต่ละครอบครัวบรรทุกออกไปขายเดอื นละ ๑ เทย่ี ว ราคาขายในระยะนั้น
อย่างหม้อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๖ นิ้ว ขายราคาร้อยละ ๓ บาทถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ราคาใบละประมาณ
๕๐ - ๑๐๐ บาท

รหัสวชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศึกษา 163

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

ถ้าใครผ่านไปแถวต�ำบลโพธ์ิทอง อ�ำเภออ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช จะเห็น
เครื่องปั้นดินเผามากมายขายอยู่ริมทาง ท�ำให้ผู้ท่ีสัญจรผ่านไปมาอดใจไม่ไหวต้องจอดแวะมาเลือกซื้ออยู่ตลอด
สองฝั่งถนน นับเป็นการสร้างรายได้สร้างอาชีพให้กับชุมชนบ้านมะยิง ชุมชนท่ียังสืบทอดการท�ำเคร่ืองปั้นดินเผา
จากบรรพบรุ ุษ
ขณะเดยี วกนั ยายเอยี ดทส่ี งั ขารโรยราขนึ้ ทกุ วนั ยายเอยี ดยงั มแี อบมคี วามกงั วลใจวา่ ลกู ๆ จะทำ� ตอ่
จากเราไดห้ รอื เปลา่ เพราะตอนนเ้ี ศรษฐกจิ เรมิ่ ไมด่ แี ลว้ สนิ คา้ กว็ างขายมาก ทำ� ใหร้ ายไดล้ ดลงไมเ่ หมอื นปกี อ่ นทผี่ า่ นมา
ถา้ หากมคี นสนใจจะมาเรยี นรวู้ ชิ าเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาสรา้ งอาชพี
ยายเอยี ดบอกยนิ ดที จ่ี ะ สอนใหเ้ พราะการทำ� เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา
นน้ั ไมย่ ากเลยแตต่ อ้ งมใี จรกั จรงิ ๆ โดยเรม่ิ จากการเตรยี มดนิ
ทรายละเอียด การหมักดิน/โม่ดิน/อุปกรณ์เครื่องโม่ดินเดิม
สมัยก่อนใช้วิธีการเหยียบ และต้องมีเทคนิคการผสมผสาน
การหมักดิน/การขึ้นรูป/การดึงรูปทรงตามความต้องการ
แต่ละช้ินงาน ต้องระวังอย่าให้ดินท่ีปั้นแข็งเกินไป
เพราะจะทำ� ใหจ้ ดั รปู ทรงลำ� บาก ยายเอยี ดยงั ตดั พอ้ วา่ เคยมี
คนมาดูแล้วทดลองท�ำแล้ว แต่ไม่ส�ำเร็จ และก็เคยมีคนมา
ลงทุนสร้างโรงอบ ตอนแรกปั้นไปส่งโรงอบสักระยะก็เลิกไป
เพราะเขามาขอมาลงทนุ หนุ้ สว่ นกบั ทางกลมุ่ เรา แตย่ ายเอยี ด
ไ ม ่ รั บ เ พ ร า ะ เ ข า จ ะ ม า ห วั ง ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ์ จ า ก ก ลุ ่ ม
เครื่องปั้นดินเผาพวกเราเท่านั้น และเม่ือข้ันตอนท่ีจะน�ำเข้า
โรงอบก็จะมีพิธีกรรมตามความเชื่อ ยายเอียดเล่า ก่อนเผา
ต้องมีการเซ่นสังเวยเตาเผา ถ้าไม่ท�ำหรือลืมเซ่นสังเวย
เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาทนี่ ำ� เขา้ เตาเผาจะแตกเกอื บหมด เครอ่ื งเซน่
สังเวยนั้นจะเริ่มด้วยการจุดธูป ๓ ดอก ปักไว้ท่ีบนหัวเตา
และนิมนต์พระมาท�ำพิธีพร้อมฉันภัตตาหาร ท่ีบ้านด้วย ได้แก่ ข้าวปลาอาหารคาวหวานที่พอจะหาได้ แล้วยกมือ
อธษิ ฐานวา่ จะเอาของเขา้ เตาเผาแลว้ เสรจ็ ก็น�ำเครือ่ งป้นั ที่เตรียมอบเขา้ เตาเผา เผาเสรจ็ แล้ว กต็ อ้ งอธษิ ฐานบอกวา่
จะเอาเคร่ืองปั้นดินเผาออกจากเตา สมัยก่อนใช้วิธีการเผากลางแจ้ง แต่ต่อมาผากับจอมปลวก ท�ำเป็นโพรงแล้วใช้
ไม้ฟื้นใสแ่ ลว้ เผา แล้วกพ็ ฒั นาท�ำโรงอบกป็ น้ั โรงอบขึน้ มดี ินเหนียวและฟาง อฐิ เปน็ สว่ นประกอบในการทำ�

164 หลกั สตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

“มีความกังวลใจว่าจะไม่มีใครสืบทอด ช่างเคร่ืองปั้นดินเผา หารุ่นลูกหลานบ้านมะยิงจะไม่มี
เพราะเด็กรนุ่ ๆ ไม่ค่อยสนใจ เพราะวถิ ชี วี ิตของชุมชน สภาพสังคมสงิ่ แวดล้อม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยเี ข้ามา
มอี ิทธิพลอย่างมาก วฒั นธรรมตะวันตก เป็นปญั หาและอดหว่ งไมอ่ ยากให้สญู หายไป และยงั มีขอ้ จ�ำกัดในเร่อื งการ
ส่งออกดนิ เผาของกล่มุ อยากให้มหี น่วยงาน ไปช่วยสนับสนนุ เครอื่ งปั้นดินเผาอย่างจริงจัง อยากใหป้ รบั ปรงุ คณุ ภาพ
ทั้งกระบวนการผลิต พัฒนารูปแบบให้สวยงาม และคุณภาพของดิน อุปกรณ์ ท่ีทันสมัย เพราะไม่อยากให้อาชีพ
เคร่ืองปั้นดินเผาสูญหายไปเพราะเป็นอาชีพท�ำมาตั้งแต่ โบราณ อยากให้อนุรักษ์ไว้คู่บ้านมะยิงสืบทอดเป็นมรดก
และที่ส�ำคัญ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านมะยิงอย่างน้อยได้มีความรักสามัคคีช่วยเหลือกันมา ท�ำอาชีพ สร้างรายได้
และช่วยกันท�ำสวสั ดิการในกลุ่มท่ีดี สรา้ งรายได้ใหค้ นรนุ่ หลงั ต่อไป” ยายเอยี ด กลา่ วในที่สดุ
๒.๓.๒ นายเสวก ยโุ ส้ ชือ่ เลน่ “หวอสาน”ภมู ิปัญญาหัตกรรมพืน้ บา้ น การท�ำกรงนก
(ปจั จุบนั ท่านเสยี ชวี ติ แลว้ เมือ่ วนั ที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ )
นายเสวก ยโุ ส้ ชื่อเลน่ “หวอสาน” อายุ ๘๓ ปี จบการศึกษา ประถมศึกษาปที ่ี ๔
วัน/เดือน/ปี - ๒๔๘๐ นับถือศาสนา อิสลาม บ้านเลขท่ี ๙๘/๑ ม.๖ ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช ๘๐๑๖๐
กรงนกเป็นวิถีชีวิตของชาวไทย
มุสลิม ท่ีนิยมชมชอบการแข่งขันศิลปะฟังเสียงนก ประชัน
แขง่ ขนั กนั ยามเชา้ เสาร์ อาทติ ย์ มกั จะพบเหน็ ชาวบา้ นนำ� นก
ของตนเองได้นำ� ไปแข่งขันนก เพื่อฟงั เสียงอันไพเราะของนก
แต่ละตัวท่ีส่งเสียงแหลม ไพเราะ ยาวนาน วิถีชีวิตของ
ชาวบ้านภาคใต้ การเดินทางจากตัวอ�ำเภอเมืองเข้าสู่
อำ� เภอทา่ ศาลา เขา้ เขตบา้ นสระบวั บา้ นในถงุ้ อำ� เภอทา่ ศาลา
สองข้างทางจะพบเห็นมีร้านขายกรงนกทั้งสองข้างทาง
พบเห็นร้านค้าที่จ�ำหน่ายหลากหลายรูปแบบ ในการนี้
การท�ำกรงนกเป็นอาชีพท่ีท�ำให้บุคคลท่ีนิยมชมชอบการท�ำ
กรงนก ซง่ึ เป็นงานศลิ ปะ ตอ้ งใช้ความอดทน ความพยายาม
เป็นอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้ในการเล้ียงครอบครัวของชาวบ้านที่ชื่นชอบ การท�ำกรงนกสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น
ไมม่ ีการเรยี นรูจ้ ากสถาบนั การศึกษา แต่เป็นการเรียนรจู้ ากวถิ ีชีวิตจากรนุ่ พอ่ ส่ลู กู
นายเสวก ยุโส้เป็นช่างไม้ เกิดประกายความคิดในการฝึกฝนการเป็นช่างไม้
และได้มีพ่อคา้ จากยะลา ปัตตานี ไดเ้ สนอรูปแบบกรงนก ตามความตอ้ งการของตลาดให้นายเสวก ยุโส้ เป็นผผู้ ลิต
เร่ิมฝึกท�ำตามแบบและเป็นที่นิยมและเป็นท่ีช่ืนชอบของลูกค้า จนต้องจัดต้ังเป็นโรงงานมีลูกมือหลายชีวิตที่มีฝึก
กับท่าน ฝึกจนเกิดความช�ำนาญไปรับงานท�ำเป็นโรงงานหลายแหล่ง ละแวกชุมชนสองข้างทาง ตั้งแต่
โรงเรยี นราชประชานเุ คราะหท์ ่ี ๘ จนถงึ ชมุ ขนบา้ นในถงุ้ ชมุ ชนแถบนสี้ ว่ นใหญเ่ ปน็ ประชาชนทนี่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
มักนิยมชมชอบการแข่งขันนก และจะมีช่างการท�ำกรงนกหลายสิบโรง ปัจจุบัน ปี ๒๕๖๒ ยังคงมีการท�ำกรงนก
ไมก่ โ่ี รงแลว้

รหัสวชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 165

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

นายเสวก ยุโส้ หรือคนในชุมชนมักเรียกกันว่า “หวอสาน” ปัจจุบัน อายุ ๘๓ ปี
เริม่ จากทำ� กรงนกเขาใหญ่ พ.ศ. ๒๕๑๗ โดยทำ� กนั ในครอบครัว ในพน่ี อ้ งหาเล้ียงครอบครวั กรงนกลูกแรกท�ำมาจาก
ไมฝ้ าบ้านไดฝ้ ึกการท�ำ และพฒั นารปู แบบ ตอ่ ไม้ได้ส่ังซื้อไม้ และกไ็ ดท้ ำ� มาเรือ่ ย ๆ จนมีคนมาจ้างทำ� กรงนกหัวจุก
โดยเขาเอาแบบมาให้ดูแล้วให้ท�ำตามแบบ ตามจ�ำนวนท่ีลูกค้าสั่ง ซึ่งหวอสานไม่มีใครสอนและไม่ได้ไปเรียนที่ไหน
โดยดเู อาจากแบบท่ีลูกค้าเอามาให้ ลูกค้าคนแรกทเี่ อาแบบกรงนกหวั จุกมาใหจ้ ากจังหวัดยะลา ราคากรงนกลกู แรก
ราคาประมาณ ๔๕ บาท จนปัจจบุ ัน กรงนกมีหลายแบบท�ำกรงนก ถือว่าหวอสานเปน็ คนแรกในบ้านสระหลายราคา
ระยะเวลาในการท�ำกรงนก ๔๖ ปี นายหวอสานมีลูกศิษยแ์ ละลูกนอ้ งเป็นจำ� นวนมากท่ีไดม้ าเรียนการบัวทีน่ �ำการทำ�
กรงนก ต่อมากกิจการชะลอตัว มีหลายครอบครัวหยุดกิจการไป และนายหวอสานมีอายุเข้าวัยชรามาก รุ่นลูก ๆ
ได้สืบสานต่อเจตนารมย์ของบิดาในบรรดาลูก ๆ ๑๐ คน มีคนเดียวท่ียังคงยึดอาชีพการท�ำกรงนก ก็คือ
นายนายนัฐพงศ์ ยุโส้ ท่ีด�ำเนินการกจิ การตอ่ จากบิดา

วิธีการทำ� กรงนกกรงหวั จุก
นยิ มทรงสีเ่ หลย่ี มคางหมู สูงประมาณ ๓๐ น้วิ ด้านลา่ งกว้างประมาณ ๑๔ นวิ้ มสี ว่ นประกอบ
ที่สำ� คัญ ๓ สว่ นเช่นกนั ได้แก่ โครงกรง ซ่ีกรง และหัวกรง อุปกรณเ์ บอื้ งตน้ ส�ำหรับผู้ทีส่ นใจเร่ิมท�ำกรงเครอื่ งเลอ่ื ยไม้
เคร่อื งไสไม้ แม็คลม สวา่ นพรอ้ มดอกสวา่ น เลือ่ ยฉลยุ มอื หรอื เคร่อื งพร้อมใบเลอ่ี ย ไม้บรรทัดยาว ๖๐ cm กาวร้อน
ไม้พร้อมซ่ี ลายกรง กาวลาเท็ก แบบกรง หินเจียรมือหรือหินเจียรแท่น(ตัวนี้ถ้าแต่งเสากรงไม่มากก็ไม่จ�ำเป็นครับ
โครงกรงนกกรงหัวจกุ เน้นทพ่ี ยายามใช้ไม้เนือ้ แขง็ นำ� มาเลอ่ื ยซอนเป็นช้ินสว่ นต่างๆ ถึง ๑๘ ชิน้ ได้แก่
๑. ไม้เสา มจี ำ� นวน ๔ อันโดยเลอ่ื ยไม้ขนาดกวา้ ง ๒ เซนติเมตร แล้วน�ำมาตัดให้เท่ากับความสูง
ของกรง โดยขนาดของกรงมีขนาด ๑๓ ซี่ ๑๕ ซี่ ๑๗ ซ่แี ละ ๒๑ ซ่ี ตามแตค่ วามต้องการของตลาดหรอื ท่ีลูกคา้ สง่ั
กรงขนาด ๑๓ ซ่ี ความสูงโดยประมาณ ๔๖.๕ เซนติเมตร
กรงขนาด ๑๕ ซ่ี ความสูงโดยประมาณ ๕๓.๕ เซนติเมตร
เมือ่ ไดไ้ มท้ ่ีตดั แล้วนำ� ไป ไส ใหห้ นา้ ไม้เสมอกนั
๒. ไม้คานบน ยาวประมาณ ๑๒ น้ิว
จำ� นวน ๕ อนั เมอื่ เลอ่ื ยไมไ้ ดต้ ามขนาดทตี่ อ้ งการกน็ ำ� ไปไสกบั
เครื่องไสไม้เพ่ือให้หน้าไม้เรียบเสมอกัน หลังจากนั้นก็น�ำไป
ตดิ กระดาษทว่ี าดลายไวแ้ ลว้ กน็ ำ� เขา้ เครอ่ื งฉลลุ ายเพอื่ ฉลลุ าย
ไมต้ ามแบบท่ีวาดไว้ เจาะรูดว้ ยสว่านตาเลก็ เจาะทะลุบนสัน

166 หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

ให้รับกนั เพ่ือไวเ้ สียบรอ้ ยซก่ี รง มีการถือเคล็ดเก่ยี วกบั จำ� นวนรูท่เี จาะ ให้เจาะเปน็ จำ� นวนค่ี เช่น ๑๓, ๑๕, ๑๗, ๑๙
หรือ ๒๑ รู ตามความเล็กใหญข่ องกรง
๓. ไม้คานลา่ ง ยาวประมาณ ๑๔ น้วิ จ�ำนวน ๕ อนั เมือ่ เลอ่ื ยไมไ้ ดต้ ามขนาดท่ตี ้องการกน็ �ำไป
ไสกับเคร่ืองไสไม้เพื่อให้หน้าไม้เรียบเสมอกัน หลังจากน้ันก็น�ำไปติดกระดาษท่ีวาดลายไว้แล้วก็น�ำเข้าเคร่ืองฉลุลาย
เพอื่ ฉลลุ ายไมต้ ามแบบทวี่ าดไวเ้ จาะรดู ว้ ยสวา่ นตาเลก็ เจาะทะลบุ นสนั ใหร้ บั กนั เพอื่ ไวเ้ สยี บรอ้ ยซกี่ รง มกี ารถอื เคลด็
เก่ียวกับจำ� นวนรูท่ีเจาะ ใหเ้ จาะเป็นจำ� นวนคี่ เชน่ ๑๓, ๑๕, ๑๗, ๑๙ หรือ๒๑ รู ตามความเลก็ ใหญ่ของกรง
๔. ไมค้ น่ั กรง ยาวประมาณ ๑๒.๕ นิ้ว จ�ำนวน ๔ อนั เจาะรูด้วยสว่านตาเล็ก เจาะทะลบุ นสันให้
รับกัน เพอ่ื ไวเ้ สยี บรอ้ ยซีก่ รง มกี ารถือเคลด็ เกี่ยวกับจำ� นวนรูทเี่ จาะ ใหเ้ จาะเปน็ จำ� นวนคี่ เชน่ ๑๓, ๑๕, ๑๗, ๑๙
หรือ ๒๑ รู ตามความเลก็ ใหญข่ องกรง
การประกอบเป็นตวั กรงนกกรงหวั จุก
๑. เสาท้ัง ๔ เสา ท่ีท�ำเสร็จแล้วมายิงประกบกับคานบนและคานล่างเจาะรูด้วยสว่านตาเล็ก
เจาะทะลบุ นสนั ใหร้ ับกัน เพอื่ ไวเ้ สียบร้อยซี่กรงทโี่ ดยใช้แม็คลมทั้ง ๔ ดา้ นให้ยึดตดิ กนั
๒. สว่ นบนของกรงทเี่ จาะด้วยสวา่ นตาเลก็ เจาะทะลบุ นสนั ใหร้ ับกนั เพ่อื ไวเ้ สยี บรอ้ ยซก่ี รงมา
ประกอบ

๓. ไมค้ น่ั กรง จ�ำนวน ๔ อนั ที่เจาะรดู ว้ ยสวา่ นตาเลก็ เจาะทะลบุ นสนั ใหร้ บั กนั เพอ่ื ไวเ้ สยี บรอ้ ย
ซกี่ รงแล้ว ใช้แม็คลมยิงประกอบกับ โครงกรงนก
๔. ร้อยซ่กี รงนกด้วยไมไ้ ผ่สำ� หรบั ทำ� กรงนกตามขาดของกรง
๕. รปู กรงนกทีร่ อ้ ยซ่สี �ำเร็จแลว้

การตกแต่งกรงนกกรงหวั จกุ
ใสต่ ะขอเกย่ี ว การทาชเลค็ ทกุ ซขี่ องกรงเพอื่ รกั ษาความคงทน และใสอ่ ปุ กรณ์ ขอนไมเ้ ลก็ ๆ สำ� หรบั
ให้นกได้เกาะในตัวภายในของกรง กรณีท่ีลูกค้าต้องการของกรงนกประดับประดาด้วยการฝังมุก ต้องมีการส่ัง
เป็นกรณีพิเศษ เพราะจะต้องมีการน�ำไม้เกรดเอ เพ่ือสร้างความสวยงามให้กับตัวกรง และการฝังมุกต้องระบุ
ความสวยงาม ราคาจะแตกตา่ งกัน ราคาปกติ ๔๐๐-๕๐๐ บาท ถ้าฝงั มุกตกแตง่ ราคากจ็ ะเพ่มิ สูงขึน้ เป็นหลักหมน่ื
หลกั แสน ขึ้นอย่กู ับการชนิดของไม้ท่จี ะนำ� มาท�ำ และปรมิ าณมกุ ท่ีใชใ้ นการตกแตง่ และตอ้ งมีการสง่ั ลว่ งหนา้ เพื่อส่ง
ไปให้ช่างด้านศิลป ที่มีความช�ำนาญเฉพาะการฝังมุกกรงนกโดยเฉพาะ การท�ำกรงนกเป็นอาชีพท่ีเด็ก เยาวชน

รหัสวชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศกึ ษา 167

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ควรสนใจเห็นคุณค่าทางศิลปะ ในการใช้ลายฉลุเพื่อให้งานออกมาวิจิตรบรรจง สวยงาม ต้องอาศัยความอดทน
ความพยายาม และบางพื้นที่ลงมุก ย่ิงท�ำให้เพ่ิมมูลค่า และควรค่าแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์การท�ำกรงนกให้เยาวชน
ร่นุ ลกู รุน่ หลานได้เรยี นรู้ และสืบสานต่อกบั วิถีชวี ติ ชาวไทยมุสลิม
๒.๓.๓ นายกิบหลี หมาดจิ ภมู ิปญั ญาดา้ นหัตกรรมพื้นบา้ น จกั สาน

นายกิบหลี หมาดจิ ชื่อเล่น : กิบ เกิดวันท่ี – เดือน - พ.ศ.๒๔๙๓ จังหวัดที่เกิด
จงั หวัดนครศรีธรรมราชทีอ่ ยู่ปัจจบุ ัน บ้านเลขที่ ๗๒ หมทู่ ่ี ๙ ตำ� บลโมคลาน อ�ำเภอทา่ ศาลา จังหวัดนครศรธี รรมราช
รหสั ไปรษณยี ์ ๘๐๑๖๐
เรยี นรกู้ ารจกั สาน และไดส้ บื ทอดความรจู้ ากบดิ า มารดา ชมุ ชนหมบู่ า้ นของขา้ พเจา้ ชอื่ ชมุ ชน
“บา้ นในซอง” ตง้ั อยหู่ มทู่ ่ี ๙ ตำ� บลโมคลาน อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช ในสมยั กอ่ นชมุ ชน “บา้ นในซอง”
มไี ม้ไผจ่ ำ� นวนมาก ชาวในชมุ ชนจงึ ไดน้ ำ� ไม้ไผ่มาแปรปู จักสานมาใช้สอยในครวั เรือน
อาชีพการจักสานไม้ไผ่ ของ ชุมชน “บ้านในซอง” เป็นอาชีพเสริม หลักจากเสร็จฤดูกาล
ทำ� นา เมอื่ ชาวบา้ นเสรจ็ ฤดกู าลทำ� นา กห็ นั มาทำ� อาชพี จกั สานไมไ้ ผ่ ปจั จบุ นั อาชพี การจกั สานไมไ้ ผไ่ ดส้ ญู หายไปเรอ่ื ยๆ
จากชุมชน ไม่คอ่ ยมหี ลงเหลอื ให้ลูกๆ หลาน ๆ ได้ดู จากเหตผุ ลดงั กลา่ วข้าพเจา้ จงึ ไดอ้ นรุ ักษ์และสบื ทอดเจตนารมย์
ของบิดา มารดา ไมอ่ าชพี ดงั กล่าวสญู หาย จัดทำ� เป็นอาชพี เสรมิ ของครอบครัว และสอนลูกหลานใหท้ ุกคนได้เรียนรู้
เพ่ืออนรุ กั ษ์สืบไว้ของวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ผลิตภณั ฑจ์ กั สานไม้ไผท่ ไ่ี ด้จัดท�ำขึน้ ไดแ้ ก่ เข่ง สมุ่ ฝาชี ล่นั (ขอ้ งใส่ปลา)
คันเบ็ด ไม้กวาด อีเนียว (ที่ดักปลา) ว่าว เป็นต้น อาชีพจักสานไม้ไผ่ เป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัว กลัวอาชีพ
ดงั กลา่ วจะหายไปจากหมบู่ า้ น อยากใหล้ กู ๆ หลาน ๆ เหน็ ความสำ� คญั เรยี นรู้ สบื ทอดวฒั นธรรมใหก้ บั ชมุ ชนของตนเอง
ท�ำให้ชุมชนเห็นความส�ำคัญของอาชีพจักสานไม้ไผ่มีการรวมกลุ่มกันในชุมชน วัสดุท้องถ่ินน�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
เช่น ไผ่แทนวัสดุพลาสติก การประกอบอาชีพต้องมีคุณธรรมในการท�ำงาน ผลงานท่ีออกมา เขาน�ำไปใช้จะต้องมี
คุณภาพ ไม่ว่าข้าพเจ้าจะได้รับรายการสั่งสินค้ามากเพียงใด ข้าพเจ้าจะต้องท�ำให้มีคุณภาพเป็นที่พอใจของลูกค้า
ทกุ ครงั้ และข้าพเจ้าสอนลูก ๆ หลาน ๆ เสมอวา่ “ทุกคนทเี่ กดิ มาจะต้องท�ำตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ อย่าปล่อยเวลาให้
สญู เปล่า จะใหท้ �ำชีวิตมีความสขุ ”

168 หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

๒.๓.๔ นายหมดู ทรงเลศิ : หัตกรรมพ้นื บ้าน การต่อเรอื ประมงบา้ นพื้นบ้าน
ชาวประมงพื้นบ้านอ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช อ�ำเภอท่าศาลา
เปน็ อำ� เภอทอี่ ยตู่ ดิ ทะเลอา่ วไทยตอนกลางทะเลทอดยาวจากอำ� เภอเมอื ง อำ� เภอทา่ ศาลา อำ� เภอสชิ ล และอำ� เภอขนอม
ตลอดแนวอ�ำเภอท่าศาลาจะมีประชาชนกลุ่มประมง
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม วิถีชีวิตกลุ่มประมง ออกเรือ
ไปหาปลา กุ้ง ปู ในทะเลน�ำทรัพยากรมาจ�ำหน่ายสู่ตลาด
ในทอ้ งถ่นิ และตลาดในเมอื งท่าศาลา และในตัวอำ� เภอเมอื ง
เพ่ือส่งออกไปจ�ำหน่ายให้กับประชาชนต่างอ�ำเภอ
และต่างจังหวัดต่อไป ส่ิงหน่ึงท่ีเป็นศาสตร์ความรู้ที่น่าสนใจ
ของการประกอบอาชพี ประมง นอกจากเทคนคิ ความชำ� นาญ
ในการสังเกตลักษณะน้�ำ พันธุ์ปลาต่าง ๆ เคร่ืองมือ
ท�ำมาหากินก็ คือ เรอื เรอื เป็นส่ิงทส่ี ำ� คญั เปน็ พาหนะในการ
ท่ีจะนำ� ชาวประมงออกส่ทู ะเล เปรยี บเสมือนบา้ นหลงั ทส่ี อง
ของพวกเขาทตี่ อ้ งมกี ารดแู ลเอาใจใสเ่ มอ่ื ชำ� รดุ กต็ อ้ งนำ� เรอื มา
ซอ่ มแซม บำ� รงุ รกั ษาหรอื สรา้ งขนึ้ มาใหม่ ภมู ปิ ญั ญาในเรอ่ื งน้ี
คือ ๑.) ครอบครัว นายกาหรีม หลงจิ ซงึ่ ทา่ นมอี าชพี ท�ำเรอื
ประมง และมีการถ่ายทอดองค์องความรู้ให้กับบุตรชาย
ทง้ั สอง คน คอื นายกาหลิ หลงจิ นายอลิ หลงจิ ไดส้ บื ทอดองคค์ วามรใู้ หก้ บั บตุ รทงั้ สองเปน็ ชา่ งตอ่ เรอื ประมงพนื้ บา้ น
๒.) นายหรมี ๓.) นายสาน ๔.) นายหมูด
ในทนี่ ไ้ี ดไ้ ปสมั ภาษณแ์ ละถอดองคค์ วามรู้การต่อเรือประมงพ้นื บา้ น จากนายหมดู ทรงเลศิ
เกิดเมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๔๙๖ ปัจจุบันอายุ ๖๔ ปี อยู่บ้านเลขที่ ๒๒๙/๑ ม.๕ บ้านในทุ่ง ต�ำบลท่าศาลา
อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เดิมเป็นคนพ้ืนท่ีอ�ำเภอร่อนพิบูลย์ มาตั้งรกรากปักฐานมีครอบครัว
ท่ีอ�ำเภอท่าศาลา เมื่อปี ๒๕๑๗ มีบุตรจ�ำนวน ๖ คน จุดเริ่มต้นเป็นลูกจ้างอู่ต่อเรือพานิชในตัวอ�ำเภอท่าศาลา
เป็นเวลา ๓ ปี เมอื่ เกิดความชำ� นาญ จึงเริ่มหันมารบั จา้ งต่อเรือดว้ ยตนเอง เม่ือปี พุทธศักราช ๒๕๒๑ จนถงึ ปัจจุบนั
ด้วยฝีมือและความเช่ียวชาญในการต่อเรือประมงพ้ืนบ้านเป็นท่ีรู้จักและมีช่ือเสียงในระดับชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน
ราคาวา่ จา้ งตอ่ ลำ� ประมาณ ๔๐,๐๐๐ ถงึ ๕๐,๐๐๐ บาท ตอ่ เรอื ๑ ลำ� โดยผจู้ า้ งดำ� เนนิ การออกคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั หา
และจัดซื้อวัสดุให้ครบทุกอย่าง ช่างต่อเรือด�ำเนินการออกแรงท�ำเพื่อให้ได้มาซึ่งล�ำเรืออย่างเดียว การด�ำเนินการ
ไมม่ พี มิ พเ์ ขียว เป็นการสร้างจากการตกลงกบั ผวู้ ่าจา้ งจนเข้าใจ ขนาด รูปทรง ก็ลงมอื ทำ� การต่อเรอื
วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการทำ� ประกอบดว้ ย ๑. ไมต้ ะเคยี นทอง ๒. เลอ้ื ยตดั ไม้ ๓. กบไสไม้ ๔. สวา่ น
๕. น็อต ๖. ตะปู ขนาด ๓-๔ น้วิ ๗. เหล็กตน้ แบบวดั ขนาดของกงเพอ่ื ใชข้ ้ึนรูปกง ๘. กากบี (ตวั ค�้ำไมใ้ ห้โคง้ งอตาม
ความตอ้ งการ ๙. ขชี้ นั ๑๐. น�้ำมนั ยาง ๑๑. จารบี ๑๒. ปูนแดง กรณที ีซ่ ่อมแซมลำ� เรือเก่าลกู คา้ ตอ้ งการใชไ้ ฟเบอร์
แทนการอุดรอยร้ัวดว้ ยขชี้ ันเพือ่ ปิดตัวเรอื เคลือบท้งั ล�ำเรอื ไม่ให้นำ�้ รวั่ ซมึ เข้ามาในล�ำเรอื ได้ สว่ นปะกอบ ด้วย ใยแก้ว
(คลา้ ย ๆ ผ้ามุง้ ) ดนิ ไฟเบอร์ น�ำ้ ยาไฟเบอร์ และตวั เรง่ ท�ำให้แข็งจบั ตวั เร็ว (ใช้ ๒ - ๓ ช้อนชา) ใชเ้ วลา ๑ - ๒ วนั
ข้ันตอนการลงไฟเบอร์ ห้ามโดนน้�ำหรือน�้ำฝน ดังน้ัน จะต้องท�ำในช่วงที่ฝนไม่ตก มิฉะน้ันขั้นตอนการติดไฟเบอร์
กจ็ ะไมไ่ ด้ผล

รหสั วชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 169

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ข้ันตอนกระบวนการผลิต / วิธีท�ำ ในข้ันเตรียมการจะประกอบด้วย เตรียมหาไม้ตามชนิด
ที่ต้องการใช้งาน การน�ำต้นไม้มาใช้การท�ำล�ำเรือจะต้องดูความกว้าง ความสูงของล�ำต้นเป็นส�ำคัญ กล่าวคือ
จะต้องมีขนาดรอบโคนตน้ ความกว้างของเน้ือไม้ ๑๕๐-๒๐๐ เซนตเิ มตร ความสงู ๑๐-๑๒ เมตร จงึ ตดั มาท�ำเรือได้
และเตรียมเคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการต่อเรอื ทุกชนิด พอไดพ้ ร้อมตามเนื้องานแลว้ จึงด�ำเนนิ ขน้ั ตอนการตอ่ เรือ ซง่ึ สามารถ
แบ่งข้ันตอนได้ ดงั นี้
๑. วางกระดกู งู เปน็ ขนั้ ตอนแรกของการตอ่ เรอื กระดกู งเู ปรยี บไดก้ บั สนั หลงั ของคนจงึ ตอ้ งวาง
ไมก้ ระดูกงูทด่ี ัดโค้งไปตามรูปทอ้ งเรือใหโ้ คง้ กับนำ้� (ตามเครื่องวดั ระดับด้วยปรอทและขงึ เชอื กให้ตรง) กระดกู งเู สรจ็
โดยหาไมแ้ กนส�ำคญั ขนาดความหนา ๒-๒.๕ น้วิ กวา้ ง ๑ นิ้ว ขนาดความยาวของกระดกู งูไมค้ วรนอ้ ยกวา่ ๑๐ เมตร
๒. ตงั้ โขนเรอื หรอื ทวนหวั โขนคอื ไมท้ เ่ี สรมิ หวั เรอื และทา้ ยเรอื ใหง้ อนเชดิ ขนึ้ (เรยี กวา่ แมย่ า่ นาง)
โขนจะตอ่ มาจากกระดกู งูเรอื
๓. ขึ้นไม้กระดานตัวล�ำเรือข้างละ ๔ แผ่น ขนาดความยาวต้องมากกว่ากระดูงู ถ้ากระดูงู
ยาว ๑๐ ไม้กระดานต้องยาว ๑๒ - ๑๓ เพราะต้องไปตีเชอ่ื มกบั โขนที่ยึดติดกับล�ำเรอื ทัง้ สองขา้ งมกี งพรางจ�ำลอง
เพ่ือต้องการมิให้ไม้กระดานหุบเข้าไปข้างใน ช่วงท่ีข้ึนไม้กระดานแผ่น ๑-๒ จะต้องใช้ไฟลนไม้กระดานให้อ่อนตัว
เพ่ือจัดรูปทรงโค้งงอได้ตามความต้องการของนายช่างและไม่ท�ำให้ไม้แตกหักจากการดัด ไม้กระดานแผ่นที่ ๓ - ๔
ท้งั สองข้างของล�ำเรือไมต่ ้องใชไ้ ฟลน ให้กากบี และตัว(กงพราง) หรอื ตัวกงจำ� ลอง
๔. วางกงเป็นโครงเรือ วางพาดไปตามความยาวของเรือเป็นหลักให้กงต้ังซึ่งจะติดกับกงยาก
กงต้ังจะโค้งไปตามลักษณะความลึกของท้องเรอื ตั้งแต่หวั เรือขนานกันไปเร่ือย ๆ จนถึงท้ายเรอื
๕. ข้ึนกระดานเรือ คือการวางกระดานเรือต่อจากแผ่นท่ี ๔ ต่อไม้กระดานขึ้นไปด้านบนอีก
ข้างๆ ละ ๕ แผน่ เพอื่ ให้เปน็ รูปเรือ และตามความสงู ของเรอื โดยใช้ตาปยู ึดไม้กระดานกบั แกน
๖. ใช้ตัวถีบขึ้นจุดส่วนหัวเรือ กลาง และส่วนท้ายของล�ำเรือ เพื่อให้ได้ความกว้างสมส่วน
ตามกบั ความยาวของลำ� เรือ
๗. ขั้นตอนการท�ำกงมือลิงหรือวางตะเข้เรือ ทับกับกงต้ังอีกทีหน่ึงเพื่อให้เรือแข็งแรง
เสริมกระดูกงู ใหแ้ ขง็ แรงขึน้ เรม่ิ ตน้ จากหัวเรอื ไปท้ายเรือ มขี นาดความหนาประมาณ ๔-๕ นิ้ว ตัดเปน็ รูปทรงโค้งงอ
ตามขนาด (สว่ นนค้ี ลา้ ย ๆ กบั ซโ่ี ครงของมนษุ ย)์ ซงึ่ จะนำ� มาวางดา้ นในของทอ้ งเรอื สลบั ไปมาทางดา้ นซา้ ยและดา้ นขวา
การวางรปู แบบฟันปลา โดยวางจดุ เริ่มตน้ ตง้ั แต่จดุ กลางของลำ� เรือ กรณีท่ีกระดงู ูยาว ๙ เมตร ความกวา้ งของล�ำเรือ
๒๘๕ เซนตเิ มตร การวงกงเรอื จะตอ้ งวางจากจุดก่งึ กลางของลำ� เรอื วางขึ้นไปด้านบนของลำ� เรอื ด้านท้ายของล�ำเรือ
ระยะหา่ งระหวา่ งกง ๑๕ เซนตเิ มตร การวางกงเรอื สลบั ไมก้ ง ไมก้ งวางดา้ นหลงั ของกงเพอ่ื ไปหาสว่ นทา้ ยเรอื และหวั เรอื

170 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๘. ปากถ้วย การหมุ้ ของแกมเรือ ใช้ส�ำหรับการลากอวนไมใ่ ห้อวลติดหวั กง
๙. ลูกกล้วย (ราวทู) ส�ำหรับเรือใหญ่ ให้สวยงาม และกันน�้ำสาดเข้าล�ำเรือ เวลาเรือเล่น
การโต้คลน่ื นำ�้ จะไปปะทะกบั ลูกกล้วย และทำ� ใหเ้ รอื น้�ำกระเดน็ ออกจากล�ำเรือ และปอ้ งการกระแทกกรณีใชเ้ ทียบ
เรือจอดทา่ เรอื
๑๐. ตัวโขน – โขนทา้ ย เปน็ ตวั สูงขึน้ มาจากหวั เรือและทา้ ยเรอื การตกแตง่ ประดับใหเ้ กิดความ
สวยงามตามเอลกั ษณ์ของชุมชน
๑๑. การขดั ไม้ของลำ� เรอื ด้านนอกเพอื่ ใหเ้ รียบ และเกิดความสวยงาม
๑๒. ตอกหมนั ดว้ ยการนำ� ดา้ ยดบิ ผสมชนั ยาเรอื พรอ้ มไปกบั นำ้� มนั ยางผสมปนู แดงเพอ่ื อดุ รสู ลกั
และรอยตอ่ ระหว่างแผ่นกระดานเพือ่ ปอ้ งกันนำ้� รว่ั เขา้ ไปภายในเรอื
๑๓. ทาสีเรือ เพ่ือกันแดดกันฝน กันน้�ำ กันตัวเพรียง บริเวณท้องเรือและกระดานเรือมักนิยม
ทาสีเขยี ว สว่ นราโทและกาบอ่อนมักจะทาสสี ้มกับสีขาว
๑๔. วางเครื่องยนต์ไว้ของตัวเรือ บริเวณส่วนท้องเรือมีไม้สองท่อนวางขนานกันและเช่ือม
กบั ใบทวนเรือซ่งึ ยนื่ ออกไปหลังหลักทรัพยท์ ้ายเรอื

นายหมดู ทรงเลศิ กล่าววา่ “หาคนทจ่ี ะมาตอ่ เรือ และรบั ชว่ งต่อจาตนเองยากมาก แมก้ ระทงั่
ลูก ๆ ก็ไม่สนใจ เพราะเป็นงานกรรมกร เหนื่อย ต้องตากแดด ตากลม เพราะเราใช้วิถีชีวิและการท�ำท่ีริมชายฝั่ง
เรอื ๑ ลำ� ตอ้ งใชเ้ วลาหลายเดอื น ตอ้ งใชค้ วามอดทน ความพยายาม ใจสู้ เพอ่ื ใหง้ านสำ� เรจ็ การทำ� งานแขง่ กบั ตวั เอง”
จุดเด่นของภูมิปัญญาการท�ำเรือประมงของนายหมูด ทรงเลิศ ท�ำโดยไม้ต้องมีแบบพิมพ์เขียว
ในการสร้างเรือแต่ละล�ำ ขึ้นโครงสร้างของล�ำเรือตามขนาดของผู้ว่าจ้างเป็นหลักว่าต้องการขนาดล�ำเรือกว้างยาว
เท่าไหร่ การออกแบบโครงและสร้างฐานตามแบบฉบับของเขา และออกแบบไปท�ำไปตามองค์ความรู้ที่มีจากการ
ประสบการณท์ ี่ ส่งั สมจนเกิดความชำ� นาญ ไมม่ ีวิชาทสี่ อนให้ทำ� ในสถาบนั การศึกษา แตเ่ ป็นสถาบนั ชวี ิตท่ตี ้องเรียนรู้
และฝกึ จากการสง่ั สมประสบการณข์ องตนเองมาตลอดชวั่ ชวี ติ ผทู้ หี่ ลงใหลลำ� เรอื วา่ ดว้ ยการตอ่ เรอื เปน็ ศาสตรแ์ ละศลิ ป
ที่นา่ ควรยกยอ่ ง และเข้าไปเรียนรู้ เพ่อื รุ่นเยาวชนไดเ้ ห็นคุณคา่ และสืบสานตอ่ ยอดและควรค่าแก่การอนรุ กั ษ์

๒.๓.๕ นางฉลวย ปลอ้ งเกดิ (ปา้ พร) : หตั ถกรรมพื้นบา้ น การท�ำอิฐแดง หรอื อฐิ มอญ
เกิดเม่ือวันที่ ๑ เมษายน ๒๔๙๙ อยู่บ้านเลขที่ ๒๒/๒ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลโพธิ์ทอง
อ�ำเภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรธี รรมราช เริ่มจากสมยั ปา้ พรเด็ก ๆ ได้ไปว่งิ เล่นบา้ นลงุ เจียม ปลอดชูแกว้ (พี่ของแม่)
ไปช่วยเล่นดินช่วยท�ำบ้าง ตามประสาเด็ก ๆ ได้เรียนรู้แบบไม่รู้ตัว
เห็นคุณลุงท�ำมาตลอด สมัยก่อนท�ำด้วยแรงงานคนล้วน ๆ ใช้คนนวด
ดินเหนียว เมื่อป้าพร อายุได้ ๒๑ ปี เริ่มสนใจในอาชีพการท�ำอิฐ
เพราะได้แต่งงานมีครอบครัว ประกอบกับแม่ของป้าพรสนใจท�ำโรงอิฐ
ในพนื้ ทตี่ �ำบลโมคลาน ตนเองจึงไปรว่ มเรียนรอู้ ยา่ งจริงจังกบั แม่ ตอ่ มาใน
ชุมชนนี้อยู่ใกล้กับชุมชนของต�ำบลปากพูน อ�ำเภอเมืองนครศรีธรรมราช
มีเพ่ือนบ้านหลายครอบครัวท�ำกิจการโรงอิฐ และเพื่อนบ้านซึ่งเป็น
ผู้ใหญบ่ ้าน คอื ผู้ใหญ่มน ไดน้ ำ� เทคโนโลยี เครอื่ งจักรมาช่วยในการท�ำอฐิ
ตนเองก็สนใจเพื่อลดการใช้แรงในการท�ำอิฐ ดินเหนียวที่ใช้ในการท�ำอิฐ

รหสั วิชา หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 171

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

เปน็ ดนิ เหนยี วล้วน ๆ ในแปลงพน้ื ท่ีนาของตนเองและครอบครวั การใช้ดนิ เหนียวปนทรายมาก ๆ จะท�ำใหห้ กั งา่ ย
ก้อนดิฐจะแตกหลังจากเผาดินให้เป็นอิฐแล้ว ดังนั้น การท�ำอิฐจะต้องค�ำนึงถึงคุณภาพของดินด้วยเป็นส�ำคัญ
อิฐที่ป้าพรท�ำ มีอฐิ ชนดิ ๘ รู กบั อิฐทึบ การตลาดสง่ ๆ ไปเกาะสมยุ จังหวดั สุราษฏรธ์ านี กระบ่ี พทั ลุง ตรัง พังงา
ภูเก็ต ปจั จบุ นั ป้าพรไดม้ อบธรุ กจิ การทำ� อิฐให้กบั บตุ รชาย สบื ทอดกิจการต่อจากตน คอื นายพชิ ติ ปล้องเกดิ

ลกั ษณะทวั่ ไป
อิฐมอญเป็นวัสดุที่ผลิตมาจากการน�ำดินเหนียวมาเผาเพื่อให้ได้วัสดุที่คงรูปมีความแข็งแรง
การใช้อิฐมอญในงานก่อสร้างมีมากหลากหลายจึงมี คนรู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย เนื่องจาก
เชื่อมั่นในความคงทน และผลิตได้ในประเทศจากแรงงานท้องถ่ิน คุณสมบัติของอิฐมอญจะยอมให้ความร้อนถ่าย-
เข้าออกได้ง่ายเก็บความร้อนในตัวเองได้นาน เนื่องจากอิฐมอญ มีความจุความร้อนสูง สามารถเก็บกักความร้อนไว้
ในเน่อื งมาก โดยทคี่ ่อยๆถา่ ยเทจากภายนอก จึงเหมาะแก่การใชง้ านในชว่ งเวลากลางวนั
วสั ดุอุปกรณ์ในการทำ� อิฐ
เครื่องมือส�ำคัญในการท�ำอิฐ ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการจะคิดประดิษฐ์ข้ึนใช้เองเพ่ือประหยัด
โดยน�ำวัสดุท่ีหาได้จากพื้นบ้านดัดแปลงต่อเติมเป็นเครื่องมือเคร่ืองใช้ เว้นแต่ที่ท�ำไม่ได้เป็นเครื่องทุ่นแรง
ที่เป็นเครอ่ื งจักรกลส�ำหรบั เคร่ืองมือหลงั ๆ ได้แก่
๑. ป้งุ ก๋ี เมอื่ ก่อนสานดว้ ยหวายและไม้ไผ่ ตอ่ มาหวายและไม้ไผข่ าดแคลนจึงหันมาใชพ้ ลาสติก
สานแทน บางทีก็ใชย้ างรถยนต์เกา่ ซงึ่ ได้รบั ความนิยมไม่แพก้ นั ใช้สำ� หรับงานโกยท่ตี อ้ งขนยา้ ยทว่ั ไป
๒. พลัว่ ท�ำจากแผน่ เหล็ก มไี มไ้ ผเ่ ป็นด้าม ใชใ้ นการตักดิน แกลบ และคลุกเคลา้ ดนิ แกลบ น้�ำ
ให้เปน็ เนื้อเดียวกนั
๓. คราด ท�ำด้วยเหล็กเชน่ เดยี วกบั พลวั่ แต่มีหลกั ตา่ งกนั คอื มหี นา้ เป็นซ่ีกลม ๆ ๖ ซี่ ส่วนใหญ่
ใช้ไม้ไผ่ท�ำดา้ ม ใช้สำ� หรับเกลี่ยแกลบให้ท่ัวขณะเผาอฐิ และงานโกย สิง่ ตา่ ง ๆ
๔. ไมไ้ สดนิ หรอื ไมแ้ ซะดนิ ใชส้ ำ� หรบั ปรบั ลานตากดนิ ทมี่ เี ศษดนิ จากการไส แทง่ ดนิ ใหไ้ ดร้ ปู ทรง
ตกหลน่ อยูจ่ ำ� นวนมาก โดยจะใช้ไม้ไสดนิ นที้ ำ� การไสดินออกจากลานเพื่อใหล้ านดินสะอาด และเรียบรอ้ ย
๕. รถเข็น ท�ำข้ึนง่าย ๆ จากเศษไม้ท่ีเหลือใช้ เร่ิมจากต่อส่วนของกระบะก่อน จากน้ันล้อรถ
จักรยานที่ไม่ใช้งานแล้วมาใส่ท�ำให้สะดวกในการไสลากขึ้น ประโยชน์ของรถเข็นก็คือใช้ในการขนย้ายดินจากกอง
เพื่อน�ำไปหมักและขนย้ายดนิ ทปี่ ั่นจนได้ที่แลว้ ไปกองสำ� หรับอดั ลงพิมพ์เปน็ อฐิ
๖. การวารระบบนำ้� ส่วนใหญใ่ ชใ้ นขนั้ ตอนการผสมดิน และระหวา่ งการอัดดินใส่แบบพิมพ์

172 หลักสตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

๗. เครื่องปั่นดิน เดิมข้ันตอนการผสมดินส�ำหรับท�ำอิฐผู้ผลิตจะใช้วิธีย่�ำด้วยเท้าจนส่วนต่าง ๆ
เข้าเป็นเน้ือเดียวกัน ทว่าเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาได้มีผู้คิดค้นเครื่องมือในการผสมดินที่ทันสมัยขึ้นมาใช้แทน เครื่องมือ
ดังกล่าวเรียกว่าเครื่องปั่นดิน ขณะใช้งานมีเคร่ืองยนต์ขนาดก�ำลัง ๙ แรงมาให้พลังงาน เป็นท่ีนิยมมากในปัจจุบัน
เพราะสามารถผสมดินไดค้ รั้งละมาก ๆ และใชเ้ วลาสนั้ กว่าการผสมดว้ ยการย�่ำจากแรงคน
๘. โรงเผาอิฐ สมัยก่อนผู้ผลิตมักกันกลางแจ้ง เน่ืองจากประหยัดต้นทุนในการสร้างโรงเผาอิฐ
ข้อเสียกค็ อื ไมส่ ามารถเผาอิฐในชว่ งฤดฝู นได้ ภายหลังจงึ ได้สร้างโรงเผาอิฐขึ้น ลกั ษณะก็คอื เป็นโรงไม้หลังคาจาก
ส่วนของหลงั คามีลักษณะเปน็ ทรง จัว่ สูง เชิงชนิดคาอยรู่ ะดับศรี ษะ ไมม่ ฝี าด้านในใชส้ �ำหรับเปน็ ท่ีเผาอิฐและเกบ็ อฐิ
ทัง้ ชนิดทเ่ี ตรยี มเผาและเผาสุกแล้ว
๙. แบบพมิ พ์ มีด้วยกัน ๓ ชนดิ แบบพมิ พไ์ ม้ ชนดิ นสี้ ามารถท�ำขน้ึ ใช้เองได้ แบบ พิมพ์โลหะ
มสี องลกั ษณะคอื ทำ� จากเหลก็ หรอื สแตนเลส ราคาคอ่ นขา้ งสงู และแบบพมิ พพ์ ลาสตกิ ปจั จบุ นั ไดร้ บั ความนยิ มมากกวา่
แบบพิมพ์ชนิดอน่ื เน่อื งจากมีราคายอ่ มเยา สะดวกทนทานตอ่ การใช้งาน ทสี่ �ำคัญคืออิฐทไ่ี ดจ้ ากแบบพมิ พพ์ ลาสตกิ
ยังให้ความสวยงามไร้ต�ำหนิพอ ๆ กับพิมพ์โลหะชนิดสแตนเลส ซึ่งดีกว่าเเบบพิมพ์ไม้มาก นอกจากน้ียังมีอุปกรณ์
อ�ำนวยความสะดวกอ่ืน ๆ อีก อาทิ เคร่ืองไสดิน มีดปาดดิน ไม้ตบ ใช้ส�ำหรับตกแต่ง แท่งอิฐ ที่ได้จากพิมพ์ไม้
ใหไ้ ดร้ ปู สวยงาม กระแตง สำ� หรบั งานขนยา้ ยทวั่ ไปตว้ิ สำ� หรบั นบั จำ� นวนเวลาขนอฐิ ขน้ึ รถในขนั้ ตอนการขาย แผงเหลก็
ส�ำหรับกับความร้อนไม่ให้กระจายออกมานอกโรงเผาอิฐขณะท�ำการเผา เป็นต้น มาตรวัดคุณภาพอิฐ การท�ำอิฐ
ให้ได้คุณภาพและมีต้นทุนต�่ำ ส่ิงส�ำคัญคือต้องรู้จักเลือกใช้วัตถุดิบท่ีเหมาะสมและอยู่ใกล้ แหล่งผลิต วัตถุดิบที่ว่า
ไดแ้ ก่ ดิน แกลบ น�้ำ ดนิ ทใี่ ชท้ ำ� อฐิ คอื ดนิ เหนยี ว มีอยู่ดัวยกนั หลายชนิด แตล่ ะชนิดจะใหค้ ณุ สมบตั ิแตกตา่ งกนั เชน่
ดินเหนียวปูน มีลักษณะเป็นดินท่ีมีธาตุปูนผสมอยู่มาก สังเกตจากดินมีสีออกขาวนวลเมื่อน�ำมาท�ำอิฐจะได้
อิฐสีเหลืองอ่อน ไม่แดงเข้มสวยงาม ดินเหนียวแก่ มีความเหนียวมาก เม่ือกองทิ้งไว้นาน ๆ จะแข็งคล้ายหิน
มขี อ้ เสยี คอื เมอ่ื นำ� ไปทำ� อฐิ จะเกดิ การรดั ตวั จนแทง่ อฐิ บดิ งอ ดนิ ทงั้ สองชนดิ นไ้ี มน่ ยิ มนำ� มาทำ� อฐิ เนอื่ งจากมคี ณุ ภาพตำ่�
ท�ำให้อิฐขายไม่ได้ราคา ดินเหนียวที่ได้รับความนิยม น�ำไปท�ำอิฐคือ ดินเหนียวปนทรายละเอียดเดิมผู้ผลิตจะได้
ดินชนิดน้ีจากใต้แม่น�้ำ ปัจจุบันเปล่ียนไปใช้ดินที่ได้จากบนบกที่มีคุณสมบัติเหมือนกันแทนเพราะสะดวกกว่า
การลงไปเอาดินจากแม่นำ้� ข้นึ มา
ข้นั ตอนการท�ำอิฐ
๑. นวดดิน ข้นั แรกเร่มิ กนั โดนฉีดนำ�้ เพอื่ ใหด้ นิ ชุมช่ืน
๒. ใช้เคร่อื งจักตักดินเขา้ รางสบั เพ่อื ตดี ินใหล้ ะเอียด
๓. ดนิ ออกเปน็ แผน่ ยาว
๔. มีเครอ่ื งตดั จำ� นวนก้อนขนาดทต่ี อ้ งการ ๘ นิ้ว ๕ น้วิ จ�ำนวน ๘ รู
๕. มเี คร่ืองยบั เพ่อื ใหก้ อ้ นดินขาดเป็นช้นิ และจดั ลงบนรถเขน็ เพอื่ นำ� ไปตาก ในโรงตาก ๓ วัน
เพ่อื ลดปริมาณความชืน้ ของก้อนดนิ ทีย่ ังไม่ได้เผาเตรียมความพร้อมเขา้ เตาเผาหลังจากตากไวใ้ นโรงตาก ๓ วัน
๖. น�ำอิฐมาจัดวางเรยี งในเตาเผาอิฐ จะใชเ้ วลา ๑-๒ วัน และรมควัน ๓ วัน ๓ คืนตอ่ เนอื่ งกนั
โดยสังเกตว่าอิฐเป็นไปหมดทุกก้อน ก็จะแสดงให้เห็นว่าอิฐนั้นเผาได้ที่แล้ว ลดปริมาณไฟ และดับไฟในท่ีสุด
ต้ังไว้ประมาณ ๑ - ๒ วัน ให้อิฐเย็นตัว แล้วน�ำอิฐมาจากเตาเผา จัดเรียงเป็นชุดก้อนใหญ่ ๆ พร้อมจ�ำหน่าย
ก้อนมัดใหญ่ ๆ ๑ ชดุ มปี ระมาณ ๒๐,๐๐๐ - ๓๐,๐๐๐ กอ้ น

รหสั วชิ า หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 173

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

๒.๔ ดา้ นประมง

๒.๔.๑ นายเจริญ โต๊ะอแิ ต ภูมปิ ญั ญาประมงพ้นื บา้ น การดุหลำ� และธนาคารปู
นายเจรญิ โตะ๊ อแิ ต (บงั ม)ุ ผทู้ อี่ นรุ กั ษก์ ารสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาการดหุ ลำ� ยงั คงดำ� เนนิ การ
การหาปลาดว้ ยการฟงั เสยี งของปลาใตท้ อ้ งทะเล เพอ่ื ใชใ้ นการออกหาปลาใหก้ บั ครอบครวั และยงั คงสบื ทอดวถิ ชี วี ติ
ดงั กล่าวให้คงอยูก่ ับชมุ ชนในบ้านถ้งุ ดว้ ยอดุ มการณร์ กั ทอ้ งถนิ่ ทะเลอ่าวท่าศาลา เป็นคนที่มถี นิ่ ก�ำเนดิ ณ บ้านในถ้งุ
ตำ� บลท่าศาลา อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช เกิดวนั ที่ ๑๕ ต.ค ๒๕๑๑ ปัจจบุ นั อายุ ๕๑ ปี ชวี ิตวยั เดก็
การว่ิงเล่นและหาประสบการณ์ การเรียนรู้วิถีชีวิต
การท�ำอาชีพประมงโดยเริ่มช่วยพ่อออกหาปลาต้ังแต่ ๙ ปี
เขา้ ไปเรยี นรวู้ ธิ กี ารทำ� การประมงจากพอ่ เรมิ่ แตกหนมุ่ ไดอ้ ายุ
๑๖ เริ่มลงมือปฏิบัติด้วยตนเองด้วยการลงมือเป็นผู้ช่วย
ของพ่อ และเร่ิมลงศึกษาเรียนรู้การฟังเสียงปลา โดยการ
ด�ำน้�ำทะเลโดยการจ�ำแนกเสียงร้องของปลาในน�้ำ ฝึกการ
เรยี นรวู้ า่ เสยี งแบบใดเปน็ ฝงู ปลาชนดิ ใด การใชส้ ญั ญาณเสยี ง
ในน้�ำโดยการด�ำลงไปในน�้ำ โดยการบอกเล่าจากรุ่นสู่รุ่น
พ่อรุ่นลูกการเนินการฟังเสียงฝูงของปลาโดยใช้วิธีการด�ำน�้ำ
ทะเล ไมใ่ ชเ้ ครอื่ งมอื ใด อาศยั ประสบการณล์ ว้ น ๆ และสมาธิ
ในการหาฝูงปลา ทิศทางในการลงไปอยู่ในน�้ำจากการบอก
เล่าจากพ่อ และประสบการณ์ฟังเสียงปลาใต้น้�ำ “ดุหล�ำ”
กล่าวคือ การท่ีคนลงด�ำน�้ำโดยการฟังเสียงปลาใต้น�้ำไป
เพื่อฟังว่าจะมีปลาและปลาชนิดใด โดยนายเจริญ โต๊ะอิแต
สามารถจำ� แนกวา่ เปน็ ปลาประเภทใด เชน่ ปลาจวดหางรอก
(เกร็ดจะเนียน ล�ำตัวจะเหลือง ลักษณะฟันไม่มีเค้ียว
แตล่ กั ษณะฟนั เลก็ ๆ) (ปลาจวดสองซจ่ี ะมลี กั ษณะเขย้ี วสองส่ี
ด้านล่าง ด้านบนหนึ่ง) เสียงปลาแต่ละชนิดจะส่งเสียงแตกต่างกัน ท้ังหมดท้ังมวลล้วนอาศัยประสบการณ์
การฟงั เสียงปลาต้องใช้ประสบการณจ์ ริงในการแยกแยะเสยี งปลา เรยี นรู้ทิศทางของลม ทง้ั สิน้ บางครั้ง การหาปลา
นอกจากจะอาศยั โชคชว่ ยแลว้ ตอ้ งอาศยั ในเดอื นมดื ทอ้ งฟา้ มดื จะเหน็ ฝงู ปลาแหวกวา่ ยเปน็ ฝงู ไดช้ ดั ลกั ษณะฝงู ปลา
ท่ีมักจะอยู่รวมกัน เป็นฝูงรวมกัน เช่น ปลาจวด ปลาลัง (ปลาทู) ทะเลปักษ์ใต้ บริเวณท้องทะเลอ่าวไทยบริเวณ
อำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช คลอบคลมุ พนื้ ท่ี หลายอำ� เภอ เชน่ อำ� เภอทา่ ศาลา อำ� เภอสชิ ล “อา่ วทองคำ� ”
การหาปลาในเวลากลางคืนในท้องทะเลอันเวิ้งว้าง สามารถแยกแยะชนิดของปลาโดยใช้พลายน�้ำ (แสงของน้�ำ)
เพราะแสงของดวงจันทร์สาดส่องมายังตัวของปลา ปลาสามารถสะท้อนแสงให้เห็นเป็นเงาแสงได้ สังเกตว่า
จะเปน็ ปลาทมี่ กั แวกวา่ ยเปน็ ฝงู ลกั ษณะคลน่ื กระแสใตน้ ำ้� แรงมกั จะไดป้ ู เพราะปจู ะฝงั ตวั ในโพรง และใตด้ นิ ทอ้ งทะเล
ช่วงฤดูทสี่ ามารถหาสัตว์น้�ำได้ ๑) ระหว่างเดือน ม.ค - ก.พ ปลาลงั กุ้ง(ไมม่ กี ารส่งเสรมิ และมกั จะเกาะในฝูงปลา)
๒) ระหว่างเดอื น มี.ค - เม.ย ก้ัง ปริมาณมาก ๓) ระหว่างเดอื น พ.ค - พ.ย จะเทศกาลท่ีมปี ู ปลาจวด สามารถรับชม
รายการจากการสัมภาษณแ์ ละจัดทำ� รายการทวี จี าก “ดุหลำ� คนฟังเสยี งปลา รายการทีวีช่อง CNN”

174 หลกั สตู รรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ชาวประมงบ้านพื้นได้ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น การรู้ทิศทางลม เพ่ือก�ำหนดเคร่ืองมือในการ
จับปลา กำ� หนดเวลาการจับตามลักษณะ ลมแปดทิศ ท�ำใหช้ าวประมงพื้นบา้ นมคี วามหลากหลายในการใชเ้ คร่ืองมือ
ทำ� มาหากนิ ไดแ้ ก่ อวน เปด็ แห ลอบ หรอื ใชภ้ มู ปิ ญั ญากานำ�้ ลมแปดทศิ คอื ลมหายใจของธรรมชาตทิ สี่ รา้ งใหท้ กุ ชวี ติ
สมดุล และความสมบูรณ์ นครศรีธรรมราชโดยเฉพาะอ่าวท่าศาลา ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ๒ ด้าน คือ มรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ (ลมว่าว) ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้(ลมพลัด) ลมที่พัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่า
ลมพลดั หลวง ลมทพ่ี ลดั จากทศิ เหนอื เรยี กวา่ ลมอตุ รา ลมทพ่ี ดั จากทศิ ใต้ เรยี กวา่ ลมสลาตนั ลมทพี่ ดั จากทศิ ตะวนั ออก
เรยี กวา่ ลมออก ลมทพ่ี ดั จากตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เรยี กวา่ ลมเภา ลมทง้ั ๘ ทศิ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ชาวประมงในการวางแผน
การจับสัตว์น�้ำโดยการใช้เคร่ืองมือท่ีเหมาะสม แต่ละช่วงของแต่ละเดือน จะจับปลาได้แต่ละชนิดท่ีแตกต่างกัน
ท�ำให้ชาวประมงได้เรยี นร้ชู ีวติ และการสรรหาอุปกรณเ์ ครือ่ งมอื ในการหาปลาให้เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งเวลา
นายเจริญ โต๊ะอิแต “บังมุ” เป็นคนสู้ชีวิต เป็นคนรุ่นใหม่ที่ชอบแสดงออก และเป็นผู้น�ำ
ในการจัดต้ังศูนย์การเรยี นรูธ้ นาคารปูมา้ และประมงชายฝั่งบา้ นในถุง้ อ.ทา่ ศาลา จ.นครศรธี รรมราช เปน็ ผกู้ อ่ การดี
ในการขับเคล่ือนการฟื้นฟูชายฝั่ง ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๕ จากการร่วมมือกัน จ�ำนวน ๖-๗ คน โดยมีการหาแนวร่วม
ในการขบั เคลอ่ื น จำ� นวน ๓๐ คน ปัจจบุ นั มสี มาชกิ เพิ่มขน้ึ โดยมคี วามคิดเมื่อ ๑๐ ปที ีผ่ ่านมา ผลกั ดันเรือพานชิ
ออกจากอ่าวท่าศาลา เข้ามาหาหอยลาย หาปลาริมตลิ่ง ถ้าชาวบ้านจับหาหอยไปกินไปขายได้ โดยการด�ำ งม
ห้ามใช้คราดหอยลาย หอยแครง ท�ำให้ขุดโคลนขึ้นมา ไถหน้าโคลนใต้ดิน ท�ำให้แก๊สไข่เน่าข้ึนมาบนผิวน�้ำ
สง่ ผลตอ่ ชวี ติ ตอ่ สตั วน์ ำ�้ ชายฝง่ั เกดิ สภาวะการทำ� ลายธรรมชาติ ประกอบกบั จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ชมุ พร สรุ าษฎรธ์ านี
ปิดอ่าว ห้ามจับสัตว์น้�ำ ๑๕ ก.พ -๑๕ พ.ค ท�ำให้เรือประมงจากแหล่งอ่ืนมารุนหอย ส่งผลต่อการพลิกโคลนตม
ท�ำใหแ้ กส๊ ไขเ่ น่าข้ึนมา ท�ำลายสตั ว์นำ้� ชนิดอ่นื ๆ สง่ ผลตอ่ การท�ำหากนิ ของชาวประมงพื้นบ้าน นายเจริญ โต๊ะอิแต
ไดร้ ว่ มกนั ตอ่ ตา้ น การจดั ตงั้ กลมุ่ เพอ่ื อนรุ กั ษส์ ตั วน์ ำ�้ เพอ่ื ใหล้ กู หลานไดม้ ที รพั ยากรอนั อดุ มสมบรู ณใ์ ชบ้ รโิ ภคกนั ตอ่ ไป
โดยการทำ� งานของกล่มุ อนรุ กั ษ์ การปกปอ้ งและการบรบิ าลปู น�ำปูทม่ี ีไข่นอกกระดอง ท่แี ก่เต็มทโ่ี ดยใหช้ าวประมง
ได้น�ำปทู ่ยี ังมีชวี ติ อยู่มาให้กับกล่มุ เพ่ือจะได้อนุบาลปใู หไ้ ขป่ ฝู ักตัวออ่ น กอ่ นปล่อยลงไปสู่ธรรมชาติ เพอ่ื เพม่ิ ปริมาณ
ปใู นทะเลใหม้ คี กู่ บั อา่ วทา่ ศาลา การดำ� เนนิ การดงั กลา่ ว สง่ ผลใหห้ ลย่ หนว่ ยงานไดม้ องเหน็ คณุ คา่ การทำ� งานของกลมุ่
สมาคมรักทะเลไทย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อบต.สนับสนุน เพ่ือนในเฟสบุ๊คเห็นการท�ำงานของคณะ
โดยมีการสนบั สนุนเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท สร้างอาคาร ปี ๒๕๕๘ โดยมีการรวมกล่มุ ออมทรัพย์บ้านในถ้งุ เพ่อื ออมเงิน
๕๐ บาทตอ่ เดอื น ปจั จบุ นั ๒๕๖๒ มเี งนิ ทนุ หมนุ เวยี น ลา้ นกวา่ บาท เพอื่ ใหส้ มาชกิ ไดก้ ยู้ มื ไปซอ้ื อปุ กรณใ์ นการทำ� การ
ประมงชายฝง่ั กรณเี ครอื่ งมอื ทใ่ี ชท้ ำ� มาหากนิ เกดิ การเสยี หาย สมาชกิ สามารถมากยู้ มื เงนิ เพอ่ื ไปจดั ซอื้ อปุ กรณเ์ กยี่ วกบั
การท�ำการประมงได้ ท�ำใหว้ ิถีชวี ิตของชาวบ้านในถงุ้ เร่ิมเห็นความสำ� คัญของการรวมกลุ่มอนรุ ักษ์พันธสุ์ ตั ว์
รางวลั ที่ไดร้ บั
๑. สนง.คณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ มอบรางวลั ชนะเลศิ ประเภทบคุ คลทว่ั ไป จากการประกวด
คลิปวีดิโอสื่อสร้างสรรคเ์ พ่อื การขยายผลธนาคารปูมา้ และการอนุรกั ษท์ รพั ยากรปูม้า ประจำ� ปี ๒๕๖๑
๒. กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มอบโล่
เกียรตยิ ศ ใหน้ ายเจริญ โต๊ะอแิ ต “ทสม. ดเี ด่น จงั หวัดนครศรธี รรมราช” เมอ่ื วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๕๙
๓. มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ มอบเกยี รตคิ ณุ แด่ ชมุ ชนบา้ นในถงุ้ “ชมุ ชนตน้ แบบหลกั ในถนิ่ มวล”
ประจ�ำปี ๒๕๖๒
๔. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มอบรางวัล “กลุ่มอนุรักษ์ประมงพื้นบ้านในถุ้ง
จังหวัดนครศรีธรรมราช ” สถาบันเกษตรกรแห่งชาติ ประเภทเกษตรกรเพาะเลีย้ งสตั ว์น้�ำ ประจ�ำปี ๒๕๖๒

รหสั วชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ท่าศาลาศึกษา 175

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

๒.๕ ดา้ นเกษตรกรรม

๒.๕.๑ นายนิวัฒน์ ดมิ าร : การแปรรปู ทางการเกษตร ยาเสน้ “ยากลาย”
นายนิวัฒน์ ดิมาร บ้านเลขที่ ๒๓/๒ ม.๖ ต.กลาย บ้านบ่อกรูด เกิดวันท่ี ๑๒
กันยายน ๒๕๐๒ ปจั จุบัน อายุ ๖๒ ปี โทร ๐๙๘๗๐๙๐๕๒๘

ยากลายเป็นท่ีเลื่องลือมาตั้งแต่สมัยก่อน ระยะเวลา ๑๐๐ กว่าปีผ่านมา ดินแดน
แถบลุ่มแม่น้�ำกลายสองฝั่งแม่น�้ำกลาย ครอบคลุมพ้ืนท่ีอ�ำเภอท่าศาลา และอ�ำเภอนบพิต�ำ (ท่ีแยกเป็นอ�ำเภอใหม่)
จากพนื้ ทข่ี องอ�ำเภอท่าศาลา บรเิ วณ ต�ำบลสระแกว้ ต�ำบลกลาย ต�ำบลตล่งิ ชัน บรเิ วณแถบนี้ เป็นพ้นื ท่ีแมน่ ำ้� กลาย
ไหลผ่านท�ำให้มีความอุดมสมบูรณ์ ยามน�้ำหลากได้พัดพาน�ำความอุดมสมบูรณ์ของแร่ธาตุท�ำให้เป็นที่กล่าวขานว่า
ยาเสน้ ท่มี าจากพน้ื ที่ต�ำบลกลาย มกี ล่นิ และรสชาติยากลาย มีกลน่ิ ฉนุ ไม่เหมือนทอี่ ืน่ คอยาเส้นมักจะนิยมบรโิ ภค
จนเปน็ ทร่ี ูจ้ กั ถา้ จะสบู ยาเสน้ ควรจะเป็นยากลาย นามช่อื เลื่องลือ กลา่ วขานในหม่ผู ู้สูบนิยมชมชอบ พ่อค้ายาเสน้
จงึ บอกทม่ี ี วา่ “ยากลาย” ยากลาย เปน็ ยาสบู ทปี่ ลกู ในเขตทอ้ งทต่ี ำ� บลกลายอำ� เภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
มชี อื่ เสียงในดา้ นทม่ี ีรสชาติท่มี ีความฉุนจัด (เมาจดั ) และมรี าคาค่อนข้างสูง การปลกู ยาสูบที่ต�ำบลกลาย คงท�ำกนั มา
แลว้ ไมต่ ำ� กว่า ๑๐๐ ปี เพราะชาวบา้ นท่ีมอี ายปุ ระมาณ ๗๐-๘๐ ปี ในขณะน้ีเล่าวา่ ตัง้ แต่เกิดมากเ็ หน็ บรรพบรุ ุษ
ของเขาปลูกยากลายกันอยู่แล้ว อนึ่ง ยากลายยังแพร่พันธุ์ไปสู่ต�ำบลท่ีใกล้เคียง เช่น ต�ำบลตล่ิงชัน ต�ำบลสระแก้ว
ตำ� บลท่าศาลา และต�ำบลกะหรอ กงิ่ อำ� เภอนบพิต�ำ เป็นต้น
ยากลายเปน็ พนั ธไ์ุ มล้ ม้ ลกุ ใหป้ ระโยชนป์ เี ดยี วกต็ าย มลี ำ� ตน้ ออ่ นเปราะ ภายในลำ� ตน้ กลวง
ลำ� ต้นโดยขณะเส้นผ่านศนู ย์กลาง ๑.๕-๒.๐ นิว้ ไม่มกี ิ่ง ใบกวา้ งประมาณ ๒๐-๓๐ เซนตเิ มตร ยาวประมาณ ๓๐ - ๕๐
เซนติเมตร โดยแตกออกจากล�ำต้นต้ังแต่โคนจนถึงยอด ต้นยากลายมีความสูงประมาณ ๑๐๐ - ๑๕๐ เซนติเมตร
ใบหนา มขี นเลก็ นอ้ ย ถา้ จบั ดจู ะรสู้ กึ เหนยี วหนดื ผดิ กบั ใบไมอ้ นื่ ความสงู ของตน้ และความโตของใบจะขนึ้ อยกู่ บั อาหาร
ที่ได้รับด้วย แต่อย่างไรก็ตามชาวไร่ยากลายเล่าว่า ยากลายนั้นจะมีขนาดล�ำต้น ความสูงและความโตของใบ
พรอ้ มทงั้ ความเหนยี วหนดื ทเ่ี หนอื กวา่ ทมี่ ผี นู้ ำ� ไปปลกู ในแหลง่ อน่ื แมแ้ ตป่ ลกู ในเขตใกลเ้ คยี งในจงั หวดั นครศรธี รรมราช
ทง้ั น้ีอาจเป็นเพราะความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ในเขตต�ำบลกลายก็เป็นได้

176 หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

การท�ำไรย่ ากลายมีขนั้ ตอนดังนี้
๑. การเตรียมพ้ืนท่ี เดิมนั้นจะใช้เป็นป่ารกร้างว่างเปล่าท่ีได้มาด้วยการจับจอง แต่ปัจจุบัน
ชาวบ้านจะปลูกยากลายกันในพ้ืนที่สวนยางพื้นเมืองท่ีได้รับการสงเคราะห์ให้ปลูกยางพันธุ์ดีแทนยางพันธุ์พ้ืนเมือง
การเตรียมดินจะเร่ิมประมาณช่วงเดือน กุมภาพันธ์ –
เดอื นมนี าคม ชาวไร่จะถางป่าโดยฟันต้นไมเ้ ลก็ ๆ ออกใหท้ วั่
ก่อนแล้วจึงโค่นต้นไม้ใหญ่ๆ ลงให้หมดแล้วปล่อยทิ้งไว้
สักระยะหน่ึงกะประมาณให้แห้งพอจะเผาติดไฟซ่ึงส่วนใหญ่
ราวๆ ๑ เดอื น กจ็ ดุ เผาได้ การเผานน้ั จะเรม่ิ จดุ ทางดา้ นเหนอื
เพอื่ ใหไ้ ฟลกุ ไปไดท้ วั่ ไร่ เมอ่ื เสรจ็ การเผาแลว้ ชาวบา้ นกจ็ ะเรมิ่
“ปรนไร่” คือเก็บใบไม้และก่ิงไม้ท่ีไม่ติดไฟมากองเผาอีก
จนหมดแล้วใช้ “ไม้หมรูน” ลากหรอื ดันขเ้ี ถ้าใหก้ ระจายท่วั
พ้ืนที่ ขั้นตอนการเก็บเศษไม้มาเผา เรียกว่า “ปรนไร่”
หลงั จากนน้ั ก็ขดุ ร่องเป็นแปลงปลกู
๒. การเตรียมพันธุ์ พันธุ์ยากลายท่ีใช้ปลูกกันในทุก ๆ ปี นั้นชาวบ้านเก็บเมล็ดพันธุ์ยาไว้
จากการปลกู ในปกี อ่ น สำ� หรบั ในการปลกู ในปถี ดั ไป จะไมม่ กี ารไปเอาพนั ธจ์ุ ากในทอ้ งทอี่ น่ื ๆ การเกบ็ เมลด็ พนั ธย์ุ านนั้
ชาวบ้านจะปล่อยให้ต้นยาท่ีเก็บใบหมดแล้วออกดอกและฝัก เมื่อฝักแก่เต็มท่ีแล้วก็จะตัดมาท้ังล�ำต้นมาผึ่งไว้ที่แห้ง
เกบ็ เมล็ดพันธ์ไุ ว้ใชป้ ลูก เร่มิ ดว้ ยการเอาเมล็ดพันธย์ุ าทเ่ี ตรียมไวห้ อ่ ผ้าแชน่ �้ำ ๑ - ๒ คนื แล้วน�ำไปเพาะในกระบะดิน
หรอื ดนิ ปนทรายทเี่ ตรยี มไว้ คอยรดนำ�้ ใหด้ นิ เปยี กชมุ่ อยเู่ สมอ ประมาณ ๑ เดอื น กจ็ ะไดต้ น้ กลา้ ยาสบู มใี บราว ๒ - ๓ ใบ
จงึ ยา้ ยต้นกล้าไปแยกเพาะชำ� ไว้อีก การยา้ ยต้นกลา้ ไปเพาะใบนีเ้ รยี กว่า “ฉนุ ลกู ยา” ในการย้ายไปปลูก อาจปลกู ชำ�
ในกระเปาะเล็ก ๆ หรือปลูกในร่องฉุน ถ้าปลูกในร่องฉนุ จะปลูกหา่ งประมาณ ๕ - ๖ น้วิ ตอ่ ต้น ระยะแรก ๆ จะต้อง
รดน�้ำทกุ วนั และท�ำหลังคาบงั แดดใหด้ ้วย ซึ่งจะใชท้ างมะพรา้ วกันเป็นส่วนใหญ่ หรืออาจจะมใี บไมอ้ ่ืนบา้ ง เช่น ระกำ�
เม่ือต้นกล้าแข็งแรงดีแล้วก็เอาหลังคาออก ต้นกล้าน้ีเม่ือมีใบราว ๔ - ๕ ใบ หรือมีความสูงประมาณ ๖ - ๘ นิ้ว
ก็นำ� ไปปลูกได้
๓. การปลูก ฤดูการปลกู ยากลายนั้น ชาวบ้านจะเริม่ ลงมือปลูกในเดือนพฤษภาคม หรอื ท่ีเรยี ก
กนั วา่ เดอื น ๖ เพราะชว่ งนจ้ี ะมีฝนตกอันเน่ืองมาจากลมมรสมุ ตะวนั ตกฉยี งใต้ ซงึ่ เรยี กกันวา่ “ฝนพลดั ” การปลูก
ระยะห่างระหว่างต้น ประมาณ ๗๐ - ๗๕ เซนติเมตร ก่อนขุดหลุมจะมีการขึงเชือกกะระยะห่างให้เรียบร้อย
เม่อื ปลกู แล้วกจ็ ะดเู ป็นแถวสวยงามและงา่ ยแก่การบำ� รุงรกั ษาและการเกบ็ ผลผลติ ก่อนปลูกจะมีการใส่ปุ๋ยรองหลมุ
เดิมจะนยิ มใชม้ ลู ค้างคาว แต่ปจั จบุ ันจะใชป้ ุ๋ยเคมี ๑๒ - ๑๒ - ๑๗ - ๒ ใช้ประมาณหลมุ ละ ๑ ชอ้ นโต๊ะ คลกุ เคล้า
กบั ดนิ ใหท้ วั่ แลว้ ปลกู ตน้ ยาลงไป ตอ้ งพยายามใหล้ ำ� ตน้ ตง้ั ตรง เสรจ็ แลว้ ถมดนิ ใหแ้ นน่ เดด็ ใบลา่ งทงิ้ ประมาณ ๑ - ๒ ใบ
มักจะปลูกเวลาเย็น เชื่อกันว่าต้นยาจะตั้งตัวได้เร็ว (เข็งแรง) หากไม่มีฝนหลังจากปลูกแล้วต้องท�ำเพิงก�ำบังแดด
และรดน้ำ� อยู่ ๗-๑๐ วัน เม่ือต้นยาแข็งแรงดีแล้วก็เอที่ก�ำบังแดดออก
๔. การบำ� รงุ รกั ษา หลงั จากปลกู เสรจ็ แลว้ กต็ อ้ งหมนั่ กำ� จดั วชั พชื เพอื่ ไมใ่ หแ้ ยง่ อาหารตน้ ยาสบู
และค่อยกำ� จัดตัวหนอนซง่ึ จะกดั กินใบและยอด เมือ่ ต้นยาสูบมคี วามสูงประมา ๑ ศอก หรอื ชาวบา้ นจะกะประมาณ
จากจำ� นวนใบ คอื มีประมาณ ๗ - ๘ ใบ เป็นระยะทีต่ น้ ก�ำลงั เจริญเตบิ โตกต็ ้องใสปยุ๋ ให้อีกครงั้ หนงึ่ โดยการโรยป๋ยุ
รอบโคนตน้ ยาไวใ้ หส้ งู ซง่ึ ชาวบา้ นเรยี กกนั วา่ “พนู ยา” วธิ กี ารนเี้ ปน็ การปดิ ปยุ๋ ไมใ่ หน้ ำ�้ ชะไปทอี่ นื่ และเปน็ การปอ้ งกนั
ไมใ่ ห้ต้นยาล้มไดง้ า่ ยเมือ่ ถูกลมพัด เมอื ต้นยามีใบประมาณ ๑๘ - ๒๐ ใบ ชาวบา้ นก็จะเดด็ ยอดท้ิงเสยี เพอื่ ลดความ

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 177

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

เจริญเติบโตทางด้านความสูง แต่ให้มาเจริญท่ีใบ ใบจะได้รับอาหารมากข้ึน โตและหนาข้ึน ในช่วงน้ีต้องคอยหม่ัน
หักแหนะ “แขนง” ของต้นยาสูบท่ีงอกจากล�ำต้นท่ีโคนใบให้หมด เพื่อมิให้แยงอาหารจากส่วนที่อ่ืน ๆ เมื่อเห็นว่า
ใบยาสูบมีสีเขียวแก่และปลายใบสุดมีสีด�ำก็แสดงว่าใบยาสูบเร่ิมแก่เก็บได้แล้ว ซึ่งเวลาทั้งหมดในการท�ำไร่ยาสูบน้ี
ประมาณ ๖ เดอื นอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการผลติ ยาเสน้ มี ดงั น้ี ๑. อปุ กรณก์ ารหน่ั ยา ภาษาถน่ิ ใต้ “เขอขวานยา” ๒. มา้ รองนงั้
๓. มีด ๔. หินลับมีด ๕. แผงยา ๖. เสื่อ ๗. ราวตากยา การผลิตยาเส้น “ยากลาย” เป็นยาเส้นที่มีชื่อเสียงที่
เปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดใี นแงค่ ณุ ภาพของเสน้ ยา กลา่ วกนั วา่ เสน้ จะเลก็ นม่ิ ไมห่ ยาบแขง็ สคี ลำ�้ มนี ำ้� มนั ดนิ ไมแ่ หง้ หยาบกระดา้ ง
และทขี่ น้ึ ชอื่ ลอื ชามากทส่ี ดุ กใ็ นดา้ นรสชาติ เปน็ ยาเสน้ ทมี่ รี สฉนุ มคี วามเมาจดั ซงึ่ สง่ิ เหลน่ นเี้ ปน็ สงิ่ ทช่ี าวไรภ่ มู ใิ จมาก
ชาวไรย่ ากลายเลา่ ว่า นอกจากคุณภาพของดนิ และลกั ษณะอากาศท่เี หมาะสมกับยาสูบชนิดน้ีแล้ว เขาเช่ือว่าเทคนิค
และวธิ ีการต่างๆ ของระยะเวลาการเก็บ การบม่ ใบยา การหน่ั ตลอดจนการเกบ็ รักษายาเสน้ เป็นส่ิงที่ส�ำคัญทช่ี ว่ ยให้
ยากลายมีคณุ ลกั ษณะเหล่านี้ กลวิธีการผลิตยากลาย เริม่ ตัง้ แตก่ ารเกบ็ ใบยาสูบ เมอ่ื ชาวไรร่ ู้ว่าถึงเวลาจะเก็บไดแ้ ลว้
เขาจะแบง่ ใบยาออกเป็น ๓ พวก คอื ตนี ยา ได้แก่ ใบยาสบู ท่อี ยู่สวนลา่ งของล�ำต้น คือส่วนโคนตน้ นบั จากพืน้ ดนิ
มา ๕ - ๖ ใบ ตนี ยาจะมคี ณุ ภาพตำ่� ไมฉ่ นุ จดั เหมอื นใบสว่ นอน่ื ๆ กลางยา ไดแ้ กใ่ บยาสบู ทถ่ี ดั จากตนี ยาขน้ึ มานบั ตง้ั แต่
ใบท่ี ๗ ถึงใบท่ี ๑๑ หรอื ๑๒ กลางยามีจำ� นวนราว ๕-๖ ใบ กลางยามีคุณภาพดกี ว่าและราคาสงู กว่า ตีนยา ยอดยา
คือส่วนที่เหลือท้ังหมดมีประมาณ ๕-๑๐ ใบ จัดเป็นใบยาท่ีดีท่ีสุด รสฉุนจัดท่ีสุด และราคาแพงมากที่สุด เรียกว่า
“ยายอด” ปจั จบุ นั ชาวสวนยาทว่ั ไปมกั แบง่ ใบยาออกเพยี ง ๒ พวกคอื ตนี ยากบั ยอดยาเทา่ นน้ั สว่ นกลางยาจะรวมกบั
สว่ นยอด เพราะจะไดป้ ริมาณมาก แตช่ าวไร่ยากลายจะแบง่ ตามแบบเดิม เพราะกลวั ว่าจะท�ำใหค้ ณุ ภาพยาเสน้ ต่�ำลง
การเกบ็ รกั ษาใบยาสบู นนั้ จะเรม่ิ เกบ็ ใบยาจากตนี ยากอ่ นแลว้ นำ� มาบม่ ไวโ้ ดยวางใบยาพาดทบั ซอ้ นกนั โดยใหส้ ว่ นของ
ปลายใบแตล่ ะใบยน่ื โผลอ่ อกมาประมาณ ๑ ใน ๕ ของความยาวใบ การเกบ็ ยาในวันหน่ึงกบ็ ่มไวก้ องหน่ึงไมป่ ะปนกนั
ท่ีที่ใช้บ่มยานั้นควนมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก ส่วนใหญ่จะบ่มท่ีขน�ำ บ่มไว้ ๔ - ๕ คืน ก็พร้อมที่จะน�ำไปขวานได้
ตอนนี้ใบยาจะมีลักษณะสีค่อนข้างเหลือง น�ำมาดึงเอาก้าน
ใบออกเรียกว่า “รูดยา” วางเป็นกอง ๆ กองละประมาณ
๑๐๐ ใบ แล้วม้วนให้แน่นเป็นมัดๆ แต่ต้องไม่โตกว่า
ช่องวงกลมของข่ือขวานยา แล้วมัดด้วยเชือกกล้วยหรือ
ตอกคลา้ ไวเ้ ปน็ มดั ๆ ซง่ึ นยิ มทำ� กนั ในตอนเยน็ หรอื ตอนกลาง
คืนรุ่งเช้าจึงลงมือฝาน การฝานยาเป็นงานท่ีค่อนข้างยาก
และเปน็ เทคนคิ อยา่ งหนง่ึ ทต่ี อ้ งอาศยั ทกั ษะเฉพาะบคุ คล วธิ ี
การฝานจะเอามว้ นใบยาวางในรางของขอ่ื ฝานยา จบั ดว้ ยมอื
ซ้าย ใช้มือขวาจับมีด มือซ้าย ดันม้วนใบยาออกมาเบาๆ
ทีละนิด จับมีดโดยให้คมมีดชิดกับหน้าข่ือ สันมีดผายออก
เล็กน้อย แล้วยกมีดฝานเป็นจังหวะเล็กน้อย เส้นยาจะได้มี
เส้นละเอียดเล็กเท่ากันทุกเส้น เป็นงานที่ต้องอาศัย
ความชำ� นาญของแตล่ ะคน และทสี่ ำ� คญั มดี ฝานยาจะตอ้ งลบั
ให้คมอยู่เสมอ ปกติแล้วงานฝานยา ส่วนใหญ่จะเป็นหน้าท่ี
ของผู้ชาย ผู้หญิงจะมีหน้าท่ีตากยา คือเอาเส้นยาท่ีฝานได้
แลว้ มาวางเรยี งบนแผงยา ไปตามความยาวของแผง ไมใ่ หย้ า
หนาหรือบางเกินไปเพราะหากหนาจะท�ำให้แห้งช้า

178 หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหัสวชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

แต่ถา้ บางนกั จะท�ำให้ยาพับไดเ้ ลก็ ยาเส้นแต่ละแผงจะแบ่งได้ ๒ พับ ซง่ึ เวลาตากยาก็จะต้องแบง่ ออกเปน็ ๒ สว่ น
เท่า ๆ กัน เมื่อตากเส้นแล้วก็จะต้องน�ำไปผ่ึงแดด วันท่ีมีแสงแดดจ้าทั้งวันผึ่งแดดวันเดียวก็ใช้ได้ โดยจะต้องมีการ
“แปร” คือ พลิกเอาด้านลา่ งขึน้ บนซึง่ จะทำ� กนั ในตอนเท่ียงแลว้ ตากน้�ำคา้ งตอ่ อีก ๑ คนื การตากน�้ำคา้ งนน้ั ก็เพอื่ ให้
เส้นยาท่ีแห้งเกรียมอ่อนตัวลงสะดวกในการจับพับเป็นพับๆ แล้วการเก็บยาเส้นให้มีคุณภาพดีอยู่ได้นานชาวไร่
ยากลายเล่าวา่ จะตอ้ งเกบ็ ไว้ในทม่ี ิดชดิ ไมใ่ หถ้ ูกลมถูกน�ำ้ สมัยกอ่ นจะเกบ็ ไว้ในโอง่ ปากเลก็ กระบอกไมไ้ ผ่ วธิ ีเหล่านี้
เขาเก็บรกั ษาไวเ้ พ่ือบรโิ ภคเอง ปัจจบุ นั ยากลายเป็นพืชเศรษฐกจิ ท่ีส�ำคัญของชาวตำ� บลกลาย เปน็ สินค้าที่ท�ำรายได้
ให้แก่อ�ำเภอท่าศาลามาก จะมีพ่อค้าต่างจังหวัดมาซื้อยากลายต่อจากพ่อค้าคนกลางซึ่งเป็นคนในท้องถ่ินอีกทีหนึ่ง
ส่วนมากจะเป็นพ่อค้าจากจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส ซึ่งจะขายกันในราคาสูงพอสมควรประชาชนทั่วไป
มักจะพบเห็นวิถีชีวิตของชุมชน ที่มีการปลูกยาเส้น บางครอบครัวปลูกก่อนลงต้นสวนยางพารา บางครอบครัว
ท�ำการปลูกยาเส้นอย่างเดียว แต่ก็มีสัดส่วนน้อยกว่าการท�ำสวนผลไม้ ท่ีได้ราคาดีกว่า เสน่ห์ของการท�ำยากลาย
อยู่ท่ีการห่ันใบยาให้เป็นฝอยๆ เป็นเส้นที่สม่�ำเสมอ ต้องรู้จักใช้อุปกรณ์ในการห่ัน และความช�ำนาญในการท�ำ
เดก็ และเยาวชนควรทจี่ ะเรยี นรู้ และนา่ จะพฒั นานำ� นวตั กรรมมาชว่ ยในการผลติ ยามากยง่ิ ขนึ้ และปจั จบุ นั ยงั มจี ำ� นวน
ครอบครัวที่ยังคงสืบสานการปลูกยากลาย จ�ำนวนไม่มากมัก แต่ก็ยังมีหลายครอบครัวท่ีด�ำเนินการเร่ืองน้ี บริเวณ
สองฝง่ั แมน่ ำ�้ กลาย ยงั คงสภาพอยู่ และในตวั อำ� เภอทา่ ศาลา มโี รงงานบม่ ยา และรบั ซอื้ ยาทส่ี ง่ อออกไปขายในจงั หวดั
และตา่ งจงั หวดั บรเิ วณโรงงานท่ีรบั ซอ้ื ยังคงเหลือ ๑ โรง เราเยาวชนร่นุ หลงั ควรจะต้องเรียนร้วู ิถชี ีวิตของประชาชน
ในพน้ื ท่ี บา้ นเกดิ ของตนเองให้ได้อย่างท่องแท้ และอยา่ งเขา้ ใจในการสืบสาน และพฒั นา สืบสาน ตอ่ ยอดผลผลิตให้
มีความเป็นทันสมัยต่อไป

๒.๕.๒ นายธีรชัย ชว่ ยชู : การทำ� ปุ๋ยหมกั
ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจ�ำต�ำบลไทยบุรี
กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ ท่ีท�ำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี ๙ ต�ำบลไทยบุรี อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดยมี นายธีรชัย ช่วยชู อายุ ๕๓ ปี เป็นผู้ใหญ่บ้าน
และประธาน โดยนายธีรชัย ช่วยชู เป็นนักเรียน
ปอ.ของ กศน. อำ� เภอทา่ ศาลา และมีความกระตือรือร้น
ประชุมประจ�ำหมู่บ้านทุกเดือนในการพัฒนาหมู่บ้าน
และเขา้ รว่ มประชมุ วางแผนในการทำ� แผนจลุ ภาคทกุ ครง้ั
ที่ ครู กศน. ต�ำบลไทยบุรี ซง่ึ หมู่ที่ ๙ ไดเ้ สนอในท่ปี ระชุม
ท�ำโครงการ การท�ำปุ๋ยหมักชีวภาพ ทางสมาชิกกลุ่ม
กเ็ หน็ ด้วย ในการทำ� ปุ๋ยหมัก (สูตรรวม)

รหัสวชิ า หลกั สูตรรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศึกษา 179

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

ปยุ๋ หมกั หมายถงึ ปยุ๋ อนิ ทรยี ท์ ไ่ี ดจ้ ากหมกั บม่ สารอนิ ทรยี ด์ ว้ ยจลุ นิ ทรยี ท์ ท่ี ำ� หนา้ ทย่ี อ่ ยสลาย
อินทรีย์วัตถุให้สลายตัว และผุพังไปบางส่วน ท�ำให้ได้ปุ๋ยที่มีลักษณะสีคล�้ำด�ำ มีลักษณะเป็นผง ละเอียดเหมาะ
สำ� หรบั การปรบั ปรงุ ดนิ และใหธ้ าตอุ าหารแกพ่ ชื วสั ดอุ นิ ทรยี ท์ ใ่ี ชส้ ำ� หรบั การหมกั อาจเปน็ เศษพชื สด วสั ดอุ นิ ทรยี เ์ ผา
รวมถงึ อาจผสมซากของสตั ว์ หรอื อาจผสมปยุ๋ คอกกไ็ ด้ และหากนำ� มากองรวมกนั พรอ้ มรดนำ�้ อยา่ งสมำ่� เสมอ จลุ นิ ทรยี ์
กจ็ ะทำ� การยอ่ ยสลายขน้ึ ซงึ่ สงั เกตไดจ้ ากกองปยุ๋ หมกั จะมคี วามรอ้ นเกดิ ขน้ึ เมอ่ื เกดิ ความรอ้ นจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งคลกุ กลบั
กองปุ๋ย และรดน�้ำให้ท่ัว ซึ่งจะท�ำให้จุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์ได้อย่างท่ัวถึง และหากความร้อน
ในกองปุ๋ยหมักมีอุณหภูมิใกล้เคียงกันในทุกจุด และความร้อนมีน้อยจึงจะแสดงได้ว่า ปุ๋ยหมักปุ๋ยพร้อมใช้งานแล้ว
ปุ๋ยหมักท่ีย่อยสลายได้ดีแล้วจะมีลักษณะเป็นเม็ดละเอียดสีน้�ำตาลด�ำ มีความร่วนซุย และมีกลิ่นฉุนของการหมัก
เมอื่ นำ� ปยุ๋ หมกั ไปใชใ้ นแปลงเกษตรกจ็ ะชว่ ยเพม่ิ ความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ ทงั้ ชว่ ยเพมิ่ แรธ่ าตุ อนิ ทรยี ว์ ตั ถุ ปรบั สภาพ
ความเปน็ กรด-ด่าง และช่วยให้ดินอุ้มนำ�้ ได้ดขี ึ้น เปน็ ตน้ การด�ำเนินโครงการ การเรียนและการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
การเตรียมวัสดุ
๑. มูลโค จ�ำนวน ๒๐ กระสอบ ๆ
๕๐ บาท
๒. มูลไก่ จ�ำนวน ๒๐ กระสอบ ๆ ละ
๔๕ บาท
๓. ปยุ๋ ยูเรยี ๑ กระสอบ ๑๐๐๐ บาท
๔. ขุยมะพรา้ ว ๑ รถ หกลอ้ ๆ ละ
๒๐๐๐ บาท
๕. การน้�ำตาลลิตรละ ๕๐ บาท
๖. หัวเช้อื จุลนิ ทรยี ์ลติ รละ ๑๒๐ บาท
๗. ร�ำละเอียดกระสอบละ ๓๐๐ บาท
๘ มูลคา้ งคาวกระสอบละ ๒๐๐ บาท
๙. ผ้ายางคลมุ กองปยุ๋ หมักผืนละ ๕๐๐ บาท

180 หลักสตู รรายวชิ าเลือก ท่าศาลาศกึ ษา

รหัสวิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

การเตรยี มอุปกรณ์
๑. โรงเรอื นชนาดกว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๐ เมตร
๒. จอบ
๓. ผ้ายางคลุมกองปยุ๋ หมักผืนละ ๕๐๐ บาท
๔. บวยรดนำ้�

ป๋ยุ หมัก ปยุ๋ หมักชวี ภาพ และวธิ ที ำ� ปยุ๋ หมกั

๑. กระบวนการหมักของปุ๋ยหมกั
๑.๑ การหมักแบบใช้ออกซิเจน เม่ือวัสดุหมักเกิดการย่อยสลายจนได้สารอินทรีย์ต้ังต้น
ได้แก่ ไขมัน โปรตีนคาร์โบไฮเดรต เซลลโู ลส ลกิ นิน ฯลฯ สารเหลา่ นี้ จะถูกจลุ นิ ทรยี ์จ�ำพวกท่ใี ช้ออกซิเจนยอ่ ยสลาย
ดว้ ยการดงึ ออกซเิ จนมาใชใ้ นกระบวนการ และสดุ ทา้ ยจะไดผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ปน็ ฮวิ มสั นำ�้ กา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO๒)
แอมโมเนีย (NH๓) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO๒) และพลงั งานความรอ้ น
๑.๒. การหมักแบบไม่ใช้ออกซิเจน สารอินทรีย์จะถูกย่อยสลายในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน
โดยอาศยั การทำ� งานของจลุ ินทรีย์จ�ำพวกทไ่ี ม่ใชอ้ อกซิเจน ๒ กลมุ่ คอื จุลินทรยี ์สรา้ งกรด และจุลินทรยี ส์ ร้างมเี ธน
ซ่ึงจะท�ำให้เกิดผลิตภัณฑ์สุดท้าย ได้แก่ ก๊าซมีเธน (CH๔) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO๒) แอมโมเนีย (NH๓)
และพลังงานความร้อน
๒. ป๋ยุ หมกั ชวี ภาพ และวิธีการทำ�
ปุ๋ยหมักชีวภาพ เป็นวิธีการท�ำปุ๋ยหมักที่มีการพัฒนาขึ้น เพื่อให้การย่อยสลายเกิดขึ้น
อย่างรวดเร็วด้วยการเติมหัวเช้ือจุลินทรีย์ หรือ EM เพ่ือเร่งกระบวนการหมัก ท�ำให้เกิดปุ๋ยจากอินทรีย์วัตถุ
ทีม่ ีการปลดปลอ่ ยธาตุอาหารออกมาไดเ้ รว็ ข้นึ แบง่ เปน็ ชนิดต่างๆ ไดแ้ ก่
๒.๑ ปยุ๋ หมักจากปยุ๋ คอก วัสดุ และส่วนผสมประกอบด้วย
– ปุ๋ยคอก ๑ ส่วน ประมาณ ๑๐ ปี๊ป
– แกลบเผา/แกลบดำ� ๑ สว่ น
– รำ� ละเอยี ด ๑ ส่วน
– เชอ้ื EM ๒๐ ซีซี
– กากนำ้� ตาล ๑๐๐ ซซี ี
– น�ำ้ ๑๐ ลิตร
วิธีทำ� โดย ๑) ผสมปุ๋ยคอก แกลบด�ำ และวสั ดทุ ุกอยา่ งให้เข้ากัน ๒) นำ� ไปกอง
บนพ้นื ซเี มนต์ แลว้ ใช้ผ้าคลมุ หรือหากทำ� ปรมิ าณนอ้ ย ใหบ้ รรจใุ สถ่ ังหรอื ถงุ กระสอบ ๓) หมักท้งิ ไว้ ๓๐ วัน ก่อนนำ�
ใสต่ น้ ไมห้ รอื แปลงผัก
๒.๒. ป๋ยุ หมักจากพืช ปยุ๋ หมกั ฟางขา้ ว วสั ดุ และส่วนผสม
– ฟางแหง้ สบั ละเอยี ด ๑ สว่ น ประมาณ ๑๐ กก.
– แกลบดิบ/แกลบเผา ๑ สว่ น
– ปยุ๋ ยูเรยี ๒๐๐ กรัม
– กากนำ�้ ตาล ๑๐๐ ซซี ี
– เชื้อ EM ๒๐ ซซี ี
– น้ำ� ๑๐ ลิตร

รหสั วชิ า หลกั สตู รรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศกึ ษา 181

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

วิธีทำ� โดย ๑) คลกุ ผสมฟาง และแกลบใหเ้ ข้ากัน หากมจี �ำนวนมากใหแ้ ยกคลุก แลว้ คอ่ ยมา
รวมกนั เปน็ กองเดียวอีกครั้ง ๒) ผสมเชอื้ EM และกากน้�ำตาลร่วมกับน้�ำ หลงั จากนัน้ ใช้เทราด และคลกุ ให้เขา้ กนั
กับวสั ดอุ นื่ ๆ ๓) นำ� ไปหมกั ในถัง ถุงกระสอบ หรือ บอ่ ซีเมนต์ นาน ๑-๒ เดอื น กส็ ามารถนำ� ไปใช้ได้
๒.๓ ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษอาหาร และขยะ ปุ๋ยหมักจากเศษอาหาร หากมีเฉพาะ
เศษอาหารที่เป็นพืชมักจะไม่มีปัญหา เพราะเวลาเน่าจะมีกล่ินเหม็นไม่รุนแรง เราสามารถน�ำไปคลุกกับปุ๋ยคอก
ในรางทำ� ป๋ยุ หมกั ไดเ้ ลย แตห่ ากมเี นอื้ สตั ว์จะมกี ลน่ิ เหม็นรนุ แรง สำ� หรบั บางครวั เรอื นท่ีมขี อ้ จำ� กัดปรมิ าณเศษอาหาร
ทเ่ี กดิ น้อย หากตอ้ งการท�ำปยุ๋ หมักจ�ำเป็นตอ้ งท�ำรางหมักหรอื หลมุ หมัก แต่หากจะหมกั ในถงั จะมีข้อจ�ำกดั ทเ่ี ต็มเร็ว
การท�ำรางหมัก ควรหาพ้นื ทีว่ ่างบริเวณหลังบ้าน ขนาดพ้นื ท่ีประมาณ ๑ เมตร x ๑ เมตร ลึกประมาณ ๒๐ - ๔๐
เซนตเิ มตร หรอื อาจนอ้ ยกวา่ หรอื อาจมากกวา่ ตามความตอ้ งการ แตค่ วรใหร้ องรบั เศษอาหารใหไ้ ดป้ ระมาณ ๑ เดอื น
และควรทำ� ๒ ชดุ พรอ้ มฉาบดา้ นขา้ งดว้ ยปนู ซเี มนต์ แตห่ ากไมม่ ปี ญั หาเรอื่ งนำ�้ ฝนหรอื นำ้� ไหลเขา้ กอ็ าจขดุ เปน็ บอ่ ดนิ ก็
เพยี งพอ ทง้ั นี้ ควรทำ� รอ่ งดา้ นขา้ ง เพอื่ ปอ้ งกนั นำ้� ไหลเขา้ และควรเตรยี มผา้ ใบคลมุ เมอื่ ฝนตกโดยมวี สั ดุ และสว่ นผสม
– ปยุ๋ คอก ๑ ใน ๔ ส่วนของรางหมัก
– แกลบด�ำ ๒ ถงั หรอื ไมใ่ สก่ ไ็ ด้
– น้�ำผสมหัวเช้อื เช้ือ EM ๑ ลติ ร
– กากน�้ำตาล ๑ ลิตร
วิธีท�ำโดย ๑) หลังจากที่เตรียมรางหมักแล้ว ให้เทปุ๋ยคอก และแกลบด�ำรองในรางไว้
เมอ่ื มีเศษอาหาร ใหน้ �ำมาใสใ่ นราง พรอ้ มใช้จอบคลกุ ผสมกับปุ๋ยคอก ๒) รดดว้ ยน�้ำหัวเชือ้ ชวี ภาพ และกากน้�ำตาล
บรเิ วณท่ีใส่เศษอาหารเล็กน้อยหากมเี ศษอาหารเกิดขึน้ อกี ก็น�ำมาคลุก และใสน่ �ำ้ หัวเชอื้ ตามด้วยกากน�้ำตาลเร่ือย ๆ
จนเต็มบ่อ หากเต็มบ่อแล้ว ให้น�ำผ้าคลุกมาปิดไว้ และท้ิงไว้ประมาณ ๑ เดือน ก่อนตักออกน�ำไปใช้ประโยชน์
ระหว่างที่หมักทิ้ง ให้น�ำเศษอาหารท่ีเกิดในแต่ละวันมาหมักในอีกบ่อ ซ่ึงจะเวียนกันพอดีในรอบเดือน ท้ังน้ี
บางครัวเรือน อาจไม่สะดวกในการหาซื้อหัวเชื้อ หรือกากน�้ำตาล ดังนั้น จึงไม่ต้องใช้ก็ได้ แต่จ�ำเป็นต้องมีปุ๋ยคอก
หรือใช้ปุ๋ยอ่ืน เชน่ ปุ๋ยมลู ไก่ ซง่ึ ส่วนน้จี �ำเป็นตอ้ งใช้ นอกจาก การนำ� เศษอาหารมาท�ำปยุ๋ หมกั แลว้ ปัจจบุ นั ยังนิยม
น�ำเศษอาหารทำ� นำ้� หมักชีวภาพ ซึง่ กง็ ่าย และสะดวกไปอีกแบบ อา่ นเพ่ิมเติม นำ้� หมักชีวภาพ

หลกั พิจารณาปุ๋ยหมักพร้อมใช้
๑. ป๋ยุ หมักจะมีสีน้�ำตาลเข้มถงึ ด�ำ
๒. อุณหภมู ิทวั่ กองปุ๋ยหมักมีคา่ ใกลเ้ คยี งกัน เน่อื งจากเกิดปฏิกริ ยิ าการหมักเกอื บหมดแล้ว
๓. หากใชน้ ิ้วมือบี้ กอ้ นป๋ยุ หมกั จะแตกยุ่ยออกจากกนั งา่ ย
๔. พบเหด็ เสน้ ใยรา หรือ พืชอืน่ ขึ้น
๕. กลิน่ ของกองปยุ๋ หมักจะมีกล่ินฉนุ ทีเ่ กิดจากการหมกั
๖. หากน�ำปุ๋ยหมักไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการจะพบอัตราส่วนของคาร์บอน และไนโตรเจน
ประมาณ ๒๐:๑ หรอื คาร์บอนมีคา่ น้อยกวา่ ๒๐ (ไนโตรเจนยังคงเปน็ ๑)
การน�ำปุ๋ยหมักไปใช้
๑. ใชใ้ นขน้ั ตอนเตรยี มดนิ /เตรยี มแปลง ดว้ ยการน�ำปุ๋ยหมักชวี ภาพโรยบนแปลง ๒ - ๓ กำ� มือ/
ตารางเมตร กอ่ นจะท�ำการไถพรวนดินรอบ ๒ หรือ กอ่ นการไถยกรอ่ ง
๒. ใชใ้ นแปลงผัก และสวนผลไม้ ดว้ ยการน�ำป๋ยุ หมักชวี ภาพ ๑ - ๒ กำ� มอื โรยรอบโคนต้น

182 หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

ประโยชนป์ ุ๋ยหมกั
๑. เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดนิ ทง้ั ปรมิ าณอนิ ทรยี ว์ ตั ถุ แรธ่ าตอุ าหาร ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั
และโพแทสเซียม
๒. ชว่ ยในการยอ่ ยสลายซากพชื ซากสัตวใ์ นดิน ทำ� ใหธ้ าตอุ าหารถกู พชื น�ำไปใชไ้ ด้รวดเรว็ ขน้ึ
๓. ชว่ ยเพม่ิ จลุ นิ ทรียท์ ม่ี ีประโยชนใ์ นดิน
๔. ช่วยตา้ นการแพร่ของจุลนิ ทรียก์ อ่ โรคพืชชนิดตา่ งๆในดิน
๕. ท�ำให้ดินมีความร่วนซุย จากองค์ประกอบของดินที่มีดิน อินทรีย์วัตถุ น้�ำ และอากาศใน
สัดสว่ นท่เี หมาะสม
๖. ช่วยปรบั สภาพ pH ของดิน ให้เหมาะสมกับการปลกู พืช
๗. ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธิภาพในการดงึ แรธ่ าตขุ องพชื จากป๋ยุ เคมหี รือปยุ๋ อืน่ ทีเ่ กษตรกรใส่
๘. ช่วยดดู ซบั ความชน้ื ไว้ในดนิ ให้นานขึ้น ทำ� ใหด้ ินชมุ่ ช้นื ตลอดเวลา

๒.๕.๓ นางสมจติ ร เดชบุญ : การท�ำป๋ยุ มูลใส้เดอื น
นางสมจติ ร เดชบญุ นางสมจติ ร นามสกลุ เดชบญุ ชอ่ื เลน่ จติ เกดิ วนั ที่ ๙ เดอื น สงิ หาคม
พ.ศ. ๒๕๐๐ ท่ีอยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๐๖/๓ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลท่าศาลา อ�ำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
รหัสไปรษณีย์ ๘๐๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๘๘๗๘๒๒๓๗๘
วุฒิการศึกษา ประถมศึกษา สืบทอดการท�ำนาปลูกข้าว
มาตงั้ แตส่ มยั รนุ่ พอ่ -แม่ ใชว้ วั ใชค้ วาย ไถนา เพราะแตก่ อ่ น
เคยใชป้ ยุ๋ เคมใี นการทำ� นาปลกู ขา้ ว จนทำ� ใหข้ า้ วมผี ลผลติ
น้อยลง เนอ่ื งจากดินเกิดความกรอ่ ย แข็ง ดนิ ขาดความ
อ่อนนุ่ม ไส้เดือนเริ่มหายไป จึงเกิดความตระหนัก
ว่าการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นอันตรายต่อสุขภาพและปุ๋ยก็มีราคา
สงู ขน้ึ แตด่ ว้ ยใจรกั ในการทำ� เกษตร ทำ� นาปลกู ขา้ ว จงึ เรมิ่
หนั มาใชข้ วี้ วั ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพ ในการปรบั ปรงุ ดนิ จากการ
ซอื้ ปยุ๋ ทอี่ น่ื มาใชไ้ ดส้ กั ระยะหนง่ึ ดนิ ทเ่ี สยี กเ็ รม่ิ ดขี น้ึ เรอื่ ย ๆ
จนมีโอกาสได้ไปศึกษาดูงานจากท่ีต่าง ๆ และไปอบรม
แกนน�ำเศรษฐกิจพอเพียงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ กไ็ ด้นำ� ความรู้
ที่ได้จากการไปศึกษาดูงานมาลงมือปฏิบัติท�ำที่บ้าน
บริเวณบา้ น และในสวนของตนเอง กไ็ ดเ้ ริ่มผลติ ปยุ๋ หมัก
ชีวภาพใช้เอง ลดปัญหาดินเส่ือม และไม่ต้องซ้ือปุ๋ยราคาแพง จากท�ำนาปลูกข้าวอย่างเดียวก็ได้มีความคิดท่ีจะหา
รายไดเ้ พมิ่ และใชป้ ระโยชนจ์ ากทดี่ นิ ของตนเองใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ดุ และลดความเสย่ี งในการทำ� นาปลกู ขา้ ว
อย่างเดยี วให้มีรายได้จากหลายๆ ทางตามแนวทางพระราชดำ� รขิ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดชฯ
เรอื่ งการมภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทดี่ ี รจู้ กั พอกนิ พอใช้ จงึ ไดเ้ รม่ิ ปลกู ผกั ชนดิ ตา่ งๆ ไวร้ อบๆ บรเิ วณบา้ น และไดศ้ กึ ษา ทดลอง
การทำ� ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพใชเ้ อง และปลกู พชื ผกั สวนครวั ไวก้ นิ เอง และปจั จบุ นั สามารถผลติ ปยุ๋ หมกั แบบนำ�้ และแบบแหง้
ไว้จ�ำหน่ายได้ และเป็นสมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดชฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ และใหค้ วามรูก้ ับชาวบา้ นได้รถู้ งึ ความสำ� คญั ของปุย๋ วา่ ปุย๋ เป็นส่ิงที่มีคณุ ค่ามาก

รหัสวิชา หลักสตู รรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศกึ ษา 183

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ในการท�ำเกษตร แต่ก็ยังไม่ได้รับความสนใจหรือแพร่หลายเท่าท่ีควร อาจจะเป็นเพราะสาเหตุหลายประการ เช่น
เกษตรกรยังไม่ตระหนักถึงความส�ำคัญที่แท้จริงของปุ๋ยหมักว่ามีคุณค่าเพียงใดในการช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น
หรือช่วยรักษาสภาพความอดุ มสมบูรณข์ องดินใหด้ ีอย่เู สมอ ไม่เสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ อยา่ งเชน่ ปจั จุบนั เหตุผลส�ำคัญ
อีกประการหนึ่ง คอื เกษตรกรยงั ขาดแหล่งข้อมลู ท่ีจะใหค้ วามรู้ ความเข้าใจในการทำ� ปุย๋ อยา่ งถกู วิธี
องค์ความรดู้ า้ นการทำ� ปุย๋
นางสมจิตร เดชบุญ เร่ิมท�ำการเกษตรมา สิ่งหนึ่งท่ีคิดว่าจ�ำเป็นอย่างมากในการท�ำเกษตร
นั่นก็คือ ปุ๋ย แต่สิ่งท่ีก�ำลังท�ำอยู่น้ี คือ ต้องท�ำปุ๋ยที่ปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและจนส่งถึงมือผู้บริโภค ผลผลิตท่ีเราปลูก
เราต้องบริโภคไดเ้ ชน่ กนั และไดพ้ บกบั คำ� ว่า “เกษตรอินทรยี ์ ซ่งึ มันตอบโจทย์ในความหมายในแบบท่ีดฉิ นั ต้องการ”
ปยุ๋ คอื อาหารของพชื ทเี่ มอ่ื พชื ไดร้ บั ไปแลว้ จะทำ� ใหพ้ ชื ผกั ผลไมเ้ จรญิ งอกงามนน่ั เอง การทำ� เกษตรอนิ ทรยี ก์ ต็ อ้ งใชป้ ยุ๋
ซึ่งปยุ๋ กม็ ีส่วนสำ� คัญไมแ่ พส้ งิ่ อ่ืนเชน่ กัน ตอ้ งเปน็ ปุย๋ ท่ีมาจากธรรมชาติเท่าน้ันไม่วา่ จะเปน็ ป๋ยุ คอก ปยุ๋ ขีไ้ ก่ ปุ๋ยข้หี มู
หรือแม้กระทั้งปุ๋ยน้�ำที่หมักจากเศษใบไม้ เศษพืชผักผลไม้ และปุ๋ยที่หมักจากเศษปลา แต่ปุ๋ยท่ีหาได้ง่ายในชุมชน
ของเราก็คือ ปุ๋ยคอก (ปุ๋ยข้ีวัว) น่ีเอง และหลายคนอาจจะเข้าใจผิดว่า เม่ือได้ปุ๋ยคอกมาแล้ว ก็น�ำไปใส่พืชเลย
ทัง้ ทีย่ งั เปยี กหรือสดอยู่ ไมผ่ ดิ แตก่ ว่าท่ีปยุ๋ คอกจะย่อยสลายต้องใชเ้ วลานาน กว่าทพ่ี ชื จะสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์
ไดก้ ็ไม่ร้วู ่าตอ้ งใช้เวลาก่วี ัน ทง้ั นีป้ ยุ๋ คอกสดๆ ทีน่ ำ� ไปใชโ้ ดยทยี่ ังไมผ่ า่ นกระบวนการยอ่ ยสลาย มธี าตุอาหารมากก็จริง
แต่พืชจะยังไม่สามารถน�ำไปใช้ได้ เน่ืองจากจุลินทรีย์ในดินจะดึงไนโตรเจนจากพืชมาช่วยในการย่อยสลายปุ๋ยคอก
จึงท�ำให้พืชขาดไนโตรเจนในช่วงน้ัน จนเป็นสาเหตุให้ใบเหลืองซีด เพราะเหตุน้ีเอง จึงจ�ำเป็นต้องท�ำปุ๋ยคอกหมัก
เพ่ือให้ผ่านกระบวนการย่อยสลาย และพืชก็จะสามารถน�ำสารอาหารในปุ๋ยคอกหมักไปใช้เลยไม่ได้ เพราะปุ๋ยคอก
หมักที่ตักใส่กระสอบท้ิงไว้วันแรกๆ ตัวปุ๋ยคอกหมักมันร้อนมากๆ เนื่องจากตอนน้ีมันจะเกิดกระบวนการย่อยสลาย
และถา้ เราไมห่ มกั ก่อน ก็จะเปน็ สิ่งท่พี ชื จะได้รบั แทนทจ่ี ะไดป้ ระโยชน์ อาจจะกลายเป็นโทษแทนก็ได้
ท้งั น้ีได้สงั เกตจากที่เคยท�ำมา โดยน�ำปุย๋ คอกมาใหม่ๆ อยากใหพ้ ชื เจริญเติบโตดี จัดเตม็ ใสไ่ ม่ย้งั
หวังว่าพืชจะงอกงาม แต่สุดท้ายใบเหลือง ทั้งท่ีบ้างคร้ังก็เข้าใจว่าเราใส่ปุ๋ยดีๆ ให้กับพืชแล้ว เพราะฉะน้ัน ก่อนใช้
เราใช้หมักปุ๋ยคอกควรน�ำไปตากให้แห้งก่อน เพื่อที่พืชจะสามารถน�ำธาตุอาหารที่อยู่ในปุ๋ยคอกหมักไปใช้ได้เลย
การปลูกพืชถ้าเราใส่ใจเขา ดูแลเขาดีๆ เขาก็จะเจริญเติบโตงอกงามมาให้เราได้ช่ืนชม ขอเพียงเข้าใจหลักการ
ของธรรมชาตเิ ท่าน้นั ก็พอ
สว่ นประกอบของ การทำ� ปยุ๋ หมกั ชวี ภาพ ประกอบดว้ ย
๑. ปุ๋ยคอก(ข้ีววั ) ๑ ส่วน (๑ กระสอบ)
๒. แกลบ ๑ สว่ น (๑ กระสอบ)
๓. ร�ำ ๑ ส่วน (๑ กระสอบ)
๔. น�้ำ EM ขยาย ๑ ลิตร
๕. กากน้�ำตาล ๑ ลติ ร


184 หลักสตู รรายวิชาเลือก ท่าศาลาศกึ ษา

รหสั วชิ า สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ขนั้ ตอนการทำ�
ข้นั แรก นำ� ปยุ๋ คอกทไี่ ดม้ าตากแดดใหแ้ ห้ง
เกลย่ี ให้โดนแดดทิง้ ไว้ ๑ - ๒ แดด ถ้าปยุ๋ คอกทีไ่ ด้มาแห้งแลว้ กไ็ ม่ต้องตาก

เมือ่ ปุ๋ยคอกแหง้ แลว้ กเ็ ตรียมส่วนผสมให้พรอ้ ม ปุ๋ยคอก ,ร�ำ ,ขา้ วเปลือก = ๑:๑:๑

เทส่วนผสมท้ังหมดลงพื้นใช้จอบเกลี่ยคลุกเคล้าให้เข้ากัน ข้ันตอนนี้จะใช้เวลาพอสมควรเติมน�้ำ
EM ขยาย และกากน�้ำตาลที่เตรียมไว้ ผสมนำ�้ ให้เขา้ กนั น�ำไป รดทก่ี องปุ๋ยคอกทเี่ ตรียมไว้ ถ้าไมม่ ีบวั รดน้�ำใชข้ ันตักไป
ก็ไดจ้ ากนนั้ ใช้จอบคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กัน ใช้เวลาพอสมควรครบั ลองใชม้ ือบบี ดู ไมแ่ ห้งหรือไมเ่ ปยี กเกนิ ไปอย่างทบ่ี อก
ตอนตน้ ถา้ ยงั แหง้ อยู่ เพ่ิมน้�ำอกี ไดเ้ ลยโดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ ง ๒๕ ลิตร แลว้ ใชจ้ อบเกลีย่ ไปดว้ ยเร่อื ย ๆ เสร็จแล้วตักใสไ่ ว้
ในกระสอบ ตัง้ ไว้ในทอี่ ากาศถา่ ยเทสะดวก ในวันแรกผมปิดปากถุง ปรากฏว่าป๋ยุ คอกร้อนมาก เราจงึ จำ� เป็นตอ้ งเปดิ
ปากกระสอบให้ความร้อนของตัวปุ๋ยระบายออก

รหัสวชิ า หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 185

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ผา่ นไป ๒ วนั เรมิ่ หายรอ้ นแลว้ ตวั ปยุ๋
เองเร่ิมมีการย่อยสลาย สังเกตจากมีฝ้าขาว ๆ อยู่ท่ัวไป
ผา่ นไป ๓ วนั บางสว่ นเร่มิ ยอ่ ยสลายแลว้ ผ่านไป ๕ วัน
ลองใช้มอื ขยำ� ดูรู้สึกว่าจะเป็นขยุ ๆ ผ่านไป ๗ วนั จับขน้ึ
มาขยำ�้ ดู สงั เกตดูว่าฝนุ่ คลุง้ หลังจากนนั้ ผา่ นไปประมาณ
๑ อาทิตย์ก็สามารถน�ำไปใช้กับผลผลิตของเราได้ตอนนี้
ผมนำ� กระสอบมาเทนะครบั ทเี่ ปน็ กอ้ นกใ็ ชม้ อื ขยำ�้ ใหแ้ ตก
รู้สึกว่าจะแตกง่ายๆ ตอนนี้ก็สามารถน�ำไปใส่ผลผลิต
และพชื ผักสวนได้

การเลีย้ งไสเ้ ดอื นดนิ และการท�ำปยุ๋ ไส้เดอื นดนิ
การเลย้ี งไสเ้ ดอื นดนิ และการทำ� ปยุ๋ ไสเ้ ดอื นดนิ การใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การทำ� ปยุ๋ หมกั ใหก้ บั สมาชกิ
กล่มุ นั้นปา้ จติ ได้เล่าให้ฟงั วา่ การนำ� เศษซากหรือวสั ดตุ า่ งๆ ทีไ่ ด้มาจากสิง่ มชี ีวิตโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ จ�ำพวก พืช เช่น
เศษหญ้า ใบไม้ ฟางข้าว ผัก หรือแม้แต่ขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมากองรวมกัน รดน�้ำให้มีความชื้นพอเหมาะ
หมกั ไวจ้ นกระทงั่ เศษหรอื วสั ดเุ หลา่ นนั้ ยอ่ ยสลายและแปรสภาพเปน็ ปยุ๋ ตอ่ ไป การเลย้ี งไสเ้ ดอื นดนิ มหี ลายแบบหลาย
วธิ ี ใชก้ ะละมังกลม หรือ บอ่ ซเี มนตห์ รือบอ่ ปนู กลม กไ็ ด้ การเลีย้ งไสเ้ ดือนดินของศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพียงบ้านโคกอฐิ
ใชว้ ธิ กี ารเลย้ี งโดยใชก้ ะละมงั กลมเนอื่ งจากโรงเรอื นมพี น้ื ทจี่ ำ� กดั แตก่ ไ็ มเ่ ปน็ ปญั หาเพราะทางศนู ยเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
เล้ียงไสเ้ ดอื นแบบคอนโด จึงทำ� ใหป้ ระหยัดพนื้ ที่
วัสดุและอุปกรณ์ในการเล้ยี งไสเ้ ดือน
๑. กะลงั มังสดี ำ� ความกวา้ งประมาณ ๑ ศอก (ใบละไม่เกิน ๒๐ บาท)
๒. ขว้ี วั แหง้ เกบ็ เศษฟาง หรือวัสดทุ ป่ี นมากบั ข้วี ัวออกให้เหลือแค่ขวี้ ัวจรงิ ๆ
๓. ไสเ้ ดอื นดินพันธแ์ุ อฟริกันท่ใี ช้เลยี้ งกนั ทั่วไป ประมาณ ๓ ขดี
๔. กากมะพร้าวสบั หรือใบไมแ้ ห้ง (ใบมะขามเทศ,ใบกา้ มป)ู
วิธีและขั้นตอนในการเล้ียงไสเ้ ดือน
- น�ำกะละมังไปเจาะรโู ดยใช้สว่าน ๒ หุน เจาะให้ทั่วกะละมัง เพอื่ ให้นำ�้ ไหลผ่านออกได้สะดวก
- น�ำขวี้ วั มาทำ� การรดนำ้� ใหข้ ว้ี ัวเปยี ก เพอ่ื ล้างความรอ้ นของขว้ี ัวและแก๊สออกใหห้ มด รดนำ้� ข้วี ัว
ประมาณ ๑ - ๒ อาทิตย์ แล้วแตค่ วามรอ้ นของขี้วัว
- น�ำกากมะพร้าวสบั มาผสม ประมาณ ๓๐% ของข้วี วั ๗๐ % นำ� มาผสมให้เขา้ กนั มะพร้าวสบั
ควรแช่น้�ำก่อนเพื่อล้างยางของมะพร้าวออกไป ที่ผสมกากมะพร้าวผสม เพ่ือช่วยในการเพ่ิมความเย็นให้กับขี้วัว
ผสมเข้ากันแล้วนำ� ไปใสใ่ นกะละมงั ประมาณครึ่งกะละมงั

186 หลกั สูตรรายวิชาเลือก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

- ใส่ไสเ้ ดอื น ๓ ขีด ลงบนขว้ี วั ผสมไว้ในกะละมงั แล้วน�ำไว้ในโรงเรือนท่ีเย็น โดยท�ำเปน็ ช้นั เหล็ก
หรือชนั้ ท่อพวี ซี กี ็ได้ ไส้เดอื นชอบความชน้ื และเยน็ รดน�ำ้ ใหค้ วามชน้ื กบั ไส้เดอื น ๓ - ๔ วนั ตอ่ ครง้ั ประมาณ ๑ คร่งึ
หรือ ๒ เดือนเราก็จะได้ ปุ๋ยหมักมูลไส้เดอื น เตม็ กะละมงั สามารถน�ำไปใส่ พืช ผกั ผลไม้ หรอื จำ� หน่ายได้

ภาพการจดั กิจกรรม
(การเลี้ยงไสเ้ ดือนและการทำ� ปุย๋ มลู ไส้เดอื น)

ภาพการจัดกจิ กรรม
กศน.ต�ำบลทา่ ศาลา นำ� นักศึกษา ม.ปลาย ศึกษาแหลง่ เรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพียงบา้ นโคกอิฐ

รหสั วชิ า หลักสูตรรายวชิ าเลือก ทา่ ศาลาศึกษา 187

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๒.๕.๔ นายสพุ จน์ นามสกลุ ศรสี ชุ าติ ดา้ นการเกษตรนอ้ มนำ� เศรษฐกจิ พอเพยี งตำ� บลสระแกว้
ช่ือเล่น ลุงพจน์ เกิดวันที่ ๕ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ จังหวัดท่ีเกิด
จงั หวดั นครศรธี รรมราช ทีอ่ ยปู่ จั จุบัน บา้ นเลขที่ ๓๖/๒ หมู่ที่ ๔(บา้ นโคกตะเคยี น) ต�ำบลสระแกว้ อำ� เภอท่าศาลา
จงั หวดั นครศรธี รรมราช วฒุ กิ ารศกึ ษา ป.๔ และ ปรญิ ญา
บณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบ์ ณั ฑติ สาขาวชิ า
เกษตรศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช
มีความรคู้ วามเชี่ยวชาญดา้ นดิน และการเกษตร ปจั จุบนั
ประกอบอาชพี เกษตรกร นายสุพจน์ ศรีสุชาติ หมอดิน
อาสาประจ�ำหมู่บ้านและเป็นหนึ่งในปราชญ์ของศูนย์
เรียนรู้การพัฒนาท่ีดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของ
ต.สระแก้ว อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช เล่าถึงความ
เป็นมาของการพัฒนาผืนดินจนท�ำให้ชาวบ้านที่นี่อยู่ดี
กินดขี ้ึนวา่ ก่อนหน้านี้ชาวบ้านที่นี่มฐี านะยากจน รายได้
นอ้ ย เพราะดนิ เสอื่ มปลกู อะไรไมค่ อ่ ยไดผ้ ล จงึ คดิ หาอาชพี
สรา้ งรายไดด้ ว้ ยการรวมตวั กนั ตงั้ กลมุ่ เลยี้ งผงึ้ โพรงไทยขน้ึ
มาก่อนเพื่อเป็นอาชีพเสริม ต่อมาเพื่อนบ้านใกล้เคียงให้
ความสนใจกันเปน็ อยา่ งมาก อีกทัง้ ไดม้ ีหนว่ ยงานราชการต่าง ๆ หลายหน่วยเขา้ มาดแู ละสนบั สนนุ รวมทัง้ องค์การ
บริหารส่วนต�ำบลท่ีเข้ามาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งสนับสนุนในด้านงบประมาณในการรวมกลุ่ม
จนกลุ่มเติบโตแข็งแรงและได้ขยายผลเป็นศนู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยี ประจำ� ตำ� บล
ศูนย์แห่งน้ีมีการรวมตัวของชาวบ้านกันหลายกลุ่มไม่ว่าจะเป็น กลุ่มแม่บ้าน, กลุ่มผึ้งโพรงไทย,
กลุ่มเลี้ยงด้วงสาคู, กลุ่มเกษตรผสมผสาน โดยกลุ่มเกษตรผสมผสานน้ันจะมีเจ้าหน้าท่ีจากกรมพัฒนาที่ดินเข้ามา
แนะน�ำเร่อื งการท�ำนำ้� ปุย๋ หมกั ป๋ยุ ชวี ภาพ การบำ� รุงช้ันดิน, การเล้ยี งหมูหลมุ , ท�ำน้�ำสม้ ควันไม้ และท�ำแกส๊ ชวี ภาพ
เพ่ือลดต้นทุนในการผลิตและสร้างรายได้เสริมให้กับชาวบ้าน นายสุพจน์ถือว่าเป็นเกษตรกรตัวอย่าง ท่ีท�ำเกษตร
โดยวิธีการผลิตแบบเกษตรอนิ ทรยี ์ โดยการใชป้ ุ๋ยหมัก พด.๑ และปุ๋ยอินทรยี น์ �้ำมาบำ� รงุ ดิน โดยใช้ปุ๋ยหมักในอตั รา
๑.๕ กิโลกรัม/ต่อตารางเมตร โดยหว่านทั่วพื้นท่ีบริเวณแปลงผัก แล้วสับกลบเล็กน้อยเพื่อให้คลุกเคล้ากับดิน
ในส่วนของปุ๋ยอินทรีย์น�้ำที่ได้จากการหมักผลไม้และผัก จะน�ำไปฉีดพ่นท่ีใบและล�ำต้น ๑๐ วัน/คร้ัง หรือรดลงดิน
บริเวณทรงพมุ่ โดยผสมปุ๋ยอนิ ทรีย์เข้มข้น ๑ ลิตรต่อนำ�้ สะอาด ๓๐๐ ลิตร รด ๑๐ วัน/ครั้ง เพื่อเร่งการเจรญิ เติบโต
ของพืชผัก เพิ่มการขยายตัวของใบและยืดตัวของล�ำต้น ท�ำให้พืชผักออกดอกและติดผลดีขึ้น นอกจากนี้ในสวน
จะวางท่อระบบน�้ำแบบสปิงเกอร์และน้�ำหยด นอกจากนั้นแล้วก็สร้างบ่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง ปลูกหญ้าแฝก
เพอ่ื ปอ้ งกนั การชะลา้ งหนา้ ดนิ เพิ่มรายได้เสรมิ ด้วยการเลี้ยงปลาไว้ในบอ่ นำ้� โดยใชน้ �ำ้ หมกั พด.๒ เลี้ยงปลาเพ่อื ลด
อตั ราการตาย และทำ� ใหป้ ลาทเี่ ลย้ี งไวไ้ ดน้ ำ้� หนกั ดอี กี ดว้ ย นอกจากนยี้ งั ลดการใชส้ ารเคมใี นการปอ้ งกนั แมลงศตั รพู ชื
โดยใชว้ ธิ กี ารกางมงุ้ ในการผลติ ผกั ทำ� ปยุ๋ หมกั เพอื่ ควบคมุ เชอ้ื โรคภายในดนิ โดยใชส้ ารเรง่ ซปุ เปอร์ พด ๓ ในสวนทเุ รยี น
เพอื่ แกป้ ญั หาโรครากเนา่ ในสวนทเุ รยี นใหน้ อ้ ยลง ทำ� ใหร้ ากแขง็ แรงและเจรญิ เตบิ โตไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ อกี ทง้ั ปรบั ปรงุ ดนิ ดว้ ย
ปุ๋ยพืชสดในสวนยางพารา โดยหว่านเมล็ดถ่วั พุม่ ทวั่ แปลงในอัตรา ๘ กิโลกรัมต่อไร่ หลงั ถว่ั พ่มุ ออกดอก กไ็ ถกลบ
ใหป้ ยุ๋ พืชสดยอ่ ยสลายบำ� รงุ ดินต่อไป

188 หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา

รหสั วิชา สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

แนวคิด/ปรัชญาความเช่ือ ผลจากการหันมาท�ำเกษตรแบบผสมผสานโดยใช้สารอินทรีย์
และวัตถุดบิ ในท้องถนิ่ มาใชป้ ระโยชน์เพ่อื ลดต้นทนุ ทำ� ใหช้ าวบ้านมคี วามเปน็ อยูด่ ีขนึ้ มาก โดยเปรียบเทยี บได้จากท่ี
เมือ่ กอ่ นปลกู ผัก ๑ ไร่ จะมตี น้ ทนุ คา่ ปยุ๋ คา่ เมล็ดพนั ธุ์ คา่ แรง ถึง ๑๒,๐๐๐ บาท แต่หลังจากที่ชาวบ้านหนั มาใช้
ปยุ๋ หมัก ปยุ๋ อินทรยี ์น�้ำ น�้ำส้มควนั ไม้ ทผี่ ลติ เอง ท�ำใหส้ ามารถลดต้นทนุ เหลือแค่ ๙,๕๐๐ บาท/ ไร่
ผลงานทผี่ า่ นมาจนถงึ ปจั จบุ นั นายสพุ จนถ์ อื วา่ เปน็ เกษตรกรตวั อยา่ ง ทที่ ำ� เกษตรโดยวธิ กี ารผลติ
แบบเกษตรอินทรยี ์ โดยการใช้ป๋ยุ หมัก พด.๑ และปุย๋ อนิ ทรยี น์ ำ�้ มาบ�ำรุงดิน โดยใช้ปยุ๋ หมกั ในอตั รา ๑.๕ กิโลกรมั /
ตอ่ ตารางเมตร โดยหวา่ นทว่ั พน้ื ทบ่ี รเิ วณแปลงผกั แลว้ สบั กลบเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ใหค้ ลกุ เคลา้ กบั ดนิ ในสว่ นของปยุ๋ อนิ ทรยี ์
น�้ำที่ได้จากการหมักผลไม้และผัก จะน�ำไปฉีดพ่นท่ีใบและล�ำต้น ๑๐ วัน/ครั้ง หรือรดลงดินบริเวณทรงพุ่ม
โดยผสมปุ๋ยอินทรีย์เข้มข้น ๑ ลิตรต่อน�้ำสะอาด ๓๐๐ ลิตร รด ๑๐ วัน/ครั้ง เพ่ือเร่งการเจริญเติบโตของพืชผัก
เพม่ิ การขยายตวั ของใบและยืดตวั ของลำ� ตน้ ทำ� ให้พชื ผกั ออกดอกและตดิ ผลดีขึน้ นอกจากนีใ้ นสวนจะวางท่อระบบ
นำ้� แบบสปงิ เกอรแ์ ละนำ้� หยด นอกจากนน้ั แลว้ กส็ รา้ งบอ่ กกั เกบ็ นำ้� ไวใ้ ชใ้ นฤดแู ลง้ ปลกู หญา้ แฝกเพอื่ ปอ้ งกนั การชะลา้ ง
หน้าดิน เพิ่มรายได้เสริมด้วยการเลี้ยงปลาไว้ในบ่อน�้ำ โดยใช้น�้ำหมัก พด.๒ เล้ียงปลาเพ่ือลดอัตราการตาย
และท�ำใหป้ ลาทเี่ ล้ยี งไวไ้ ดน้ ำ�้ หนกั
แนวทางการใชช้ วี ิตดว้ ยหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ทกุ วนั นพี้ อใจและมคี วามสขุ กบั ชวี ติ เปน็ อยา่ งมาก เพราะสง่ิ ทพี่ วกเราทำ� มาทง้ั หมดนนั้ ทำ� ใหช้ ว่ ย
ลดต้นทุนในการผลิต เกษตรกรมีความรู้เพ่ิมมากขึ้น ชาวบ้านท่ีนี่ลดการใช้สารเคมีลงไปมาก อยู่กันแบบเศรษฐกิจ
พอเพียง ตามแนวพระราชด�ำริของในหลวงที่บอกว่า ปลูกทุกอย่างท่ีกินได้ เหลือกินก็ขายเป็นรายได้ อีกอย่างให้
ท่องคาถานี้ใหข้ นึ้ ใจวา่ ตอ้ งรูจ้ กั ขยัน, ประหยัด, งด, ออม ถ้าครอบครวั ไหนยึดหลกั ๔ ข้อนไี้ ด้ ผมรบั รองวา่ ไม่ยากจน
ครบั ” นายสุพจน์บอกทง้ิ ท้ายด้วยรอยยิม้
๒.๕.๕ นายเล่ือน พรมวี : ศูนย์เรียนร้ปู รัชญาเศรษฐกจิ ชุมชน
นายเล่อื น พรมวี เกดิ วนั ท่ี ๒๘ เดือน. ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ อายุ ๖๓ ปี อยู่บา้ นเลขท่ี
๑๖ หมทู่ ่ี ๙ ต�ำบลสระแก้ว อำ� เภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรธี รรมราช ประวตั กิ ารศกึ ษา สำ� เร็จการศกึ ษาระดบั ชน้ั
ประถมศกึ ษาจากโรงเรียนวดั ยางงาม และระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.ศ.๓) จากโรงเรยี นวดั เทวดาราม ต�ำบลท่าขน้ึ
อ�ำเภอทา่ ศาลา จงั หวัดนครศรธี รรมราชประวตั คิ รอบครัว
บิดา นายกัน พรมวี มารดา นางจบ พรมวี คู่สมรส
นางอไุ รวรรณ (คงทน) พรมวี บุตร ๓ คน เป็นผจู้ ดั ต้งั ศูนย์
เรยี นรปู้ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เนน้ การทำ� สวนแบบผสม
ผสานด้วยการท�ำเกษตรแบบอินทรีย์ชีวภาพ จุดเด่น
ของสวนนายเลื่อน พรมวี ประกอบด้วยการผลิตมังคุด
ในฤดกู าลและนอกฤดกู าล การเลยี้ งหมคู อนโดฯ ระบบการ
ปลูกพืชแบบผสมผสาน การใช้เทคโนโลยีระบบน้�ำแบบ
สปริงเกอร์การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช
การผลติ นำ้� หมกั ชวี ภาพ และการนำ� หลกั วชิ าการมาใชร้ ว่ ม
กบั ภูมิปญั ญาชาวบ้าน

รหสั วชิ า หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก ทา่ ศาลาศึกษา 189

สค๒๓๐๐๑๒๗ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้


Click to View FlipBook Version