แผนมกา.1รสอน
นางสาวนุสรนิ ทร์ อ่นิ คา
ตาแหน่ง นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู
โรงเรยี นชลประทานผาแตก
สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 1
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
เวลาทง้ั หมด 12 ชวั่ โมง
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 คาบ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง สารรอบตวั ผ้สู อน นางสาวนสุ รนิ ทร์ อิ่นคำ
แผนที่ 1 เรือ่ ง สารและการจำแนกสาร
สอนวนั ท่ี 1-4 มิถุนายน 2564
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
ตัวช้ีวดั
ม.1/9 อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนท่ีของ
อนุภาคของสสารชนดิ เดยี วกนั ในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลอง
สาระสำคัญ
สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน สารบางชนิดสามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ภายนอกของสารได้ เช่น สี สถานะ เป็นต้น ซึ่งเป็นสมบัติทางกายภาพของสาร แต่สมบัติบางชนิดของสารเกิดจาก
การทำปฏิกิริยาเคมี ทำให้เกิดสารใหม่ที่มีองค์ประกอบแตกต่างไปจากเดมิ เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม เป็นต้น
ซง่ึ เป็นสมบัตทิ างเคมขี องสาร การระบวุ ่าสารแต่ละชนดิ เปน็ สารประเภทใดจำเปน็ ต้องใช้สมบัติของสารมาวเิ คราะห์
เช่น การใชส้ ถานะ การใชเ้ น้อื สาร และการใช้ขนาดของอนภุ าคมาเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสาร
สาระการเรยี นรู้
- สสารทกุ ชนิดประกอบดว้ ยอนุภาค โดยสารชนดิ เดยี วกันที่มีสถานะของแขง็ ของเหลว แก๊ส จะมี การ
จัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค การเคล่ือนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน ซึง่ มีผลตอ่ รปู รา่ ง และปริมาตร
ของสสาร
- อนภุ าคของของแขง็ เรียงชดิ กัน มีแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนภุ าคมากท่สี ุด อนภุ าคสั่นอยู่กับท่ี ทำให้มี
รปู ร่างและปริมาตรคงท่ี
- อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มแี รงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาคนอ้ ยกวา่ ของแข็งแตม่ ากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคล่ือนที่ไดแ้ ต่ไม่เป็นอิสระเทา่ แก๊ส ทำให้มรี ูปร่างไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงท่ี
- อนุภาคของแก๊สอยหู่ ่างกันมาก มีแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยท่ีสุด อนภุ าคเคลื่อนทไ่ี ด้อยา่ งอสิ ระ
ทุกทิศทาง ทำให้มีรูปร่างและปรมิ าตรไม่คงท่ี
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายการจดั เรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค และการเคลื่อนที่ของ
อนภุ าคของสารชนิดเดียวกันในสถานะต่างๆ ได้
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
นักเรยี นสามารถปฏิบตั กิ ิจกรรมการทดลองได้ถูกต้องตามขั้นตอนได้
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
นักเรยี นมีความรับผิดชอบในภาระงานทค่ี รมู อบหมาย และสง่ งานไดใ้ นเวลาทีก่ ำหนด
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น
1. ความสามารถในการคดิ
2. ความสามารถในการสื่อสาร
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี ินัย
2. มคี วามสนใจใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มัน่ ตงั้ ใจทำงานด้วยความเพยี รพยายาม
4. มีจิตสาธารณะ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 : ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาที)
1. ครแู จง้ ผลการเรียนรใู้ ห้นกั เรยี นทราบ
2. ครูใชค้ ำถามถามนกั เรียนวา่ “สารที่อย่รู อบตวั เรามีความแตกตา่ งกนั อย่างไร”
(แนวคำตอบ สารที่อยู่รอบตัวเราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการที่เหมือน และแตกต่างกัน
เชน่ สถานะ การนำความรอ้ น การนำไฟฟา้ เปน็ ต้น แตอ่ ย่างไรกต็ ามสารแต่ละชนดิ ย่อมลักษณะเฉพาะของสารแต่
ละชนิดนั้น ๆ เช่น สภาพการละลาย จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความหนาแนน่ ของสาร เป็นต้น)
ขนั้ ที่ 2 : ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (25 นาท)ี
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง “สารและการจำแนกสาร” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อ Power point และใช้
หนงั สือวชิ าวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (อจท.) หนา้ 3-5
2. ครเู ปดิ คลิปวีดีโอ เรอ่ื ง “สารและการจำแนกสาร (SC207001)” ใหน้ กั เรยี นรบั ชม
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=kq7IUN1_DUQ)
3. ครใู หน้ กั เรียนทำกิจกรรม โดยมขี นั้ ตอนดงั ต่อไปนี้
3.1 ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มศึกษา เรื่อง สมบัติของสาร จากหนังสอื
เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 3
3.2 ครูนำน้ำส้มสายชูใส่ลงในบีกเกอร์ A และน้ำใส่ลงในบีกเกอร์ B มาให้นักเรียนศึกษา และตอบ
คำถามตอ่ ไปนี้
- นักเรยี นคดิ ว่าสารในบกี เกอร์ A และ B เปน็ สารชนิดเดียวกันหรือไม่
(แนวคำตอบ พจิ ารณาคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่ในดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน)
3.3 ครูให้นกั เรียนตรวจสอบสารในบกี เกอร์ A และ B แลว้ ถามคำถามนกั เรยี น ดงั น้ี
- สาร A และ B ทีน่ ักเรียนตรวจสอบ มลี กั ษณะอยา่ งไร
(สาร A และ B เป็นของเหลว ไม่มีสี แต่สาร A มีกลิ่นฉุน เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสพบว่า
สาร A มฤี ทธ์ิเป็นกรด สว่ นสาร B ไม่เปลีย่ นสกี ระดาษลติ มสั )
- นกั เรยี นคิดวา่ ลกั ษณะใดเป็นสมบตั ิทางกายภาพ
(สถานะของสาร สี กลิ่น เปน็ ตน้ )
- นักเรียนคดิ ว่าลกั ษณะใดเป็นสมบตั ิทางเคมี
(ความเป็นกรด-เบส เป็นต้น)
ข้ันที่ 3 : อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) (5 นาท)ี
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เรื่อง สมบัติของสาร โดยครูยกตัวอย่างใหน้ กั เรียนเห็นจากการนำสาร
A และ B ที่มีลักษณะภายนอกที่เหมือนกันแต่ไม่ใช่สารเดียวกัน ดังนั้นจึงจำเป็นต้องอาศัยสมบัติของสารเข้ามา
ตรวจสอบ จึงทำให้รู้วา่ สารทัง้ สองเป็นสารตา่ งชนดิ กัน
2. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย เพอื่ สะท้อนความคดิ ของนักเรยี น
ข้ันที่ 4 : ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที)
ครูให้นักเรียนทำใบงาน 1.1 การจำแนกสาร
ข้นั ที่ 5 : ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) (5 นาที)
ครูประเมินผลการเรียนรู้จากใบงาน 1.1, ประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม และการส่งงานตรงตามเวลาท่ี
กำหนด โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากแผนการเรยี นรทู้ ่ี 1
สื่ออปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ และแหลง่ การเรยี นรู้
1) สอื่ Power point เรอื่ ง “สารและการจดั จำแนกสาร”
2) หนงั สอื วิชาวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (อจท.)
3) คลิปวิดโี อ “สารและการจำแนกสาร (SC207001)”
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=kq7IUN1_DUQ)
4) อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ น้ำส้มสายชู (สาร A) บีกเกอร์ น้ำ (สาร B) และกระดาษลิตมสั
5) ใบงาน 1.1 การจำแนกสาร
การวดั และการประเมิน วิธกี ารวดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑใ์ ชป้ ระเมนิ
ประเด็นการประเมนิ
ด้านความรู้ (K)
นกั เรียนสามารถอธิบายการจัดเรียง ตรวจจากใบงาน 1.1 ใบงาน 1.1 การจำแนกสาร ระดับคุณภาพ
อนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหวา่ ง การจำแนกสาร พอใช้ ผ่านเกณฑ์
อนุภาค และการเคล่ือนทข่ี อง
อนุภาคของสารชนิดเดยี วกนั ใน
สถานะต่างๆ ได้
ด้านทกั ษะ (P)
นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติกจิ กรรมการ สงั เกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ
ทดลองได้ถูกต้องตามข้ันตอนได้ ทำงานกลุม่ ทำงานกลุ่มจากผสู้ อน พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
ด้านคณุ ลักษณะ (A) ระดบั คุณภาพ
พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
นักเรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบในภาระ ตรวจจากการสง่ งานใบ แบบบนั ทึกการสง่ งาน
งานทีค่ รมู อบหมาย และสง่ งานได้ใน งานท่ี 1.1
เวลาที่กำหนด
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (K)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดบั คุณภาพ 0
21
นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นไมส่ ามารถ
อธิบายการจดั เรียง อธบิ ายการจัดเรยี ง อธบิ ายการจัดเรยี ง อธบิ ายการจัดเรียง อธิบายการจดั เรยี ง
อนุภาค แรงยดึ เหนี่ยว อนภุ าค แรงยึด อนุภาค แรงยึด อนุภาค แรงยดึ อนภุ าค แรงยึด
ระหว่างอนภุ าค และ เหนย่ี วระหวา่ ง เหน่ียวระหว่าง เหนี่ยวระหว่าง เหน่ียวระหวา่ ง
การเคลือ่ นทขี่ อง อนภุ าค และการ อนภุ าค และการ อนุภาค และการ อนภุ าค และการ
อนุภาคของสารชนดิ เคลือ่ นที่ของอนภุ าค เคลือ่ นท่ีของอนุภาค เคล่อื นท่ีของอนภุ าค เคล่อื นที่ของอนุภาค
เดยี วกนั ในสถานะ ของสารชนดิ เดยี วกนั ของสารชนิดเดยี วกนั ของสารชนดิ เดียวกัน ของสารชนิดเดยี วกนั
ต่างๆ ได้ ในสถานะต่างๆ ใน ในสถานะตา่ งๆ ในใบ ในสถานะตา่ งๆ ในใบ ในสถานะต่างๆ ในใบ
(3 คะแนน) ใบงาน 1.1 ได้ งาน 1.1 ไดถ้ ูกต้อง งาน 1.1 ไดถ้ ูกต้อง งาน 1.1 ไดถ้ ูกต้อง
ถูกต้อง 11-15 ช่อง 6-10 ช่อง 1-5 ชอ่ ง
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรงุ
เกณฑ์การประเมินดา้ นทักษะ (P)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคณุ ภาพ 0
21
นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติ ไดค้ ะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ ได้คะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ
กจิ กรรมการทดลองได้ ประเมินการทำ ประเมนิ การทำ ประเมินการทำ ประเมินการทำ
ถกู ต้องตามขน้ั ตอนได้ กิจกรรมกลุม่ กจิ กรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลุม่ กจิ กรรมกลุม่
(3 คะแนน) 10 – 15 คะแนน 5 – 9 คะแนน 1 – 4 คะแนน 0 คะแนน
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรบั ปรุง
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ (A)
ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดบั คุณภาพ 0
21
นักเรียนมคี วาม ส่งงานตรงตามท่ี ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด ส่งงานช้ากว่ากำหนด สง่ งานช้ากวา่ กำหนด
รบั ผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทติ ย์ทน่ี ัด 1-2 วนั 3 วัน มากกว่า 3 วันหรือไม่
ทค่ี รูมอบหมาย และส่ง สง่ งาน) สง่
งานได้ในเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรงุ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1
เรอื่ ง สารและการจำแนกสาร ช้ัน ม.1/2 .
ผลการประเมินตามแบบประเมนิ
-นักเรยี นจำนวน......... คน คดิ เป็นร้อยละ............ มผี ลการประเมินดา้ น K ในระดบั …….......
-นักเรียนจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............. มีผลการประเมินด้าน P ในระดับ ……......
-นกั เรยี นจำนวน..........คน คดิ เป็นร้อยละ.............. มีผลการประเมนิ ด้าน A ในระดบั …….....
ปัญหาทพ่ี บจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................................ ............
การแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
................................................................................................. ....................................................................... ............
............................................................................................................................. .......................................................
ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
...................................................... ........................................................................................................................ ......
ขอ้ เสนอแนะในการสอนคร้งั ถัดไป
................................................................................................... .................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ลงชื่อ.....................................................................
(นางสาวนสุ รินทร์ อ่ินคำ) .
นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู
ความคิดเหน็ ของผ้พู เ่ี ล้ียง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(ว21101) และมคี วามคดิ เหน็ ดงั น้ี
1. เป็นหน่วย/แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดมี าก ดี พอใช้
2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ได้นำเอาทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้
ที่เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั ใช้ในการสอนอย่างเหมาะสม
ที่ยังไม่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป
3. เปน็ หน่วย/แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี นำไปใช้ในการสอนได้จริง
ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………….……
….……………………………………………………………………………………………………………………….………….………………...........
................................................................................................................................................................ ....................
....................................................................................................................................................................................
ลงชอื่ .........................................................
(นางพชั รา ภิระกันทา) .
ครูพ่ีเล้ียง .
................../................./..................
ใบงานที่ 1.1
เรอื่ ง การจำแนกสาร
คำชีแ้ จง : จงบันทกึ ชื่อสารจากภาพ และใช้สมบัติทางกายภาพของสารเป็นเกณฑ์ในการจำแนกชนดิ ของสาร โดย
ขดี เคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่กำหนดให้
สมบตั ิทางกายภาพ
ชอ่ื สาร สถานะ เนื้อสาร อนุภาค
สาร สาร
ของ ของ แกส๊ เนื้อเดียว เนื้อผสม สาร สาร คอลลอยด์
แข็ง เหลว ละลาย แขวนลอย
เฉลย
ใบงานที่ 1.1
เรอื่ ง การจำแนกสาร
คำชแ้ี จง : จงบนั ทกึ ช่ือสารจากภาพ และใช้สมบัตทิ างกายภาพของสารเปน็ เกณฑ์ในการจำแนกชนิดของสาร โดย
ขีดเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งทกี่ ำหนดให้
สมบตั ิทางกายภาพ
ช่อื สาร สถานะ เน้ือสาร อนภุ าค
สาร สาร
ของ ของ แกส๊ เนอื้ เดยี ว เนอ้ื ผสม สาร สาร คอลลอยด์
แข็ง เหลว ละลาย แขวนลอย
หมอก
สม้ ตำ
น้ำผลไมป้ ่นั
นำ้ เกลอื
แก๊สหุงตม้
น้ำสม้ สายชู
ทองคำขาว
แอลกอฮอล์
เช็ดแผล
กาแฟ
สลดั
นำ้ พริก
ควนั ท่อไอเสยี
น้ำแปง้
นำ้ นม
น้ำโคลน
คะแนนที่ได้
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
ช่อื กลุ่ม……………………………………………….....
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ……………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………………………………………………….
6. ……………………………………………………………………………………………………….
7. ……………………………………………………………………………………………………….
คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลา แล้วขีด / ลงในช่องท่ตี รงกับ
ระดับคะแนน
พฤติกรรมทสี่ ังเกต ระดบั คุณภาพคะแนน
3 21
1. มกี ารวางแผนการทำงานกลุ่ม
2. มขี ้นั ตอนในการทำงานอย่างถูกต้องเปน็ ระบบ
3. มขี ัน้ ตอนในการทำงานที่ได้รับมอบหมายครบทุกคน
4. มเี นอื้ หาครบถว้ นสมบูรณ์ และมคี วามถกู ต้อง
5. ใชเ้ วลาในการทำงานตามเวลาท่ีกำหนด
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมที่ทำอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
คะแนน
พฤติกรรมที่ทำบอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมท่ที ำบางคร้ัง ให้ 1
คณุ ภาพคะแนน = ดี
10 - 15 คะแนน = ปานกลาง
5 - 9 คะแนน = พอใช้
1 - 4 คะแนน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/2
วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน เร่ือง สารและการจำแนกสาร
ลำดับ ชอื่ -สกุล ความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะ รวม ผลการประเมนิ
33 3 9 ผ่าน ไมผ่ ่าน
1 เด็กหญิงลักขณา ทาเกิด
2 เดก็ ชายเทพพิทกั ษ์ โสภณ
3 เด็กหญงิ ณชิ ากร บวั สุวรรณ
4 เด็กชายฉัตรเมธี โสภาวนั
5 เดก็ หญงิ วณิ นี ชุ มาลัยจรญู
6 เดก็ ชายบญุ มี ทรงชัยเจริญ
7 เดก็ ชายพชิ ยั ยุทธ โชคขจรไพศาล
8 เด็กชายภูบดินทร์ ปนิ่ หยา่
9 เด็กชายวทิ วสั ชัยศรี
10 เด็กชายนมิ ิต อุดมไพศาลศกั ดิ์
11 เดก็ หญิงพมิ พ์มาดา สุรยิ ะ
12 เดก็ หญิงชลธชิ า คีรีมาลัย
13 เด็กหญิงมาลี แซล่ ี
14 เดก็ หญงิ ขวญั ชนก ววิ ัฒนพ์ รไชย
15 เดก็ ชายณฐั วัชร แซ่หาง
16 เด็กชายกฤษณกันณฑ์ จันทรอ์ ินทร์
17 เด็กชายณฐั ภทั ร พิชชาพงศ์
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไมต่ ่ำกว่า 5 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไม่ผ่าน………………….คน
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
เวลาทั้งหมด 12 ช่ัวโมง
รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เวลา 2 คาบ
หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เร่ือง สารรอบตัว ผสู้ อน นางสาวนุสรนิ ทร์ อน่ิ คำ
แผนท่ี 1 เร่ือง สารและการจำแนกสาร
สอนวันที่ 7-11 มถิ นุ ายน 2564
มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้วี ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
ตัวชวี้ ัด
ม.1/9 อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนท่ีของ
อนุภาคของสสารชนิดเดยี วกันในสถานะของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยใชแ้ บบจำลอง
สาระสำคัญ
สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน สารบางชนิดสามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ภายนอกของสารได้ เช่น สี สถานะ เป็นต้น ซึ่งเป็นสมบัติทางกายภาพของสาร แต่สมบัติบางชนดิ ของสารเกิดจาก
การทำปฏิกิริยาเคมี ทำให้เกิดสารใหม่ที่มีองค์ประกอบแตกต่างไปจากเดมิ เช่น การเผาไหม้ การเกิดสนิม เป็นต้น
ซ่ึงเปน็ สมบัตทิ างเคมขี องสาร การระบุว่าสารแตล่ ะชนิดเป็นสารประเภทใดจำเป็นต้องใชส้ มบัติของสารมาวเิ คราะห์
เชน่ การใช้สถานะ การใชเ้ นือ้ สาร และการใช้ขนาดของอนภุ าคมาเปน็ เกณฑ์ในการจำแนกสาร
สาระการเรยี นรู้
- สสารทกุ ชนิดประกอบดว้ ยอนุภาค โดยสารชนดิ เดียวกนั ทีม่ สี ถานะของแขง็ ของเหลว แก๊ส จะมี การ
จัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค การเคลื่อนท่ีของอนุภาคแตกต่างกัน ซ่งึ มีผลตอ่ รปู ร่าง และปริมาตร
ของสสาร
- อนภุ าคของของแขง็ เรยี งชดิ กนั มีแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าคมากที่สดุ อนุภาคสั่นอยู่กบั ท่ี ทำให้มี
รูปร่างและปริมาตรคงท่ี
- อนภุ าคของของเหลวอยใู่ กลก้ นั มแี รงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาคนอ้ ยกว่าของแข็งแตม่ ากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคล่ือนที่ไดแ้ ต่ไมเ่ ป็นอิสระเทา่ แก๊ส ทำใหม้ ีรปู รา่ งไม่คงที่ แตป่ รมิ าตรคงท่ี
- อนภุ าคของแกส๊ อยหู่ ่างกันมาก มแี รงยึดเหนย่ี วระหว่างอนุภาคน้อยท่สี ุด อนภุ าคเคลื่อนทไี่ ด้อยา่ งอสิ ระ
ทกุ ทิศทาง ทำให้มีรปู ร่างและปริมาตรไม่คงที่
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (K)
นกั เรยี นสามารถเปรยี บเทยี บการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนท่ี
ของอนุภาคของสารชนดิ เดียวกนั ในสถานะตา่ งๆ ได้
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการทดลองได้ถูกต้องตามขน้ั ตอนได้
ด้านคณุ ลักษณะ (A)
นักเรียนมีความรับผดิ ชอบในภาระงานทค่ี รูมอบหมาย และสง่ งานได้ในเวลาทกี่ ำหนด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสือ่ สาร
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. มีวนิ ยั
2. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
3. ม่งุ ม่ันตั้งใจทำงานดว้ ยความเพยี รพยายาม
4. มจี ติ สาธารณะ
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้ันท่ี 1 : ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครแู จง้ ผลการเรยี นรใู้ หน้ ักเรียนทราบ
2. ครูใช้คำถามถามนกั เรยี นวา่ “สารที่อย่รู อบตัวเรามคี วามแตกต่างกันอย่างไร”
(แนวคำตอบ สารที่อยู่รอบตัวเราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการที่เหมือน และแตกต่างกัน
เชน่ สถานะ การนำความรอ้ น การนำไฟฟา้ เป็นตน้ แต่อย่างไรก็ตามสารแต่ละชนิดย่อมลักษณะเฉพาะของสารแต่
ละชนดิ นน้ั ๆ เชน่ สภาพการละลาย จุดเดือด จดุ หลอมเหลว ความหนาแนน่ ของสาร เปน็ ต้น)
ขั้นท่ี 2 : ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (70 นาที)
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง “สารและการจำแนกสาร” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อ Power point และใช้
หนังสอื วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (อจท.) หน้า 3-5
2. ครูเปดิ คลิปวีดโี อ เร่อื ง “สารและการจำแนกสาร (SC207001)” ใหน้ กั เรยี นรบั ชม
(ทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v=kq7IUN1_DUQ)
3. ครใู หน้ ักเรยี นทำกิจกรรม โดยมีข้นั ตอนดังต่อไปน้ี
3.1 ครใู หน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเปน็ 3 กลุ่ม โดยให้แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมาจับฉลากหัวข้อกิจกรรม
ดงั นี้
- ของแข็ง
- ของเหลว
- แกส๊
3.2 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรม เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ตามหนังสือเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ท่ี 6 โดยให้แตล่ ะกลุ่มทำกิจกรรมภายใต้หวั ขอ้ ทีน่ ักเรียนจับฉลากได้ ดงั นี้
- กล่มุ ของแข็ง ใหบ้ รรจุเม็ดโฟมเต็มขวด
- กลุ่มของเหลว ใหบ้ รรจเุ ม็ดโฟมครึง่ ขวด
- กลมุ่ แกส๊ ให้บรรจุเม็ดโฟมน้อยกว่าครงึ่ ขวด
3.3 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม เรื่อง ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ตามหนังสือแล้วบันทึกผลกิจกรรม
และตอบคำถามทา้ ยกิจกรรมลงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1
ขน้ั ท่ี 3 : อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (5 นาที)
1. ครสู มุ่ ตวั แทนกล่มุ ออกมารายงานผลจากการทำกิจกรรมหนา้ ช้นั เรยี น
2. ครูเฉลยคำตอบจากคำถามทา้ ยกิจกรรม ในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1
- ขวดนำ้ ทีบ่ รรจุเมด็ โฟมของแต่ละกลมุ่ เปรยี บเสมือนกบั สถานะของสารใดบา้ ง
(แนวคำตอบ สารท่อี ย่รู อบตวั เราบางชนิดมสี มบัติทางกายภาพบางประการทเ่ี หมอื น และแตกต่างกนั เชน่
สถานะ การนำความรอ้ น การนำไฟฟา้ เปน็ ตน้ แต่อย่างไรก็ตามสารแตล่ ะชนดิ มีย่อมลกั ษณะเฉพาะของสารแต่ละชนดิ นั้น
ๆ เช่น สภาพการละลาย จดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว ความหนาแน่นของสาร เป็นต้น)
- หลงั จากเป่าลมเข้าไปในขวด ลักษณะการเคล่ือนท่ีของเม็ดโฟมแต่ละกลมุ่ แตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร
(แนวคำตอบ แตกต่างกนั ขวดทีบ่ รรจุเมด็ โฟมจนเต็มขวด อนุภาคของเม็ดโฟมจะสน่ั อยู่กลับที่ ถ้าบรรจุเมด็
โฟมครงึ่ ขวด บางอนภุ าคของเม็ดโฟมจะเคลือ่ นท่อี ิสระ แต่ถ้าบรรจุเมด็ โฟมต่ำกว่าครง่ึ อนุภาคของเม็ดโฟมจะเคล่ือนทีไ่ ด้
อย่างอสิ ระ)
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบ การจัดเรียงอนุภาค และการเคลื่อนที่ของสารทั้ง 3
สถานะ
ข้ันที่ 4 : ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง สารรอบตัว โดยให้นักเรียนกลับไปสำรวจสารรอบตัวภายในบ้านของ
นักเรียน แลว้ จำแนกสารลงในใบงาน พรอ้ มตกแตง่ ใหส้ วยงาม
ขน้ั ที่ 5 : ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (5 นาที)
ครูประเมินผลการเรียนรู้จากใบงาน 1.2, ประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม และการส่งงานตรงตามเวลาที่
กำหนด โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ จากแผนการเรยี นรทู้ ่ี 2
ส่อื อุปกรณก์ ารเรียนรู้ และแหลง่ การเรยี นรู้
1) สอ่ื Power point เรอ่ื ง “สารและการจดั จำแนกสาร”
2) หนังสือวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (อจท.)
3) คลปิ วดิ ีโอ “สารและการจำแนกสาร (SC207001)”
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=kq7IUN1_DUQ)
4) อุปกรณต์ ่าง ๆ ได้แก่ ขวดบรรจเุ มด็ โฟมทงั้ 3 ขวด
5) ใบงาน 1.2 สารรอบตัว
การวดั และการประเมนิ วธิ ีการวัด เครื่องมอื วดั เกณฑใ์ ชป้ ระเมิน
ประเดน็ การประเมนิ
ระดับคุณภาพ
ดา้ นความรู้ (K) พอใช้ ผ่านเกณฑ์
นักเรียนสามารถเปรยี บเทยี บการ ตรวจจากใบงานท่ี 1.2 ใบงานที่ 1.2 เรอื่ ง สาร
จัดเรยี งอนภุ าค แรงยึดเหนยี่ ว เร่อื ง สารรอบตัว รอบตัว
ระหวา่ งอนภุ าค และการเคลื่อนท่ี
ของอนุภาคของสารชนิดเดียวกนั ใน
สถานะต่างๆ ได้
ดา้ นทักษะ (P)
นักเรียนสามารถปฏิบตั ิกิจกรรมการ สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการ ระดบั คุณภาพ
พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ทดลองไดถ้ ูกต้องตามขัน้ ตอนได้ ทำงานกล่มุ ทำงานกล่มุ จากผูส้ อน
ระดบั คุณภาพ
ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) พอใช้ ผา่ นเกณฑ์
นกั เรยี นมคี วามรับผิดชอบในภาระ ตรวจจากการส่งงานใบ แบบบนั ทึกการส่งงาน
งานทค่ี รูมอบหมาย และส่งงานได้ใน งานท่ี 1.2
เวลาทีก่ ำหนด
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ (K)
ประเดน็ การประเมิน 3 ระดับคุณภาพ 0
21
นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นไมส่ ามารถ
เปรยี บเทียบการ เปรียบเทยี บการ เปรยี บเทียบการ เปรยี บเทยี บการ เปรียบเทียบการ
จัดเรียงอนุภาค แรง จดั เรียงอนุภาค แรง จดั เรียงอนภุ าค แรง จัดเรยี งอนภุ าค แรง จดั เรยี งอนภุ าค แรง
ยดึ เหนยี่ วระหว่าง ยึดเหนี่ยวระหว่าง ยึดเหน่ยี วระหวา่ ง ยึดเหนี่ยวระหวา่ ง ยึดเหนีย่ วระหวา่ ง
อนุภาค และการ อนุภาค และการ อนภุ าค และการ อนภุ าค และการ อนุภาค และการ
เคลอ่ื นที่ของอนภุ าค เคลื่อนที่ของอนภุ าค เคลอื่ นที่ของอนภุ าค เคล่อื นท่ีของอนุภาค เคลอ่ื นท่ีของอนภุ าค
ของสารชนดิ เดยี วกนั ของสารชนดิ เดยี วกัน ของสารชนดิ เดยี วกนั ของสารชนิดเดียวกัน ของสารชนิดเดยี วกัน
ในสถานะตา่ งๆ ได้ ในสถานะต่างๆ ใน ในสถานะต่างๆ ในใบ ในสถานะตา่ งๆ ในใบ ในสถานะต่างๆ ในใบ
(3 คะแนน) ใบงาน 1.1 ได้ งาน 1.1 ได้ถูกต้อง งาน 1.1 ได้ถูกต้อง งาน 1.1 ไดถ้ ูกตอ้ ง
ถกู ต้อง 11-15 ช่อง 6-10 ชอ่ ง 1-5 ช่อง
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรบั ปรุง
เกณฑ์การประเมินดา้ นทักษะ (P)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคณุ ภาพ 0
21
นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติ ไดค้ ะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ ได้คะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ
กจิ กรรมการทดลองได้ ประเมินการทำ ประเมนิ การทำ ประเมินการทำ ประเมินการทำ
ถกู ต้องตามขน้ั ตอนได้ กิจกรรมกลุม่ กจิ กรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลุม่ กจิ กรรมกลุม่
(3 คะแนน) 10 – 15 คะแนน 5 – 9 คะแนน 1 – 4 คะแนน 0 คะแนน
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรบั ปรุง
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ (A)
ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดบั คุณภาพ 0
21
นักเรียนมคี วาม ส่งงานตรงตามท่ี ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด ส่งงานช้ากว่ากำหนด สง่ งานช้ากวา่ กำหนด
รบั ผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทติ ย์ทน่ี ัด 1-2 วนั 3 วัน มากกว่า 3 วันหรือไม่
ทค่ี รูมอบหมาย และส่ง สง่ งาน) สง่
งานได้ในเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดบั คุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรงุ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2
เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชั้น ม.1/2 .
ผลการประเมนิ ตามแบบประเมิน
-นักเรยี นจำนวน......... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ............ มีผลการประเมินด้าน K ในระดบั …….......
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............. มผี ลการประเมินดา้ น P ในระดบั ……......
-นักเรยี นจำนวน..........คน คิดเป็นรอ้ ยละ.............. มผี ลการประเมนิ ดา้ น A ในระดบั …….....
ปญั หาท่พี บจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
การแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
................................................................................................................................. ...................................................
............................................................................... ............................................................................................... ......
ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ข้อเสนอแนะในการสอนคร้ังถัดไป
................................................................................................................................... .................................................
.................................................................................. ...................................................................................... ............
ลงชือ่ .....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อ่นิ คำ) .
นกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู
ความคิดเหน็ ของผพู้ ่เี ลีย้ ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(ว21101) และมคี วามคิดเหน็ ดังน้ี
1. เป็นหนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้
2. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ได้นำเอาทกั ษะกระบวนการเรียนรู้
ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญใช้ในการสอนอย่างเหมาะสม
ทย่ี ังไม่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป
3. เปน็ หนว่ ย/แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี นำไปใชใ้ นการสอนไดจ้ ริง
ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………….……
….……………………………………………………………………………………………………………………….………….………………...........
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
ลงช่ือ.........................................................
(นางพชั รา ภิระกนั ทา) .
ครพู ี่เลย้ี ง .
................../................./..................
ใบงานที่ 1.2
เร่อื ง สารรอบตวั
คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นสำรวจส่งิ แวดล้อมท่ีอยรู่ อบตัวมา 2 ชนิด และเปรยี บเทียบความแตกต่างของสาร ตาม
หวั ขอ้ ที่กำหนดให้
สถานทสี่ ำรวจ:
สารชนดิ ที่ 1 สารชนิดท่ี 2
สมบัติทางกายภาพ
สมบัตทิ างเคมี
เฉลย
ใบงานท่ี 1.2
เร่อื ง สารรอบตัว
คำชแี้ จง : ให้นักเรียนสำรวจสิ่งแวดลอ้ มท่ีอยู่รอบตัวมา 2 ชนดิ และเปรียบเทียบความแตกต่างของสาร ตาม
หวั ขอ้ ทก่ี ำหนดให้
สถานทส่ี ำรวจ: ห้องครัว (ตัวอยา่ งคำตอบ)
สารชนดิ ท่ี 1 สารชนิดท่ี 2
ตวั อย่าง น้ำมะนาว ตัวอยา่ ง ทอ่ เหล็ก
สมบตั ทิ างกายภาพ
ของเหลว ของแขง็
มีรสเปรี้ยว นำความร้อน
สมบตั ิทางเคมี นำไฟฟา้
มฤี ทธเิ์ ป็นกรด
เกิดสนิมได้
คะแนนที่ได้
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
ช่อื กลุ่ม……………………………………………….....
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ……………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………………………………………………….
6. ……………………………………………………………………………………………………….
7. ……………………………………………………………………………………………………….
คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลา แล้วขีด / ลงในช่องท่ตี รงกับ
ระดับคะแนน
พฤติกรรมทสี่ ังเกต ระดบั คุณภาพคะแนน
3 21
1. มกี ารวางแผนการทำงานกลุ่ม
2. มขี ้นั ตอนในการทำงานอย่างถูกต้องเปน็ ระบบ
3. มขี ัน้ ตอนในการทำงานที่ได้รับมอบหมายครบทุกคน
4. มเี นอื้ หาครบถว้ นสมบูรณ์ และมคี วามถกู ต้อง
5. ใชเ้ วลาในการทำงานตามเวลาท่ีกำหนด
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมที่ทำอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
คะแนน
พฤติกรรมที่ทำบอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมท่ที ำบางคร้ัง ให้ 1
คณุ ภาพคะแนน = ดี
10 - 15 คะแนน = ปานกลาง
5 - 9 คะแนน = พอใช้
1 - 4 คะแนน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/2
วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน เร่ือง สารและการจำแนกสาร
ลำดับ ชอื่ -สกุล ความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะ รวม ผลการประเมนิ
33 3 9 ผ่าน ไมผ่ ่าน
1 เด็กหญิงลักขณา ทาเกิด
2 เดก็ ชายเทพพิทกั ษ์ โสภณ
3 เด็กหญงิ ณชิ ากร บวั สุวรรณ
4 เด็กชายฉัตรเมธี โสภาวนั
5 เดก็ หญงิ วณิ นี ชุ มาลัยจรญู
6 เดก็ ชายบญุ มี ทรงชัยเจริญ
7 เดก็ ชายพชิ ยั ยุทธ โชคขจรไพศาล
8 เด็กชายภูบดินทร์ ปนิ่ หยา่
9 เด็กชายวทิ วสั ชัยศรี
10 เด็กชายนมิ ิต อุดมไพศาลศกั ดิ์
11 เดก็ หญิงพมิ พ์มาดา สุรยิ ะ
12 เดก็ หญิงชลธชิ า คีรีมาลัย
13 เด็กหญิงมาลี แซล่ ี
14 เดก็ หญงิ ขวญั ชนก ววิ ัฒนพ์ รไชย
15 เดก็ ชายณฐั วัชร แซ่หาง
16 เด็กชายกฤษณกันณฑ์ จันทรอ์ ินทร์
17 เด็กชายณฐั ภทั ร พิชชาพงศ์
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไมต่ ่ำกว่า 5 คะแนน
ผา่ น……………………..คน
ไม่ผ่าน………………….คน
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
เวลาทั้งหมด 26 ชั่วโมง
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง สารรอบตัว ผ้สู อน นางสาวนสุ รินทร์ อิ่นคำ
แผนที่ 3 เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของสาร
สอนวนั ท่ี 14 มิถนุ ายน 2564
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชวี้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกบั
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
ตวั ชี้วัด
ม.1/10 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์และแบบจำลอง
สาระสำคญั
สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีที่แตกต่างกัน ซึ่งอุณหภูมิภายนอกมีผล
ต่อสถานะของสาร ซึ่งเป็นสมบัติทางกายภาพของสารอย่างหนึ่ง เช่น น้ำแข็ง (ของแข็ง) เมื่อได้รับความร้อนจะ
ละลายกลายเป็นน้ำ (ของเหลว) เมื่อน้ำได้รับความร้อนต่อเนื่องจะเดือด และระเหยกลายเป็นไอ (แก๊ส) เป็นต้น
ซึ่งความร้อนที่ทำให้ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว และเรียก
ความร้อนท่ที ำใหข้ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน็ แกส๊ วา่ ความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอ
สาระการเรียนรู้
2. การเปล่ยี นแปลงของสาร
สารบางชนิดมีสี กลิ่น รูปร่าง หรือสถานะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยไม่เกิดเป็นสารใหม่ เรียกการ
เปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ แต่การเปลี่ยนแปลงของสารบางชนิดมีผลต่อองค์ประกอบ
เคมภี ายในทำให้ไดส้ ายใหม่ เรยี กการเปลยี่ นแปลงแบบนีว้ ่า การเปล่ียนแปลงทางเคมี
ความร้อนเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีหน่วยเป็นแคลอรี (cal) หรือจูล (J) ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อ
อุณหภูมขิ องสาร ส่งผลใหส้ มบตั ิทางกายภาพหรือสถานะของสารเปลีย่ นแปลงไป ดงั น้ี
1. การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เมื่อให้ความร้อนแก่สารที่มีสถานะของแข็ง
อนภุ าคของของแขง็ จะมพี ลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมขน้ึ จนถึงระดับหนึ่ง และเปล่ยี นไปเป็นของเหลวเรยี กความร้อนท่ี
ทำให้ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว อุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะ
คงท่ี เรยี กอณุ หภมู นิ ีว้ า่ จดุ หลอมเหลว (melting point) เชน่ การหลอมเหลวของนำ้ แขง็ เปน็ ต้น
2. การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เมื่อให้ความร้อนแก่สารที่เป็นของเหลว อนุภาคของ
ของเหลวจะมีพลงั งานและอุณหภมู เิ พม่ิ ขึ้นจนถงึ ระดับหนง่ึ และเปลย่ี นไปเป็นแกส๊ เรยี กความร้อนท่ที ำใหข้ องเหลว
เปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ โดยอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่เรียก
อณุ หภมู ิน้วี า่ จุดเดือด (boiling point) เช่น การเดอื ดของน้ำกลายเปน็ ไอ เป็นตน้
3. การเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว เมื่ออุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะ
ควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว โดยอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ ซึ่งเป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือด
เรียกอณุ หภูมนิ ี้ว่า จุดควบแนน่ (condensation point) เชน่ ไอนำ้ ควบแนน่ กลายเป็นน้ำ เป็นตน้
4. การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหน่ึง
ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเยือกแข็ง (freezing point) ซึง่ เป็นอุณหภูมิเดียวกับ
จดุ หลอมเหลว เช่น การเยอื กแข็งของน้ำกลายเป็นนำ้ แขง็ เปน็ ต้น
ภาพท่ี 1.1 การเปลี่ยนสถานะของนำ้
(ที่มา : https://www.stkc.go.th/stiarticle/)
• การเปลี่ยนสถานะของนำ้ ในธรรมชาติ
ภาพที่ 1.2 การเปลีย่ นสถานะของนำ้ ในธรรมชาติ
(ท่ีมา : หนังสือวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (อจท.) หน้า 7-8)
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ดา้ นความรู้ (K)
นกั เรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกบั การเปลี่ยนสถานะของสสารได้
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นักเรยี นสามารถระบกุ ารเปลีย่ นแปลงสถานะของสสารทอ่ี ยรู่ อบตัวได้
ด้านคณุ ลักษณะ (A)
นักเรียนมคี วามรบั ผิดชอบในภาระงานทีค่ รูมอบหมาย และสง่ งานได้ในเวลาทีก่ ำหนด
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสอ่ื สาร
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินยั
2. มคี วามสนใจใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ ม่นั ต้งั ใจทำงานด้วยความเพียรพยายาม
4. มีจติ สาธารณะ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ข้นั ท่ี 1 : ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องทัว่ ไป โดยครถู ามนกั เรียนว่า “นกั เรียนตืน่ กนั รึยัง คาบทีแ่ ลว้ เรยี นอะไร”
2. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยใหน้ กั เรยี นสังเกต กอ้ นน้ำแขง็ ในแกว้ กอ่ นและหลังนำไปตากไว้กลางแจ้ง
3. ครูใชค้ ำถามถามนกั เรียนว่า “นำ้ แขง็ มกี ารเปลีย่ นแปลงสถานะอย่างไร” (แนวคำตอบ : เปลยี่ นสถานะ
จากของแข็งเป็นของเหลว) และครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่า วันนี้เราจะเรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร” (แนว
คำตอบ : การเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร)
ขน้ั ท่ี 2 : ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (25 นาที)
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร” แก่นักเรียน โดยใช้สื่อ Power point
และหนงั สอื วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (อจท.) หน้า 7-8
2. ครูเปิดคลปิ วดี ีโอ เรอ่ื ง “การเปลีย่ นสถานะของสาร (เมืองไทยสมารท์ บ๊กุ )” ให้นกั เรียนดู
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=AmbP4WcBJJQ)
3. ครใู ห้นกั เรยี นทำกิจกรรม โดยมีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้
3.1 ครูใหน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ ออกเปน็ 3 กลุม่ กลุ่มละ 6-7 คน โดยใหน้ ักเรียนจับกลุ่มกันเอง
3.2 ครูให้ตวั แทนนกั เรียนของแตล่ ะกลุ่มออกมาจับสลากตัวอักษรจำนวน 2 ตัว โดยมีความหมาย ดงั น้ี
A. ของแขง็ B. ของเหลว C. แก๊ส D. การละลาย
E. การระเหย F. การแขง็ ตัว G. การควบแน่น *ครยู กตัวอยา่ ง
3.3 ครูอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรม โดยกิจกรรมมีชื่อว่า “ฉันอยู่ตรงไหน” ให้นักเรียนฟัง และครู
วาดรูปภาชนะท่ีบรรจสุ ารในสถานะตา่ ง ๆ พรอ้ มลูกศรชี้ความสัมพันธ์ และเขยี นช่องเติมตวั อักษรบนกระดานหน้า
ช้นั เรียน
3.4 จากนั้นครูให้นักเรียนเริ่มทำกิจกรรม โดยให้นักเรียนเขียนตัวอักษรที่กลุ่มของตนเองได้ ลงใน
ช่องว่างให้ถกู ต้อง กำหนดเวลา 2 นาที
3.5 ครูและนกั เรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง โดยกลมุ่ ใดที่เตมิ ตวั อกั ษรได้ถูกต้องและทำกิจกรรม
ได้เร็วที่สดุ จะไดร้ บั คะแนนเพม่ิ +1 คะแนน
ขน้ั ที่ 3 : อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) (5 นาที)
1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเนือ้ หาจากกิจกรรมเช่อื มโยงกบั เนื้อหาในบทเรียน
2. ครสู รปุ เนือ้ หาการเปล่ียนแปลงสถานะของสารใหน้ กั เรียนฟงั
3. ครเู ปิดโอกาสใหน้ กั เรียนได้ซักถามข้อสงสยั เพอื่ สะทอ้ นความคิดของนักเรยี น
ขน้ั ที่ 4 : ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาที)
1. ครเู ปิดคลปิ วีดีโอ เรื่อง “อาหาร 30 ประเภททค่ี ณุ มกั เก็บรกั ษาอย่างผิดวธิ ี” ให้นกั เรยี นดู
(ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=Dxp5L_bemKE)
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายและสรปุ วิธีการเกบ็ รักษาอาหารทีถ่ ูกวิธี
ขน้ั ที่ 5 : ขน้ั ประเมิน (Evaluation) (5 นาท)ี
ครปู ระเมนิ ผลการเรียนรู้จากใบงานท่ี 1.2 และประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินจาก
แผนการเรยี นรทู้ ี่ 3
ส่ืออปุ กรณ์การเรียนรู้ และแหลง่ การเรยี นรู้
1) ส่ือ Power point เร่อื ง “การเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร”
2) หนังสือวิชาวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 (อจท.) หน้า 7-8
3) คลปิ วดิ ีโอ “การเปลีย่ นสถานะของสาร (เมืองไทยสมาร์ทบ๊กุ )”
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=AmbP4WcBJJQ)
4) คลิปวิดีโอ “อาหาร 30 ประเภททคี่ ุณมักเกบ็ รักษาอยา่ งผิดวธิ ี”
(ทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v=Dxp5L_bemKE)
การวดั และการประเมิน วธิ กี ารวดั เครื่องมอื วัด เกณฑใ์ ช้
ประเดน็ การประเมิน ใบงานท่ี 1.2 ประเมิน
ด้านความรู้ (K) รอ้ ยละ 60
ผา่ นเกณฑ์
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ ตรวจจากใบงานท่ี 1.2
ระหว่างพลังงานความร้อนกับการ
เปลีย่ นสถานะของสสารได้
ด้านทกั ษะ (P)
นกั เรยี นสามารถระบุการเปล่ียนแปลง สงั เกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคุณภาพ
สถานะของสสารทอี่ ยรู่ อบตวั ได้ ทำงานกลุ่ม ทำงานกลมุ่ จากผสู้ อน พอใช้ ผ่านเกณฑ์
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
นักเรียนมีความรับผิดชอบในภาระ 1. สงั เกตพฤติกรรม 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ
รายบุคคล พอใช้ ผ่านเกณฑ์
งานที่ครูมอบหมาย และส่งงานได้ใน รายบุคคล 2. แบบบันทกึ การสง่ งาน
เวลาท่กี ำหนด 2. ใบงานที่ 1.2
เกณฑ์การประเมินดา้ นความรู้ (K)
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
3 21 0
นักเรียนไมส่ ามารถ
นกั เรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ นกั เรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ อธบิ ายความสมั พันธ์
ระหว่างพลังงาน
อธบิ ายความสัมพนั ธ์ อธิบายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พันธ์ ความรอ้ นกบั การ
เปลยี่ นสถานะของ
ระหวา่ งพลงั งานความ ระหว่างพลงั งาน ระหวา่ งพลงั งาน ระหว่างพลงั งาน สสารได้ ในใบงานท่ี
1.2 ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
รอ้ นกบั การเปลี่ยน ความรอ้ นกบั การ ความรอ้ นกบั การ ความรอ้ นกบั การ (0 ขอ้ )
สถานะของสสารได้ เปล่ยี นสถานะของ เปลยี่ นสถานะของ เปลีย่ นสถานะของ
(3 คะแนน) สสารได้ ในใบงานท่ี สสารได้ ในใบงานท่ี สสารได้ ในใบงานที่
1.2 ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 1.2 ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 1.2 ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
(5-7 ขอ้ ) (3-4 ข้อ) (1-2 ข้อ)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นทักษะ (P)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดบั คุณภาพ 0
21
นกั เรยี นสามารถระบุ ไดค้ ะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ ได้คะแนนจากแบบ
การเปลี่ยนแปลง ประเมนิ การทำ ประเมนิ การทำ ประเมนิ การทำ ประเมนิ การทำ
สถานะของสสารท่ี กิจกรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลมุ่ กิจกรรมกลมุ่ กิจกรรมกลมุ่
อยรู่ อบตวั ได้ 10 – 15 คะแนน 5 – 9 คะแนน 1 – 4 คะแนน 0 คะแนน
(3 คะแนน)
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรับปรงุ
เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ (A)
ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
3 210
นกั เรียนมคี วาม สง่ งานตรงตามท่ี ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด สง่ งานช้ากว่ากำหนด สง่ งานชา้ กว่ากำหนด
รับผิดชอบในภาระงาน กำหนด (อาทิตย์ 1-2 วัน 3 วัน มากกวา่ 3 วนั หรอื ไม่
ทคี่ รมู อบหมาย และสง่ ถดั ไป) สง่
งานได้ในเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 3
เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร ช้ัน ม.1/2 .
จำนวนนักเรียนทม่ี าเรยี น.............................คน
จำนวนนกั เรยี นท่ไี ม่มาเรยี น.........................คน
1. ผลการสอน
1.1 ผลการจัดการเรียนรูใ้ นห้อง
นกั เรยี นรอ้ ยละ............จากคนทม่ี าเรียนทั้งหมด ให้ความร่วมมอื ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยสามารถ
.............................................................ได้
1.2 ผลการประเมินตามแบบประเมิน
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............ มีผลการประเมนิ ด้าน K ในระดบั …….......
-นกั เรียนจำนวน......... คน คดิ เปน็ ร้อยละ............. มีผลการประเมินด้าน P ในระดบั ……......
-นักเรียนจำนวน..........คน คดิ เปน็ ร้อยละ.............. มีผลการประเมินดา้ น A ในระดบั …….....
12.2 ปัญหาที่พบจากการสอนในคาบเรยี น
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................................ ............
12.3 การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรค
........................................................................................... .........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
12.4 ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................................ ............
12.5 ขอ้ เสนอแนะในการสอนครั้งถัดไป
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ลงชอ่ื .....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อิ่นคำ) .
นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู
ความคดิ เห็นของผ้พู ่เี ล้ยี ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ว21101)
และมคี วามคิดเหน็ ดังน้ี
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ดมี าก ดี พอใช้
2. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ได้นำเอาทักษะกระบวนการเรยี นรู้
ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญใชใ้ นการสอนอย่างเหมาะสม
ทย่ี งั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป
3. เปน็ หน่วย/แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใช้ในการสอนไดจ้ ริง
ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………….……
….……………………………………………………………………………………………………………………….………….………………...........
.......................................................................................................................................................... ..........................
....................................................................................................................................................................................
ลงชือ่ .........................................................
(นางพชั รา ภริ ะกนั ทา) .
ครูพีเ่ ล้ยี ง .
................../................./..................
คะแนนที่ได้
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม
ช่อื กลุ่ม……………………………………………….....
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ……………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………………………………………………….
6. ……………………………………………………………………………………………………….
7. ……………………………………………………………………………………………………….
คำชแี้ จง : ให้ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลา แล้วขดี / ลงในชอ่ งทีต่ รงกับ
ระดบั คะแนน
พฤติกรรมท่ีสังเกต ระดบั คุณภาพคะแนน
3 21
1. เร่ิมต้นงานที่ไดร้ ับมอบหมายทันที
2. ทำกิจกรรมดว้ ยความสนกุ สนานและเต็มใจ
3. มีสว่ นร่วมในการทำกจิ กรรมอย่างสม่ำเสมอ
4. มีเนอ้ื หาครบถว้ นสมบูรณ์ และมคี วามถูกต้อง
5. ใช้เวลาในการทำงานตามเวลาท่กี ำหนด
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมท่ีทำอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
คะแนน
พฤติกรรมที่ทำบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทที่ ำบางครั้ง ให้ 1
คุณภาพคะแนน = ดี
10 - 15 คะแนน = ปานกลาง
5 - 9 คะแนน = พอใช้
1 - 4 คะแนน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2
วชิ าวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน เรื่อง การเปล่ียนแปลงสถานะของสาร
ลำดับ ชื่อ-สกุล ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ รวม ผลการประเมนิ
33 3 9 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 เด็กหญิงลกั ขณา ทาเกดิ
2 เดก็ ชายเทพพิทักษ์ โสภณ
3 เด็กหญิงณชิ ากร บัวสวุ รรณ
4 เด็กชายฉัตรเมธี โสภาวนั
5 เดก็ หญงิ ปณิศรา มธรุ สวรรค์
6 เด็กหญงิ วิณนี ชุ มาลยั จรญู
7 เดก็ ชายบุญมี ทรงชยั เจริญ
8 เด็กชายพิชัยยทุ ธ โชคขจรไพศาล
9 เด็กชายภูบดินทร์ ปิน่ หย่า
10 เดก็ ชายวิทวัส ชัยศรี
11 เดก็ ชายนิมิต อดุ มไพศาลศกั ด์ิ
12 เดก็ หญิงศศกิ านต์ ตามี่
13 เดก็ หญิงพิมพม์ าดา สรุ ิยะ
14 เด็กหญิงชลธิชา คีรมี าลยั
15 เด็กหญงิ มาลี แซล่ ี
16 เดก็ หญิงขวญั ชนก ววิ ัฒน์พรไชย
17 เดก็ ชายณฐวชั ร แซ่หาง
18 เด็กชายกฤษณกันณฑ์ จนั ทรอ์ ินทร์
19 เด็กชายณฐั ภทั ร พิชชาพงศ์
20 เด็กหญิงศุภกานต์ ดำรงพรกุล
21 เดก็ หญงิ กมลชนก จะหย่อ
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไม่ตำ่ กว่า 5 คะแนน
ผ่าน……………………..คน
ไมผ่ า่ น………………….คน
ใบงานท่ี 1.2 วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 คะแนนที่ได้
หนว่ ยท่ี 1 สารรอบตัว ใบงานที่ 2 เรื่อง การเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร
คำชี้แจง : จงเตมิ คำที่กำหนดใหล้ งในตารางใหส้ มบรู ณ์
ของแข็ง แก๊ส ของเหลว การระเหย
การควบแน่น การละลาย การแข็งตวั
DE
F G C
A B
ตัวอักษร หมายถึง
A
B
C
D
E
F
G
ชอ่ื ……………………………………………………………………………… ช้ัน/หอ้ ง ………………………. เลขที่ ……………….
ใบงานที่ 1.2 วชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เฉลย
คะแนนทีไ่ ด้
หน่วยท่ี 1 สารรอบตัว ใบงานท่ี 2 เร่ือง การเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร
คำช้ีแจง : จงเตมิ คำท่กี ำหนดใหล้ งในตารางให้สมบรู ณ์
ของแขง็ แก๊ส ของเหลว การระเหย
การควบแน่น การละลาย การแข็งตวั
DE
F G C
A B
ตัวอกั ษร หมายถึง
A
B ของแข็ง
C
D ของเหลว
E
F แก๊ส
G
การละลาย
การระเหย
การแขง็ ตวั
การควบแน่น
ชอ่ื ……………………………………………………………………………… ช้นั /หอ้ ง ………………………. เลขท่ี ……………….
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
เวลาทั้งหมด 26 ชั่วโมง
รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 2 คาบ
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง สารรอบตัว ผ้สู อน นางสาวนสุ รินทร์ อิ่นคำ
แผนที่ 4 เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของสาร
สอนวนั ท่ี 17 มิถนุ ายน 2564
มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชวี้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของสสารกบั
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
ตวั ชี้วัด
ม.1/10 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยใช้หลักฐาน
เชงิ ประจกั ษ์และแบบจำลอง
สาระสำคญั
สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีที่แตกต่างกัน ซึ่งอุณหภูมิภายนอกมีผล
ต่อสถานะของสาร ซึ่งเป็นสมบัติทางกายภาพของสารอย่างหนึ่ง เช่น น้ำแข็ง (ของแข็ง) เมื่อได้รับความร้อนจะ
ละลายกลายเป็นน้ำ (ของเหลว) เมื่อน้ำได้รับความร้อนต่อเนื่องจะเดือด และระเหยกลายเป็นไอ (แก๊ส) เป็นต้น
ซึ่งความร้อนที่ทำให้ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว และเรียก
ความร้อนท่ที ำใหข้ องเหลวเปลย่ี นสถานะเปน็ แกส๊ วา่ ความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอ
สาระการเรียนรู้
2. การเปล่ยี นแปลงของสาร
สารบางชนิดมีสี กลิ่น รูปร่าง หรือสถานะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยไม่เกิดเป็นสารใหม่ เรียกการ
เปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ แต่การเปลี่ยนแปลงของสารบางชนิดมีผลต่อองค์ประกอบ
เคมภี ายในทำให้ไดส้ ายใหม่ เรยี กการเปลยี่ นแปลงแบบนีว้ ่า การเปล่ียนแปลงทางเคมี
ความร้อนเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีหน่วยเป็นแคลอรี (cal) หรือจูล (J) ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อ
อุณหภูมขิ องสาร ส่งผลใหส้ มบตั ิทางกายภาพหรือสถานะของสารเปลีย่ นแปลงไป ดงั น้ี
1. การเปลี่ยนแปลงสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เมื่อให้ความร้อนแก่สารที่มีสถานะของแข็ง
อนภุ าคของของแขง็ จะมพี ลังงานและอุณหภูมิเพ่ิมขน้ึ จนถึงระดับหนึ่ง และเปล่ยี นไปเป็นของเหลวเรยี กความร้อนท่ี
ทำให้ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว อุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะ
คงท่ี เรยี กอณุ หภมู นิ ีว้ า่ จดุ หลอมเหลว (melting point) เชน่ การหลอมเหลวของนำ้ แขง็ เปน็ ต้น
2. การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เมื่อให้ความร้อนแก่สารที่เป็นของเหลว อนุภาคของ
ของเหลวจะมีพลงั งานและอุณหภมู เิ พม่ิ ขึ้นจนถงึ ระดับหนง่ึ และเปลย่ี นไปเป็นแกส๊ เรยี กความร้อนท่ที ำใหข้ องเหลว
เปลี่ยนสถานะเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ โดยอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่เรียก
อณุ หภมู ิน้วี า่ จุดเดือด (boiling point) เช่น การเดอื ดของน้ำกลายเปน็ ไอ เป็นตน้
3. การเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว เมื่ออุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหนึ่ง แก๊สจะ
ควบแน่นเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว โดยอุณหภูมิขณะเปลี่ยนสถานะจะคงที่ ซึ่งเป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือด
เรียกอณุ หภูมนิ ี้ว่า จุดควบแนน่ (condensation point) เชน่ ไอนำ้ ควบแนน่ กลายเป็นน้ำ เป็นตน้
4. การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง เมื่ออุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหน่ึง
ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดเยือกแข็ง (freezing point) ซึง่ เป็นอุณหภูมิเดียวกับ
จดุ หลอมเหลว เช่น การเยอื กแข็งของน้ำกลายเป็นนำ้ แขง็ เปน็ ต้น
ภาพท่ี 1.1 การเปลี่ยนสถานะของนำ้
(ที่มา : https://www.stkc.go.th/stiarticle/)
• การเปลีย่ นสถานะของน้ำในธรรมชาติ
ภาพที่ 1.2 การเปลี่ยนสถานะของนำ้ ในธรรมชาติ
(ทม่ี า : หนงั สือวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (อจท.) หน้า 7-8)
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
นกั เรยี นสามารถอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอณุ หภมู ิกับการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสารได้
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)
นกั เรียนสามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการทดลองได้ถูกต้องตามขน้ั ตอนได้
ด้านคณุ ลักษณะ (A)
นกั เรยี นมคี วามรับผิดชอบในภาระงานท่คี รูมอบหมาย และส่งงานได้ในเวลาทีก่ ำหนด
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสอ่ื สาร
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มวี นิ ัย
2. มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้
3. มงุ่ ม่นั ตั้งใจทำงานด้วยความเพียรพยายาม
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 : ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี
1. ครูนำเขา้ สบู่ ทเรียนโดยถามนกั เรียนว่า “หากนำบีกเกอร์ท่บี รรจุนำ้ ไปต้มจะเกดิ อะไรขึน้ ”
(แนวคำตอบ : น้ำเดือด น้ำกลายเปน็ ไอน้ำ)
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วยการทดลองหน้าชั้นเรียน เรื่อง อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
โดยครูเตรยี มอุปกรณ์ ดังนี้
- น้ำแข็งบด
- น้ำในบกี เกอร์ 1 ซม.
- เทอร์มอมิเตอร์
- ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์
ข้ันที่ 2 : ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (70 นาที)
1. ครูทบทวนความรู้ เร่อื ง “การเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร” แกน่ กั เรยี น โดยใช้สอื่ Power point และ
หนังสอื วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (อจท.) หนา้ 9
2. ครใู หน้ กั เรยี นทำกจิ กรรม โดยมขี ั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 ครใู ห้นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 6-7 คน โดยใหน้ ักเรียนจับกลมุ่ กนั เอง
2.2 ครูให้ตวั แทนนักเรียนของแต่ละกลุ่มออกมารับใบกจิ กรรมท่ี 1.2 และครอู ธบิ ายขน้ั ตอนการทำการ
ทดลองในใบกิจกรรมที่ 1.2 ให้นักเรียนฟงั
2.3 จากนั้นครูให้นักเรียนเริ่มทำกิจกรรม โดยให้นักเรียนนำบีกเกอร์ที่มีน้ำสูงประมาณ 1 ซม. แล้วใส่
นำ้ แข็งบดลงไป จนกระท่ังระดับนำ้ สงู ข้ึนจากกน้ บีกเกอร์ 3 ซม.
2.4 ครใู ห้นักเรียนจ่มุ เทอรม์ อมเิ ตอร์ลงในบกี เกอร์ แลว้ อ่านอุณหภมู ขิ องน้ำผสมนำ้ แขง็ และบนั ทึกผล
2.5 จากนั้นครูใหน้ กั เรียนให้ความร้อนแกบ่ กี เกอรด์ ้วยตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมจับเวลาทุก ๆ 1 นาที
แล้วอ่านอุณหภูมิของนำ้ บนั ทกึ อุณหภมู ิสงั เกตการเปล่ียนแปลงของนำ้ ผสมน้ำแขง็ จนครบ 5 นาที
2.6 เมื่อครบ 5 นาทีแลว้ ครูใหน้ กั เรยี นดบั ตะเกียงแอลกอฮอลแ์ ลว้ ตั้งอุณหภมู ทิ ้ิงไวใ้ ห้เยน็
ขั้นท่ี 3 : อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) (5 นาท)ี
1. ครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเนอ้ื หาจากกจิ กรรมเชือ่ มโยงกบั เน้ือหาในบทเรียน
2. ครูสรปุ เน้อื หาการเปล่ียนแปลงสถานะของสารใหน้ กั เรยี นฟัง
3. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนไดซ้ กั ถามข้อสงสยั เพื่อสะทอ้ นความคิดของนักเรียน
ข้ันท่ี 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที)
1. ครเู ปิดคลิปวีดีโอ เรือ่ ง “คนสัง่ แขง็ ทำอะไรก็เปน็ เกรด็ น้ำแข็ง” ให้นักเรยี นดู
(ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=RoYk30QeQfs)
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรปุ เทคนิครินน้ำใหก้ ลายเปน็ เกร็ดนำ้ แขง็
ขน้ั ท่ี 5 : ข้ันประเมิน (Evaluation) (5 นาที)
ครูประเมินผลการเรียนรู้จากใบกิจกรรมที่ 1.2 และประเมินการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยใชเ้ กณฑ์การประเมิน
จากแผนการเรยี นรทู้ ี่ 4
ส่ืออุปกรณก์ ารเรยี นรู้ และแหล่งการเรยี นรู้
1) สอื่ Power point เร่อื ง “การเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร”
2) หนังสอื วิชาวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 (อจท.) หน้า 9
3) อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ได้แก่ น้ำแข็งบด น้ำในบกี เกอร์ 1 ซม. เทอรม์ อมเิ ตอร์ และชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์
4) คลิปวดิ โี อ “คนสง่ั แขง็ ทำอะไรก็เป็นเกรด็ นำ้ แข็ง”
(ทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v=RoYk30QeQfs)
การวัดและการประเมิน วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์ใชป้ ระเมิน
ประเดน็ การประเมนิ
ด้านความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ ตรวจจากแบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60
ระหว่างอุณหภูมิกับการเปลี่ยนแปลง วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ม.1 เลม่ 1 ผ่านเกณฑ์
สถานะของสสารได้
ด้านทักษะ (P) สังเกตพฤตกิ รรมการ แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ
ทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่ จาก พอใช้ ผ่านเกณฑ์
นกั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมการ ผ้สู อน
ทดลองได้ถูกต้องตามขั้นตอนได้
ด้านคณุ ลักษณะ (A)
นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบในภาระ 1. สงั เกตพฤติกรรม 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ
งานทค่ี รมู อบหมาย และส่งงานได้ใน รายบุคคล รายบคุ คล พอใช้ ผ่านเกณฑ์
เวลาที่กำหนด 2. ใบกิจกรรมที่ 1.2 2. แบบบนั ทกึ การส่งงาน
เกณฑ์การประเมินดา้ นความรู้ (K)
ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
นกั เรียนสามารถ 3 21 0
อธิบายความสัมพนั ธ์ นักเรียนสามารถ นักเรียนไมส่ ามารถ
ระหวา่ งอณุ หภมู ิกบั อธบิ ายความสัมพนั ธ์ นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ อธบิ ายความสมั พันธ์
การเปลย่ี นแปลง ระหว่างอณุ หภูมิกับ ระหว่างอณุ หภมู ิกับ
สถานะของสสารได้ การเปลี่ยนแปลง อธิบายความสัมพนั ธ์ อธบิ ายความสัมพันธ์ การเปล่ียนแปลง
(3 คะแนน) สถานะของสสารได้ สถานะของสสารได้
ในแบบฝึกหัด ระหวา่ งอุณหภูมิกับ ระหวา่ งอุณหภมู ิกับ ในแบบฝึกหัด
วิทยาศาสตร์ ม.1 วิทยาศาสตร์ ม.1
เลม่ 1 ได้อย่าง การเปลีย่ นแปลง การเปลยี่ นแปลง เล่ม 1 ไดอ้ ยา่ ง
ถกู ต้อง (7-10 ขอ้ ) ถูกต้อง (0 ข้อ)
สถานะของสสารได้ สถานะของสสารได้
ในแบบฝึกหัด ในแบบฝึกหดั
วทิ ยาศาสตร์ ม.1 วทิ ยาศาสตร์ ม.1
เล่ม 1 ไดอ้ ย่าง เลม่ 1ได้อยา่ ง
ถูกต้อง (3-6 ข้อ) ถกู ต้อง (1-3 ข้อ)
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2 พอใช้
0 - 1 ปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมนิ ด้านทกั ษะ (P)
ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคณุ ภาพ 0
21
นกั เรียนสามารถปฏิบัติ ไดค้ ะแนนจากแบบ ได้คะแนนจากแบบ ได้คะแนนจากแบบ ไดค้ ะแนนจากแบบ
กิจกรรมการทดลองได้ ประเมินการทำ ประเมนิ การทำ ประเมินการทำ ประเมนิ การทำ
ถูกต้องตามขัน้ ตอนได้ กจิ กรรมกลุม่ กจิ กรรมกลุ่ม กจิ กรรมกลมุ่ กิจกรรมกลมุ่
(3 คะแนน) 10 – 15 คะแนน 5 – 9 คะแนน 1 – 4 คะแนน 0 คะแนน
คุณภาพคะแนน
คะแนน ระดับคณุ ภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรบั ปรุง
เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นความรู้ (A)
ประเด็นการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ
3 210
นักเรียนมีความ สง่ งานตรงตามที่ ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด สง่ งานช้ากวา่ กำหนด ส่งงานช้ากวา่ กำหนด
รบั ผดิ ชอบในภาระงาน กำหนด (อาทิตย์ 1-2 วนั 3 วัน มากกวา่ 3 วนั หรือไม่
ทคี่ รูมอบหมาย และสง่ ถัดไป) สง่
งานไดใ้ นเวลาท่ีกำหนด
(3 คะแนน)
คณุ ภาพคะแนน
คะแนน ระดับคุณภาพ
3 ดี
2
พอใช้
0-1 ปรบั ปรุง
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 4
เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร ช้ัน ม.1/2 .
จำนวนนักเรยี นท่มี าเรยี น.............................คน
จำนวนนักเรียนท่ไี ม่มาเรียน.........................คน
1. ผลการสอน
1.1 ผลการจัดการเรยี นรูใ้ นห้อง
นักเรียนร้อยละ............จากคนท่ีมาเรียนท้ังหมด ให้ความร่วมมอื ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยสามารถ
.............................................................ได้
1.2 ผลการประเมินตามแบบประเมิน
-นกั เรยี นจำนวน......... คน คดิ เป็นร้อยละ............ มีผลการประเมนิ ดา้ น K ในระดบั …….......
-นกั เรียนจำนวน......... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ............. มีผลการประเมินด้าน P ในระดบั ……......
-นักเรียนจำนวน..........คน คดิ เป็นร้อยละ.............. มีผลการประเมินด้าน A ในระดบั …….....
12.2 ปัญหาทีพ่ บจากการสอนในคาบเรียน
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................................ ............
12.3 การแก้ไขปัญหาและอปุ สรรค
........................................................................................... .........................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
12.4 ผลการแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................................ ............
12.5 ข้อเสนอแนะในการสอนครัง้ ถดั ไป
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
ลงช่อื .....................................................................
(นางสาวนสุ รนิ ทร์ อิ่นคำ) .
นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู
ความคดิ เห็นของผูพ้ ่เี ลย้ี ง
ได้ทำการตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ว21101)
และมคี วามคิดเหน็ ดังน้ี
1. เปน็ หนว่ ย/แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ดมี าก ดี พอใช้
2. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ได้นำเอาทักษะกระบวนการเรยี นรู้
ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญใชใ้ นการสอนอย่างเหมาะสม
ทย่ี งั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เปน็ หน่วย/แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี นำไปใช้ในการสอนได้จริง
ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………….……
….……………………………………………………………………………………………………………………….………….………………...........
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
ลงช่อื .........................................................
(นางพชั รา ภริ ะกันทา) .
ครูพ่เี ล้ยี ง .
................../................./..................
คะแนนที่ได้
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่
ช่อื กลุ่ม……………………………………………….....
สมาชกิ ในกลุ่ม 1. ……………………………………………………………………………………………………….
2. ……………………………………………………………………………………………………….
3. ……………………………………………………………………………………………………….
4. ……………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………………………………………………………………………………………….
6. ……………………………………………………………………………………………………….
7. ……………………………………………………………………………………………………….
คำช้ีแจง : ให้ผู้สอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลา แลว้ ขดี / ลงในช่องทีต่ รงกับ
ระดับคะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต ระดับคณุ ภาพคะแนน
3 21
1. มกี ารวางแผนการทำงานกลมุ่
2. มขี ้นั ตอนในการทำงานอย่างถกู ต้องเป็นระบบ
3. มขี ัน้ ตอนในการทำงานที่ได้รับมอบหมายครบทุกคน
4. มเี นอื้ หาครบถว้ นสมบูรณ์ และมีความถกู ตอ้ ง
5. ใชเ้ วลาในการทำงานตามเวลาทกี่ ำหนด
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤติกรรมที่ทำอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
คะแนน
พฤติกรรมที่ทำบอ่ ยครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมท่ที ำบางครั้ง ให้ 1
คณุ ภาพคะแนน = ดี
10 - 15 คะแนน = ปานกลาง
5 - 9 คะแนน = พอใช้
1 - 4 คะแนน
แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2
วชิ าวิทยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน เรื่อง การเปล่ียนแปลงสถานะของสาร
ลำดับ ชื่อ-สกุล ความรู้ ทักษะ คณุ ลกั ษณะ รวม ผลการประเมนิ
33 3 9 ผา่ น ไม่ผา่ น
1 เด็กหญิงลกั ขณา ทาเกดิ
2 เดก็ ชายเทพพิทักษ์ โสภณ
3 เด็กหญิงณชิ ากร บัวสวุ รรณ
4 เด็กชายฉัตรเมธี โสภาวนั
5 เดก็ หญงิ ปณิศรา มธรุ สวรรค์
6 เด็กหญงิ วิณนี ชุ มาลยั จรญู
7 เดก็ ชายบุญมี ทรงชยั เจริญ
8 เด็กชายพิชัยยทุ ธ โชคขจรไพศาล
9 เด็กชายภูบดินทร์ ปิน่ หย่า
10 เดก็ ชายวิทวัส ชัยศรี
11 เดก็ ชายนิมิต อดุ มไพศาลศกั ด์ิ
12 เดก็ หญิงศศกิ านต์ ตามี่
13 เดก็ หญิงพิมพม์ าดา สรุ ิยะ
14 เด็กหญิงชลธิชา คีรมี าลยั
15 เด็กหญงิ มาลี แซล่ ี
16 เดก็ หญิงขวญั ชนก ววิ ัฒน์พรไชย
17 เดก็ ชายณฐวชั ร แซ่หาง
18 เด็กชายกฤษณกันณฑ์ จนั ทรอ์ ินทร์
19 เด็กชายณฐั ภทั ร พิชชาพงศ์
20 เด็กหญิงศุภกานต์ ดำรงพรกุล
21 เดก็ หญงิ กมลชนก จะหย่อ
**หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์คะแนนรวมไม่ตำ่ กว่า 5 คะแนน
ผ่าน……………………..คน
ไมผ่ า่ น………………….คน