The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Luangta Narongsak, 2020-05-02 06:50:11

จบซะที หลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย

เรียบเรียงเน้ือหาจากปุจฉาวสิ ชั ชนาธรรมกบั หลวงตาณรงคศ์ กั ด์ิ ขณี าลโย

จบซะที

หลวงตาณรงคศ์ กั ด์ิ ขีณาลโย

พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑ : เมษายน ๒๕๖๐ จำ� นวน ๒๐,๐๐๐ เล่ม

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรม

พระณรงคศ์ กั ด์ิ ขณี าลโย 
จบซะที -- กรุงเทพฯ : นำ�่ กงั การพมิ พ,์  2560, จำ� นวน 216 หนา้
1. พทุ ธศาสนา -- คำ� ถามและคำ� ตอบ I. ช่ือเร่ือง
294.3076
ISBN  978-616-429-860-6

“พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน ห้ามจ�ำหน่ายหรือใช้ในทางการค้า
และห้ามตัดต่อเพ่ิมเติม แก้ไข ดัดแปลงเนื้อหาและภาพประกอบ”

A“foTnhryidsmibsNsooeodomtikffiioncisraaacttiioovoamnnilmoiasfbenDlreochtifaaopmlreumfrsrmeeae.ittoeandnly.d”.

พมิ พท์ ่ี : หจก.นำ�่ กงั การพมิ พ ์
๗๔ ซอย ๑๖  ถนนสาธุประดษิ ฐ ์ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๒๐
โทร. ๐-๒๒๑๑-๑๙๙๘, ๐-๒๒๑๑-๙๖๖๔, ๐๘๑-๙๑๘-๗๔๒๙
E-mail : [email protected]

“สพั พะทานงั ธรรมะทานงั ชินาต”ิ

“การใหธ้ รรมะเปน็ ทาน เหนอื กวา่ การใหท้ านใดๆ ทง้ั มวล”
ชว่ ยกนั เผยแผธ่ รรมะอยา่ งไร
กป็ ฏบิ ตั ิให้ไดอ้ ยา่ งนนั้

ปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งไร กเ็ ผยแผอ่ ยา่ งนนั้
ทง้ั ผเู้ ผยแผ่ และผู้ไดร้ บั คำ� สอนก็ไดป้ ระโยชนท์ งั้ คู่
คอื รธู้ รรม เหน็ ธรรม ใจเปน็ ธรรม จงึ จะเปน็ พทุ ธศาสนา

เพราะพระพทุ ธศาสนา คอื การบอกสอน
จากประสบการณต์ รงทเ่ี ปน็ ธรรม

การใหธ้ รรมะเปน็ ทาน จงึ เปน็ บญุ บารมีใหญ่
ทำ� ใหต้ นเองและผอู้ น่ื พน้ ทกุ ข์

ขอบญุ กศุ ลทท่ี กุ ทา่ นทรี่ ว่ มกนั เผยแผธ่ รรมะ
จงเปน็ บญุ บารมีให้ไดร้ ธู้ รรม เหน็ ธรรม ใจเปน็ ธรรม

ทงั้ ผเู้ ผยแผ่ และผรู้ บั ธรรมะจาก
การเผยแผด่ ว้ ยเทอญ.

ค�ำน�ำ

ผูแ้ สวงหาธรรม หานิพพาน หาทางพน้ ทุกข์ แต่ไม่รูว้ ่าอะไร
คือ “ธรรม” อะไรคือ “นิพพาน” อะไรคือ “ทุกข”์ อะไรเป็นเหตุให้
เกิดทุกข์ จะดบั ทุกขไ์ ดอ้ ย่างไร จึงพากนั ปฏบิ ตั ิแบบมวั่ ๆ ทำ� ให้
เสยี เวลาเน่ินนานไปหลายปี
“ธรรม” คือ สจั ธรรมหรือความจริงของธรรมชาติมีอยู่
สองอย่าง คือ ธรรมชาติฝ่ ายปรุงแต่ง เรียกว่า สงั ขาร ไดแ้ ก่
สง่ิ ทอ่ี ยู่ภายนอกร่างกายทงั้ หมด (ยกเวน้ ความว่างของธรรมชาติ
หรือจกั รวาล) และ ขนั ธห์ า้ คือ ร่างกาย เวทนา สญั ญา สงั ขาร
วญิ ญาณ ซง่ึ สงั ขารทงั้ หมดตกอยู่ใตก้ ฎไตรลกั ษณ์ คอื เป็นอนิจจงั
ทุกขงั อนตั ตา ไม่เท่ยี ง เป็นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดมิ ไม่ได้ไม่ใช่เรา
ตวั เรา หรือไม่ใช่ตวั ตนของเรา ธรรมชาติอกี อย่างหน่ึงเป็นธาตุรู ้
หรือวญิ ญาณธาตุ ซ่งึ เป็นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เรียกว่า วสิ งั ขาร
เป็นความว่างเปล่าจากตวั ตน เป็นเหมือนกบั ความว่างของ
ธรรมชาติหรือจกั รวาล ไม่มรี ูปร่าง ไม่ปรากฏกริยาหรืออาการใด
เลย มชี ่ือสมมตุ ิหลายช่ือ เช่น ใจหรือจิตเดมิ แท้ ธรรมธาตุ หรือ
อมตธาตุ หรือมหาสุญญตา หรือพทุ ธะ

4

ไม่อาจเอาขนั ธห์ า้ ซ่งึ เป็นธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งไปด้ินรน
คน้ หาใจได้เพราะใจไม่มเี คร่ืองหมายหรือท่หี มายใด และไม่อาจ
จะถูกรู้ได้ทางมโนวญิ ญาณขนั ธ์ คงมวี ธิ ีเดยี วเท่านนั้ คือ “หยุด”
เป็นผูป้ รุงแต่งเดยี๋ วน้ี ก็จะเป็น “ใจ” ทไี่ ม่ปรุงแต่งโดยอตั โนมตั ิ
ทนั ที เพราะความปรุงแต่งกบั ความไม่ปรุงแต่งจะเป็นอนั เดยี วกนั
ในขณะจิตเดียวกนั ไม่ได้ หรือส้ินหลงยึดมนั่ ถือมนั่ ว่าขนั ธห์ า้
เป็นเรา หรือเป็นตวั เรา หรือเป็นตวั ตนของเราแลว้ ก็จะพบใจ
แลว้ ไม่ยดึ ถอื “ใจ” เสยี ดว้ ย ทุกขก์ ็ดบั เรียกว่า “นิพพาน” ดงั นนั้
จึงไม่ได้ไปแสวงหาธรรมหรือนิพพานท่อี ่ืน นอกจากส้นิ หลงเอา
ความคิดในขนั ธห์ า้ มาปรุงแต่งเป็นความรู้สึกว่ามีเรา มีตวั เรา
หรือมตี วั ตนของเรา
ดงั นน้ั ทกุ ขณะจติ ปจั จบุ นั อย่าหลงส่งจติ ออกนอกไปสนใจ
อารมณ์ท่ถี ูกรู ้ ใหส้ ติตง้ั ท่ใี จ ดูท่ใี จ รู้ท่ใี จ สงั เกตท่ใี จ ละท่ใี จ
ปล่อยวางท่ใี จ ทุกขณะจติ ท่มี กี ารกระทบกนั ของอายตนะภายใน
กบั อายตนะภายนอก แลว้ จิตหรือวญิ ญาณขนั ธก์ ็จะไปรูอ้ ารมณ์
คือ รูป เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะหรือสมั ผสั และธรรมารมณ์
(เวทนา สญั ญา สงั ขาร) แลว้ จะส่งต่อธรรมารมณต์ วั ใหม่ คอื เวทนา
สญั ญา สงั ขาร ตลอดเวลา แต่จะหลงมคี วามรสู้ กึ ว่าตวั เราเป็นผู้รู้
เป็นผู้คิดตรึกตรองปรุงแต่งเหมือนกบั พากษห์ รือพูดอยู่ในใจ
แลว้ จิตหรือวญิ ญาณขนั ธซ์ ่งึ เป็นผู้รู้ตวั เก่าพรอ้ มกบั ธรรมารมณ์

5

ตวั เก่าจะดบั ไปเร็วมาก แลว้ เกิดจติ หรือวญิ ญาณขนั ธต์ วั ใหม่มารู ้
อารมณ์ แลว้ เอามาคิดตรึกตรองปรุงแต่งอยู่ในใจอกี อย่างน้ีเร่ือย
ไป จนกว่าจะตาย ถา้ สติตง้ั ท่ใี จ ดูท่ใี จ รูท้ ่ใี จ สงั เกตท่ใี จ ละท่ใี จ
ปล่อยวางท่ใี จตลอดเวลา โดยไม่หลงขาดสติไปสนใจแต่อารมณ์
ท่ีถูกรู้ ในทุกขณะจิตปัจจุบนั ก็จะเห็นจิตหรือวิญญาณขนั ธ์
ผูร้ ูก้ บั ธรรมารมณ์ ซ่งึ เป็นส่งิ ท่ถี ูกรูเ้ กิดดบั ในใจตลอดเวลา ก็ให้
มปี ญั ญารูแ้ จง้ ออกมาจากใจ (วสิ งั ขาร) ทไ่ี ม่สามารถปรากฏกริยา
อาการใดๆ ว่า ความรูส้ กึ ว่า “เรา........” เช่น เราเป็นผูด้ ู เป็นผูร้ ู ้
เป็นผูเ้ หน็ เราเป็นผคู้ ิด เราเป็นผมู้ อี ารมณ์ เราดใี จ เราเสยี ใจ เรา
พอใจ เราไมพ่ อใจ เราสดใส เบกิ บาน เราเศรา้ หมอง หดหู่ เบอ่ื เซง็
กลุม้ เราสงบเย็น เราหงดุ หงดิ เหน่ือยหน่าย เราเขา้ ใจ เรารูแ้ จง้
เรามปี ญั ญาโพลงข้นึ มา เรายงั ติดอะไรอยู่ เราจะตอ้ งพยายามให้
หลุด เรายงั ไม่พน้ ทุกข์ เราพน้ ทุกข์ เรา..... หรือตวั เราทุกขณะ
จิตปจั จุบนั นนั้ เป็นเพียงสงั ขารปรุงแต่ง ว่างจากสตั ว์ บุคคล
ตวั ตน เรา เขา ก็จะส้นิ อวชิ ชา ส้นิ หลงยึดมนั่ ถอื มนั่ ว่าขนั ธห์ า้
เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือมตี วั เราอยู่ในขนั ธห์ า้
ถา้ มคี วามใส่ใจในการปฏบิ ตั ิธรรมมานานแลว้ อย่างนอ้ ย
ก็ตอ้ งพอมองเห็นช่องทางพน้ ทุกขบ์ า้ ง ถา้ ยงั ต้ือๆ ตนั ๆ มอง
ไม่เห็นทางอะไรเลย ตอ้ งมคี วามเฉลยี วใจว่าปฏบิ ตั ิมานานแลว้
แต่ทำ� ไมมองไม่เห็นทางจะพน้ ทุกข์ในปจั จุบนั ไดเ้ ลย อย่างน้ีก็

6

ตอ้ งเขา้ หาผูร้ ูจ้ ริงใหช้ ่วยช้ีแนะ อย่าเอาทฏิ ฐมิ านะของตนเขา้ ไป
หาท่าน ใหเ้ ขา้ ไปหาดว้ ยความนอบนอ้ มถ่อมตน ขอใหท้ ่านช่วย
ช้แี นะให้เมอ่ื พบผูร้ ูจ้ ริงช่วยช้แี นะ ทง้ั เราก็มคี วามขยนั หมนั่ เพยี ร
ดว้ ยความอดทน ทงั้ ฟงั อ่าน ปฏบิ ตั ิ ไต่ถาม ขยนั ส่งการบา้ น
อยู่เป็นประจำ� แต่ถา้ ยงั คลุมเครืออยู่อีก อย่างน้ีทุกขณะก่อน
อ่าน ฟงั ปฏิบตั ิธรรม ตอ้ งอธิษฐานถอนคืนคำ� อธิษฐานความ
ปรารถนาใดๆ ถอนคำ� สาปแช่ง ขอขมาต่อพระพทุ ธ พระธรรม
พระอริยสงฆ์ ทง้ั หมดท่ผี ่านมาทุกชาติ และขอขมาบดิ ามารดา
ครูอาจารยผ์ ูม้ พี ระคุณ ท่เี ป็นเหตุขดั ขวางทำ� ใหไ้ ม่เกิดสติปญั ญา
เป็นสมั มาทฏิ ฐิ ส้นิ อวชิ ชา กิเลส ตณั หา อุปาทาน… และทุกขใ์ น
ปจั จบุ นั น้ี หลงั จากนน้ั ใหอ้ ธิษฐานนอ้ มเอาธรรมเขา้ สู่ใจ ใหใ้ จเป็น
ธรรมทส่ี ้นิ กิเลสในปจั จบุ นั น้ีดว้ ยเทอญ… ใหอ้ ธิษฐานซำ�้ ๆ… แลว้
ก็ตงั้ ใจ ใส่ใจ กดั ติดจดจ่อในการอ่าน ฟงั และเพยี รปฏบิ ตั ิดว้ ย
ศรทั ธาความเพยี รอย่างต่อเน่ือง ย่อมจะเห็นผลประจกั ษแ์ ก่ใจ
อย่างแน่แท.้  

7

สารบาญ

ค�ำน�ำ ............................................................................. ๔
๑ เร่ิมตน้ ท่ีสมั มาทิฏฐิ และความเขา้ ใจเร่ืองขนั ธห์ า้ ...........๑๕

สมั มาทฏิ ฐิ เป็นกา้ วแรกทส่ี ำ� คญั ในการเดนิ ทางไปสูค่ วามพน้ ทกุ ข์
เป็นขอ้ แรกของมรรคทงั้  ๘ ดงั นนั้ การมคี วามเขา้ ใจท่ีเท่ียงตรง และ
ชดั เจนต่อหลกั ธรรม ทง้ั ในเร่อื งอรยิ สจั ธาตุ ขนั ธ์ อายตนะ จติ เจตสกิ
และนิพพาน จะเป็นเสมอื นเขม็ ทศิ นำ� ทางการปฏบิ ตั ิภาวนาท่ถี ูกตอ้ ง
และเป็นหวั ใจท่สี ำ� คญั ท่สี ุดของการเดนิ ทางไปสู่ความพน้ ทุกข์
ส่วนขนั ธห์ า้ นนั้ เป็นกระบวนการตามธรรมชาติของชีวติ ไม่ได้
เป็นกิเลสตณั หาอะไร แต่กิเลสเกิดจากอวชิ ชาท่ตี ิดมากบั ธาตุรู ้ ทำ� ให้
หลงไปยึดขนั ธห์ า้ ว่าเป็นตวั ตนของเรา พอไม่เขา้ ใจภาพรวมเช่นน้ีก็
ปฏบิ ตั ิผดิ พยายามจะเอาขนั ธห์ า้ ไปปรุงแต่งขนั ธห์ า้ ไมใ่ หป้ รุงแต่ง จะ
พาขนั ธห์ า้ ไปหานิพพาน หรอื จะทำ� ขนั ธห์ า้ ใหเ้ป็นนิพพาน เหลา่ นนั้ เป็น
มจิ ฉาทฏิ ฐิ

๒ สติ สมาธิ ปญั ญา..................................................... ๓๓

สติ สมาธิ ปญั ญา เป็นสงั ขารในขนั ธห์ า้ ซ่งึ เราตอ้ งอาศยั เป็น
เคร่ืองมอื ท่สี ำ� คญั ในการปฏบิ ตั ิ โดยทงั้ สติ สมาธิ ปญั ญา สามารถ
จำ� แนกออกไดเ้ ป็นระดบั ขัน้ ต่างๆ  ตามความละเอยี ดลุ่มลกึ ของการ
ภาวนา การทำ� ความเขา้ ใจในเร่ืองน้ีจะช่วยลดความสบั สนของการ
ภาวนาในแต่ละขนั้ และเป็นรากฐานท่แี ขง็ แรงตลอดการเดนิ ทางสู่ฝงั่
พระนิพพาน

8

๓ ล่อไวใ้ หเ้ ห็นตวั เราพากษ์............................................๔๕

คำ� บรกิ รรม เป็นตวั ช่วยทส่ี ำ� คญั อยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ใหม้ สี ติ สมั ปชญั ญะ
รูส้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม ไมห่ ลงไปกบั สงั ขารในขนั ธห์ า้ สง่ิ น้จี ะเป็นเหมอื นตวั ลอ่
หรือเคร่ืองล่อใหม้ คี วามรูส้ กึ ตวั ทำ� ใหส้ ามารถสงั เกตเหน็ ตวั เราท่คี ิด
หรอื พากษ์ (วพิ ากษ)์ อยู่ในใจ โดยไม่หลงเอาตวั เองไปคิด แค่สกั แต่ว่า
รูต้ วั เราท่คี ิด เป็นการดูใหเ้ หน็ ขบวนการทำ� งานของวญิ ญาณขนั ธร์ ่วม
กบั เจตสกิ ตามธรรมชาติ เพอ่ื ใหป้ ล่อยวางความหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ า้

๔ เราเป็ นคนรูน้ ่ีแหละจติ ...............................................๕๑

ผูป้ ฏบิ ตั ิธรรมตอ้ งรใู้ หเ้ ท่าทนั รู้ ใหถ้ ูกตวั ใหถ้ ามตวั เองว่าใคร
เป็นคนรู ้ ก็เรานนั่ แหละเป็นคนรู ้เราเป็นคนรูอ้ าการ เราทว่ี า่ นนั้ คอื จติ
หรือวญิ ญาณขนั ธ ์ ซ่งึ แทจ้ ริงไม่ใช่ตวั เราแต่เป็นขนั ธ์ เราตอ้ งรใู้ หค้ รบ
ทุกขนั ธ์ จึงจะปล่อยวางไดท้ งั้ หมด

๕ อารมณ์มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า........................................๕๙

การปฏบิ ตั ิ ใหเ้ ขา้ ใจความเป็นจริงของขนั ธห์ า้ อนั ประกอบจาก
ธาตดุ นิ นำ�้ ลม ไฟ และธาตรุ ทู้ ม่ี อี วชิ ชาผสมอยู่ ใหแ้ ค่สกั แต่วา่ รขู้ นั ธห์ า้
หรือสงั ขารเกิดดบั โดยไม่หลงว่ามตี วั เราอยู่ในขนั ธห์ า้ ไม่มตี วั เราทจ่ี ะ
ไปเอาอะไร ทง้ั สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ลว้ นแต่
เป็นอารมณ์ท่ถี ูกรูข้ องจิต ไม่หลงยดึ ถอื ไม่ไหลติดไป และไม่ผลกั ไส
อาการต่างๆ ก็จะพบใจท่วี ่างเปล่าซ่งึ เปรียบไดก้ บั ทอ้ งฟ้ าท่วี ่างเปล่า
ท่ไี ม่ปรากฏร่องรอยใดๆ ของนกท่บี นิ ผ่าน

๖ เป็ นผูด้ ูไม่ใช่ผูแ้ สดง...................................................๖๕

ดูจิตดูใจใหเ้ หมอื นดูหนงั ดูละคร อย่าเขา้ ไปเป็นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง
เสยี เอง จะหลงไปเป็นสงั ขาร ใหเ้ ป็นเพยี งผูด้ ูผรู้ ู้เท่านน้ั ใหเ้ ฉลยี วใจ
รูส้ กึ ตวั ข้นึ มา สกั แต่วา่ รู ้ เหน็ ความคดิ เกดิ ดบั ในใจทว่ี า่ งเปลา่ ปราศจาก

9

ตวั ตน และไมม่ ตี วั เราเขา้ ไปมสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี เป็นธรรมชาตทิ ไี่ มป่ รงุ แต่ง
มแี ต่วญิ ญาณขนั ธท์ ำ� งานร่วมกบั เจตสกิ เคลอ่ื นไหวอยู่ในใจตลอดเวลา
โดยไม่มผี ูเ้ ขา้ ไปจดั การ เขา้ ไปยึดถอื จะพน้ จากสมมตุ ิก็เป็นวมิ ตุ ติ
โดยอตั โนมตั ิ

๗ เขา้ ใจถึงใจ...............................................................๖๙

ใหม้ สี ติ ปญั ญารูเ้ ท่าทนั ความหลงทเ่ี กดิ ข้นึ ไมต่ อ้ งกลวั หลง แค่
รู้สกึ ตวั ข้นึ มาแลว้ ใหเ้ขา้ หาผู้รู้หรอื วญิ ญาณขนั ธ์ เพอ่ื ใหร้ ูว้ า่ คดิ นึกตรกึ
ตรองอย่างไรต่อสง่ิ ทถ่ี กู รู ้ และไมห่ ลงปรุงแต่งเป็นตวั เรา  และไมเ่ อา
ตวั เราไปคดิ หลงปรุงแต่งด้นิ รนคน้ หา ใหส้ งั เกตเหน็ ผู้ทพ่ี ยายามด้นิ รน
คน้ หา เพราะเมอ่ื หยดุ หลงปรงุ แต่งกจ็ ะเขา้ ถงึ จติ เดมิ แทห้ รอื ใจทว่ี า่ งเปลา่

๘ ญาณตามหลงั ธรรม.................................................. ๗๙

ใหจ้ ติ ปรุงแต่งเกิดดบั แสดงกริยาอาการข้นึ มาก่อน อย่ามตี วั เรา
เขา้ ไปเร่ิมทำ� สติปญั ญา หรือพยายามปรุงแต่งแสดงอาการอะไรก่อน
ในใจ จะเป็นการหลงปรุงแต่งยดึ ขนั ธห์ า้ มาเป็นเรา ซ่งึ เป็นอวชิ ชา ให้
ปล่อยเป็นธรรมชาติของจิตเขาปรุงแต่งข้นึ มาก่อน แลว้ ญาณซ่งึ เป็น
แต่ความรูท้ ่ไี ม่มเี รารู ้ ไม่มอี าการรู ้ ค่อยตามหลงั จนส้นิ หลงปรุงแต่ง
ญาณก็จะเป็นธาตุรูบ้ ริสุทธ์ิท่สี ้นิ อวชิ ชา เป็นพทุ ธะ

๙ อย่างไรจงึ เรียกอวิชชา............................................... ๘๗

การพยายามรกั ษาสตไิ ว ้พยายามจะไม่ใหห้ ลง ก็จะเป็นหลงและ
เป็นอวชิ ชาในทนั ที ใหม้ สี ติสงั เกตทุกขณะปจั จุบนั ว่ามอี ะไรเกิดข้นึ
ในใจ ใหเ้ ขา้ ใจว่าทุกอย่างเป็นเพยี งแค่สงั ขารปรุงแต่ง แลว้ ปล่อยวาง
สงั ขารอย่างท่มี นั เป็น ไม่เขา้ ไปปรุงแต่งเป็นตวั เรามสี ่วนไดเ้ สยี หรือ
ไปยดึ ถอื สงั ขารปรุงแต่งทุกชนิด เมอ่ื ส้นิ ยดึ จะพบใจท่วี ่างเปล่า และ
การไม่ยดึ ถอื แม้ใจท่วี ่างเปล่าท่บี ริสุทธ์ิจึงจะส้นิ อวชิ ชาอย่างแทจ้ ริง

10

๑๐ อา่ นใจตวั เองใหข้ าด.............................................. ๑๐๓

ให้มสี ติอ่านใจตวั เองใหข้ าดในทุกขณะปจั จุบนั สงั เกตใหร้ ูเ้ ท่า
ทนั ว่ามกี ิเลสตณั หา หรือมตี วั เราผูจ้ ะเอาผูจ้ ะเป็นอยู่หรือไม่ เพยี ง
สกั แต่ว่ารู ้ ไม่ตอ้ งพยายามละหรือพยายามแก้ไข ใหป้ ล่อยวางความ
ยึดถอื ความปรารถนา ปล่อยวางผูจ้ ะเอาไม่ใช่ปล่อยวางเพ่อื จะเอา
เมอ่ื ส้นิ หลงยดึ ถอื ส้นิ ผูจ้ ะเอา ก็ส้นิ อวชิ ชา

๑๑ รูเ้ ดี๋ยวน้ี ละเดี๋ยวน้ี วางหมดในปจั จุบนั ................... ๑๑๓

ความปรารถนาเป็ นทุกข์อย่างย่ิง ตอ้ งรูท้ นั ใจตัวเองและ
วางความปรารถนาลงทุกขณะปัจจุบนั แมแ้ ต่ความปรารถนาใน
พระนิพพาน ปฏบิ ตั เิ พอ่ื จะไปเอาก็ไม่สามารถจะวางอะไรลงได้ เพราะ
การปฏบิ ตั ิคือการวางหมด ไม่มีใครไดอ้ ะไร ไม่มีใครเป็นอะไร ดบั ผู ้
ปรารถนาสนิทไม่มสี ่วนเหลอื

๑๒ ย่ิงหาย่ิงตนั (ตณั หา)............................................ ๑๑๗

การด้นิ รนคน้ หาธรรม เป็นกิเลส เป็นตณั หา เกิดจากอวชิ ชาหลง
ยึดขนั ธห์ า้ เป็นตวั ตนของเรา ย่ิงหาก็ย่ิงตนั หยุดคิด หยุดปรุงแต่ง
หยุดด้นิ รนแสวงหา หยุดไปทำ� อะไรเพ่อื ใหเ้ ป็นอะไร และหยุดความ
พยายามจะปลอ่ ยวาง ใหม้ สี ตริ ูเ้ ท่าทนั แลว้ ปลอ่ ยวางตวั เราตลอดเวลา
ก็จะพบใจซ่งึ เป็นธาตุรูท้ ่วี ่างเปล่า

๑๓ มีตวั เราไปเอา....................................................... ๑๒๕

ใหม้ ีสติสมาธิปัญญาอยู่ตลอดเวลา ใหร้ ูเ้ ท่าทนั ความหลง
ยึดถือขนั ธห์ า้ เป็นตวั ตนของเรา อย่าปรุงแต่งเอาตวั เราไปพยายาม
กระทำ� อะไรเพ่อื ให้ ได้ ใหเ้ ป็นอะไร ใหป้ ล่อยวางตวั เรา ปล่อยวาง
ความรูส้ ึกว่าเป็นตวั เรา ไม่มีเราผู้ไปเอา ไม่มีผูจ้ ะได้ ส้ินผูเ้ สวย
ส้นิ กิเลส ก็พน้ ทุกข.์ .. นิพพาน

11

๑๔ รกั ษาสติ ปล่อยวางผูร้ ู.้ ......................................... ๑๓๑

สติเป็นตวั สำ� คญั ท่ีสุดตอ้ งรกั ษาไวต้ ลอดสาย  ใหม้ สี ติสงั เกต
ทผ่ี ูร้ ู ้ อย่าไปสนใจสง่ิ ทถ่ี ูกรู ้ เมอ่ื พบผรู้ จู้ งึ ฆ่าผรู้ ูห้ รือปลอ่ ยผรู้ ู้ไดจ้ ริง
ปล่อยวางหมด สกั แต่ว่ารู ้และเมอ่ื ส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ ว่ามตี วั
ตน หรือเป็นตวั เป็นตน ก็จะพบใจและก็ไม่ยดึ แม้ใจหรือจิตเดิมแท้
นน้ั สุดทา้ ยสติ ปญั ญาก็ตอ้ งปล่อยวางตวั เองผูป้ ล่อยวาง ผูร้ ูแ้ จง้ ก็
จะส้นิ กิเลส ส้นิ ทุกข์ นิพพาน

๑๕ รูท้ ง้ั สามและการปล่อยวางตามลำ� ดบั ...................... ๑๓๙

รูม้ ี ๓ รู ้ รูต้ วั แรก คือจิตหรือวญิ ญาณขนั ธ,์ รูต้ วั ท่สี อง คือสติ
สมาธิ และปญั ญา เป็นสงั ขารปรุงแต่งท่ตี อ้ งนำ� มาใช้ในการเดนิ ทาง,
รูต้ วั ท่ีสาม คือพุทธะหรือวญิ ญาณธาตุ คือรูพ้ น้ แลว้        
การปล่อยวางความหลงยดึ ถอื มี ๓ คู่ คู่แรก คือปล่อยวาง
อารมณ์ (อายตนะภายนอก) กบั ผูร้ ู ้(วญิ ญาณขนั ธ)์ , คู่ทส่ี อง คือปลอ่ ย
วางความหลงยึดสติปญั ญากบั ขนั ธห์ า้ และคู่ท่ีสาม คือปล่อยวาง
ความยดึ ถอื ใจท่วี ่างเปล่ากบั ขนั ธห์ า้ ท่เี กิดดบั อยู่ในธาตุร้ทู ่วี ่างเปล่า 

๑๖ จบซะที................................................................ ๑๔๙

ความหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ และความผดิ พลาดท่ปี รุงแต่งมตี วั เรา
ไปเฝ้ าดูไปคน้ หา ทงั้ ทต่ี วั เราไม่มี มแี ต่ขนั ธห์ า้ การเอาขนั ธห์ า้ ไปด้นิ รน
คน้ หาความเขา้ ใจย่อมไม่ส้นิ สงั ขารปรุงแต่ง ใหเ้ ขา้ ใจเสยี ใหม่ เขา้ ใจ
ธรรมชาตใิ หถ้ กู ตอ้ ง ท้งิ ใหห้ มด วางใหห้ มด ไมต่ อ้ งใชเ้หตผุ ลในการวาง
วางได้ จบได้ จบซะที

๑๗ เหนือค�ำอธิบาย.................................................... ๑๘๑

ธรรมชาตสิ องฝ่ายทอ่ี ยู่ดว้ ยกนั คือฝ่ายปรุงแต่งและไม่ปรุงแต่ง
เม่ือไม่มีการยึดเอาธรรมชาติฝ่ ายปรุงแต่งมาเป็นตวั เรา ปล่อยให้
ธรรมชาตฝิ ่ายปรุงแต่งเขาปรุงแต่งไปตามธรรมชาติ ไม่มตี วั เราไปเป็น
ไปเอาอะไร ส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ จะพบใจทว่ี า่ งเปลา่ พบธรรมชาติ
12

ทไ่ี มป่ รุงแต่งในทนั ที เมอ่ื ส้นิ ยดึ ธรรมชาตทิ ง้ั สองฝ่าย ใจย่อมรูอ้ ยู่แก่ใจ
ส้นิ ทุกข์ ส้นิ กิเลส ไม่ตอ้ งมคี ำ� อธิบายใดๆ อกี

๑๘ สมมตุ ิในวิมตุ ติ.................................................... ๑๘๕

“สมมตุ ิ” คือจิตปรุงแต่งเป็นส่งิ ท่เี กิดดบั “วมิ ตุ ติ” คือใจหรือจิต
เดมิ แทไ้ ม่มเี กิดไม่มดี บั ทงั้ สมมตุ แิ ละวมิ ตุ ตมิ อี ยู่แลว้ ในใจเรา ไม่ตอ้ ง
ใชส้ มมตุ ิไปคน้ หาวมิ ตุ ติ แค่หยุด ส้นิ หลงคิดหลงปรุงแต่ง ส้นิ หลง
ยดึ สมมตุ ิ ก็จะเป็นวมิ ตุ ติหรือจิตเดมิ แท้ท่บี ริสุทธ์ิในทนั ที ปล่อยทง้ั
สมมตุ ิ ปล่อยทง้ั วมิ ตุ ติ... นิพพาน

๑๙ อวิชชาคือม่านบงั ใจ.............................................. ๑๘๙

ใจคือธรรม พบใจพบธรรม ใจท่วี ่างมอี ยู่แลว้ ในตวั เรา เพยี ง
แต่มองไม่เหน็ เพราะความหลงยดึ ถอื ในขนั ธห์ า้ เป็นอวชิ ชาท่บี งั ใจอยู่
ปลอ่ ยวางความหลงยดึ ถอื สงั ขารทง้ั ปวง เมอ่ื อวชิ ชาดบั เปรยี บดงั ม่าน
อวชิ ชาท่บี งั ตาใจเปิดออก ก็จะพบใจท่วี ่างเปล่าทนั ที

๒๐ เหตุแห่งความว่างท่ีเท่ียงแท.้ ................................. ๑๙๕

ความว่างท่เี ท่ยี งแท้ ตอ้ งเกิดจากสติปญั ญาท่พี จิ ารณามองโลก
โดยเหน็ วา่ เป็นของวา่ งเปลา่ และวา่ งจากความหลงยดึ ถอื ถอนความเหน็
ว่าเป็นตวั เราของเราจนหมดส้นิ ไม่ใช่ไปหลงสรา้ งความว่างข้นึ มาเอง
และหากแมพ้ บความว่างแลว้ ก็ไม่หลงปรุงตวั เราเขา้ ไปยึดความว่าง
นนั้ เอาไว ้ ใหป้ ล่อยวางทงั้ หมด ท่ปี รุงแต่งก็ปรุงแต่งไป ว่างก็ว่างไป
ส้นิ ยดึ ทง้ั สองส่งิ ... นิพพาน

๒๑ คมั ภรี ไ์ รต้ วั อกั ษร................................................. ๒๐๙

ตวั หนงั สอื กเ็ ป็นสมมตุ บิ ญั ญตั ิ แมน้ ำ� พามาสูก่ ารรูต้ ามความเป็นจรงิ
รู.้ .. รู.้ .. รู.้ .. แต่เม่อื สุดทา้ ยเขา้ ใจถงึ ใจ วางหมด วางความยึดถอื
วางแมก้ ระทัง่ ความรู ้ ไม่มีใครรู ้ ไม่มีใครเดนิ ทางแต่แรก คมั ภรี น์ ้ีไม่
ตอ้ งมตี วั อกั ษรใดๆ อกี เลย... ว่างเปล่า บริสุทธ์ิ

13

“ ขันธ์ห้าไม่ได้เป็นกิเลสตัณหา
ไม่ได้เป็นอวิชชา

และไม่ได้เป็นนิพพาน
ความหลงยึดถือขันธ์ห้า และ
การหลงเอาขันธ์ห้าไปยึดถือสิ่งอ่ืนต่างหาก

ท่ีเป็นอวิชชา
เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ”

จบซะที



เริ่มต้นท่ีสัมมาทิฏฐิ
และความเข้าใจเร่ืองขันธ์ห้า

การเดินทางใหถ้ ึงจุดหมาย จ�ำเป็นตอ้ งรูท้ ่ีหมายว่าเรา
กำ� ลงั จะไปท่ีไหน ไปอย่างไร และเพ่อื อะไรอย่างชดั เจนฉนั ใด
การเดินทางไปสู่ความพน้ ทุกข์ ก็จำ� เป็นตอ้ งรูเ้ ป้ าหมายและรู ้
แนวทางปฏบิ ตั ิท่ชี ดั เจนฉนั นนั้ โดยเฉพาะ “กา้ วแรก” ซ่งึ เป็น
กา้ วสำ� คญั อย่างย่ิง ถา้ มคี วามเขา้ ใจท่ีชดั เจนก็จะทำ� ใหเ้ ดินทาง
ไดอ้ ย่างไม่ผดิ พลาด ไม่ตอ้ งหลงวนเวยี นชนิดท่หี ลายท่านชอบ
บ่นกนั ว่า ทำ� ไมปฏิบตั ิธรรมมาหลายปี แต่ยงั ไม่เขา้ ใจธรรมะ
เสยี ที หลายท่านปฏบิ ตั ิมานาน เขา้ ทุกสำ� นกั ไปมาทวั่ ทุกท่ี แต่ย่งิ
เดินเหมือนย่ิงวนเวียนเป็นวงกลม ยงั ไม่ถึงจุดหมายฟากฝัง่
พระนิพพาน ไม่จบเสียที เหตุใดจึงเป็นเช่นน้ี เราตอ้ งกลบั มา
สำ� รวจตวั เองก่อนว่า เป้ าหมายของการปฏิบตั ิธรรมของเราคือ
อะไร ทางท่ีเรากำ� ลงั เดินอยู่นนั้ ถูกตอ้ ง ตรงทางพน้ ทุกขข์ อง

15

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

พระสมั มาสมั พุทธเจา้ หรือไม่ เรากำ� ลงั เดินข้นึ เขาพระนิพพาน
หรือกำ� ลงั เดนิ ลงเขากนั แน่
ดงั นนั้ ความเขา้ ใจท่ถี ูกตอ้ งหรือการมี “สมั มาทิฏฐิ” จึง
เป็นเสมอื นเขม็ ทศิ หลกั ใหเ้ ราเดินทางไดอ้ ย่างไม่ผดิ พลาด และ
ตรงเขา้ สู่เป้ าหมายไดอ้ ย่างไม่เน่ินชา้ เหมอื นกบั ท่พี ระอริยสาวก
ในครง้ั พทุ ธกาล ท่ที ่านสามารถเขา้ ใจธรรมของพทุ ธองคไ์ ดอ้ ย่าง
ไม่ยากเยน็ ดงั ทเ่ี คยไดย้ นิ คำ� อทุ านบ่อยๆ ว่า ธรรมะของพระองค์
นนั้ เรียบง่าย เปรียบเหมอื นการเปิดของควำ�่ ใหห้ งายออกฉนั นน้ั
สมั มาทิฏฐิจึงมีความสำ� คญั ท่ีสุดสำ� หรบั นกั ปฏิบตั ิ เพ่ือใหเ้ ดิน
ตรงทางสู่การพน้ ทุกข์
เร่ิมตน้ ขอปูพ้นื ความเขา้ ใจในเร่ืองอายตนะและการปฏบิ ตั ิ
ในอริยสจั ส่กี นั ก่อน
“อายตนะ” หรอื ในคำ� แปลทห่ี มายถงึ ทเ่ี ช่อื มต่อ หรอื เคร่อื ง
ตดิ ต่อ หรอื สง่ิ ทเ่ี ป็นสอ่ื ใหต้ ดิ ต่อกนั จงึ ประกอบดว้ ยสองส่วน คือ
สว่ นทเ่ี ป็นสง่ิ ภายนอก เป็นสง่ิ ทเ่ี ราไปรบั รู้ได้ ไปเหน็ ได้ ไปสมั ผสั ได้
เหมือนเป็นส่ิงท่ีอยู่นอกตวั ของเราออกไป ในความหมายน้ีจึง
เรียกเป็น อายตนะภายนอก กบั อกี ส่วน คือส่วนท่เี ป็นผูไ้ ปรบั รู ้
เป็นผทู้ ไ่ี ปรูเ้ ขา หรอื ในความหมายว่าเป็นส่วนทเ่ี ป็นตวั เรา อย่างน้ี
เรียกว่า อายตนะภายใน ยกตวั อย่างเช่น รูป เสยี ง กลน่ิ รส

16

เริ่มต้นท่ีสมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

สมั ผสั หรือโผฏฐพั พะ และธรรมารมณ์หรือสง่ิ ทเ่ี ป็นอารมณ์ต่างๆ
ถอื เป็นอายตนะภายนอก คือเป็นส่งิ ท่ถี ูกรบั รู้ได้ ส่วนอายตนะ
ภายในคือผทู้ ่ไี ปรูส้ ่งิ เหล่าน้ี อนั ไดแ้ ก่ ตาท่ไี ปรบั รูร้ ูป หูท่ไี ปรบั รู ้
เสียง จมูกท่ีไปรบั รูก้ ล่นิ ล้นิ ท่ีไปรบั รูร้ ส กายท่ีไปรบั รูส้ ่ิงท่ีมา
สมั ผสั กาย และใจท่ไี ปรบั รูอ้ ารมณ์ต่างๆ เป็นส่วนท่ไี ปรบั รูเ้ ขา
จึงเรียกส่งิ น้ีว่าเป็นอายตนะภายใน
ท่กี ล่าวมานน้ั เป็นส่งิ ท่เี ราเคยได้ยนิ ไดฟ้ งั มา แต่ในแง่ของ
การปฏิบตั ินนั้ เราตอ้ งเขา้ ใจใหม่ว่า ผู้ท่ีไปรบั รูท้ ่ีแทจ้ ริงไม่ใช่ตา
ไม่ใช่หู ไม่ใช่จมูก ไม่ใช่ล้นิ และไม่ใช่กาย ส่งิ เหล่านนั้ เป็นเพยี ง
เคร่ืองมอื ในการรบั รูเ้ ท่านน้ั แต่ผูร้ บั รู้ท่ีแทจ้ ริงกลบั เป็ นใจหรือ
จติ นัน่ แหละ ท่เี ป็นผู้ไปรบั รู้ท่แี ทจ้ ริง ดงั นนั้ อาการต่างๆ ไม่ว่า
จะเป็นอาการทางกายหรือเวทนาทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดขา
รอ้ น หนาว หรอื เวทนาทางใจ เช่น ไม่โปร่ง ไม่โลง่ ไม่เบา ไม่สบาย
แน่นอดึ อดั ทบึ ต้ือ กระสบั กระส่าย กงั วล ความสุข ความสบาย
โล่ง โปร่ง เบา ว่าง หรืออารมณ์ชนิดต่างๆ ท่เี กิดข้นึ ภายในใจ
แมก้ ระทงั่ ส่ิงท่ีเป็นความคิดหรือท่ีเรียกว่าสงั ขาร ความจำ� ได้
หมายรูห้ รือท่ีเรียกว่าสญั ญา อนั น้ีก็เป็นส่ิงท่ีรบั รู้ได้ท่ีใจซ่ึงรวม
ถือเป็ น “ธรรมารมณ์” เหล่าน้ีเป็นส่ิงท่ีถูกรบั รู้ไดด้ ว้ ยใจหรือ
จิต ทง้ั หมดจึงเป็นอายตนะภายนอก เบ้อื งตน้ เราจึงตอ้ งแยกให้
ชดั เจนเสยี ก่อนวา่ สง่ิ ใดเป็นอายตนะภายนอก สง่ิ ใดเป็นอายตนะ
ภายใน

17

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

สว่ น “อรยิ สจั ส”่ี อนั ประกอบดว้ ย ทกุ ข์คอื ความไมส่ บายกาย
ความไม่สบายใจ ความคบั แคน้ ใจต่างๆ ซ่งึ เป็นผลท่จี ะตอ้ งเกิด
จากเหตุท่ีเรียกว่าสมุทยั และการพน้ จากความทุกขห์ รือความ
ดบั ทุกขท์ ง้ั ปวงคือนิโรธ ซ่ึงเป็นผลมาจากการปฏิบตั ิหรือการ
เดินทางไปสู่ความพน้ ทุกขท์ ่ีถูกตอ้ งท่ีเรียกว่ามรรค ดงั นั้น
การปฏิบตั ิตอ้ งมีความเขา้ ใจในอริยสจั ส่ีใหถ้ ่องแทแ้ ละมองให้
ออกก่อนว่าเวลาท่ีเราปฏิบตั ิ อริยสจั ส่ีจะมอี ยู่สองคู่ คู่แรกคือ
ทุกขก์ บั สมทุ ยั และคู่ท่สี องคือ นิโรธกบั มรรค
ความเขา้ ใจในส่วนคู่แรก “ทุกขก์ บั สมุทยั ” น้ี คือถา้ เรา
ปฏบิ ตั ิโดยคอยแต่ไปสนใจอาการต่างๆ เขา้ ไปยุ่งกบั อาการต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็นเวทนาทางกายหรือเวทนาทางใจ เช่น ปวดศีรษะ
ไม่โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา ไม่สบาย แน่นอึดอดั ทึบต้ือ หรือ
ธรรมารมณ์ต่างๆ ซ่ึงเป็นอายตนะภายนอกเหล่านนั้ ไปสนใจ
หรือไปปรบั ๆ แต่งๆ ใหไ้ ม่ปวด ใหเ้ ป็นแต่ความสุข หรือเอาแต่
ความโล่ง โปร่ง ว่างเบาสบาย ส่วนความไม่สุข ไม่โล่ง ไม่เบา
ไม่สบายไม่เอา จึงเป็นการปฏบิ ตั ิท่ีส่งจิตออกนอก คำ� ว่าส่งจิต
ออกนอก คือ ส่งจติ ไปกบั อายตนะภายนอก ไม่ไดก้ ลบั มามอง
ท่ีตวั เองหรือท่ีจิตหรือผูท้ ่ีไปรบั รู้ ก็จะไม่เห็นจิต ไม่เห็นตวั เอง
ท่ีไปกระท�ำ แต่กลบั เอาตวั เองทง้ั ตวั ไปกระท�ำ ไปรบั ผลเสยี เอง
จึงเป็นสมุทยั เป็นเหตุใหเ้ กิดทุกข์ ผลแห่งการส่งจิตออกนอก

18

เริ่มต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

เป็นทุกข์ เพราะมตี วั เองไปรองรบั มตี วั เองไปเสวยอยู่โดยตลอด
พอไม่ไดด้ งั ใจ ไม่ถกู ใจเรา ก็เป็นทกุ ข์ ดงั นนั้ ถา้ เราปฏบิ ตั อิ ยู่เพยี ง
แค่น้ี เราก็จะเดินทางไปในฝ่ ายทุกขก์ บั สมุทยั ทุกขก์ บั สมุทยั
ไปตลอด ไม่มที างพน้ ทุกข์ ไปได้
วธิ ีท่ถี ูกตอ้ งคือเราจะตอ้ งเขา้ มาใหถ้ งึ อริยสจั อกี คู่หน่ึง คือ
“มรรคกบั นิโรธ” ท่กี ล่าวว่า “จิตเหน็ จิตอย่างแจ่มแจง้ เป็นมรรค
ผลแห่งจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจง้ เป็นนิโรธ” หมายถึงอย่างไร
ก็คือเราตอ้ งแยกระหว่างจติ กบั อารมณ์ใหช้ ดั เจนก่อน จติ คือผทู้ ่ี
ไปรู ้ ส่วนอารมณ์ เป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ ยกตวั อย่างเช่น รูปเป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้
เสยี งเป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ กลน่ิ เป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ รสเป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ ส่งิ ท่มี า
สมั ผสั กายหรือเรียกว่าโผฏฐพั พะเป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ ธรรมารมณ์คือ
เวทนา สญั ญา สงั ขารเป็นสง่ิ ทถ่ี ูกรู ้รูป เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ
และธรรมารมณ์จงึ เป็ นอายตนะภายนอก เป็ นอารมณ์ ซ่ึงเป็ น
เคร่ืองรูข้ องจิตหรือวิญญาณขนั ธ์ ส่วนจิตหรือวิญญาณขนั ธ์
เป็ นผูร้ ู้
เวลาเรารูอ้ ารมณ์อะไรก็ตามทุกขณะปจั จุบนั ให้รูอ้ ยู่ท่จี ิต
อย่าไปสนใจใหค้ ่าใหค้ วามสำ� คญั ต่ออารมณ์ท่ถี ูกรูห้ รืออายตนะ
ภายนอก จะเป็นการส่งจติ ออกนอกเป็นสมทุ ยั เป็นเหตใุ หเ้กดิ ทกุ ข์
ผลแห่งจิตส่งออกนอกเป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจง้ เป็น
มรรค คือเห็นผูร้ ู ้ จิตหรือวิญญาณขนั ธ์ ซ่ึงปกติแลว้ จิตหรือ

19

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

วญิ ญาณขนั ธน์ นั้ เมอ่ื ไปรูอ้ ารมณ์ใดในขณะปจั จุบนั ไม่ว่าไปรูร้ ูป
รูเ้ สยี ง รูก้ ลน่ิ รูร้ ส รูส้ มั ผสั หรือ รูเ้ วทนา สญั ญา สงั ขารซ่งึ เป็น
ธรรมารมณ์ วญิ ญาณขนั ธน์ ้ีก็จะทำ� งานร่วมกบั เวทนา สญั ญา
สงั ขารท่เี รียกว่าเจตสกิ ตรงกบั ในพระอภธิ รรมท่กี ล่าวเร่ือง รูป
จิต เจตสกิ นิพพาน “รูป” ก็คือร่างกาย “จติ ” ก็คือวญิ ญาณขนั ธ์
“เจตสิก” ก็คือเวทนา สญั ญา สงั ขาร แลว้ “นิพพาน” ก็คือ
ความส้ินหลงยึดถือในรูป จิต เจตสิกว่าเป็นตวั เรา ว่าเป็นตวั
ตนของเรา หรือคือความส้นิ หลงยดึ ถอื สงั ขาร (ขนั ธห์ า้ ) และส้นิ
ยดึ ถอื วสิ งั ขาร (ใจหรือธาตุรู้)
เวลารูอ้ ะไรในทกุ ขณะปจั จบุ นั ก็ใหร้ ูต้ รงทจ่ี ติ หรอื วญิ ญาณ
ขนั ธท์ ่ปี ระกอบกบั เจตสกิ เช่นเมอ่ื จติ หรือวญิ ญาณขนั ธร์ ูอ้ ารมณ์
เขาจะทำ� หนา้ ทร่ี ูเ้ พยี งเส้ยี ววนิ าทเี ดยี วแลว้ ก็จะประกอบเอาเวทนา
สญั ญา สงั ขารหรือท่ีรวมเรียกว่าเจตสิกเขา้ มาทนั ที ก็จะเป็น
อารมณ์ท่ถี ูกรูท้ นั ที ตรงน้ีจะเห็นว่าอารมณ์ภายนอกร่างกายอนั
ไดแ้ ก่ รูป เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั นน้ั ยงั ห่างไกล แต่อารมณ์ท่อี ยู่
ใกล้จิตท่ีสุดก็คือธรรมารมณ์ซ่ึงเป็นเวทนา สญั ญา สงั ขารเป็น
อารมณ์ท่ตี ิดกบั จิต เกิดพรอ้ มจิตดบั พรอ้ มจิต ดงั น้ันจติ ผูร้ ูห้ รือ
วิญญาณขนั ธก์ บั เจตสิกซ่ึงเป็ นอารมณ์ท่ีถูกรู้ จะเป็ นของคู่กนั
ท่ีติดกนั ใกลเ้ คียงกนั ท่ีสุด เม่ือเหน็ จติ กจ็ ะเหน็ อารมณ์ดว้ ย เหน็
อารมณ์ก็จะเห็นจติ ดว้ ย เรียกว่า “รู้จติ รูธ้ รรม” “จิต” ก็คือผูร้ ู ้

20

เริ่มต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเรื่องขนั ธ์ห้า : จบซะที

“ธรรม” ก็คือธรรมารมณ์หรืออารมณ์ทถ่ี ูกรู ้เพราะฉะนน้ั เมอ่ื รจู้ ติ
ก็จะรูธ้ รรมดว้ ย ดว้ ยเหตุน้ีถา้ เราแยกจิตกบั อารมณ์ไดข้ าด เรา
ก็จะหลุดพน้ จากอารมณ์ทง้ั มวลได้
จิตเป็นผูร้ ู ้ อารมณ์เป็นส่งิ ท่ถี ูกรู ้ เราอย่าไปสนใจอารมณ์
ท่ถี ูกรู ้ อย่าไปสนใจเวทนา สญั ญา สงั ขารซ่งึ เป็นอารมณ์ท่ถี ูกรู ้
จะเป็นการส่งจิตออกนอก ใหส้ นใจตรงผูร้ ูน้ ่ี ผูร้ ูท้ ่ไี ปทำ� หนา้ ท่รี ู ้
ธรรมารมณ์ในใจต่างๆ ไปรสู้ ง่ิ ใดแลว้ จะตอ้ งส่งต่อถูกใจ ไม่ถูกใจ
หรือเป็นกลางๆ คือส่งต่อเวทนา เม่อื ส่งต่อเวทนาแลว้ ก็จะเกิด
จติ หรือวิญญาณขนั ธต์ วั ใหม่มารูเ้ วทนานน้ั จติ หรือวญิ ญาณขนั ธ์
ตวั ก่อนหนา้ นน้ั ก็จะดบั ไป แลว้ ก็จะตอ้ งส่งต่อสญั ญาคือความ
จำ� ไดห้ มายรู ้ แลว้ ก็คิดปรุง ปรุงคิด แลว้ ก็จะตอ้ งเกิดจิตหรือ
วิญญาณขนั ธ์ตวั ใหม่มารูส้ ญั ญา เกิดจิตหรือวิญญาณขนั ธ์
ตวั ใหม่มารูส้ งั ขารท่คี ิดปรุง ปรุงคิด จิตหรือวญิ ญาณขนั ธน์ ้ีจึง
เกิดดบั เร็วมาก
ดงั นนั้ เวลาเรารูอ้ ะไรแลว้ เหมอื นในใจเรามกี ารพูด การ
พากษ๑์ (วพิ ากษ)์ การคิดนึกตรึกตรอง ปรุงแต่งอยู่ในใจอยู่คน
เดยี วตลอดเวลา แสดงท่าทางต่างๆ มกี ริยาอาการต่างๆ แมแ้ ต่
ความรสู้ กึ ตวั ก็เป็นสงั ขารในขนั ธห์ า้ สมาธิ ปญั ญาก็เป็นสงั ขารใน

๑ “พากษ”์ ในท่นี ้ีใชแ้ ทนคำ� ว่า “วพิ ากษ”์ หมายถงึ เอาอารมณ์ท่ถี ูกรูม้ าวพิ ากษ์ คือ พจิ ารณา

ตดั สนิ เขาตามความเหน็ ของตนเอง

21

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ขนั ธห์ า้ พวกน้เี ป็นกรยิ าอาการทง้ั หมด เป็นเพยี งแต่ขนั ธห์ า้ จติ หรอื
วิญญาณขนั ธ์เขาก็จะรูเ้ องว่ามีอะไรเกิดข้ึน กระเพ่ือมข้ึน
ไหวตวั ข้นึ ภายในใจ เป็นเช่นน้ีเร่ือยไปไม่มวี นั จบส้นิ ไม่เคยดบั
ไดเ้ ลยจนกว่าชีวิตจะส้ิน ถึงตอนนนั้ ทงั้ ธรรมารมณ์และจิตผูร้ ู ้
ก็จะดบั ไปดว้ ยกนั เรยี กว่าขนั ธห์ า้ ดบั หมด แต่ในขณะทย่ี งั ไม่ตาย
ก็จะทำ� งานส่งต่อกนั ไปอย่างน้ี เรามคี วามรูอ้ ย่างน้ีก็เพ่อื ใหเ้ ห็น
ว่าน่ีเป็น “กระบวนการของชีวิต” คงปล่อยใหก้ ระบวนการของ
ชีวติ ดำ� เนินไปตามปกติ ไปตามธรรมชาติของเขา เป็นกระบวน
การทำ� งานของขนั ธห์ า้ ไม่ไดเ้ ป็นกิเลสตณั หาและทงั้ ไม่ไดเ้ ป็น
นิพพานอะไร
ท่จี ะตอ้ งบอกอย่างน้ีก็เพราะว่า มีหลายคนเขา้ ใจผิดและ
ปฏิบตั ิผิด ไปปฏิบตั ิท่ีขนั ธห์ า้ เพ่ือจะใหเ้ ป็ นนิพพานท่ีขนั ธห์ า้
คือเม่ือจิตหรือวิญญาณขนั ธ์ไปรูอ้ ารมณ์ ก็จะปรุงแต่งใจไว ้
ไมใ่ หเ้กดิ สุขเวทนา ไมใ่ หเ้กดิ ทกุ ขเวทนา แต่ใหเ้ป็นอเุ บกขาเวทนา
อย่างเดยี ว เลยรูอ้ ะไรแลว้ ก็ทำ� เฉย รูอ้ ะไรแลว้ ก็ทำ� เฉย ไม่ใหส้ ุข
ไม่ใหท้ ุกข์ ไม่ใหส้ ่งต่อเวทนา ไม่ใหส้ ่งต่อสญั ญาจำ� ไดห้ มายรู ้
ไม่ส่งต่อสงั ขารคือคิดปรุง ปรุงคิดว่าอะไรเป็นอะไร รูค้ นไม่ใหร้ ู ้
ว่าเป็นคน ใหร้ ูแ้ ต่โครงร่าง ไม่ใหร้ ูว้ ่าเป็นผูห้ ญิงผูช้ าย ไม่ใหร้ ูว้ ่า
ช่ือเสยี งเรียงนามอะไร ไม่ให้รูว้ ่ารูจ้ กั กนั หรือไม่ รูต้ น้ ไม้ไม่ใหร้ ู ้
ว่าเป็นตน้ ไม ้รูส้ ตั วไ์ ม่ใหร้ ูว้ ่าเป็นสตั ว์ ไม่ใหร้ ูว้ ่าเป็นบา้ น ไม่ใหร้ ูว้ ่า

22

เร่ิมต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเรื่องขนั ธ์ห้า : จบซะที

เป็นสง่ิ ของ อย่างรูร้ ถยนตก์ ็รูเ้ ป็นแต่โครงร่าง ไมใ่ หร้ ูว้ า่ เป็นสอี ะไร
รถย่หี อ้ อะไร เป็นของใคร แลว้ ใหไ้ ปทำ� แต่ว่างๆ เปล่าๆ เฉยๆ
อย่างนน้ั สุดทา้ ยไปปฏบิ ตั ิไม่เอาสุข ไม่เอาทุกข์ เอาแต่อุเบกขา
จะเอาแต่รูน้ ่ิงเฉย... รูน้ ่ิงเฉยนนั่ ยดึ อุเบกขาเวทนาแลว้ ท่ถี ูกตอ้ ง
คือจะตอ้ งจำ� ไดว้ ่าอะไรเป็นอะไร เพราะมนั เป็นธรรมชาติ เราเหน็
อะไรป๊ ุบก็ตอ้ งพากษท์ นั ทีในใจว่าน่ีคืออะไร เห็นอะไรก็ตอ้ งรู ้
ทนั ทีว่าน่ีเป็นอะไร ใครจะไปตดั ตอนได้ เพราะเม่ือจิตหรือ
วิญญาณขนั ธ์ไปรูอ้ ะไรก็ตอ้ งทำ� งานร่วมกบั เจตสิกคือเวทนา
สญั ญา สงั ขารทนั ที คือมนั เป็นกลุม่ เป็นกอ้ นเดยี วกนั เลย ขนั ธห์ า้
เป็ นกระบวนการธรรมชาติ ไม่ไดเ้ ป็ นกเิ ลสตณั หา ไม่ไดเ้ ป็นเหตุ
ใหเ้ กิดทุกข์ แต่เป็นเพยี งแค่ทุกขสจั คือเกิดข้นึ ตง้ั อยู่ และดบั ไป
ทนอยู่สภาพเดมิ ไม่ได้แต่ไม่ไดท้ ำ� ใหเ้ กิดความยดึ มนั่ ถอื มนั่ เป็น
ทุกขแ์ ก่ใจ แต่ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ ติดอยู่ท่จี ติ น่ีต่างหาก ท่จี ติ
เดมิ แทห้ รือท่ปี ฏสิ นธิวญิ ญาณ
“อวิชชา” คือความหลงยึดมนั่ ถอื มนั่ เป็นจุดเร่ิมตน้ ของ
ปฏิจจสมุปบาท เพราะมีอวิชชาเป็นปจั จยั ใหเ้ กิดสงั ขาร คือ
ผสมกนั ติดระหว่างสเปิรม์ ของพ่อซ่ึงเป็นธาตุดิน กบั ไข่ของแม่
ซ่ึงเป็นธาตุน�ำ้ แลว้ แม่ก็หายใจเอาธาตุลมและธาตุไฟเขา้ ไป
กินซากพืชซากสตั ว์ กินน�ำ้ กินลมหายใจ แลว้ ก็กินความรอ้ น
เขา้ ไปผสมกนั อยู่เร่ือยๆ ตลอดเวลา จนค่อยๆ โตข้นึ โตข้นึ

23

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

จนกระทงั่ หยดเลอื ดโตพอสมควรแลว้ ปฏสิ นธิวญิ ญาณคือจิต
หรือวิญญาณดงั้ เดิมแทๆ้ ซ่ึงเป็นธาตุว่าง แต่ยงั ไม่เป็นว่างท่ี
บรสิ ุทธ์เิ พราะยงั มอี วชิ ชา จงึ เขา้ มาผสมกบั ธาตดุ นิ นำ�้ ลม ไฟ และ
วญิ ญาณ เป็นปจั จยั ใหเ้ กิดนามรูป (ขนั ธห์ า้ ) นามรูปเป็นปจั จยั
ทำ� ใหเ้ กิดสฬายตนะ คืออายตนะหก ไดแ้ ก่ ประตูตา ประตูหู
ประตูจมกู ประตูล้นิ ประตูกาย ประตูใจ เกดิ ข้นึ แลว้ กค็ ลอดออกมา
จากทารกโตข้นึ มาจนเป็นพวกเราทงั้ หลาย และก็มผี สั สะ มเี วทนา
มตี ณั หา มอี ปุ าทาน ภพ ชาติ ทุกขโ์ ศกเศรา้ เสยี ใจ คบั แคน้ ใจ
อนั น้ีเป็นกระบวนการเกิดแต่ละภพแต่ละชาติท่ีเกิดเป็นร่าง
ข้นึ มาใหม่ ไม่ว่าจะเกิดเป็นร่างใหม่ในภพชาติใดก็จะตอ้ งมคี วาม
รูส้ กึ มคี วามจำ� ไดห้ มายรู ้มคี วามคิดปรุง ปรุงคิด มอี ารมณ์ต่างๆ
ไปยึดเอาตวั ใหม่ในแต่ละชาติว่าเป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา
แลว้ ก็เอาตวั เราไปยดึ สามี ภรรยา ยดึ ลูก ยดึ หลาน ยดึ พ่อแม่
ยดึ พ่นี อ้ ง ยดึ สมบตั ิพสั ถานต่างๆ ตรงน้ีจะเห็นว่าเพราะอวชิ ชา
เป็นปจั จยั ทำ� ใหเ้ กิดสงั ขาร สงั ขารเป็นปจั จยั ใหเ้ กิดวญิ ญาณหรือ
ปฏสิ นธิวญิ ญาณ เพราะวญิ ญาณเป็นปจั จยั จึงทำ� ใหเ้ กิดนามรูป
นามรูปน่ีเพ่งิ จะเกิดมาทหี ลงั ขนั ธห์ า้ ย่อมจะเกิดทหี ลงั
ดงั น้ัน ขนั ธห์ า้ จึงไม่ไดเ้ ป็ นกิเลส และขนั ธห์ า้ ไม่ไดเ้ ป็ น
นิพพาน ความหลงยึดขนั ธห์ า้ ต่างหากท่ีเป็ นอวิชชา ความหลง
ยึดขนั ธห์ า้ มาจากไหน มนั ติดมาท่ีปฏิสนธิวิญญาณนัน่ แหละ

24

เร่ิมต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

ท่ีเข้ามาผสมแลว้ จึงเกิดเป็ นขันธ์หา้ ข้ึนมา  เพราะฉะน้ัน
ดบั ก็ตอ้ งดบั ท่ีอวิชชา คือความหลงยึดท่ีธาตุรูน้ ัน่ แหละ
เราจึงไม่ไดม้ าปฏบิ ตั ิท่ขี นั ธห์ า้ ไม่ไดม้ าปฏบิ ตั ิท่รี ูป ไม่ได้
มาปฏบิ ตั ิทเ่ี วทนา ไม่ใช่มาปฏบิ ตั ิเอาทท่ี ำ� ใจใหเ้ ป็นอเุ บกขาเวทนา
ไม่สุข ไม่ทุกข์ ไม่ส่งต่อสญั ญาจำ� ไดห้ มายรู ้ ไม่ส่งต่อสงั ขารคือ
ความคิด อารมณ์ หรือบางท่านก็ปฏิบตั ิเอาขนั ธห์ า้ มาปรุงแต่ง
ไปไล่ดบั กระบวนการทำ� งานของขนั ธห์ า้ ดบั ความคิดความรูส้ กึ
ดบั อาการทุกชนิดใหน้ ่ิง ว่าง เฉย หรือใหเ้ ป็นกลางๆ ดว้ ยความ
เช่ือว่าถา้ เราทำ� ใหน้ ่ิง ว่าง เฉย ไวอ้ ย่างนน้ั ไดต้ ลอดเวลาแลว้ จะ
เป็นนิพพาน แลว้ จะว่างไดอ้ ย่างไรในเมอ่ื ขนั ธห์ า้ ประกอบไปดว้ ย
ธาตุดนิ นำ�้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ มาประกอบกนั ทำ� ใหข้ นั ธห์ า้ ดำ� เนิน
ชีวติ อยู่ได้ เรากลบั ไปดบั ชีวติ เสยี ใหน้ ่ิง ว่าง เฉย เสยี อย่างนนั้
การกระทำ� เช่นน้ีเป็นมิจฉาทิฏฐิ
ขนั ธ์หา้ เป็นเพียงแค่ชีวิตท่ีด�ำเนินไป คงปล่อยให้ชีวิต
ด�ำเนินไป อวิชชาคือความหลง ความโง่ท่ีติดอยู่ท่ีปฏิสนธิ-
วญิ ญาณน่ี ใหม้ าปฏิบตั ิท่ีตรงน้ี เม่อื ส้ินอวชิ ชา ส้ินความหลง
ส้นิ ความโง่แลว้ ก็ไม่มใี ครไปยดึ ขนั ธห์ า้ แลว้ ก็ไม่หลงเอาขนั ธห์ า้
ไปปรุงแต่ง ปล่อยใหข้ นั ธห์ า้ ดำ� เนินไปตามชีวติ ท่ีปกติ ธาตุรูก้ ็
ยงั คงเป็นธาตรุ ูข้ องมนั อยู่ดงั เดมิ นนั่ แหละ มนั ดบั ไปเฉพาะอวชิ ชา
ทต่ี ดิ อยู่กบั ธาตรุ ู ้เป็นธาตรุ ูท้ ส่ี ้นิ หลงแลว้ เรยี กวา่ ผรู้ ทู้ ส่ี ้นิ หลงแลว้

25

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ส้นิ หลงยดึ เอาขนั ธห์ า้ เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือมตี วั เรา
อยู่ในขนั ธห์ า้ ก็เลยเป็น “ธาตรุ ทู้ ่บี รสิ ทุ ธ์”ิ มแี ต่ความรซู้ ง่ึ เป็นความ
ว่างเปล่า เป็นหน่ึงเดียวกบั ธรรมชาติหรือจกั รวาล ส่วนขนั ธห์ า้
คงดำ� เนินเกิดดบั เกิดดบั ในใจ หรือในธาตุรู ้ หรือในจิตเดมิ แท้
ซ่งึ เป็นความว่างนน้ั ต่อไป ธาตุก็คงเป็นธาตุ แต่เพราะธาตุต่างๆ
ทงั้ ธาตดุ นิ นำ�้ ลม ไฟ หรอื จะรวมอากาศธาตคุ อื ธาตวุ า่ ง และธาตรุ ู ้
ซง่ึ เป็นความวา่ งเช่นเดยี วกบั อากาศธาตุ ทย่ี งั ประกอบกนั อยู่ ยงั คง
องิ อาศยั ซ่งึ กนั และกนั ยงั ไม่แตกออกจากกนั ขนั ธห์ า้ หรือชีวติ ก็
ยงั คงดำ� เนินการทำ� งานอยู่ไดต้ ามปกติธรรมชาติของเขา
ขันธห์ า้ ไม่ไดเ้ ป็ นอวิชชา แต่อวิชชาท่ีเจืออยู่กบั ธาตุรู ้
นนั่ ต่างหากท่ที ำ� ใหธ้ าตุรไู้ ม่บริสุทธ์ิ เป็นความหลงยดึ ท่ตี ิดอยู่กบั
ธาตุรูม้ าตง้ั แต่ดง้ั เดิม เปรียบเหมือนกับทองค�ำท่ีมีอยู่ตาม
ธรรมชาติ ยงั เป็นทองคำ� ท่ไี ม่บริสุทธ์ิเพราะยงั ผสมปะปนอยู่กบั
แร่ธาตอุ น่ื ๆ ซง่ึ เปรยี บกบั อวชิ ชา พอผมู้ ปี ญั ญารูจ้ กั ถลงุ เอาแร่ธาตุ
ท่ีปลอมปนอยู่กับทองค�ำออกไป จึงท�ำให้ไดท้ องค�ำแท้ท่ีมี
ความบริสุทธ์ิ เช่นเดยี วกบั จิตเดมิ แทๆ้ ท่เี กิดมาคู่กบั อวชิ ชาใน
ธรรมชาตินนั่ เอง ดงั น้ันถา้ จะดบั กิเลส ก็ตอ้ งไปดบั ท่ีอวิชชา
คือความหลงยึดท่ีธาตุรูน้ ัน่ แหละ เมอ่ื อวชิ ชาดบั ไป คือความโง่
ดบั ไป ความหลงดบั ไป ธาตุรู้ก็เลยเป็นธาตุรู้ท่บี ริสุทธ์ิ คือเป็น
ความรูแ้ จง้ รูพ้ น้ เป็นความรูค้ วามจริง รูส้ ้นิ ยดึ เขาจึงเรียกว่า

26

เร่ิมต้นท่ีสมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

“พทุ ธะ” ท่เี รียกธาตุรูว้ ่าพทุ ธะ เพราะพทุ ธะแปลว่าผูร้ ูแ้ จง้ รูจ้ ริง
รสู้ ้นิ หลง ส้นิ ยดึ ถอื แลว้ เป็นผตู้ ่นื ผตู้ ่นื ก็คอื ต่นื จากความหลงแลว้
เป็นผูเ้ บกิ บานคือไม่หลงยดึ อะไร เอามากดทบั จิตใจของตวั เอง
ใหเ้ ป็นความทุกข์ ความเศรา้ หมอง
“พุทธะ” ก็คือจิตเดิมแทๆ้ หรือธาตุรูด้ งั้ เดิมแทๆ้ หรือ
ปฏสิ นธิวญิ ญาณ ท่มี าเกิดแลว้ ส้นิ อวชิ ชาไปจึงเป็นพทุ ธะ พทุ ธะ
คงเป็นพทุ ธะอยู่อย่างนนั้ พทุ ธะไม่ไดเ้ ป็นนิพพาน ธาตรุ ูเ้ ป็นเพยี ง
แค่ธาตุรูต้ ามธรรมชาติท่ีจะปรุงแต่งใหม้ ีปฏิกิริยามีความรูส้ ึก
นึกคิดหรือมีอารมณ์ไม่ได้ ธาตุรู้ไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง ไม่มี
รูปพรรณสณั ฐานใดๆ ไม่มดี วง ไม่มแี สงสว่าง ไม่มสี สี นั ใดๆ เลย
มแี ต่ความรู ้ความรูพ้ น้ รูจ้ รงิ รูแ้ จง้ รสู้ ้นิ ยดึ มนั่ ถอื มนั่ ไม่สามารถ
คดิ นึกตรกึ ตรองปรุงแต่งได้ ไมม่ กี ารเกดิ ไมม่ กี ารดบั มแี ต่ความรู ้
ท่ีเป็นความว่างเปล่า เช่นเดียวกบั ความว่างของธรรมชาติหรือ
จกั รวาล
ธาตุรู ้ หรือพทุ ธะ หรือใจ หรือจติ ดง้ั เดมิ แทๆ้ ท่เี ป็นความรู ้
ท่วี ่างเปล่าเหมอื นธรรมชาติน้ีก็ไม่ไดเ้ ป็นนิพพาน ขนั ธห์ า้ ก็ไม่ได้
เป็นนิพพาน แต่ท่ดี บั ไปคืออวชิ ชาท่ตี ิดกบั ธาตุรูด้ บั ไป ส้นิ อวชิ ชา
คือส้นิ หลงยึดมนั่ ถอื มนั่ ในขนั ธห์ า้ และส้นิ หลงยึดมนั่ ถอื มนั่ ใน
ธาตุรูห้ รือจิตเดมิ แทๆ้ หรือใจแทๆ้ ซ่งึ เป็นความว่าง

27

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ท่ีหลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน เทศนไ์ วช้ ดั มาก “จิต
ดง้ั เดิมแทๆ้ หรอื ใจดง้ั เดิมแทๆ้ นอกขนั ธห์ า้ เม่อื ส้นิ ยดึ มนั่ ถอื มนั่
ในขนั ธห์ า้ แลว้ ถา้ ยึดถือใจจะใหว้ ่างยงั ไม่เป็ นนิพพาน” ตอ้ ง
ส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ ใจจะใหว้ ่าง เมอ่ื ส้นิ หลงยดึ มนั่ ถอื มนั่
อวชิ ชาจึงดบั เมอ่ื ส้นิ หลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ กิเลสก็ไม่มี หรือพน้ ทุกข์
ท่เี ขาสมมตุ ิช่ือเรียกว่า นิพพาน
“นิพพาน” จึงไม่ใช่เมอื ง ไม่ใช่เป็นสภาวธรรมอะไรท่เี ป็น
ความว่างหรือเป็นความน่ิงเฉย และไม่ใช่มตี วั เราหรือมขี นั ธห์ า้
หรือมีอะไรไปถึงนิพพาน มีแต่อวิชชาท่ีติดมากบั ธาตุรูห้ รือ
จติ ดง้ั เดมิ แทๆ้ หรือปฏสิ นธิวญิ ญาณดบั ไปเท่านนั้ เอง แต่ขนั ธห์ า้
ยงั ไม่แตกไม่ดบั เพราะยงั ไม่ถงึ แก่ความตาย รอจนกว่าส้นิ อายุขยั
ขนั ธห์ า้ ถงึ จะดบั ลงไป ก็เหลอื แต่ธาตุรทู้ ่สี ้นิ อวชิ ชาแลว้ ท่เี รียกว่า
“พทุ ธะ” และไม่หลงยดึ ว่ามตี วั ตนของเราเป็นพทุ ธะ พทุ ธะเป็น
ธาตรุ ู ้เป็นแต่ความรทู้ ว่ี ่างเปลา่ เช่นเดยี วกบั ความว่างของจกั รวาล
เป็นอมตะ หลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โนเรียกว่า “ธรรมธาตุ”
คือธาตุแห่งธรรมท่ีส้ินความปรุงแต่ง ซ่ึงเป็ นวิสงั ขารหรือ
อสงั ขตธาตุ ก็กลบั เลอื นหายไป กลนื หายไปเป็นหน่ึงเดียวกบั
ความว่างของจกั รวาล ซ่ึงความว่างของจกั รวาลไม่มีความรู ้
แต่พุทธะหรือความรูท้ ่ีกลืนหายไปในความว่างของจกั รวาล
เปรียบเหมอื นกบั นำ�้ ท่บี ริสุทธ์ิ เทรวมกบั นำ�้ ทะเลก็กลนื หายเป็น

28

เริ่มต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

เน้ือเดยี วกนั พทุ ธะซ่งึ เป็นความว่างก็กลนื หายไปเป็นหน่ึงเดยี ว
กบั ความว่างของธรรมชาติ
ดงั นน้ั ท่เี ราไม่เขา้ ใจว่า เราคือใครและใครคือเรากนั แน่...
แทจ้ รงิ เราน้ีคอื ธาตรุ ทู้ บ่ี รสิ ุทธ์ิ ไมเ่ คยแตกดบั ไมเ่ คยถกู ทำ� ลายไป
เพราะเป็นความว่างเปล่า มแี ต่ความรู้ท่ีเป็นความว่างเปล่าไม่มี
ตวั ตน ไม่มรี ูปร่าง จงึ ไม่มใี ครทำ� ลายได้ ไม่มอี าวุธใดๆ ทำ� ลายได้
นิพพานก็ฆ่ามนั ไม่ตายเพราะว่ามนั ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง ไม่มี
อะไรเลย มีแต่ความรูท้ ่ีบริสุทธ์ิส้ินความหลงยึดมนั่ ถือมนั่
เช่นเดยี วกบั พระพทุ ธเจา้ และพระอรหนั ตท์ กุ พระองค์ เมอ่ื ดบั ขนั ธ์
นิพพานแลว้ ก็ไมไ่ ดห้ ายสูญ แต่หายไปเป็นหน่ึงเดยี วกบั ความวา่ ง
ในธรรมชาตใิ นจกั รวาล ทม่ี คี วามรูอ้ ยู่ในความวา่ งนนั้ พระพทุ ธเจา้
และพระอรหนั ตท์ งั้ หมดจึงไม่ไดห้ ายสูญ พระองคม์ ีอยู่ในทุก
แห่งหนแต่ก็ไม่ไดว้ ่ามีตวั ตน เป็นรูปเป็นร่าง เป็นรูปพรรณ-
สณั ฐาน มเี มอื งเป็นภพภูมอิ ะไรอยู่อย่างท่เี ขา้ ใจผดิ กนั เสมอื น
ในหนงั พระพุทธเจา้ มหาศาสดาโลกตอนจบท่ีพระอานนทเ์ ดิน
ไปท่ชี ายหาดริมทะเล แลว้ ก็มีใบโพธ์ิถูกลมพดั ลอยมาแปะอยู่ท่ี
ตวั ของพระอานนท์ เม่อื พระอานนทห์ ยิบใบโพธ์ิข้นึ มาก็มเี สียง
พระพทุ ธเจา้ ดงั ว่า “อานนท์ไม่ตอ้ งเสยี ใจไปหรอก ตถาคตไม่ได้
เกดิ ไม่ไดต้ าย ตถาคตหายตวั ไปเป็ นหน่ึงเดียวกบั ธรรมชาติ เป็ น
หน่ึงเดียวกบั ความว่าง เป็ นหน่ึงเดียวกบั แสงแดด เป็ นหน่ึงเดียว

29

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

กบั น้�ำ เป็ นหน่ึงเดียวกบั ลม เป็ นหน่ึงเดียวกบั แผ่นดินท่ีเจา้
เดินอยู่ อยู่ในทุกท่ี อยู่ในร่างกายของเจา้ อยู่ในจิตใจของเจา้
ทง้ั หมด”
ทใ่ี ดมคี วามว่าง ทน่ี นั่ มธี าตรุ ู ้มจี ติ ดงั้ เดมิ แทๆ้ ซง่ึ เป็นความ
รูพ้ น้ พุทธะมีอยู่ในทุกท่ี และพุทธะน้ีเป็นธาตุรู้ท่ีมีอยู่แลว้ ใน
พระพทุ ธเจา้ อยู่ในพระอรหนั ต์ อยู่ในปถุ ชุ น อยู่ในสตั วเ์ ดรจั ฉาน
อยู่ในทุกสรรพสตั วท์ ่ียงั เวยี นว่ายตายเกิด แต่เน่ืองจากธาตุรู้ท่ี
อยู่ในปุถชุ นและในสรรพสตั วท์ งั้ หลายท่ไี ม่ใช่พระพทุ ธเจา้ ไม่ใช่
พระอรหนั ต์ ยงั เป็นธาตุรูห้ ลงอยู่ คือหลงยดึ เอาสงั ขารท่ปี รุงแต่ง
ในแต่ละชาติ เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือมตี วั เรา
อยู่ในขนั ธ์หา้ ท่ีปรุงแต่งในแต่ละชาติ หรือแต่ละร่างท่ีเกิดมา
ในแต่ละชาติ ก็หลงไปยึดเอาว่าเป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตน
ของเรา หรือมตี วั เราอยู่ในร่างนนั้ จนกว่าจะส้นิ อวชิ ชา ธาตุร้ทู ่มี ี
อยู่ในทุกสรรพสตั วท์ ง้ั หลาย ก็กลายเป็นรูแ้ จง้ รูพ้ น้ รูจ้ ริง รู้ส้นิ
ความยึดมนั่ ถือมนั่ เรียกว่าพุทธะ ไปเป็นหน่ึงเดียวกนั หมด
เลยกบั พระพทุ ธเจา้ กบั พทุ ธะของพระอรหนั ตท์ งั้ หมด ไปเป็น
หน่ึงเดยี วกบั ความว่าง
อนั น้ีแหละเป็นสมั มาทฏิ ฐิ เป็นปญั ญาเหน็ ชอบในอรยิ มรรค
มอี งคแ์ ปด ทำ� ไมพระพทุ ธเจา้ จึงตรสั ว่าอริยมรรคมอี งคแ์ ปดข้นึ
ตน้ ดว้ ยสมั มาทฏิ ฐิ เพราะหากท่านปฏบิ ตั ิ แต่ท่านไม่มคี วามรูแ้ จง้

30

เร่ิมต้นที่สมั มาทิฏฐิ และความเข้าใจเร่ืองขนั ธ์ห้า : จบซะที

ไม่มคี วามรูจ้ ริงอย่างชดั เจนในสมั มาทฏิ ฐิ ในธรรมชาติท่เี ป็นอยู่
ว่าพระพทุ ธเจา้ มาตรสั รูธ้ รรมชาติท่มี อี ยู่แลว้ พระพทุ ธเจา้ ไม่ได้
มาตรสั รูข้ องใหม่เอง พระพทุ ธเจา้ มาตรสั รู ้มารูแ้ จง้ ในความจริง
ของธรรมชาติท่มี อี ยู่แลว้ ถา้ เรายงั ไม่มปี ญั ญาท่เี ป็นสมั มาทฏิ ฐิ
การเดินองคม์ รรคหรือการปฏบิ ตั ิของเราก็จะปฏบิ ตั ิผดิ ทางจาก
ธรรมชาติ ผิดจากคำ� สอนของพระพุทธเจา้ ทงั้ หมด เราจะเดิน
ในทางของกิเลส ไม่ไดเ้ ดนิ ในทางของความพน้ ทุกข์ อริยมรรค
จงึ ตอ้ งข้ึนตน้ ดว้ ยปญั ญาเห็นชอบคือ “สมั มาทิฏฐ”ิ ขอ้ ต่อๆ ไป
จงึ จะเดินชอบหมด คือการคิดชอบ พูดชอบ ทำ� ชอบ ประกอบ
อาชีพชอบก็คือผู้ท่ีประพฤติปฏิบตั ิธรรมก็มอี าชีพท่ีกระทำ� ดว้ ย
สุจริต อาชีพทางใจก็ม่งุ สู่ความพน้ ทุกขใ์ นปจั จุบนั มคี วามเพยี ร
ก็เพียรชอบ สติก็เป็นสติเพ่ือความส้ินความหลงยึดมนั่ ถือมนั่
มคี วามรูแ้ จง้ รูจ้ ริง รูพ้ น้ รูส้ ้นิ ยดึ สมาธิก็เป็นสมาธิเพ่อื ความส้นิ
ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ จึงเป็นสมาธิท่สี งบ เพราะส้นิ กงั วล ส้นิ ทุกข์
ดงั นน้ั เวลาเราจะปฏิบตั ิ ไม่ว่าจะปฏิบตั ิสำ� นกั ไหนมาก็
ตอ้ งอา่ นใจตวั เองใหข้ าดว่าเราปฏิบตั ิเพ่อื จะเอา หรือปฏิบตั ิเพ่อื
จะส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ ถา้ เราปฏบิ ตั เิ พอ่ื จะเอาตวั เราไปเอา
อะไร เป็ นการเดินทางผิดอริยมรรคทง้ั หมด เพราะ “อริยมรรค”
คือปฏบิ ตั ิเพ่อื ส้นิ อวชิ ชาท่ีติดมากบั จติ ดง้ั เดิมแทๆ้ หรอื ใจดง้ั เดิม
แทๆ้ คือส้นิ ผูจ้ ะเอา ส้นิ ตวั เราท่จี ะเอา จะได้ จะเป็น ส้นิ ตวั เรา

31

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ท่ไี ปมกี ิเลสตณั หาต่อส่งิ ใด ไปยดึ มนั่ ถอื มนั่ ส้นิ ความหลงยดึ มนั่
ถือมนั่ ก็ส้ินกิเลส ส้ินความทุกข์ เขาเรียกว่า “นิพพาน” ไม่มี
สภาวะหรือเมอื งใดท่เี ป็นนิพพาน ไม่มตี วั เราไปถงึ พระนิพพาน
ถา้ มคี วามรู้สกึ ว่ามตี วั เราอยู่ ยงั เป็นอวชิ ชาอยู่ ยงั ไม่ส้นิ อวชิ ชา
ไม่ส้ินความยึดมนั่ ถือมนั่ ไม่มีทางเป็นนิพพานได้ นนั่ แหละ
ตอ้ งเขา้ ใจใหช้ ดั เจนอย่างน้ีเสียก่อน ในการปฏิบตั ิจึงตอ้ งเป็น
สมั มาทิฏฐิก่อน แลว้ ท่ีเหลือท่านจะปฏิบตั ิอย่างไรก็ไดต้ าม
กรรมวธิ ีของท่าน แต่ท่านตอ้ งอ่านใจตวั เองใหข้ าดว่า ท่านปฏบิ ตั ิ
ไปดว้ ยกิเลสหรือปฏบิ ตั ิไปเพ่อื ส้นิ อวชิ ชา ส้นิ กิเลส ส้นิ ความยดึ
มนั่ ถอื มนั่

32

จบซะที



สติ สมาธิ ปัญญา

ทำ� ความเขา้ ใจเร่ือง “สติ” ใหด้ ีก่อน สติตวั น้ีเป็นขนั ธห์ า้
สติตวั น้ีมคี วามสำ� คญั ตลอดสาย เราตอ้ งใชส้ ติตวั น้ีเป็นเรือขา้ ม
ฟากไปพระนิพพาน
ถา้ เจตนาไปตง้ั สติดกั รอดูจิตหรือไปเร่งสติ อนั น้ีหลงเอา
ขนั ธห์ า้ มาปรุงแต่งเป็นสติตามความอยาก มนั เป็นอวชิ ชา กิเลส
ตณั หา... และทุกข์ในวงจรปฏจิ จสมปุ บาท ไม่ใช่สติท่เี ป็นขนั ธห์ า้
เม่ือหลงปรุงแต่งเป็นสติเสียก่อนแลว้ ก็จะไม่มีสติมารูเ้ ท่าทนั
ความหลงของตวั เราเอง ในขณะท่หี ลงปรุงแต่งสติอยู่น้ีถา้ มสี ติรู ้
เท่าทนั อย่างน้ีจึงเป็นสติตวั จริงท่เี ป็นขนั ธห์ า้ ซ่ึง “สติ” “สมาธิ”
“ปญั ญา” ในขนั ธห์ า้ หรือแมแ้ ต่ขนั ธห์ า้ ก็ยงั เป็ นสงั ขารหรือ
ธรรมชาตฝิ ่ ายปรุงแต่ง ตกอยู่ใตก้ ฎอนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา ดงั น้นั

33

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

เม่ือหลงยึดถือว่าตวั เราเป็ นผูม้ ีสติรูส้ กึ ตวั มีความรูค้ วามเขา้ ใจ
เก่ง จงึ หลงยึดถือเอาขนั ธห์ า้ ว่าเป็ นตวั เรา
ถา้ หลงปรุงแต่งเป็นตวั เราแลว้ เอาตวั เราเขา้ ไปดูจิต หรือ
ปรุงแต่งสติคอยไปดกั รูเ้ ท่าทนั จิตหรือความคิดไว ้ กรณีน้ีเป็น
ความหลง ซ่งึ ก็เป็นเช่นเดยี วกบั การหลงปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้
เอาตวั เราไปคิดปรุงแต่งยดึ ถอื หลงหมกม่นุ ครุ่นคิด คิดหมกม่นุ
ด้นิ รน คน้ หา พยายามทำ� อะไรจะใหเ้ ป็นอะไร ก็เป็นความหลง
ทงั้ หมด
ถา้ ตวั เองหลงเสียเอง ก็จะไม่มีสติปญั ญารูเ้ ท่าทนั ความ
หลงของตวั เอง ต่อเมอ่ื มผี ู้รูม้ าช้ีใหเ้ หน็ ขณะจิตท่หี ลง ก็จะมสี ติ
ปญั ญาเห็นความหลงของตนเอง และรูเ้ ท่าทนั ทุกขณะจิตท่หี ลง
ในขณะปจั จุบนั ได้ สติปญั ญาในขนั ธห์ า้ น้ีจะเกิดข้นึ มาเห็นหรือ
รูเ้ ท่าทนั ขณะจิตท่ีหลงปรุงแต่งท่ีเป็นอวิชชา กิเลส ตณั หา...
ซ่งึ เป็นเหตุใหเ้ กิดทุกข์ โดยสติปญั ญาจะรูเ้ ท่าทนั ขณะจิตท่หี ลง
ปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ หลงเอาตวั เราไปยดึ ถอื ไปหมกมนุ่ ครุ่นคดิ
คิดหมกมุ่น ด้ินรน คน้ หา พยายามทำ� อะไรจะใหเ้ ป็นอะไร
พยายามจะดูจติ พยายามจะรูเ้ ท่าทนั พยายามทำ� ความรสู้ กึ ตวั ไว ้

34

สติ สมาธิ ปัญญา : จบซะที

“สติ”
“สติ” ในขนั ธห์ า้ ในขน้ั ของวปิ สั สนา มี ๒ ขนั้ ตอน คือ
๑. “สติ” ขน้ั หลงแลว้ รู้ เป็ นสติปญั ญารูเ้ ท่าทนั ขณะจิต
ท่ีหลงเอาตวั เราไปคิดปรุงแต่ง จิตหลงคิดปรุงแต่งเรียกว่า
“หลงสงั ขาร” คือ หลงปรุงแต่งเป็นความรูส้ กึ ว่ามตี วั เราเป็นตวั
เป็นตนอยู่จริงๆ จงั ๆ โดยไม่เห็นว่าเป็นสมมตุ ิ คือเป็นอนิจจงั
ทุกขงั อนตั ตา แลว้ หลงเอาตวั เราไปคิดหรือปรุงแต่งเป็นอาการ
ต่างๆ เช่น เอาตวั เราไปหมกม่นุ ครุ่นคิด ด้ินรน คน้ หาธรรม
เอาตวั เราไปพยายามท่ีจะทำ� อะไรเพ่ือใหเ้ ป็นอะไร หรือหลง
ปรุงแต่งเป็นตวั เราแลว้ เอาตวั เราไปยึดถือส่ิงต่างๆ หรือหลง
ปรุงแต่งส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั รูป เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั และ
ธรรมารมณ์ท่ถี ูกรู้ ในขณะปจั จุบนั
สรุป - สติในขน้ั น้ีเป็ นสติรูเ้ ท่าทนั ความหลง
๒. “สติ” ในขน้ั ท่ีไม่หลงแลว้ เป็นสติปญั ญาท่ีมาสงั เกต
เห็นขนั ธ์หา้ คือ รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณ
เป็นสงั ขารหรือส่งิ ปรุงแต่งทง้ั หมด เป็นอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา
เป็นเพียงสมมุติ ไม่ควรหลงยึดมนั่ ถือมนั่ ว่าขนั ธ์หา้ เป็นเรา
เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือตวั เราเป็นขนั ธ์หา้ จนใจ
ยอมรบั ตามความเป็นจริง แลว้ ปลอ่ ยวางความหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ า้

35

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

วางจนถงึ วญิ ญาณขนั ธ์ สติขน้ั น้ีเป็ นขน้ั “สกั แต่ว่ารู”้ คอื สกั แต่วา่
รูข้ นั ธ์หา้ ไม่มีความหลงในรูเ้ พราะส้ินอวิชชา กิเลส ตณั หา
อุปาทาน และความทุกข์ ก็เป็นนิพพาน
การปฏิบตั ิท่ีกล่าวมาแลว้ เรียกว่า “วิปสั สนา” คือรูแ้ จง้
ในสจั ธรรมความจริง จนใจยอมรบั ตามความเป็นจริง ส้นิ หลง
ยดึ มนั่ ถอื มนั่
ก่อนจะเป็นวิปสั สนา ใจตอ้ งมี “สมาธิ” คือความสงบ
ซ่ึงเรียกว่า “สมถะ” เพ่ือท่ีจะเป็นฐานใหส้ ติปญั ญาสงั เกตเห็น
สจั ธรรมความจริงของขนั ธห์ า้ ไดอ้ ย่างต่อเน่ือง โดยไม่หลงคิด
ปรุงแต่งฟ้ ุงซ่านไปเสยี

“สมาธิ”
“สมาธิ” มสี องระดบั คือ
๑. “สมาธิ” ในขน้ั สมถะ คือขน้ั ฝึ ก “สติ” ควบคุมจิต
ใหอ้ ยู่กบั เคร่ืองล่อ เช่น คำ� บริกรรมว่า “พทุ โธ” หรือลมหายใจ
เขา้ ออกอย่างต่อเน่ืองจนสติไม่ขาด คือ ไม่หลงเหม่อเผลอเพลนิ
คิดปรุงแต่งหรือหลงเอาจติ ไปอยู่กบั อะไร เมอ่ื ฝึกจนมสี ติรสู้ กึ ตวั
อย่างต่อเนอ่ื งไม่ขาดสาย จติ ก็จะรวมเป็นหน่ึงเดยี วกบั เคร่ืองลอ่

36

สติ สมาธิ ปัญญา : จบซะที

เกิดอารมณ์สมาธิ มคี วามสงบระงบั มากย่ิงๆ ข้นึ ไปตามลำ� ดบั
แต่เมอ่ื มอี ารมณ์สมาธิ ก็อาจจะมาหลงอยู่ในอารมณ์สมาธิภายใน
เช่น ความสงบจนถงึ ความสงบระดบั อารมณ์ฌาน ท่เี ป็นอารมณ์
ปีติ สุข อุเบกขา ซ่งึ ลว้ นแต่เป็นธรรมารมณ์ เป็นความหลงอย่าง
ละเอยี ด สมาธิขน้ั น้ีจะสงบไปถงึ ระดบั ใดก็ตอ้ งถอนออกมา
จงั หวะน้ีก็จะเร่มิ คิดปรุงแต่ง ถา้ มสี ตปิ ญั ญาในขน้ั วปิ สั สนา
ก็จะเร่ิมเห็นจิตหรือวิญญาณขนั ธท์ ่ีทำ� หนา้ ท่ีร่วมกบั เจตสิกคือ
เวทนา สญั ญา สงั ขาร แลว้ ส่งต่อจิตหรือวญิ ญาณขนั ธต์ วั ใหม่ๆ
ต่อๆ ไป ซ่งึ แต่ละตวั จะเกิดดบั เร็วมาก และจะมคี วามรสู้ กึ ว่าตวั
เราเป็นผูร้ ู ้ แลว้ คิดตรึกตรองเหมอื นพากษ์ (วพิ ากษ)์ หรือพูดอยู่
ในใจตลอดเวลา หรือเหมอื นกบั มอี าการยุกๆ ยกิ ๆ อยู่ในใจซ่งึ
จะดบั เขาก็ไม่ไดเ้ พราะเขาเป็นขนั ธห์ า้ ซ่งึ เป็นชีวติ ก็ไม่ตอ้ งไปไล่
ดบั เขา ไม่ตอ้ งไปรำ� คาญเขา
ความสงบในอารมณ์สมาธิระดบั ใดก็ตอ้ งถอนออกมา
เพราะอารมณ์สมาธิก็ตกอยู่ใตก้ ฎอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา เม่อื
อารมณ์สมาธิถอนออกมาแลว้ ไม่ใช่หลงเขา้ ใจผิดว่าจะไล่ดบั
ความคิดใหห้ มด เพ่ือจะเขา้ สู่อารมณ์สมาธิตามเดิมอีก จะ
พยายามไล่ดบั ความคิดเพ่อื จะเขา้ อารมณ์สมาธิอย่างเดิมไม่ได้
นอกจากว่าเร่ิมตน้ ทำ� เหตุให้จิตใจมเี คร่ืองล่อใหม่ หรือผูม้ คี วาม
ชำ� นาญจะนอ้ มเอาอารมณ์ปีติข้นึ มาเป็นเคร่ืองล่อจิตเลย แต่ทำ�

37

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

อย่างน้ีมนั เสียเวลาไปเปล่าๆ อาจตายไปก่อนโดยท่ียงั ไม่ข้ึน
วปิ สั สนาเลย ท่ีถูกคือในขณะอยู่ในอารมณ์สมาธิในแต่ละครง้ั
อย่ารบกวนเขา เมอ่ื เขาถอนออกมาจากอารมณ์สมาธิแต่ละครงั้
จะมีก�ำลงั จิตดีมาก เหมือนกบั ไดน้ อนพกั หลบั มาสนิทดีแลว้
ก็ใหท้ ำ� วปิ สั สนาต่อเลยทนั ทอี ย่างต่อเน่ืองทงั้ วนั
๒. “สมาธิ” ท่ีเกิดจากการมี “สติ” ในข้ันวิปัสสนา
คือ ถา้ ...

“สติขาด สมาธิขาด ปญั ญาขาด ธรรมขาด... เป็ นทุกข์
สติหาย สมาธิหาย ปญั ญาหาย ธรรมหาย... เป็ นทุกข์

สติมี สมาธิมี ปญั ญามี ธรรมมี... ไม่ทุกข์
สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปญั ญา

เป็ นพระนิพพาน... พน้ ทุกข”์

“ปญั ญา”
“ปญั ญา” จะสมั พนั ธก์ นั กบั สติและสมาธิ ตง้ั แต่ขน้ั สมถะ
และวปิ สั สนา พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงปญั ญาไวถ้ งึ สามระดบั
๑. “สุตมยปญั ญา” คือปญั ญาท่ีสำ� เร็จไดด้ ว้ ยการฟงั
การอ่านซำ�้ แลว้ ซำ�้ เล่าจนเขา้ ใจ มพี ้นื ความรูท้ ่ถี ูกตอ้ งแม่นยำ�

38

สติ สมาธิ ปัญญา : จบซะที

เป็ นปัญญาท่ีสามารถมีไดจ้ ากการเรียนรูจ้ ากการอ่าน
การฟัง เรียกว่าปริยตั ิ เป็ นปญั ญาท่ีเป็ นมรรคแรกในองคม์ รรค
ทง้ั แปดคือ “สมั มาทิฏฐิ” นนั่ คือตอ้ งรูท้ างท่ีถูกตอ้ งดว้ ยใจให้
แจ่มชดั รูช้ ดั ว่าทางไม่ผิดแน่นอน แมก้ ารเดินทางจะยงั ไม่ถึง
ท่หี มายก็ตาม เมอ่ื มสี มั มาทฏิ ฐเิ ป็นปญั ญานำ� ทางแลว้ สมั มาสติ
ก็เกิดข้ึน มีความเพียรชอบ เพียรละ เพียรปล่อย เพียรวาง
มที ุกอย่างชอบหมด มสี ติรูช้ อบ ไม่ใช่สติรูแ้ ช่
เขา้ ใจหลกั ธรรมชาตขิ องกายใจว่า มธี รรมชาตฝิ ่ายปรุงแต่ง
หรือสงั ขาร และฝ่ายไม่ปรุงแต่งหรือวสิ งั ขาร ไม่มฝี ่ายไหนเลยท่ี
เป็นตวั เรา ขนั ธห์ า้ ลว้ นเป็นสงั ขาร ขนั ธห์ า้ ไม่ใช่กเิ ลส ขนั ธห์ า้ ไม่ใช่
นิพพาน ความทุกขเ์ กิดจากการหลงไปยดึ ถอื ในขนั ธห์ า้ หรือเอา
ขนั ธห์ า้ ไปยดึ อะไร
การเดนิ ทางเพอ่ื การพน้ ทกุ ขต์ อ้ งมปี ญั ญาเขา้ ใจในอรยิ สจั ส่ี
ของจิตอย่างแจ่มชดั เพ่ือการปฏิบตั ิท่ีถูกตอ้ งในปญั ญาระดบั
ต่อไป

“จติ ท่ีส่งออกนอก... เป็ นสมทุ ยั
ผลจากการท่ีจติ ส่งออก... เป็ นทุกข์
จติ เห็นจติ อย่างแจ่มแจง้ ... เป็ นมรรค
ผลจากการท่ีจติ เห็นจติ อย่างแจ่มแจง้ ... เป็ นนิโรธ”

39

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

๒. “จินตามยปญั ญา” เป็ นปญั ญาในระดบั ท่ีน�ำความรู้
ความเขา้ ใจท่ีไดฟ้ ังไดอ้ า่ นมาอย่างถ่องแทแ้ ลว้ มากดั ติดจดจ่อ
วิเคราะหว์ ิจยั ม่งุ เขา้ สู่เสน้ ทาง นำ� ความรูจ้ ากการท่ไี ดฟ้ งั มามาก
อ่านมามาก ในขน้ั ปริยตั ิมาปฏบิ ตั ิใหเ้ กิดผลเป็นปฏเิ วธต่อไป
โดยใชส้ มั มาสติเป็นแม่ทพั ใหส้ ติตง้ั ท่ีใจ ดูท่ีใจ รูท้ ่ีใจ
ละท่ีใจ ปล่อยวางท่ีใจ
เมอ่ื ค่อยๆ แยกจิตกบั อารมณ์ไดแ้ ลว้ จะมปี ญั ญารูเ้ ท่าทนั
ว่าจิตหลงไปกบั อารมณ์หรือไม่ ตอ้ งเห็นจิตรูจ้ กั จิต จึงสามารถ
เดนิ มรรค คือจิตเหน็ จิตอย่างแจ่มแจง้ ได้
ตอ้ งพบผู้รู้ให้ไดจ้ ริงก่อน จึงฆ่าหรือทำ� ลายหรือปล่อยวาง
ผรู้ ไู้ ด้
เพียรสงั เกตเห็นจิตหรือวิญญาณขนั ธท์ ่ีทำ� หนา้ ท่ีร่วมกบั
เจตสกิ คือ เวทนา สญั ญา สงั ขาร แลว้ ส่งต่อจติ หรือวญิ ญาณขนั ธ์
ตวั ใหม่ๆ ต่อๆ ไป ซ่งึ แต่ละตวั จะเกิดดบั เร็วมาก และจะมคี วาม
รสู้ กึ ว่าตวั เราเป็นผูร้ ู ้ แลว้ คิดตรึกตรองเหมอื นพากษห์ รือพูดอยู่
ในใจตลอดเวลา หรือเหมอื นกบั มอี าการยุกยกิ ยุกยกิ ยุกยกิ ...
อยู่ในใจ จะรู้ ไดว้ ่า จิตปจั จุบนั เคลอ่ื นไหวตลอด
ในกรณีท่เี รารู้สกึ ลงั เลว่า เราไม่เห็นตวั รูต้ วั บ่นตวั พากษน์ ้ี
ในใจเรา เราตอ้ งมปี ญั ญาหนั กลบั มารูท้ นั ว่า จริงๆ แลว้ เราเหน็

40

สติ สมาธิ ปัญญา : จบซะที

และเรารูอ้ ยู่แลว้ นะ เพราะตวั ท่ไี ปรูว้ ่าเรากำ� ลงั ลงั เลสงสยั ว่าตวั
เราไม่เหน็ นนั่ แหละ คือตวั รูต้ วั ใหม่ท่มี าทำ� ใหเ้ รารูไ้ ดว้ ่าเราลงั เล
อย่าด้นิ รนเอาขนั ธห์ า้ ไปรู ้ ไปอยากรู ้ ไปพยายามรูเ้ ท่าทนั
อย่าเอาตวั เราไปเป็นตวั รู้ยนื พ้นื ดูอยู่
ปลอ่ ยวางทกุ อย่างใหผ้ ่านไปดว้ ยความเขา้ ใจ ปลอ่ ยวางสง่ิ ท่ี
ถูกรูแ้ ละผูร้ ูต้ วั ใหม่เร่ือยไป อย่าเอาผ้รู ้ไู ปทำ� กริยาปล่อยวาง แต่
ใหป้ ล่อยวางผูร้ ูน้ นั่ เอง
เรากำ� ลงั ปฏบิ ตั ิบนมรรค คือ จิตเห็นจิต (วญิ ญาณขนั ธ)์
อย่างแจ่มแจง้ อยู่แลว้ ดว้ ยการมสี ติตง้ั ท่ใี จ มสี ติอยู่กบั รู ้ เมอ่ื ไร
ก็ตามท่หี ลงไปดูความคิดหรือเวทนาจบลงเป็นเร่ืองๆ ได้ นนั่ คือ
การหลงส่งจิตออกนอกอยู่ หรือสติไม่ไดต้ งั้ อยู่ท่ใี จ แต่ไหลไป
นอกเร่ืองราวท่กี ำ� ลงั ทำ� กำ� ลงั คิดอยู่ นนั่ ก็คือการส่งจิตออกนอก
เช่นกนั
ไม่ปฏิบตั ิตามมรรค ไม่มีปญั ญาพาพน้ ทุกข์
รูต้ วั เราทไ่ี ปรูอ้ ารมณ์ ไม่ใช่ไหลไปกบั ความคิดหรืออารมณ์
ทถ่ี กู รู ้เส้ยี ววนิ าทเี ดยี วทไ่ี มเ่ หน็ ภายในใจพูดอยู่คนเดยี ว แสดงวา่
หลงแลว้ หลงไปแช่ติดกบั เวทนา เช่น ความรูส้ กึ โปร่ง โล่ง เบา
สบาย น่ิง ว่าง เฉย หรือมวั แต่หลงไปปรบั แต่ง ด้นิ รนผลกั ไส
ทุกขเวทนา คืออาการท่ีตรงกนั ขา้ ม หรือหลงไปกบั เร่ืองท่ีคิด

41

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

หรือส่งิ ท่คี ิดไปถงึ ซ่งึ เป็นธรรมารมณ์ ความหลงเช่นน้ีเป็นสมทุ ยั
ซ่งึ เป็นเหตุใหเ้ กิดทุกข์ หรือไม่พน้ ทุกข์
ย่งิ ปล่อยย่งิ รู ้ ย่งิ รูย้ ่งิ ปล่อย จนลงแก่ใจ แจง้ แก่ใจ ปล่อย
วางผู้รู้ไดท้ ง้ั หมด ก็จะพบใจหรือจิตเดิมแท้ไม่เคล่ือนไหว
แต่อาการของใจเคลอ่ื นไหวเกิดดบั รวดเร็วตลอดเวลา ก็จะเป็น
ภาวนามยปญั ญา หรือเป็นปฏิเวธ คือส้ินตวั ตนของผู้ยึดมนั่
ถอื มนั่ ก็ส้นิ กิเลส พน้ ทุกข์ นิพพาน
ปล่อยวางตลอดเวลา รู้จิตปจั จุบนั ปล่อยวางจิตปจั จุบนั
ไม่หลงอดตี ไม่หลงอนาคต ไม่มผี ยู้ ดึ ถอื ไม่มตี วั เราท่จี ะไปเอา
ไปเป็นอะไร ไดแ้ ต่แค่รจู้ ติ ปจั จุบนั อยู่กบั ผูร้ ู ้ ไม่ไปอยู่กบั อารมณ์
หรือส่งิ ท่ถี ูกรู ้ ไม่พยายามดูหรือพยายามไปรูอ้ ะไร ผู้รู้ท่เี ป็นใจ
หรือจิตเดิมแท้คิดหรือปรุงแต่งไม่ได้ สงบแทแ้ ยกจากการ
ปรุงแต่ง มปี ญั ญาว่างจากการปรุงแต่ง ไม่มตี วั ตนผู้ยึดถอื จึง
เป็นความสงบ เป็นความสุขทส่ี ้นิ ความยดึ มนั่ ถอื มนั่ อยู่กบั พทุ ธะ
ท่เี ป็นผูร้ ู ้ (รูแ้ จง้ ) ผูต้ ่ืน (ต่ืนจากความหลง) ผูเ้ บกิ บาน (ไม่ยดึ
ส่งิ ใดใหเ้ ศรา้ หมองอกี ต่อไป)
๓. “ภาวนามยปญั ญา” ใชค้ ู่กบั สติตอนท่ีไม่หลงส่งจิต
ออกนอกแลว้ ตอนท่ีใจสงบร่มเยน็ ปญั ญาท่เี หน็ ว่าอาการของใจ
ลว้ นเป็นขนั ธ์หา้ ทง้ั หมดลว้ นเป็นส่ิงปรุงแต่ง มีใจเท่านนั้ ท่ี

42

สติ สมาธิ ปัญญา : จบซะที

ไมป่ รุงแต่ง ปญั ญารูแ้ จง้ เขา้ ไปถงึ ใจท่ไี ม่ปรุงแต่ง เป็ นปญั ญาแหง่
การปล่อยวางความหลงยึดมนั่ ถอื มนั่ ทง้ั ส่งิ ท่ีปรุงแต่งคือขนั ธห์ า้
และส่ิงท่ีไม่ปรุงแต่งคือใจหรือจิตเดิมแท้ ซ่ึงเป็นความว่างท่ี
ปราศจากความปรุงแต่งในนนั้ เป็นปฏเิ วธ เป็นผลจากการปฏบิ ตั ิ
ปล่อยวางทุกส่งิ ท่มี ี ก็จะเหลอื ความว่าง
ถา้ ไม่มใี ครไปยดึ ถอื ในความมี ใจก็จะว่าง
ถา้ เอาตวั เราไปรูล้ ะ ปล่อยวาง ก็ไม่ว่าง
แมเ้ กิดการปรุงแต่งข้ึน ก็ไม่ยึดการปรุงแต่ง ปรุงก็ปรุง
ต่อไปในความว่าง ไม่มตี วั เราไปเล่นกบั การปรุงแต่ง ก็เลยว่าง
ไม่ตอ้ งทำ� อะไรมากไปกว่าการเปิดม่านอวชิ ชาออก
มา่ นแห่งการยดึ ถอื ไมย่ ดึ วางไว ้เมอ่ื ปลอ่ ยความมจี นหมด
จะไม่มแี มแ้ ต่ใครท่จี ะมายดึ ความว่าง แมแ้ ต่ความรสู้ กึ ตวั ท่มี อี ยู่
ก็ไม่ยดึ
รู้จิตปัจจุบนั ละจิตปัจจุบนั ก็จะละอดีต ละอนาคต
ละอารมณ์ทงั้ หมดไปดว้ ย รซู้ ่อื ๆ
ส้ินกิเลส ส้ินความหลงไปหาอารมณ์ท่ีถูกรู ้ ส้ินทุกข์
ดว้ ยปญั ญา

43

“ อารมณ์มีอยู่
แต่ไม่มีตัวเราไปยึด

รู้สักแต่ว่ารู้

สงบก็เอา ไม่สงบก็เอา
เอามันทั้งนั้นแหละ ”

จบซะที



ล่อไว้ให้เห็นตัวเราพากษ์

“สติตง้ั ท่ีใจ รู้ท่ีใจ สงั เกตท่ีใจ ละท่ีใจ ปล่อยวางท่ีใจ”
“รูท้ ุกคิดไม่ติดไป จติ เป็ นอย่างไรไดแ้ ต่รู้
ไม่หนีไม่สู้ แค่รูอ้ ยู่ท่ีใจ”
“ไม่หลงคิด ไม่หลงเอาตวั เราไปคิด
แต่รูว้ ่าตวั เราคิดอะไร รูต้ รงผูร้ ู”้

แต่ถา้ ไม่สามารถมสี ติตง้ั ท่ีใจ รู้ท่ีใจ สงั เกตท่ีใจ ละท่ีใจ
ปล่อยวางท่ใี จได้ คือปฏบิ ตั ิไม่เป็น รู้ไม่เป็น โดยมวั แต่ไปอยู่กบั
อารมณ์ท่ถี ูกรู ้ ไดแ้ ก่ รูป เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั และธรรมารมณ์
คือ เวทนา สญั ญา และสงั ขาร โดยสติไม่ไดส้ งั เกตเหน็ จิตหรือ
วญิ ญาณขนั ธซ์ ง่ึ เป็นผูร้ ู ้เมอ่ื รูอ้ ารมณ์ใดเราไมไ่ ดส้ งั เกตเหน็ ตวั เรา

45

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

คดิ นกึ ตรกึ ตรอง ปรงุ แต่ง ซง่ึ แทท้ จ่ี รงิ ไมไ่ ดเ้ป็นตวั ตนของเราจรงิ ๆ
แต่เป็นจิตหรือวญิ ญาณขนั ธ์ ท่ที ำ� งานร่วมกบั เจตสกิ คือ เวทนา
สญั ญา สงั ขาร ทำ� หนา้ ท่คี ิด นึก ตรึกตรอง ปรุงแต่ง วติ กวจิ ารณ์
เหมอื นพูดอยู่กบั ตวั เอง ปรึกษากบั ตวั เอง ประมวลผล ทำ� ท่า
ทำ� ท่า ทำ� ท่า... พยายามจะดูจะรู ้ พยายามจะทำ� อะไรเพ่อื ใหเ้ ป็น
อะไร พยายาม พยายาม พยายาม... เมอ่ื ไม่รู ้ไม่เหน็ ไม่ปลอ่ ยวาง
ตวั เราตลอดเวลา ก็จะหลงยึดถอื ว่าขนั ธห์ า้ เป็นเรา เป็นตวั เรา
เป็นตวั ตนของเรา หรอื ตวั เราเป็นขนั ธห์ า้ แลว้ หลงเอาตวั เราไปคิด
ไปปรุงแต่ง หลงคิดไปเร่อื ยๆ..... แลว้ เอาตวั เราไปหลงรกั หลงชงั
หลงยึดติดยึดถอื คนต่างๆ หรือส่ิงต่างๆ จนเป็นกิเลส ตณั หา
และความทุกข์
ถา้ ไม่มสี ติตง้ั ท่ใี จ รูท้ ่ใี จ สงั เกตท่ใี จ ละท่ใี จ ปล่อยวางท่ใี จ
ตลอดเวลา โดยมวั แต่ส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั อารมณ์ท่ีถูกรู ้
ก็ตอ้ งมวี ธิ ีแก้ คือไม่ว่าจะเดนิ ยนื นงั่ นอน ด่มื กิน นงั่ สมาธิ
หรือเดินจงกรม หรือทำ� กิจกรรมการงานใดตอ้ งมีค�ำบริกรรม
เช่น พทุ โธ เป็ นเคร่อื งล่อไว้ ใหม้ ีสติ สมั ปชญั ญะ มีความรสู้ กึ ตวั
ทวั่ พรอ้ มอยู่กบั กิจการงานท่ีทำ� ในขณะปจั จุบนั เพ่ือไม่ใหเ้ กิด
ความผดิ พลาด แลว้ ใหส้ งั เกตเหน็ ตวั เราผูบ้ รกิ รรม “พทุ โธ” อยู่น้วี า่
คิดตรึกตรองหรือวติ กวจิ ารณ์อะไร บ่นอะไร พากษ์ (วพิ ากษ)์
อะไรอยู่ในใจ หรือทำ� ท่าแสดงกริยาอาการต่างๆ อยู่ตลอดเวลา

46

ลอ่ ไว้ให้เหน็ ตวั เราพากย์ : จบซะที

แค่รูห้ รือสกั แต่ว่ารู ้ หรือปล่อยวาง โดยขอใหม้ สี ติ สมั ปชญั ญะ
ความรูส้ ึกตวั ทวั่ พรอ้ มอยู่กับกิจการงานท่ีท�ำอยู่ในทุกขณะ
ปจั จบุ นั และอย่าท้งิ เคร่อื งลอ่ แลว้ จะสงั เกตเหน็ ตวั เราผูบ้ รกิ รรม
พทุ โธ หรือผทู้ ่ีไปรูเ้ คร่ืองล่อคิด ตรึกตรอง ปรุงแต่ง พูด พากษ์
ทำ� ท่า ทำ� ท่า... พยายามจะ... แสดงกรยิ าอาการต่างๆ ตลอดเวลา
จะใชค้ �ำบริกรรมหรือเคร่ืองล่อใดมาเป็นเคร่ืองล่อก็ได้
ขอแค่เอามาลอ่ ไว ้แลว้ ผลคือจติ ไม่ฟ้งุ ซ่านก็ถอื ว่าใชไ้ ดท้ ง้ั นนั้ แต่
มขี อ้ แมส้ ำ� คญั ว่า ตอ้ งมีความรู้สึกตวั ทวั่ พรอ้ มอยู่ตลอดเวลาว่า
ก�ำลงั ท�ำอะไรอยู่ในขณะปจั จุบนั เพราะตอ้ งระวงั อนั ตรายจาก
อุบตั ิเหตุ หรืออาจทำ� ใหเ้ กิดความผิดพลาดในกิจการงาน การ
บริกรรมระหว่างท่ีทำ� กิจวตั รหรืองานท่ีมีความเส่ียงอาจจะเกิด
อบุ ตั ิเหตุไดถ้ า้ เกิดจติ รวมข้นึ มา จติ กบั ผูร้ ูร้ วมเป็นหน่ึงเหลอื แต่รู ้
เรียกว่าเอกคั คตาจิต เหลือแต่จิตสว่างเจิดจา้ อยู่ขา้ งในแต่ไม่
รู้สึกตวั ซ่ึงอาจเกิดอุบตั ิเหตุได้ เพราะฉะนน้ั สำ� คญั มากนะ คือ
ตอ้ งต่ืนรูอ้ ยู่ในปจั จุบนั ว่าตนเองกำ� ลงั ทำ� อะไรอยู่ โดยเฉพาะ
บางคนท่ีมีวาสนาบารมีดา้ นน้ีมาก่อน คือเคยปฏิบตั ิสมาธิได้
อารมณ์ปีติ สุข อุเบกขา ไดอ้ ารมณ์ฌานมาก่อนในอดีตชาติ
จิตจะรวมไดง้ ่าย แต่ถา้ ยดึ อารมณ์ฌานนนั้ ก็จะเป็นการปฏบิ ตั ิ
ในฌานฤาษที ่มี มี าก่อนพระพทุ ธเจา้ ประสูติ เลยไม่เป็นวปิ สั สนา
คือ สกั แต่ว่ารูห้ รือปล่อยวาง

47

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

แต่ถา้ จติ จะรวมในตอนท่เี ราไม่ไดท้ ำ� กิจวตั รอะไรท่มี คี วาม
เส่ียงต่อการเกิดอุบตั ิเหตุ ก็ปล่อยใหร้ วมไปเลย อย่าไปย้ือนะ
ตอ้ งปล่อยขาด ตกบนั ไดพลอยโจนไปเลย ก็แค่รู ้ อย่าปล่อย
ใหฟ้ ุ้งซ่านขดั ขืนต่ืนเตน้ อะไร สติไปรวมอยู่ในนนั้ แยกไม่ออก
ระหว่างจิตกบั ผูร้ ู ้ มสี ติควบคุมจิตไว ้สกั แต่ว่ารู ้ ไม่ต่ืนเตน้ ตกใจ
อย่าไปหลงนิมติ ท่อี าจเกิดข้นึ อาจเป็นบา้ ได้ ผูท้ ่มี วี าสนาบารมี
เคยจิตรวมแบบน้ี ตอ้ งมคี รูอาจารยท์ ่แี ม่นจิตคอยช้ีแนะ
ยำ�้ อีกทีว่า ตอ้ งมีสติ สมั ปชญั ญะ คือรูส้ ึกตวั ทวั่ พรอ้ ม
ว่าก�ำลงั ท�ำอะไรอยู่ในขณะปจั จุบนั และรูต้ วั ว่าก�ำลงั พุทโธอยู่
พรอ้ มกบั สงั เกตท่ีตวั เราผูบ้ ริกรรมพทุ โธ คิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง
เอาอารมณ์ท่ีถูกรูม้ าพากษ์ หรือพูด หรือท�ำท่า หรือพยายาม
อะไรอยู่ในใจ ก็สกั แต่ว่ารูห้ รือปล่อยวางตลอดเวลา เท่ากบั ละ
อุปาทานขนั ธห์ า้ ปล่อยวางถงึ จติ หรือวญิ ญาณขนั ธซ์ ่งึ ทำ� งานร่วม
กบั เจตสกิ คือ เวทนา สญั ญา และสงั ขาร
การปฏิบตั ิเพ่ือละอุปาทานขนั ธห์ า้ ใหม้ ีตวั ล่อจิตไวก้ ่อน
เพราะบางคนท่ีไม่รูจ้ ริง คิดว่าตวั เองรูอ้ ยู่ แต่ท่ีแทแ้ ค่คิดเอา
คิดไปเร่ือยไม่รูว้ ่าตวั เองฟุ้งซ่าน โดยรูเ้ ร่ืองท่คี ิดทุกเร่ืองแต่ไม่รู ้
ตวั เราท่กี ำ� ลงั คิด แยกไม่ออกระหว่างรู้จิตท่คี ิดกบั เอาจิตไปคิด
หรือสงั เกตไม่ออกว่ารูต้ วั เราท่กี ำ� ลงั คิดหรือหลงเอาตวั เราไปคิด
ไม่เหมือนกนั นะ ต่างกนั ราวฟ้ ากบั ดิน ถา้ เราหลงเอาขนั ธ์หา้

48

ลอ่ ไว้ให้เหน็ ตวั เราพากย์ : จบซะที

ปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ เอาตวั เราไปคิดไปปรุงแต่ง อนั น้ีคือหลง
ยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ เป็นตวั เป็นตน เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา
หรือตวั เราเป็นขนั ธห์ า้ แลว้ หลงมตี วั เรา แลว้ เอาตวั เราไปคิด 
ไปพูดเพอ้ เจอ้ ไปฟุ้งซ่าน
วธิ แี กก้ ารหลงยดึ แบบน้ี ตอ้ งมเี คร่อื งลอ่ ไวใ้ หม้ คี วามรสู้ กึ ตวั
เต็มรอ้ ยอยู่กบั เคร่ืองล่อ แลว้ ก็สงั เกตท่ีจิตหรือวิญญาณขนั ธ์
ซง่ึ ทำ� หนา้ ทร่ี ่วมกบั เจตสกิ คอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร โดยจะเหน็ วา่
มตี วั เราเป็นผ้คู ิดตรึกตรอง ปรุงแต่ง พูดอะไรๆ อยู่ในใจตลอด
เวลา ถา้ สกั แต่ว่ารู ้ หรือปล่อยวางตวั เราท่คี ิดตรึกตรองปรุงแต่ง
ก็เท่ากบั ปล่อยวางขนั ธห์ า้ ท่ีหลงยึดถือเป็นตวั เรา จะได้ไม่หลง
ยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ ว่าเป็นเรา เป็นตวั เรา หรือเป็นตวั ตนของเรา หรือ
ตวั เราเป็นขนั ธห์ า้ แลว้ เอาตวั เราไปหลงคิด หลงปรุงแต่ง
ผูท้ ่ีปฏิบตั ิดูจิตแต่หลงคิดเน่ียเยอะมาก แต่เขา้ ใจผิดว่า
ตนเองกำ� ลงั ดูจิตอยู่
ดูจิตท่ีถูกตอ้ ง คือการดูจิตหรือวิญญาณขนั ธ์ ท่ีทำ� งาน
ร่วมกบั เจตสกิ เพ่อื ปล่อยวางความหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ ไม่ใช่หลง
เอาขนั ธห์ า้ มาปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ หลงเอาตวั เราไปดูจิตหรือ
ดูความคิด หรือหลงคิดปรุงแต่งไปเป็นเร่ืองๆ

49


Click to View FlipBook Version