“ สติขาด สมาธิขาด ปัญญาขาด
ธรรมขาด... เป็นทุกข์
สติมี สมาธิมี ปัญญามี
ธรรมมี... ไม่ทุกข์
สติเป็นมหาสติ เป็นมหาสมาธิ
เป็นมหาปัญญา
เป็นพระนิพพาน... พ้นทุกข์ ”
จบซะที
๔
เราเป็นคนรู้นี่แหละจิต
หลายคนอาจจะสงสยั ว่า เวลาท่ีเรามีอารมณ์แรงๆ เช่น
“เวลาท่เี ราโกรธหรือโมโหข้นึ มาจะใหป้ ฏบิ ตั ิอย่างไร?” คำ� ถามน้ี
ตอบได้ ๒ แบบ ข้นึ กบั ว่าท่านนนั้ ปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั ใด
สำ� หรบั ผู้ท่เี ร่ิมตน้ ปฏบิ ตั ิใหม่หรือผู้ท่ไี ม่เคยปฏบิ ตั ิมาก่อน
เป็นปกตธิ รรมดาทจ่ี ะไม่รูเ้ ท่าทนั อารมณ์ทำ� ใหห้ ลงปรุงแต่งเขา้ ไป
ร่วมกบั อารมณ์นนั้ ๆ ไดง้ ่าย เวลาถูกกระทบแรงๆ ก็ไปตาม
อารมณน์ นั้ ๆ ทเ่ี รามกั เขา้ ใจงา่ ยๆ ภาษาชาวบา้ นวา่ “ของข้นึ ” ซง่ึ ใน
ขณะนน้ั เราจะมารู้จิตอยู่ไม่ได้ เพราะอารมณ์มาปิดบงั มาข่ม
หมดแลว้ ทำ� ให้ไม่เหน็ จิตคิดอะไร มนั ไม่ทนั เหมอื นกบั ว่ารถจะ
ชนกนั แลว้ ตอ้ งหกั หลบอย่างเดยี ว คือพอรูเ้ ท่าทนั ป๊ ุบใหเ้ ปลย่ี น
ความสนใจไปอย่างอ่ืนเลย เช่น พออารมณ์ข้นึ จีด๊ ก็ฮมั เพลง
51
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ข้นึ มา ลุกมาเปิดตูเ้ ย็นกินนำ�้ ลุกข้นึ มาทำ� กบั ขา้ ว ลุกไปทำ� อะไร
ก็ได้ เคลอ่ื นไหวร่างกายอย่างรวดเร็ว พออารมณ์จีด๊ ข้นึ มาป๊ ุบ
เราตอ้ งพลกิ ปบั ๊ เลย เดีย๋ วก็คิดอีก โมโหอีก คิดอีก โมโหอีก
คิดอีก อารมณ์รุนแรงอีก เราก็พลิกอีก เพราะว่าเรามาเห็น
ความคิดไม่ทนั หรอก อารมณ์ทแ่ี รงมากเราไม่เหน็ ความคิดหรอก
เปล่ยี นความสนใจไปเร่ือยๆ เดีย๋ วก็ค่อยๆ จางลงๆ อารมณ์
จะจางหายไปเอง ไม่ใช่ให้ ไปกดข่มอดั เอาไวข้ า้ งในนะ อดั ไวๆ้
เดีย๋ ววนั ไหนทนไม่ได้ ก็จะระเบดิ ออกมาแรงกว่าเดิมหลายเท่า
การรูแ้ ลว้ พลิกออกมาเปล่ียนอารมณ์ คือขน้ั ตอนเร่ิมตน้ แบบ
เบสกิ (Basic) แต่แบบน้ีให้ใชก้ บั อารมณ์แรงๆ ท่ีเราไม่ทนั นะ
แต่ถา้ เราไปใชก้ บั ตอนทอ่ี ารมณ์ไม่แรง เช่น ใชก้ บั ตอนเกิดอาการ
ท่ไี ม่สบายใจ ขอ้ น้ีผดิ พลาดมหนั ตเ์ ลย จะทำ� ใหเ้ กลยี ดอารมณ์
ทไ่ี ม่ถูกใจ และจะหลงไปยดึ เอาอาการทถ่ี ูกใจอกี ไปเอาแต่อาการ
ท่สี บายๆ เราตอ้ งพฒั นาข้นึ มาใหม่ มาเป็นผูด้ ูผูร้ ูอ้ ารมณ์นนั้
ฝึกในขนั้ สามารถสงั เกตเห็นไดช้ ดั เจนระหว่างจิตหรือ
วิญญาณขนั ธ์ซ่ึงเป็นผูร้ ู ้ กบั อารมณ์โดยเฉพาะธรรมารมณ์ท่ี
ถูกรู ้ กรณีในสภาวะปกติท่ีไม่ไดเ้ กิดอารมณ์ท่ีรุนแรง เราพอมี
สติ ปญั ญา ท่จี ะสงั เกตเห็นจิต หรือวญิ ญาณขนั ธ์ หรือผูร้ ูก้ บั
ธรรมารมณ์ท่ถี ูกรไู้ ด้ เช่น ใจไม่สบาย ไม่โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา อนั
น้ีเป็นแค่ทกุ ขเวทนาธรรมดา เดยี๋ วก็สบาย เดยี๋ วกไ็ ม่สบาย แต่เรา
52
เราเป็นคนรู้นี่แหละจิต : จบซะที
ไปเลอื กเอาท่สี บาย มนั จะหลง เพราะว่าท่สี บายนนั้ เป็นสุขเวทนา
ท่ไี ม่สบายเป็นทุกขเวทนา ถา้ เราไปเลอื กเอาฝงั่ หน่ึงไม่เอาอกี ฝงั่
หน่ึง ก็จะตดิ แค่เวทนาไม่ไปไหนหรอก ปฏบิ ตั ิธรรมติดแค่เวทนา
คือดีรกั ชวั่ ชงั เกลียดทุกขร์ กั สุข ปฏิบตั ิไม่ไปอย่างไรเลย พ่อแม่
ครูอาจารยท์ ่านใชค้ �ำแรงมากเลย ท่านใชค้ �ำว่าคนโง่ คนโง่ชอบ
หลกี หนีอาการ ชอบหลกี หนีปรากฏการณ์ในใจของตวั เอง แต่คน
ฉลาดจะเหน็ จติ ปรุงแต่ง แลว้ ไม่หลงไปตามจติ ท่ปี รุงแต่งของตวั
เอง ไม่หลงเอาตวั เองไปปรุงแต่ง คิดนนั่ คิดน่ี เห็นจิตปรุงแต่ง
ของตวั เองแลว้ ไม่หลงมคี วามรูส้ กึ ว่ามตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดเ้ สยี
หรือไม่หลงมีตวั เราไปด้ินรนผลกั ไส หรือพยายามไปดบั เขา
น่ีคือคนฉลาด
ดงั น้ัน เวลาอารมณ์แรงๆ เราก็ใหพ้ ลิกออกมาก่อน
พอจิตเร่ิมเป็นปกติแลว้ ก็กลบั มาปฏิบตั ิในสภาวะปกติต่อ คือ
เมอ่ื มเี วทนาเกิดข้นึ ไม่ว่าจะเป็นสุขหรือทุกข์ ท่เี รียกว่าสุขเวทนา
ทุกขเวทนา รวมทงั้ ไม่สุขไม่ทุกขท์ ่เี รียกว่าอทุกขมสุขเวทนาหรือ
อุเบกขาเวทนา อาการเหล่าน้ีรูต้ วั มนั เองไม่ได้ ใหเ้ ราถามตวั เรา
ว่า “ใครล่ะเป็ นคนรู”้ ก็เรานัน่ แหละเป็ นคนรู้ คนอ่นื ไม่รูห้ รอก
เรานนั่ แหละรูว้ ่าเรามอี าการทส่ี บายใจ ไม่สบายใจ หรอื ว่ามอี าการ
เป็นกลางๆ เรานนั่ แหละเป็นคนรู ้ ตรงน้ีสำ� คญั มากเพราะเราเป็น
คนรูแ้ ทจ้ รงิ นนั่ แหละเป็นจติ แทจ้ รงิ ไมใ่ ช่เป็นตวั เราหรอก เป็นจติ
53
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ตอ้ งการใหเ้ หน็ ตวั น้ี จิตเหน็ จิตอย่างแจ่มแจง้ เป็นมรรค ผลของ
จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจง้ เป็นนิโรธคือดบั ทุกข์ ก็ตอ้ งการใหเ้ ห็น
ตวั เราท่ไี ปรนู้ ่ีแหละ ตวั เราท่ไี ปรูอ้ ารมณ์ ไปรูอ้ าการ ไม่ว่าจะเป็น
อาการทางกายต่างๆ เช่น รอ้ น หนาว อาหารรสอร่อย ไม่อร่อย
หรืออาการทางใจทุกอย่าง เช่น สุข ทุกข์ กลางๆ อาการหรือส่งิ ท่ี
ถูกรูท้ ง้ั หมดเรียกว่าอารมณ์ หรือสง่ิ ทถ่ี ูกรทู้ ใ่ี จก็เรียกธรรมารมณ์
ส่วนผู้ท่ีไปรูอ้ ารมณ์ทงั้ หมดทุกขณะปจั จุบนั เรียกว่าจิต ตรงน้ี
หลายคนเขา้ ใจผิด คิดว่าโครงร่างของร่างกายเป็นคนไปรู ้ มนั
ไม่รูห้ รอก ไม่ไดเ้ อาตาไปรู ้ ไม่ไดเ้ อาหูไปรู ้ อนั นนั้ เป็นแค่ประตู
ลองไปดูสิคนตายนอนลมื ตาโพลงแต่มองไม่เห็นหรอก ท่ีไปรู ้
เหน็ น่ีแหละคือจิต
ผรู้ นู้ ่ีแหละคือจติ หรือ “วิญญาณขนั ธ”์ แต่เป็นผูร้ ูเ้ พยี งแค่
เส้ยี ววนิ าทเี ดยี ว เพราะพอรูป้ บั ๊ จะถูกใจ เป็นสุขเวทนา ไม่ถูกใจ
เป็นทกุ ขเวทนา ไมถ่ งึ กบั ถกู ใจหรอื ไมถ่ กู ใจ เป็นอทกุ ขมสุขเวทนา
มนั วเิ คราะหเ์ ลย มนั พากษ์ (วพิ ากษ)์ พูด วเิ คราะห์ คิดตรึกตรอง
ยุกยกิ ๆ มนั มอี าการหลายอย่าง บางทกี ็ ใชภ้ าษาสมมตุ ิเรียกช่ือ
ไม่ถูก เยอะแยะ หลายคำ� บางทกี ็บ่นออื ออื ... ทำ� ท่า ทำ� ท่า...
พยายาม พยายาม... เหมอื นจะมกี ริยาอาการใดจะผุด จะปรุง
ออกมาจากใจ พูดอยู่กบั ตวั เอง ปรึกษาตวั เอง ซ่งึ วญิ ญาณขนั ธน์ ้ี
ทำ� หนา้ ท่รี ูแ้ ค่แป๊ บเดยี วแค่นน้ั แหละ ก็ส่งต่อไปยงั เวทนา สญั ญา
54
เราเป็นคนรู้นี่แหละจิต : จบซะที
สงั ขาร เป็นธรรมชาติของเคา้ เลย พอเราเห็นอย่างน้ีหมดป๊ ุบ
เท่ากบั เราเหน็ ขนั ธห์ า้ หมดแลว้ ถงึ วญิ ญาณขนั ธเ์ ลย
ในพระอภิธรรมท่านพูดไว ้ ๔ อย่าง ไดแ้ ก่ “รูป จิต
เจตสิก นิพพาน” “รูป” หมายถงึ ร่างกายท่เี ราเห็นอยู่อย่างน้ี
“จติ ” ก็หมายถงึ วญิ ญาณขนั ธ์ ส่วนเวทนา สญั ญา สงั ขาร ทง้ั สาม
อย่างรวมเรียกว่า “เจตสิก” เวทนาก็คือความรู้สึกว่าส่ิงท่ีไป
กระทบในขณะปจั จุบนั น้ี ถูกใจ ไม่ถูกใจ เป็นกลางๆ สญั ญาคือ
ความจำ� ไดว้ ่าอะไรคืออะไร หมายความว่าอย่างไร ส่วนสงั ขาร
ก็คือคิดปรุง ปรุงคิด พากษ์ (วพิ ากษ)์ อยู่ในใจ พูดบ่นอยู่ในใจ
อยู่คนเดียว คิดตรึกตรองอยู่คนเดียว จิตกบั เจตสกิ นน้ั ทำ� งาน
ร่วมกนั เกิดพรอ้ มกนั ดบั พรอ้ มกนั
วธิ ีปฏบิ ตั ิ คือใหเ้ รามารู้ท่ตี วั เราน่ีแหละ รู้ท่วี ญิ ญาณขนั ธ์
แทนท่เี ราจะไปรูแ้ ต่อารมณ์ซ่งึ เป็นส่งิ ท่ถี ูกรู้น่ี เราก็มารูแ้ ต่ตวั เรา
ผไู้ ปรู ้ ดูท่ีตวั เราน่ีแหละ ตวั เราท่ีมนั พากษม์ นั พูดตลอดน่ีแหละ
ตวั เราน่ีแหละปล่อยวางมนั ทง้ั ยวงเลย ปล่อยวางมนั มนั รูอ้ ะไร
มนั พากษ์อะไรก็ช่างมนั เถอะ วางใหห้ มดเลย สกั แต่ว่ารูม้ นั
คือปล่อยวางมนั ใหห้ มดก็เท่ากบั ปล่อยวางขนั ธห์ า้ อย่างน้ีเรียก
ว่าสติตง้ั ท่ใี จ ดูท่ใี จ รูท้ ่ใี จ สงั เกตท่ใี จ ละท่ใี จ ปล่อยวางท่ใี จ
เมอ่ื ปล่อยวางขนั ธห์ า้ ทงั้ หมดได้เรียกว่าละอุปาทานขนั ธห์ า้ ก็จะ
พบใจท่วี ่างจากความปรุงแต่ง มแี ต่ความรูไ้ ม่มตี วั ใจ ไม่มรี ูปร่าง
55
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ไม่มรี ูปพรรณสณั ฐานใด ไม่มอี าการเกดิ ดบั เป็นเหมอื นความว่าง
ของธรรมชาตหิ รอื จกั รวาล แลว้ ก็ไม่หลงยดึ ถอื ใจจะใหว้ ่าง เพราะ
ใจเขาเป็นความว่างอยู่แลว้ ตามธรรมชาติ เม่อื ส้นิ หลงยดึ ถอื ทงั้
สงั ขารคือธรรมชาติฝ่ ายปรุงแต่ง และส้นิ หลงยึดถอื วสิ งั ขารคือ
ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ก็พน้ ทุกขเ์ รียกว่า “นิพพาน”
จึงมคี วามจำ� เป็นตอ้ งเขา้ ใจใหถ้ ูก รผู้ ดิ ตวั ไม่ได้ ถา้ เราเหน็
ขนั ธห์ า้ ไม่ครบหา้ ขนั ธ์ แลว้ เราจะปล่อยวางขนั ธห์ า้ ไดย้ งั ไง แลว้
เวลาปล่อยวางน่ี คือเราก็ปล่อยวางมนั ทงั้ ยวงเลยนะ หลายคนท่ี
ปฏบิ ตั ิผดิ ไปคาผ้รู ไู้ ว ้ คือผูร้ ูค้ งท่ยี นื พ้นื ไว ้ แลว้ พยายามปล่อย
วางทุกคิดหรือทุกอารมณ์ท่ถี ูกรู ้ หรือเมอ่ื ไปรูอ้ ะไรก็พยายามตดั
ความคิดทุกคิด หา้ มไม่ใหส้ ่งต่อเวทนา สญั ญา สงั ขาร จำ� ไดว้ ่า
อะไรเป็นอะไร โดยพยายามใหร้ ูเ้ ฉยๆ หรือยดึ ผรู้ ใู้ หม้ นั ว่าง อนั น้ี
ผดิ มหนั ตน์ ะ กลายเป็นพยายามปล่อยวางความคิดหรืออารมณ์
ทถ่ี กู รู้ โดยไมไ่ ดป้ ลอ่ ยวางผูป้ ลอ่ ยวาง หรอื หลงพยายามเอาตวั เรา
ไปปล่อยวางอย่างอ่ืน แต่ไม่ไดป้ ล่อยวางตวั เรา และหลงยดึ ใจ
ใหเ้ ฉย ใหว้ ่าง อย่างน้ีเท่ากบั หลงยดึ ถอื ไม่ไดป้ ล่อยวาง
จงึ ตอ้ งเห็นจติ หรือวิญญาณขนั ธท์ ่ีทำ� หนา้ ท่ีร่วมกบั เจตสกิ
คือเวทนา สญั ญา สงั ขารแลว้ ไม่มีผูห้ ลงยึดถือ หรือปล่อยวาง
อารมณท์ ถ่ี กู รู้ในใจทง้ั หมดคอื เวทนาสญั ญาสงั ขารและปลอ่ ยวาง
56
เราเป็นคนรู้น่ีแหละจิต : จบซะที
ผู้รู้ซ่ึงเป็ นจิตหรือวิญญาณขนั ธ์ ก็เท่ากบั ส้ินหลงยึดถือขนั ธห์ า้
ถา้ เห็นไม่ครบหา้ ขนั ธ์ จะปล่อยวางขนั ธห์ า้ ไม่ได้
บางคนเหมารถตูม้ าไกลๆ ตงั้ ๒ คนั เขาจะมาใหอ้ าจารย์
รบั รองว่าว่างแลว้ แต่ตอนอยู่ในรถคิดมาตลอดทางกลบั มอง
ไม่เหน็ บางคนก็ลอ็ คเอาตรงอุเบกขาเวทนา รูอ้ ะไรก็กนั ไม่ใหส้ ุข
ไม่ใหท้ ุกข์ ใหเ้ ป็นเฉยๆ รู้ ใหเ้ ฉยๆ ไม่ใหเ้ ป็นสุขเป็นทุกข์ แลว้ รู ้
อะไรทำ� เป็นเออ๋ ... รูอ้ ะไรทำ� เป็นเออ๋ ... ไม่รูเ้ ร่อื งอะไรเลย เดมิ เป็น
คนคล่องแคล่วว่องไวปราดเปรียว พอมาฝึกจิตผดิ ๆ แบบน้ีเลย
เออ๋ ไปเลย จำ� อะไรไม่ไดส้ กั อย่าง มาปฏบิ ตั แิ ลว้ ย่งิ โงล่ งไปอย่างน้ี
คำ� ว่า “ปล่อยวาง” จึงไม่ใช่ไม่รูอ้ ะไรเลย แต่หมายถงึ รูท้ ุก
อย่าง แต่ไม่ได้ยึดอะไรสกั อย่าง คือมนั รูห้ มดเลยแลว้ ก็ปล่อย
วางทงั้ ส่งิ ท่ถี ูกรูแ้ ละผูร้ ูท้ ุกขณะปจั จุบนั วางอารมณ์ท่ถี ูกรู ้ แลว้
ก็วางผูร้ ูห้ รือวญิ ญาณขนั ธใ์ นทุกขณะปจั จุบนั เรียกว่าวาง คือช่าง
มงึ อยากจะรูอ้ ยากจะพูด อยากจะบ่น ก็สกั แต่ว่าเหน็ มนั สกั แต่
ว่าเหน็ มนั พูดมนั บ่น ก็สกั แต่ว่า ช่างมนั เหอะ ช่างมนั ช่างมนั ....
ปล่อยมนั ปล่อยมนั ... มนั เป็นขนั ธห์ า้ มนั เป็นธรรมชาติท่ตี อ้ ง
ปรุงแต่ง เกิดแลว้ ก็ดบั เลย เกิดแลว้ ก็ดบั ไป ก็ช่างมนั สกั แต่ว่า
รูอ้ ย่างเดยี ว
57
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
น่ีจึงเป็นท่ีมาของท่ีพระพุทธเจา้ ตรสั กบั พาหิยะว่า ถา้ เธอ
สกั แต่ว่ารู ้ จะไม่มีตวั ตนของเธอเลย เธอจะส้ินกิเลส บรรลุ
พระนิพพานเดยี๋ วน้ีเลย พาหยิ ะฟงั จบบรรลุพระนิพพานเลย หรอื
ท่หี ลวงปู่ดูลย์ อตุโล บอกว่า “พบผรู้ ู้ ใหฆ้ ่าผูร้ ู”้ หรือ หลวงปู่หลา้
เขมปตั โต และหลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน บอกว่า “พบผูร้ ู้
ใหป้ ล่อยวางผูร้ ู”้ แต่ผูป้ ฏบิ ตั ิชอบเขา้ ใจผดิ ทำ� ผดิ วางผูร้ ูห้ มดคือ
ไม่รูอ้ ะไรเลย ความจริงท่านใหป้ ลอ่ ยวางความหลงยดึ ถอื อารมณ์
ท่ถี ูกรูภ้ ายในใจ และส้นิ หลงยดึ ถอื ผูร้ ูว้ ่าเป็นเรา เป็นตวั เรา หรือ
เป็นตวั ตนของเรา มเี พลงอยู่เพลงหน่ึงท่ลี ูกศิษยเ์ ราแต่งเพลงให้
เพลงรู้ซ่อื ๆ จบท่ใี จ “ใหร้ ูท้ ุกคิดไม่ติดไป จติ เป็ นอย่างไรไดแ้ ต่
รู้ ไม่หนีไม่สู้ แค่รูอ้ ยู่ท่ีใจ”
58
จบซะที
๕
อารมณ์ มีอยู่ แต่ใจว่างเปล่า
ผูป้ ฏบิ ตั ิธรรมมกั จะมีกเิ ลสความโลภ ความอยากได้ ความ
อยากเอา มีการคาดหมายว่าจะไปเอาอะไร แลว้ หลงปรุงแต่งว่ามี
ตวั ตนของเราจะไปเอาสง่ิ ทต่ี วั เราคาดหมายไวน้ นั้ เช่น คาดหมาย
วา่ นิพพานคอื ความน่ิง วา่ ง สงบ ก็หลงเอาขนั ธห์ า้ ซง่ึ เป็นธรรมชาติ
ท่ปี รุงแต่งมาหลงปรุงแต่งว่ามตี วั ตนของเรา แลว้ พยายามจะเอา
ตวั เราไปใหถ้ งึ ความน่ิง ความว่าง ความสงบทย่ี ดึ ถอื คาดหมายไว ้
การปฏบิ ตั ิเลยมแี ต่การหลงยดึ ถอื ซ่งึ เป็นอวชิ ชา กิเลส ตณั หา
อุปาทาน เป็ นการปฏิบตั ิตรงขา้ มทางนิพพาน คือตอ้ งส้นิ อวชิ ชา
กิเลส ตณั หา อุปาทาน หรือส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ หรือส้นิ
ความหลงรู้สึกว่าเรามตี วั ตน แลว้ หลงเอาตวั ตนของเราไปหลง
ยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ หรือหลงยดึ ถอื คนอ่นื ส่งิ อ่นื หรืออารมณ์อ่นื ๆ
59
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ดงั นน้ั “การปฏบิ ตั ธิ รรม” คอื การมีสตปิ ญั ญาหมนั่ พจิ ารณา
ใหเ้ ห็นตามความเป็ นจริงของขนั ธห์ า้ คือร่างกายจติ ใจ ว่าเป็ นส่งิ
ผสมปรุงแต่งมาจากธาตุทง้ั ส่ี และธาตุรู้ท่ียงั มีอวิชชาคือความ
หลงยึดถือผสมอยู่ เม่ือขนั ธห์ า้ เป็นสงั ขารคือส่ิงผสมปรุงแต่ง
จงึ เป็นของไม่เท่ยี ง เป็นทุกข์ ทนอยู่สภาพเดมิ ไม่ได้ตอ้ งแตกดบั
เน่าเป่ือยผุพงั สลายกลบั คืนไปสู่ธาตุดนิ ธาตุนำ�้ ธาตุลม ธาตุไฟ
และธาตุรู ้เมอ่ื ส้นิ อวชิ ชาคือความหลงยดึ ถอื ขนั ธห์ า้ ว่าเป็นตวั ตน
คงท่ี เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือมตี วั ตนของเรา
ในขนั ธห์ า้ ธาตุร้กู ็เป็นความรทู้ ่วี ่างเปล่าดงั เดมิ
ตอ้ งอ่านใจตนเองใหข้ าดทุกขณะปจั จุบนั ว่าปฏิบตั ิดว้ ย
ความอยาก หรือหลงไปยดึ ถอื ว่าขนั ธห์ า้ เป็นตวั เรา หรือมตี วั เรา
อยู่ในขนั ธห์ า้ แลว้ เอาตวั เราไปยดึ ถอื อารมณ์ท่ถี ูกรูค้ ือ รูป เสยี ง
กลน่ิ รส สมั ผสั และธรรมารมณ์ หรอื มตี วั เราจะไปเอาอะไรหรอื ไม่
แมม้ ตี วั เราจะไปเอาธรรม เอาความว่าง เอานิพพาน ก็เป็นอวชิ ชา
กิเลส ตณั หา อุปาทาน เป็นทางตรงขา้ มนิพพาน แมม้ คี วามรูอ้ ยู่
แต่อย่าหลงเขา้ ไปยึดถือว่าตวั เราเป็ นผูร้ ูห้ รือผูร้ ูเ้ ป็ นตวั เรา
คงสกั แต่วา่ รู ้จติ เขามคี วามคดิ หรอื มอี าการอย่างใด ไม่ว่าจะถกู ใจ
ซ่ึงเป็ นสุขเวทนา ไม่ถูกใจซ่ึงเป็ นทกุ ขเวทนา หรอื เป็ นกลางๆ ซ่ึง
เป็ นอทุกขมสุขเวทนา ไม่ว่าจะเป็ นกศุ ลหรืออกศุ ล ลว้ นแต่เป็ น
อารมณ์ท่ถี กู รูข้ องจติ หรอื วญิ ญาณขนั ธ์ ส่วนจติ หรอื วญิ ญาณขนั ธ์
60
อารมณ์มีอยู่ แตใ่ จวา่ งเปลา่ : จบซะที
จะเป็นผูร้ ู ้ แต่เป็นผูร้ ูเ้ พยี งเส้ยี ววนิ าทเี ดียว แลว้ เกิดเจตสกิ คือ
เกิดเวทนา สญั ญา สงั ขารซ่งึ เป็นอารมณ์ท่ถี ูกรูม้ าทำ� หนา้ ท่รี ่วม
ทนั ที ก็ปล่อยใหเ้ ขาเป็นอย่างท่เี ขาเป็น อย่าหลงเขา้ ไปยดึ ถอื
เหตุท่ตี อ้ งรู้จิตหรือวญิ ญาณขนั ธผ์ ูร้ ูอ้ ารมณ์ไวต้ ลอดเวลา
เพ่ือจะได้ไม่หลงส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั อารมณ์ท่ีถูกรู้ ไม่งน้ั
จะหลงไปกบั เขา ถงึ รูแ้ ลว้ ก็ไม่พยายามไปดบั เขาหรือพยายามไป
ทำ� ลายเขา และไม่ไปยดึ เขา ดกี ็ไม่ยดึ ชวั่ ก็ไม่ยดึ อารมณ์ท่ถี ูกใจ
ไมถ่ กู ใจก็ไมย่ ดึ เลย อารมณ์มีอยู่แต่ไม่มีตวั เราไปยดึ รูส้ กั แต่ว่ารู้
อารมณ์เขาเป็ นอย่างไร จะสงบหรือไม่สงบก็เอาทง้ั น้ันแหละ
ปล่อยใหเ้ ขาเป็นอย่างท่เี ขาเป็น เช่น เวลาเกิดอารมณ์หรืออาการ
ทไ่ี ม่ถกู ใจ อย่าหลงมตี วั เราไปพยายามปรบั แต่งแกไ้ ขหรอื ผลกั ไส
อารมณ์ท่ีเกิดข้นึ อยากใหด้ บั ไปเร็วๆ อนั น้ีไม่ถูก จะเป็นการ
ผลกั ไส เกลยี ดทุกขเ์ วทนา รกั สุขเวทนา หรือมตี วั เราหลงไปตาม
อารมณ์ ก็เป็นอวชิ ชา
โดยเฉพาะจะมาหาหลวงตา พยายามเกลย่ี จิตใหว้ ่างเพ่อื
ไม่ใหห้ ลวงตาจบั ได้อย่างน้ีจะปรากฏร่องรอยของการหลงยดึ ถอื
ในจติ เหมอื นกบั คนเป็นโรคเบาหวานอย่างแรง แต่ก็แอบกินของ
หวานมาตลอด พอจะไปหาหมอตรวจเลอื ดก็รีบไปกินยาเยอะๆ
เพ่ือใหน้ �ำ้ ตาลลดลง อย่างน้ีค่าน�ำ้ ตาลสะสมก็ยงั ปรากฏความ
จริงอยู่ ไม่สามารถปกปิดหมอได้ พวกเราใชช้ ีวติ ประจำ� วนั มแี ต่
61
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
หลงส่งจิตออกนอกไปยึดถือแต่อารมณ์ท่ีถูกรูท้ ง้ั ภายนอกและ
ธรรมารมณ์ภายในตวั เรา แต่พยายามปกปิดไม่ใหห้ ลวงตาเห็น
แบบน้ีผดิ เราจะกลายเป็นผลกั ไส ผดิ สองดา้ นคือมตี วั เราหลง
ตามอารมณ์ไปก็เป็นอวชิ ชา หลงมตี วั เราไปพยายามไปผลกั ไส
ใหอ้ ารมณ์หายไปก็ผดิ เป็นอวชิ ชาอกี สุขเวทนา หรือทุกขเวทนา
หรืออเุ บกขาเวทนา หรอื กุศลอกุศล ก็ไม่หลงมตี วั เราเขา้ ไปยดึ ถอื
ตอ้ งปล่อยวางผูร้ ู ้ คือรูท้ ุกอย่างแต่ไม่หลงมีตวั เรา หรือ
อย่าหลงมีตวั เราไปยึดถอื อาการหรอื อารมณ์ท่ีถูกใจหรอื ไม่ถูกใจ
คงปล่อยใหส้ งั ขารเขาแสดงกริยาอาการข้ึนมาของเขาเอง แลว้
ดบั ไปเอง เกิดเอง ดบั เอง..... ไม่มผี ูห้ ลงยดึ ถอื ไม่มผี ูเ้ สวย ส้นิ
ตวั ตนของผยู้ ดึ มนั่ ถอื มนั่ ก็จะพบใจหรือจิตเดมิ แทท้ ่ไี ม่มตี วั ตน
ไม่มรี ูปร่าง ไม่มรี ูปพรรณสณั ฐานใด มแี ต่ความรทู้ ่เี ป็นความว่าง
เหมอื นกบั ความว่างของธรรมชาติหรือจกั รวาล
ใจหรือจติ เดมิ แทเ้ ปรียบเหมอื นกบั ทอ้ งฟ้าท่วี ่างเปล่า ส่วน
อาการหรอื อารมณต์ ่างๆ แมจ้ ะมอี ยู่แต่ถา้ ไมห่ ลงมตี วั เราไปยดึ ถอื
ไม่ไหลไปกบั เขา และไม่ไปพยายามผลกั ไสเขา ทอ้ งฟ้ าหรือจิต
เดมิ แทๆ้ ใจเดมิ แทๆ้ จะเป็นความว่างเปล่า อารมณ์หรืออาการ
ท่เี กิดข้นึ ในใจเหมอื นกบั นกหรือเคร่ืองบนิ ท่บี นิ บนทอ้ งฟ้ า ก็จะ
ไม่ปรากฏร่องรอยใด แต่ถา้ หลงมตี วั เราพยายามไปทำ� อะไรกบั
ส่ิงท่ีบนิ ผ่านมาบนทอ้ งฟ้ า จะทำ� ใหท้ อ้ งฟ้ าเพ่ิมตวั เราเขา้ ไปอีก
62
อารมณ์มีอยู่ แตใ่ จวา่ งเปลา่ : จบซะที
ตวั หน่ึงก็จะไม่ว่างเปล่าจากตวั เรา เช่นว่าเราเหน็ อะไรบนิ มาหรือ
ผ่านมาบนทอ้ งฟ้าน้ี แลว้ หลงมตี วั เราไปชอบ ถา้ ชอบก็อยากได้
อยากเอา อยากใหเ้ ป็นอย่างนน้ั อยากใหเ้ ป็นอย่างน้ี หรือหลงมี
ตวั เราไม่ชอบ ก็อยากใหส้ ง่ิ นนั้ หายไป จะหลงมตี วั เราไปพยายาม
ไปด้ินรนผลกั ไส บนทอ้ งฟ้ าก็จะไม่ว่างเปล่าจากความหลงว่า
มตี วั เรา แลว้ หลงเอาตวั เราไปคิด ไปปรุงแต่งยดึ ถอื ก็จะเกิดกิเลส
ตณั หาเป็นความทุกข์ ความเครียด ความเศรา้ หมอง เปรียบ
เหมือนเกิดเมฆฝนดำ� ทะมึนเพ่ิมมากข้ึนเร่ือยๆ คือความทุกข์
ความเครียด ความกงั วล หากมสี ะสมมากเขา้ ๆ ก็รอ้ งไหน้ ำ�้ ตา
ไหลออกมา เปรียบเหมอื นเมฆฝนตอนแรกก็ไม่หนาแน่น เม่อื
ทุกขม์ ากเครียดมากเมฆฝนก็หนาแน่นมาก จนทนไม่ไดต้ อ้ งเป็น
ฝนตกลงมา ถา้ ไม่หลงมตี วั เราไปหลงยดึ ถอื ส่งิ ใด แมอ้ าการหรือ
อารมณ์จะมอี ยู่ ใจเปรียบเหมือนทอ้ งฟ้ าก็เป็ นความว่าง สงั ขาร
หรืออาการ หรืออารมณ์เหล่าน้ันก็ไม่ท้ิงร่องรอยไว้ในใจท่ีเป็ น
ธรรมชาติท่ีว่างเปล่าเลย เปรียบเหมือนนกหรือเคร่ืองบินท่ีไม่
ท้ิงร่องรอยไวบ้ นทอ้ งฟ้ า
เหมือนกบั ท่ีสุภทั ทะ ซ่ึงต่อมาไดก้ ลายเป็นพระอรหนั ต์
สาวกองค์สุดทา้ ยไดก้ ราบทูลถามพระพุทธเจา้ ว่า รอยเทา้ ท่ี
เหยยี บไปในอากาศมอี ยู่หรอื ไม่ พระพทุ ธองคต์ รสั วา่ รอยเทา้ ย่อม
ไม่มอี ยู่ในอากาศ พระสุภทั ทะนำ� มาพจิ ารณา คืนนนั้ พระจนั ทร์
63
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
เต็มดวงสว่างไสว พอดมี เี มฆผ่านมาบงั แสงจนั ทรท์ ำ� ใหม้ ดื คร้ึม
พระสุภทั ทะก็เขา้ ถงึ ความจริงว่า กิเลสและความทุกขไ์ ม่ไดเ้ ป็น
ของท่ีมีอยู่ประจำ� แต่เดิมท่ีตอ้ งไปพยายามขดั ออก แต่เพราะ
เกิดความหลงยึดถอื ข้นึ มาในขณะจิตปจั จุบนั จึงเกิดกิเลสและ
ความทุกขจ์ รมา เปรียบเหมอื นมเี มฆลอยมาบงั จนั ทร์ หากไม่มี
ความหลงยึดถือ ใจหรือจิตเดิมแทก้ ็จะว่างเปล่าเหมือนอากาศ
อารมณ์หรือส่งิ ท่ีมากระทบในขณะปจั จุบนั ก็เปรียบเหมือนรอย
เทา้ ท่ีเหยียบไปในอากาศ หากไม่หลงยึดถือเป็ นความรกั หรือ
ความเกลียดชงั ย่อมไม่ปรากฏรอยฉันน้ัน เม่ือเมฆลอยผ่านไป
พระสุภทั ทะก็ส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ บรรลุนิพพาน เป็นพระ
อรหนั ต์
64
จบซะที
๖
เป็นผู้ดูไม่ใช่ผู้แสดง
“ดูจติ ดูใจใหเ้ หมือนดูหนังดูละคร
อย่าเขา้ ไปร่วมเล่น อย่าเขา้ ไปเป็ นผูแ้ สดง
ใหเ้ ป็ นเพียงผูด้ ู ผูร้ ูเ้ ท่าน้ัน”
ปญั หาหรือความวุ่นวายต่างๆ ในชีวิตมีอยู่ตลอด เร่ือง
ทุกอย่างถา้ เราทุ่มไปทง้ั ตวั โดยท่ีไม่มสี ติปญั ญาเห็นตวั เอง ก็มี
แต่ความวุ่นวาย ทุกขอ์ ย่างเดยี ว ไม่มีทางพน้ ทุกขไ์ ด้ เพราะมี
ตวั เราไปหลงไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง มตี วั เราไปเป็น “สงั ขาร” จึง
หมดโอกาสทจ่ี ะเป็น “วสิ งั ขาร” คือธรรมชาตทิ ไ่ี ม่ปรุงแต่ง เหมอื น
กบั ดูการถ่ายทำ� การแสดงหนงั หรือละคร แลว้ อยู่ๆ ก็เอาตวั เรา
กระโดดลงไปเป็นผูเ้ ลน่ ผูแ้ สดงเสยี เอง เหมอื นกบั ว่า อ้มื !.. ทำ� ไม
แสดงไม่ไดเ้ ร่ืองแบบน้ีเลย มาน่ี! มนั ตอ้ งอย่างน้ี! เราก็เขา้ ไปเลย
เขา้ ไปจดั การ ไปเป็นผูแ้ สดง เป็นพระเอกบา้ ง เป็นนางเอกบา้ ง
65
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ไปเป็นผูก้ ำ� กบั บา้ ง เปลย่ี นสถานะจากผูด้ ู ผูร้ ู ้ผูเ้ หน็ ไปเป็นผูเ้ ล่น
ผูแ้ สดงเสยี เอง อย่างน้ีถงึ จะบอกสอนอย่างไรก็ไม่เขา้ ใจ เพราะ
เราอยู่ในฐานะเขา้ ไปเป็นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดงเสยี เองแลว้ โดยเปลย่ี น
สถานะจากผูด้ ู ผูร้ ูท้ ่เี ป็นวสิ งั ขารไปเป็นสงั ขารปรุงแต่ง
ดงั นนั้ ก็ตอ้ งเฉลียวใจแลว้ ตอ้ งถอนตวั เองจากเป็ นผูเ้ ล่น
ผูแ้ สดง รู้สึกตวั ข้ึนมา สกั แต่ว่ารู้ ไม่มีตวั เราไปเป็ นผูเ้ ล่น
ผูแ้ สดง คือเป็นผูค้ ิด ผูแ้ สดงกรยิ าอาการ ผดู้ ้นิ รนคน้ หา ผคู้ ิดนึก
ตรกึ ตรอง วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วจิ ยั โดยเป็นผูร้ ู ้หรอื เป็นใจ หรอื เป็น
จิตเดมิ แทท้ ่ไี ม่ปรากฏอาการใดๆ ซ่งึ เป็นธรรมชาติท่ไี ม่ปรุงแต่ง
จะเหน็ มแี ต่ความคิด มอี าการเกิดดบั ในใจ แต่ใจไม่ปรากฏความ
เคล่อื นไหว เม่อื เป็นใจท่ีว่างจากความปรุงแต่ง ว่างจากตวั ตน
ว่างจากตวั เราหรือตวั ตนของเรา จึงไม่มตี วั เราไปยึดถอื ใหเ้ ป็น
กิเลส ตณั หา และความทุกข์ เม่อื ส้นิ กิเลสแลว้ เม่อื ยงั ไม่ตาย
ขนั ธห์ า้ ก็ยงั ไม่แตกดบั ตอ้ งทำ� หนา้ ท่ไี ปตามปกติธรรมชาติท่ไี ม่มี
กิเลส ไม่ไดเ้ อาขนั ธห์ า้ ไปยดึ อะไร แต่มคี วามปรุงแต่งตามปกติ
ของธรรมชาติท่ตี อ้ งมอี ยู่ตลอดเวลา มีการวิพากษ์วิจารณ์อยู่ใน
ใจได้ แต่ไม่ได้มีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สยี ก็ไม่เป็ นกิเลสอะไร
ย่งิ เอาขนั ธห์ า้ มาสงั เกตมาก เรียนรูม้ าก ศึกษาทำ� ความเขา้ ใจมาก
ก็จะย่ิงฉลาดมาก แต่เม่อื ไรท่มี ตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดเ้ สยี อนั นนั้
เป็นกิเลสแลว้
66
เป็นผ้ดู ไู มใ่ ชผ่ ้แู สดง : จบซะที
ความรูส้ ึกว่าตวั เราทง้ั รูท้ งั้ คิดทง้ั เขา้ ใจ แทท้ ่ีจริงเป็ น
วญิ ญาณขนั ธท์ ำ� งานร่วมกบั เจตสิกคือ เวทนา สญั ญา สงั ขาร
ไม่ใช่ตวั เราหรอก ส่วน “ใจหรือจิตเดมิ แท”้ คิดไม่ได้ พูดไม่ได้
ตรึกตรองไม่ได้ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์วจิ ยั ไม่ได้ มนั เป็นวสิ งั ขาร เป็น
อสงั ขตธาตุ คือไม่มใี ครปรุงแต่งมนั มนั ไม่เกิด ไม่ดบั ไม่แก่
ไม่เจ็บ ไม่ตาย จึงตอ้ งมสี ติ ปญั ญา คือความรู้สึกตวั ท่ีไม่หลง
ไปกบั อะไร ไม่ขาดสติหลงไปเป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดงร่วมกบั ขนั ธห์ า้
จงึ พบว่าในใจมีความเคล่ือนไหว มีความปรุงแต่งเกิดดบั แต่ใจ
ไม่เคล่ือนไหวไม่ปรุงแต่ง ไม่เกิดไม่ดบั เป็ นของคู่กนั อยู่อย่างน้ี
ตลอดเวลา ใจก็ไม่มตี วั ใจ เมอ่ื ไม่มตี วั ใจก็ไม่มตี วั ตนไปยดึ อะไร
ใหเ้ ป็นทุกข์ เป็นใจท่ีว่างเปล่าเป็นหน่ึงเดียวกบั ความว่างของ
ธรรมชาติของจกั รวาล
เหมอื นการเดนิ ทางข้นึ เขานิพพาน ถา้ ไม่มี “สติ ปญั ญา”
เห็นหรือรูเ้ ท่าทนั ว่าหลงมตี วั เราไปเป็นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง หรือมตี วั
เราไปสงั ขาร อย่างน้ีจะพน้ จากสมมตุ ิไม่ได้ เพราะสมมตุ ินนั้ เป็น
ส่งิ ปรุงแต่ง เมอ่ื ส้นิ หลงสมมตุ ิก็จะเป็นวมิ ตุ ติโดยอตั โนมตั ิทนั ที
หรือไม่หลงเป็นอาการของใจ ก็จะเป็นใจท่ไี ม่มอี าการ
ธรรมชาตกิ ม็ ี๒ อยา่ งแค่น้ี คอื “สงั ขาร” คอื ความปรงุ แต่ง กบั
“วสิ งั ขาร” คือความไม่ปรุงแต่ง ซ่งึ ธรรมชาติของสองส่งิ น้ีจะเป็น
อนั เดยี วกนั ในขณะจติ เดยี วกนั ไม่ได้ดงั น้ันถา้ เป็ นอาการของใจ
67
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ก็จะไม่เป็ นใจท่ีไม่มีอาการ ธรรมะไม่มอี ะไรมากหรอก มนั คือ
ธรรมชาติธรรมดาน่ีแหละ คือธรรมชาติปรุงแต่งกบั ธรรมชาติ
ไม่ปรุงแต่ง ส่วนกรรมวธิ ีต่างๆ ท่ีใหเ้ ราปฏิบตั ิทงั้ หมดนน้ั เป็น
เพียงสมมุติใหเ้ ดินสู่ความจริง คือส้ินสมมุติจึงจะเป็นวิมุตติ
เพ่อื ใหเ้ หน็ ว่ามที ง้ั สมมตุ ิและวมิ ตุ ติ อย่าติดทงั้ สองอย่าง ไปติด
สมมตุ ิก็ทุกข์ แม้ติดวมิ ตุ ติก็เป็นทุกข์ ติดอะไรไม่ไดท้ ง้ั หมดทง้ั
สมมตุ ิและวมิ ตุ ติ
วธิ ีปฏบิ ตั ิ ก็ใชส้ ติปญั ญาของเจา้ ตวั สงั เกตเอา สงั เกตเอา
จรงิ ๆ ว่าหลงยึดถอื ขนั ธห์ า้ ว่าเป็ นตวั เรา แลว้ หลงมีตวั ตนของเรา
จะไปเอาอะไรหรือเปล่า หลงมีตวั เราเป็ นผูป้ รุงแต่ง เป็ นผูเ้ ล่น
ผูแ้ สดงหรือเปล่า หลงเอาตวั เราไปเสพอารมณ์ใดหรือเปล่า
ถา้ ส้ินหลงยึดถือขนั ธห์ า้ ว่าเป็นเราหรือเป็นตวั ตนของเรา ก็จะ
เป็นใจท่วี ่างเปล่าไม่สามารถปรุงยดึ ถอื อะไรได้ จะไม่มตี วั เราไป
เสพอะไร และเมอ่ื เกิดอาการต่างๆ ข้นึ มา ไม่ว่าจะเป็นอาการท่ี
ถูกใจ หรือไม่ถูกใจ หรือเป็นกลางๆ ก็จะไม่หลงยดึ ถอื ว่า ใจเรา
สบาย ใจเราว่าง หรือใจเราไม่สบาย ใจเราไม่ว่าง จะมแี ต่อาการ
เกิดดบั ในความว่าง โดยไม่มีผูเ้ สวยหรือผู้ยึดถือก็จะพน้ ทุกข์
หรือทุกขเวทนามอี ยู่ แต่ใจว่างจากทุกข์ หรือเหนือสุขเหนือทุกข์
68
จบซะที
๗
เข้าใจถึงใจ
ผูป้ ฏิบตั ิมกั หลีกหนีไม่พน้ ท่ีจะหงุดหงิดกบั ความหลงท่ี
เกิดข้นึ บางครง้ั ก็หลงปรุงแต่งไปในอดตี บางครง้ั ก็หลงปรุงแต่ง
ไปในอนาคต แต่ส่วนใหญ่หลงไปปรุงแต่งต่อส่ิงท่ีถูกรู้ในขณะ
ปจั จุบนั อย่าไปคาดหวงั ว่าเราจะสะกดความหลงไว้ทีเดียวได้
ย่งิ จะหงดุ หงดิ ย่งิ จะเพม่ิ อารมณ์ ค่อยๆ รูเ้ ท่าทนั ไปเร่ือยๆ ก็พอ
เดยี๋ วหลงก็สน้ั ลงเองแหละ หลงไดก้ ็รู้ใหม่ได้ ไม่เหน็ จะเป็นไร สติ
มากข้นึ ๆ หลงก็สนั้ ลงเอง หน้าท่ีเราคือมีสติอย่างเดียว สติท่ีจะรู้
เท่าทนั ไม่มีหน้าท่ีไปโกรธหรือโมโหจติ ท่ีหลง
อกี เร่ืองท่ีตอ้ งปฏิบตั ิใหถ้ ูก คือเม่ือเกิดการกระทบระหว่าง
อายตนะภายใน กบั อายตนะภายนอกทุกขณะปจั จุบนั ย่อม
เกิดธรรมารมณ์คือ เกิดสุข ทุกข์ หรือเป็ นกลางๆ ซ่ึงเป็ นเวทนา
69
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ส่งต่อสญั ญาและสงั ขาร คือจำ� ไดห้ มายรูว้ ่าอะไรเป็ นอะไร หรือ
เม่ือมีการกระทบย่อมเกดิ อาการทางใจอย่างใดอย่างหน่ึงเกดิ ข้ึน
แลว้ ดบั ไป เปล่ียนไปอยู่เสมอ ให้ใจยอมรบั ความจริงของเหตุ
ปจั จยั ตามปกติธรรมชาติในขอ้ น้ี ไม่ใช่ไม่ยอมรบั ความจริงแลว้
หนีไปทำ� ใจใหน้ ่ิง ว่าง เฉย โดยหลงว่ารูเ้ ป็ นอเุ บกขา แต่แทท้ ่ีจรงิ
เป็ นความหลงผิดอย่างมากๆ เท่ากบั หลงยึดถือ คือเกลียดทุกข์
รกั สุข ดีรกั ชวั่ ชงั เป็ นกิเลส ตณั หา เป็ นทางตรงขา้ มนิพพาน
ตอ้ งส้นิ ความหลงยึดถือ ส้นิ ความหลงยึดมนั่ ถือมนั่ ไม่ว่า
ในใจจะมีอาการอย่างไร สุข ทุกข์ น่ิง ว่าง เฉย ตอ้ งเขา้ หาจติ
หรือวิญญาณขนั ธ์ ผูร้ ูส้ ุข รูท้ ุกข์ รูอ้ เุ บกขาเวทนา เพ่อื รูว้ ่าจติ
หรอื วญิ ญาณขนั ธค์ ิดนึก ตรกึ ตรอง ปรุงแต่งต่อสง่ิ ท่ีถูกรใู้ นขณะ
ปจั จุบนั น้ันอย่างไร รไู้ ปท่ีจติ หรือวิญญาณขนั ธ์ มนั ทง้ั รู ้ ทง้ั คิด
ทงั้ ตรกึ ตรอง ทงั้ ถกู ใจไม่ถกู ใจ มนั จะคิดนึก ตรกึ ตรองไปไม่หยุด
จนกว่าจะส้ินความหลงยึดมนั่ ถือมนั่ ก็จะพบความจริงของ
ธรรมชาติ ว่าขนั ธห์ า้ คือร่างกายและจิตใจเป็นธรรมชาติปรุงแต่ง
แสดงอาการต่างๆ ได้เกดิ ดบั ในใจหรอื จติ เดมิ แทท้ เ่ี ป็นธรรมชาติ
ไมป่ รุงแต่ง หรอื ไมอ่ าจมอี าการปรุงแต่งได้เพราะใจหรอื จติ เดมิ แท้
เป็นวสิ งั ขารหรืออสงั ขตธาตุ ไม่มตี วั ใจ ไม่มรี ูปพรรณสณั ฐานใด
ไม่มอี าการใด เป็นเหมอื นกบั ความว่างของธรรมชาตหิ รอื จกั รวาล
70
เข้าใจถงึ ใจ : จบซะที
ถา้ มตี วั เราไปดูจติ หรอื ดูความคิดยนื พ้นื ไว ้เป็นการหลงเอา
ขนั ธห์ า้ ซง่ึ เป็นสงั ขารหรอื สง่ิ ปรุงแต่งมาปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ เอา
ตวั เราเขา้ ไปดูจติ หรือดูความคิด หรือหลงไปกระทำ� ตามความคิด
ปรุงแต่ง ดงั นนั้ ตอ้ งมสี ติปญั ญารูเ้ ท่าทนั ความหลงดงั กล่าว
ไม่ตอ้ งกลวั การหลง ถา้ หลงก็รู้สึกตวั ข้ึนมา จะไปบงั คบั
ไม่ใหห้ ลงไม่ได้ ไดแ้ ต่หลงแลว้ รู้สึกตวั ข้ึนมา ถา้ พยายามจะ
ไม่ใหห้ ลง ก็จะหลงปรุงแต่งเป็นความพยายาม และถา้ มคี วามคิด
อกุศลเกิดข้นึ ก็อย่าไปรงั เกียจ อย่าเขา้ ไปจดั การ คิดแลว้ มสี ติ
รูต้ วั อยู่ก็ไม่เป็นไร
เวลาทม่ี คี วามโกรธเกดิ ข้นึ มา อย่าใหค้ ่าใหค้ วามสำ� คญั หรอื
สนใจอารมณโ์ กรธนน้ั ใหม้ ี “สต”ิ สงั เกตตรงทผ่ี ูร้ ูอ้ ารมณ์ อารมณ์
โกรธท่ถี ูกรู้ก็หมดความหมายต่อใจไปเอง กลายเป็นตวั ท่ไี ม่น่า
สนใจไปเลย เพราะเรามาสนใจแต่จิตหรือวิญญาณขนั ธท์ ่ีไปรู ้
ในใจว่ามนั คิดนึก ตรึกตรอง ปรุงแต่งอะไร เราไม่หลงเอาตวั เรา
ไปคิดนึกปรุงแต่ง ใจก็จะว่างเปล่าเป็นธาตุรูต้ ามธรรมชาติ เป็น
มหาสุญญตา การคิดนึกปรุงแต่งเป็นขนั ธห์ า้ ดบั ไม่ได้ก็แค่รูเ้ ขา
ถา้ หลงปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ เอาตวั เราไปคิด ก็จะไม่มีสติ
ปัญญารูเ้ ท่าทนั ความหลงนั้น ถา้ หลงเป็นผูค้ ิดจะไม่เป็นผูร้ ู ้
ถา้ เป็นผูร้ ูจ้ ะไม่หลงเป็นผูค้ ิด ถา้ ส้นิ หลงปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้
ส้ินเอาตวั เรานน้ั ไปหลงคิดปรุงแต่งอย่างถาวร ก็บรรลุนิพพาน
71
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ไปแลว้ ไม่หนี ไม่ถอย ไม่หลบเลย่ี ง กดั ติดจดจ่อดูมนั เหน็ มนั
อย่างน้ี ตรงน้ี
อกี อย่างคือ การตง้ั ใจคิดไม่ใช่การหลง การตง้ั ใจสอนตวั
เองก็ไม่ใช่หลง ธรรมชาติเราทุกคนตอ้ งตง้ั ใจท่จี ะคิด ไม่ใช่ว่างๆ
เฉยๆ โง่ตายเลย
ขณะสงสยั การภาวนา เป็นการเร่ิมตน้ หลงปรุงแต่งเป็น
ตวั เรา แลว้ เอาตวั เรานนั้ ไปหลงปรุงแต่งด้นิ รนคน้ หา คือหลงเอา
สงั ขารมาปรุงแต่งเป็นตวั เรา แลว้ ก็หลงเอาตวั เราท่หี ลงปรุงแต่ง
มานนั้ ไปหลงคิดปรุงแต่งต่อๆ ไปเป็นความหลง เป็นอวิชชา
เอาตวั เราไปด้ินรน ไปคน้ หา แทนท่ีจะมีสติปญั ญาเห็นจิตท่ี
คิดนึก ปรุงแต่ง ด้นิ รน คน้ หาเป็นส่งิ ปรุงแต่ง แต่น่ีเรากลบั หลง
ปรุงแต่งด้นิ รนคน้ หาซะเอง ก็หลงเอง
ปุจฉาวิสชั ชนา
หลวงตา : พอจะแยกออกใช่ไหม
โยม : ครบั พอเห็นอย่างน้ีมนั ก็สลบั จากหลงมารู ้ รู ้
แป๊ บนึง มนั ก็หลงไปคน้ ต่ออกี ใช่ไหมครบั หลวงตา
หลวงตา : ใช่ถูกตอ้ งแลว้ เราก็รูเ้ ท่าทนั อีก เรามหี นา้ ท่ีรู ้
เท่าทนั เร่ือยไป
72
เข้าใจถงึ ใจ : จบซะที
โยม : ก็คือไม่มวี นั จบ
หลวงตา : จบนะ! ถา้ ไม่หลงส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั รูป
เสยี ง กลน่ิ รส สมั ผสั และธรรมารมณ์ คอื สง่ิ ต่างๆ หรอื อาการต่างๆ
ทถ่ี กู รู ้โดยมสี ตติ งั้ ทใ่ี จ ดูทใ่ี จ สงั เกตทใ่ี จ รทู้ ใ่ี จ ละทใ่ี จ ปลอ่ ยวาง
ท่ีใจตลอดเวลา จนพบใจหรือจิตเดิมแทท้ ่ีเป็นวิสงั ขารหรือ
อสงั ขตธาตุท่ไี ม่ปรุงแต่ง เม่ือพบใจท่ีเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง
บ่อยๆ แลว้ กจ็ ะเกดิ ปญั ญารูแ้ จง้ แยกแยะออกไดว้ ่าอนั ไหนเป็ น
จิตปรุงแต่ง อนั ไหนเป็ นใจหรือจิตเดิมแทท้ ่ีเป็ นความว่างจาก
ความปรุงแต่ง ส่วนตวั ตนของเราไม่มี ก็จะส้ินหลงเอาธรรมชาติ
ฝ่ ายปรุงแต่งมาหลงปรุงแต่งเป็ นตวั เรา และส้ินหลงเอาตวั เรา
ท่ีหลงปรุงแต่งมาน้ันไปหลงคิด หลงปรุงแต่งอย่างถาวร ก็จะ
เป็ นนิพพาน จงึ จบความหลงซะที
โยม : จะมหี นทางพบใจไดอ้ ย่างไร
หลวงตา : ทกุ ขณะปจั จบุ นั ทม่ี กี ารกระทบทางตาหูจมกู ล้นิ
กาย ใจ ใหถ้ ามตวั เองว่าใครเป็ นผูร้ ูร้ ูป เสยี ง กล่นิ รส สมั ผสั และ
ธรรมารมณ์ ก็จะไดร้ บั ค�ำตอบว่าเราคือผูร้ ู้ และผูค้ ิดตรึกตรอง
ปรุงแต่ง เหมือนพากษ์ (วิพากษ์) หรือพูดอยู่ในใจตลอดเวลา
แทท้ ่จี ริงผูร้ ูแ้ ละผูค้ ิดตรึกตรองนนั้ คือจิตหรือวญิ ญาณขนั ธท์ ำ�
หนา้ ท่รี ่วมกบั เจตสกิ คือ เวทนา สญั ญา สงั ขารในขนั ธห์ า้ แลว้ ส่ง
73
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ต่อจติ หรือวญิ ญาณขนั ธต์ วั ใหม่ๆ ต่อๆ ไปตลอดเวลา ซ่งึ ต่อไปน้ี
จะเรียกกระบวนการทำ� งานของขนั ธห์ า้ ดงั กล่าวว่า “จิตปรุงแต่ง”
ถา้ ทกุ ขณะปจั จบุ นั ไม่ขาดสตหิ ลงส่งจติ ออกนอกไปอยู่กบั
ส่งิ ท่ถี ูกรู ้ หรือไปอยู่กบั ส่งิ ท่คี ิดถงึ ก็จะมสี ติปญั ญาเหน็ ขณะจิต
หรือวญิ ญาณขนั ธท์ ำ� งานร่วมกบั เจตสิกทุกขณะท่ีมกี ารกระทบ
ทางอายตนะในทุกขณะปจั จุบนั โดยจะรูส้ ึกว่าตวั เราเป็นผูร้ ูผ้ ู ้
คิดตรึกตรองตลอดเวลา ต่อไปก็จะง่ายข้นึ แลว้ ล่ะ โดยใหม้ สี ติ
ปญั ญาเฝ้ าสงั เกตท่ตี วั เราผู้คิดตรึกตรองเหมอื นพากษ์ หรือพูด
หรือแสดงอาการจุกจิกยุกยกิ อยู่ในใจตลอดเวลา จะหา้ มก็ไม่ได้
จะดบั เขาก็ไม่ได้ ไดแ้ ต่ว่าสกั แต่ว่ารูเ้ ขา เพ่อื ไม่ใหห้ ลงติดไปกบั
เขา และอย่าไปหงดุ หงดิ รำ� คาญเขา เพราะเขาเป็นธรรมชาติอย่าง
นน้ั เอง
โดยทกุ ขณะกระทบจะตอ้ งไมข่ าดสตไิ ปสนใจใหค้ ่าใหค้ วาม
สำ� คญั ต่อส่งิ ท่ถี ูกรู ้ แต่ใหม้ สี ติปญั ญาเหน็ จิตท่คี ิดตรึกตรองปรุง
แต่งทุกขณะกระทบในปจั จุบนั ก็จะไม่หลงส่งจิตออกนอกไป
อยู่กบั ส่งิ ต่างๆ ท่ถี ูกรู ้ ความหลงก็จะนอ้ ยลงไปเร่ือยๆ จนมสี ติ
ปญั ญาท่สี มบูรณ์ ส้นิ ความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่ ก็จะเหน็ จิตเขาคิด
ตรกึ ตรองหรอื ปรุงแต่งแสดงกรยิ าอาการข้นึ มาเอง แลว้ ดบั ไปเอง
หรือเกิดเอง ดบั เอง เกิดเอง ดบั เอง… อย่างเป็นอสิ ระ แต่ไม่มี
ตวั ตนของผูเ้ หน็ ผูร้ ูห้ รือผูเ้ หน็ ท่ไี ม่มตี วั ตนไม่มอี าการใดๆ เลยน้ี
74
เข้าใจถงึ ใจ : จบซะที
เป็นใจหรือจิตเดิมแท้ เป็นวสิ งั ขารหรืออสงั ขตธาตุ คือไม่อาจ
ปรุงแต่งได ้
โยม : ถา้ อย่างนนั้ ตอ้ งคอยดูหรือรู้จิตไว ้
หลวงตา : อย่าพยายามเขา้ ไปดูจติ ก่อนนะ เพราะนัน่ คือ
การหลงเอาขนั ธห์ า้ คิดปรุงแต่งเป็ นตวั เรา แลว้ หลงปรุงแต่งเอา
ตวั เราเขา้ ไปดูจติ
ระหว่างทำ� งานทง้ั วนั เกิดคิดข้นึ มาว่า วนั น้ีไม่ไดด้ ูจิตเลย
มนั ก็เร่ิมคิดปรุงแต่งเขา้ ไปดูจิต แลว้ ก็หลงปรุงแต่งเอาตวั เรา
เขา้ ไปรู้ไปตามดูจิต เป็นหลงปรุงแต่งหมดเลย ส่วนสติปญั ญา
ท่แี ทจ้ ริงคือรูเ้ ท่าทนั พฤติกรรมเช่นนน้ั แลว้ รูต้ วั ข้นึ มา
โยม : ผมฟงั อยู่น้ี ขา้ งในมนั ก็ตรกึ ตรองหาความเขา้ ใจ
เราเห็นแค่ตวั ขา้ งในนนั้ บางทมี นั ก็ไม่เป็นเร่ืองเป็นราว บางทกี ็
ทำ� ท่าจะพยายาม อกึ อกั ๆ
หลวงตา : ก็สกั แต่ว่ารู…้ ส่วนตาก็มองเห็นหลวงตา หูก็
ไดย้ นิ เสยี ง แต่ก็สกั แต่ว่ารูว้ ่าในใจยุกๆ ยกิ ๆ อย่างไร ก็รูอ้ ย่างน้ี
ตลอดเวลา ถา้ หลงไปอยากใหต้ วั เรารูม้ ากข้นึ เขา้ ใจมากข้นึ อนั น้ี
หลงเป็นสงั ขารหรือหลงปรุงแต่งแลว้ ก็รูใ้ หเ้ ท่าทนั ความหลง
ก็ดบั
75
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
โยม : ท่ีหลวงตาอธิบายใหผ้ มฟงั มา มนั ก็เขา้ ใจ...
แต่จะมตี วั สงสยั อยู่
หลวงตา : มนั เป็ นแต่เพียง “สัญญา” มนั ยังไม่เป็ น
“ปญั ญา”
โยม : ทำ� อย่างไรจึงจะเป็น “ปญั ญา”
หลวงตา : ปญั ญาตอ้ งเห็นความจริงจากใจในปจั จุบนั น้ี
คือเห็นว่าจะมีผู้คิดตรึกตรองหรือจะปรุงแต่งแสดงอาการใด
ในใจ เช่น จะมอี าการพยายาม ทำ� ท่า อาการจกุ จกิ จกุ จกิ จกุ จกิ ...
อกึ อกั อกึ อกั อกึ อกั ... หรืออยากจะพูด อยากจะคิด แต่ก็ไม่มี
คำ� พูดหรอื ความคดิ ใดออกมา เพราะถกู เหน็ หรอื รูเ้ ท่าทนั เสยี หมด
เหมอื นกบั ว่าคนจะแอบมพี ริ ุธในใจ แต่ถูกเขาจบั ไดต้ ่อหนา้
โยม : ถา้ อย่างนนั้ … อมื !…
หลวงตา : ถา้ ท่านยงั จะคิดหรือพูดออกมา ก็หลงไปเป็น
สงั ขารหรือหลงปรุงแต่งเสยี หมด
โยม : (เงยี บ… แต่แอบจะคิดอยู่ในใจ)
หลวงตา : ถา้ ท่านยงั แอบจะคิดอยู่ในใจ ก็ยงั หลงสงั ขาร
โยม : พยายามท่จี ะหยุดคิด หยุดถาม…
76
เข้าใจถงึ ใจ : จบซะที
หลวงตา : ความพยายามท่ีจะหยุดคิดหยุดถามน้ีก็หลง
สงั ขาร เพราะมอี าการปรุงแต่งเป็นความพยายามข้นึ มา
โยม : อย่างนน้ั จะทำ� อย่างไร เพราะอะไรๆ ก็หลง
สงั ขาร
หลวงตา : ไม่ทำ� อะไร
โยม : ไม่ทำ� อะไร แลว้ จะเป็นอย่างไร
หลวงตา : ไม่มใี ครเป็นอะไร
(ศิษยก์ บั หลวงตา… เงยี บสงบสงดั ไปนาน… สกั พกั หน่ึง)
หลวงตา : ทำ� ไมหยุดคิดหยุดพูดเสยี ล่ะ
โยม : มนั ถามไม่ออก… คิดไม่ออกเลย… พูดอะไรก็
ปรุงแต่ง คิดอะไรก็ปรุงแต่ง จะพยายามทำ� อะไรก็ปรุงแต่ง
หลวงตา : น่ีแหละ มี “ปญั ญา” แลว้
โยม : … (มปี ญั ญาโพลง่ หรอื แจง้ ข้นึ มาในปจั จบุ นั ขณะ
ทนั ทวี ่า ของจริงพูดไม่ได้ ของท่พี ูดไดไ้ ม่จริง)
หลวงตา : ไม่มคี ำ� พูดใดออกมา เพราะมนั ไม่ไดป้ รุงแต่ง
อะไร ไม่ปรุงแต่งไปรูอ้ ะไร ไม่ปรุงแต่งจะไปหาความเขา้ ใจ
77
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
อะไร จิตมนั หยุดปรุง จิตท่ีหยุดน่ีแหละคือใจหรือจิตเดิมแท้
ท่ีเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มนั เลยพูดไม่ออก
ขณะนนั้ …
...โลกธาตุทง้ั ภายใน และ โลกธาตุภายนอก... เงยี บสงบสงดั ...
เม่ือหยุดปรุงแต่ง ก็พบใจหรือจิตเดิมแทท้ ่ีเป็ นความว่าง
เหมือนกบั ความว่างของธรรมชาติ โลกธาตุเลยสงบสงดั ไปหมด
เพราะขณะน้ีไม่มอี ะไรมคี วามหมายต่อใจเลย ไม่มคี วามหมาย
ท่ีจะไปดูหรือไปรูอ้ ะไร ไม่มีความคิดแมแ้ ต่นอ้ ยหน่ึงเลยท่ีจะ
เขา้ ไปดูจิต จิตท่ปี รุงแต่งก็หยุด ท่มี นั บ่นพูดในใจก็หยุด ขนั ธห์ า้
ก็หยุดไปเฉยๆ ผู้รู้ก็เหมอื นกบั ไม่ไดท้ ำ� งาน… โลกธาตุภายใน
และโลกธาตุภายนอกมนั หยุดไปทง้ั หมด
หยุดหลงปรุงแต่งเอง ดว้ ยความเขา้ ใจถึงใจ ไม่ใช่ดว้ ย
การบงั คบั มนั โพล่งหรือแจง้ ข้นึ ท่ใี จ มนั ไม่ตอ้ งการความเขา้ ใจ
อะไรเลย ไดแ้ ต่รูว้ ่าไม่มีอะไรท่ีมีความสำ� คญั มนั่ หมายแก่ใจอกี
ต่อไป โลกธาตุภายในใจและโลกธาตุภายนอกทง้ั จกั รวาลก็สงบ
สงดั ทนั ที เพราะส้นิ หลงปรุงแต่งขณะปจั จบุ นั ส้นิ ผูเ้สวย ส้นิ ผู้ยดึ
มนั่ ถอื มนั่ ไม่มผี ู้ไปดู ไม่มผี ้ไู ปรู ้ ไม่มอี ะไรอยู่ในใจเลย แมแ้ ต่
ตวั ใจเองก็ไม่ม…ี “เปล่าๆ… บริสุทธ์ิ”
78
จบซะที
๘
ญาณตามหลงั ธรรม
คนท่มี สี ติปญั ญาขน้ั สูง มบี ุญบารมสี ะสมมามากก็สามารถ
เขา้ ใจตรงน้ีไดเ้ลย คือถา้ หลงมีตวั เราไปเร่มิ ตน้ แสดงกรยิ าอาการ
ใดก่อนเท่ากบั เป็ น “อวิชชา” คือหลงมตี วั เราไปคิดไปปรุงแต่ง
ทนั ที และกลายไปเป็นธรรมชาติท่ีปรุงแต่ง จะไม่สามารถเป็น
ธรรมชาติท่ีไม่ปรุงแต่งท่ีเป็นธาตุรูท้ ่ีบริสุทธ์ิไดซ้ ะที อย่าหลง
มีตวั เราไปเร่มิ ตน้ คดิ นึก ตรกึ ตรอง พยายามแอคชนั่ พยายามจะ
ท�ำอะไร พยายามจะดู พยายามจะรู้ พยายามจะท�ำความเขา้ ใจ
พยายามจะวิเคราะห์ วิจารณ์ วิจยั มนั เป็ นอวิชชา
เพยี งแต่มสี ติ สมั ปชญั ญะ คอื ความรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ มไมห่ ลง
ส่งจิตออกนอกไปอยู่กบั อารมณ์ท่ีถูกรู ้ คือรูป เสยี ง กลน่ิ รส
สมั ผสั และธรรมารมณไ์ ดแ้ ก่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร และ อย่าหลง
79
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
มตี วั เราไปเร่ิมตน้ ก่อน เช่น เร่ิมตน้ จะเขา้ ไปดูจิตหรือดูความคิด
ปลอ่ ยให้จติ เขาคิดหรอื ปรุงแต่งข้นึ มาเองแลว้ ดบั ไปเอง เพราะเขา
เป็นธรรมชาติท่ปี รุงแต่ง เป็นสง่ิ ท่เี กิดดบั ใหธ้ รรมชาติท่ีปรุงแต่ง
เขาปรุงแต่งข้ึนมาก่อน แลว้ เดี๋ยว “ญาณ” ก็รูต้ ามหลงั ทนั ที
ใหจ้ ิตปรุงแต่งเกิดข้ึนมาเอง แลว้ ก็ดบั ไปเอง เกิดข้ึนมาเอง
ดบั ไปเอง ปล่อยใหเ้ ขาปรุงข้นึ มาก่อน อย่ามตี วั เราเป็นคนไปปรุง
ถา้ มตี วั เราเป็นคนไปปรุง ช่ือก็บอกแลว้ ว่า “มีตวั เรา” มีตวั เราก็
เป็ นอวิชชาทนั ที อย่ามตี วั เราเป็นคนไปปรุงก่อน ปล่อยให้จิต
แสดงอาการข้นึ มาก่อน แลว้ ความรูก้ ็รูต้ ามหลงั
รูต้ ามหลงั ธรรมชาตฝิ ่ายปรุงแต่ง เรยี กว่า “รูต้ ามหลงั ธรรม
ท่ีปรุงแต่ง หรือญาณตามหลงั ธรรม” เป็นแต่ความรู ้ ไม่มใี คร
เป็นคนรู ้ เป็นความรูต้ ามหลงั ธรรมท่ปี รุงแต่ง คือจิตท่ปี รุงแต่ง
ซ่ึงเป็นธรรมชาติฝ่ ายปรุงแต่ง ปล่อยใหธ้ รรมชาติฝ่ ายปรุงแต่ง
ปรุงข้นึ มาก่อน แลว้ ญาณก็รูต้ ามหลงั ธรรม จำ� ไวน้ ะ ญาณเป็ นแต่
ความรู้ ไม่ปรากฏอาการรู้ ไม่มีใครรสู้ กึ ว่าเป็ นตวั เราไปรู้ เป็ นแต่
ความรูว้ ่ามีจติ ปรุงแต่งข้ึนมา แลว้ ความรกู้ ร็ ูต้ ามหลงั จติ ปรุงแต่ง
ความรู้ท่ีรูต้ ามหลงั จิตปรุงแต่งน้ี ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง ไม่มี
แมแ้ ต่ความรสู้ กึ ว่าง มนั ว่างเปล่าจากตวั ตน ว่างเปล่าจากอาการ
ใดๆ ทงั้ หมด
80
ญาณตามหลงั ธรรม : จบซะที
แต่เม่ือสติ สมั ปชญั ญะ คือความรู้สึกตวั ทวั่ พรอ้ มขาด
ก็จะหลงเอาตวั เราไปคิด ปรุงแต่งด้ินรนคน้ หา... เป็นผูด้ ู เป็น
ผรู้ จู้ ติ หรือความคิด พยายามทำ� อะไรเพอ่ื จะใหเ้ ป็นอะไร ก็ตอ้ งมี
สติ สมั ปชญั ญะข้นึ มา ไม่ตอ้ งพยายามไปดูหรอื ไปรูอ้ ะไร ปลอ่ ยให้
จิตเขาปรุงแต่งเป็ นความคิดหรือกริยาอาการต่างๆ ข้ึนมาเอง
ก่อน แลว้ ญาณก็รูต้ ามหลงั ธรรมคือจติ ท่ีปรุงแต่งทนั ที อย่างน้ี
เร่ือยไปจนกว่าสติ สมั ปชญั ญะไม่ขาดเลย เรียกว่าเป็นมหาสติ
ก็จะเป็นมหาสมาธิ มหาปญั ญา ก็จะส้นิ หลงเอาตวั เราหรอื มตี วั เรา
ไปปรุงแต่งเพ่อื ตวั เราอกี ต่อไป หรืออวชิ ชาดบั “ญาณ” ซ่งึ เป็น
ความรนู้ ้ีก็จะเป็นความรทู้ ่เี ป็น “ธาตุรูท้ ่บี ริสุทธ์ิ” เรียกว่า “ใจหรือ
จติ เดมิ แท”้ หลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน เรียกว่า “ธรรมธาตุ”
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เรียกว่า “พทุ ธะ” คือความรู้ท่ีส้นิ หลง ส้นิ
อวิชชา ส้นิ ยึดถอื ว่าตวั ตนเป็ นเรา เป็ นตวั เรา หรอื เป็ นตวั ตนของ
เรา ส้นิ ตวั ตนของเราท่หี ลงเป็นผูค้ ิด ผูป้ รุงแต่ง พยายามเขา้ ไปรู ้
เขา้ ไปเห็น เพ่อื จะให้ได้ใหเ้ ป็น ไม่มแี มแ้ ต่อาการของผูร้ ู ้ ไม่มี
แมแ้ ต่ตวั ตนของผูร้ ู ้ มแี ต่ความรู ้ แต่ตวั ตนของผู้รู้ไม่มี อาการ
ของผรู้ ู้ไม่มี และไม่ใช่ตวั เราเป็นคนรู ้ทว่ี ่ารูน้ น้ั ก็ไม่ใช่ตวั เรา มแี ต่
ความรูเ้ รียกว่า “พทุ ธะ” เป็นอมตะ
81
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
“ญาณ” คือธาตุรูท้ ่ีบริสุทธ์ิ ท่ีส้ินอวชิ ชา ดบั อวชิ ชา ดบั
ความหลงยดึ ดบั ความโง่ไปแลว้ เลยเห็นแต่จิตท่ีปรุงแต่งเกิด
ดบั เพราะเป็ นธรรมชาติท่ีเกิดดบั ส่วนญาณหรือธาตุรู้ท่ีบริสุทธ์ิ
เป็ นธรรมชาติท่ีไม่เกิดไม่ดบั ไม่มตี วั ตน ไม่มรี ูปร่าง ไม่มกี ริยา
อาการแสดงใดๆ เกิดดบั เลย เป็นความว่างเว้งิ วา้ งไพศาลดุจ
มหาสุญญตา มหาจกั รวาลกวา้ งใหญ่ไพศาล หลวงปู่ดูลย์ อตุโล
เรียกว่า “มหาสุญญตา”
วิธีท่ีปฏิบตั ิ ถา้ ไม่เขา้ ใจว่าปล่อยใหก้ ริยาอาการของจิต
เกิดก่อน แลว้ ญาณเน่ียตามหลงั ธรรมยงั ไง ถา้ ยงั ไม่เขา้ ใจ อย่า
หลงมีตวั เราไปทำ� อะไรก่อน อย่าหลงมีตวั เราไปพยายามคิด
พยายามปรุง พยายามดู พยายามรู ้ พยายามเหน็ พยายามทำ�
ความเขา้ ใจ พยายามไปทำ� อะไรใหเ้ ป็นอะไร อย่าหลงใหม้ ีตวั เรา
เป็ นผูเ้ ร่ิมตน้ เขา้ ไปท�ำอะไรในใจ อย่าหลงใหม้ ีตวั เราไปเร่ิมตน้
เป็ นผูแ้ สดง เป็ นผูเ้ ล่น ผูก้ ระท�ำ อย่าใหม้ ีตวั เราไปเร่ิมตน้ ก่อน
ปล่อยให้จิตปรุงแต่งเขาเร่ิมตน้ ก่อน แลว้ ญาณก็จะตามหลงั
ธรรมท่ีปรุงแต่ง
หลวงตาเลยเปรียบไวว้ ่า เป็นคลา้ ยๆ กบั ขอ้ กฎหมายเร่ือง
ป้ องกนั ตวั อา้ งเหตุไม่ตอ้ งรบั ผิดได้ ถา้ ฟงั ไดว้ ่าป้ องกนั ตวั พอ
สมควรแก่เหตแุ ลว้ ก็ไมต่ อ้ งรบั ผดิ เช่น ถา้ เราชกั อาวุธออกไปก่อน
82
ญาณตามหลงั ธรรม : จบซะที
เราเป็นคนเร่มิ ตน้ ก่อน เขากเ็ ลยชกั อาวธุ ออกมาสูก้ บั เรา สุดทา้ ยเรา
แทงเขาตายหรือเขาบาดเจ็บ แลว้ เราก็อา้ งเหตุป้ องกนั ตวั อย่างน้ี
ฟงั ไม่ข้นึ เพราะมตี วั เราเป็นคนเร่ิมตน้ ก่อน ถอื ว่ามคี วามผดิ ตอ้ ง
ไดร้ บั โทษ แต่ถา้ คนตายหรือคนบาดเจบ็ นน้ั เร่ิมตน้ ชกั มดี จะแทง
เราก่อน เราเลยป้ องกนั ตวั ท่พี อสมควรแก่เหตุในทนั ใดนนั้ ก็คือ
เราเอามดี ออกมากวดั แกว่งป้ องกนั ตวั แลว้ ไปโดนเขาตายหรือ
บาดเจ็บทพ่ี อสมควรแก่เหตทุ เี ดยี ว อย่างน้ี อา้ งเหตปุ ้องกนั ตวั ไม่
ตอ้ งรบั ผดิ ได้ เพราะไม่หลงมตี วั เราซ่งึ เป็นอวชิ ชาไปเร่ิมตน้ ก่อน
มนั คลา้ ยกนั มากเลย คลา้ ยกนั มากคืออะไร หลงมตี วั เรา
เร่ิมตน้ แสดงกริยาอาการก่อน ถา้ หลงมตี วั เราเร่ิมตน้ ก่อน จะอา้ ง
เหตุไม่ตอ้ งรบั ผดิ ไม่ได้ ตอ้ งไดร้ บั โทษคือตอ้ งทุกขน์ ่ีไง หลวงตา
เลยเปรียบเทยี บเหมอื นขอ้ กฎหมายอนั น้ี คือถา้ หลงมตี วั เราไป
เร่ิมตน้ ก่อน ภายในใจเราเร่ิมตน้ แสดง เร่ิมตน้ เป็นผูเ้ ล่น ผูแ้ สดง
เร่มิ ตน้ ปฏกิ ริ ยิ าอาการก่อนเน่ีย เราเลยตอ้ งรบั โทษแลว้ ก็เป็นทกุ ข์
น่ีไง แต่ถา้ ฝ่ายผูต้ ายผูเ้สยี หายเขาเร่มิ ตน้ จะเอามดี มาแทงเราก่อน
เราก็เลยควกั มดี ออกมากวดั แกว่งไปโดนเขาทเี ดยี วเขาตายหรือ
บาดเจ็บเขา้ อย่างน้ีเราไม่ตอ้ งมีทุกข์ คือไม่ตอ้ งรบั ผิดไม่ตอ้ ง
รบั โทษ อา้ งเหตุป้องกนั ตวั ได้ถา้ พอสมควรแก่เหตุและกระทำ� ใน
ปจั จุบนั ทนั ใดนนั้ เพ่อื ป้ องกนั ตวั เอง
83
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ฉะนน้ั ภายในใจปล่อยให้จิตเขาแสดงอาการข้นึ มาก่อน
อย่ามตี วั เราไปแสดงอาการก่อน ถา้ มตี วั เราแสดง แมม้ ตี วั เราไป
แสดงอาการเป็นสติก่อน คือเราเร่ิมตน้ ไปดูจิตหรือดูความคิด
ก่อนโดยไม่ไดเ้ ป็นญาณท่ีตามหลงั กริยาอาการของจิตท่ีแสดง
อาการ คือเรายงั ไม่ไปเห็นว่าจิตเขาแสดงอาการเลย เราเร่ิมตน้
ไปมสี ติ เป็นสติปญั ญา คือไปควานหาแลว้ ไปพยายามทำ� อะไร
ในใจ ไปพยายามจะทำ� สติไว ้ พยายามจะไปทำ� ความรู้สกึ ตวั ไว ้
ในใจ พยายามจะปฏบิ ตั ิอะไรไว ้ แมแ้ ต่เวลานงั่ สมาธิเดนิ จงกรม
อยู่เราก็ไปพยายามทำ� สติ ไปพยายามทำ� ปญั ญา ไปพยายาม
ควานหา ไปคิดนึกตรึกตรอง ไปด้นิ รน คน้ หาเหตุ หาผล หาถูก
หาผดิ หานิพพาน ไปพยายามกระทำ� อะไรเพ่อื ใหเ้ ป็นอะไร ถา้
หลงมีตวั เราไปพยายามเร่ิมตน้ ก่อน อนั น้ีเป็ นอวิชชา คือหลงมี
ตวั เราไปเร่ิมตน้ เป็ นผูเ้ ล่นผูแ้ สดง เท่ากบั หลงยึดถือเอาขนั ธห์ า้
เป็ นตวั เรา ถา้ ไม่มตี วั เราไปเร่ิมตน้ เร่ิมแสดง ก็แสดงว่าเรายงั ไม่
ได้ไปยดึ ขนั ธห์ า้ เป็นตวั เรา เหลอื แต่ญาณตามหลงั ธรรม จนกว่า
สติ สมั ปชญั ญะไม่ขาดอีกเลย ญาณก็คือธาตุรู้ท่บี ริสุทธ์ิเพราะ
ส้นิ อวชิ ชาแลว้
กรณีตงั้ ใจคิด ก็ตงั้ ใจคิดเร่ืองทำ� มาหากินจบแลว้ ก็ปล่อย
ใหญ้ าณตามหลงั ธรรม คือปลอ่ ยใหจ้ ติ แสดงข้นึ มาเอง แลว้ ญาณ
ก็ตามหลงั ธรรมไป ไม่ใช่บอกว่าทงั้ วนั ทง้ั คืน ๒๔ ชวั่ โมง ทง้ั วนั
84
ญาณตามหลงั ธรรม : จบซะที
ทงั้ คืนตลอดชีวติ มแี ต่เร่ืองตงั้ ใจคิดทง้ั นน้ั เลย ไม่มเี ร่ืองอะไรไม่
ตงั้ ใจคดิ เลย คดิ ทง้ั วนั ทง้ั คนื น่ีเรยี กวา่ ฟ้งุ ซ่าน พอตง้ั ใจคดิ ในเร่อื ง
ทำ� มาหากนิ จบแลว้ ก็วางลง แลว้ ปลอ่ ยใหจ้ ติ แสดงกรยิ าอาการเอง
แลว้ ญาณก็ตามหลงั
“ญาณ” คือธาตุรู้ท่ีบริสุทธ์ิเป็ นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง เป็ น
ความรู้ท่ีไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปร่าง ไม่อาจแสดงกริยาอาการใดๆ
ไดเ้ ลย เป็ นความรทู้ ่ีเป็ น “พทุ ธะ” คือเป็ นความรทู้ ่ีส้นิ อวิชชา คือ
ส้นิ หลงวา่ มเี รา มตี วั เรา หรอื มตี วั ตนของเราเป็นตวั เป็นตน “รตู้ ่นื ”
เพราะต่ืนจากความหลงแลว้ “รูเ้ บิกบาน” เพราะส้นิ หลงยึดถือ
อะไรใหเ้ ป็ นกิเลสเศรา้ หมองและความทุกข์ “พทุ ธะ” เป็นอมตะ
ไมเ่ กดิ ไมด่ บั ไมอ่ าจถกู ทำ� ลาย เพราะไมม่ ตี วั ตน ไมม่ รี ูปร่าง ไมม่ ี
รูปพรรณสณั ฐาน ไม่มกี ริยาอาการใด
ดงั นนั้ จึงไม่ตอ้ งกลวั ตาย เพราะจะกลายไปเป็น “พทุ ธะ”
ทเ่ี ป็นธาตรุ ูท้ ไ่ี ม่มตี วั ตนอย่างเป็นอมตะ ไม่มกี ารเกิด ไม่มกี ารดบั
มแี ต่ธาตุแตกขนั ธด์ บั ไปเท่านนั้
85
“ สติตั้งที่ใจ
รู้ที่ใจ สังเกตที่ใจ
ละท่ีใจ ปล่อยวางที่ใจ ”
“ รู้ทุกคิดไม่ติดไป
จิตเป็นอย่างไรได้แต่รู้
ไม่หนีไม่สู้
แค่รู้อยู่ที่ใจ ”
จบซะที
๙
อย่างไรจึงเรียกอวิชชา
“สติ เป็ นมหาสติ เป็ นมหาสมาธิ เป็ นมหาปญั ญา
เป็ นพระนิพพาน
สติขาด สมาธิขาด ปญั ญาขาด ธรรมขาด
สติมี สมาธิมี ปญั ญามี ธรรมมี
สติอนั เดียวในปจั จุบนั น้ี”
“สติ” เป็ นหวั ใจหลกั ของการภาวนา แต่ความเขา้ ใจผิด
เร่ืองสติท�ำใหเ้ ราปฏิบตั ิไม่ถูกตอ้ ง “สติ” คือความไม่หลงใน
ปจั จบุ นั แต่หลายคนเขา้ ใจผดิ เช่น กลวั หลง กลวั ขาดสติ แลว้ เขา้
ไปประคองพยายามไปทำ� สติ พยายามไปรูส้ กึ ตวั พยายามเอา
ตวั เราไปทำ� ... ไปด้นิ รนคน้ หา เอาตวั เราไปดูรูเ้ หน็ เอาตวั เราไป
จดั การใดๆ กต็ าม ถา้ มีตวั เราไปทำ� อะไรกห็ ลงทนั ที เป็ น “อวชิ ชา”
เป็ นกเิ ลส ตณั หา อปุ าทาน ภพ ชาตทิ นั ทโี ดยอตั โนมตั ิ คอื ถา้ เส้ยี ว
87
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
วนิ าทเี ดยี วมตี วั เราเขา้ ไปทำ� อะไร มตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดส้ ่วนเสยี
ปฏิจจสมุปบาทก็หมุนเลย อวิชชาก็เกิด เม่ือส้ินเอาตวั เราไป
ปรุงแต่ง อวชิ ชาก็ดบั ทนั ทเี ช่นกนั
หลงก็แค่รูต้ วั ข้ึนมา รูส้ กึ ตวั ข้นึ มาบ่อยๆ ไม่ใช่ไปกลวั หลง
ตอ้ งหลงเสยี ก่อนจะไดเ้ หน็ ว่าความหลงเป็นยงั ไง สุดทา้ ยก็หาย
หลง ตรงน้ีเป็นหวั ใจท่สี ำ� คญั มาก แต่ถา้ เราหลงเขา้ ไปพยายาม
รกั ษาสติไวจ้ ะได้ไม่หลง... อนั น้ีคือหลงตง้ั แต่รกั ษาสติแลว้ แต่
ถา้ หลงแลว้ เราก็รสู้ กึ ตวั ข้นึ มาอย่างน้ีมสี ติ เดยี๋ วพอหลงใหม่เราก็
รสู้ กึ ตวั ข้นึ มาใหม่ การปฏบิ ตั ิก็แค่น้ี แต่ปกติมสี ติแป๊ บเดยี วมนั ก็
ตอ้ งหลงเป็นธรรมดา หลงอกี เราก็รสู้ กึ ตวั อกี ยง่ิ หลงเรายง่ิ รสู้ กึ ตวั
เราก็ย่งิ มสี ติ แต่พอเราไม่ทนั หลงเลย เราไปรีบมสี ติรกั ษาสติไว ้
เพ่อื ไม่ใหห้ ลง ทนี ้ีหลงยาวเลย หลงรกั ษาสติยาวเลย
หลกั ปฏบิ ตั ติ อ้ งแม่น หลกั คืออะไร สงั ขารทง้ั หมดทกุ กริยา
อาการ ทกุ ความคิด ต่อใหเ้ ป็ นอย่างไรกต็ าม ถา้ ไม่มีความรสู้ กึ ว่า
มีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สยี ไม่มีตวั เราเขา้ ไปร่วม ทุกอย่างเป็ น
แค่สงั ขารปรุงแต่งธรรมดา ก็ไม่เป็ นอวิชชา ไม่เป็นกิเลส ตณั หา
อุปาทาน ภพ ชาติ ทุกข์ โศกเศรา้ เสยี ใจ คบั แคน้ ใจ สงั ขาร
ทงั้ หมดทุกขณะปจั จุบนั ไม่ว่าจะดหี รือถูกใจขนาดไหน เป็นกุศล
ขนาดไหน พอมีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สยี ก็เป็ น “อวิชชา” เป็ น
กิเลสตณั หาทนั ที
88
อยา่ งไรจงึ เรียกอวชิ ชา : จบซะที
“อวิชชา” คือมีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สยี จริงๆ แต่ถา้ มนั
เป็ นแค่ค�ำสรรพนามสมมุติเรียกตวั เราว่า “เรา…” เพื่อใชพ้ ูด
คุยหรือส่ือสารกนั โดยไม่มีความรู้สึกหลงยึดถือว่าเป็ นตวั ตน
เป็ นเรา เป็ นตวั เรา หรือเป็ นตวั ตนของเราจริงๆ จงั ๆ แลว้ ก็ไม่
เป็ นอวิชชา ตรงน้ีตอ้ งแม่นมากๆ ผูป้ ฏิบตั ิธรรมถา้ ไม่แม่นใน
หลกั ธรรมเหมอื นกบั ไม่แม่นในขอ้ กฎหมาย จะแปลความคลาด
เคลอ่ื นแลว้ ปฏบิ ตั ผิ ดิ หมดเลย ทถ่ี ูกกลายเป็นผดิ ทผ่ี ดิ กลายเป็น
ถูก ปฏบิ ตั ิกลบั หวั กลบั หางกนั หมด
หลวงตามพี อ่ แมค่ รูอาจารยอ์ งคห์ น่งึ คอื หลวงปู่ทา จารธุ มั โม
เป็นพระอรหนั ตม์ รณภาพตอนอายุ ๙๘ ปี เป็นท่ียอมรบั ใน
พระอริยสงฆท์ งั้ หลาย หลวงตาก็นวดท่านอยู่ นวดอยู่เกือบสอง
ชวั่ โมง มอื ก็นวดทง้ั ตวั นวดไปๆ บางทนี วดไปจบั นมท่าน นม
เห่ยี วๆ จติ ก็คิดว่า...“คนแก่นมเหมอื นเด็ก” แต่เราก็มสี ติรูต้ วั อยู่
ดุจิตว่า “คิดอะไรบา้ ๆ ท่านรูท้ ุกคิดนะ” มสี ติคอยว่าตวั เองอยู่
ตลอดเวลาว่า “ทำ� ไมคิดอย่างน้ี คิดอย่างน้ีไดอ้ ย่างไร” ระหว่าง
ท่นี วดไปก็คิดจุก๊ จิก๊ ๆ ในใจ แต่เราก็รูท้ ุกคิดไม่ติดไป แต่ก็หา้ ม
จติ ไมใ่ หค้ ดิ ไมไ่ ด้พอนวดเสร็จกม้ ลงกราบขอขมาท่าน เมอ่ื ก้นี ้ีคดิ
อะไรสปั ดนก็ขอขมา... โดนท่านตวาด “ไอท้ ่คี ิดอยู่ตงั้ นาน มสี ติ
รูต้ วั อยู่ไม่ใช่เหรอ มนั จะเป็นบาปอะไร แต่กำ� ลงั ขอขมาอยู่น้ี
ไม่มสี ติ มนั เป็นบาป” อา้ ว!... ต่อใหค้ ิดอกุศล แต่มสี ติรูต้ วั อยู่
89
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ไม่เป็นบาป แต่ตอนขอขมาอยู่น่ีไม่รูต้ วั เลย อนั น้ีไม่มสี ติกลบั
เป็นบาปกรรม พจิ ารณาดูใหด้ นี ะ ขนาดกราบขอขมา... ถา้ ขาด
สติเป็ นบาปกรรม... แต่ถา้ มีสติขนาดคิดไม่ดีกลบั ไม่มีบาปกรรม
หลวงปู่ชา สุภทั โท ท่านเคยกล่าวไวว้ ่า “การปฏบิ ตั ิธรรม
ท่ีดีท่ีสุด คือไม่ตอ้ งทำ� อะไรเลย ไม่ตอ้ งท�ำอะไรเลยนัน่ แหละ
คือการปฏิบตั ิท่ีดีท่ีสุด” เพียงแต่ใหม้ ีสติอย่างเดียว ไม่ใช่
จะไปปฏิบตั ิใหม้ นั เป็ นอะไร วางมนั วางตลอดเวลา คือแค่
รูต้ วั ว่ามีอะไรเกิดข้ึนในใจเท่าน้ัน ไม่ว่าสุขหรือทุกข์ กุศล
หรืออกุศล ยงั ไงก็ตอ้ งวาง “วาง” คือปล่อยใหม้ นั เป็ นอย่าง
ท่ีมนั เป็ น ไม่มีใครไปยุ่งวุ่นวายกบั มนั ไม่ไปพยายามดบั เขา
แต่ก็ไม่ปล่อยใหค้ ิดพูดท�ำไปโดยไม่รูต้ วั ไม่มใี ครเขา้ ไปยึดถอื
ไม่มใี ครพยายามจะกนั ไวไ้ ม่ใหท้ ุกข์ กิเลสท่ที ำ� ใหเ้ กิดความทุกข์
มาจากจิตปรุงแต่งเขา้ ไปยึดเท่านน้ั แหละ ไม่เขา้ ไปยึดก็ไม่มี
อวชิ ชา กิเลส ตณั หา อุปาทาน… และทุกขเ์ ลย เพราะอวชิ ชาเป็น
เหตุให้จิตปรุงแต่งมตี วั เราเขา้ ไปยดึ ถอื หรือมตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วน
ไดเ้ สยี หลวงตามหาบวั ญาณสมั ปนั โน กล่าวไวอ้ ย่างชดั เจนว่า
“นอกจากขนั ธห์ า้ แลว้ ยงั มีใจท่ีบรสิ ุทธ์ิ ปล่อยวางขนั ธห์ า้ หมดเสยี
แลว้ แต่ยงั มายึดใจ ก็ไม่บริสุทธ์ิ เป็ นอวิชชา”
ดงั นน้ั “สติปญั ญา” คือเคร่ืองอา่ นใจ ท้ิงไม่ได้ในทุกขณะ
ปจั จุบนั ไม่ไดม้ ีหน้าท่ีอะไรมากกว่าการอ่านใจตวั เองใหข้ าด
90
อยา่ งไรจงึ เรียกอวิชชา : จบซะที
อย่างเดียว ไม่มีอะไรเลศิ ประเสรฐิ เท่าสตปิ ญั ญาอกี แลว้ ตอ้ งอ่าน
ใหอ้ อกว่า “เราน่ียงั เขา้ ไปยดึ อะไร ยงั เลอื กอะไรอยู่ ยงั เลอื กท่จี ะ
เอาอะไรและเลอื กทจ่ี ะไมเ่ อาอะไร ยงั มดี ูด มผี ลกั อยู่” อนั นนั้ ก็คอื
“ยดึ ” เคร่ืองอ่านน่ีตอ้ งอ่านดว้ ยตวั เองใหอ้ อก คนอ่นื ก็เป็นเพยี ง
แค่ผู้ช้ีแนะเท่านน้ั ตอ้ งอ่านใจใหข้ าดตลอดทุกขณะจิตปจั จุบนั
ว่ามีกิเลสตณั หาเกิดข้ึนในขณะนนั้ หรือไม่ มีความอยากเอา
อยากได้ อยากใหเ้ ป็นอย่างนนั้ อยากใหเ้ ป็นอย่างน้ี ในลกั ษณะ
ท่ีดูดเขา้ หาตวั หรือไม่อยากในลกั ษณะท่ีผลกั ไส เช่น กลวั ว่า
จะเป็นอย่างนน้ั กลวั ว่าจะเป็นอย่างน้ี ไม่อยากใหเ้ ป็นอย่างนนั้
ไม่อยากใหเ้ ป็นอย่างน้ี ตอ้ งอา่ นใจตวั เองใหข้ าด
ปุจฉาวิสชั ชนา
หลวงตา : มนั มอี าการเบลอๆ ลอยๆ น่ะ เอาสตคิ ืนมาก่อน
เอาสติคืนตวั มาก่อน ใหม้ นั ชดั เจน มนั มอี าการเบลอๆ ลอยๆ
ไปทำ� อะไรมา
โยม : อาจจะเพ่ง พยายามอยู่กบั ตวั ตลอด ไม่ใหม้ นั
ปล่อย...
หลวงตา : ไมต่ อ้ งแลว้ วางใหห้ มดเลย เดยี๋ วน้ีเลย... ใหส้ ติ
มนั คนื ตวั มาเป็นปกตกิ ่อน ถา้ สตไิ ม่เป็ นปกติ คอื ไปเพง่ ทำ� ความ
รสู้ กึ ตวั ดูจติ คาไวอ้ ย่างน้ัน สมาธิก็ไม่เป็ นปกติ ปญั ญาก็ไม่เป็ น
91
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ปกติ สติขาด สมาธิขาด ปญั ญาขาด ธรรมขาด เป็ นทุกข.์ .. สติ
มี สมาธิมี ธรรมมี ปญั ญามี ไม่ทุกข.์ .. สติเป็ นมหาสติ เป็ นมหา
สมาธิ มหาปญั ญา เป็ นพระนิพพาน พน้ จากทุกข.์ ..สติอนั เดียว
ในทุกขณะจิตปจั จุบนั ใหร้ ูส้ ึกตวั อยู่เฉยๆ อย่างน้ีก่อน
อย่าไปอยากดู อยากรู ้อยากเหน็ อยากได้อยากเป็น อยากเขา้ ใจ
อยากรูแ้ จง้ อะไร ไม่ตอ้ งพยายามไปดูหรือไปรูอ้ ะไรในกายใจเรา
เสียก่อน ไม่ตอ้ งพยายามไปท�ำใหร้ ูค้ วามรูส้ ึกตวั ซอ้ นข้ึนมาอกี
อยู่เฉยๆ เสยี บา้ ง ทำ� มามากแลว้ หยุดเสยี บา้ ง มนั ไม่เคยหยุดเลย
มแี ต่ทำ� … ทำ� … ทำ� … ไม่เคยหยุดทำ� เลย และไม่ตอ้ งพยายามทำ�
ความรูส้ ึกตวั นะ ใหห้ ยุดท�ำเดี๋ยวน้ีเลย เม่ือหยุดหมดแลว้ …
กส็ งบ… ว่าง เหน็ ไหม… ในกายในใจเรามสี ภาวะยงั ไงมอี าการยงั ไง
ก็ปล่อยใหม้ นั เป็นอย่างท่ีมนั เป็นอย่างนั้น ไม่ตอ้ งพยายาม
ทำ� อะไรเพ่มิ เติมข้นึ มาอกี
ใหม้ นั เป็นอย่างปจั จุบนั น้ีตลอดเวลา แลว้ มนั จะรูว้ ่าสติ
ท่ีเป็นปจั จุบนั มนั เป็นยงั ไง มนั เป็นสติท่ีสมบูรณ์บริบูรณ์ ย่ิง
เราพยายามไปทำ� สติ ย่ิงไปทำ� ความรูส้ ึกตวั ก็ย่ิงไม่รู้สึกตวั
ใหญ่เลย ใหเ้ ป็นปจั จุบนั น้ี ใหเ้ ป็ นปกติ ใหส้ ติเป็ นปกติ สมาธิ
มนั ก็จะเป็ นปกติ ปัญญาก็จะเป็ นปกติ ธรรมก็จะเป็ นปกติ
92
อยา่ งไรจงึ เรียกอวชิ ชา : จบซะที
ลองไปปรุงแต่งอะไรเขา้ ซิ เส้ยี ววนิ าทเี ดยี วไปปรุงแต่งอะไรเขา้ ส.ิ ..
อวชิ ชา กเิ ลส ตณั หา อปุ าทาน ภพชาต…ิ และทกุ ขม์ นั หุม้ ทนั ทเี ลย
เพราะมนั ผดิ ปกติธรรมชาติท่บี ริสุทธ์ิ
ธรรมชาติท่ีบริสุทธ์ิเขาไม่มีการปรุงแต่งยึดถือกนั ไม่มี
ความโลภ โกรธ หลง ทฏิ ฐมิ านะ ไม่มกี ารปรุงแต่งพยายามทำ�
อะไรเพ่อื จะเอาให้ได้ ให้ถงึ ใหเ้ ป็นอะไร ท่เี ราเขา้ ใจผดิ ว่าจะทำ�
ใหม้ นั เป็น… ย่งิ จะทำ� ใหม้ นั เป็น อวชิ ชา กิเลส ตณั หา อุปาทาน
ภพ ชาต…ิ และทกุ ข์มนั ยง่ิ หมุ้ หลายชน้ั หนกั เขา้ ไปอกี เพราะอะไร?
เพราะเขาใหส้ ้นิ หลงปรุงแต่ง แต่เรากลบั ไปเพ่ิมความปรุงแต่ง
ส้ินความหลงปรุงแต่งแค่นนั้ น่ะ อวิชชา กิเลส ตณั หา
อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกขม์ นั ก็ดบั ทนั ที ปฏจิ จสมปุ บาทซ่งึ
เป็นวงจรแห่งการเกิดทุกขแ์ ละการเวยี นว่ายตายเกิดก็หกั สะบน้ั
มนั ส้ินอะไรล่ะ ส้ินหลงเอาตวั เราไปปรุงแต่ง ส้ินเอาตวั เราไป
พยายามทำ� อะไรใหเ้ ป็นอะไร ส้ินเอาตวั เราไปคิดด้ินรนคน้ หา
ถา้ เอาตวั เราไปทำ� อะไรมนั เป็น “อวชิ ชา” ทนั ที พอเป็นอวชิ ชามนั
ก็เขา้ วงจรปฏจิ จสมปุ บาท เกิดอวชิ ชา กิเลส ตณั หา อุปาทาน
ภพ ชาติ… และทุกขท์ นั ทโี ดยอตั โนมตั ิของมนั ส้นิ หลงเอาตวั เรา
ไปปรุงแต่ง อวิชชามนั ก็ดบั ทนั ทีนัน่ แหละ
93
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ปัญหามนั อยู่ท่ีตวั เราน่ีแหละ ท่ีว่าหลายคนมาน่ี ดูสิ
พยายามเอาตวั เราไปทำ� ไปพยายาม ไปด้นิ รนคน้ หา พอเอาตวั
เราไปด้นิ ปญั หามนั เลยอยู่ท่ตี วั เราไปด้นิ ไม่ใช่ว่าอาการท่เี ราไป
รูม้ นั แต่ปญั หามนั กลบั อยู่ท่ีตวั เราท่ีเอาตวั เราไปทำ� เอาตวั เรา
ไปด้นิ เอาตวั เราไปดู เอาตวั เราไปรูเ้ หน็ เอาตวั เราไปจดั การมนั
ปญั หามนั อยู่ท่ตี วั เราจะเอาไปจดั การมนั
อาการเหลา่ น้นั เขากเ็ ป็ นสงั ขารธรรมดา ไม่มีใครไปจดั การ
มนั ก็ไม่มีอวิชชา แต่เราไปโทษว่าอาการเหล่านน้ั มนั เป็นกิเลส
แทท้ ่ีจริงความรูส้ ึกว่ามีตวั เราจึงเป็ นอวิชชา แลว้ เอาตวั เราไป
มีกิเลส มนั คิดอกุศลเราก็เลยจะไปจดั การมนั อย่างเดียวเลย
ความคิดอกุศลและอาการเหล่าน้ันมนั เป็ นสงั ขารธรรมดา แต่
เพราะอวิชชา กิเลส ตณั หา ท�ำใหม้ ีตวั เราจะเขา้ ไปจดั การมนั
หรือหลงไปกบั มนั หรือไม่อยากหลงไปกบั มนั หรือกลวั ว่าจะ
หลงไปกบั มนั ปญั หามนั อยู่ท่ีตวั น้ีเขา้ ใจไหมล่ะ
โยม : เขา้ ใจค่ะ รวมทง้ั ตวั เราท่พี ยายามรกั ษาสติ
หลวงตา : เออ ตวั เราท่พี ยายามรกั ษาสติ ตวั นนั้ น่ะมนั ย่งิ
หนกั เลย
โยม : กลวั ขาดสติ กลวั หลง แลว้ จะประคองยงั ไงคะ
94
อยา่ งไรจงึ เรียกอวิชชา : จบซะที
หลวงตา : เอา้ ! กลวั หลงน่ีไงมนั เลยเป็น “อวิชชา” นนั่ ล่ะ
มนั หลงก็แค่รูต้ วั ไม่ใช่ไปกลวั หลง มนั หลงเราก็แค่รูต้ วั ข้นึ มา รูต้ วั
ข้นึ มาบ่อยๆ มนั ก็มสี ติข้นึ มาทุกครง้ั ท่หี ลง ถา้ เราไม่หลงแลว้ เรา
จะมีสติได้ไงล่ะ มนั ตอ้ งหลงเสียก่อนแลว้ ค่อยมีสติ พอเดีย๋ ว
สุดทา้ ยมนั ก็หายหลง มนั ตอ้ งหลงเสยี ก่อน สุดทา้ ยก็หายหลง
นะ คนเรามนั ก็ตอ้ งหลงไปเสยี ก่อนมนั จะไดเ้ หน็ ว่าความหลงเป็น
ยงั ไง มนั จะไดม้ สี ติ มนั จะได้“ออ๋ ! เน่ีย... สตมิ นั คอื ความไมห่ ลง”
เราตอ้ งเห็นว่ามนั หลงเสยี ก่อนเราถงึ จะเห็นว่า ออ๋ ! สติกบั หลง
มนั ต่างกนั ตรงน้ี เราตอ้ งหลงเสยี ก่อน ไม่ใช่เรากลวั มนั จะหลง
เลยรีบรกั ษาสติไวเ้ พ่อื ไม่ใหม้ นั หลง ตอนรกั ษาสติมนั เลยหลง
ไปก่อนแลว้ เขา้ ใจไหม
ตรงน้ีหวั ใจสำ� คญั มากเลยนะ น่ีเราหลงไปแลว้ แต่เรา
เขา้ ใจว่าเรารกั ษาสติไว้ มนั จะไดไ้ ม่หลง... อนั น้ีมนั คือหลงตง้ั แต่
รกั ษาสติแลว้ เออ แต่ถา้ มนั หลงแลว้ เราก็รูต้ วั ข้นึ มาอย่างน้ีมสี ติ
เดีย๋ วมนั หลงใหม่เราก็รู้สึกตวั ข้นึ มาก็แค่นน้ั แหละ แต่มนั มีสติ
แป๊ บเดียวมนั ก็ตอ้ งหลงใหม่เป็ นธรรมดาเลย หลงอีกเราก็รู้สกึ
ตวั อกี ย่งิ หลงเราย่งิ รสู้ กึ ตวั เราก็ย่งิ มสี ติ แต่พอเรายงั ไม่ทนั หลง
เลย เรารบี มสี ตริ กั ษาสตไิ วเ้พอ่ื ไมใ่ หม้ นั หลง ทนี ้ีหลงยาวเลย หลง
รกั ษาสติยาวเลย
95
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
โยม : ก็คือ ถา้ มตี วั เราไปทำ� อะไรคือหลง
หลวงตา : เออ ถูกตอ้ งเลย ถา้ มีตวั เราไปท�ำอะไรน่ะ...
หลงทนั ที มตี วั เราไปรกั ษาสติ หลงทนั ท.ี .. ไม่ทนั หลงอะไรเลย
แต่มตี วั เราเขา้ ไปรกั ษาสติเป็นอวชิ ชา กิเลส ตณั หา อุปาทาน ภพ
ชาติ… และทุกขท์ นั ทเี ลย ปฏจิ จสมปุ บาทหมนุ เลย คือถา้ เส้ยี ว
วนิ าทเี ดยี วมตี วั เราเขา้ ไปทำ� อะไรนนั่ น่ะ ปฏจิ จสมปุ บาทหมนุ เลย
อวชิ ชาเกิด ทนี ้ีเกิดหมดเลย กิเลส ตณั หา อุปาทาน ภพชาติ ทุกข์
โศกเศรา้ เสยี ใจ คบั แคน้ ใจ ไม่ไดอ้ ย่างใจ มนั เกิดข้นึ ทนั ทเี ลย
โยม : หลวงตา แลว้ ถา้ ไม่ทำ� อะไรเลย มนั ก็อยู่แบบ
เควง้ ๆ ควา้ งๆ เหมอื นกบั ว่าจริงๆ มนั ตอ้ งอยู่กบั รู ้ เท่าท่จี ำ� มา
มนั ตอ้ งอยู่กบั รู ้ แต่พออยู่จริงๆ มนั ... ไม่มอี ะไรยงั ไง? มนั ไม่รู ้
ว่าเราจะปฏบิ ตั ิอะไร?
หลวงตา : อยู่กบั รนู้ ่ีคอื รูอ้ ะไรละ่ ก็รูว้ า่ มนั หลงน่ีไง อยู่กบั รู ้
ก็รูว้ ่ามนั หลง พอไม่หลงแลว้ ก็รูว้ ่ามนั ไม่หลง แต่น่ีเราหลงไป
รกั ษาสติ เรายงั ไม่รูเ้ ลยเน่ีย บอกว่าอยู่กบั รูน้ ะ… “อยู่กบั รู”้ คือ
มนั หลงแลว้ เราก็รู้ มนั ไม่หลงแลว้ เราก็รู.้ .. ก็อยู่กบั รู้ไง แค่น้ี
มนั หลงอยู่น่ี เราไปหลงรกั ษาสติอยู่เน่ีย เพ่ือไม่ใหม้ นั หลงน่ี
อนั น้ีมนั หลงอยู่นะ มเี ราเขา้ ไปรกั ษาสติอยู่น่ี มนั ก็เลยมตี วั เรา
เป็นอวชิ ชาเร่ิมตน้ อกี แลว้ ไง อย่างน้ีไม่เรียกอยู่กบั รูน้ ะ ก็ถามว่า
96
อยา่ งไรจงึ เรียกอวิชชา : จบซะที
ไหนเขาบอกใหอ้ ยู่กบั ความรู้สึกตวั ไง เราก็รู้สึกตวั ไวเ้ พ่อื ไม่ให้
มนั หลงไง มนั ก็เลยหลงตง้ั แต่ตรงน้ี เพราะอะไร เรารู้สึกตวั
เพ่ือไม่ใหต้ วั เราหลง “เรารู้สึกตวั ไวเ้ พ่ือไม่ใหต้ วั เราหลง” เห็น
ไหม... อนั น้ีมนั หลงไหมละ่ เป็นอวชิ ชาไหมละ่ มนั มตี วั เราไหมละ่
โยม : มเี ราทำ�
หลวงตา : ถา้ หลงแลว้ ยงั ไม่รู ้ น่ีไม่เรียกว่าอยู่กบั รูน้ ะ
อนั น้ีอยู่กบั หลง อยู่กบั หลงแลว้ ไม่อยู่กบั รูน้ ะอนั น้ี
โยม : หลวงตา แลว้ ตอ้ งปฏบิ ตั ิยงั ไงคะ
หลวงตา : ไม่ท�ำอะไรเลย
โยม : แลว้ มนั จะไม่ไปกบั โลกเหรอคะ
หลวงตา : อา้ ว! หลงมนั จะได้รไู้ ง น่ีอยู่กบั รู ้ มนั หลงจะได้
รู้ไง
โยม : พอมนั มคี วามคิดข้นึ มาว่า ความคิดจะทำ� อะไร
คิดจะปฏบิ ตั ิอะไร ก็คือ… แค่รู…้ !
หลวงตา : อืม บอกแลว้ นะว่าหลกั ตอ้ งแม่น หลกั ปฏบิ ตั ิ
ตอ้ งแมน่ หลกั คอื อะไร สงั ขารทง้ั หมด ทกุ กรยิ าอาการ ทกุ ความคดิ
ทุกอาการ ต่อใหม้ นั มีกริยาอาการยงั ไงก็ตาม ถา้ ไม่มีความรู้สกึ
97
หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย
ว่ามีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สีย ไม่มีตวั เราเขา้ ไปร่วม ทุกอย่าง
เป็ นแค่สงั ขารธรรมดา เป็ นแค่สงั ขารปรุงแต่งธรรมดา ไม่เป็ น
อวิชชา ก็ไม่เป็นกิเลส ตณั หา อุปาทาน ภพ ชาติ ทุกข์ โศกเศรา้
เสยี ใจ คบั แคน้ ใจ การเวยี นว่ายตายเกิด แต่ทุกสงั ขารต่อใหด้ ี
ขนาดไหน เป็นกุศลขนาดไหน มตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดเ้ สียป๊ ุบ
เป็นอวชิ ชาทนั ทเี ลย ถา้ เป็นอวชิ ชาป๊ ุบเป็นกิเลส ตณั หา อุปาทาน
ภพ ชาติ… และทุกขท์ นั ที อาการ… ต่อใหเ้ ป็ นอกศุ ล เขาก็เป็ น
เพียงแค่สงั ขารธรรมดา ต่อใหเ้ ป็ นทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่
โปร่ง ไม่โล่ง ไม่เบา ไม่สบาย เป็ นทุกขเวทนา มนั ก็เป็ นเพียง
แค่อาการ ไม่ไดเ้ ป็ นกิเลสตณั หาอะไร แต่พอมีอาการน่ิง เฉย
ว่าง โล่ง โปร่ง เบา สบาย แลว้ มีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สยี ป๊ ุบ
เป็ นกิเลสตณั หาทนั ที
โยม : แต่ทกุ ๆ ครงั้ ทม่ี นั มอี าการข้นึ มา มนั กเ็ ป็นตวั เรา
ทนั ที มนั ยงั ไม่มกี ำ� ลงั สมาธิขนาดถา้ มอี าการข้นึ มาแลว้ ไม่รสู้ กึ ว่า
เป็นตวั เรา แค่เหน็ มนั แลว้ ไม่มผี ลกบั ใจอะไรอย่างน้ีค่ะ
หลวงตา : ไม่ใช่ เขา้ ใจผดิ การท่ปี รุงข้นึ มาเป็นตวั เราทุกที
ไมไ่ ดเ้ป็นกเิ ลสตณั หานะ ไมไ่ ดเ้ป็นอปุ าทาน ภพ ชาต…ิ และทกุ ขน์ ะ
ถา้ เราเห็นว่าท่มี นั ปรุงเป็นตวั เรามนั เป็นสงั ขาร ไม่มตี วั เราไปยุ่ง
วุ่นวายท่ีจดั การท่ีมนั ปรุงว่าเป็นตวั เรา ส่งิ เหล่าน้ีก็เป็นเพยี งแค่
อาการของจิตธรรมดาๆ แต่พอมนั ปรุงมารูส้ กึ ว่าเป็นตวั เรา แลว้
98
อยา่ งไรจงึ เรียกอวิชชา : จบซะที
มตี วั เราเขา้ ไปจดั การความรู้สึกท่ีมนั ปรุงข้นึ มาเป็นตวั เรา อนั น้ี
เป็นอวชิ ชาทนั ที เป็นกิเลส ตณั หา อุปาทาน ภพ ชาติ… และทุกข์
ดงั นน้ั ต่อใหม้ นั ปรุงเป็นตวั เรา มนั อยากปรุงก็ปรุงไปสิ เอ็งอยาก
ปรุงก็ปรุงไปแต่ขา้ ไม่ปรุง เอา้ !...ปรุงก็ปรุงไป ปรุงว่าเป็นตวั เรา
ตวั เรา ตวั เรา... แต่ขา้ ไม่ปรุง ถา้ ไม่มตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดเ้ สยี
ต่อใหม้ นั ปรุงเป็นตวั เรา ต่อใหป้ รุงเป็นอะไรมนั ก็เป็นสงั ขาร
ทง้ั หมดเลย เป็นสงั ขารปรุงแต่ง ไม่เป็นอวิชชาเพราะอะไร...
เพราะไม่มตี วั เราเขา้ ไปมสี ่วนไดเ้ สยี
“อวิชชา” คือมีตวั เราเขา้ ไปมีส่วนไดเ้ สียจริงๆ แต่ถา้ มี
ปญั ญาเหน็ ความจริงว่าความคิด ความรู้สกึ ว่า “เรา…..” เช่น เรารู ้
เราเห็น เราเป็นอย่างนน้ั เราเป็นอย่างน้ี มนั เป็นเพียงสงั ขาร
ปรุงแต่ง ไม่หลงรูส้ ึกไปตามความคิดปรุงแต่งว่ามตี วั เราจริงๆ
ก็ไม่เป็นอวชิ ชา
ส่วนท่ีหมายไวว้ ่าจะพยายามท�ำอย่างไรไม่ใหม้ ีตวั เรา
มนั ก็เป็ นอวิชชา กิเลส ตณั หา… ทนั ที เพราะมนั เกิดตวั เรา
ท่ีอยากท่ีจะไม่มีตวั เรา
ท่ีหมายไวว้ ่าจะท�ำอย่างไรให้ใจเป็ นอุเบกขา เป็ นกลาง
วางเฉยต่อส่ิงท่ีมากระทบ หรือถูกกระทบแลว้ ไม่ใหม้ ีผลต่อ
ใจเรา อย่างน้ีมีตวั เราไปยดึ “ใจ” ว่าเป็ นใจเรา หรอื เป็ นใจของเรา
99