The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Luangta Narongsak, 2020-05-02 06:50:11

จบซะที หลวงตาณรงค์ศักดิ์ ขีณาลโย

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ว่าสงั ขาร คือร่างกายและจิตใจท่ีเปล่ยี นร่างไปในแต่ละชาติว่า
เป็นตวั ตนคงท่ี เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรอื มตี วั ตน
ของเราในร่างกายจิตใจท่เี ป็นธรรมชาติปรุงแต่งนนั้ จึงปิดบงั ไม่
ใหพ้ บเหน็ ใจหรือจิตเดมิ แทห้ รือธาตุรูท้ ่วี ่างเปล่า
เมอ่ื ส้นิ หลงยดึ ถอื แลว้ ขนั ธห์ า้ ซ่งึ เป็นส่งิ ท่มี กี ็เกิดๆ ดบั ๆ
เปล่ยี นแปลงอยู่ในความว่าง ส่ิงท่ีมใี นใจเราเป็นส่ิงท่ีมที ง้ั หมด
แต่ไม่มใี ครยดึ ส่งิ ท่มี ี และไม่มใี ครมายดึ ใจท่วี ่างดว้ ย มนั ก็เป็น
ความว่างกบั ความมี มแี ค่สองอย่างน้ี มใี จท่วี ่างและส่งิ ปรุงแต่ง
ทุกอย่างท่ยี ุกยกิ ยุกยกิ ยุกยกิ ... อยู่ในใจตลอดเวลา ส่งิ น้ีดบั
ไม่ไดจ้ นกว่าจะส้นิ อายุขยั พอธาตุแตกขนั ธด์ บั แลว้ ก็เหลอื แต่ใจ
ท่วี ่าง เหลอื แต่ความว่างท่มี คี วามรูเ้ พราะว่าเป็นธาตุรู ้ แต่ความ
ว่างของธรรมชาติจกั รวาลไม่มคี วามรู ้ ธาตุรูน้ ้ีเป็นความว่างเช่น
เดียวกบั ความว่างในจกั รวาลแต่มนั มีความรู ้ เม่ือขนั ธ์หา้ ดบั
แลว้ จะเหลอื แต่ความรูแ้ ต่ตวั ตนของผูร้ ู้ไม่มี ความรูท้ ่ไี ม่มตี วั ตน
เลยกลายเป็นวมิ ตุ ติไป เป็นความไม่ปรุงแต่ง เป็นธาตุรูท้ ่ีเป็น
ความว่าง
การปฏิบตั ิไม่ไดม้ อี ะไรยุ่งยากเลย ปล่อยใหส้ ่ิงท่ีมี มอี ยู่
อย่างนน้ั แหละ มนั เป็นชีวิตก็ตอ้ งมีความรูส้ ึก มีความนึกคิด
มอี ารมณ์ มอี าการต่างๆ ปลอ่ ยใหช้ วี ติ คงยงั ดำ� เนินอยู่ แต่ไมม่ ใี คร
ยดึ ส่งิ ท่มี ี เมอ่ื ยงั ไม่ตายมนั ก็ยงั เป็นความรูส้ กึ นึกคิดอารมณ์อยู่

200

เหตแุ หง่ ความวา่ งท่ีเท่ียงแท้ : จบซะที

แต่ไม่มใี ครยดึ พอส้นิ ยดึ ม่านอวชิ ชาท่ปี ิดบงั ตาใจเปิด ก็พบใจ
ท่วี ่างท่มี อี ยู่แลว้
อย่าพยายามเอาความรูส้ ึกตวั ไปปล่อยวาง ตอ้ งปล่อย
วางแมแ้ ต่ความรูส้ กึ ตวั เพราะความรูส้ กึ ตวั เป็นส่งิ ท่มี ี เป็นส่งิ ท่ี
ปรุงแต่ง ปล่อยวางไม่ใช่ว่าเราท้ิงความรูส้ ึกตวั มนั มอี ยู่แต่เรา
ไม่ไปยึดมนั ใหเ้ ห็นว่ามนั เป็นสงั ขารปรุงแต่ง มีความรูส้ ึกตวั
มีความคิดแต่ไม่มีผูไ้ ปยึด ก็เลยพบใจท่ีว่าง สงั ขารเป็นของ
ไม่เท่ยี ง เป็นสง่ิ ท่แี ตกดบั เป็นส่งิ ปรุงแต่ง ยดึ ไม่ได้ไม่มแี ก่นสาร
สาระ ดงั ท่ีพระพุทธเจา้ ตรสั ว่า “ดูก่อนโมฆราช ท่านจงมีสติ
พิจารณาดูโลกโดยเป็ นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตวั เรา
ของเราเสียทุกเม่ือเถิด ท่านจะขา้ มล่วงมจั จุราชเสียได”้  
โลกหมายรวมถึงร่างกายซ่ึงเป็นรูปขนั ธ์ และเวทนา สญั ญา
สงั ขาร วญิ ญาณท่เี ป็นนามขนั ธ์ รวมเป็นขนั ธห์ า้ เป็นส่งิ ปรุงแต่ง
ท่ผี สมรวมกนั ของธาตุดนิ นำ�้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ เป็นของไม่เท่ยี ง
เป็นของว่างเปล่าจากสตั ว์ บุคคล ตวั ตน เรา เขา
ผูป้ ฏบิ ตั ิจำ� นวนมากมกั เขา้ ใจผดิ คือไปสรา้ งว่างเลย มอง
ใหม้ นั เป็นอากาศ เป็นว่างไปเลย ตรงน้ีเขา้ ใจผดิ ท่ีจริงมนั ว่าง
จากแก่นสารสาระท่ีจะยึดมนั่ ถือมนั่ เป็ นเรา เป็ นตวั เรา หรือ
เป็ นตวั ตนของเราไดเ้ ม่ือไม่หลงยึดมนั่ ถอื มนั่ กเ็ ท่ากบั ปล่อยวาง
เม่ือปล่อยวางแลว้ จึงพบใจท่ีว่าง อย่างไรก็ตามพอพบใจท่ีว่าง

201

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ก็ยงั มผี ูห้ ลงผดิ อยู่อกี คือไปพยายามยดึ ถอื ใจท่วี ่างไว ้ หลงยดึ
รกั ษาความว่างไวใ้ หใ้ จว่าง ไม่ยอมใหอ้ ย่างอ่ืนเขา้ มาแผว้ พาน
โดยหลงเขา้ ใจผดิ เป็นมจิ ฉาทฏิ ฐวิ า่ นิพพานคอื ใจทว่ี า่ ง หรอื ความ
ว่างคือนิพพาน นิพพานไม่ใช่ความว่าง
“นิพพาน” คือ ส้นิ ผูย้ ึดถือ ใจจงึ ว่าง เราไปเขา้ ใจผดิ ว่า
นิพพานคือความว่าง จึงหลงไปยดึ ถอื ความว่าง ท่วี ่า “นิพพานงั
ปรมงั สุญญงั ” นิพพานคือความว่าง เราก็ยดึ ถอื ความว่างซะเลย
มนั จะเป็นอวชิ ชา ท่จี ริงมนั ว่างจากตวั ตนของผูห้ ลงยดึ ถอื ใจก็
เลยว่าง เพราะใจมนั ว่างของมนั อยู่แลว้ ไม่ใช่ว่าใจว่างแลว้ เป็น
นิพพาน
เม่ือส้ินยึดถือท้งั สงั ขารและส้ินหลงยึดถือใจจะใหว้ ่าง
ใจมนั ก็ว่าง ก็คือว่างอนั เดิมนนั้ แหละ พอส้ินยึดถือขนั ธ์หา้
ม่านอวชิ ชาทบ่ี งั ตาใจก็เปิดออก เลยพบความว่าง แต่พอเราอยาก
ใหใ้ จว่างอย่างน้ีตลอดไปมนั ก็ไม่ว่างแลว้ เพราะมคี วามปรุงแต่ง
ท่ีไปพยายามจะยึดถือความว่างใหค้ งอยู่ พอปล่อยความหลง
ยดึ ถอื ความว่าง ความว่างซ่งึ เป็นว่างท่เี ป็นธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง
มีอยู่แลว้ แต่เดิมก็ปรากฏ ความปรุงแต่งขนั ธ์ก็เป็ นอนั เดิม
มนั ก็เหลอื แต่ความว่างกบั ความปรุงแต่ง

202

เหตแุ หง่ ความวา่ งท่ีเที่ยงแท้ : จบซะที

ผูป้ ฏิบตั ิท่ีอยากไดค้ วามว่างมอี ยู่สองจำ� พวก พวกท่ีหน่ึง
ไม่เคยเห็นใจว่างเลย แต่ฟงั เขาเล่าว่ามสี ่งิ น้ีอยู่ ความว่างมนั ดี
มนั สุดยอด เลยอยากไดเ้ พราะเขาพูดกัน แต่พวกท่ีสอง
เคยพบเห็นใจว่างมาบา้ งแลว้ เพียงแวบเดียว แลว้ อยากไดอ้ ีก
พวกน้ีเป็นผูป้ ฏบิ ตั ิท่ฝี ึกดูจิต รูอ้ าการ รูล้ ะปล่อยวางมานานแลว้
และไม่ไดเ้ ขา้ ไปยึดอาการอะไร ในขณะจิตท่ีอยู่อย่างปกติ
ไม่เขา้ ไปยดึ อะไร ไม่พยายามไปดู ไปรูอ้ ะไร หรือไม่พยายามไป
ปลอ่ ยวางอะไร แต่กำ� ลงั จะทำ� อะไรบางอย่าง เช่น กำ� ลงั จะแปรงฟนั
หรือกำ� ลงั จะนงั่ สว้ ม หรือกำ� ลงั จะทำ� อะไรท่มี นั ไม่คิดว่าจะไปละ
ไปปล่อยวางอะไร ขณะจิตท่ีส้ินหลงคิด หลงปรุงแต่งเป็นผูร้ ู ้
มนั ก็ “พลอ็ ก” อา้ ว... เฮย้ !!! ทำ� ไมใจมนั ว่างไปหมดเลย ทำ� ไม
ใจว่างอย่างง้เี น่ีย
สาเหตุท่ีมนั ว่างเพราะขณะจิตน้ันมนั ส้ินหลงคิด หลง
ปรุงแต่งเป็ นผูร้ ู้ ไม่ไดห้ าเหตุผลอะไร ไม่พยายามจะทำ� อะไรให้
เป็ นอะไร ก็เลยพบใจท่ีว่างเปล่า แต่เมอ่ื พยายามหาเหตุผลมนั
กลบั ไม่ว่างเลย คือมนั ว่างแลว้ อยากจะให้ใจมนั ว่างตลอดไป การ
ไปหาเหตุผลใหก้ ลบั มาว่างตลอดก็เท่ากบั ยึดถอื ความว่าง เลย
ไม่ว่าง ตวั ท่อี ยากใหว้ ่างมนั เป็นตวั ปรุงแต่งทงั้ หมดทุกตวั พอละ
ตวั ปรุงไปมนั ก็ว่าง

203

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ตวั ปรุง ท่ีหมายถงึ ก็คือตวั ปรุงแต่งขนั ธห์ า้ นนั่ แหละ คือ
“มนั อยากปรุงอะไรช่างมนั เหอะ มนั อยากปรุงเป็ นความอยาก
เราก็เห็นว่ามนั เป็ นสงั ขารทง้ั น้ัน” มนั มีแต่ความปรุงแต่งกบั
ความวา่ ง สองอย่างแค่นนั้ แหละ ความวา่ งมนั ปรุงไมไ่ ด้อะไรทป่ี รุง
เป็นความอยากได้ มนั เป็นสงั ขารในขนั ธห์ า้ ทงั้ หมด ท้งิ หมดเลย
วางหมด จะปรุงอะไรก็ช่างมนั ปรุงเป็ นความรูส้ กึ ตวั เรากเ็ หน็ ว่า
มนั ปรุงเป็ นความรูส้ กึ ตวั เราก็วางมนั หมด คือ “วาง” หมายถึง
ว่าไม่เขา้ ไปยึดถือความรูส้ ึกตวั ดว้ ย แต่ก็รูส้ ึกตวั อยู่ มีแต่
สงั ขารปรุงแต่งทงั้ นน้ั จึงปรุงข้ึนมาได้ เราก็ไม่ยึดมนั ทง้ั หมด
พอไม่ยดึ ทงั้ หมดมนั ก็เลยเป็นความว่าง ม่านอวชิ ชามนั เปิดออก
ปรุงแต่งมี แต่ไม่มีใจไปยึดความปรุงแต่ง มนั ก็เลยว่างจริงๆ
แต่ถา้ “อวิชชา” ไม่ดบั จริงๆ บางครงั้ ก็เผลอไปยึดความว่าง
หรือหลงยดึ ถอื ใจจะใหว้ ่างอกี
ถา้ เราหลงเขา้ ไปยดึ ว่าง แสดงว่าเรายงั ไม่ปล่อยวางสงั ขาร
ทง้ั หมด เพราะว่าตวั ท่ีไปยึดได้ จะตอ้ งเป็นตวั ปรุง แทนท่ีเรา
จะไปจ่ออยู่ตรงว่าง เราตอ้ งพลิกกลบั มาเห็นตวั ท่ีปรุงไปยึด
ความว่าง ซ่ึงก็คือตวั เรานัน่ แหละ แลว้ เราก็ยอ้ นกลบั มาเห็น
ผูย้ ึดความว่างเป็ นตวั ปรุง พอเราปล่อยวางตวั ปรุงอีกหนหน่ึง
ตวั ปรุงก็เป็นตวั สงั ขารไป เลยเรียกว่าปล่อยวางสงั ขาร แลว้ ก็
ปล่อยวางทง้ั วสิ งั ขารก็คือความว่างไปดว้ ยพรอ้ มกนั ก็เหลอื แต่

204

เหตแุ หง่ ความวา่ งที่เที่ยงแท้ : จบซะที

ตวั ท่ีมนั ยุกยิก ยุกยิก ยุกยิก... ซ่ึงเป็นตวั ปรุงกบั ความว่าง
ตวั เราท่ีจะไปเอาอะไรอีกไม่มี เพราะว่าถา้ ยงั มีตวั จะเอาอะไร
ใจมนั ก็ไม่ว่าง มอี วชิ ชามาบงั ใจท่วี ่างอกี มนั เลยว่างมงั่ ไม่ว่างมงั่
เม่ือมีปัญญารูแ้ จง้ ว่าธรรมชาติมีอยู่สองประเภท คือ
ธรรมชาตไิ ม่ปรุงแต่งและธรรมชาตปิ รุงแต่ง ธรรมชาตไิ ม่ปรุงแต่ง
ในตวั เราซ่ึงมีแต่ความรู ้ ไม่มีตวั ตน ไม่มีรูปพรรณสณั ฐานใด
ไม่มกี ริยาหรืออาการใด เป็นเหมอื นความว่างของธรรมชาติหรือ
จกั รวาล มชี ่ือสมมตุ ิว่าใจหรือจิตเดมิ แท้ หรือวญิ ญาณธาตุ หรือ
ธาตุรู ้ หรือพทุ ธะ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่งนอกตวั เรา คือความว่าง
ของธรรมชาติหรือความว่างของจกั รวาล
ส่วนธรรมชาติปรุงแต่งในตวั เรา คือ “ขนั ธห์ า้ ” ไดแ้ ก่ “รูป”
ซ่งึ เป็นสสาร และ “นาม” คือเวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ
ซ่ึงเป็นพลงั งาน ธรรมชาติปรุงแต่งนอกตวั เรา คือสสารและ
พลงั งานในธรรมชาติ ธรรมชาตปิ รุงแต่งย่อมเป็นอนิจจงั ไม่เทย่ี ง
ทุกขงั ทนอยู่สภาพเดิมไม่ได้ ตอ้ งเส่ือมไป ถา้ เป็นขนั ธ์หา้ ก็
ตอ้ งแก่เจ็บตาย จึงไม่ใช่เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา
หรือไม่มีตวั ตนของเราในขนั ธห์ า้ ธรรมชาติปรุงแต่งจึงจะเอา
มาคิด มาปรุงแต่ง รวมทง้ั เอามาปรุงแต่งยึดถือขนั ธห์ า้ ได้ ส่วน
ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง มีแต่ความรูท้ ่ีว่างเปล่าจากตวั ตนหรอื กรยิ า
อาการใด จงึ ไม่อาจเอามาคิด หรือปรุงแต่งยึดถือได้

205

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ดงั นนั้ ผูม้ ีปญั ญาย่อมพิจารณาไดว้ ่า มนั ตอ้ งหลงเอา
ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่งมาหลงคิด หลงปรุงแต่ง ว่าขนั ธห์ า้ ทงั้ ตวั
หรือทงั้ รูปและนาม เป็นตวั ตนคงท่ี เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตน
ของเรา หรือมตี วั เราเป็นตวั เป็นตนอยู่ในขนั ธห์ า้ หรือหลงยดึ ถอื
ความคิด อาการต่างๆ หรืออารมณ์ต่างๆ ว่าเป็นเรา เป็นตวั เรา
เป็นตวั ตนของเรา เช่น หลงยดึ ถอื ว่าตวั เราเป็นผูม้ เี วทนา ตวั เรา
เป็นผูจ้ ำ� ไดห้ มายรู ้ ตวั เราเป็นผูค้ ิด ตวั เราเป็นผูร้ ูส้ กึ ตวั ตวั เรา
เป็นผูร้ ู ้ ผูเ้ ขา้ ใจ ผูร้ ูแ้ จง้ ตวั เรา… ซ่ึงลว้ นแต่เป็นสงั ขาร หรือ
ธรรมชาติฝ่ายปรุงแต่ง หรือเป็นขนั ธห์ า้ จึงเอามาคิดมาปรุงแต่ง
ได้ ซ่งึ ธรรมชาติไม่ปรุงแต่ง ไม่อาจเอามาคิดมาปรุงแต่งได้
ดงั นน้ั เม่ือมีกริยาหรืออาการใดจากไม่มีเป็นมีข้ึนมา
ปรากฏข้นึ มาแลว้ ดบั ไป หายไป ไปมคี วามรูส้ กึ นึก คดิ ตรกึ ตรอง
ปรุงแต่งอย่างอ่นื ๆ อกี แมจ้ ะปรุงแต่งว่าเป็นเรา หรือตวั เรา หรือ
ของเรา ก็ลว้ นแต่เป็นสงั ขารปรุงแต่งทง้ั นน้ั จึงตอ้ งปล่อยวางไป
เสยี ทงั้ หมด คือไมว่ ่าจะคดิ จะปรุงแต่งอย่างไร หรอื มกี รยิ าอาการ
อย่างไร แมแ้ ต่ความรูส้ กึ ตวั (สติ สมั ปชญั ญะ) หรือผูร้ ู ้ ผูเ้ หน็
ผูเ้ขา้ ใจ ผูร้ ูแ้ จง้ กไ็ มห่ ลงยดึ ถอื วา่ ตวั เราเป็นผูค้ ดิ ผูป้ รุงแต่ง ตวั เรา
เป็นผูร้ ูส้ กึ ตวั เป็นผูร้ ู ้ เป็นผูเ้ หน็ เป็นผูร้ ูแ้ จง้ โดยส้นิ หลงยดึ มนั่
ถอื มนั่ ว่าเป็นเรา เป็นตวั เรา หรือเป็นตวั ตนของเราโดยส้นิ เชิง

206

เหตแุ หง่ ความวา่ งท่ีเท่ียงแท้ : จบซะที

เม่ือส้ินความหลงยึดมนั่ ถือมนั่ ว่าขนั ธห์ า้ เป็นตวั ตนคงท่ี
เป็นเรา เป็นตวั เรา เป็นตวั ตนของเรา หรือมตี วั ตนของเราอยู่
ในขนั ธห์ า้ แลว้ ความหลงมตี วั เราท่ไี ปร่วมปรุงแต่งกบั ความคิด
และอารมณ์ก็หายไป ก็เหลอื แต่ขนั ธห์ า้ ท่ปี รุงแต่ง แต่ไม่มตี วั เรา
ไปร่วมปรุงแต่งกบั ขนั ธห์ า้ ก็เลยเป็นความว่าง เหตุท่ีไม่เจอใจ
ว่างเปล่าแต่แรกก็เพราะว่ามีตวั เราไปร่วมปรุงแต่ง เลยกลาย
เป็ นอวิชชา เป็ นม่านมาบงั ใจให้ไม่พบเห็นความว่าง ก่อนท่ี
พระอานนทท์ ่านจะบรรลุอรหนั ตท์ ่านยงั เอาตวั ท่านไปพยายาม
รูล้ ะปลอ่ ยวาง แต่ตอนทท่ี ่านจะเอนตวั ลงนอน ในขณะทศ่ี ีรษะยงั
ไม่ทนั ถงึ หมอน ท่านก็บรรลุอรหนั ต์ไปตอนนนั้ ก็เพราะท่านวาง
หมด วางแลว้ เลกิ หลงเล่นจะเอาตวั เราไปบรรลุนิพพาน อนั น้ี
วางจริงๆ ไม่กลบั มาเล่นอกี ก็พบกบั ความว่างท่เี ท่ยี งแท้

207

“ ในใจที่ว่างเปล่า
มีความเคล่ือนไหว
มีความปรุงแต่ง

เกิด... ดับ
แต่ใจไม่เคล่ือนไหว

ไม่ปรุงแต่ง
ไม่เกิด... ไม่ดับ ”

จบซะที

๒๑

คัมภีร์ไร้ตัวอักษร

เมอ่ื ส้นิ หลงสงั ขาร หรือส้นิ หลงปรุงแต่ง หรือส้นิ หลงยดึ ถอื
สงั ขาร ความเป็นจริงตามธรรมชาติก็ปรากฏแก่ใจว่า ในความ
ปรุงแต่งมีใจท่ีไม่ปรุงแต่งเป็นของคู่กนั อยู่แลว้ และไม่มีใคร
ยึดความไม่ปรุงแต่ง ปรุงแต่งก็ปรุงแต่งไป แต่ไม่มใี ครไปยึด
เม่อื ไม่มผี ู้ไปยึด อวชิ ชาท่ีเป็นเสมอื นม่านท่ีบงั ตาใจไวก้ ็ถูกเปิด
ออก เลยพบความว่าง
ความว่าง หรือความไม่ปรุงแต่งมีอยู่แลว้ ในธรรมชาติ
แต่ท่เี รามองไม่เห็นเพราะเราไปยึดความปรุงแต่ง ไปวุ่นวายกบั
ความปรุงแต่ง เอาความปรุงแต่งไปทำ� โน่นทำ� น่ี เราไม่ปล่อย
วางความปรุงแต่ง แต่กลบั เอาความปรุงแต่งซ่ึงก็คือขนั ธห์ า้ ไป
ทำ� อะไรๆ จะไปทำ� ให้ใจว่าง จะไปทำ� ใหข้ นั ธห์ า้ ไปถึงนิพพาน
ทง้ั ๆ ท่นี ิพพานคือส้นิ ยดึ ขนั ธห์ า้

209

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ท่ีถูกตอ้ งตามธรรม ตอ้ งเห็นขนั ธ์หา้ เป็นความปรุงแต่ง
ทงั้ นนั้ ไม่อาจยดึ มนั่ ถอื มนั่ ได้ ปรุงแต่งก็ปรุงแต่งไป ยงั ไม่ตาย
จะไปดบั ขนั ธ์หา้ ไม่ได้ ปล่อยมนั ช่างมนั เห็นแลว้ ปล่อยวาง
ทกุ ขณะปจั จบุ นั มสี ตริ ูอ้ ยู่ทป่ี ระตูใจ ละอยู่ทป่ี ระตูใจ ปลอ่ ยวางท่ี
ประตูใจ เมอ่ื เลกิ เอาตวั เราไปไลร่ ูเ้ท่าทนั ไลร่ ู ้ไลล่ ะ ไลป่ ลอ่ ย ไลว่ าง
คือไม่เอาสงั ขารไปทำ� อะไรวุ่นวาย นนั่ แหละ ม่านบงั ตาจะเปิด
พบใจท่วี ่างเปล่าท่มี อี ยู่แลว้
ตราบใดทย่ี งั ปฏบิ ตั ิโดยมผี ูจ้ ะเอา จะเอา จะเอา... ก็จะหลง
ยดึ ขนั ธเ์ ป็นเรา เป็นตวั เรา หรือเป็นตวั ตนของเรา หรือตวั เราเป็น
ขนั ธห์ า้ แลว้ เอาตวั เราไปคิดนึก ตรึกตรอง วเิ คราะห์ วจิ ยั ปรบั ๆ
แต่งๆ ไปตามกิเลส เกลยี ดทุกขร์ กั สุข ดรี กั ชวั่ ชงั ซ่งึ เป็นทางตรง
ขา้ มกบั นิพพาน เดินจงกรมนงั่ สมาธิรูปแบบสวยงามก็เพ่ือจะ
ไปเอานิพพาน ไปเอาความสุขท่ที ุกข์ไม่มี ไปเอาว่าง โล่ง โปร่ง
สบายท่ีหมายเอาไว้ในใจ ซ่ึงลว้ นเป็นกิเลสไม่มที างพน้ ทุกขไ์ ป
ได้ ตอ้ งอ่านใจตนเองใหข้ าด ตอ้ งส้นิ ผูจ้ ะเอาจึงจะส้นิ ทุกข์ ตอ้ ง
ปล่อยวางผูจ้ ะเอา อาการอะไรก็เป็นสงั ขาร ยดึ ถอื เป็นสาระไม่ได้
การปฏบิ ตั ิธรรมไม่ใช่เพ่อื ให้ใครไดส้ ่งิ มหศั จรรยอ์ ะไรเลย

ส่งิ ท่ีมหศั จรรยท์ ่ีสุด คือ...
...ปล่อยวางแมแ้ ต่ส่งิ ท่ีมหศั จรรย!์ ...

210

คมั ภีร์ไร้ตวั อกั ษร : จบซะที

เคยเหน็ พระพทุ ธรูปปางปฐมเทศนาไหม พระหตั ถข์ วายก
ข้นึ เสมอพระอรุ ะ จบี น้ิว พระหตั ถห์ นั ออกจากองค์ พระหตั ถซ์ า้ ย
ประคองพระหตั ถข์ วาหนั เขา้ หาองค์ เป็นปางท่ีแสดงนามธรรม
ผ่านรูปธรรมไดช้ ดั เจนถงึ เสน้ ทางสุดโต่งสองสายท่ใี หง้ ดเวน้ คือ
ถา้ สง่ิ ใดไมช่ อบ พยายามด้นิ รนผลกั ไส และถา้ สง่ิ ใดชอบ อยากได้
อยากเอาดูดเขา้ หาตวั เป็นการยดึ ถอื เกาะเก่ียว พวั พนั เป็นกิเลส
ตณั หา เป็นเหตใุ หเ้กดิ ทกุ ขห์ รอื ไมส่ ้นิ ทกุ ข์ ทง้ั ทค่ี วามเป็นจรงิ แลว้
สง่ิ หน่ึงสง่ิ ใดทเ่ี กดิ ข้นึ สง่ิ นนั้ ย่อมดบั ไปเป็นธรรมดา ไมอ่ าจยดึ มนั่
ถอื มนั่ ได้
พระพุทธองค์ทรงสอนใหเ้ รารูจ้ กั ขนั ธ์หา้ เห็นขนั ธ์หา้
อย่างชดั เจนแก่ใจว่าเป็นอนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา แลว้ ปล่อยวาง
ขนั ธห์ า้ เสยี เมอ่ื ปล่อยวางขนั ธห์ า้ ก็จะพบความว่าง พบแลว้ ไม่มี
ผไู้ ปยดึ วางหมดทงั้ ขนั ธห์ า้ และความวา่ ง กพ็ น้ ทกุ ข์จบภพ จบชาติ
จบการเวียนวน เสมือนนามธรรมท่ีถ่ายทอดผ่านรูปธรรมท่ี
ปล่อยวางพระหตั ถล์ งทง้ั สองขา้ งในพระพทุ ธรูปปางตรสั รู ้
หนงั สอื เล่มน้ี เดนิ ทางมาถงึ บทสุดทา้ ยแลว้ อธิบายธรรม
ผ่านตวั หนงั สอื ซ่งึ เป็นส่งิ ปรุงแต่ง เป็นสมมตุ ิบญั ญตั ิ บอกใหร้ ู ้
ถงึ ธรรมชาติตามความเป็นจริงของขนั ธห์ า้ ส่งิ ท่มี ี ส่งิ ท่กี ระเพอ่ื ม
ส่งิ ท่ปี รากฏ มแี ต่สงั ขารปรุงแต่ง เกิดข้นึ แลว้ ดบั ไป มแี ลว้ หายไป
ไมม่ ตี วั เราผูเ้ดนิ ทางแต่แรกแลว้ ไมม่ ตี วั เราผู้ไปถงึ และไมม่ สี ง่ิ ใด

211

หลวงตาณรงค์ศกั ด์ิ ขีณาลโย

ท่จี ะไปถงึ เพราะมแี ต่ ดนิ นำ�้ ลม ไฟ และธาตุรู ้ มแี ต่ความรู.้ ..
รู.้.. รู.้.. เขา้ ใจ... เขา้ ใจ... เขา้ ใจ... ปลอ่ ยวาง... ปลอ่ ยวาง... ปลอ่ ย
วาง... ความหลงยึดถือตง้ั แต่หนา้ ปกจนหนา้ สุดทา้ ย คมั ภีรน์ ้ี
ก็ไมต่ อ้ งมตี วั อกั ษรใดๆ อกี เลย วา่ งเปลา่ จากใจสู่ใจ เขา้ ใจถงึ ใจท่ี
วา่ งเปลา่ ไมเ่ อาอะไร ไมย่ ดึ ถอื อะไรเลย ไมแ่ บกความรไู้ ว ้วางหมด
แมก้ ระทงั่ ความรู ้ ไม่ยดึ ความรูว้ ่าตวั เราเป็นผูร้ ู ้ รูห้ มด วางหมด
ไม่มใี ครยดึ วางตวั เราผูร้ ู ้ ผูเ้ หน็ ผูเ้ ขา้ ใจ ถา้ อ่านจบ รูแ้ ลว้ เขา้ ใจ
แลว้ แต่หลงยดึ ว่ามตี วั เราเป็นคนเขา้ ใจ ตวั เรารูเ้ หน็ หมด ก็ยงั
เป็นทฏิ ฐมิ านะ เป็นมจิ ฉาทฏิ ฐิ เป็นความหลงผดิ เป็นความยดึ ถอื
เป็นกิเลส
สุดทา้ ยวางหมด ปลอ่ ยวางความหลงยดึ ถอื วา่ ตวั เราเป็นผูร้ ู ้
ผูเ้ หน็ ผูเ้ ขา้ ใจ ผูร้ ูแ้ จง้ เหลอื แค่ความรูท้ ่ไี ม่มใี ครไปยดึ อวชิ ชาก็
ดบั ลง อปุ าทานขนั ธท์ ง้ั หา้ ดบั ลง สงั ขารวางแลว้ วางหมดกว็ า่ งหมด
กพ็ บใจ “วา่ ง” คอื ใจทเ่ี ป็นธาตรุ ู ้คอื จติ เดมิ แท้เป็นความวา่ ง พบใจ
ท่เี ป็นความว่างเรียกว่าดวงตาเหน็ ธรรมแลว้
เขา้ ถงึ ใจว่างแลว้ ไม่หลงยดึ ความว่าง หลงรกั ษาใจใหว้ ่าง
ปลอ่ ยวางความหลงยดึ ถอื หลงรกั ษาใจใหว้ า่ ง ซง่ึ ยงั เป็นภาระหนกั
ปลอ่ ยวางภาระหนกั ก็ว่างเปลา่ ความว่างก็คงเป็นเพยี งความว่าง
ของเขาไปเสยี ไม่มผี ูเ้ ดินทางเขา้ ไปถงึ ความว่าง ความว่างเป็น

212

คมั ภีร์ไร้ตวั อกั ษร : จบซะที

ธรรมชาติท่ีมอี ยู่แต่เดิม ปล่อยความหลงยึดถือความว่างเปล่า
ไม่แบกความว่างเปล่า ไม่มีใครแบกทงั้ ความว่างและสงั ขาร
จึงพน้ ทุกข์ เรียกว่า “นิพพาน”
นิพพานัง ปรมงั สุญญงั
นิพพานว่างจากความหลงยดึ มนั่ ถอื มนั่
ทง้ั สมมตุ ิ (สงั ขาร) และวมิ ตุ ติ (ความว่าง)
นิพพานัง ปรมงั สุขงั
นิพพานเป็นสุขอย่างย่งิ ท่เี หนือความรูส้ กึ เป็นสุข
และเป็นทุกข์
เมอ่ื ถงึ เวลาท่ธี าตุขนั ธต์ อ้ งแตกดบั ก็คืนขนั ธห์ า้ คืนธาตุดนิ
ธาตุนำ�้ ธาตุลม ธาตุไฟ และธาตุรูส้ ู่ธรรมชาติอย่างธรรมชาติ
ท่ีไม่ยึดถือต่อกนั จิตเดิมแทท้ ่ีส้ินอวิชชาแลว้ ก็เป็นธาตุรูท้ ่ี
ว่างเปล่า คืนรวมเป็นหน่ึงเดียวกบั ความว่างเปล่าในธรรมชาติ
แมน้ ิพพาน ก็ไม่มีใครยึดนิพพาน นิพพานยงั คงเป็นนิพพาน
อยู่อย่างนนั้ ... จบซะที

213


Click to View FlipBook Version