หนังสอื สมั มนาวิชาการ (Proceedings)
การสมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ
ครงั้ ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
เรอื่ ง
การสรา้ งภูมคิ ุ้มกันเพอื่ วิถีชวี ิตใหม่: ในมิตทิ างสังคมสงเคราะห์และสวสั ดิการสงั คม
สกู่ ารพัฒนาทีย่ ่งั ยนื
Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development
จัดโดย
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รว่ มกับ
สมาคมสภาการศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมไทย (สสสท.)
และ สมาคมนักสงั คมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
ณ. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ทา่ พระจนั ทร์
และผ่านระบบออนไลน์ (ZOOM)
วันท่เี สารท์ ี่ 25 กนั ยายน 2564
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | ii
บรรณาธกิ าร
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภชุ งค์ เสนานชุ ประธาน
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปานรตั น์ นิม่ ตลงุ กองบรรณาธิการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จริ พรรณ นฤภัทร กองบรรณาธกิ าร
นางสาวปยิ ภทั ร คุณเจริญ กองบรรณาธิการ
นางสาวสธุ มิ า วุฒิการ กองบรรณาธกิ าร
คณะกรรมการประเมินคุณภาพผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษา
คณะกรรมการภายในสถาบัน ท่ีปรึกษา
1. คณบดีคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ ประธาน
2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภุชงค์ เสนานุช กรรมการ
3. ศาสตราจารย์ ดร.กติ ิพัฒน์ นนทปทั มะดลุ ย์ กรรมการ
4. ศาสตราจารย์ ดร.นฤมล นริ าทร กรรมการ
5. ศาสตราจารย์ ดร.พงษเ์ ทพ สันตกิ ลุ กรรมการ
6. รองศาสตราจารย์ ดร.พเยาว์ ศรแี สงทอง กรรมการ
7. รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณวดี พูลพอกสนิ กรรมการ
8. รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญลักษณ์ วีระสมบตั ิ กรรมการ
9 รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณลกั ษณ์ เมียนเกิด กรรมการ
10. รองศาสตราจารย์ กมลทิพย์ แจ่มกระจา่ ง กรรมการ
11. รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ญประภา ภทั รานุกรม กรรมการ
12. รองศาสตราจารย์ ดร.อจั ฉรา ชลายนนาวิน กรรมการ
13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สริ พิ รรณ ศรมี ีชัย กรรมการ
14. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศริ ินทร์รตั น์ กาญจนกุญชร กรรมการ
15 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วไิ ลภรณ์ โคตรบึงแก กรรมการ
16. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาดี ลิ่มสกุล กรรมการ
17. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานรัตน์ น่มิ ตลุง กรรมการ
18. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยา รจุ เิ สถียรทรัพย์ กรรมการ
19. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นราเขต ยม้ิ สขุ กรรมการ
20. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิฤมน รัตนะรัต กรรมการ
21. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปิน่ หทยั หนนู วล กรรมการ
22. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิรพรรณ นฤภทั ร กรรมการ
23. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุขุมา อรุณจติ กรรมการ
24. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เสาวธาร โพธกิ์ ลัด กรรมการ
25. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สริ ยิ า รตั นช่วย กรรมการ
26. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กติ ติ ชยางคกลุ กรรมการ
27. อาจารย์ ดร.มาลี จริ วัฒนานนท์ กรรมการ
28. อาจารย์ ดร.ปรินดา ตาสี กรรมการ
29. อาจารย์ ดร.กาญจนา รอดแกว้ กรรมการ
30. อาจารย์ ดร.วิไลลกั ษณ์ อยู่สำราญ
iii | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
31. อาจารย์ ดร.อรุณี ลิม่ มณี กรรมการ
32. นางสาวปยิ ภทั ร คุณเจรญิ กรรมการ
33. นางสุนนั ทา สาระบุตร กรรมการ
34. นางสาวสุธิมา วุฒกิ าร กรรมการ
35. นางสาวอษุ ณยี ์ น้อยอยู่นติ ย์ กรรมการ
36. นางสาวจุฬารฎั เมอื งโคตร กรรมการ
คณะกรรมการจากภายนอกสถาบัน กรรมการ
1. ศาสตราจารย์ ศศิพัฒน์ ยอดเพชร กรรมการ
2. ศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม กรรมการ
3. ศาสตราจารย์ ดร.วุฒิสาร ตันไชย กรรมการ
4. ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ โรมรตั นพันธ์ กรรมการ
5. รองศาสตราจารย์ ปารชิ าติ วลยั เสถยี ร กรรมการ
6. รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนยี ์ ลกั ขณาภิชนชัช กรรมการ
7. รองศาสตราจารย์ สุรางค์รตั น์ วศินารมณ์ กรรมการ
8. รองศาสตราจารย์ อภิญญา เวชยชัย กรรมการ
9. รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิช์ ยั เลศิ พานิชพันธ์ุ กรรมการ
10. รองศาสตราจารย์ ดร.โกนิฎฐ์ ศรีทอง กรรมการ
11. รองศาสตราจารย์ เล็ก สมบัติ กรรมการ
12. รองศาสตราจารย์ ดร.สมศักดิ์ อมรสิรพิ งศ์ กรรมการ
13. รองศาสตราจารย์ ดร.จตรุ งค์ บณุ ยรตั นสนุ ทร กรรมการ
14. รองศาสตราจารย์ ดร.สมบรู ณ์ ศริ สิ รรหริ ญั กรรมการ
15. รองศาสตราจารย์ ดร.อำไพรัตน์ อักษรพรหม กรรมการ
16. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วนิดา ดุรงคฤ์ ทธชิ ัย กรรมการ
17. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรรณปพร สวี ิโรจน์ กรรมการ
18. อาจารย์ ดร.ทพิ าภรณ์ โพธิถ์ วลิ กรรมการ
19. ดร.อนุชา เลก็ สกุลดลิ ก กรรมการ
20. ดร.สดใส คุม้ ทรพั ย์อนนั ต์ กรรมการ
21. ดร.ชาตรี ทองสาริ กรรมการ
22. ดร.ขนิษฐา บรู ณพันศักดิ์
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | iv
คำนำ
ด้วย ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนาสังคม และการพัฒนา
ชุมชน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับสมาคมสภาการศึกษาสังคมสงเคราะห์
ศาสตร์และสวัสดิการสังคมไทย และสมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย กำหนดจัดโครงการ )สสสส.(
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ ครั้งที่ 10
ประจำปีการศึกษา 2563 ภายใต้หัวข้อเรื่อง “การสร้างภูมิคุ้มกันเพ่ือวิถีชีวิตใหม่: ในมิติทางสังคมสงเคราะห์
และสวัสดิการสังคม สู่การพฒั นาท่ีย่ังยืน ในวันเสาร์ที่ 25 กันยายน 2564 ผา่ นระบบออนไลน์ Zoom Meeting:
Meeting ID: 884 2844 2380 Passcode: 501353 ซ่ึงเป็นประเด็นท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่
ระบาดของ COVID-19 และวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งน้ีเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ระหว่างสถาบันการศึกษา นักวิชาการ นักสังคมสงเคราะห์ และผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์และ
สวัสดิการสังคม ได้นำเสนอผลงานวิจัยของบัณฑิตส่สู าธารณะ ตลอดจนเปน็ การแลกเปลยี่ นความรู้ ทกั ษะ
เพ่ือนำไปบูรณาการกับการปฏิบัติงาน ตลอดจนการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อส่งเสริมคุณค่าและพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ ของกล่มุ เป้าหมาย )เด็กและเยาวชน ผกู้ ระทำผดิ สตรีและครอบครัว คนพิการและผสู้ ูงอายุ(
การสัมมนาในภาคเช้า Topic: “Immunity in the New Normal for Social Work and
Social Welfare towards Sustainable Development” 1) “Social Work Contribution of the
Key Value Bases for Social Transformation in the New Era” 2) “Vietnam prepared for
New Normal and for Sustainable Development” 3) “Responding to COVID-19 Pandemic
Challenge and Efforts towards Sustainable Development in India” and 4) "Immunity in
the New Normal for Social Work and Social Welfare towards Sustainable Development:
Reflections from Sierra Leone"
ภาคบ่าย มีผลงานวิชาการท่ีผ่านการคัดเลือกโดยผู้ทรงคุณวุฒิให้นำเสนอในงานสัมมนาวิชาการ
ระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศึกษา
2563 ฉบับนี้ จำนวน 11 เร่ือง และผู้ทรงคุณวุฒิจากองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา
ซ่ึงนำเสนอใน 3 ห้องย่อย ได้แก่ ห้องย่อยที่ 1 หัวข้อเร่ือง “การสร้างภูมิคุ้มกันในวิถีชีวิตใหม่ในกลุ่มเสี่ยง
และกลุ่มเปราะบางทางสังคม” ห้อยย่อยท่ี 2 หัวข้อเรื่อง “การสร้างภูมิคุ้มกันในวิถีชีวิตใหม่ด้วย
การจัดการความรู้และการจัดการสวัสดิการชุมชน” และ ห้องย่อยท่ี 3 หัวข้อเร่ือง “International
Social Work and Social Welfare”
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าการจัดสัมมนา
วิชาการระดับบัณฑิตศึกษาในครั้งนี้ จะนำประโยชน์ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน สังคมมั่นคง
และยั่งยืนต่อไป
)ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภชุ งค์ เสนานชุ (
รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวิเทศสัมพันธ์
v | สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
Associate Professor Gasinee Witoonchart, Rector of Thammasat University
Opening Remarks
The 10th National Seminar of Graduate Studies in Social Work and Social Welfare
25 September 2021
“Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development”
Good morning,
Professor Tan Ngoh Tiong, International Association of Schools of Social Work and
Singapore University of Social Science
Professor Le Chi An, Institution of Social Security and Community Development
Professor Sakthi Prabha, Dean and Head of School of Humanities, Hindusthan College of
Arts and Sciences, India
Mr George Abu Mansaray, President of the Association of Social Workers in Sierra Leone,
Co-founder and CEO of Ruth Stark’s Hope Kindergarten Sierra Leone
Ms Ruth Stark, Chief Ya Bomposeh Kunk Bana the third, of Matheng section,
Lokomosama Chiefdom, IFSW President 2014-18
Distinguished speakers and guests
As the Rector of Thammasat University, it is my great honour to welcome all of you to
the 10th National Seminar of Graduate Studies in Social Work and Social Welfare;
“Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards Sustainable
Development”.
Thammasat University’s vision is to nurture “Leadership through World-Class Education
and Research” and our aspiration is to maintain our reputation for excellence as a
university for the people. Our core values centre on excellence, morality and social
engagement. And it is our focus on social engagement which makes the work of the
Faculty of Social Administration, one of our oldest faculties, so important.
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | vi
We are living in very uncertain times of unprecedented change. Social Work and Social
Welfare are being challenged, as are all other disciplines, to quickly adapt to the crisis
of the worldwide pandemic. We have a responsibility as leaders and practitioners in our
field to respond appropriately, efficiently and effectively to the myriad of new issues
posed by the circumstances of our ‘new normal’.
This seminar aims to explore and discuss our approach to social work and social welfare
within the challenging context of the Covid-19 Global Pandemic, from the perspective
of sustainable development. We also aim to provide a platform for our respective
institutions and partners to enhance and strengthen our provision of teaching and
learning in the areas of social work and social policy.
I strongly believe that this seminar will provide an avenue to gain insights into social
work and social policy in our respective countries, and into further collaboration
through our education programmes.
I would like to take this opportunity to extend my deepest gratitude to our
distinguished guests and members of the organising committee who have helped to
make this conference possible. I am confident that this conference will be meaningful,
constructive, and successful.
Thank you very much.
vii | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563
Professor Rapeepan Kumhom, Dean of Faculty of Social Administration,
Thammasat University
Opening Remarks
The 10th National Seminar of Graduate Studies in Social Work and Social Welfare
25 September 2021
“Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development”
Good morning,
Associate Professor Gasinee Witoonchart, Rector of Thammasat University
Professor Tan Ngoh Tiong, International Association of Schools of Social Work and
Singapore University of Social Science
Professor Le Chi An, Institution of Social Security and Community Development
Professor Sakthi Prabha, Dean and Head of School of Humanities, Hindusthan College of
Arts and Sciences, India
Mr George Abu Mansaray, President of the Association of Social Workers in Sierra Leone,
Co-founder and CEO of Ruth Stark’s Hope Kindergarten Sierra Leone
M s R u t h S t a r k , Chief Ya Bomposeh Kunk Bana the third, of Matheng section,
Lokomosama Chiefdom, IFSW President 2014-18
Distinguished speakers and guests,
It is a true honour for me, as the Dean of the Faculty of Social Administration at
Thammasat University, to host our tenth National Seminar of Graduate Studies in Social
Work and Social Welfare.
The vision of the Faculty of Social Administration, over the last 65 years, is to create
academic and professional leaders who excel globally in social innovation. Over the
years, the Faculty has been conducting academic research in the field of social
administration, social policy, social and community development, while building
researcher networks offering social services and financial funds in order to promote
social change.
The Faculty has been active in responding to both economic crises and natural disasters
in Thailand, implementing numerous activities and projects which bring crucial
knowledge to solve problems and develop society, through skilled volunteers who are
able to work effectively with others.
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | viii
In addition, the Faculty of Social Administration has developed a teaching strategy
which focusses on student-centred active learning with specific emphasis on practical
training and social research at the individual, community and organizational levels.
To this present day, the Faculty of Social Administration has pursued a strong vision of
driving impactful, positive and sustainable change in society. Since the beginning of the
current pandemic, the Faculty has devised new methods and initiatives to serve all
social contexts during these challenging times, such as working with the Thai Health
Promotion Foundation and other organisations on a one-year project to digitise social
work with an online programme to support community workers and those affected by
the coronavirus crisis.
Under the Faculty’s strategic framework which focuses on social and human sustainable
development, the emphasis is firmly on social equality and fairness, respecting human
rights, dignity and human diversity, and building a life-long learning environment filled
with happiness.
On behalf of our Faculty, it is my pleasure and honour to welcome all of you attending
this seminar.
I wish you all highly productive and enjoyable sessions today.
Thank you very much.
ix | สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑติ ศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ ครัง้ ท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
สารบญั
คำนำ iv
กำหนดการ xi
หอ้ งย่อยที่ 1การสรา้ งภมู ิคุ้มกนั ในวิถชี ีวิตใหม่ในกล่มุ เสี่ยงและกลุ่มเปราะบางทางสังคม 3
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านของบ้านก่ึงวิถีในรปู แบบศาสนสถานวดั มณฑป กรุงเทพมหานคร 21
ระมติ า แกว้ ดอนรี และ ดร.ศริ นิ ทรร์ ัตน์ กาญจนกุญชร 36
บทบาทของนักสังคมสงเคราะหก์ บั การสร้างวนิ ัยเชงิ บวกในสถานรองรับเดก็ สังกดั กรมกจิ การ 54
เด็กและเยาวชน 72
ศุกรศ์ ิริ สวุ รรณธนู และ ดร.ธันยา รจุ เิ สถยี รทรัพย์
การเข้าถงึ สทิ ธิในการเลือกตั้งของคนพิการ
สุกัญญา จำนงค์บุญ และ ดร.ภชุ งค์ เสนานชุ
การปรบั ตัวและปัจจยั ทสี่ ัมพันธก์ ับการปรับตัวของผู้อุปการะเด็กแบบครอบครวั อปุ ถัมภ์
ของสำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวัดนครนายก
กมลทิพย์ พิพธิ กุล และ ดร.มาดี ลม่ิ สกลุ
แนวทางการพัฒนาบทบาทของอาสาสมคั รในการเฝ้าระวงั ความเสย่ี งของผสู้ งู อายุใน
ชุมชน: กรณศี ึกษาอาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั สุโขทัย
อาภาภรณ์ บุญมี และ ดร.มาลี จริ วัฒนานนท์
ห้องย่อยที่ 2 การสร้างภูมิคุ้มกันในวิถีชีวิตใหม่ด้วยการจัดการความรู้และการจัดการ 99
สวัสดิการชุมชน
กระบวนการขบั เคลื่อนชุมชนเข้มแข็งด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ดร. กาญจนา รอดแก้ว
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | x
กลไกและกระบวนการสรา้ งความเข้มแขง็ สสู่ วสั ดกิ ารชมุ ชนเมืองกรณีศึกษาชมุ ชนมสั ยดิ 114
จกั รพงษ์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 131
147
อรชา สุขกวี และ ดร.สริ ยิ า รตั นชว่ ย 159
177
การประยุกต์ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการบริหารจัดการงานของผจู้ ดั การชมุ ชน
กรณศี ึกษาบริษัท ลมุ พินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกดั
กุมารกิ า อินทรตั น์ และ ดร.กาญจนา รอดแก้ว
ปจั จัยทีม่ ีอิทธพิ ลต่อการจดั การองคค์ วามรขู้ องเจนเนอเรชน่ั Nexters ในองคก์ รมหาชนแห่งหน่ึง
ไกรวิชญ์ ชมุ เสน และ ดร.นราเขต ย้มิ สุข
การจัดการตนเองของชมุ ชนพหุวัฒนธรรมเพ่ือสรา้ งความเข้มแขง็ ของชุมชน
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จงั หวดั ปัตตานี
จริ าภา แดงดิษฐเ์ ครี และ ดร.กาญจนา รอดแกว้
กลไกและกระบวนการปรบั ตัวแหลง่ ท่องเที่ยวชุมชนใหเ้ ป็นการจดั สวสั ดิการชมุ ชน
กรณศี ึกษาชมุ ชนรมิ คลองมหาสวสั ดิ์ อำเภอบางกรวย จังหวดั นนทบรุ ี
เมธาพร ศรปี ระมวล และ ดร.สริ ิยา รัตนชว่ ย
ภาคผนวก 201
Social Work Contribution of the Key Value Bases for social transformation
in the New Era
Prof. Dr.Tan Ngoh Tiong
Vietnam prepared for New Normal and for Sustainable Development 215
Prof. Le Chi An 227
Responding to COVID-19 Pandemic Challenge and Efforts towards
Sustainable Development in India
Prof. Dr. Sakthi Prabha
Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards 263
Sustainable Development: Reflections from Sierra Leone
George Abu Mansaray and Ruth Stark
xi | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดิการสังคมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
Agenda
The 10th National Seminar of Graduate Studies in Social Work and Social Welfare
“Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development”
On Saturday, 25th September 2021, Organized by Department of Social Work and
Department of Social Policy, Development and Community Development
Faculty of Social Administration, Thammasat University, In Collaboration with
Thai Association of Social Work and Social Welfare Education
and Thailand Association of Social Workers
Zoom meeting: Meeting ID: 884 2844 2380 Passcode: 501353
***********************
08.00-09.00 Registration
09.00-09.15 Opening remarks by Associate Professor Gasinee Witoonchart, Rector of Thammasat University
Introduction of the National Seminar of Graduate Studies by Professor Rapeepan
Kumhom, Dean of Faculty of Social Administration, Thammasat University Group
Virtual Photo Session
09.15-12.00 Topic: “Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development”
- 9.30-10.00 Prof. Dr.Tan Ngoh Tiong, International Association of Schools of Social Work
)IASSW) and Singapore University of Social Science
“Social Work Contribution of the Key Value Bases for Social Transformation
in the New Era”
- 10.00-10.30 Prof. Le Chi An, Institution of Social Security and Community Development
“Vietnam prepared for New Normal and for Sustainable Development”
- 10.30-11.00 Prof. Dr. Sakthi Prabha, Dean and head of School of Humanities,
Hindusthan College of Arts and Sciences, India
“Responding to COVID-19 Pandemic Challenge and Efforts towards
Sustainable Development in India”
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | xii
- 11.00-11.30 George Abu Mansaray, President of the Association of Social Workers
in Sierra Leone Co-Founder and CEO of Ruth Stark's Hope kindergarten
Sierra Leone and
Ruth Stark, Chief Ya Bomposeh Kunk Bana the third, of Matheng
section, Lokomosama Chiefdom, IFSW President 2014-18
"Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare
towards Sustainable Development: Reflections from Sierra Leone"
Moderators: Ajarn Pred Evans, Deputy Director (Social Policy and Development Program)
Ajarn Dr. Arunee Limmanee Asst. Dean-Education Assurance
11.30-12.00 Q & A
13.30-16.30 Presentation of papers (breakout-rooms( and awarding of certificates
_______________________________________________________________________________________
Singapore 10.30-11.00 am (+1 hour)
Vietnam 10.00-10.30 am.
India 9.00-9.30 am (-1.30 hour)
Sierra Leone 4.00-4.30 am (-7 hours)
xiii | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดับชาติ ครง้ั ที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
กำหนดการ
การสัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ
ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
ในวนั เสาร์ท่ี 25 กันยายน 2564 เวลา 13.00-17.00 น.
โดย ภาควชิ าสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ และ ภาควิชานโยบายสังคม การพัฒนาสงั คม และการพัฒนาชมุ ชน
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
ร่วมกบั
สมาคมสภาการศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสงั คมไทย )สสสท.( และ
สมาคมนกั สงั คมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
***************************
หอ้ งย่อยท่ี การสร้างภูมิคมุ้ กนั ในวถิ ีชีวติ ใหมใ่ นกลมุ่ เสยี่ งและกลุม่ เปราะบางทางสังคม 1
ผา่ นระบบ Zoom meeting: Meeting ID: 5531 9219 886 Passcode: 194121
ขอื่ ผดู้ ำเนนิ การและใหข้ ้อเสนอแนะ 1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปานรตั น์ นม่ิ ตลุง
2. อาจารย์ ดร.สุกญั ญา มสี กุลทอง
พธิ ีกร 1. นางสาวเนตรชนก สุนา 2. นายสณั หณฐั ดีทองอ่อน
ชอ่ื เจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ระสานงานประจำห้อง 1. นางสนุ นั ทา สาระบตุ ร 2. นางสาวอษุ ณีย์ นอ้ ยอยนู่ ติ ย์
3. นางสาวจุฬารัฎ เหมืองโคตร
ช่อื เจา้ หนา้ ที่เทคนคิ ประจำหอ้ ง วา่ ทร่ี ้อยตรี อทิ ธิวัตร เงาศรี
ลำดับ หวั ข้อ ขอื่ สกลุ -
1 กระบวนการปฏิบัติงานของบ้านกง่ึ วิถีในรูปแบบศาสนสถานวดั มณฑป นางสาวระมติ า แก้วดอนรี
กรุงเทพมหานคร
2 บทบาทของนักสงั คมสงเคราะหก์ บั การสร้างวนิ ยั เชงิ บวกในสถานรองรบั เดก็ สังกดั กรม นางสาวศุกร์ศริ ิ สุวรรณธนู
กจิ การเดก็ และเยาวชน
3 การเข้าถงึ สิทธใิ นการเลอื กตง้ั ของคนพกิ าร นางสาวสกุ ัญญา จำนงค์บญุ
4 การปรบั ตัวและปจั จยั ที่สมั พันธ์กบั การปรับตัวของผอู้ ปุ การะเด็กแบบครอบครัว นางสาวกมลทพิ ย์ พพิ ธิ กุล
อุปถัมภข์ องสำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวดั นครนายก
5 แนวทางการพัฒนาบทบาทของอาสาสมคั รในการเฝา้ ระวังความเส่ยี งของผสู้ ูงอายุใน นางสาวอาภาภรณ์ บญุ มี
ชุมชน: กรณีศึกษาอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั สโุ ขทยั
สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | xiv
กำหนดการ
การสัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ
ครัง้ ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
ในวนั เสาร์ที่ 25 กนั ยายน 2564 เวลา 13.00-17.00 น.
โดย ภาควชิ าสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ และ ภาควชิ านโยบายสังคม การพัฒนาสงั คม และการพัฒนาชุมชน
คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
รว่ มกบั
สมาคมสภาการศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสงั คมไทย )สสสท.( และ
สมาคมนกั สังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย
***************************
ห้องยอ่ ยท่ี 2 การสร้างภมู คิ มุ้ กันในวถิ ีชวี ิตใหม่ด้วยการจัดการความรู้และการจดั การสวัสดกิ ารชมุ ชน
ผา่ นระบบ Zoom meeting: Meeting ID: 3715 8416 823 Passcode: 250921
ข่ือผ้ดู ำเนินการและใหข้ อ้ เสนอแนะ 1. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จิรพรรณ นฤภทั ร
2. รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา ชลายนนาวิน
พิธกี ร 1. นายกฤษฎา ศุภกจิ ไพศาล 2. นายทรงศักด์ิ รกั พ่วง
ช่ือเจา้ หน้าทผี่ ปู้ ระสานงานประจำห้อง 1. นางสาวปยิ ภัทร คณุ เจริญ 2. นางสาวสธุ ิมา วุฒิการ
ชื่อเจ้าหน้าท่ีเทคนคิ ประจำห้อง นายอัสวนิ สงั ขท์ อง
ลำดับ หัวขอ้ ขือ่ สกลุ -
1 กระบวนการขบั เคลือ่ นชุมชนเข้มแขง็ ดว้ ยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง อาจารย์ ดรกาญจนา รอดแก้ว.
2 กลไกและกระบวนการสรา้ งความเขม้ แขง็ สู่สวสั ดิการชุมชนเมือง นางสาวอรชา สขุ กวี
กรณีศึกษาชุมชนมสั ยิดจกั รพงษ์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
3 การประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการบริหารจัดการงานของ นางสาวกุมารกิ า อนิ ทรตั น์
ผู้จัดการชมุ ชน กรณศี กึ ษาบรษิ ัท ลมุ พินี พรอพเพอรต์ ้ี มาเนจเมนท์
จำกัด
4 ปจั จยั ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการองคค์ วามรขู้ องเจนเนอเรชน่ั Nexters ใน นายไกรวิชญ์ ชุมเสน
องค์กรมหาชนแหง่ หนึ่ง
5 การจดั การตนเองของชุมชนพหุวฒั นธรรมเพอื่ สร้างความเข้มแขง็ ของ นางสาวจิราภา แดงดิษฐ์เครี
ชุมชนตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จังหวดั ปัตตานี
6 กลไกและกระบวนการปรบั ตวั แหลง่ ท่องเทย่ี วชุมชนให้เปน็ การจดั นางสาวเมธาพร ศรปี ระมวล
สวสั ดิการชมุ ชน กรณศี ึกษาชุมชนริมคลองมหาสวสั ด์ิ อำเภอบางกรวย
จังหวัดนนทบุรี
xv | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
Agenda
The 10th National Seminar of Graduate Studies in Social Work and Social Welfare
“Immunity in the New Normal for Social Work and Social Welfare towards
Sustainable Development”
On Saturday, 25th September 2021 (1.00 pm – 4.00 pm)
***************************
Room 3 International Social Work and Social Welfare
VIA Zoom meeting: Meeting ID: 840 2322 2274 Passcode: 435702
Moderator : Ajarn Dr.Vitor Prasad Karunan
Ajarn Zipporah Goetze
Room Coordinator: Miss Sakoonrat Woothichai and
Miss Jirapath Tangthunwarat
Room Technical Officer: Mr. Atthiwat Gynsri
No Topics Name-surname Organization
1 “Indigenous Rights in Thailand During Ms. Tawanrat Marit ,4th BA in Social Policy and
Covid-19: What are the sustainable student Development (SPD) programme,
solutions?” Faculty of Social Administration,
Thammasat University
2 “Challenges in Recognition of Mr. Muhammad Idrees, 4th Faculty of Social Work,
Profession And Academic Discipline student University of Peshawar, Pakistan.
of Social Work In Pakistan”
3 “Improving effective communication Kath Khangpiboon Lecturer Department of Social Work ,
skills among Thai social workers Faculty of Social Administration ,
during the new normal in new Thammasat University
media”
4 "Innovations in SW Field Instruction Asst.Prof.Dr. Jowima Reyes, College of Social Work and
during the Covid 19 pandemic" Lecturer Community Development,
University of The Philippines
5 “Health Literacy empower people Mrs. Sarotorn Muangklieng,
to live with Covid-19: Case study Independent Social worker
from Home Isolation Program in
Thailand”
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 1
หอ้ งยอ่ ยที่ 1
การสรา้ งภมู คิ มุ้ กันในวิถชี วี ิตใหม่ในกลมุ่ เสยี่ งและกลมุ่ เปราะบางทางสังคม
2 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 3
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านของบา้ นกง่ึ วิถีในรปู แบบศาสนสถานวดั มณฑป กรุงเทพมหานคร
The Process of Operating Halfway House in Religious from of
Wat Mondhop Bangkok
ระมติ า แกว้ ดอนรี1 และ ผศ. ดร.ศริ ินทร์รัตน์ กาญจนกญุ ชร2
Ramita kaewdonree3 and Asst. Prof. Sirinrat Kanchanakunjara, Ph.D.4
Abstract
This article aims to study operational guidelines and the operation of a Halfway
house in Wat Mondhop. The study used qualitative research methods. The results of the
study revealed that the halfway home at Wat Mondhop has a working process of the
workers involved in the operation jointly provide relief to offenders by the leadership of
the monks using religious principles help to correct restore change the behavior of the
offender. Not only that, there are also communities involved in the project. It is another
important mechanism for helping offenders. There are obstacles in the budget of the
government sector and insufficient personnel including social and economic factors. From the
study it was found that it was very useful to bring the guidelines operation of the halfway house
in the form of a religious place according to the Buddhist guidelines has been adapted.
Keywords: Halfway house, religious place, offenders
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาถึงแนวทางการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านก่ึงวิถี
ในรปู แบบศาสนสถานวัดมณฑป การศกึ ษาใช้วิธกี ารวจิ ัยเชิงคุณภาพ ผลศึกษาพบว่าบ้านก่ึงวถิ ีวัดมณฑป
มีกระบวนการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องในการดำเนินการสงเคราะห์ผู้กระทำผิ ดร่วมกันโดย
การนำของพระภิกษุสงฆ์ใช้หลักธรรมทางศาสนาช่วยในการแก้ไขฟื้นฟูปรับเปล่ียนพฤตินิสัยของผู้กระทำ
ผิด ไม่เพียงเท่าน้ันยังมีชุมชนเข้ามามีร่วมในโครงการถือเป็นอีกหน่ึงกลไกสำคัญของการสงเคราะห์
ผูก้ ระทำผิด โดยมีอุปสรรคปัญหาด้านงบประมาณของภาครัฐและด้านบุคลากรท่ีไมเ่ พียงพอรวมท้ังปัจจัย
ทางด้านสังคมเศรษฐกิจ จากการศึกษาเห็นว่ามีประโยชน์อย่างมากที่จะนำแนวทางการดำเนินงานของ
บา้ นกึ่งวิถใี นรูปแบบศาสนสถานตามแนวทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้
คำสำคญั : บา้ นก่ึงวิถ,ี ศาสนสถาน, ผกู้ ระทำผดิ
1 นักศกึ ษาปรญิ ญาโทหลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสงั คม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
2 อาจารย์ประจาคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
3 Master of Arts Program in Justice Policy, The Faculty of Social Administration, Thammasat University
4 Lecturer, Faculty of social Administration, Thammasat University, Thailand
4 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑติ ศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดับชาติ ครง้ั ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
บทนำ
ประเทศไทยผู้ต้องขังมีจำนวนมากทำให้เกิดปัญหานักโทษล้นเรือนจำ และในปัจจุบันได้ใช้
มาตรการทางเลอื กอื่นแทนการจำคุก โดยใช้งานคมุ ประพฤตเิ ขา้ มามสี ่วนร่วมแต่เนอื่ งจากผู้กระทำผิดหลัง
พ้นโทษจากการคมุ ประพฤติที่อยใู่ นระหวา่ งคุมประพฤติ หรือผู้กระทำผิดหลังปล่อยจากกรมราชทัณฑ์นั้น
มีมากข้ึนทุกปี ดังนั้นเม่ือมีการปล่อยผู้พ้นโทษออกจากเรือนจำทุกปี ประกอบกับผู้กระทำความผิดท่ีอยู่
ระหว่างการดำเนินคดี การพักโทษ การรอลงอาญา หรืออยู่ในกระบวนการคุมประพฤติของกรมคุม
ประพฤตใิ นแตล่ ะปไี ด้มีจำนวนผูพ้ น้ โทษและกลบั มากระทำผิดซำ้ มากขึ้น ดงั น้ี
ตารางท่ี 1
อตั ราการกระทำผดิ ซำ้ ของผตู้ อ้ งขังที่ได้รบั การปล่อยตวั ในช่วงปงี บประมาณ
ปลอ่ ยตวั ในชว่ งปงี บ จำนวนผตู้ ้องขังท่ี มเี ลขบัตรประชาชน จำนวนผ้ตู อ้ งขังที่ รอ้ ยละ
(Starting point) ได้รบั การปล่อยตัว (คน) กลบั มากระทำผิดซ้ำ
(คน) ภายใน 1 ปี
2559 147,016 123,277 17,681 14.43
2560 135,823 117,448 17,426 14.84
2561 110,306 97,851 15,238 15.57
2562 160,424 145,248 21,168 14.57
2563 156,577 145,114 18,842 12.98
2564 183,738 173,431 9,958* 5.74*
ที่มา: ดัดแปลงมาจากกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม , www.Correct.go.th/recstats/# , 30
สงิ หาคม 2564.
กระทรวงยุติธรรมจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของพุทธสถานต่างๆ ท่ีอยู่ในประเทศไทย และ
กำหนดสถานที่เพ่ือให้การสงเคราะห์บุคคลข้ึนกรมคุมประพฤติได้มีการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถี เพื่อเป็นท่ี
พักอาศัยช่ัวคราวให้กับผู้ต้องหาและผู้กระทำผิดในความดูแลของกรมคุมประพฤติ โดยได้มีการรับรอง
สถานที่ซ่ึงอยู่ในความดูแลของเอกชนให้เป็นบ้านก่ึงวิถี ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัวประเทศประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2561 จำนวนท้ังส้ิน 122 แห่ง เพ่ือเป็นทางเลือกด้านที่พักอาศัยภายหลังการพ้นโทษ และใน
ทัง้ หมดน้ีรวมวดั มณฑปและสถานปฏบิ ตั ิธรรมด้วย
วัด ในฐานะเป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจของชุมชน ด้วยเหตุนี้ท่ีต้องใช้บ้านกึ่งวิถีในการ
สงเคราะห์ผู้กระทำผิดโดยการใช้แนวทางด้านศาสนาในการช่วยบำบัดทางด้านจิตใจโดยการใช้
หลักธรรมทางศาสนาในการขัดเกลาปรับเปล่ียนพฤตินิสัยของผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ การแก้ไข
ฟ้ืนฟูปรับเปลี่ยนพฤตินิสัยของผู้กระทำผิดเป็นแนวคิดเพื่อให้โอกาสผู้กระทำผิดกลับตัวกลับใจให้
เป็นพลเมืองดีจึงจำเป็นต้องอาศยั กระบวนการทางสงั คมท่จี ะส่งเสริมให้ผ้กู ระทำผดิ ไดร้ ับการปรบั เปลย่ี น
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดิการสงั คมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 5
พฤติกรรมทั้งกระบวนการทางกฎหมายและพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่งกระบวนการปฏิบัติงานดังกล่าวมุ่งเน้น
ของการมีส่วนร่วมของภาคสังคม ภาคเอกชนและภาครัฐท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับกระบวนการท้ังหมด และ
ยังสามารถสร้างคนดีกลับสู่สังคมได้อีกคร้ัง ด้วยเหตุน้ีจึงเป็นจุดประสงค์ในการใช้ศาสนสถานใน
การสงเคราะหผ์ ้กู ระทำผิดหรือผูเ้ ข้ารับบริการ
ศกึ ษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาถึงกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านก่ึงวิถี
ในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑปที่เก่ียวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ทัศนะเจ้าหน้าท่ีรวมถึงสภาพปัญหา
และอุปสรรคแนวทางการแก้ไขปัญหา และเพ่ือแสวงหาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพและรูปแบบ
ของการการดำเนินงานบ้านกึ่งวิถใี นรูปแบบศาสนสถานได้อย่างเหมาะสม เม่ือได้นำโครงการบ้านกึ่งวิถีใน
รูปแบบศาสนสถานมาปรับใช้ ตลอดจนความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน รวมท้ัง
สภาพแวดล้อมและปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้กระทำผิดหรือ
ผู้เข้ารบั บรกิ ารและผู้พ้นโทษได้รบั การสงเคราะห์อยา่ งเหมาะสม เปน็ คนดแี ละไม่หวนกลบั มากระทำผดิ ซ้ำ
อกี ทัง้ เป็นการส่งเสรมิ สวสั ดภิ าพของสังคม และปกป้องสังคมชมุ ชนใหป้ ลอดจากอาชญากรรม
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
เพื่อศึกษาถึงกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถาน
รวมถึงปัญหาและอุปสรรคแนวทางการแก้ไขปัญหา และเพอ่ื แสวงหาแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพ
และรูปแบบของการการดำเนินงานบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถานได้อย่างเหมาะสม สามารถนำมา
ประยกุ ต์ใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุด
ขอบเขตการวิจยั
ขอบเขตด้านพ้ืนท่ี คือบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑป แขวงฉิมพลี เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร เป็นพ้ืนที่
ศึกษาโดยใช้การเลือกกรณีศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง เนื่องจากเป็นบ้านกึ่งวิถีท่ีตั้งอยู่ในเขต
กรุงเทพมหานครเพียงแห่งเดียว ขอบเขตด้านประชากรรวมทั้งสิ้น 10 คน/รูป ประกอบด้วยพระสงฆ์
จำนวน 2 รูป เจ้าหน้าที่คุมประพฤติ จำนวน 2 ท่าน อาสาสมัครคุมประพฤติ 2 ท่าน ผู้นำชุมชนและ
รองประธานฯ 2 ท่าน ผู้ช่วยเจ้าอาวาส 1 ท่าน และเจ้าหน้าท่ีราชทัณฑ์ 1 ท่าน ในของด้านเนื้อหา เป็น
การศึกษาถงึ กระบวนการบ้านกง่ึ วิถี โดยใช้ความรู้ ทักษะ ทัศนะ และปัญหาอุปสรรคท่ีมีความสมั พันธ์กับ
การดำเนินงานบ้านก่ึงวถิ ีในรูปแบบศาสนสถานวดั มณฑป
วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั
การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยทำการค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary Research) โดยทบทวน
วรรณกรรมเกี่ยวกับทฤษฎีแนวความคิดเอกสาร และผลการวิจัยต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง งานวิจัยน้ีเป็นเชิง
คุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีการศกึ ษาแบ่งออกเป็น 2 สว่ น ดังนี้ 1) การศึกษาคน้ ควา้ จาก
เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง และ 2) การศึกษาภาคสนามสัมภาษณ์เชิงเจาะลึก (In-depth
6 | สมั มนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดิการสังคมระดับชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
Interviews) จากผู้ที่ให้ข้อมูลสำคัญ (Key informant) และผู้วิจัยได้ผ่านการอบรมจริยธรรมการวิจัยใน
คนด้านสังคมศาสตร์ และทำเร่ืองขออนุญาตเข้าไปที่หน่วยงานท่ีจะสัมภาษณ์เชิงเจาะลึกโดยจะต้องได้รับ
อนุญาตก่อน และสถานท่ีในการสัมภาษณ์ต้องมีความเป็นส่วนตัวทำให้ผู้มีส่วนร่วมในการศึกษามี
ความพร้อมในการให้ข้อมูล จากนั้นจะอธิบายถึงวัตถุประสงค์ของการศึกษาการระบุผลจากการให้ข้อมูล
อธิบายถึงประโยชน์การนำข้อมูลของผู้ให้ขอ้ มลู ไปใช้และจะเกบ็ รักษาความลับ การเคารพสิทธสิ ่วนบุคคล
ดว้ ยการใชน้ ามสมมุตขิ องผ้ใู หข้ ้อมลู และมคี ณุ ธรรมปราศจากอคติจะไม่นำเอาทศั นคตสิ ว่ นตวั มามีส่วนรว่ ม
ในการวิจยั ครัง้ นี้
แนวคดิ และทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง
ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการค้นคว้าเอกสาร เพ่ือศึกษาทฤษฎีแนวคิด ตลอดจนทบทวน
วรรณกรรมทเ่ี กย่ี วข้องเพ่อื นำมาใช้เป็นแนวทางในการศึกษา ซง่ึ มสี าระสำคญั โดยสังเขป ดงั นี้
1. แนวคดิ เกย่ี วกบั บ้านกึ่งวถิ ี
ศกั ดช์ิ ัย เลิศพานิชพันธุ์ (2540, น. 49) ได้ให้คำนิยามของบ้านก่ึงวิถไี วว้ ่า บ้านกึ่งวิถี หมายถึง
สถานที่สำหรับนักโทษซึ่งมิใช่เรือนจำหรือทัณฑสถาน แต่อยู่ระหว่างชุมชนที่มีสภาพคล้ายกับเป็นหอพัก
เพื่อให้ผู้พ้นโทษได้รับการพักการลงโทษหรือลดวันต้องโทษได้พักอาศัยระหว่างเรียนหนังสือหรือเพ่ือ
หางานทำ จะเรียกบุคคลเหล่านี้ว่า “ผู้พักพิง (Resident)” อาจใช้กับผู้ถูกคุมความประพฤติในงานคุม
ประพฤติไดด้ ว้ ย
นัทธี จิตสวา่ ง (2541, น. 138) ได้ให้คำนิยามของบ้านก่งึ วิถีไว้ว่า บา้ นกึ่งวิถี หมายถึง บ้านก่ึง
วิถีเป็นสถานที่ใช้ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดบางประเภทในชุมชน โดยมีลักษณะเป็นบ้านพักหรือศูนย์
พักพิงท่ีต้ังอยู่ในชุมชนของผู้ต้องต้องขังท่ใี กล้พ้นโทษหรอื พ้นโทษแลว้ หรือผู้ท่ศี าลท่ีส่ังให้พักในบ้านกึ่งวิถี
แทนการจำคุกในบ้านก่ึงวิถีแทนการจำคุกในเรือนจำ โดยผู้ท่ีอยู่ในบ้านกึ่งวิถีจะออกไปทำงานหรือเรียน
หนังสือสูตรวิชาชีพระยะส้ันตามปกติ และกลับเข้ามาในบ้านกึ่งวิถีในตอนเย็นภายในเวลาท่ีกำหนด
ประเภทของบ้านกึ่งวิถี 1) บ้านกึ่งวิถีเข้า (Halfway-in House) 2) บ้านก่ึงวิถีออก (Halfway-out
House) โดยบ้านก่ึงวิถีสำหรับใช้ในการเตรียมการปลดปล่อยผู้พ้นโทษหรือใกล้พ้นโทษเรยี กว่าบ้านก่ึงวิถี
ออก (Half-way “out” House) และอีกรูปแบบหน่ึงเป็นศูนย์พักพิงสำหรับผู้ท่ีศาลส่ังให้พักอยู่ใน
บ้านถึงวิถีแทนการจำคุก ซึ่งเรียกว่า บ้านก่ึงวิถีเข้า (Halfway-in House) ที่เรียกว่าเป็นบ้านถึงวิถีเข้า
ก็เพราะเป็นบ้านที่อยู่ก่ึงกลางระหว่างเรือนจำกับสังคมและถ้าเป็นบ้านถึงวิถีเข้าก็อยู่คร่ึงกลางระหว่าง
สังคมกับเรือนจำ (Half-way “in” House)
ในส่วนบ้านก่ึงวิถีในประเทศไทยบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑปได้ทำการเปิดบ้านกึ่งวิถีอย่างเป็น
ทางการเมื่อ ปี 2560 มีจุดประสงค์การสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการและผู้พ้นโทษ โดย
การบำเพ็ญประโยชน์ใน และนอกสถานที่ การเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนในพื้นที่ กิจกรรมทางศาสนา
กิจกรรมฝึกอาชีพเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง และการฝึกอาชีพตามความถนัดความต้องการของผู้เข้าพัก
ในสถานที่เพือ่ ให้การสงเคราะห์ การให้ความรู้ และการฝกึ อบรม ด้านทักษะชีวติ ตลอดจนการให้ความช่วยเหลอื ใน
สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 7
ด้านอ่ืนๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันวัดมณฑปน้ันก็มีการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีใน
รูปแบบศาสนสถานแหง่ เดยี วในกรุงเทพมหานคร เป็นตน้ มา
2. แนวคิดการควบคุมทางสังคม (Social Control)
แนวคิดควบคุมทางสังคม (Social Control) กล่าวว่าพฤติกรรมการกระทำความผิดของ
บุคคลจะมากหรือน้อยขึ้นกับการถูกควบคุมจากพันธะทางสังคมกับบิดา-มารดา ความคาดหวังทาง
การศกึ ษาและอาชพี ความเชื่อในบรรทัดฐานทางสังคมและจรยิ ธรรมของสงั คม
1. ความผูกพัน (attachment) สิ่งแวดลอมในครอบครัวจะเป็นจุดเริ่มตนของความรูสึก
ผูกพันเนื่องจาก บิดามารดาเป็นตัวแบบ และมีบทบาทในการอบรมขัดเกลาส่ังสอนถึงพฤติกรรมที่จะถูก
ยอมรับหรือไม่ยอมรับในสังคม โดยจะแสดงออกทางความรักและความเคารพตอบิดามารดาหรือการเป็น
มิตรกบั บุคคลอ่ืนๆ การทำงานหนักเพื่อพัฒนาทกั ษะภูมิปญั ญานำไปสู่ความรูสึกผกู พัน เมื่อมีความรสู้ ึกรัก
ความผูกพันต่อบิดามารดา ญาติพี่น้อง หรือแม้แต่ความเชื่อเกี่ยวกับคำสอนทางพระพุทธศาสนา เมื่อ
ผู้เข้ารับบริการบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปแล้วนำความเช่ือ ความศรัทธาต่อความรักต่อบิดา มารดาแล้วน้ัน
ผกู้ ระทำผิดก็จะสามารถกลบั เข้าสู่ชุมชนหรืออยูร่ ว่ มกบั ชุมชน สงั คม ไดอ้ ยา่ งปกติสุข
2. การมีขอผูกมัด (commitment) บุคคลท่ีไม่กระทำความผิดนั้น เป็นผู้ปฏิบัติตามบรรทัด
ฐานของกลุม สังคม เพราะมองเห็นประโยชนที่จะได้รับการปฏิบัติตามบรรทัดฐานเพราะพวกเขามี
ความคาดหวังที่จะได้รับความสำเร็จทางการศึกษาและอาชีพ การงานในอนาคตหรือจากเป้าหมายอ่ืนใน
สังคม เมื่อผู้กระทำผิดน้ันได้รับการยอมรับให้ประกอบสัมมาอาชีพมองเห็นว่าทำงานสุจริตแล้วได้เงิน
เห็นค่าของเงิน บางคนได้รับการศึกษาจากการศึกษานอกโรงเรียนท่ีวัดมณฑปมีให้ ทำให้เขาพอจะ
มองเหน็ อนาคตวา่ ต่อไปมวี ฒุ กิ ารศึกษาแลว้ สามารถเอาไปสมัครงานได้
3. การเขาเกี่ยวของกับกิจกรรมที่สังคมยอมรับ (involvement) หากบุคคลใดที่ทุมเทกับ
การทำในส่ิงท่ีดีหรือกระทำต่างๆ อันเป็นไปตามระเบียบบรรทัดฐานของสังคมแล้วเขาไม่มีเวลาเวลาหรือ
โอกาสที่จะไปกระทำความผิดได้เลย เนื่องจากเวลาเป็นสิ่งมีจํากัด ซึ่งถ้าผู้กระทำผิดเขามีอาชีพ
มีส่ิงที่ต้องทำไม่ปล่อยให้ว่าง พอไม่ว่างแล้วมีกิจกรรมหลากหลายด้านให้ทำ ก็จะไม่มีเวลาที่จะคิดกลับไป
กระทำผดิ ซ้ำ
4. ความเช่ือมั่นในกฎเกณฑของสังคม (beliefs) เป็นเรื่องของการยอมรับค่านิยมหรือ
ความเชื่อม่ันในเร่ืองของศีลธรรมที่ใช้ร่วมกัน พระสมุดเช่ือว่าถ้าหากผู้กระทำผิดเขาศีลธรรม รู้จักผิดชอบ
ช่ัวดี มีธรรมะมีศีลธรรมในใจ ก็จะทำให้มีสติ ซ่ึงถ้าหากมีสติมากพอก็จะยับย้ังต้ังใจที่จะไม่กระทำผิด
ตามคำสอนของพระสงฆผ์ ู้เป็นผสู้ อน
จากทฤษฎีข้างต้นเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับการดำเนินงานของบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบ
ศาสนสถานวัดมณฑป สามารถนำเรือ่ งความเช่ือมั่นในเรื่องของศีลธรรมท่ีใช้ร่วมกันกับผู้กระทำผิด เม่ือมี
ความรู้สึกรักความผูกพันต่อบิดา มารดา หรือแม้แต่ความเช่ือเกี่ยวกับคำสอนทางพุทธศาสนา แล้วนำ
ความเช่ือความศรทั ธาความรกั ทีม่ ตี อ่ ทุกๆ คนแลว้ นั้นผ้กู ระทำผิดก็จะเปน็ แนวทางที่จะสามารถแก้ไขฟ้นื ฟู
ทีต่ วั ผู้กระทำผิดใหก้ ลบั เขา้ สู่ชมุ ชน สงั คมน้นั ๆ ไดอ้ ย่างปกติสุขตอ่ ไป ตามทฤษฎีขา้ งต้น
8 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ คร้งั ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
3. ทฤษฎีตตี ราหรือตราหน้า (Labeling Theory)
ตามแนวคิดทฤษฎีตีตรา (Labeling) “แม้พฤติกรรมอาชญากรรมหรือการกระทำความผิดจะ
เปน็ สิ่งทช่ี ่ัวรา้ ยแต่ส่ิงท่รี ้ายยง่ิ กว่า คอื การท่ีสังคมพยายามผลักดันให้ผูก้ ระทำความผดิ ถลำลึกลงไปในทาง
ท่ีผิดเป็นภัยแก่สังคมมากยิ่งข้ึนโดยไม่ยอมเปิดโอกาสให้บุคคลที่ประพฤติผิดกลับตัวเป็นคนดี” ทฤษฎีตี
ตราหรือตราหน้า ชี้ให้เห็นถึงปฏิกิริยาตอบโต้ของสังคมที่มีต่อผู้กระทำผิดซ่ึงแสดงออกมาในแง่ลบได้
ถูกรังเกยี จเหยียดหยาม ไม่ยอมรับไมใ่ ห้อภัยไม่ให้โอกาสแก้ตัวพฤติกรรมต่างๆ ในทางลบท่ีสังคมแสดงต่อ
ผู้กระทำความผิด (แม้ผู้กระทำความผิดจะได้รับโทษไปแล้วก็ตาม) เหล่าน้ีเรียกว่าสังคม “ตีตราผู้กระทำ
ความผิด” พัฒนามาจากแนวความคิดของ แฟรงค์ แทนเนมบาม (Frank Tannenbaum) ในปี ค.ศ.1969
และ รชิ ารค์ ควนิ นี (Richard Quinney) ในปี ค.ศ.1970
จากการศึกษานี้ผู้ศึกษานำแนวคิดทฤษฎีมาใช้เพ่ืออธิบายว่า อยากให้ทุกคนมัทัศนคติท่ีดีต่อ
ผู้กระทำผิด สังคมให้โอกาสไม่แสดงออกถึงความรังเกียจ ยอมรับให้อภัยและพร้อมผลักดันให้เป็นคนดีสู่
สงั คม ถ้าสังคมชุมชนยอมรับบุคคลคนนั้นก็อาจจะไม่กลับหรอื กลายเป็นอาชญากร และไม่กลบั มากระทำ
ผดิ ซ้ำได้อีกเพราะกระบวนการตตี รา
4. แนวคิดแบบการแกไ้ ขฟน้ื ฟูผู้กระทำผิด (Rehabilitation)
สุดสงวน สุธีสร (2545, น. 108) กล่าวว่า สำนักปฏิฐานนิยมในช่วงต้น ค.ศ. 1800 ได้เกิด
การเปลี่ยนแนวคิดทางอาชญาวิทยา ซ่ึงสำนักคิดแบบดั้งเดิมเชื่อว่ากฎหมายเป็นส่ิงที่สามารถใช้ใน
การข่มขู่ยับยั้งพฤติกรรมกระทำผิดได้เพราะในกฎหมายได้มีการระบุถึงพฤติกรรมท่ีไม่สามารถกระทำได้
และบทลงโทษไว้อย่างชัดเจน แต่สำนักปฎิฐานนยิ มมไิ ด้คิดเช่นน้ัน แต่ไดน้ ำปญั หาเร่ือง “การรับผิดชอบ”
(Responsible) ต่อพฤติกรรมอาชญากรรมที่เกิดข้ึนมาประกอบกับสภาพแวดลอมและปัจจัยต่างๆ ที่
เก่ียวของมาใชในการพิจารณาโทษด้วย และสำนักปฎิฐานนิยมยังมีความคิดว่าการลงโทษไม่ได้ทำให้
อาชญากรรมลดลงแต่อย่างใด แต่ความสำคัญแก่ตัวผู้กระทำผิดคือการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดให้สามารถ
เปลี่ยนพฤติกรรมเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคมได้เหมือนเดิม เพราะมีความเชื่อว่าคนกระทำผิดความผิดต้องมี
สาเหตมุ าจากปัจจัยแวดลอ้ มต่างๆ กดดันใหค้ นกระทำผดิ
พเยาว์ ศรแี สงทอง (2554, น. 125) รูปแบบการแก้ไขฟ้ืนฟูนี้เรยี กอกี อยา่ งวา่ Medical Model
นั่นคือ รูปแบบการเยียวยา หมายถึงการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดด้วยวิธีการที่เหมาะสม มองว่าผู้กระทำผิด
เปน็ ผู้ปว่ ย ต้องไดร้ บั การเยียวยารักษามุ่งเน้นการแก้ไขเปน็ หลกั เช่อื ว่าผกู้ ระทำผดิ หรืออาชญากรสามารถ
แก้ไขหรือกลับใจมาเป็นคนที่มีคุณภาพ เคารพกฎหมายได้ ตามแนวคิดของสำนักอาชญาวิทยาปฏิฐาน
นิยม ดังน้ันการจัดการกับปัญหาอาชญากรรมต้องพิจารณาแก้ปัญหาท่ีต้นตอของสาเหตุและในส่วนของ
ผู้กระทำผิดควรให้โอกาสแก่เขาไม่ว่าจะเป็นความช่วยเหลือสาธารณะ (Public Assistance) เช่นการฝึก
วชิ าชพี การศกึ ษา การใหค้ ำปรึกษา การคุมประพฤติ การพักการลงโทษ การใช้บา้ นกง่ึ วิถี หรอื การปฏบิ ัติ
โดยใช้ชมุ ชน (Community Bass Treatment) เป็นตน้
สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 9
ผู้ศึกษาได้นำแนวคิดในการลงโทษเพ่ือแก้ไขฟ้ืนฟูจึงเป็นแนวคิดท่ีให้โอกาสคนกลับตัว ให้
โอกาสแกไ้ ขปรับปรุงตัว โดยการที่ทำให้คนท่ีทำผิดไม่ถลำตัวลึกลงไปสู่การกระทำผิดมาก การแก้ไขฟ้ืนฟู
ผู้กระทำผิดนั้นควรให้โอกาสและช่วยเหลือบำบัดฟื้นฟูด้วยการให้คำปรึกษาโดยใช้บ้านก่ึงวิถีเข้ามามี
ส่วนช่วยในการขัดเกลาปรับเปล่ียนพฤตินิสัยให้เป็นคนดีและสามารถอยู่ร่วมกับสังคมชุมชนได้อย่าง
ปกติสุข
5. แนวคดิ เกี่ยวกบั การปฏบิ ัติตติ ่อผู้กระทำผดิ ในชุมชน (Community Bassed Corrections)
นทั ธี จติ สวา่ ง (อ้างถงึ ใน เสีย่ งเทียน จาํ ลอง, 2545, น. 19-20) การแก้ไขผกู้ ระทำผิดในชุมชน
(Community-based Corrections) ในทางวชิ าการ หมายถงึ “การนําทรัพยากรชุมชน” ท้งั หลายท่ีมอี ยู่
มาใช้ประโยชน์เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของผู้กระทำผิดให้สังคมยอมรับได้ ทรัพยากรเหล่าน้ีได้แก่
ศูนย์งานบริการสังคม (Community Service Centers) บ้านกึ่งวิถี (Halfway House) งานคุมประพฤติ
งานพักการลงโทษ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยตัว (ผู้ต้องขัง) (Prerelease Programs)
สถานบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดและสุรา รวมถึงโครงการอ่ืนๆ ที่ได้รับการวางรูปแบบเพ่ือผู้กระทำผิด
โดยเฉพาะ
จากแนวคิดข้างต้น ผู้ศึกษานำมาเปรียบเทียบกับแนวทางการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีใน
รูปแบบศาสนสถานวัดมณฑป โดยการนำเอาทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนมาใช้ประโยชน์และมุ่งเน้นการให
ความสำคัญในการให้การสงเคราะห์ ผู้กระทำผิดเป็นสำคัญด้วยการสร้างสมดุลระหว่าง “การลงโทษ -
บําบัดฟนฟูสอดสอง” เพื่อช่วยผู้กระทำผิดให้สามารถพัฒนาทักษะการใชชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างเหมาะสมต่อไป และสามารถใช้ชุมชนวัดมณฑปเข้ามามีส่วนร่วมในการสงเคราะห์แก้ไขฟื้นฟู
ผู้กระทำผิดเนือ่ งจากชมุ เป็นเจา้ ของร่วมกนั
6. ทฤษฎอี าชญาวิทยาแนวพทุ ธ (Buddhist Criminology Theory)
อัณณพ ชูบํารุง (2539, น. 42-43) ปัจจัยที่มีส่วนสัมพันธ์กับการเกิดอาชญากรรมท่ีเก่ียวข้อง
กับพระไตรปิฎกในพุทธศาสนามี 3 ประการ คือ 1) ปัจจัยทางจิต พุทธศาสนาเน้นปัจจัยทางจิตต่างจาก
แนวคิดของนกั อาชญาวทิ ยา คืออาชญาวิทยาเนน้ ปัจจัยทางจติ ในแงค่ วามก้าวร้าว ความมุ่งร้าย ความเห็น
แก่ตัว ความเก็บกด โรคจิต โรคประสาท ความผิดปกติของบุคลิกภาพ 2) ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทาง
สังคมท่ีพุทธศาสนากล่าวถึง การคบคนชั่วเป็นมิตรย่อมทำให้เกิดความเห็นผิดหรือมิจฉาทิฐิ และนําไปสู่
การกระทำความผิดได้ 3) ปัจจัยส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ คือ ปัจจัยภายนอกท่ีมีส่วนจูงใจให้เกิด
การกระทำความผิด ได้แก่ สถานท่ีส่ิงเสพติดอาวุธ เวลาที่ไม่สมควร และวัตถุอันเป็นท่ีรัก สถานที่เปล่ียว
หรือสถานท่ียากต่อการจับกุมท่ีง่ายต่อการประกอบอาชญากรรมส่ิงเสพติดทำให้เกิดความประมาทเห็นผิด
เปน็ ชอบ
ขันทอง วัฒนะประดิษฐ์ (2557, น. บทคัดย่อ) ได้ทำการศึกษาเร่ือง กระบวนการสร้าง
แรงจูงใจในการปฏิบัติตามหลักศีล 5 สำหรับผู้นำ ผลการศึกษาพบว่า ศีล 5 มีความสำคัญต่อบุคคลและ
สังคม เป็นพื้นฐานการพัฒนาตนเองให้พบกับความสุขสงบเย็น เข้าถึงการดับทุกข์ และเป็นตัวแปรสำคัญ
ท่ีทำให้เกิดความสามัคคีในหมู่ชน เกิดความรักใคร่ปรองดอง อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข เห็นคุณค่าใน
10 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
ตนเองและผู้อื่น ศีล 5 เป็นพื้นฐานสำคัญที่ผู้นำพึงกระทำตนให้เป็นแบบอย่างให้กับสังคม ทำให้มี
ความเพียรเพ่ือไปให้ถึงจุดหมายของชีวิต เป็นแรงจูงใจภายในท่ีเป็นด้านบวก และเป็นแรงจูงใจตาม
แนวพระพุทธศาสนา ซ่ึงพระพุทธเจ้าทรงนำมาใช้สร้างแรงจูงใจให้รักษาศีล 5 ส่วนการละเมิดศีล 5 กับ
อาชญากรรมช้ีให้เห็นว่าพ้ืนฐานของอาชญากรรมเกือบทั้งหมดล้วนมาจากการละเมิดศีลในทางศาสนา
กระน้ันก็ตามการที่จะชี้ให้เห็นความแตกต่างหรือเกณฑ์ในการวัดระหว่างการละเมิดศีลกับอาชญากรรม
กย็ ังมีขอ้ ท่คี วรพิจารณาไวอ้ ยูเ่ หมือนกัน กลา่ วคือพฤติกรรมการละเมิดศีลบางอย่างอาจไม่ถึงขั้นกลายเป็น
อาชญากรรมได้ เช่น การดื่มสุราซ่ึงเป็นการ ละเมิดศีลข้อที่ 5 แต่ยังไม่ถึงข้ันท่ีจะถือว่าเป็นอาชญากรรม
ได้ แตพ่ ฤตกิ รรมเหลา่ น้เี ป็นพน้ื ฐานท่จี ะนำไปสู่การกลายเป็นอาชญากรรมไดใ้ นทสี่ ุด
จากหลักคำสอนจากศาสนาพุทธเป็นหลกั คำสอนว่าด้วยการรักษาศีล 5 ขา้ งต้น บ้านกึ่งวถิ ีวัด
มณฑป กไ็ ด้นำมาประยุกตใ์ ช้สอดแทรกในเนอื้ หาของกจิ กรรมในการให้การสงเคราะห์ตามแนวปฏิบัติตาม
หลักศาสนา เพื่อเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพ่ือทำความดี ละเว้นความช่ัว
ของผ้กู ระทำผดิ หรือผู้เขา้ รบั บริการ
6.1 แนวคดิ ของการป้องกนั อาชญากรรมโดยใชห้ ลักธรมทางพระพทุ ธศาสนา
แนวคิดการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมตามหลักพระพุทธศาสนาในทางพระพุทธศาสนา
มองอาชญากรรมว่าไม่ว่าจะมีการแบ่งประเภทออกอย่างไรก็ตามแต่อาชญากรรมท้ังสิ้นน้ันล้วนเป็น
การละเมิดศีล 5 ในทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น หรือเรียกว่าเปน็ การละเมิดศีล 5 ไม่ขอ้ ใดก็ข้อหนึ่งรวมกัน
หลายข้อ การทำร้ายกัน การลักขโมย การทำความผิดทางเพศ คดีฆาตกรรม คดีฆาตกรรมโจรกรรม
คดีหลอกลวง การเสพของมึนเมาและสิ่งเสพติดต่างๆ เป็นการละเมิดพ้ืนฐานของความเป็นมนุษย์
การรกั ษาสภาพสงั คมให้อย่ใู นสภาวะเกื้อกลู จะทำใหก้ ารดำเนินชีวติ อยู่ในสังคมท่ีดีงามได้ (พระธรรมปิฎก,
2542, น. 77) แนวทางการแก้ไขปัญหาอาชญากรรมด้วยหลักพุทธรรม จึงเป็นทางออกท่ีนำไปสู่
การแก้ปัญหาที่แทจ้ รงิ ได้โดยส่ิงที่เปน็ หลักปฏิบตั ิในการแก้ปญั หาน้ันคอื ทางสายกลาง
ผู้ศึกษาได้นำแนวคิดทางข้างต้น มาศึกษาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานและการดำเนินงาน
ของบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปพบว่า วัดมณฑปมีโครงการเข้าค่ายพุทธบุตร หรือค่ายพุทธธรรม เป็นกิจกรรม
ของเยาวชนในโครงการการอบรมคุณธรรม จริยธรรมตามหลักพัฒนาชีวิตและสังคม คือ บวร (บ้าน วัด
โรงเรยี น) โดยมีพระสงฆ์วทิ ยากรผู้ทรงความรู้จะฝึกฝนเยาวชนให้มีทักษะชีวิตตามคำสอนและวัตรปฏิบัติ
ของพระพุทธเจ้า ส่วนหลักสูตรการฝึกอบรมจะเน้นการศึกษาธรรมะ และฝึกปฏิบัติธรรมตามแน วทาง
พระพุทธศาสนา คือ ให้ทานรักษาศีลและเจริญ ซึ่งบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปได้ใช้แนวทางน้ีในการสงเคราะห์
แก้ไขฟ้ืนฟปู รบั เปลยี่ นพฤตินสิ ัยผกู้ ระทำผดิ เพือ่ กลับตวั กลับใจให้เป็นคนดี
ผลการศึกษา
จากโจทย์การวิจัยที่ศึกษาถึงกระบวนปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบ
ศาสนสถาน วัดมณฑปความรู้ความเข้าใจทัศนะของเจ้าหน้าท่ี ปัญหาอุปสรรคแนวทางการแก้ไขเพ่ือ
แสวงหาแนวทางการพัฒนาแล้วทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในกระบวนการปฏิบัติงานร่วมกันอย่างไรบ้างน้ัน
สมั มนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 11
จาการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ให้ข้อมูลสำคัญทั้งหมด 10 คน/รูป และข้อมูลจากการสังเกตแบบมีส่วนร่วม
และไม่มีส่วนร่วม มาทำการวิเคราะห์และประมวลผลอภิปรายผลการศึกษาในลักษณะการบรรยายเชิง
พรรณนาและตอบโจทก์การวิจัยได้ดังนี้ ท้ังน้ีผู้ศึกษากระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้าน
ก่ึงวิถีวัดมณฑปได้แบ่งออกตามวัตถุประสงค์ 4 ส่วน ดังน้ี 1) กระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงาน
ของบา้ นก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานในการสงเคราะห์ผูก้ ระทำผิดหรอื ผ้รู ับบรกิ ารของบ้านก่ึงวิถีวดั มณฑป
กรุงเทพมหานคร 2) แนวทางการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ปฏิบัติงานของบ้านกงึ่ วิถีในรูปแบบศาสนสถาน วัดมณฑป กรุงเทพมหานคร 3) การมีส่วนร่วมของชุมชน
กับกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถาน วัดมณ ฑป
กรุงเทพมหานคร 4) ปญั หาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหาของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถาน
วดั มณฑป กรุงเทพมหานคร
1. กระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานใน
การสงเคราะห์ผูก้ ระทำผิดหรอื ผู้รับบริการของบ้านกึ่งวถิ วี ัดมณฑป กรงุ เทพมหานคร
โครงการบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปน้ันเรมิ่ ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเม่ือ ปี พ.ศ. 2561 ซ่ึงก่อนหน้านี้
เคยเป็นสถานที่ฝึกอบรมเด็กและเยาวชนผ่านกระบวนการเข้าค่ายฝึกปฏิบัติธรรม บวชเณรภาคฤดูร้อน
อบรมบำบัดผู้ติดยาเสพติดของสำนักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด มีกระบวนการขั้นตอน
การดำเนินงาน ดังต่อไปน้ี ขั้นตอนท่ี (1) การดำเนินการประชาสัมพันธ์ชีแ้ จงเร่ืองการสงเคราะห์ผู้กระทำ
ผดิ สำหรบั การดำเนนิ การประชาสมั พันธ์ช้แี จงเกีย่ วกบั การสงเคราะห์ในบา้ นกึ่งวิถีวัดมณฑปนั้นเจา้ หน้าที่
คุมป ระพฤติจะทำการแจ้งให้ ผู้กระทำผิดทุกภ ารกิจทราบ และให้ ผู้สมั ครใจเข้ารับ การส งเคราะห์ ที่
บ้านก่ึงวิถี พิจารณาผู้มีสิทธิ์ได้รับการสงเคราะห์ จัดการคัดเลือกผู้ท่ีพิจารณาจะผ่านขั้นตอนเช่นการมา
รายงานตัวตรงตามที่กำหนด ติดต่อได้ไม่หายร่วมกันสังเกตพฤติกรรมโดยมีอาสาสมัครช่วยประเมิน
ร่วมด้วย เม่ือพิจารณาแล้วก็นำผลเสนอตอ่ ผู้อำนวยการคุมประพฤติ 1 ผู้มีอำนาจในการพิจารณา แจ้งกับ
ผู้กระทำผิดรับทราบและจัดปฐมนิเทศทำความเข้าใจก่อนเข้ารับการสงเคราะห์ที่บ้านก่ึงวิถีวัดมณฑป
ข้ันตอนท่ี (2) ประสานไปยังบ้านกึ่งวิถีเพ่ือส่งตัวผู้กระทำผิดเข้ารับการสงเคราะห์ประสานไปยังพระสมุด
เพื่อนัดหมายกำหนดวันเวลาเข้าสู่โครงการบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑป นัดวัน เวลา เพ่ือนำผู้กระทำผิดหรือ
ผพู้ น้ โทษเข้ารับการสงเคราะห์ผ่านกระบวนการบ้านกึ่งวถิ ี ขนั้ ตอนที่ (3) กระบวนการดำเนินกิจกรรมเพื่อ
การสงเคราะห์ในบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑปในรูปแบบศาสนสถาน เมื่อผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ เข้ารับ
การสงเคราะห์ในบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑปกรุงเทพมหานครแล้ว ทางบ้านก่ึงวิถีจะมีโปรแกรมในการเข้าร่วม
กิจกรรมในแต่ละวันให้และให้ความเป็นอิสระให้คัดเลือกผู้นำเองให้ต้ังกฎระเบียบท่ีจะอยู่ด้วยกันเอง
วัดมณฑปใช้การนำของพระสงฆ์ที่มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดวิชาความรู้แนวปฏิบัติ และที่
สำคัญเข้าใจและมีทัศนคติท่ีดีกับผู้กระทำผิดและยังให้วิชาความรู้เพ่ือจะได้นำแนวทางเพ่ือไปประกอบ
วิชาชีพ การดำเนินการใช้ชีวิตใช้แนวทางตามแนวพระพุทธศาสนาเป็นหลักในการดำเนินชีวิตหลังจากที่
ผา่ นการอบรมจากโครงการบ้านก่ึงวถิ ีวัดมณฑป ข้ันตอนที่ (4) การตดิ ตามประเมินผลการสงเคราะห์และ
รายงานกรมคุมประพฤติบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปมีการประชุมเพ่ือประเมินผลผู้ที่ผ่านการอบรมมีการประชุม
12 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดับชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
ทมี และมกี ารติดตามหลงั จากจบโครงการไปแลว้ ตามระยะเวลาทีก่ รมคุมประพฤติกำหนด โดยการติดตาม
และประเมินผลนี้ เป็นงานคุมประพฤติเปน็ หลกั
ภาพที่ 1 สรปุ ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านและดำเนนิ งานบ้านกงึ่ วิถีได้ ไดด้ งั น้ี
ภาพท่ี 2 กระบวนการสงเคราะหผ์ ู้กระทำผดิ หรอื ผ้เู ขา้ รับบริการของบ้านก่ึงวถิ ีในรปู แบบศาสานสถานวัด
มณฑป กรุงเทพมหานคร
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 13
2. แนวทางการปฏิบัติงานของผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับกระบวนการปฏิบัติงานของบ้านก่ึงวิถีใน
รูปแบบศาสนสถาน วัดมณฑป กรุงเทพมหานคร
2.1 พระสงฆ์ หัวใจสำคัญของการแก้ไขฟ้ืนฟู ปรับเปลี่ยนพฤตินิสัยของผู้กระทำผิดหรือ
ผู้รับบริการและผู้พ้นโทษ คือ “หัวใจ ใช้ใจแลกใจ เพ่ือให้เป็นคนดีของสังคมให้สังคมยอมรับ” และท่ี
สำคัญใช้แนวทางพระพุทธศาสนาในการ บำบัด แก้ไขฟ้ืนฟูปรับเปล่ียนพฤตินิสัย โดยใช้แนวทางใน
การอบรมตามหลักพระพุทธศาสนาทเ่ี รยี กว่า สติปัฏฐาน 4 เป็นข้อปฏิบตั ิเพ่ือรู้แจ้ง เพื่อให้เห็นไตรลักษณ์
หรือสามัญลักษณะจนละคลายความยึดติดด้วยอำนาจกิเลส และถ้าเรามีสติเราจะสามารถยับย้ังชั่งใจได้
ให้ไม่ประพฤติชั่ว ไม่หันกลับไม่กระทำผิดซ้ำ พบว่า พระสงฆ์วัดมณฑปแห่งนี้ไม่ได้เป็นแค่เพียงผู้สืบทอด
ศาสนาเพียงอย่างเดียว แตย่ ังสามารถทำหน้าที่และทำประโยชน์ต่อศาสนา ชุมชน สงั คม ประเทศชาติได้
อีกมากมาย ทำประโยชน์ด้านการช่วยเหลืองานชุมชนมานานกว่า 20 ปีแล้ว ซ่ึงเคยได้รับการอบรมใน
ด้านต่าง ดังต่อไปน้ี 1) เป็นครูฝึกทหารกองประจำการกองทหารพลาธิการกองพลท่ี 1 รักษาพระองค์
2) อบรมโปรแกรมฟ้ืนฟูสุขภาพจิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 3) พระวิทยากร
ฝึกอบรมเพ่ือปรับเปล่ียนพฤตินิสัยให้กลุ่มเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ผู้ถูกคุมความประพฤติ และผู้ที่
เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดต้ังแต่ปี พ.ศ.2540 4) ได้รับถวายเหรียญเชิดชูเกียรติ
เครื่องหมายยตุ ิธรรมธำรง จากกระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2564
จากประสบการณ์ที่หลากหลายในการช่วยเหลืองานด้านสังคม ทำให้เห็นว่าพระสงฆ์มี
ความรู้ความสามารถในการช่วยเหลือสงเคราะห์แก้ไขฟ้ืนฟูปรับเปล่ียนพฤตินิสัยและทัศนคติท่ีดีต่อ
ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการและผู้พ้นโทษได้ตรงตามวัตถุประสงค์ และยังค้นพบถึงความเป็นปราชญ์
ชาวบ้านของเจ้าอาวาสในหลายด้าน เห็นได้จากตัวอย่างเม่ือชาวบ้านมีข้อพิพาทจะนำมาให้เจ้าอาวาส
ชว่ ยไกลเ่ กลย่ี คนในชุมชนมีความเช่อื ศรัทธาต่อเจ้าอาวาสเป็นอยา่ งมาก
2.2 เจ้าหน้าที่คุมประพฤติ แนวทางการดำเนินงานของเจ้าหน้าท่ีคุมประพฤติ ด้วยภาระที่
หลากหลายทำให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจและทัศนคติต่อผู้เข้ารับบริการหรอื ผู้กระทำผิดในมุมมอง
ของเจ้าหน้าท่ีในท้ังด้านผู้ควบคุม และยังมีความเป็นจิตอาสาร่วมด้วย ด้วยหน้าท่ีความรับผิดชอบท่ีต้อง
ปฏิบัติงานตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ในการจัดโครงการตามนโยบายภาครัฐ บ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปก็เป็นอีกหน่ึง
โครงการสำหรับการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดและผู้พ้นโทษ เจ้าหนา้ ท่ีไม่เพียงปฏิบัติตามหนา้ ทเ่ี ทา่ นัน้ แต่ยัง
เป็นกำลงั สำคญั และเปน็ บคุ คลท่สี ำคญั ทเี่ ปน็ กำลงั ขับเคล่ือนนโยบายภาครัฐและเปรียบเสมือนอาสาสมคั ร
ทสี่ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้ ซ่ึงหน้าที่หลักๆ ของเจ้าหน้าที่คุมประพฤติน้ันมีท้ังการปฏิบัติงานดา้ นเอกสารด้าน
การลงมือปฏิบัติการควบคุมผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ ส่ิงท่ีพบจากศึกษาเพิ่มเติมจากกระบวนงาน
หน้าที่หลักของเจา้ หน้าที่คมุ ประพฤตคิ ือเม่ือเข้าสกู่ ระบวนการดำเนนิ งานบ้านก่ึงวถิ ีวดั มณฑปแล้ว ยงั เป็น
พเ่ี ลยี้ งและติดตอ่ ประสานงานกับหลายภาคสว่ น
2.3 อาสาสมัครคุมประพฤติ บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของบ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปน้ัน
อาสาสมัครคุมประพฤติ มีหน้าท่ีในการปฏิบัติงานเป็นพี่เลี้ยงผู้ติดตามเยี่ยมบ้านหลังจากกลับคืนสู่สังคม
เป็นบุคคลท่ีสำคัญในข้ันตอนกระบวนการการดำเนินงานเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทาง
14 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
การสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการในบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑป ดังคำพูดของป้าสดใส ที่ว่า “ป้ามี
หมวกหลายใบ ต้องใส่หมวกหลายใบ” อาสาสมัครคุมประพฤติเป็นผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน
ของบ้านกึ่งวิถีในหลากหลายด้าน ผู้กระทำผิดบางรายนับถือเปรียบเสมือนญาติผู้ใหญ่เพราะมีจิตใจท่ีดี
จากส่ิงที่พบอาสาสมัครคุมประพฤติมีความสำคัญกับกระบวนการปฏิบัติงานของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบ
ศาสนสถาน ดังต่อไปน้ี 1) เป็นผู้ช่วยเจ้าหน้าที่สำหรับรับลงทะเบียนรับสมัครคัดกรองผู้กระทำผิดหรือ
ผู้ขอเข้ารับบริการบ้านกึ่งวิถี 2) ช่วยในการคัดกรองเบื้องต้นให้กับเจ้าหน้าที่ 3) กระบวนการสงเคราะห์
บ้านกึ่งวิถที ำหน้าที่เป็นพี่เล้ียงดูแลการใช้ชวี ิตระหวา่ งท่ีเข้ารับบริการ 4) เป็นที่ปรึกษา 5) เป็นหนึ่งในทีม
เพ่ือประเมินความพร้อมรายบุคคลของผู้ที่เข้าร่วมการสงเคราะห์ผ่านโครงการบ้านก่ึงวิถี 6) เป็นผู้ช่วย
เจ้าหน้าที่ผู้ติดตามเย่ียมบ้านหลังจากกลับคืนสู่สังคม พบว่ามีทัศนคติที่ดีต่อผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับ
บรกิ ารและผพู้ น้ โทษ และยงั มีแนวทางของการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน สงั คม
2.4 เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ จากการศึกษาบทบาทหน้าท่ีในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี
ราชทัณฑ์ ขั้นตอนและวิธีการในการสงเคราะห์ผู้พ้นโทษ ทำหน้าที่ติดต่อประสานกับญาติมารับหากไม่มี
ที่ไป หรือกลับเข้าสู่ชุมชนไม่ได้หรือด้วยเหตุผลอื่นๆ ให้ผู้พ้นโทษมีที่พักอาศัยช่ัวคราวและมีอาหารมี
ค่าพาหนะกลับภูมิลำเนา เจ้าหน้าที่จะทำการประสานไปยังหน่วยงานต่างๆ ตามขั้นตอนและต้อง
สอบถามถึงความสมัครใจของผู้พ้นโทษด้วย นับได้ว่าเป็นกระบวนการที่สำคัญอีกข้ันตอนหน่ึงเพื่อ
ประสานไปท่ีกรมคุมประพฤติเพื่อที่จะทำการส่งผู้พ้นโทษให้ได้รับการสงเคราะห์ท่ีเหมาะสมให้ผู้พ้นโทษ
ได้มีท่ีอยู่อาศัยชั่วคราวจนกว่าจะมีที่อยู่หรือมีแนวทางที่จะใช้ชีวิตต่อไปเพื่อให้กระบวนการช่วยเหลือ
สงเคราะห์ผู้พ้นโทษบรรลุเป้าหมายเพ่ือเป็นประโยชน์ต่อสังคมชุมชน อย่างเช่น เมื่อได้รับการสงเคราะห์
ผ่านโครงการบ้านกึ่งวิถีผู้พ้นโทษสามารถแก้ไขปรับปรุงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อ งหรือมีอาชีพมีท่ีอยู่เป็น
หลักแหล่ง มีการศึกษาตามแนวทางการสงเคราะห์ผู้พ้นโทษต่อไป อีกทั้งยังสามารถเป็นการติดตาม
กระบวนการติดตามประเมินผลของกรมราชทัณฑ์ไดง้ ่ายยิ่งขึ้น
2.5 ผู้ช่วยประธานบ้านก่ึงวิถี บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีของผู้ช่วย
ประธานบ้านก่ึงวิถีน้ันมีความสำคัญกับกระบวนการการปฏิบัติงานบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑป เป็นเสมือน
เจ้าหน้าท่ีเสมียนตราดูแลเรื่องที่เก่ียวกับเอกสารทั้งหมด และยังเป็นจิตอาสาท่ีจะช่วยพัฒนาบ้านก่ึงวิถี
วัดมณฑปแห่งนี้ ข้อค้นพบคือ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสมีการปฏิบัติประจำอยู่แล้วแต่มีจิตอาสาที่จะเข้ามา
ช่วยเหลือโครงการ จึงเห็นได้ว่าทุกอาชีพไม่ว่าจะเป็นพนักงานทำงานประจำ ก็สามารถช่วยเหลือและ
ปฏิบัติงานของบ้านกง่ึ วถิ ีวดั มณฑปได้ สำหรบั ทัศนคติต่อผกู้ ระทำผิดนนั้ ไม่กลัวแต่อยากช่วยเหลือเพราะมี
มารดาเป็นอาสาสมัครชุมชนด้วย มีความรู้สึกภาคภูมิใจท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสงเคราะห์
ผู้กระทำผิดหรือผู้รับบริการบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑป และมีอีกหลายโครงการ เช่น โครงการเข้าค่ายยุวพุทธ
โครงการบวชเณรภาคฤดูร้อน เปน็ ตน้
2.6 ประธานชุมชนและรองประธานชุมชน บทบาทหน้าที่ของผู้นำชุมชนและรองประธานชุม
นน้ั พบว่ากระบวนการปฏิบัตงิ านและการดำเนินงานบา้ นกึง่ วถิ ีวัดมณฑป จะสำเร็จผา่ นไปด้วยดีนั้น ผู้นำ
ชุมชนก็มีส่วนสำคัญอย่างยิ่ง บทบาทหน้าท่ีคือประสานความร่วมมือกับชุมชนกับทางภาครัฐและเอกชน
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 15
เมื่อเกิดปัญหาในส่วนของการเตรียมสถานท่ีเตรียมข้อมูลต่างๆ เพ่ือเตรียมการรับการสงเคราะห์ผู้กระทำ
ผิดและผู้พ้นโทษ และที่สำคัญกับวัดมณฑปเพื่อที่ไม่ว่าในส่วนของภาครัฐหรือภาคเอกชน ชุมชนสังคม
เมื่อมีการจัดกิจกรรมและขอใช้สถานท่ีภายในบริเวณวัด ไม่ใช่แต่พระสงฆ์เท่าน้ันที่จะอนุญาตให้เข้ามาใช้
พื้นท่ีสถานที่ท่ีเป็นศาสนสถานแห่งนี้ได้ ผู้ศึกษาพบว่า รองประธานชุมชนมีความรู้ระดับปริญญาตรี
มีความเป็นผู้นำและสามารถช่วยงานประธานฯ ได้เป็นอย่างดี เมื่อมีความรู้การติดต่อสื่อสาร การบริหาร
จัดการจงึ เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย และผ้ศู กึ ษาพบวา่ วดั แห่งน้ใี ช้เปน็ สถานทใ่ี นการประกอบกจิ ทางด้าน
ศาสนา เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชน (กศน.) เป็นศูนย์ฝึกอาชีพ อาทิ เช่นมีกิจกรรมทุกวันพุธ จะมีผู้สูงอายุ
มาชุมนุมกัน มาร่วมกิจกรรมหลากหลาย ฝึกอาชีพเช่นการร้อยลูกปัด การทำน้ำยาซักผ้า พับผ้า
พาผู้สูงอายุไปทัศนศึกษา ฯลฯ บทบาทหน้าท่ีของผู้นำชุมชน จึงมีความสำคัญกับกระบวนการ
การดำเนินงานบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑปแห่งนี้ เพราะผู้นำคือมีบทบาทในการคิด นำปฏิบัติชุมชนแห่งนี้
สามารถตอบโจทย์และนำพาผู้ปฏิบัติงานด้านต่างๆ ได้อย่างบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้ศึกษาได้พบว่า
รองประธานชุมชนเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถรอบด้าน จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี มีตำแหน่งทาง
สังคมคือเป็นประธานกองทุนบทบาทสตรี ประธานกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นอาสาสมัครชุมชน และ
เปน็ สมาชกิ ภาคีเครอื ข่ายศิลปวัฒนธรรม โรงเรยี นผูส้ ูงอายุ (ร่วมกบั กิจการผู้สงู อายุ) แสดงใหเ้ หน็ ว่าชมุ ชน
ต้องมีผู้นำที่มีความรู้ความสามารถควบคู่ไปด้วย และต้องมีทัศนคติที่ดีต่อผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ
และผพู้ ้นโทษ เน่ืองจากมีผพู้ ้นโทษท่ีเคยเขา้ มาอยู่ในบ้านกึ่งวถิ ีเป็นเวลาร่วมปี ผูน้ ำชุมชนกส็ ามารถอธิบาย
ทำความเข้าใจกบั ชุมชนใหเ้ ข้าใจและช่วยเหลอื ผเู้ ขา้ รบั บรกิ ารได้เปน็ อย่างดี
3. การมีส่วนร่วมของชุมชนกับกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีใน
รูปแบบศาสนสถาน วดั มณฑป กรุงเทพมหานคร
การมีส่วนร่วมของชุมชนกับกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบ
ศาสนสถานวัดมณฑป น้ัน ชุมชนวดั มณฑป มีความเป็นชุมชนเมืองผสมกับชุมชนเก่าแก่ มีความเป็นญาติ
พ่ีน้อง และท่ีสำคัญวัดยังเป็นศูนย์กลางและเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน มีข้อดีในเรื่อง
การเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของกระบวนการต้ังแต่เร่ิมต้นกระบวนการ เช่น
ทั้งในด้านการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมตรวจสอบประเมินผลงานควบคุมสอดส่องและ
ร่วมรับประโยชน์ ภายใต้โครงการบ้านก่ึงวิถี เป็นงานท่ีต้องอาศัยความรู้ ทักษะประสบการณ์การใน
การทำงาน ในการแก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำความผิดหรือผู้พ้นโทษให้ได้หวนกลับคืนสู่ชุมชนอีกครั้งเพื่อช่วยให้
ผู้กระทำผิดปรับปรุงแก้ไขนิสัย ความประพฤติ จนกระทั่งกลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ การมี
ส่วนร่วมของชุมชนท่ีมีต่อกระบวนการบ้านกึ่งวิถีและการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถาน
วัดมณฑป กรงุ เทพมหานคร สามารถสรปุ ออกได้เปน็ 4 สว่ น ดงั นี้
1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision Making) รวมถึงการสงเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ
นอกจากนี้บ้านก่ึงวิถีวัดมณฑปได้จัดโครงการร่วมกับชุมชน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานร่วมกันคิดร่วมวางแผน
ร่วมกันดำเนินการจัดโครงการการเพ่ือการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการและผู้พ้นโทษ โดย
เจ้าหน้าที่บ้านก่ึงวิถี นำโดยพระสงฆ์ ภายใต้ความช่วยเหลือของชุมชนท่ีจะเข้าร่วมรับผิดชอบในการป้องกัน
อาชญากรรม เพือ่ คนื คนดีส่สู งั คม
16 | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
2) การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ (Implementation) นอกจากจะมีเจ้าหน้าปฏิบัติงานใน
การดำเนินงานแล้ว เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสดุ ของกระบวนการการปฏิบัติงานและการดำเนินงานในบ้าน
กง่ึ วิถีวัดมณฑป ผู้ศึกษาเห็นว่าการทำงานร่วมกับชุมชนด้วยจะส่งผลดีมากย่ิงข้ึนไปอีก เช่น ร่วมมือกันให้
ความช่วยเหลือ มีอาสาสมัครชมุ ชน เข้ามาชว่ ยดูแลเร่อื งความปลอดภัยจัดเวรยามเฝ้า จัดอาหารโรงทาน
และยังจะสามารถให้ชุมชนเขา้ มาช่วยในการตดิ ตาม คอยเป็นหเู ป็นตาสอดสอ่ งพฤติกรรม เพราะถา้ ชุมชน
เข้มแข็งก็จะทำให้โครงการบ้านกึงวิถีวัดมณฑปก็จะสามารถทำการสงเคราะห์ผู้กระทำผิด ส่ิงท่ีพบ คือ
ชุมชนทีต่ นเองอาศัยอยกู่ ม็ คี วามเป็นญาติกนั
3) การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (Benefits) เพ่ือเป็นการพัฒนาระบบงานแก้ไขฟ้ืนฟู
ผูก้ ระทำความผดิ ในชมุ ชนโดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน การให้ชุมชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการปอ้ งกันอาชญากรรม
และแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดหรือผู้พ้นโทษ และชุมชนได้รับประโยชน์ร่วมกันเมื่อชุมชนปราศจา ก
อาชญากรรม ชุมชน สังคม ปลอดภยั
4) การมีส่วนร่วมในการประเมินผล (Evaluation) การติดตามประเมินผลหรือดูแลช่วยเหลือ
สร้างงานสร้างอาชีพนั้น ชุมชนเป็นจุดเริ่มต้นชุมชนเองศักยภาพแค่ระดับหน่ึง หากจะทำให้ต่อเนื่องควร
บูรณาการกับหน่วยงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในท้องถิ่น สำนักงานพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรณีที่เป็นผู้ยากไร้ไม่มีท่ีอยู่อาศัย แรงงานจังหวัด โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบล ต่อไป
เห็นว่าประเทศไทยเรานั้น บางชุมชนมีวดั มากกว่าหนึ่งวัด เมอ่ื เห็นได้ว่าชุมชนมีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับศาสนา เม่ือเรานำอัตลักษณ์ที่เป็นจุดเด่นจุดน้ีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการนำรูปแบบ
ของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑปมาบูรณาการกับชุมชน ทั้งการบำบัดทางจิตใจและแก้ไข
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการและผู้พ้นโทษ จะเป็นประโยชน์อย่างต่อชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ
4.ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขปัญหาของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถานวัด
มณฑป กรุงเทพมหานคร
ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการดำเนินงานและแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่
บ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑป นั้น แบ่งออกได้เป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านงบประมาณ ใน
การดำเนินโครงการบ้านกึ่งวิถีวัดมณฑปมีงบประมาณให้ในการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้พ้นโทษ
ภายใต้โครงการฯน้ัน มีจำกัด ควรมีงบประมาณในการสงเคราะห์ผู้พ้นโทษเพ่ิมเติม อาทิ เช่น ค่าพาหนะ
กลับภูมิลำเนา ค่าใช้จ่ายระหว่างการใช้ชีวิตหลังจากพ้นโทษหรือออกจากบ้านกึ่งวิถีไปแล้วในกรณียังหา
งานทำไม่ได้ เพิ่มค่าตอบแทนอาสาสมัครเพ่ือเป็นกำลังใจในการปฏิบัติงาน 2) ด้านบุคลากร ในส่วนของ
ดา้ นบุคลากรเจ้าหนา้ ท่ีส่วนมากยังไมม่ ีความร้มู ากพอในดา้ นการแก้ไขฟ้ืนฟปู รับเปล่ียนพฤตินิสยั แนวทาง
การพัฒนาควรจัดหาโครงการฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าท่ีแต่ละวิชาชีพเพ่ือเพิ่มพูนความรู้และทักษะใน
การปฏิบัติงานท่ีเหมาะสมและเพียงพอกับผู้กระทำผิดหรือผู้รับบริการให้มากขึ้น เพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีได้รับ
การฝึกอบรมในด้านกระบวนการการสงเคราะห์ บำบัด แก้ไขฟ้ืนฟูผู้กระทำผิดหรือผู้รับบริการ ได้อย่าง
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 17
ตรงตามวตั ถุประสงค์ ควรเพ่ิมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานของบ้านกึ่งวิถโี ดยตรง รบั ข้าราชการวัยเกษียณเพอื่ มา
เป็นอาสาสมัคร 3) ในด้านสถานท่ี บ้านกึ่งวิถีในกรุงเทพมหานครน้ัน มีวัดมณฑปแห่งเดียว หากต้องการ
ให้การสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้พ้นโทษให้ครอบคลุมมากขึ้นควรเข้าไปติดต่อประสานงานกับทางวัด
และภาคเอกชนอื่นๆ เพม่ิ ขน้ึ 4) ด้านเศรษฐกิจและสังคม แนวทางเกี่ยวการดำเนนิ งานภายใต้สถานการณ์
การระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า2019 (Covid-19) เบื้องต้นทางบ้านก่ึงวิถีและคุมประพฤติประสาน
ขอความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เช่น สาธารณสุขตรวจสอบ คัดกรอง และให้
ความรู้ความเข้าใจท้ังในชุมชน และบ้านก่ึงวิถี (วัด) เพื่อลดความกังวลของชาวบ้านในชุมชน เสนอขอรับ
การจัดสรรวัคซีนให้ครบกันทุกคนทุกรูป ในเขตชุมชนวัดมณฑปเนื่องจากเป็นสถานที่จัดโครงการฯ ถ้า
ได้รับการฉีดวัคซีนให้ครบทุกคน/รูป จะได้มีภูมิคุ้มกันหมู่ หรือแนวทางต่อไปอาจจะใช้เทคโนโลยีใน
การอบรมแบบออนไลน์เข้ามาช่วยแก้ปัญหาเบื้องต้น ซึ่งตอนนี้อยู่ในขั้นตอนการศึกษาจากตัวอย่างใน
หลายๆ องค์กร เพ่ือนำมาปรับปรุงวธิ ีการและกระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานภายใต้โครงการ
บ้านกึ่งวิถีท่ีจะสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้พ้นโทษได้อย่างมี
ประสทิ ธผิ ลมากยงิ่ ขนึ้
ผู้ศึกษาขอสรุปว่ากระบวนการปฏิบัติงานของบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑป
กรุงเทพมหานคร โดยบ้านก่ึงวิถีท่ีใช้วัดเป็นสถานที่ในการสงเคราะห์ฝึกอบรม การแก้ไขฟื้นฟูและ
การปรับเปลี่ยนพฤตินิสัยของผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ และผู้พ้นโทษท่ีออกมาจากราชทัณฑ์ ด้วย
การนำของพระภิกษุมคี วามรู้ประสบการณแ์ ละทัศนคติท่ดี ีต่อผกู้ ระทำผดิ หมายความรวมถึงเจ้าหน้าท่ีที่มี
ส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วนทั้งรัฐและเอกชนรวม ใช้การฝึกอบรมแบบปฏิบัติจริง มีแนวทางตามแบบ
พระพุทธศาสนา และด้านสิทธิมนุษยชนเป็นหัวใจสำคัญ โดยการใช้หลักศาสนานำ ด้วยการสร้างสมดุล
ระหว่าง “การลงโทษ บำบัดแก้ไขฟ้ืนฟู สอดส่อง ปรับเปล่ียนพฤตินิสัย” เพื่อช่วยผู้กระทำผิดหรือ
ผู้รับบริการให้สามารถพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างปกติสุข การใช้ชีวิตและ
แนวทางการสร้างอาชีพได้อย่างเหมาะสมต่อไป ผู้กระทำผิดและผู้พ้นโทษสามารถกลับเข้าสู่ครอบครัว
ชุมชนสังคม และยังสามารถสร้างสังคม ชุมชน ประเทศชาติให้ปลอดภัยจากปัญหาอาชญากรรม
แก้ปญั หาการกลับเข้าสู่เรือนจำเพราะผู้กระทำผดิ นน้ั กลบั ไปกระทำผิดซ้ำน้อยลง
อภปิ รายผลการศึกษา
จากการศึกษาข้างต้น แสดงให้เห็นว่ากระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านกึ่งวิถี
ในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑป น้ัน มีการปฏิบัติงานและแนวทางการดำเนินการที่เป็นระบบ มีการ
ทำงานร่วมกนั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านและผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งกับกระบวนการ ซ่ึงสามารถนำมาอภปิ รายผล ดังนี้
1. กระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงานของบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถาน มีขั้นตอน
และการดำเนินงานร่วมกันของผู้ปฏิบัติงานเพ่ือทำการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการ มี
ขั้นตอนและหลักการตามแนวทางพระพุทธศาสนาศาสนา ซึ่งวัดมณฑปได้ทำการฝึกฝนอบรมขัดเกลา
แกไ้ ขฟนื้ ฟผู กู้ ระทำผดิ ให้สามารถกลบั ตัวกลบั ใจและสามารถช่วยเหลือตัวเองเพ่ือกลับคนื ส่ชู ุมชนสังคมได้
18 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครง้ั ที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563
2. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข ถึงแม้ว่ากระบวนการปฏิบัติงานและการดำเนินงาน
ของบ้านก่ึงวิถีให้ความช่วยเหลือผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการค่อนข้างมีระบบแต่ในข้ันตอนและ
การดำเนินงานยังคงมีปัญหาและอุปสรรคอยู่บ้าง ไม่ว่าจะเป็นในด้านของงบประมาณจากภาครัฐหรือ
แม้แต่ขาดแคลนบุคลากรที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเน่ือง แนวทางการแก้ไขปญั หาเบื้องต้นทางบ้าน
กึ่งวิถีวัดมณฑปใช้ในการประชาสัมพันธ์ให้พุทธศาสนิกชนร่วมบริจาคปัจจัย ต่างๆ เข้ามาช่วยเหลือ
มีอาสาสมคั รทเ่ี ปน็ คนในชมุ ชนเข้ามาชว่ ยดแู ลสอดส่องความรกั ษาปลอดภัย
3. แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพและรูปแบบของการการดำเนินงานบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบ
ศาสนสถานวัดมณฑปนั้น ได้มีการนำทรัพยากรจากชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม โดยชุมชนวัดมณฑปมีผู้นำที่
ประสทิ ธภิ าพเป็นชมุ ชนทีเ่ ข็มแข็ง สามารถนำพาโครงการบ้านกึ่งวิถสี ำเรจ็ ลุลว่ งเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิผล
และได้ทำการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดหรือผู้เข้ารับบริการกลับสู่สังคมได้อย่างยั่งยืน และสามารถนำ
แนวทางบ้านก่ึงวถิ ใี นรปู แบบศาสนสถานวัดมณฑปมาประยุกตใ์ ช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ข้อเสนอแนะการวจิ ัย
ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
1. ควรมีบทบัญญัติหรือกฎหมายสำหรับผู้ท่ีไม่สมัครใจที่ไม่สมัครใจท่ีจะเข้ารับการสงเคราะห์
ผ่านโครงการบ้านกึ่งวิถี ให้เข้ามารับการสงเคราะห์เพ่ือทำการปรับเปล่ียนพฤติกรรมแก้ไขฟื้นฟู
ผา่ นโครงการบา้ นกง่ึ วถิ ี อยา่ งนอ้ ยประมาณ 6 เดอื น เปน็ ตน้
2. ยุทธศาสตร์การกระจายอำนาจให้องค์กรส่วนท้องถ่ินเข้ามามีบทบาทสำคัญ พร้อมทั้ง
การกำหนดกฎหมายรองรบั ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเขา้ มามสี ่วนร่วม มงี บประมาณในการอุดหนุน ลดภาษี
เพื่อเปน็ แรงจูงใจใหภ้ าคเอกชนไดเ้ ขา้ มามีส่วนรว่ มให้มากขึ้น
ขอ้ เสนอแนะเชิงบรหิ าร
1. ถ้ากฎหมายบทบัญญัติตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายใช้ไม่ได้ คุมประพฤติควรมีการบริหาร
จัดการเม่ือมีผู้ไม่ประสงค์เข้ารับการสงเคราะห์ ให้เข้ารับการสงเคราะห์เพื่อทำการแก้ไขปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมควรมี ควรมรี ะเบยี บท่สี ามารถบูรณาการได้
2. ประสานงานระหว่างองค์กรส่งเสริมการปกครองสว่ นท้องถ่ินในการสงเคราะหผ์ กู้ ระทำผิดและ
พ้นโทษ ตามมาตรา 44 ของกรมคุมประพฤติ สามารถประสานให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
(กระทรวงสาธารณสุข) มีส่วนร่วมดูแลช่วยเหลือ สามารถบูรณาการกับสำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ สำนักงานแรงงานจังหวัด ส่วนในมาตรการดูแลช่วยเหลือสร้างงานอาชีพ ให้
ความช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้กระทำความผิดทุกกลุ่ม การดูแลด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
ทจี่ ำเป็น
3. เผยแพร่ให้ความรู้เร่ืองบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานในการแก้ไขผู้กระทำผิดมีองค์ความรู้
จัดอบรม เร่อื งการแก้ไขผู้กระทำผิดในชุมชนโดยใช้ชุมชนและการสงเคราะห์ผู้กระทำผิดภายใต้โครงการ
บ้านกง่ึ วถิ ี ให้เป็นทีแ่ พรห่ ลาย
สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 19
ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏิบตั ิการ
1. การเพ่ิมอัตรากำลังคนในการปฏิบัติงานของบ้านก่ึงวิถีโดยตรง แยกออกจากพนักงาน
คุมประพฤติเพ่ือลดภาระงาน รับสมัครอาสาสมัครเพ่ือให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิด
ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ส่งเสริมใหข้ ้าราชการวัยเกษียณเขา้ มาสมคั ร
2. ด้านเครือข่ายของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานของผู้มีส่วนเก่ียวข้องท้ังทั้งหมดของกระบวนการ
ปฏิบัติงานของบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานวัดมณฑป กรุงเทพมหานคร ประสานขอความร่วมมือกับ
หน่วยงานต่างๆ เช่น สาธารณสุข เข้ามาช่วยเหลือตรวจสอบ คัดกรอง และให้ความรู้ความเข้าใจทั้งใน
ชุมชน และบ้านกึ่งวิถี (วัด) เพ่ือให้ได้รับความปลอดภัย ลดความกังวล (เน่ืองจากมีโรคระบาดไวรัส
โคโรน่า 2019 (Covid-19)
3. ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามาช่วยในเรื่องการดำเนินการจัดต้ังโดยรัฐมีเงินช่วยเหลืออุดหนนุ ให้
และยังมีนโยบายลดภาษี เพื่อเป็นแรงจูงใจในการร่วมกันแก้ไขและสงเคราะห์ผู้กระทำผิดและผู้พ้นโทษ
ด้วยอีกทาง โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีที่วัดมณฑปที่เดียว และให้ความรู้ความเข้าใจกับ
ทุกฝ่ายเพื่อขอความร่วมมือเพื่อช่วยกันพัฒนา เพ่ือประโยชน์ร่วมกันทางด้านเศรษฐกิจสังคม (สังคม
ปลอดภยั ) และประเทศชาตปิ ลอดอาชญากรรม
4. การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเพ่ือสร้างโอกาสในการเข้าถึง
ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในชุมชนสังคม โดยการสร้างความตระหนักจะอยู่ในลักษณะของการประสาน
ความรว่ มมือ การพัฒนาระบบในการปฏิบัติตดิ ตาม และดแู ลช่วยเหลือผู้กระทำผดิ หรือผู้พน้ โทษ
ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครัง้ ตอ่ ไป
1. ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมของกระบวนการปฏิบัติงานบ้านก่ึงวิถีในรูปแบบศาสนสถานใน
รูปแบบศาสนสถาน หรือในรูปแบบอื่นๆ ที่เข้าร่วมโครงการบ้านก่ึงวิถี เพื่อเป็นการเปรียบเทียบ
การดำเนินงานของแต่ละท่ีเหมือนหรือต่างกันอย่างไร อีกทงั้ ประสิทธภิ าพเหมอื นหรือต่างกันอยา่ งไร
2. ควรมีการศึกษาผู้กระทำผิดท่ีเคยผ่านโครงการบ้านกึ่งวิถีในรูปแบบศาสนสถาน หลังจาก
เขา้ รบั การเตรยี มความพร้อมกอ่ นการปลดปล่อยทีป่ ระสบผลสำเร็จ และสามารถอยรู่ ่วมกบั ชมุ ชนได้
รายการอา้ งอิง
กิตตพิ งษ์ กติ ยิ ารักษ์, ชาติ ชัยเดชสุรยิ ะ และ ณัฐวสา ฉตั รไพฑูรย์. (ม.ป.ป.). มาตรฐานองค์การ
สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา. กรุงเทพฯ: มลู นธิ พิ ฒั นากระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา.
ชาย โพธิสติ า. (2548). ศาสตรและศิลปแหงการวิจัยเชิงคุณภาพ (พมิ พ์คร้ังท่ี 6). นครปฐม:
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
นทั ธี จติ สว่าง. (2526). การราชทัณฑใ์ นชุมชน. กรุงเทพฯ: กรมราชทณั ฑ์.
นทั ธี จติ สว่าง. (2541). หลักทณั ฑวิทยากรุงเทพมหานคร. กรงุ เทพฯ: กรมราชทณั ฑ์.
พเยาว์ ศรแี สงทอง. (2553). การลงโทษและการแก้ไขผูก้ ระทำผิด. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.
20 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ คร้งั ท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
วรกฤต เถอื่ นช้าง, พระครูศรีสธุ รรมนวิ ิฐ (ธานี สุขโชโต) ประเทือง ภมู ิภัทราคม, วินัย ทองม่ัน.
(มกราคม-มิถุนายน 2560). รูปแบบและกระบวนการเสรมิ สร้างวฒั นธรรมการอย่รู ว่ มกันของ
ชมุ ชนในสังคมไทย. วารสารวจิ ัยพุทธศาสตร์, 3(1), 112-
วนิ ัย เจรญิ เฉลิมศักด์ิ. (2563). บ้านกึง่ วถิ .ี สบื คน้ จาก https://www.msn.com/th-th/news/nationa/
ศักดชิ์ ยั เลศิ พานิชพันธ์. (2537). รวมศัพท์อาชญวทิ ยาและงานยตุ ิธรรมทางอาญา. (ม.ป.ท.).
ศักดชิ์ ยั เลิศพานชิ พนั ธ.์ (2558). การแกไ้ ขผูก้ ระทำผิดในชุมชน. (ม.ป.ท.).
สดุ สงวน สุธีสร. (2547). อาชญาวทิ ยา (พมิ พค์ รง้ั ที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อัณณพ ชูบำรุง. (2539). อาชญวิทยาแนวพุทธ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย. http://www.probation.go.th และ http://www.Correct.goth/recstats
สมั มนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 21
บทบาทของนกั สงั คมสงเคราะห์กับการสรา้ งวินยั เชงิ บวกในสถานรองรบั เดก็
สงั กดั กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน
Social Worker Roles in Building Positive Disciplines in Children Home
of Department of Children and Youth
ศกุ ร์ศริ ิ สุวรรณธนู1 และ ผศ.ดร. ธันยา รุจิเสถยี รทรัพย์2
Sooksiri Suwanthanu3 and Asst. Prof. Tanya Rujisatiensap, Ph.D.4
Abstract
The Study on “ Social Worker Roles in Building Positive Disciplines in Children
Home of Department of Children and Youth” aims to study roles of social workers in
building positive discipline in Children Home of Department of Children and Youth. In
this quantitative research, the samples were 92 social workers and social work staff in
Children Home of Department of Children and Youth.
From the study results, it was found that most samples were female, aged 25-30
years, had bachelor’s degree, worked as social workers and had less than 5 years of
work experience in children and youth fields. The samples built positive discipline in
Children Home at the highest level. After considering each aspect, the highest practice
was acting as role models of positive discipline, followed by solving problems positively,
avoiding punishment and supporting positive behavior of children, respectively.
From comparison between roles, individual information and building positive
discipline, it was found that the samples of different educational levels had different
roles in building positive discipline at a significance level of 0.05. After considering each
aspect, it was found that the samples of different educational levels had different roles
in supporting positive behavior, solving problems positively, avoiding punishment and showing
trust and love at a significance level of 0.05. The samples of different genders, ages, work
positions and work experience had indifferent role in building positive discipline.
Keywords: Roles of social workers, building positive discipline, children home
1 นักศกึ ษาปรญิ ญาโทหลกั สูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2 อาจารย์ประจาคณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
3 Master of Social Work, Faculty of Social Work, Thammasat University
4 Lecturer, Faculty of social Administration, Thammasat University, Thailand
22 | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
บทคัดยอ่
การศึกษาเรื่อง “บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็ก
สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสร้าง
วินัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็ก สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน เป็นการศึกษาวิธีวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative research) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และผู้ท่ีได้รับ
มอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน 30 แห่ง
จำนวน 92 คน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 25-30 ปี มีการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี เป็นผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และมีระยะเวลาในการทำงานด้านเด็กและ
เยาวชน ต่ำกว่า 5 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติเพื่อสร้างวินัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็กในระดับมาก
ท่ีสุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติด้านการเป็นแบบอย่างความมีวินัยให้กับเด็ก
มากที่สุด รองลงมามีการปฏิบัติด้านการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเล่ียงการลงโทษ
และมกี ารปฏบิ ตั ิดา้ นการเสรมิ แรงเม่อื เดก็ แสดงพฤติกรรมวินยั เชงิ บวกน้อยที่สุด
ผลการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างข้อมลู สว่ นบุคคลกบั บทบาทของนักสงั คมสงเคราะห์กับ
การสร้างวินัยเชิงบวก พบวา่ ระดับการศึกษาที่ตา่ งกัน มีบทบาทของนกั สงั คมสงเคราะห์กับการสร้างวินัย
เชิงบวกในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และเม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า
ระดับการศึกษาที่ต่างกันมีบทบาทด้านการเสริมแรงเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวก ด้าน
การแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวกหลีกเลี่ยงการลงโทษ และด้านการแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับด้านอื่นๆ และตัวแปรเพศ อายุ ลักษณะ
ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการทำงานด้านเด็กและเยาวชนที่แตกต่างกัน มีบทบาทของนักสังคม
สงเคราะห์กบั การสร้างวินยั เชงิ บวกไมแ่ ตกตา่ งกันทางสถิติ
คำสำคัญ: บทบาทของนกั สงั คมสงเคราะห์, การสร้างวินยั เชงิ บวก, สถานรองรบั เด็ก
บทนำ
ครอบครัวเป็นสถาบันหลักพ้ืนฐานท่ีสำคัญท่ีสุดของสังคม ทำหน้าที่ในการหล่อหลอมและ
ขัดเกลาความเป็นมนุษย์ให้แก่สมาชิกในครอบครัว ด้วยการอบรมเล้ียงดู ให้ความรัก ความอบอุ่น
การช่วยเหลือเอ้ืออาทร การเกื้อกูล ซ่ึงกันและกัน อีกทั้งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และ
วัฒนธรรมของสังคมให้แก่สมาชิกในครอบครัว เพื่อให้เติบโตเป็นบุคคลท่ีมีความสามารถ มีคุณภาพ เป็น
พลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ (ภิญโญ ทองดี, 2555) แต่ด้วยสถานการณ์ทางสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ความเจริญก้าวห น้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของมนุษย์เปล่ียนแปลงไป ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสถาบัน
ครอบครัว ท้ังในด้านโครงสร้างและสัมพันธภาพภายในครอบครัวท่ีเส่ือมถอยลงแบบแผนการดำเนินชีวิต
ของครอบครัวมีลักษณะท่ีหลากหลายมากยิ่งข้ึน สมาชิกในครอบครัวไม่สามารถทำบทบาทของตนเองได้
สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสงั คมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 23
อย่างเต็มที่ ครอบครัวจึงมีความอ่อนแอลง มีความยากลำบากในการดำเนินชีวิต ไม่สามารถพ่ึงพาตนเอง
ได้ ส่งผลให้เด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในครอบครัวจำนวนมากต้องเข้ารับการสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก
ท้ังของภาครัฐและเอกชน รวมไปถงึ เด็กอีกจำนวนหนึ่ง ถูกปล่อยปละละเลย ทอดทิ้ง หรือได้รบั การเลี้ยงดู
ไมเ่ หมาะสม (ณิชชา บรู ณสิงห์, 2558)
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีภารกิจในการจัดสวัสดิการสังคมให้กับ
ประชาชนในทุกช่วงอายุ โดยสวัสดิการที่เก่ียวข้องกับเด็ก อยู่ในความรับผิดชอบของกรมกิจการเด็กและ
เยาวชน ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่มีภารกิจหลักในการจัดสวัสดิการให้กับเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในภาวะ
ยากลำบากให้ได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ปราศจากการเลือกปฏิบัติ โดยสวัสดิการสำหรับเด็กรูปแบบ
หนึ่งท่ีมีความสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มเด็กที่ประสบปัญหาทางสังคม คือการอุปการะเด็กแบบ
ครอบครัวทดแทนในรูปแบบสถานรองรบั เดก็
สถานรองรับเด็ก ในสังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชนน้ัน มีจำนวน 30 แห่ง ท่ีให้การอุปการะ
เล้ียงดูคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชนอายุต้ังแต่แรกเกิด-18 ปี ท่ีประสบปัญหาทางสังคม ส่งเสริม
พัฒนาการเด็กและเยาวชนให้เป็นไปตามชว่ งวัย มคี ุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัวและ
สังคมได้อย่างปกติสุข สถานรองรับเด็กแบ่งได้ 6 ประเภท ได้แก่ สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์
สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพเยาวชน และสถาบัน
เพาะกล้าคุณธรรม ซึ่งปัจจุบันมีเด็กที่อยู่ในความอุปการะของสถานรองรับเด็ก สังกัดกรมกิจการเด็กและ
เยาวชนทั่วประเทศเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง จากสถิติเด็กในสถานรองรับเด็ก
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่าเด็กและเยาวชนในสถานรองรับเด็กจำนวน 30 แห่งนั้น มีจำนวน
มากถึง 4,292 คน เม่ือพิจารณาจากสถิติสาเหตุที่เด็กเข้ารับการอุปการะของสถานรองรับท้ัง 30 แห่ง ณ
เดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่า สาเหตุที่เด็กและเยาวชนเข้ารับการสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก คือ
ผู้ปกครองมีฐานะยากจน เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูไม่เหมาะสม ผู้ปกครองต้องโทษ บุตรจากมารดาตั้งครรภ์
ไม่พร้อม และเด็กมีปัญหาความประพฤติ เด็กท่ีเข้ารับการอุปการะด้วยสาเหตุคร อบครัวเล้ียงดู
ไมเ่ หมาะสม มีจำนวน 727 คน เป็นเด็กท่ีมีอายุระหวา่ ง 7-12 ปี ถงึ 302 คน ซง่ึ เป็นสาเหตทุ ีม่ ีจำนวนเด็ก
อายุระหว่าง 7-12 ปี มากที่สุด เดก็ อายุระหว่าง 7-12 ปี หรือเด็กวัยประถมศึกษา นับว่าเป็นช่วงวัยท่ีเด็ก
เร่ิมเรียนรู้ในส่ิงต่างๆ ที่อยู่ใกล้ตัว เด็กจะพัฒนาความสามารถอย่างรวดเร็ว ทั้งร่างกาย จิตใจ ความคิด
การใช้ภาษา และการแก้ปัญหาโดยนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการปรับตัว ท้ังด้านการเรียน กฎระเบียบ และ
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ซึ่งเด็กวัยเรียนไม่ได้มีวินัยมาต้ังแตเ่ กิดหรือถกู กำหนดจากพันธุกรรม
แต่เด็กสร้างวินัยผ่านการเรียนรู้จากบุคคลใกล้ชิดและสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตวั เด็ก ดังน้ันการสร้างวินัย
ให้กบั เดก็ วัยน้จี งึ เป็นสง่ิ สำคญั ที่จะช่วยให้เด็กเติบโตข้ึนเปน็ ผู้ใหญ่ท่ีเคารพข้อตกลง และระเบยี บของสังคม
ทำให้สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู ื่นในสงั คมได้อย่างมีความสุข (ชนิพรรณ จาติเสถยี ร, กันตวรรณ มีสมสาร และ
อภิรดี ไชยกาล, 2560) ในขณะเดียวกันหากเด็กได้รับการเล้ียงดูที่ไม่เหมาะสมจากครอบครัว ไม่ได้รับ
การปลูกฝังระเบียบวินัยด้วยวิธีการสร้างสรรค์ไม่มีต้นแบบที่ดีในการดำเนินชีวิต จะส่งผลให้เด็กมีปัญหา
24 | สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
ทางด้านพฤติกรรมท้ังการแสดงออกทางกาย วาจา จิตใจ หรือไม่สามารถแสดงออกทางพฤติกรรมได้
อยา่ งเหมาะสม
การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นหลักการหน่ึงที่จะช่วยเสริมสร้างพฤติกรรมที่ดีให้กับเด็กด้วยวิธีท่ี
สร้างสรรค์ ปราศจากการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ เป็นแนวทางให้กับผู้ดูแลใช้ในการดูแลเด็กให้
เหมาะสมตามช่วงวัย โดยการเล้ียงดเู ด็กดว้ ยความรัก ความเอาใจใส่ ให้ความม่นั ใจ ให้ความไวใ้ จ ให้ความ
เขา้ ใจด้วยความมีเหตผุ ล สรา้ งใหเ้ ด็กมคี วามเชือ่ มน่ั มคี วามสัมพันธท์ ่ดี ีกบั บุคคลอืน่ มคี วามมั่นใจไว้วางใจ
กบั สิ่งรอบตัว ส่งผลตอ่ พัฒนาการท่ีดแี ละการประสบความสำเร็จของเด็กในอนาคต การสร้างวนิ ัยเชิงบวก
จึงมีความสำคัญกับการดูแลเด็กในสถานรองรับเด็ก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการดูแลกลุ่มเด็กท่ีไม่ได้รับ
การเลี้ยงดูท่ีเหมาะสมจากครอบครวั ซ่ึงจะเป็นการสร้างรากฐานในการเจริญเติบโตของเด็ก ส่งผลให้เด็ก
ในสถานรองรับเด็กสามารถดแู ลตนเองได้ในชีวิตประจำวัน มีระเบยี บวินัย รู้จักการควบคุมตนเอง เคารพ
ผู้อ่ืน มีพลังความเช่ือมั่นในตนเอง มีวัฒนธรรมอันดีงาม รวมถึงการสร้างปัญญาให้เด็กสามารถดำรงชีวิต
ในสังคมได้อย่างมีความสุข
นักสังคมสงเคราะห์ เป็นวิชาชีพหน่ึงท่ีปฏิบัติงานโดยตรงกับเด็กและครอบครัวในสถานรองรับ
เด็กมีบทบาทสำคัญในการให้คำปรกึ ษาเดก็ รายบคุ คล และรายกลมุ่ เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพ ปรับทัศนคติ
แก้ไขพฤติกรรมให้เด็กเกิดการปรับปรุงเปล่ียนแปลงในทิศทางท่ีดีขึ้น ให้คำปรึกษาแม่บ้าน/พ่ีเลี้ยงผู้ดูแล
เด็ก ให้คำปรึกษาแก่ครอบครัวเดิมของเด็ก ประยุกต์ใช้ทรัพยากรทางสังคม อีกทั้งยังเป็น ผู้จัดการ
รายกรณีในการดำเนินการประสานงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพเพื่อร่วมหาแนวทางในการสร้างพฤติกรรมท่ี
พึงประสงค์ และแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเด็กและเยาวชนในความรับผิดชอบ ให้มีวินัยในตนเอง สามารถ
ปรับตัวในการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยคำนึงว่าการสร้างพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์และแก้ไขปัญหา
พฤติกรรมเด็กและเยาวชน น้ัน ไม่สามารถทำได้เพียงคนใดคนหนึ่ง หากแต่บุคลากรทุกคนต้องประสาน
ความร่วมมือและช่วยเหลือกัน ปฏิบัติงานบนฐานความเป็นวชิ าชีพอย่างมืออาชีพ นักสังคมสงเคราะห์จึง
เปรียบเสมือนฟันเฟืองตัวสำคัญที่ช่วยพัฒนาและขับเคล่ือนการดำเนิ นงานของสถานรองรับเด็กให้เกิด
ความก้าวหน้า ทั้งในระดับนโยบายและปฏิบัติ ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษาบทบาทของ
นักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวก โดยจะศึกษาเก่ียวกับบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ว่ามี
แนวทางในการสร้างวินัยเชิงบวกให้แก่เด็กในความอุปการะของแต่ละสถานรองรับอย่างไร ซึ่งการศึกษา
คร้ังนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในการสร้างวินัยเชิงบวกและ
เปน็ แนวทางในการดแู ลเดก็ ในสถานรองรบั ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน
วตั ถปุ ระสงคก์ ารศกึ ษา
เพ่ือศึกษาบทบาทของนกั สงั คมสงเคราะห์กบั การสร้างวนิ ัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็ก สงั กัดกรม
กิจการเด็กและเยาวชน
สมั มนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 25
ขอบเขตการศกึ ษา
1. ขอบเขตดา้ นพื้นที่ ไดแ้ ก่ สถานรองรับเดก็ สงั กัดกรมกิจการเดก็ และเยาวชน จำนวน 30 แห่ง
2. ขอบเขตด้านเวลา ได้แก่ ระยะเวลาในการดำเนินการศึกษา ต้ังแต่เดือนมีนาคม 2563 ถึงเดือน
กันยายน 2563
3. ขอบเขตด้านเน้ือหา ได้แก่ การศึกษาบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในการสร้างวินัยวินัย
เชิงบวก
นิยามศัพท์ท่เี ก่ียวข้องในการศึกษา
สถานรองรับเด็ก หมายถึง สถานท่ีให้การอุปการะเล้ียงดูเด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์และ
คุ้มครองสวัสดิภาพ ซึ่งเป็นสถานรองรับเด็กสังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน โดยแบ่งออกเป็น
6 ประเภท ได้แก่ สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟ้ืนฟูเด็ก
ศูนย์สงเคราะห์และฝึกอาชีพเยาวชน และสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม รวมจำนวน 30 แห่ง การสร้างวินัย
เชิงบวก หมายถึง วิธกี ารทีม่ ีจุดม่งุ หมายเพ่อื ใหเ้ ด็กมวี นิ ัยเชิงบวกในตนเอง มดี ังน้ี
1. การเป็นแบบอย่างความมีวินัยให้กับเด็ก คือ การแสดงพฤติกรรมเป็นตัวอย่างท่ีเหมาะสม
ท้ังทางกายและวาจา และการตระหนักอยู่เสมอว่านักสังคมสงเคราะห์เป็นตัวแบบที่มีความสำคัญต่อ
การเรียนรู้ของเด็ก
2. การสรา้ งข้อตกลง กฎ กตกิ าร่วมกันกบั เด็ก คอื การเปิดโอกาสใหเ้ ด็กมสี ่วนร่วมในการกำหนด
ข้อตกลง กฎ กตกิ าทเ่ี กี่ยวข้องกับตนเอง และสนบั สนุนให้เด็กเรยี นรู้ข้อตกลง กฎ กติกา โดยผ่านกิจกรรม
3. การเสริมแรงเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวก คือ การให้การส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้น
เม่ือเด็กและเยาวชนแสดงพฤติกรรมไปในทางท่ีเหมาะสม ผ่านตัวเสริมแรงท่ีเป็นสิ่งของ ตัวเสริมแรงทาง
สังคม และตัวเสรมิ แรงที่เป็นกจิ กรรม
4. การแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเลี่ยงการลงโทษ คือ การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมให้เด็ก
เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในทิศทางท่ีดีข้ึน โดยทำงานร่วมกับทีมสหสาขาอาชีพ เปิดโอกาสให้เด็กมี
ทางเลือกเชิงบวกในการตัดสินใจเลือกส่ิงท่ีเหมาะสมกับตัวเอง ให้เด็กแสดงความรับผิดชอบท่ีเกิดขึ้นจาก
การกระทำของตัวเอง มีการให้แนวทางการปฏิบัติแก่เด็กท่ีชัดเจน หลีกเล่ียงการใช้ความรุนแรง
ทุกรูปแบบทท่ี ำร้ายรา่ งกายและจิตใจของเด็ก
5. การแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก คือ การให้ความเคารพในศักด์ิศรีของเด็ก แสดงต่อ
เด็กด้วยความยอมรับนับถือในลักษณะเฉพาะของเด็ก เข้าใจและคำนึงถึงระดับพัฒนาการของเด็ก
แต่ละราย แสดงความรักและเอ็นดูต่อเด็กโดยทางร่างกายและวาจา รวมถึงสร้างบรรยากาศที่เป็นมิตร
ผา่ นการทำกจิ กรรมรว่ มกันกับเดก็
6. ความสมำ่ เสมอต่อเนอื่ ง คือ การให้แนวทางปฏิบัตทิ ่ีเสมอต้นเสมอปลายแก่เด็ก มีการทบทวน
ข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันอยู่เสมอ การปลูกฝังลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ผ่านสถานการณ์ต่างๆ ใน
ชวี ติ ประจำวัน รวมถงึ มีการติดตามการปรบั พฤตกิ รรม
26 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสงั คมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
นักสงั คมสงเคราะห์ หมายถึง ผูป้ ฏิบตั ิงานในตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และผูท้ ่ีได้รับมอบหมายให้
ปฏิบัตงิ านสังคมสงเคราะห์ในสถานรองรับเดก็ สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน
ทบทวนวรรณกรรม
1. แนวคดิ เก่ยี วกับการสร้างวนิ ัยเชงิ บวก (Positive discipline)
การสร้างวินัยเชิงบวก เป็นวิธีการหนึ่งท่ีช่วยเสริมสร้างพฤติกรรมที่ดีให้กับเด็กด้วยวิธีท่ี
สร้างสรรค์ ปราศจากการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ มุ่งเน้นพฤติกรรมท่ีคาดหวังท่ีดี โดยการปลูกฝัง
การฝึกฝน การสร้างแรงจงู ใจ การใหก้ ำลังใจ ใหค้ วามรักและความอบอุ่นแก่เด็ก เคารพในศกั ดศ์ิ รีของเด็ก
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กบนพ้ืนฐานความเข้าใจตามระดับความสามารถของเด็ก สร้างความเชื่อมั่น
อันก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างพ่อแม่ผู้ดูแลกับเด็ก (ดลพัฒน์ ยศธร, 2551, น. 61) ซึ่งแนวทาง
สำหรับการสร้างวินัยเชิงบวกของนักสังคมสงเคราะห์ในงานวิจัยฉบับนี้ แบ่งได้เป็น 6 แนวทาง คือ
1) การเป็นแบบอย่างความมีวินัยให้กับเด็ก 2) การสร้างข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันกับเด็ก 3) การเสริมแรง
เมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวก 4) การแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเลี่ยงการลงโทษ
5) การแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก และ 6) ความสม่ำเสมอต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
คือ การท่ีเด็กมีความประพฤติไปในทางท่ียอมรับของสังคมและกรอบวัฒนธรรมอันดีงาม สามารถเผชิญ
ปัญหาด้วยอารมณ์ที่มั่นคง มีทักษะการคิด สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างชาญฉลาด (สำนักงานกองทุน
สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบนั RLG (รกั ลกู เลิรน์ นิ่ง กรปุ๊ ), 2561)
2. พฒั นาการเด็กวัยเรียน (อายุ 7-12 ป)ี
เด็กวัยเรียนอยใู่ นช่วงอายุ 7-12 ปี หรือที่เรียกว่าระดับประถมศึกษา เป็นวยั ท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมจากบ้านสู่โรงเรียน เป็นการออกสู่สังคมภายนอกอย่างจริงจัง ซึ่งเด็กจะได้เรียนรู้ในทุกๆ
ดา้ น กัน (ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย, 2560, น. 10)
พัฒนาการเด็กวัยเรยี นแบ่งออกเป็น 5 ด้าน คือ 1) พัฒนาการด้านร่างกาย มีการเจริญเติบโตของกระดูก
และฟัน รวมถึงอวัยวะภายในเกือบทุกระบบ มีการเปลี่ยนแปลงของกล้ามเนื้อและระบบประสาท
ซ่ึงทำงานประสานกันได้ดีขึ้น เม่ือเข้าช่วงปลายของวัยเรียน ช่วงอายุประมาณ 10-12 ปี ร่างกายจะ
เปล่ียนแปลงมาก เดก็ ผหู้ ญิงจะมีการเติบโตเรว็ กวา่ เด็กผูช้ ายประมาณ 1-2 ปี จากการทำงานของฮอร์โมน
ประจำเพศ (วินัดดา ปิยะศิลป์, 2558) 2) พัฒนาการด้านอารมณ์ เด็กวัยนี้เรียนรู้ที่จะควบคุม
การแสดงออกของอารมณ์ได้มากขึ้นจากประสบการณ์และการเรียนรู้ที่เพิ่มข้ึน มักมีอารมณ์อ่อนไหวงา่ ย
ต่อการตำหนิ ติเตียน ชอบการชมเชยและการยอมรับ 3) พัฒนาการด้านสังคมและการช่วยเหลือตนเอง
กลุ่มเพ่ือนมีผลต่อเด็กในวัยนี้มาก เด็กจะรู้สึกเป็นเจ้าของและซื่อสัตย์ต่อกลุ่ม มีพฤติกรรมเหมือนกลุ่ม
มีอารมณ์คล้ายกัน การมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนจะมีผลต่อพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็ก 4) พัฒนาการ
ด้านสติปัญญา เด็กวัยนี้สามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้มากข้ึน สามารถคิดในมุมกลับได้ ทำให้ความวิตก
กังวลน้อยลง การตัดสินใจก็ยังเป็นไปตามอารมณ์มากกว่าที่จะคิดถึงเหตุผลอย่างจริงจัง มีความอยากรู้
อยากเหน็ และสนุกกบั การเรียนรู้ส่ิงต่างๆ ไม่มีทส่ี ิ้นสุด และ 5) พัฒนาการดา้ นภาษา รู้จักความหมายและ
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 27
ใช้คำอย่างถูกต้องมากข้ึน ฟังเร่ืองราวและจับใจความถ่ายทอดได้ รู้จักเปรียบเทียบเข้าใจ และอธิบาย
เหตุผลตั้งแต่ง่ายๆ ไปจนถึงสิ่งที่ซับซ้อนได้ รู้จักพูดจาด้วยถ้อยคำสุภาพเหมาะกับกาลเทศะ สามารถพูด
แสดงความคดิ เหน็ และเลา่ เรอ่ื งต่างๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และมน่ั ใจ
3. งานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง
จากการทบทวนวรรณกรรมของนักวิจัยที่เก่ียวข้องกับการสร้างวินัยเชิงบวก พบว่า การสร้าง
วินัยเชิงบวกมีผลต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเด็ก วินัยเชิงบวกเป็นหลักการหน่ึงท่ีมีส่วนสำคัญใน
การช่วยเสริมสร้างพฤติกรรมดีให้กับเด็ก โดยผ่านกระบวนการสอน พัฒนา ขัดเกลา และสนับสนุน จาก
พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็ก ซ่ึงบุคคลเหล่านี้เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการปลูกฝัง
การฝึกฝน การสรา้ งแรงจงู ใจ การใหก้ ำลงั ใจ ให้ความรักและความอบอุ่นแก่เดก็ การเคารพในศักดิศ์ รขี อง
เด็ก ส่งเสริมพัฒนาการเด็กบนพ้ืนฐานความเข้าใจตามระดับความสามารถ สร้างความเช่ือม่ันให้กับเด็ก
บนฐานของสมั พันธภาพท่ีดี และไม่ใช้ความรุนแรง ตลอดจนการสร้างวินัยเชิงบวกผ่านการแนะแนว หรือ
กิจกรรมต่างๆ ท่ีจัดข้ึนให้กับเด็ก ให้เด็กมีพฤติกรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ทั้งการมีวินัย มีความ
รับผิดชอบ และมีสัมมาคารวะ ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้เด็กมีวินัยในตนเองสามารถปรับตัว และ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข (กนกพร คำมีมูล, 2552), (ณปภัช จึงแย้มป่ิน, 2558) และ
(สุชาติ ท่งั สถิรสิม, 2561)
กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา
ตวั แปรต้น หรือตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม
ข้อมลู สว่ นบคุ คล บทบาทของนักสงั คมสงเคราะห์
- เพศ ตามแนวทางการสร้างวนิ ยั เชงิ บวก 6 แนวทาง ดงั น้ี
- อายุ 1. การเป็นแบบอย่างความมีวนิ ยั ให้กับเดก็
- ลักษณะตำแหนง่ งาน 2. การสร้างขอ้ ตกลง กฎ กตกิ าร่วมกันกบั เดก็
- การศึกษา 3. การเสรมิ แรงเมือ่ เดก็ แสดงพฤตกิ รรมวนิ ยั เชงิ บวก
- ระยะเวลาในการทำงานด้านเดก็ 4. การแกป้ ญั หาด้วยวธิ กี ารเชงิ บวก หลีกเล่ียงการลงโทษ
และเยาวชน 5. การแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก
6. ความสม่ำเสมอตอ่ เนือ่ ง
วิธีการในการศกึ ษา
การศึกษาคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประชากรที่ใช้ในการศึกษา
เป็นผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ใน
สถานรองรับเด็ก สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน จำนวน 30 แห่ง ซ่ึงจากข้อมูลของกรมกิจการเด็ก
และเยาวชน ณ เดือนมีนาคม 2563 พบว่า มีจำนวนประชากรรวมทั้งหมด 120 คน โดยกำหนดขนาด
28 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติ คร้งั ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
กลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปของ เครจซี และ มอร์แกน (Krejcie and Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 92 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมอื ในการศกึ ษา และไดม้ ีการทดสอบหาความเท่ียงตรงของ
แบบสอบถามโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน พบว่า ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับ
วัตถุประสงค์ (IOC) มีค่ามากกว่า 0.5 ในทุกข้อคำถาม แสดงว่าข้อคำถามมีความถูกต้องและเที่ยงตรง
สามารถนำมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการศึกษาได้ จากนั้นนำแบบสอบถามไปทดลองความเชื่อมั่น โดยใช้กับ
กลุ่มตัวอย่างท่ีใกล้เคียงกับประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์
และผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ในบ้านพักเด็กและครอบครัวกรุงเทพมหานคร และ
ปริมณฑล จำนวน 30 ชุด และนำแบบสอบถามมาตรวจสอบหาความเช่ือมั่น โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
ทางสถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิอัลฟ่าของ ครอนบัค (Cronbach’s Alpha)
ซ่ึงได้ผลลัพธ์จากการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.89 ซึ่งแสดงว่าแบบทดสอบมี
ความเชอ่ื มั่นท่ีจะสามารถนำไปใช้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งทก่ี ำหนดไวไ้ ด้
การเก็บรวมรวมข้อมูล เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID 19) ที่มีการแพร่ระบาดอย่างหนัก ผู้ศึกษาได้ตระหนักถึงความปลอดภัยของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา
และให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการของรัฐบาล จึงมีการปรับรูปแบบของแบบสอบถามจาก
เดิมท่ีเป็นเอกสาร มาเป็นแบบสอบถามออนไลน์ ด้วยกูเกิลฟอร์ม (Google Forms) ซึ่งแบบสอบถาม
ออนไลน์ได้ช้ีแจงความสำคัญและวัตถุประสงค์ในการศึกษา พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดในการตอบ
แบบสอบถามแต่ละส่วน เพื่อให้การตอบแบบสอบถามมีความครบถ้วนสมบูรณ์ และสร้างคิวอาร์โคด
(QR Code) จากแบบสอบถามออนไลน์ เพ่ืออำนวยความสะดวกให้กับกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาให้สามารถ
ตอบแบบสอบถามออนไลน์ได้ง่าย โดยจัดทำเป็นเอกสารส่งทางไปรษณีย์โดยมีการสอดซองติดแสตมป์
ให้กับกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา จำนวน 92 ชุด ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาตอบแบบสอบถามกลับคืนทาง
กูเกิลฟอร์ม (Google Forms) รวมจำนวน 92 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้
กำหนดไว้ เมือ่ ไดข้ ้อมูลครบถ้วนแล้วไดน้ ำข้อมลู มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิตเิ พ่อื การวจิ ัย
ทางสังคมศาสตร์ โดยใช้ค่าสถติ ิในการวิเคราะห์ในการวเิ คราะห์และกำหนดเกณฑ์การวัดผลคือ วิเคราะห์
หาค่าสถิติพื้นฐานเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงอนุมานและวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างตัวแปรด้วย T-test และ One-way
ANOVA/F-test โดยกำหนดระดบั นัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.05 และเมอื่ พบความสัมพันธใ์ ช้การวเิ คราะห์ราย
คู่ดว้ ยวธิ ีการทดสอบเชฟเฟ่ Scheffe
ผลการศึกษา
ขอ้ มูลสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และ
ผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ในสถานรองรับเด็ก สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน
จำนวน 92 ราย ในตำแหนง่ นกั สังคมสงเคราะห์ ร้อยละ 53.3 เปน็ ผูท้ ่ีได้รบั มอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคม
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 29
สงเคราะห์ ร้อยละ 46.7 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 25-30 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี
และมรี ะยะเวลาในการทำงานดา้ นเด็กและเยาวชนต่ำกว่า 5 ปี
ขอ้ มูลเกยี่ วกับบทบาทของนกั สังคมสงเคราะหก์ ับการสร้างวินยั เชงิ บวก
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวก คือ การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้ปฏิบัติงาน
ในตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัตงิ านสงั คมสงเคราะห์ในสถานรองรบั เด็ก
สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน ด้วยวิธีการ หรือแนวทางต่างๆ เพื่อให้เด็กมีวินัยเชิงบวกในตนเอง
ซ่ึงการสร้างวินัยเชิงบวก คือ การให้ทางเลือกในเชิงบวกแก่เด็ก แสดงการรับรู้หรือการให้รางวัล
แสดงการชื่นชมต่อพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ มีการให้ผลกระทบท่ีเป็นเหตุและผล ต่อพฤติกรรมไม่พึง
ประสงค์ของเด็ก ให้โอกาสเด็กแสดงความเสียใจและทำอะไรบางอย่างเพ่ือทดแทนหรือชดใช้
ความเสียหายท่ีเกิดข้ึนจากการกระทำของเด็กเอง เคารพศักด์ิศรีและมองเด็กในด้านบวก ปราศจาก
ความรุนแรงท้ังวาจาและการกระทำ รับฟังและทำให้ดูเป็นตัวอย่าง (ดลพัฒน์ ยศธร, 2551, น. 61) เป็น
การอบรมเล้ียงดูเด็กอย่างสร้างสรรค์ คือ สร้างขอบเขตที่เหมาะสมกับวัย และอยู่บนสัมพันธภาพท่ีดี
ระหว่างเด็กและผู้เล้ียงดู (นลินี เชื้อวณิชชากร, 2551) ซ่ึงผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติ
ตามบทบาทเพื่อสร้างวินัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็กในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด คือ มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.23 เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติด้านการเป็นแบบอย่างความมีวินัย
ให้กับเด็กมากที่สุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมามีการปฏิบัติด้านการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก
หลีกเลีย่ งการลงโทษ อย่ใู นระดับมากที่สดุ และมีการปฏิบตั ิด้านการเสริมแรงเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมวินัย
เชิงบวกน้อยท่ีสุด อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายละเอียดการปฏิบัติตามบทบาทของนักสังคม
สงเคราะห์กับการสรา้ งวินัยเชิงบวกแต่ละดา้ น ซึ่งประกอบดว้ ยบทบาท 6 ดา้ น ผลปรากฏดงั นี้
1. การเป็นแบบอย่างความมีวินัยให้กับเด็ก เป็นการแสดงพฤติกรรมเป็นตัวอย่างที่เหมาะสม
ท้ังทางกายและวาจา และการตระหนักอยู่เสมอว่านักสังคมสงเคราะห์เป็นตัวแบบที่มีความสำคัญต่อ
การเรียนรู้ของเด็ก พบว่า กลุ่มตัวอย่างตระหนักอยู่เสมอว่าท่านเป็นตัวแบบท่ีมีความสำคัญต่อการเรียนรู้
ของเด็กมีการปฏิบตั ิมากท่ีสุด อยใู่ นระดับมากท่ีสุด แสดงพฤติกรรมทางกายเป็นตัวอย่างทีเ่ หมาะสม เช่น
การแสดงออกทางสีหน้า ท่าทาง และมารยาทท่ีพึงปฏิบัติกับผู้อื่นมีการปฏิบัติในระดับมากที่สุด และ
สามารถควบคุมตนเองและการกระทำให้เหมาะสมตามสถานการณ์ และมีความมั่นคงทางอารมณ์มี
การปฏิบัติในระดับมากท่ีสดุ เม่ือพิจารณาภาพรวมการปฏบิ ัตดิ ้านการเปน็ แบบอย่างความมีวินัยใหก้ บั เด็ก
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติด้านการเป็นแบบอย่างความมีวินัยให้กับเด็กอยู่ในระดับมากท่ีสุด
ซงึ่ สอดคลอ้ งกับท่ี ช. ชนบท (2530, น. 50) ไดก้ ล่าวถึงการสอนให้นกั เรยี นเกิดวินยั ในตนเองว่าเป็นเรอ่ื งท่ี
ต้องอาศัยเวลาและความมุ่นใจ ซ่ึงนอกจากจะสอนโดยการให้ความรู้ ความเข้าใจและการให้ลงมือปฏิบัติ
เองแล้ว สิ่งท่สี ำคัญทส่ี ุด คือ การเป็นแบบอย่างที่ดี ซ่งึ ครูท่ีสอนต้องเร่ิมจากการเป็นผู้มวี ินัยในตนเองก่อน
ดงั น้ัน นักสังคมสงเคราะห์ที่มีความใกล้ชิดกับเด็กในความอุปการะของสถานรองรับ จึงจำต้องปฏิบัติเป็น
ตัวอย่างให้เดก็ ประพฤติตามในสงิ่ ที่ดงี าม
30 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครง้ั ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
2. การแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเลี่ยงการลงโทษ เป็นการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมให้เด็ก
เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น โดยทำงานร่วมกับทีมสหสาขาอาชีพ เปิดโอกาสให้เด็กมี
ทางเลือกเชิงบวกในการตัดสินใจเลือกสิ่งท่ีเหมาะสมกับตัวเอง ให้เด็กแสดงความรับผิดชอบที่เกิดขึ้นจาก
การกระทำของตัวเอง มีการให้แนวทางการปฏิบัติแก่เด็กที่ชัดเจน หลีกเล่ียงการใช้ความรุนแรง
ทุกรูปแบบที่ทำร้ายร่างกายและจิตใจของเด็ก พบว่า กลุ่มตัวอย่างหลีกเลี่ยงความรุนแรงทุกรูปแบบที่ทำ
ร้ายร่างกายของเด็กมากท่ีสุด อยู่ในระดับมากที่สุด หลีกเลี่ยงความรุนแรงทุกรูปแบบท่ีทำร้ายจิตใจของ
เด็กอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีการพูดคุยและร่วมแสดงความคิดเห็นกับเด็กในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขนึ้ อยู่ใน
ระดับมาก เม่ือพิจารณาภาพรวมการปฏิบัติด้านการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเล่ียงการลงโทษ
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติด้านการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวก หลีกเลี่ยงการลงโทษในระดับ
มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับเทคนิคการสร้างวินัยเชิงบวกของสมบัติ ตาปัญญา (2558) ที่ให้หลีกเลี่ยง
การลงโทษด้วยความรุนแรง เพราะการใช้วิธีการลงโทษที่รุนแรงทางกายจะส่งผลให้เด็กรู้สึกหวาดกลัว
บอบช้ำ และลดทอนความรู้สึกมั่นคงทางอารมณ์ และยังส่งผลระยะยาวต่อตัวเด็ก ตลอดจนหลีกเลี่ยง
การพูดวิจารณ์ ตำหนิ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อจิตใจของเด็ก ทำให้เด็กรู้สึกไม่ม่ันใจในตัวเอง ไม่มี
ความสุข และอาจเกิดปัญหาขัดแย้งกับผู้ใหญ่เม่ือเขาเติบโตข้ึนได้ ดังนั้น นักสังคมสงเคราะห์หรือผู้ดูแล
เด็ก จึงควรเปิดโอกาสให้เด็กมีทางเลือกเชิงบวกในการตัดสินใจเลือกส่ิงที่เหมาะสมกับตัวเอง ให้เด็ก
แสดงความรับผดิ ชอบทเ่ี กดิ ขึ้นจากการกระทำของตัวเอง หลีกเลีย่ งการใช้ความรนุ แรงทกุ รปู แบบทที่ ำรา้ ย
ร่างกายและจติ ใจของเด็ก
3. การแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก เป็นการให้ความเคารพในศักด์ิศรีของเด็ก แสดงต่อ
เด็กด้วยความยอมรับนับถือในลักษณะเฉพาะของเด็ก เข้าใจและคำนึงถึงระดับพัฒนาการของเด็ก
แต่ละราย แสดงความรักและเอ็นดูต่อเด็กโดยทางร่างกายและวาจา รวมถึงสร้างบรรยากาศท่ีเป็นมิตร
ผ่านการทำกิจกรรมร่วมกันกับเด็ก พบว่า กลุ่มตัวอย่างตระหนักถึงความแตกต่างหลากหลายของเด็ก
แต่ละบุคคลมากท่ีสุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด มีการทำความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของระดับ
พัฒนาการเด็กแต่ละบุคคลอยู่ในระดับมากท่ีสุด และมีการหาเวลาพูดคุยหรือร่วมกิจกรรมกับเด็กอย่าง
สม่ำเสมอน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาภาพรวมการปฏิบัติด้านการแสดงความไว้วางใจและให้
ความรัก พบวา่ กลมุ่ ตวั อย่างมกี ารปฏิบัติด้านการแสดงความไว้วางใจและให้ความรกั อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด
ซึ่งสอดคล้องกับ มุสเสน (Mussen, 1969, pp. 335-341, อ้างถึงใน จิตรา ชนะกุล, 2539, น. 23) ที่ได้
ศึกษาแล้วพบวา่ การฝึกวินัยใหแ้ กเ่ ด็กโดยการใช้เหตุผลและให้ความรัก เปน็ การฝึกวนิ ัยท่ีให้ผลดีทส่ี ุด และ
ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางสมองของเด็ก เพราะช่วยให้เด็กเข้าใจเหตุผลหรือมาตรฐานสังคมท่ีพ่อแม่
ตอ้ งการ วิธีนีจ้ ะช่วยให้เด็กมีวินยั ในตนเองสูงขึน้ ดังน้นั หากสถานรองรับเด็กมีการสร้างบรรยากาศให้เด็ก
มีความรู้สึกมั่นคง ปลอดภัย ได้รับความรักเป็นพื้นฐาน ผู้ดูแลเข้าใจในตัวเด็ก มีการรับฟังกันซึ่งและกัน
เปิดโอกาสให้ได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น สร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรต่อกัน ใช้เวลาทำกิจกรรมดีๆ และ
มีความสุขร่วมกัน เพ่ือเสริมสร้างความใกล้ชิด สนิทสนม จะเป็นการส่งเสริม และเอื้ออำนวยให้เด็กเกิด
การเรยี นรูท้ ่ีดีและเหมาะสม
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 31
4. การสร้างข้อตกลง กฎ กตกิ าร่วมกันกบั เด็ก เป็นการเปิดโอกาสใหเ้ ด็กมีสว่ นรว่ มในการกำหนด
ขอ้ ตกลง กฎ กตกิ าทเ่ี ก่ียวข้องกับตนเอง และสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กเรียนรู้ขอ้ ตกลง กฎ กติกา โดยผ่านกจิ กรรม
พบว่า กลุ่มตัวอย่างชว่ ยสนับสนุนให้เด็กเรยี นรู้ข้อตกลง กฎ กตกิ า โดยผา่ นกิจกรรมมากทสี่ ุด อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด มีการปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ กติกา ร่วมกับเด็กอยู่ในระดับมากท่ีสุด และมีการเปิดโอกาสให้
เด็กมีส่วนร่วมในการคิดข้อตกลง กฎ กติกา ด้วยตัวเองน้อยที่สุด อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาภาพรวม
การปฏิบัติด้านการสร้างข้อตกลง กฎ กติการ่วมกนั กับเด็ก พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบตั ิด้านการสร้าง
ข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันกับเด็กอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับแนวทางการสร้างวินัยเชิงบวก
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2552, น. 6-7) ที่กล่าวถึง
การพยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด เพื่อให้เด็กรู้สึกสำคัญ และเห็นคุณค่าของตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้
เด็กอยากประสบความสำเร็จในเรอ่ื งที่ใหญ่ขนึ้ ไปเรื่อยๆ และเป็นการส่งเสรมิ ให้เด็กกล้าแสดงออก ดังนั้น
สถานรองรับเด็กท่ีมีสมาชิกอาศัยอยู่รวมกันเป็นครอบครัวใหญ่ จึงจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการสร้าง
ข้อตกลง กฎ กติการ่วมกัน โดยนักสังคมสงเคราะห์มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมให้เด็กมีส่วนร่วมใน
การกำหนดกตกิ าท่ีเก่ียวข้องกับตนเอง เมื่อเด็กรสู้ ึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ได้รับโอกาสเข้าไปมีสว่ นร่วม
ในการกำหนดกฎ กติกา หรือสิ่งอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับตนเอง เด็กจะมีความเต็มใจในการปฏิบัติตามกฎ
กติกา และให้ความรว่ มมอื เพ่ิมขน้ึ ซ่งึ จะสง่ ผลใหเ้ ดก็ สามารถสรา้ งระเบยี บวินยั จากภายในตวั เองได้
5. ความสม่ำเสมอตอ่ เนอื่ ง เปน็ การให้แนวทางปฏิบตั ิที่เสมอต้นเสมอปลายแก่เด็ก มกี ารทบทวน
ข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันอยู่เสมอ การปลูกฝังลักษณะนิสัยท่ีพึงประสงค์ผ่านสถานการณ์ต่างๆ ใน
ชีวิตประจำวัน รวมถึงมีการติดตามการปรับพฤติกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปลูกฝังลักษณะนิสัย
เชิงบวกผ่านการดำเนินชีวิตประจำวันของเด็กมากท่ีสุด อยู่ในระดับมาก มีการสร้างเงื่อนไขเวลาใน
การปรับพฤติกรรมเด็กอยู่ในระดับมาก และมีการทบทวนข้อตกลง กฎ กติการ่วมกับเด็กอยู่เสมอน้อย
ท่ีสุด อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาภาพรวมการปฏิบัติด้านความสม่ำเสมอต่อเน่ือง พบว่ากลุ่มตัวอย่างมี
การปฏิบัติด้านความสม่ำเสมอต่อเน่ืองอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับที่ พนม ล้ิมอารี (2522, น. 56-
57) กล่าวว่ากลุ่มช่วยเสริมสร้างความมีวินัยในตนเองเม่ือสมาชิกเข้ากลุ่มจะต้องมีการปฏิบัติกิจกรรม
อย่างสม่ำเสมอ การปฏิบัติกิจกรรมน้ันจะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ร่วมกัน ซ่ึงจะช่วยให้สมาชิกมี
ความอดทนมากยงิ่ ขึ้น
6. การเสริมแรงเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวก เป็นการให้การส่งเสริม สนับสนุน กระตุ้น
เม่ือเด็กและเยาวชนแสดงพฤติกรรมไปในทางท่ีเหมาะสม ผ่านตัวเสริมแรงที่เป็นส่ิงของ ตัวเสริมแรงทาง
สังคม และตัวเสริมแรงที่เป็นกิจกรรม พบว่า กลุ่มตัวอย่างแสดงความช่ืนชม ชมเชย ยกย่อง เมื่อเด็กมี
พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์มากที่สุด อยู่ในระดับมากที่สุด มีส่วนช่วยกระตุ้นให้เด็กแสดงพฤติกรรมวินัย
เชิงบวก เชน่ การรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม มีวินัย ตรงต่อเวลา เป็นตน้ อยูใ่ นระดบั มากทสี่ ุด และ
ให้ส่ิงของ หรือรางวัล เมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์น้อยท่ีสุด อยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณา
ภาพรวมการปฏบิ ัติด้านการเสรมิ แรงเม่อื เดก็ แสดงพฤติกรรมวินัยเชงิ บวก พบวา่ กล่มุ ตวั อยา่ งมีการปฏิบัติ
ด้านการเสริมแรงเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวกอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับเทคนิคการสร้าง
32 | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
วินัยเชิงบวกของ สมบัติ ตาปัญญา (2558) ที่เน้นพฤติกรรมทางบวกของเด็ก โดยการมองหาพฤติกรรม
ด้านดีของเด็กและพยายามส่งเสริมพฤติกรรมที่ดีน้ันให้ดีย่ิงขึ้น และปรับลดพฤติ กรรมด้านลบ
ด้วยเทคนิควิธีการเชิงบวกมากข้ึน จะทำให้เด็กมีกำลังใจและพยายามสร้างพฤติกรรมที่ดีต่อไป ดังนั้น
นักสังคมสงเคราะห์ จึงเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำคัญในการประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างวินัยเชิงบวกใน
การปรบั พฤติกรรมเด็ก โดยการใช้ตัวเสริมแรงต่างๆ เปน็ ตัวกระตุ้นใหเ้ ด็กและเยาวชนเกิดการปรบั เปล่ียน
พฤติกรรมไปในทางทเ่ี หมาะสม
เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามกับบทบาทของ
นักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวก พบว่า ระดับการศึกษาที่ต่างกันมีการปฏิบัติบทบาทของ
นักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวกในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 (p=0.037*) สอดคล้องกับงานวิจัยเร่ืองการสง่ เสรมิ จริยธรรมแก่เด็กและเยาวชนในสถานสงเคราะห์
เด็ก ของ วิบูลย์ ศิริภัสสโรทัย (2545) ที่ศึกษาการดำเนินกิจกรรมท่ีส่งเสริมจริยธรรมแก่เด็กและเยาวชน
ในสถานสงเคราะห์ และทัศนะของผู้ที่เกี่ยวข้องต่อการส่งเสริมจริยธรรมแก่เด็กและเยาวชนใน
สถานสงเคราะห์ รวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการส่งเสริมจริยธรรมที่จัดข้ึนทั้งภายในและภายนอก
สถานสงเคราะห์ พบว่า ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับทัศนะด้านวิธีการของการส่งเสริมจริยธรรม
ซึง่ การส่งเสริมจรยิ ธรรม ประกอบด้วยวิธีการ 6 ด้าน คือ ด้านระเบียบวินัย ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ด้าน
ความขยันหม่ันเพียร ด้านการรู้จักประหยัดอดออม ด้านความอดทน และด้านความรับผิดชอบ
ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นวิธีการที่ทำให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ท้ังส้ิน ในขณะท่ีเพศ อายุ
ลกั ษณะตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการทำงานด้านเด็กและเยาวชนท่ีต่างกันมีการปฏิบัติบทบาทของ
นักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวกในภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
เม่ือพิจารณารายด้าน พบว่า ระดับการศึกษาท่ีต่างกันมีการปฏิบัติด้านการเสริมแรงเม่ือเด็กแสดง
พฤติกรรมวินัยเชิงบวก การปฏิบัติด้านการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเชิงบวกหลีกเล่ียงการลงโทษ การปฏิบัติ
ด้านการแสดงความไว้วางใจและให้ความรัก แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05
(p=0.027*, p=0.021* และ p=0.007*) ตามลำดับ ในขณะที่ด้านอ่ืนๆ ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ท้ังนี้
อาจเน่ืองมาจากปัจจัยพื้นฐาน หรือปัจจัยภูมิหลังของบุคคลในด้านการศึกษา ท่ีถือเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อ
ความคดิ ความเชือ่ และการแสดงพฤตกิ รรมของบุคคลแตกต่างกัน ดังนั้น การทีบ่ ุคคลมรี ะดับการศึกษาที่
แตกต่างกัน อาจทำให้บุคคลได้รับความรู้ และประสบการณ์ที่แตกต่างกนั ส่งผลใหบ้ ุคคลมีความเช่ือ และ
การแสดงออก ตลอดจนการนำมาประยกุ ตใ์ ช้ ในการปฏิบตั ติ ามบทบาทท่แี ตกต่างกันได้
จากผลการศึกษาบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวกท้ังในภาพรวม และ
บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสร้างวินัยเชิงบวกรายด้าน ท่ีพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติตาม
บทบาทเพื่อสร้างวินัยเชิงบวกในสถานรองรับเด็กในภาพรวม และในรายด้านอยู่ในระดับมากท่ีสุด และ
ระดับมาก สะท้อนให้เห็นว่า นักสังคมสงเคราะห์ที่ปฏิบัติงานดูแลเด็กในสถานรองรับ มีความเช่ือว่า
การสร้างวินัยเชิงบวกมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเด็ก โดยวินัยเชิงบวกเป็นหลักการหน่ึงท่ีมี
ส่วนสำคัญในการช่วยเสริมสร้างพฤติกรรมดีให้กับเด็กโดยผ่านกระบวนการสอน พัฒนา ขัดเกลา และ
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 33
สนับสนุน จากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู หรือผู้ท่ีใกล้ชิดกับเด็กซ่ึงบุคคลเหล่าน้ีเป็นผู้มีบทบาทสำคัญใน
การปลูกฝัง การฝึกฝน การสร้างแรงจูงใจ การให้กำลังใจ ให้ความรักและความอบอุ่นแก่เด็ก การเคารพ
ในศักดิ์ศรีของเด็ก ส่งเสริมพัฒนาการเด็กบนพ้ืนฐานความเข้าใจตามระดับความสามารถ สร้างความ
เช่ือมั่นให้กบั เด็กบนฐานของสมั พนั ธภาพท่ีดี และไม่ใช้ความรนุ แรง จะชว่ ยใหเ้ ด็กมีวินัยในตนเองสามารถ
อยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะจากผลการศกึ ษา
จากการศึกษาเรื่อง บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์กับการสรา้ งวินัยเชิงบวกในสถานรองรบั เด็ก
สังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน ผู้ศึกษาขอเสนอข้อเสนอแนะจากผลการศึกษาที่อาจจะเป็นประโยชน์
ตอ่ การพัฒนาบทบาทนักสังคมสงเคราะห์กบั การสร้างวินัยเชงิ บวกให้เด็ก ดังน้ี
1. จากผลการศึกษาพบว่า นักสังคมสงเคราะห์และผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคม
สงเคราะห์มีการปฏิบัติด้านการเสริมแรงเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวกน้อยที่สุด ดังน้ันสถานรองรับ
เด็กควรให้ความสำคัญในเรื่องการเสริมแรงที่เหมาะสมเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวก เช่น การย้ิม
การกล่าวช่ืนชม การให้กำลังใจ เพื่อเป็นการสร้างความม่ันใจในตนเองให้กับเด็ก เกิดความภาคภูมิใจ และ
ตระหนักในคุณค่าของตนเอง ในขณะเดียวกันสถานรองรับเด็กควรตระหนักถึงประโยชน์ของการพัฒนา
บทบาทของบุคลากรท่ีมีความใกล้ชิดกับเด็กและเยาวชน ควรติดอาวุธทางปัญญา เสริมความรู้ในเร่ือง
การเสริมแรงเม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมวินัยเชิงบวกให้แก่บุคลากรในสถานรองรับเด็กทุกคน อย่างน้อยปีละ
1 ครงั้
2. จากผลการศึกษาพบว่า นักสังคมสงเคราะห์และผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคม
สงเคราะห์มีการปฏิบัติด้านความสม่ำเสมอต่อเน่ืองน้อย ดังน้ันควรให้ความสำคัญกับการสร้างวินัย
เชิงบวกอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง โดยการให้แนวทางปฏิบัติท่ีเสมอต้นเสมอปลายแก่เด็ก มีการทบทวน
ข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันอยู่เสมอ เน้นการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ผ่านสถานการณ์ต่างๆ ใน
ชีวิตประจำวนั รวมถงึ มกี ารติดตามการปรบั พฤตกิ รรมของเดก็ ตอ่ เนอ่ื ง เพ่อื ใหเ้ ดก็ เกดิ การสร้างพฤตกิ รรม
ท่ีดีระยะยาว การปลูกฝังลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ให้เด็กอย่างสม่ำเสมอจะทำให้เด็กเกิดความเคยชิ น
ปฏบิ ัตจิ นติดเป็นนสิ ัย
3. จากผลการศึกษาพบว่า นักสังคมสงเคราะห์และผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคม
สงเคราะห์มีการปฏิบัติด้านการสร้างข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันกับเด็กน้อย ดังน้ันสถานรองรับควรให้
ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมและการปฏิบัติตามข้อตกลง กฎ กติการ่วมกันกับเด็ก นักสังคมสงเคราะห์
ควรเปิดโอกาสให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างข้อตกลง กฎ กติกา ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ซึ่งการ
พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากท่ีสุด จะทำให้เด็กรู้สึกสำคัญและเห็นคุณค่าของตนเอง ไม่รู้สึกว่าถูกบังคับ
เม่ือเด็กรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในการมีส่วนร่วม เด็กจะมีความเต็มใจในการปฏิบัติตามกฎ กติกา และให้ความ
ร่วมมือเพิ่มข้ึน รวมไปถึงควรมีการสนับสนุนให้เด็กเรียนรู้ข้อตกลง กฎ กติกา ผ่านกิจกรรมใน
34 | สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครัง้ ท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
ชวี ิตประจำวัน ซ่ึงจะทำใหเ้ ด็กเกิดการสร้างวนิ ัยเชงิ บวกอยา่ งเป็นองคร์ วม ทั้งน้ีบคุ ลากรทุกคนควรปฏิบัติ
ตามข้อตกลง กฎ กตกิ าทก่ี ำหนดร่วมกันกับเดก็ ในทศิ ทางเดียวกันไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ
ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาคร้ังตอ่ ไป
จากผลการศึกษาทำให้ทราบถึงระดับการปฏิบัติตามบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์และ
ผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสังคมในการสร้างวินัยเชิงบวกให้แก่เด็กในสถานรองรับเด็ก ดังนั้นใน
การศกึ ษาคร้งั ต่อไปมปี ระเด็นท่ีน่าสนใจทสี่ ามารถตอ่ ยอดจากการศึกษาในครงั้ น้ี ไดแ้ ก่
1. ควรมีการศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในการสร้างวินัยเชิง
บวกในสถานรองรับเด็ก ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการกำหนดแนวทางในการพัฒนาบทบาท
ของนักสังคมสงเคราะหใ์ หส้ อดคล้องเหมาะสมกับการดูแลเดก็ ในสถานรองรับเดก็
2. ควรมกี ารศึกษาเรื่องผลของการสร้างวินัยเชิงบวกให้แก่เดก็ ในสถานรองรบั เดก็ โดยขอ้ มลู ท่ีได้
จากการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาเด็กและเยาวชนตามแนวทางการสร้างวินยั เชงิ บวก
รายการอา้ งอิง
กนกพร คำมีมูล. (2552). การใช้วนิ ัยเชิงบวกเพื่อพฒั นาพฤตกิ รรมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของ
นักเรยี น มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นสว่ นบญุ โญปถมั ภ์ จังหวดั ลำพูน. สืบค้นจาก
https://search.lib.cmu.ac.th/search/?searchtype=.&searcharg=b1467123
กระทรวงศึกษาธกิ าร, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักวชิ าการและมาตรฐาน
การศึกษา. (2552). เอกสารสรปุ ยอ่ องคค์ วามรู้ สำหรับการพฒั นาทีมงานขบั เคลอ่ื นระบบ
การดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น เพ่ือการกา้ วยา่ งอย่างย่งั ยืน ปี 2552 การสรา้ งวินัยเชิงบวก
(Positive Discipline). กรงุ เทพฯ: ผแู้ ตง่ .
จติ รา ชนะกุล. (2539). ความมวี ินยั ในตนเองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์กจิ กรรมวงกลม
แบบกลุ่มย่อย. (ปริญญานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะ
ศึกษาศาสตร์.
ช. ชนบท (นามแฝง). (2530). วนิ ยั ในตนเองสอนให้เกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งไร. สารพฒั นาหลกั สตู ร.
ชนิพรรณ จาติเสถยี ร, กนั ตวรรณ มสี มสาร และอภริ ดี ไชยกาล. (2560). วิกฤตปฐมวยั และแนวทางแกไ้ ข.
กรุงเทพฯ: พลสั เพรส.
ภญิ โญ ทองดี. (2555). ครอบครวั และสถาบันครอบครวั . สบื คน้ จาก
http://www.human.cmu.ac.th/home/hc/ebook/006103/lesson1/01.htm
ณปภัช จึงแย้มปน่ิ . (2558). ผลการใช้กระบวนการใหก้ ารศึกษาผปู้ กครองแบบกลุ่มที่มีต่อการสง่ เสริม
วินยั ในตนเองแกเ่ ด็กวัยอนุบาล. วารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางการศึกษา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณชิ ชา บรู ณสงิ ห.์ (2558). เด็กถูกทอดทิง้ : ปญั หาสังคมท่ตี ้องเยียวยา. บทความวิชาการ สำนกั วิชาการ
สำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร. (เอกสารอัดสำเนา).