สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 135
ห่วงใยและแบ่งปันได้หรือไม่ เพราะการที่ผู้จัดการชุมชน ซ่ึงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบชีวิตคนในชุมชน หาก
สามารถจัดการชีวิตตัวเองให้มีความสุขแล้ว ก็จะสามารถส่งต่อความสุขไปยังผู้ที่อาศัยในชุมชนและต่อ
ยอดพัฒนาทจ่ี ะส่งผลต่อประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลในการทำงานต่อไป
วตั ถุประสงค์ในการศกึ ษา
1. เพื่อศึกษาการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพ่ือการบรหิ ารจัดการงานของ
ผู้จดั การงานของ บริษัท ลุมพนิ ี พรอพเพอรต์ ้ี
2. เพื่อศึกษาระดับการจัดการชีวิตด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการน้อม
นำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพื่อการบริหารจัดการงานของผู้จัดการ ชุมชน บริษัท ลุมพินี
พรอพเพอร์ต้ี
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการประยุกต์ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบรหิ ารจัดการชีวิต
และผลสำเรจ็ ของการบรหิ ารจดั การงานของผูจ้ ัดการ ชุมชน บรษิ ัท ลมุ พนิ ี พรอพเพอร์ต้ี
แนวคดิ และงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง
โดยแนวคิดทสี่ ำคญั ท่ีใช้ในการศกึ ษา ประกอบดว้ ย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีผู้รวบรวมแนวคดิ เกย่ี วกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไว้หลายท่าน ดังนี้
สมพร เทพสิทธา (2550, น. 14-15) ได้กล่าวถึง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ไดพ้ ระราชทาน พระราชดำรสั เก่ียวกับการพออย่พู อกิน เร่ืองของเศรษฐกิจ
พอเพียงใน พ.ศ. 2517 ซ่ึงในขณะนั้นเศรษฐกิจของไทยกําลังเฟ่ืองฟู เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงจึงไม่ได้รับ
ความสนใจจากทางราชการและประชาชนเท่าท่คี วร
และในวนั ท่ี 4 ธันวาคม 2540 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ไดม้ ีพระราชดำรัสเกี่ยวกบั เศรษฐกิจ
พอเพียง รับสั่งมี ข้อความตอนหนึ่งว่า “การจะเป็นเสือน่ันไม่สำคัญ สำคัญที่เราพออยู่ พอกินและ
มีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน” และ “คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมี
ความโลภน้อย กเ็ บยี ดเบยี นคนอืน่ นอ้ ย”
และเน่ืองด้วยเกิดภาวะวิกฤตต้มยำกุ้ง ทำให้ทางราชการ ธุรกิจเอกชน และประชาชนมี
ความสนใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริอย่างกว้างขวาง และได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
ในทางเศรษฐกิจ และสาขาอ่ืนๆ มาร่วมกันประมวลและกล่ันกรองพระราชดำรสั เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง
และขอพระราชทาน พระบรมราชานญุ าตนิ ำไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏบิ ตั ติ ่อไป
เกษม วัฒนชัย (2550, น. 164-165) ได้กล่าวถึง การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการไปใช้
จะต้องมีเงื่อนไข 3 ประการ คือ 1) เงอื่ นไขหลักวิชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการนำหลักวิชาความรู้
และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมมาใช้ ท้ังในขั้นวางแผนและปฏิบัติ เป็นเศรษฐกิจบนพ้ืนฐานของความรู้
(Knowledge Base Economy) เพื่อให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) 2) เง่ือนไข
136 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
คุณธรรม การสร้างคุณธรรมให้เกิดข้ึนในสังคมโดยอาศัยกลไกการเล้ียงดูในครอบครัว การศึกษาอบรม
จากในโรงเรียน การส่ังสอนศีลธรรมจาก ศาสนา และการฝึกจิตข่มจิตของตนเอง ซ่ึงบุคคล ครอบครัว
องค์กรหรือชุมชนท่ีจะนำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จะต้องนำระบบคุณธรรมและความซ่ือสัตย์สุจริต
มาประพฤติปฏิบัติก่อน 3) เง่ือนไขความรอบรู้ ท่ีเหมาะสมในการดำเนินชีวิต มีความเข้มแข็ง อดทน
มีความเพยี ร มีสติปัญญาและมคี วามรอบคอบ
นอกจากน้ี สมพร เทพสิทธา (2550, น. 15-26) ได้กล่าวถึง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตาม
แนวพระราชดำริประกอบด้วยหลักการ หลักวิชา และหลักธรรมหลายประการ อาทิ 1) เป็นปรัชญา
แนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึง
ระดับรัฐ 2) เป็นปรัชญาในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง 3) จะช่วยพัฒนา
เศรษฐกิจให้ก้าว ทันโลกยุคโลกาภิวัตน์ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วกว้างขวางท้ังด้าน วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
4) ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบ
ภมู คิ ุ้มกันในตัวท่ีดพี อสมควรต่อการมี ผลกระทบใดๆ อันเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน
5) จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั อย่างยง่ิ ในการนำวชิ าการต่างๆ มาใช้ใน
การวางแผนและการดำเนินการทุกข้ันตอน 6) จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริตและให้มี
ความรอบรทู้ ี่เหมาะสม ดำเนนิ ชีวิตด้วยความอดทน ความเพยี ร มสี ตปิ ัญญาและความรอบคอบ
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมหี ลกั การทส่ี ำคญั 3 ประการ คอื
1. ความพอประมาณ หมายถึง การปฏิบัติตามทางสายกลาง มีความพอดีไม่น้อยเกินไปและ
ไมม่ ากเกนิ ไป โดยไมเ่ บียดเบยี นคนอน่ื และผู้อ่ืน
2. ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สนิ ใจจะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมีเหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จัย
ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคำนึงถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกดิ ข้นึ จากการกระทำนั้นๆ อยา่ งรอบคอบ
3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การมีคุณธรรมเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียว เตรียมตัวให้พร้อมกับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่อาจจะเกิดข้ึนโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์
ตา่ งๆ ทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้ึนในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล
เง่ือนไขการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้องอาศัย
หลกั ความรู้ และหลักคณุ ธรรม เป็นพื้นฐาน ดงั น้ี
1. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และ
ความระมดั ระวัง
2. เง่ือนไขคุณธรรม มีจิตสำนึกในด้านคุณธรรมและจริยธรรม เช่น ความซื่อสัตย์สุจริต
ความขยนั หม่ันเพียร ความอดทน มคี วามพอประมาณ ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนินชีวิต
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดกิ ารสงั คมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 137
กล่าวโดยสรุป การมวี ัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงมขี อ้ ปฏิบัตทิ ส่ี ำคญั ดงั นี้
1. มชี วี ิตที่เรยี บง่าย ประหยดั ไมฟ่ งุ้ เฟ้อ ฟุ่มเฟือย
2. ใหย้ ึดถอื ทางสายกลาง รู้จกั พอ พอดี พอประมาณและพอใจ
3. มคี วามเมตตาเอ้ืออาทรตอ่ กัน ร่วมมือและช่วยเหลือกัน ไม่เบียดเบียนกนั ไม่เอารัดเอาเปรียบ
กันไมม่ ุ่งรา้ ยทำรา้ ยกัน
4. ประกอบสัมมาอาชีพด้วยความขยันหมั่นเพียร ซ่ือสัตย์สุจริต ใฝ่ หาความรู้ เพ่ือนำมาใช้ให้
เปน็ ประโยชน์
5. ให้สามารถพึ่งตนเองได้ให้พ้นจากความยากจนให้สามารถพออยู่พอกิน ไม่เดือดร้อน ไม่ตก
เปน็ ทาสของอบายมขุ วัตถุนยิ มและบริโภคนยิ ม
แนวคิดดา้ นการบรหิ ารจดั การ
ความหมายเก่ียวกับการจัดการ สมยศ นาวีการ (2536, น. 23) กล่าวไว้ว่า กระบวนการจัดการ
ว่าเป็นกิจกรรมของการบริหาร ที่สำคัญ 4 อย่าง คือ การวางแผน การจัดองค์การ การส่ังการ และ
การควบคุม
สตรับ และ แอทเนอร์ (Straub & Attner, 1985, pp. 86-91) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหน้าท่ีของ
ผู้บรหิ ารไว้ ดังนี้
1. การวางแผน (Planning) เป็นยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติเพ่ือนำไปสู่แนวทางในการแสวงหา
วิธีการที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์การ มีการวางแผนเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ เฉพาะเจาะจง
กำหนดจดุ ศูนย์ลางของการบรหิ ารและการปฏิบัติงาน
2. การจดั องค์การ (Organizing) เป็นการจดั แบ่งงานขององค์การ เพ่ือท่ีจะทำให้มีประสทิ ธิภาพ
มากทีส่ ุดและสมั ฤทธ์ผิ ลตามวัตถุประสงคข์ ององค์การเปน็ การปฏิบตั งิ านโดยผา่ นสายการบงั คบั บัญชา
3. การจัดบุคคลเข้าทำงาน (Staffing) เป็นการวางแผนทรัพยากรบุคคลในเร่ืองเก่ียวกับจำนวน
และประเภทของตำแหน่งท่ีต้องใช้ในการทำงาน กำหนดความต้องการกาลังคนของแต่ละงานและ
คณุ สมบัตขิ องแต่ละตำแหน่งซ่งึ รวมถงึ ค่าตอบแทน ตลอดจนให้การดแู ลและให้การพัฒนา
4. การอำนวยการ (Directing) เป็นการบริหารให้องค์การสามารถดำเนินงานไปได้ตามวัตถุประสงค์
การอำนวยการ ตอ้ งการทักษะในการส่ือสารการรับรู้ การจงู ใจ และมีคณุ สมบตั ิในการเป็นผ้นู ำ
5. การควบคมุ (Controlling) เป็นระบบเพ่ือกำหนดมาตรฐาน และเปรียบเทยี บ ความก้าวหน้า
ในการดำเนินงานของพนกังานให้เปน็ ไปตามแผนและท่คี าดหวงั ไว้
บราวน์ (Brown, 1993, p. 273) ไดแ้ บง่ องคป์ ระกอบ ทสี่ นบั สนุนทางการบริหารไว้ 8 ดา้ น ดังน้ี
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการระบุปัญหาขององค์การความต้องการของ
ชุมชนและทรัพยากร การกำหนดลำดับความสำคัญ ของวัตถุประสงค์และการกำหนดแนวทางสำหรับ
การบริหารเพ่ือใหบ้ รรลุถึงวตั ถปุ ระสงค์นนั้
2. การบริหารงานบุคคล (Personnel management) หมายถึง การดำเนินงานเกี่ยวกับ
การคัดเลอื กการบรรจกุ ารกำหนดหน้าท่ีรวมถงึ การให้คา่ จา้ งและค่าตอบแทน ตลอดจนสทิ ธิต่างๆ
138 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
3. การฝึกอบรม (Training) หมายถึง กระบวนการพัฒนาความรู้ ทักษะและความสามารถของ
ผปู้ ฏบิ ัติงานอย่างต่อเน่ือง
4. การนิเทศติดตาม (Supervision) หมายถึง การแนะนำการสนับสนุน การช่วยเหลือให้
การปฏบิ ัติงานตามหนา้ ทดี่ ำเนนิ ไปอย่างงมีประสทิ ธผิ ล
5. การจัดสิ่งสนับสนุน (Logistics management) หมายถึง การจัดหา การเก็บรักษา และ
การสนบั สนุนเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ในการทำงาน
6. การจัดการงบประมาณ (Financial management) หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับการเงิน
การบัญชีสำหรบั แผนปฏบิ ัตกิ ารและแผนงาน
7. การจัดการข้อมูลขา่ วสาร (Information management) หมายถึง การรวบรวมรายงานและ
การใชข้ ้อมูลเพอ่ื เปน็ ตัวบง่ ชี้มาตรฐาน และความสำเรจ็ ของการดำเนินงาน
8. การจัดองค์กรชุมชน (Communication organization) หมายถึง การเปิดโอกาสให้ชุมชน
มสี ว่ นร่วมในการออกความคิดเห็น การวางแผน การจดักิจกรรมการให้บรกิ าร
ดังนั้นการบริหารจัดการคือหากต้องการจะให้บรรลุถึงเป้าหมายท่ีต้ังไว้อย่างสมบูรณ์ จะต้อง
อาศยั การ ศึกษา เรียนรู้ ค้นควา้ สงั เกต ทำความเข้าใจ ซงึ่ ถือเป็นกระบวนการทีม่ ีความซบั ซ้อนอีกทั้งต้อง
มีความเพียรและความพยามอดทนเป็นอย่างมาก เพราะการบริหารจัดการไม่สามารถกำหนดปัญหาและ
อุปสรรคที่จะเกิดข้ีนได้ หากนำหลัก เศรษฐกิจพอพียงคือการเดินทางสายกลางในการทำอะไรที่ไม่สุดโต่ง
จนเกินไป ทำทุกอย่างด้วยความมีสติ รอบคอบ จะสามารถประเมินสถานการณ์ต่างๆ ในการบริหารจัด
สามารถรับมือกบั ความเปลีย่ นแปลงและความทันสมัยท่จี ะเขา้ มาในทุกสถานการณ์ได้
แนวคดิ ดา้ นความสุข
ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ได้ให้ความหมายคำว่า สุข คือ ความสบายกายสบายใจ มักใช้คูกับ
คำอน่ื เช่น อยู่ดีมสี ุข อยู่เย็นเป็นสขุ สบายกายสบายใจ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตฉิ บับ
ท่ี 8 มีการใช้คำว่า ความอยู่ดีมีสุข (Well-Being) ให้ความหมายเป็นความสำเร็จโดยมีอิสรภาพใน
การเลือกดำรงชวี ิต ฉะน้ัน ความสขุ (Happiness) จงึ เป็นส่วนหน่ึงของความอยู่ดีมีสุขเป็นเคร่ืองช้ีวดั ด้าน
สังคม
โดยองค์ประกอบของความสุขนั้น (Happiness or Subjective Well-being) ตามแนวคิดของ
Diener (2000) อธิบายด้วยปัจจัยหรือองคประกอบของความสุขวา ความสุขเป็นสิ่งสำคัญ เป็นรากฐาน
ของการดำรงชวี ิต เป็นอารมณค์ วามรูสกึ ท่ีดี ที่ใช้ประเมินความเปน็ อยู่ หรือเป้าหมายหลักของชวี ิตคนท่ีมี
ความสุขเกิดข้ึนได้ จากปัจจัยหลายอย่าท่ีแตกต่างกัน เช่น อายุสถานภาพสมรส รายได้ สภาพแวดล้อม
และองค์ประกอบท่ีส่งผลตอ่ การตอบสนองของบุคคล ท่นี ำมาซง่ึ ความสขุ ในการทำงาน ได้แก่
- ความพึงพอใจในชีวิต (Life Satisfaction) หมายถึง การที่บุคคลมีความพอใจในสิ่งที่ตนเป็น
และกระทำอยู่มีความสมหวังกับเป้าหมายของชีวิต สอดคลองกับความเป็นจริงสามารถกรำทำตาม
ความตัง้ ใจ สมเหตสุ มเหตุสมผล เข้าใจและยอมรับสง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยไมจ่ ำเป็นต้องปรับตัว
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 139
- ความพึงพอใจในงาน (Work Satisfaction) หมายถึง การที่บุคคลได้กระทำในส่ิงที่ตนรักและ
ชอบ พอใจกับสภาพแวดลอมท่ีเกี่ยวข้องกับการทำงาน มีความสุขเมื่องานที่กระทำสำเร็จ ลุล่วงตาม
เปา้ หมาย ตลอดจนงานทำใหเ้ กดิ คุณประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คม
- อารมณ์ทางบวก (Positive Effect) หมายถึง การที่บุคคลมีอารมณ์ความรูสึกเป็นสุขกับส่ิงที่ดี
สนุกสนานการทำงาน ย้ิมแย้มแจ่มใสเบิกบานใจได้เสมอในขณะทำงาน เลื่อมใสศรัทธาในสิ่งท่ีตนกระทำ
รบั รถู้ งึ ความดงี าม และคุณประโยชน์ของงานท่กี ระทำ
- อารมณ์ทางลบ (Negative Effect) หมายถงึ อารมณ์ความรูสึกทเ่ี ป็นทุกข์กบั สิง่ ไมด่ ีทเ่ี กิดข้ึนใน
การทำงาน เช่น คับข้องใจเบื่อหน่าย เศร้าหมอง ไม่สบายใจ เมื่อเห็นการกระทำที่ไม่ซ่ือสัตยหรือ
ไม่ถกู ตองอยากปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้ดีขน้ึ เพ่ือสนองความตอ้ งการของตนใหม้ คี วามสขุ
สรุปได้วา ความสุขเป็นสิ่งท่ีทุกคนตองการ ซึ่งความสุขของแต่ละคนก็มคี วามหมายท่ีแตกต่างกัน
เน่ืองจากมนุษย์มีความตองการและความเป็นอยู่ในสภาพแวดลอมที่ไม่เหมือนกัน ความสุขอย่างแท้จริง
นั้นขึ้นอยู่กับวิธีคิด หรือมุมมองต่อชีวิตและการใช้ชีวิต ดังเช่น การรู้จักพอใจในส่ิงที่ตนมีอยู่ ความภาคภูมิใจ
ในตนเอง การมองโลกในแง่ดี การมีจุดมุ่งหมายและการเคารพในตนเอง เป็นคนท่ีมีงานและกิจกรรม
สอดคล้องกับความถนัด มีความชอบของตนเองในทางสร้างสรร ตลอดจนมีศรัทธาในศาสนาหรอื ปรัชญา
ชีวิตที่มีความหมาย หรืออีกนัยหน่ึงความสุขหรือความทุกข์น้ันขึ้นอยู่กับวิธีคิด ท่าทีหรือมุมมองของเรา
วา่ มีทัศนคติในเชิงบวกต่อการดำเนินชีวิตมากน้อยเพยี งใด ความสุข จึงข้ึนกับปัจจัยท่ีตัวเราสามารถสร้าง
ขึ้นเองได้ โดยไม่จำเป็นต้องถูกกำหนดหรือควบคุมให้เป็นไปตามความเชื่อ หรือการให้คุณค่าของใคร
เพราะเป้าหมายของความสุขไม่ใช่ส่ิงสำคัญว่าเราจะเป็นอะไร แต่สิ่งท่ีสำคัญที่สุดคือการได้กำหนด
เป้าหมายความสขุ ของตัวเราเองดว้ ยตวั เราเอง
สุขภาวะคนเมือง
องคก์ ารอนามยั โลก ได้นยิ ามไว้ว่า “สุขภาพ หมายถงึ สขุ ภาวะท่ีสมบูรณ์ท้ังทางกาย จิตใจ สังคม
และปัญญา มิใช่เพียงการปราศจากโรคหรือความพิการเท่าน้ัน” (ตามนิยาม “สุขภาพ” ขององค์การ
อนามัยโลก และ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550)” หรือสุขภาวะท่ีสมบูรณ์ทุกๆ ทางเชื่อมโยงกัน
สะท้อนถึงความเป็นองค์รวมอย่างแท้จริงของสุขภาพท่ีเกื้อหนุนและเช่ือมโยงกันท้ัง 4 มิติ นำมาสู่
วิสัยทัศน์ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) คือ “คนไทยมีสุขภาวะยั่งยืน
หมายถึง คนไทยมีสุขภาวะดีครบท้ังส่ีด้าน ได้แก่ กาย จิต สังคม และปัญญา อันไดแ้ ก่
1. สุขภาวะทางกาย หมายถึง การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง มีส่ิงแวดล้อมดี
ไมม่ อี บุ ัตภิ ยั เปน็ ต้น
2. สุขภาวะทางจิต หมายถึง จิตใจที่เป็นสุข ผ่อนคลาย ไม่เครียด คล่องแคล่ว มีความเมตตา กรุณา
มีสติ มสี มาธิ เปน็ ต้น
3. สุขภาวะทางสังคม หมายถึง การอยู่ร่วมกันด้วยดี ในครอบครัว ในชุมชน ในท่ีทำงาน ในสังคม
ในโลก ซึ่งรวมถึงการมีบริการทางสังคมทีด่ ี และมสี นั ติภาพ เปน็ ต้น
140 | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครงั้ ท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
4. สุขภาวะทางปัญญา (จิตวิญญาณ) หมายถึง ความสุขอันประเสริฐที่เกิดจากมีจิตใจสูง เข้าถึง
ความจริงทั้งหมด ลดละความเห็นแก่ตัว มุ่งเข้าถึงสิ่งสูงสุด ซ่ึงหมายถึง พระนิพพาน หรือพระผู้เป็นเจ้าหรือ
ความดสี ูงสุด ซึง่ แลว้ แต่ความเชอ่ื ทีแ่ ตกต่างกันของแตล่ ะคน
สุขภาวะ จึงหมายถึง การดำรงชีพของบุคคลอย่างมีสุขท้ังกาย และ จิต อาจกล่าวได้ว่ามิใช่เพียง
ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ แต่รวมถึงการมีชีวิตที่มีร่างกายแข็งแรง จิตแข็งแรง มีความสุขอยู่ในสังคม โลกใน
ปัจจุบัน ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว บางอย่างที่เกิดขึ้นก่อให้เกิดภาวะคุกคามต่อ
สุขภาวะคนไทยเกดิ เป็นปัญหาด้าน สุขภาพ มลภาวะท่ีเกิดข้ึน การเปลีย่ นแปลงท่ีเก่ียวกับอาหาร วิถชี ีวิต
ค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีเปล่ียนไปล้วนแล้วแต่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาท้ังสิ้น ก่อให้เกิดโรคภัย
ไข้เจ็บ เช่น เกิดโรคเอดส์ เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด เกิดอุบัติภัยสูงขึ้น เป็นต้น มีโรค
หลายโรคที่อาจป้องกันหรือสามารถลดอัตราเส่ียงลงได้ ซึ่งต้องการความร่วมมือร่วมใจจากหลายๆ ฝ่าย
ชว่ ยการสร้างเสรมิ สุขภาพให้กับ สังคม
สรุป การนำหลักเศรษฐกิจพอพียงเข้ามาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ เช่น การบริหาร
จัดการองค์การ การบริหารงานวิชาการ การจัดการชุมชนที่อยู่อาศัย หรือการประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน สามารถทำได้และได้ผลเป็นที่น่าพอใจ โดยการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงแล้วยังนำ
ประยุกต์กับหลักการบริหารอยา่ งเป็นข้ันตอน มีการศึกษาหาความรู้ ไต่ตรองอยา่ งรอบคอบก่อนลงมือทำ
การใดๆ และเม่ือผนวกกับเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของคนทำงานในสถานประกอบการ
หรือที่อยู่อาศัยในเมืองใหญ่ ก็พบว่าสามารถใช้หลักหลักเศรษฐกิจพอพียงนำมาใช้ในการบริหารจัดการ
งานของการทำงานให้บรรลุเป้าหมายในการทำงาน เมื่องานต่างๆ บรรลุผลสำเร็จก็จะเพิ่มพอใจในชีวิต
มากข้นึ และทำใหเ้ กิดสขุ ภาวะท่ดี ีแก่ชวี ิตอกี ดว้ ย
วิธีการวิจัย
การศึกษาเรื่อง “การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารจัดการความสุขชีวิตของ
ผู้จัดการชุมชนบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด” เป็นการศึกษาในเชิงปริมาณผสมเชิง
คุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์เปน็ เครือ่ งมอื ในการเก็บข้อมูล
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร (Population) ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มผู้ดำรง
ตำแหน่งผู้จัดการชุมชนและผู้บริหาร บริษัทลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี มาเนจเมนท์ จำกัด จำนวน 100 เป็น
การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) แบ่งเป็น แบบสอบถาม จำนวน 85
ชดุ โดยเลือกกล่มุ ผู้จัดการคอนโดในเขตกรุงเทพมหานคร และ แบบสัมภาษณ์ 15 ชุด เป็นการสัมภาษณ์
ผู้บริหารหรือกลุ่มผู้จัดการระดับสูง(ซึ่งเคยผ่านตำแหน่งผู้จัดการชุมชนมาก่อน) ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มน้ี
เป็นผู้จดั การชุมชนและผู้บรหิ ารที่มีการนอ้ มนำเศรษฐกจิ พอเพียงใช้ในการดำรงชวี ติ
2. ประเด็นท่ีศึกษา การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพ่ือการบริหารจัดการ
งานของผู้จัดการชุมชน 2) ระดับการจัดการชีวิต ด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม และส่ิงแวดล้อม ในการ
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 141
น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตของผู้จัดการชุมชน 3) ความสัมพันธ์ของ
การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างการบริหารจดั การงานกับผลสำเร็จของงาน
3. เคร่ืองมือที่ใช้ในการศกึ ษา แบบสอบถาม มีทง้ั หมด 4 สว่ น
ส่วนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามเร่ืองการนำหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการชีวิต ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุใน
การทำงาน
ส่วนที่ 2 การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย การใช้หลักความประมาณ
มีเหตุผล มีภูมคิ มุ้ กันภายใต้เงอื่ นไข ความรแู้ ละคณุ ธรรม
ส่วนท่ี 3 ระดับความจัดการชีวิต ประกอบด้วย ความพึงพอใจในชีวิตด้าน เศรษฐกิจ
(เงินออม/เงนิ ฉุกเฉนิ ), สุขภาพ (ผลตรวจสขุ ภาพประจำปี/จำนวนครั้งการออกกำลงั กายในแตล่ ะสัปดาห์)
สังคม (การท่องเท่ียวในและนอกประเทศ/งานอดิเรก) สิ่งแวดล้อม(ระยะเวลาจากบ้านมาที่ทำงาน/
ความปลอดภยั ของสถานท่ที ำงาน)
ส่วนที่ 4 เป็นคำถามเก่ียวกับความสำเร็จของงาน ประกอบด้วย การวัดความสำเร็จจาก
อาคารทด่ี แู ลผลประเมิน KPI (Key Performance Indicator) ดัชนชี ้ีวัดความสำเรจ็ ของงาน
การกำหนดเกณฑ์การให้ความหมายของการให้คะแนนในแต่ละช่วง มีพิสัยคะแนน 1-5 ซ่ึงมี
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั นี้
คา่ คะแนน 1 หมายถึง เห็นดว้ ยน้อยทส่ี ดุ
ค่าคะแนน 2 หมายถึง เหน็ ด้วยนอ้ ย
ค่าคะแนน 3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง
ค่าคะแนน 4 หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก
ค่าคะแนน 5 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมากทีส่ ดุ
ผู้ตอบแบบสอบถามจะต้องเลือกตอบคำถามแต่ละข้อเพียง 1 คำตอบเท่านั้น เม่ือนำมาแปล
ความหมายโดยใชค้ ่าเฉลย่ี (Mean) เพือ่ ใชจ้ ดั กลมุ่ ระดบั ความพึงพอใจและความเห็นของกลุ่มตัวอยา่ ง
สถิติเชิงพรรณนาใชใ้ นการนำเสนอขอ้ มูลส่วนบุคคลและความเห็นต่อประเด็นต่างๆ การแปล
ผลและพจิ ารณาคา่ ระดบั จำแนกระดับตามค่าเฉลย่ี ดังน้ี
คะแนนเฉล่ียระหว่าง 1.00 – 1.80 หมายถึง เหน็ ดว้ ยน้อยท่ีสดุ
คะแนนเฉล่ยี ระหวา่ ง 1.81 – 2.60 หมายถงึ เห็นด้วยน้อย
คะแนนเฉลีย่ ระหวา่ ง 2.61 – 3.40 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี ระหว่าง 3.41 – 4.20 หมายถงึ เห็นดว้ ยมาก
คะแนนเฉลยี่ ระหวา่ ง 4.21 – 5.00 หมายถึง เหน็ ด้วยมากท่ีสดุ
2) แบบสัมภาษณ์ ประกอบ แนวคำถามดา้ น การน้อมนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงการน้อม
นำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับการจดั การชีวิต และความสำเร็จของงาน
142 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
วิธกี ารเกบ็ ข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ใชแ้ บบสอบถาม แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือศึกษา โดยดำเนินการ
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตัวเอง เพ่ือชี้แจงอธิบายวัตถุประสงค์ ประโยชน์ของการศึกษาตลอดจน
ตอบข้อซักถามจากกลุ่มตัวอย่างจากผู้จัดการชุมชน บริษัท ลุมพินีพรอพเพอร์ต้ี มาเนจเม้นต์ โดยใช้
แบบสอบถามจำนวน 85 คน และแบบสัมภาษณจ์ ำนวน 15 คน
ผลการศกึ ษา
1) การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพ่ือการบริหารจัดการงานของ
ผู้จัดการงานของ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ ลักษณะของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีผู้จัดการชุมชน
ชุมชน บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี นำมาประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างการบริหารจัดการงานของผู้จัดการ
มากที่สุดคือ เรื่องของคุณธรรม ซึ่งประกอบด้วย การดำเนินชีวิตอยู่ในครรลองที่เหมาะสม มีความ
ซ่ือสัตย์สุจริต ประหยัดอดออม มีความพากเพียร เมตตาเสียสละ เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ยึดมั่นในระเบียบวินัย
และมีความรับผิดชอบ ซึ่งในส่วนลักษณะอื่นๆ มีการนำใช้เรียงตามลำดับ คือ ความมีเหตุผล ความรู้
การมภี ูมคิ ้มุ กนั ทด่ี ี และความพอประมาณเปน็ อันดับสุดท้าย
2) ระดับการจัดการชีวิต ด้านเศรษฐกิจ สุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในการน้อมนำปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตของผู้จัดการ ชุมชน บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ จาก
การศึกษาข้อมูล พบว่า ผู้จัดการชุมชนส่วนใหญ่ ประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำมาจัดการชีวิต
ตนเองในเรื่อง ส่ิงแวดล้อม ในระดับที่มากที่สุด กล่าวคือ ผู้จัดการชุมชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้าน
เหมาะสมของท่ีอยู่อาศัยส่วนตัว การรักษาสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมและปลอดภัยเอื้ออำนวยต่อ
การปฏิบัติงาน มีการใส่ใจในการลดขยะพลาสติกและโฟมในชีวิตประจำวัน การป้องกันฝุ่นควันหรือ
อากาศเป็นพิษที่ต้องเจอในสถานท่ีปฏิบัติงาน และเร่ืองท่ีการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน
การจัดการชีวิต ในลำดบั ตอ่ มา คือด้านสงั คมและสขุ ภาพ และเศรษฐกิจ ตามลำดับ
จากการศึกษาการน้อมนำการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการชีวิต ท่ีพบว่า
ส่วนใหญ่ผู้จัดการชุมชน นำมาใช้จัดการชีวิต ด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เสริมสร้างการบริหารจัดการงาน
ของผู้จัดการชุมชน และส่งผลถึงความสำเร็จของงาน ที่จะวัดได้จากการประเมิณตามหัวข้อและ
หลักเกณฑ์ของบริษัท โดยผู้จัดการชุมชนส่วนใหญ่ สามารถทำให้ผลสำเร็จของงานอยู่ในระดับดีมาก
โดยเรียงจากข้อมูลทีศ่ กึ ษามาตามแนวทางการทำงานแบบ FBLESP
โดยแนวทาง F-B-L-E-S-P ที่บริษัท ลุมพินี ได้ศึกษาและพัฒนาจากประสบการณ์บริหารชุมชน
มายาวนาน มรี ายละเอยี ดดงั นี้
(F) Facility Management คือ การดูแลทรัพย์ส่วนกลางให้คงประสิทธิภาพเพ่ือให้พร้อมและ
ปลอดภัยต่อการใช้งาน รวมถึงความสามารถในการบริหารจัดการจำนวนครั้งของการหยุดชะงักของ
เคร่ืองจักร ทั้งระบบลิฟท์ ระบบดับเพลิง ระบบไฟฟ้าหลัก ระบบเตือนภัย ระบบปั๊มน้ำดี ให้เกิด
ความผดิ พลาดให้น้อยทีส่ ุดหรอื หาแนวทางป้องกันไม่ใหเ้ กิดความผิดพลาดขน้ึ
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดิการสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 143
(B) Budgeting Management คือ การจัดการงบประมาณการเงินของนิติบุคคลอาคารชุดให้
เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับการอนุมัติจากท่ีประชุมใหญ่สามัญเจ้าของร่วม และบริหารเงินกองทุนและ
ทรพั ย์ส่วนกลางให้มีเสถียรภาพและรายได้ เพื่อความม่ันคงทางการเงินของชุมชน จัดทำรายงานการเงินท่ี
ง่ายต่อความเข้าใจ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ อีกทั้งความสามารถในการติดตามหน้ีและการลดการใช้
เงนิ สดในโครงการทดี่ แู ล
(L) Life Quality Management คือ การบริหารจัดการคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัย ส่งเสริม
ให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของอาคารชุด เพ่ือการอยู่อาศัยกันอย่างมีความสุข รวมถึงการจัด
กจิ กรรมเพือ่ เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ ีภายในโครงการ และสบื สานวฒั นธรรมอันดีงามของสงั คม
(E) Environment Management คือ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
เชน่ การปลกู ต้นไม้เพ่มิ พื้นท่ีสีเขียว การคดั แยกขยะเพื่อง่ายต่อการกำจัด การจัดกิจกรรมเพ่ือลดขยะโฟม
และพลาสติกในโครงการ การบำบัดน้ำเสียให้ได้คุณภาพก่อนปล่อยออกสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ หรือ
การประหยัดพลัง เช่น น้ำ หรือไฟฟา้ เปน็ ตน้
(S) Security & Safety Management คือ การจัดการความปลอดภัย ต้ังแต่การออกแบบผัง
โครงการ การตรวจสอบและรักษามาตรฐานของระบบและอุปกรณ์ เช่น กล้องวงจรปิด ระบบสัญญาน
เตือนภัย และระบบส่ือสาร รวบถึงการอบรมและพัฒนาบุคลากรท่ีทำหน้าท่ีในการรักษาความปลอดภัย
อยู่เสมอ รวมทั้งการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมจากทั้งภายในชุมชนและหน่วยราชการท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือ
ความปลอดภยั สูงสุดของผทู้ ่อี าศยั ภายในโครงการ
(P) People Management คือการบรหิ ารจัดการผู้เก่ียวขอ้ งกับงานบริหารชุมชน ไมว่ ่าจะเป็น
ฝ่ายจัดการฯ คณะกรรมการนิตบิ ุคคลอาคารชุด และผู้อยู่อาศัย โดยมุ่งเนน้ ท่ีจะพัฒนาทัศนคติและทกั ษะ
ของบุคลากร กำหนดแนวทางการสื่อสารเพ่ือเพ่ิมความรู้และความเข้าใจในการบริหารชุมชนแก่กรรมการ
นติ ิ
3) ความสัมพันธ์ของการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารจัดการชีวิตและ
ผลสำเร็จของการบรหิ ารจัดการงานของผู้จดั การ ชุมชน บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ต้ี พบว่า ผลสำเรจ็ ของ
งานโดยใช้ผลประเมนิ KPI พบว่า ดา้ นการดูแลทรัพย์ส่วนกลาง ในเรื่องของจำนวนคร้ังของการหยุดชะงัก
ของเครื่องจักร ด้านการจัดการด้านการเงิน ในเร่ืองของ การรับชำระหนี้ภายใน 90 วัน ด้านการจัดการ
คุณภาพชีวิต ในเรื่องของ ข้อร้องเรียนด้านการงานบริการ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม ในเรื่องของ
การบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกนอกโครงการ ด้านความปลอดภัย ในเรื่องของจำนวนครั้งการเกิดเหตุ
ลัก-ว่ิง-ชงิ่ -ปล้น และยาเสพติด และจำนวนคร้งั ของอุบัติเหตุที่เกิดจากพ้ืนทสี่ ่วนกลางชำรุด เสียหาย และ
ด้านการบริหารจัดการผู้คน ในเรือ่ งของ การต่อสญั ญาของผวู้ า่ จ้าง มีระดบั ผลการประเมนิ มากท่ีสุด
บทสรุป การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพื่อการบริหารจัดการงานของ
ผู้จัดการงานของผู้จัดการชุมชน โดยใช้หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ยึดถือในการบริหารจัดการงาน และเน้น
เร่ืองเดินทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ภายใต้เงื่อนไข ของความรู้
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) และคุณธรรม (ซ่ือสัตย์สุจิต ขยัน อดทน สติปัญญา แบ่งปัน) ซึ่งจะนำไปสู่
144 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
การยกระดับชีวิตของผู้จัดการชุมชนได้ 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านสุขภาพ เม่ือสามารถจัดการปัญหาต่างๆ ท่ี
เกิดข้ึนได้ ความเครียดจากการทำงานก็จะลดลง มีการจัดสรรเวลาในการทำงานและพักผ่อน ออกกำลัง
กาย ดูแลตัวเอง จะสง่ ผลให้เกิดพึงพอใจในสุขภาพของตนเอง เม่ือมีสขุ ภาพกายและใจที่สมบูรณ์แข็งแรง
ก็จะส่งผลสำเร็จไปยังงานท่ีทำด้วย 2) ด้านเศรษฐกิจ การวิเคราะห์คิดอย่างรอบคอบใช้จ่ายอย่าง
ระมัดระวัง จะทำให้สามารถวางแผนการใช้ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ มั่นคง ดังจะเห็นได้จากการตอบ
แบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่างว่ามีความพึงพอใจเรื่องค่าตอบแทนของบริษัทและมีความม่ันคงทาง
การเงินในกรณีมเี หตุการณ์ฉุกเฉินจนไมส่ ามารถปฏิบัตงิ านได้ 3) ด้านสังคม การสรา้ งความสัมพันธ์ทีด่ ีกับ
เพื่อนร่วมงาน และความสัมพันธ์ท่ีดีกับเจ้าของร่วม กรรมการ ตลอดจนชุมชนรอบข้าง จะทำให้ชุมชนท่ี
ดูแลน่าอยู่มี เม่ือมีความสัมพันธ์อันดีในชุมชน ก็จะทำให้สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนในชุมชนด้วย
ความเมตตา กรณุ า และปกติสุข 4) ด้านสิ่งแวดล้อม การใสใ่ จในสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบชุมชน เช่นการดูแล
บำบัดนำ้ เสยี ที่ปล่อยออกจากสถานท่ีทำงาน การเพ่ิมพืน้ ทสี่ ีเขียวในสถานที่ทำงาน
และเม่ือนำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการชวี ิตของตนเองในด้านต่างๆ
ทกี่ ล่าวมาแล้ว จะสามารถเสริมสร้างบริหารจัดการชมุ ชนที่ดูแล ใหไ้ ด้ผลตามเป้าหมาย สร้างชมุ ชนทเ่ี ป็น
สุข และสิ่งแวดล้อมของการอยู่ร่วมกัน ด้วยความดูแลห่วงใยและแบ่งปัน เพราะผู้ที่รับหน้าที่ ผู้จัดการ
ชมุ ชน หากสามารถจัดการชีวิตตวั เองให้มีความสขุ แล้ว ก็จะสามารถสง่ ต่อความสขุ ไปยงั ผ้ทู ี่อาศัยในชมุ ชน
และต่อยอดพฒั นาที่จะส่งผลต่อประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการทำงานต่อไป
อภปิ รายผล
ปัญหาและอุปสรรค การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพ่ือการบริหารจัดการงาน
ของผู้จัดการงานของผู้จัดการชุมชน จากการศึกษาข้อมูล พบว่า ปัจจุบันกระแสสังคม ค่าครองชีพ ภาษี
สังคม และวิถีการใช้ชีวิตที่มีการแข่งขันสูง ทำให้เกิดความเครียดอย่างมาก ตลอดจนสิ่งย่ัวยุต่างๆ และ
ต้องต่อสู้กับค่านิยมเรื่องวัตถุนิยม กับความเข้าใจท่ีว่า การประสบความสำเร็จวัดจากทรัพย์สินเงินทอง
ตำแหน่งการทำงาน และยังต้องใช้เวลาที่นาน ความอดทนอย่างสูงทำให้เกิดความย่อท้อ ในบางครั้งยัง
ขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวคิดที่ว่า เศรษฐกิจพอเพียงสามารถ
ใชไ้ ด้ในสังคมชนบท และภาคเกษตรกรรม ไม่สามารถนำมาใช้ในสงั คมเมืองหรอื พนักงานบรษิ ัทได้
และเมื่อนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้เพื่อการบริหารจัดการงานของผู้จัดการงาน
ของผจู้ ดั การชุมชน จากการศกึ ษาข้อมลู พบว่า
- ผู้จัดการชุมชนมีความเช่ือมั่นว่าหากนำเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจะชว่ ยให้มสี ติมี
ความคดิ ก่อนทจ่ี ะทำสิง่ ใดๆ มคี วามรอบคอบในการใชช้ ีวิตไม่ยึดตดิ ในวตั ถนุ ิยม
- ทำให้ชีวิตมีความสุข เน่ืองจากจิตใจสงบไม่ต้องด้ินรนทำอะไรท่ีเกินความพอดี รู้ทันความ
เปล่ียนแปลงของโลก สามารถจัดสรรชีวิตด้านการใช้จ่ายให้รายจ่ายพอดีกับรายรับ มีความมั่นคงด้าน
เศรษฐกจิ ทางการเงิน มเี งนิ ออมในกรณีฉุกเฉนิ
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 145
- เม่ือนำเรื่องภูมิคุ้มกันที่มาประยุกต์ใช้ จะทำให้รู้จักการพึ่งพาตนเอง คิดถึงส่ิงต่างๆ ท่ีอาจจะ
เกิดข้ึนในอนาคต พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใช้ข้อมูลและความรู้ท่ีมี ในการแก้ปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึน
มจี ติ ใจทีเ่ ข้มแข็ง และร่างกายแขง็ แรง
ข้อเสนอแนะ
ในการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือเสริมสร้างการบริหารจัดการงานของผู้จัดการ
ชุมชน บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ พบว่าขอเสนอแนะท่ีควรส่งเสริมในระดับปฏิบัติการ คือ การให้
ความรู้ ปลูกฝังความเข้าใจเร่ืองการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นหลักตามหัวข้อ
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันท่ีดี ภายใต้เง่ือนไขของความรู้และคุณธรรม โดยมีข้อเสนอแนะเชิง
นโยบายให้กับบริษัท เช่น การสอบวัดระดับพนักงาน มีการยกตัวอย่างหรือจำลองสถานการณ์ที่อาจจะ
เกิดขึ้นในโครงการ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าแก้ไข จะทำให้พนักงานเข้าใจ และตระหนักถึง
การใชห้ ลักเศรษฐกจิ พอเพยี งมากข้นึ
แนวทางในการส่งเสริมการนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใชก้ ับพนักงานบริษัท ลุมพินี
พรอพเพอร์ตี้ ได้ในทุกตำแหน่งของบริษัท ไม่ว่าจะเป็น ผู้บริหารระดับสูง เจ้าหน้าท่ีบัญชี ผู้จัดการชุมชน
ฯลฯ เนื่องทุกตำแหน่ง หากมีพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันท่ีดี ภายใต้เง่ือนไขของความรู้และ
คุณธรรมแล้ว จะสามารถรองรับปัญหาต่างๆ ใช้ความรู้ความสามารถในรอบด้าน หาความรู้ใหม่ๆ อย่าง
สม่ำเสมอ เพ่ือก้าวทันในความเปล่ยี นแปลง ซง่ึ จัดเป็นตัวสำคัญที่จะทำให้บรหิ ารโครงการท่ีดูแล สมบูรณ์
และสงบสขุ ได้
รายการอ้างอิง
กระทรวงสาธารณสขุ , กรมสุขภาพจติ . แบบทดสอบดชั นีชว้ี ดั ความสขุ คนไทยฉบบั ส้ัน 15 ขอ้ . สบื คน้ จาก
http://www.dmh.moph.go.th/test/thaihapnew/thi15/thi15.asp.
กันตยา เพ่ิมผล. (2552). การพฒั นาประสทิ ธภิ าพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: บญุ ศิริการพิมพ์.
กำธร พราหมณ์โสภี. สุขภาพกายและจิต. สืบคน้ จาก http://www.snr.ac.th/elearning/
kamtorn/section3. 6.htm.
กลุ่มพฒั นากรอบแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตรข์ องปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง. (2546). ประมวลคำในพระ
บรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช ตัง้ แต่พุทธศักราช 2493-2542
ท่ีเกีย่ วข้องกับปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ.
กลุ วดี ลอ้ มทอง วีระภทั รานนท.์ (2550). การนำหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิต
ศกึ ษากรณี บุคลากรสำนักงานทรัพยส์ ินสว่ นพระมหากษตั ริย์. (ภาคนิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ).
สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์, บัณฑติ วทิ ยาลยั .
146 | สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
เกษม วัฒนชัย. (ตุลาคม 2549-มีนาคม 2550). เศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ.
วารสารผู้ตรวจการแผ่นดนิ ของรฐั สภา, 5(2), 155-156.
จฑุ าทิพ คลา้ ยทับทิม. (2553). บรรษทั ข้ามชาติ : ตัวแสดงทีท้าทายในยุคโลกาภวิ ัฒน.์
วารสารสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
จดุ เริ่มต้นของความอยเู่ ยน็ เป็นสขุ . (มกราคม-มนี าคม 2550). วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 12-17.
ณฐั พงศ์ ทองภักด.ี (2550). ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง: ความเปน็ มาและความหมาย.
วารสารพัฒนบรหิ ารศาสตร์, 47, 3-23.
ตวงพร ศรีชัย. (2550). การศึกษาการนำปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของ
นักเรียนเตรยี มทหาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ ). จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,
คณะครศุ าสตร.์
พระไพศาล วสิ าโล. สุขภาพกบั มติ ทิ างสงั คมและจติ ใจ. สืบคน้ จาก
http://www.visalo.org/article/Healthsuka pabkabMitihtm.
รเิ รอื งรอง รัตนวิไลสกุล. (2557). สุขภาวะทางกาย สังคม และจิตใจของคนในชุมชนประชาอทุ ิศ 76
(ชมุ ชนใต้สะพานโซน 1) แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กรุงเทพฯ. การประชุมวิชาการของ
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, ครงั้ ที่ 53 ระหว่างวนั ที่ 3-6 กุมภาพันธ์ 2558.
รเิ รืองรอง รตั นวิไลสกุ ล. (2554). คุณภาพชวี ิตและปัจจัยท่ีมีผลตอ่ ความพึงพอใจในชวี ติ ของคนไทย
วยั ทำางานในเขตกรงุ เทพมหานคร. วารสารเกษมบณั ฑิต, 12(1), 41-51.
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 147
ปจั จยั ทมี่ ีอิทธพิ ลต่อการจดั การองคค์ วามรู้ของเจนเนอเรชั่น Nexters
ในองคก์ รมหาชนแหง่ หน่งึ
Influential Factors on Knowledge Management of Nexters Generation
in a Public Organization
ไกรวิชญ์ ชุมเสน1 และ ผศ.ดร. นราเขต ย้มิ สขุ 2
Kraiwit Chumsen3 and Asst. Prof. Narakate Yimsook, Ph.D.4
Abstract
“Influential Factors on Knowledge Management of Nexters Generation in a Public
Organization” aims to study factors and models of knowledge management influencing
Nexter employees’ knowledge management in a public organization. The study covers
predictive equations affecting the knowledge management by adopting the survey
research method using questionnaires to collect data from 86 Nexters employees, who
were born between 1977-1992. The statistical tools used to analyse the data in this
research are frequency, percentage, standard deviation, and Stepwise Multiple
Regression Analysis or MRA.
The research shows that full-time Nexter employees rated knowledge
management factors as highly important at an average of 3.93, with the highest mean
being the organizational leadership at x̄ = 4.00. The models of knowledge management
were considered paramount amongst the informants receiving an average score of 3.94,
with the highest mean being the learning model at x̄ = 4.14. The results of Stepwise
Multiple Regression Analysis (MRA) also indicated four forecast variables towards
knowledge management, which are Technology, Strategy, Rewards & Recognition, and
Organizational Culture.
The result of the study suggests that organizational leaders should place an importance
on having strategy and clear implementation plan for knowledge management aiming to
achieve the best practice for organizations. Moreover, encouraging employees in Nexters
generation to be involved in knowledge management leads to a more concrete practice of
knowledge management. In addition, technology and equipment used in organizations
should be up to date to enable knowledge management, responding and supporting
employees’ knowledge sharing and learning. Organizations should also
1 นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโทหลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสังคม คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
2 อาจารย์ประจำคณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
3 Master of Arts Program in Justice Policy, The Faculty of Social Administration, Thammasat University
4 Lecturer, Faculty of social Administration, Thammasat University, Thailand
148 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563
promote/encourage knowledge management using learning styles that incorporate
knowledge management into organizational cultures which all employees collectively
accept and value as a backdrop of their working environment instead of a burden. All
employees should have opportunities to regularly engage in activities related to
knowledge management during which they can share and exchange knowledge.
Keywords: Knowledge management, nexters generation, public organization, knowledge
management models, knowledge management factors
บทคัดยอ่
การศึกษาเร่ือง “ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดการองค์ความรู้ของเจนเนอเรช่ัน Nexters ใน
องคก์ รมหาชนแหง่ หนึ่ง” มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยและรูปแบบการจัดการองค์ความรู้ท่มี ีอิทธิพลต่อ
พนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters รวมทง้ั การทำนายสมการทส่ี ่งผลต่อการจดั การองค์ความรู้ โดย
ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 86 คน ซึง่ เป็น
กลุ่มพนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters (กลุ่มประชากรท่ีเกิดตั้งแต่ ค.ศ. 1977 -1992 หรือ
พ.ศ. 2520 - 2535) ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติท่ีใช้ใน
การวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation) รวมถึงการวิเคราะห์เพื่อศึกษาสมการพยากรณ์ทำนายรูปแบบในการจัดการ
องค์ความรู้โดยใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณแ บบมีขั้นตอน (Stepwise Multiple
Regression Analysis)
ผลการศึกษาพบว่า กลมุ่ ตัวอย่างพนกั งานประจำในเจอเนอเรช่ัน Nexters ในองคก์ รมหาชนแห่ง
น้ี ให้ความสำคัญต่อปจั จัยในการจัดการองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ทีค่ ่าเฉล่ีย 3.93 โดยด้านท่ีมีคา่ เฉล่ีย
สูงท่ีสุด คือ ด้านผู้นำองค์การ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.00) และความสำคัญต่อรูปแบบในการจัดการ
องค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ท่ีค่าเฉลี่ย 3.94 โดยมีรูปแบบที่มีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุด คือ ด้านการเรียนรู้ อยู่ใน
ระดับมาก (ค่าเฉล่ีย 4.14) ส่วนผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ (Stepwise Multiple
Regression Analysis) พบตัวแปรพยากรณ์ท่ีเป็นปัจจัยต่อการจัดการองค์ความรู้ ได้แก่ เทคโนโลยี
กลยุทธ์ การให้รางวลั และการยอมรับ และวัฒนธรรมองค์การ
ผลการศึกษามีขอ้ เสนอแนะว่า ผูน้ ำองค์กรควรให้ความสำคัญต่อกลยุทธ์และการกำหนดแผนเพื่อ
การดำเนินงานท่ีชัดเจนในการจัดการองค์ความรู้ ท่ีจะช่วยให้องค์กรนำไปสู่แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practice) ได้ อีกท้ัง การดงึ การมสี ่วนร่วมจากพนักงานเจนเนเรชั่น Nexters ใหเ้ ข้ามาร่วมมบี ทบาทจะทำ
ให้การจัดการองค์ความรู้เกิดขึ้นได้อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ อุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านเทคโนโลยี
ควรมุ่งเน้นท่ีความทันสมัยเพื่อให้เกิดความพร้อมในการจัดการองค์ความรู้ที่จะสามารถตอบสนองต่อ
การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการเรียนรู้ของพนักงานได้ อีกทั้ง องค์กรควรส่งเสริม/สนับสนุน ให้มี
การจัดการองค์ความรู้ในรูปแบบการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมมองค์กร ท่ีจะนำพาให้พนักงาน
ทุกคนไม่รู้สึกว่าเป็นภาระ หากแต่เป็นวิถีชีวิตในการทำงานประจำของทุกคนท่ีปฏิบัติงานภายใต้องค์กร
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดิการสงั คมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 149
เดียวกัน และพนักงานควรมีพ้ืนท่ีสำหรบั การแบ่งปันและแลกเปล่ียนองค์ความรู้ ภายใต้กิจกรรมต่างๆ ท่ี
เกยี่ วขอ้ งกับการจดั การองคค์ วามรู้ใหเ้ ปน็ กจิ จะลักษณะอย่างสมำ่ เสมอ
คำสำคัญ: การจัดการองค์ความรู้ เจนเนอเรชั่น Nexters องค์กรมหาชน รูปแบบการจัดการองค์ความรู้
ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้
บทนำ
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ทุกประเทศท่ัวโลกกำลังมุ่งสู่กระแสใหม่ของการเปลี่ยนแปลงท่ี
เรียกว่า สังคมความรู้ (Knowledge Society) และระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-Based
Economy) ที่จะต้องให้ความสำคัญต่อการใช้ความรู้และนวัตกรรม (Innovation) (ไพรัช ธัชยพงษ์และ
พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์, 2563) ความรู้จึงจำเป็นต้องมีวิธีในการจัดการองค์ความรู้ต่างๆ เหล่าน้ีให้เป็นระบบ
กลา่ วคือ การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ท่ีเปน็ วิธกี ารหรือกระบวนการท่จี ะช่วยให้
มีการสร้าง รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่และถ่ายโอนแลกเปลี่ยนความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรเพ่ือการนำไปใช้
ประโยชน์ทั้งต่อบุคคลและองค์กร โดยสามารถใชร้ ะบบสารสนเทศเป็นเครอื่ งมือช่วยให้การจัดการความรู้
เกิดได้งา่ ยและสะดวกขึน้ อันจะสง่ ผลให้การปฏิบตั งิ านของคนในองค์กรมีคุณภาพและประสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึ้น
(วิจารณ์ พานิช, 2548) ด้วยเหตุนี้แนวคิดเร่ืองการจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) ใน
ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาใช้ในการจัดการความรู้ในองค์กรให้มี
ประสิทธภิ าพมากย่งิ ขึ้น กอ่ ให้เกิดการแบ่งปันและถ่ายโอนความรู้ท่ีสะดวกรวดเร็ว เขา้ ถึงได้งา่ ย ความรู้ที่
มีอยู่ในองค์กรก็จะแพร่กระจายและไหลเวียนได้อย่างสมดุล เพื่อเพิ่มความสามารถในการพัฒนาผลผลิต
ในองค์กรต่อไป และในอนาคตการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างพลิกผัน หรือที่เรียกว่า Disruptive
Technology จะเขา้ มามีบทบาทสำคญั ในการจดั การองคค์ วามรู้มากข้ึนจากปัจจุบันอย่างแน่นอน
ในส่วนของการปฏิบัติงานในองค์กรต่างๆ ในปัจจุบันน้ัน จะมีบุคลากรในองค์กรเป็นแรงขับ
เคล่ือนท่ีสำคัญเพ่ือให้องค์กรบรรลุจุดมุ่งหมายและความสำเร็จที่ต้ังไว้ โดยแต่ละองค์กรล้วนมีบุคลากรท่ี
ต่างช่วงวัยกันในหลายเจนเนอเรชั่น ซ่ึงในการทำงานก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยน ตามยุคสมัยที่มี
การเปลี่ยนแปลงไป การทยอยเกษียณออกไปจากองค์กรของพนักงานรุ่นก่อนหน้า เกิดข้ึนพร้อมกับ
การก้าวเข้ามาของพนักงานรุ่นใหม่ท่ีเรียกว่า “เจเนอเรช่ัน Nexters” คือ คนรุ่นนี้เกิดมาพร้อมกับ
เครื่องอำนวยความสะดวกทุกอย่างจนมีความรู้สึกว่าเทคโนโลยีเป็นเร่ืองธ รรมชาติที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
ทำให้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสูง เซ็มเก้ และคณะ (Zemke et al., 2000, อ้างถึงใน ทัศนี
ศรีกิตติศักดิ์, 2554, น. 13-17) หรอื “เจเนอเรช่ันวาย (Generation Y)” พนักงานกลุ่มน้ีมีแนวโน้มที่จะ
เพิ่มจำนวนมากขึ้นเร่ือยๆ และก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้บริหารองค์กรในอนาคต เจนเนอเรชั่นวายเกิดในยุคท่ีมี
ความเจริญก้าวหน้าทางสังคมจึงมีลักษณะแตกต่างไปจากคนรุ่นก่อนหน้า เช่น ความเชื่อค่านิยม ทัศนคติ
เปน็ ต้น (ธรรมรตั น์ อยู่พรต, 2556, อา้ งถึงใน ศทุ ธกานต์ มิตรกลู และ อนันต์ชัย คงจนั ทร์, 2559, น. 53)
และองค์กรต่างๆ จำเป็นต้องมีกระบวนการที่เป็นระบบในการค้นหา สร้าง รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่
ถ่ายทอด แบ่งปัน และใช้ความรู้ โดยความรู้น้ันไม่ว่าจะเป็นความรู้ซ่อนเร้น (Tacit Knowledge) หรือ
150 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ในรูปแบบเอกสาร ซึ่งความรู้ดังกล่าวเหล่าน้ีจะเป็นส่วนสำคัญที่
ช่วยใหเ้ กดิ การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เพ่ือให้องค์กรสามารถสร้างความไดเ้ ปรียบทางการแข่งขนั ต่อไปได้
ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษาตัวอย่างขององค์กรมหาชนแห่งหน่ึง พบว่า โดยส่วนมากการปฏิบัติงาน
ของแต่ละฝ่ายในองค์กรจะแยกกันค่อนข้างชัดเจน มีการบูรณาการในการทำงานร่วมกันและการแบ่งปัน
ข้อมูลระหว่างกันค่อนข้างจำกัด บทบาทและหน้าท่ีของฝ่ายงานบางส่วนในองค์กรมีความซ้ำซ้อนกัน
ทำให้เกิดความสับสนและขาดความชัดเจน และผู้วิจัยมองว่า ปัญหาเหล่านี้หากเมื่อมีการเปลี่ยนผ่านของ
วัยแรงงานที่เป็นการทยอยเกษียณออกไปจากองค์กรของพนักงานรุ่นก่อนหน้าตามท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้น
แล้วน้ัน จะทำให้องค์กรขาดจุดศูนย์กลางในรวบรวมการแบ่งปันองค์ความรู้และข้อมูลต่างๆ โดยเฉพาะ
องค์ความรู้จากการดำเนินงานในโครงการที่สำคัญ รวมไปถึงวัฒนธรรมในการแบ่งปันองค์ความรู้ของคน
ในสำนักงาน ซ่ึงจะทำให้ทักษะที่เกิดจากประสบการณ์ในการทำงานรวมถึงความรู้และข้อมูลต่างๆ ที่มี
ความสำคัญเหล่าน้ัน เกิดการกระจุกตัวอยู่ที่ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึง หรือคนๆ เดียว ไม่เกิดการถ่ายทอดและ
การแบ่งปัน ฉะนั้น ส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นกับพนักงานในช่วงวัยเจนเนอเรช่ันเอ็กซ์ (Generation X) และ
เจนเนอเรชั่นวาย (Generation Y) หรือเจนเนอเรช่ัน Nexters ต่อไป ก็คือ องค์ความรู้ต่างๆ จาก
ผู้เช่ียวชาญที่ได้ลาออกหรือเกษียณอายุราชการออกไปจากหน่วยงานน้ัน จะไม่สามารถนำความรู้ ความ
เชี่ยวชาญ และทักษะต่างๆ ที่สำคัญที่เขาได้รับจากประสบการณ์ในทำงานทั้งทางตรงและทางอ้อมที่มีอยู่
ในตัวบุคคลนั้นมาถ่ายทอดให้แก่บุคลากรกลุ่มใหม่หรือผู้ท่ีจะมาดำรงตำแหน่งแทนที่ได้อย่างแน่นอนท่ีสุด
ซ่ึงการถอดองค์ความรู้จากผู้เช่ียวชาญในเรื่องต่างๆ จึงมีความสำคัญอีกประการหน่ึง ท่ีจะทำให้องค์กรมี
การขับเคลื่อนต่อไปข้างหน้าได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน และช่วยให้ประสิทธิภาพใน
การปฏิบตั ขิ องสำนกั งานมีการพัฒนาและตอ่ ยอดในอนาคตตอ่ ไปไดอ้ ย่างแน่นอนท่ีสดุ
ดังนั้น หากองค์กรมหาชนแห่งนี้ มีการจัดการความรู้ท่ีดีและพึงประสงค์ในองค์กรแล้วนั้น
ย่อมจะเป็นพ้ืนฐานที่สำคัญต่อผลสำเร็จขององค์กร ท่ีสามารถช่วยสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายตาม
วิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ โดยใช้ความรู้เป็นฐานในการปฏิบัติงาน และส่งผลให้การปฏิบัติงานภายในมี
ประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น รวมทั้งองค์กรก็จะสามารถบรรลุเป้าหมายด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE)
จากการเรียนรู้ด้วยวิธีการใหม่ๆ ให้ดีกว่าเดิม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางความคิด การบูรณาการใน
การทำงานร่วมกัน ที่จะส่งเสรมิ ให้เกิดการพฒั นาและต่อยอดไปในทิศทางทดี่ ีขนึ้ ฉะน้ัน บริบทขององคก์ ร
รวมถึงบุคลากรจะสามารถพัฒนาประสิทธิภาพของตนเองและองค์กรได้ด้วยวิธีง่ายๆ หน่ึงในนั้นก็คือ
การจัดการความรู้ภายในองคก์ รนั้นเอง เราจงึ ควรมีการจัดการความรู้เหล่านี้ เพ่ือปอ้ งกันความเส่ยี งที่อาจ
เกิดข้นึ ภายในองค์กร การจัดการองคค์ วามรู้ (Knowledge management) จึงเป็นกระบวนการทจ่ี ะชว่ ย
ให้เกิดพัฒนาการของความรู้ และเป็นการรักษาความรู้ไว้ไม่ให้สูญหายไปจากองค์กรได้ในท่ีสุด นอกจาก
ความรู้ท่ีเป็นแบบแผนท่ีชัดเจนแล้ว ความรู้ความชำนาญของบุคคลในองค์กรก็ถือเป็นทรัพยากรความรู้
เช่นกัน กระบวนการจัดการความรู้ จึงเป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการพัฒนาการดำเนินงานของทุกองค์กรให้อยู่
ในรปู แบบมาตรฐาน เพื่อใหม้ ีความเขา้ ใจตรงกนั สามารถท่ีจะถา่ ยทอดไดแ้ ละท่สี ำคัญต้องมคี วามนา่ เช่ือได้
(สรุ โิ ย กณั หา, 2558, น. 1)
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 151
วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
1. เพื่อศึกษาปัจจัยการจัดการองค์ความรู้ท่ีมีอิทธิพลต่อพนักงานเจนเนอเรชั่น Nexters ใน
องคก์ รมหาชนแหง่ หนงึ่
2. เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการองค์ความรู้ท่ีมีอิทธิพลต่อพนักงานเจนเนอเรช่ัน Nexters ใน
องค์กรมหาชนแหง่ หน่งึ
3. เพื่อสร้างสมการทำนายปัจจัยทีส่งผลต่อการจัดการองค์ความรู้ท่ีสามารถทำนายตัวแปร
การจัดการองคค์ วามรขู้ องพนักงานเจอเนอเรชนั่ Nexters ในองคก์ รมหาชนแห่งหน่ึง
วิธีการและเคร่อื งมือในการศึกษา
การศึกษาในคร้ังนี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้
เป็นพนักงานประจำในองค์กรมหาชนแห่งหนึ่งที่มาจาก 3 สายงาน ได้แก่ สายงานธุรกิจ สายงานบริหาร
และสายงานพัฒนาและนวัตกรรม จำนวน 138 คน โดยทำการเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งจากเกณฑ์ของพนักงาน
ประจำในเจนเนอเรช่ัน Nexters ได้จำนวนทั้งส้ิน 86 คน นอกจากนั้น มีการเก็บรวมรวมข้อมูลจาก
แบบสอบถาม (Questionnaire) จำนวน 86 ชุด และถูกนำมาตรวจสอบเพื่อให้คะแนนและประมวลผล
โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ซึ่งสถิติที่ผู้วิจัยนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล มีดังนี้ 1) การวิเคราะห์
ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ระดับการศึกษา ลักษณะงานท่ีทำและประสบการณ์ใน
การทำงานของผู้ท่ีตอบแบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ท่ีจะนำข้อมูลท่ี
ได้มาอธิบายและวิเคราะห์หาค่าสถิติ ประกอบด้วยการแจกแจงค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ
(Percentage) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2) การวิเคราะห์เพ่ือศึกษาสมการ
พยากรณ์ทำนายการจัดการองค์ความรู้โดยมีตัวแปรต้นเป็นปัจจัยทีส่งผลต่อการจัดการองค์ความรู้ว่ามี
ตัวแปรใดและด้านใดบ้างที่สามารถทำนายตัวแปรตาม คือ รูปแบบของการจัดการองค์ความรู้ โดยใช้
การวิเคราะหส์ มการถดถอยแบบพหุคณู แบบมขี ัน้ ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis)
ผลการศึกษา
ผลการศึกษาจากข้อมูลทั่วไป พบว่า กลุ่มตัวอย่างพนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters ใน
องค์กรมหาชนแห่งหนึ่ง จำนวน 86 คน มีระดับการศึกษาโดยส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
ร้อยละ 64 ลักษณะงานที่ทำส่วนใหญ่อยู่ในสายงานบริหาร ร้อยละ 46.5 และมีประสบการณ์ใน
การทำงานของ 1-5 ปี รอ้ ยละ 54.7
สำหรับผลการศึกษาในเร่ืองปัจจัยและรูปแบบท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดการองค์ความรู้น้ัน ผู้ศึกษา
ขอนำเสนอผลการศกึ ษา ดังนี้
ปจั จยั ท่ีมีอทิ ธิพลตอ่ การจัดการองคค์ วามรู้
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอยา่ งพนกั งานประจำในเจอเนอเรช่ัน Nexters ในองคก์ รมหาชนแห่ง
หน่ึง ให้ความสำคัญต่อปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ท่ีค่าเฉล่ีย 3.93 โดยด้านที่มี
คา่ เฉลีย่ สงู ทสี่ ุด คือ ดา้ นผู้นำองคก์ าร อย่ใู นระดับมาก (ค่าเฉล่ียสงู ท่ีสุด 4.00)
152 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
รองลงมา คือ ด้านเทคโนโลยีและด้านการให้รางวัลและการยอมรับ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย
3.95) ลำดับถัดมา คือ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ ด้านวัฒนธรรมองค์การ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย
3.93) ด้านการวัดและการประเมินผลอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลยี่ 3.90) และลำดับสุดท้าย คือ ดา้ นกลยุทธ์
อยู่ในระดับมากเชน่ กนั (คา่ เฉลีย่ 3.80)
รปู แบบท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การจัดการองคค์ วามรู้
ผลการศึกษาพบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งพนักงานประจำในเจอเนอเรช่ัน Nexters ในองค์กรมหาชนแห่ง
หนึ่ง ให้ความสำคัญต่อรูปแบบในการจดั การองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ท่ีค่าเฉลี่ย 3.94 โดยรูปแบบที่มี
ค่าเฉล่ยี สูงท่สี ดุ คือ ด้านการเรยี นรู้ อยใู่ นระดับมาก (คา่ เฉลย่ี สุงทสี่ ุด 4.14)
รองลงมา คือ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (ค่าเฉล่ีย 4.02) ลำดับถัดมา คือ ด้าน
การประมวลและการกลั่นกรองความรู้และด้านการเข้าถึงองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย 3.98
เท่าๆ กนั ) ด้านการสร้างและการแสวงหาความรู้ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย 3.90) ด้านการจัดการความรู้
ให้เป็นระบบ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.87) และลำดับสุดท้าย คือ ด้านการค้นหาความรู้ อยู่ในระดับ
มากเชน่ กัน (ค่าเฉล่ยี 3.68)
ผลการวิเคราะห์การสร้างสมการทำนายปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ที่ส่งผลต่อรูปแบบ
ของการจัดการองคค์ วามรู้
ค่าของตัวแปรท่ีสามารถร่วมทำนายปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้อย่างน้อย 1 ปัจจัย สามารถ
ทำนายตัวแปรตามคือรูปแบบในการจัดการองค์ความรู้มีท้ังหมด 4 ตัวแปร ได้แก่ คอื ปัจจัยในการจัดการ
องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านกลยุทธ์ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้
ด้านการให้รางวัลและการยอมรับ และปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมองค์การ โดยได้ผล
ของสมการถดถอยพหุคูณแบบขน้ั ตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ดังสมการ ต่อไปน้ี
รูปแบบในการจัดการองค์ความรู้ = .349 + .288 (ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี)
+ 213 (ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านกลยุทธ์) +.233 (ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านการให้
รางวลั และการยอมรบั ) +.178 (ปัจจยั ในการจดั การองค์ความรดู้ า้ นวัฒนธรรมองคก์ าร)
หากยกตัวอย่างจากการประเมินพนักงานคนหน่ึง จะพบว่า เม่ือค่าคงท่ีเท่ากับ .349 และถ้า
พนักงานหน่ึงคนได้คะแนนจากแบบสอบถามปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี = 3.94
คะแนน ด้านกลยุทธ์ = 3.80 คะแนน ด้านการให้รางวัลและการยอมรับ = 3.95 และด้านวัฒนธรรม
องค์การ = 3.92 คะแนน เราสามารถทำนายคะแนนรูปแบบในการจัดการองค์ความรู้ได้ โดยแทนค่า
คะแนนท้ัง 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้
ด้านกลยุทธ์ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านการให้รางวัลและการยอมรับ และปัจจัยในการจัดการ
องค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมองค์การ ดังน้ัน จากผลของสมการทำนายปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ที่
สง่ ผลต่อรูปแบบของการจัดการองค์ความรู้ พบว่า ผทู้ ่ีมีคะแนนหนึง่ คนต่อปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้
ด้านเทคโนโลยีเท่ากับ 1.135 คะแนน ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านกลยุทธ์เท่ากับ .809 คะแนน
ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านการให้รางวัลและการยอมรับ .920 คะแนน และปัจจัยในการจัดการ
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 153
องคค์ วามรดู้ ้านวัฒนธรรมองค์การเท่ากับ .698 คะแนน เม่ือนำคะแนนทั้งหมดมารวมกันแล้วเราสามารถ
ทำนายคะแนนรูปแบบของการจัดการองค์ความรู้ได้เท่ากับ 3.91 คะแนน ซ่ึงจะเห็นว่าพนักงานหน่ึงคนนี้
มีรูปแบบของการจัดการองคค์ วามรู้อยู่ในระดับใหค้ วามสำคัญสงู
การอภปิ รายผลการศึกษา
ผลการศึกษาเรื่อง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการองค์ความรู้ของเจนเนอเรชั่น Nexters ใน
องค์กรมหาชนแหง่ หน่งึ ” สามารถอภปิ รายผลการวจิ ยั ได้ดงั น้ี
ปัจจัยท่ีมอี ิทธพิ ลต่อตอ่ การจัดการองค์ความรู้
จากการวเิ คราะห์ผลการประมวลค่าเฉล่ียระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างพนักงานประจำใน
เจนเนอเรชั่น Nexters ต่อปัจจัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ การจัดการองค์ความรู้ พบว่า ปัจจัยท่มี ีคา่ เฉลีย่ สูงที่สุดเม่ือ
เปรียบเทียบกบั ทกุ ๆ ด้านแล้ว คอื ดา้ นผู้นำองคก์ าร ท่ีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.00 แสดงให้เห็นว่า ผู้นำองค์กรมี
การนำองคค์ วามรู้ต่างๆ ทไ่ี ด้รับมาสอื่ สารและผลักดนั ให้มีการจัดการองค์ความรู้เพ่อื พฒั นาตอ่ ยอดและได้
ตระหนักถึงการจัดการองคค์ วามรู้เพื่อให้เกิดการผลักดันให้พนักงานเกิดการพัฒนาความรู้ ความสามารถ
และประสบความสำเร็จในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อิทธิกร
ตานะโก (2558, น. 84-85) ได้ศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษา
กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จากการศึกษาพบว่า ผู้บริหารแต่ละหน่วยงานตระหนักให้
ความสำคัญต่อการจัดการความรู้พร้อมท้ังให้การสนับสนุนทรัพยากรทางการบริหารต่างๆ ทั้งการบริหาร
โครงการและแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ ตลอดจนการเรียนรู้เน้นการให้ความรู้ทั้งรูปแบบท่ีเป็นทาง
การและไม่เป็นทางการ รูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นทางการรูปแบบหลัก ได้แก่ ผู้บริหารแต่ละหน่วยงานมี
การจัดการฝึกอบรมเรื่องแนวคิดและเคร่ืองมือของการจัดการความรู้ และการแลกเปล่ียนการจัดการ
ความรู้ขององคก์ ารทป่ี ระสบความสำเร็จมาแล้วตลอดจนการเรียนรู้ด้วยการเย่ยี มชม เป็นต้น สว่ นรูปแบบ
การเรียนรู้ที่ไม่เป็นทางการ ได้แก่ การเปิดโอกาสและกระตุ้นใหบ้ ุคลากรแตล่ ะหน่วยงานเข้าร่วมกิจกรรม
ต่างๆ ทุกคร้ังทั้งภายในและภายนอกองค์การอย่างเต็มที่ โดยแจ้งให้บุคลากรและเจ้าหน้าท่ีทุกคนทราบ
ทั่วกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้บริหารแต่ละหน่วยงานในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีการสนับสนุน
กระบวนการจัดการความรู้อย่างเต็มท่ี โดยมีข้อสงั เกตจากแต่ละหน่วยงาน ผู้บริหารนำประสบการณ์ทาง
วิชาชีพและความรคู้ วามเชีย่ วชาญมาปรบั ใชก้ ับการจัดการความรใู้ นหน่วยงานนน้ั อย่างเตม็ ท่ี แสดงให้เห็น
ว่า ผู้นำองค์กรได้มีการผลักดันให้มีการจัดการองค์ความรู้อยู่ในแผนงานขององคก์ ร ทั้งท่ีเป็นการถา่ ยทอด
องคค์ วามรู้ รวมไปถึงการแบ่งปนั องค์ความรู้ตา่ งๆ ขององค์กรด้วย
รูปแบบทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ การจัดการองค์ความรู้
จากผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างพนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters
ต่อรูปแบบที่มีอิทธิพลต่อการจัดการองค์ความรู้ พบว่า รูปแบบท่ีมีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุดเมื่อเปรียบเทียบกับ
ทุกๆ ด้านแล้ว คือ ด้านการเรียนรู้ (Learning) คา่ เฉลยี่ เท่ากับ 4.14 และหากพจิ ารณาเป็นรายข้อคำถาม
ซึง่ คา่ เฉล่ยี สงู ท่ีสดุ คือ รปู แบบด้านการเรยี นรู้ เชน่ เดียวกัน ที่คา่ เฉล่ีย 4.33 ในขอ้ คำถามท่ีเก่ยี วกับการนำ
154 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
องค์ความรู้ทม่ี จี ากประสบการณ์ มาใชป้ ระกอบการตดั สินใจสนบั สนนุ ในการแก้ไขปัญหาในการทำงานอยู่
เป็นประจำ แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติงานของพนักงานประจำในเจนเนอเรช่ัน Nexters ในองค์กร
มหาชนแห่งน้ี ประสบการณ์ในการทำงานที่มากขึ้นย่อมจะสามารถช่วยให้การทำงานประสบผลสำเร็จ
มากข้ึนตามมาหรือช่วยตัดสินใจท่ีเกี่ยวข้องกับงานต่างๆ ได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพมากข้ึนตามกันไป
ได้เช่นเดยี วกนั โดยผลการวิจัยน้ีมีความสอดคล้องกับงานวิจัยของ David Guile (2001, p. 12) ไดศ้ ึกษา
Learning Through Work Experience จากการศึกษาพบว่า 'รูปแบบการเช่ือมต่อ (connective
model)' ของประสบการณ์ในการทำงานอาจเป็นพ้ืนฐานสำหรับความสัมพันธ์ท่ีมีประสิทธิผลและ
มปี ระโยชน์มากขนึ้ ระหวา่ งการเรียนรู้ที่เป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ เน่ืองจากประสบการณ์การทำงาน
สามารถช่วยให้นักเรียนพิจารณาการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนภายในและระหว่างความแตกต่างอย่างชัดเจน
ระหว่างบรบิ ทของการศึกษาและการทำงาน และสอดคลอ้ งกับแนวคดิ ของ Stankosky (2000, อ้างถึงใน
Ahmed Z. ALHussain, 2012, น. 25-26) ได้กล่าวว่า สี่เสาหลักของการจัดการองค์ความรู้ถูก
เปรียบเสมือน DNA สำหรบั การจัดการองค์ความรู้ และดา้ นการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีจะทำให้องค์กร
ดำเนินตอ่ ไปได้ เพื่อท่ีจะสามารถพฒั นาความร้ขู องพนกั งานผา่ นการทำงานและการแบง่ ปันความรรู้ ่วมกัน
ได้ต่อไป แสดงให้เห็นว่า การที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ในการทำงาน
มากข้ึนเท่าไร ย่อมสามารถทำให้พวกเขาเหล่าน้ันได้รับประโยชน์สูงสุดและนำไปต่อยอดต่อการพัฒนา
องคค์ วามรูเ้ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในงานมากขึ้นเท่านัน้
ตวั แปรพยากรณ์ท่ีเป็นปจั จัยในการจดั การองค์ความรู้
ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ (Stepwise Multiple Regression Analysis) พบ
ตัวแปรพยากรณ์ท่ีเป็นปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ ได้แก่ เทคโนโลยี กลยุทธ์ การให้รางวัลและ
การยอมรบั และวัฒนธรรมองคก์ าร โดยสามารถอภปิ รายได้ ดังน้ี
1. ปัจจัยด้านเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดการจัดการองค์ความรู้ ท่ีซึ่งจะนำไปเป็นเครื่องมือท่ีสามารถ
ช่วยให้องค์กรดำเนินงานด้านการจัดการองค์ความรู้ได้อย่างแน่นอน เช่น อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต
เว็บบอร์ด ฯลฯ เป็นต้น ซ่ึงสิ่งเหล่านี้จะทำให้การจัดการองค์ความรู้และแลกเปล่ียนความรู้สะดวกและ
รวดเรว็ ต่อการปฏิบัติงานในด้านต่างๆ เชน่ การดึงข้อมูลเพื่อใช้ให้การวิเคราะห์ การจดั เกบ็ ข้อมลู ทงี่ า่ ยต่อ
การเข้าถึง ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งเป็นส่ิงที่สามารถทำให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพได้อย่างสูงสุด อีกท้ัง
กลุ่มพนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters มีคุณลักษณะการให้ความสำคัญกับ Social Network
มีประสทิ ธิภาพในการใช้เทคโนโลยี (นราเขต ยิ้มสุข, 2556) เปน็ กลุม่ บุคคลท่ีเกดิ ในยคุ แห่งเทคโนโลยแี ละ
นวตั กรรมใหม่ๆ มีเทคโนโลยีเป็นสว่ นหนึ่งของชีวิตของกลุ่มเจนเนอเรชั่นน้ีไม่ว่าจะเปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์
และอินเทอร์เน็ตหรือโทรศัพท์มือถอื จะเห็นได้ว่าเจนเนอเรชั่นน้ีมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการส่ือสารโทรคมนาคมที่คล่องตัว การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ได้ตลอดเวลา
การเดินทางท่ีรวดเร็วด้วยพาหนะที่ทันสมัย ความสะดวกในชีวิตประจำวันจากเครื่องมืออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย ซึ่งแน่นอนว่ากลุ่มเจนเนอเรช่ันนี้กำลังเผชิญอยู่กับ
ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างพลิกผัน (Disruptive Technology) คือ การพัฒนาทาง
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 155
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ท่ีมีศักยภาพที่ดีขึ้น (Christensen, 1997, อ้างถึงใน ศรีบวร เอี่ยมวัฒน์,
2561, น. 10) รวมไปถึงพัฒนาในด้านการช่วยอำนวยความสะดวกและยกระดับคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งข้ึน
จนการพัฒนานั้นสามารถเข้ามาทดแทนหรือเปลยี่ นแปลงมาตรฐานในเทคโนโลยีเดิมได้ ดังน้ัน ปจั จัยดา้ น
เทคโนโลยีจึงสามารถทำนายพยากรณ์ได้ว่าจะเป็นปจั จัยที่จะก่อให้เกิดการจดั การองค์ความรู้ในองค์กรได้
คอ่ นข้างชดั เจนต่อกลุม่ พนักงานประจำในเจนเนอเรชนั่ Nexters
2. ปัจจัยด้านกลยุทธ์ส่งผลให้เกิดการจัดการองค์ความรู้ท่ีเหมาะสมต่อกลุ่มเจนเนอเรชั่น
Nexters ได้ดีอีกปัจจัยหนึ่ง ซึ่งควรจะเป็นแผนการดำเนินงาน ภารกิจและเป้าหมายท่ีองค์กรจะต้องมี
ทิศทางที่ชัดเจนในการจัดการองค์ความรู้หรือการแบ่งปันความรู้เพ่ือให้สามารถคิดค้นและจัดการกับ
ทรัพยากรด้านความรู้ในองค์กรเพ่ือให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันต่อไปได้ สอดคล้องกับ
ลักษณะการทำงานท่ีเก่ียวกับเทคโนโลยี และการติดต่อส่ือสาร อีกท้ัง ปัจจัยด้านกลยุทธ์จะส่งผลให้เกิด
การจัดการองค์ความรู้ในกลุ่มเจนเนอเรชั่น Nexters ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อองค์กรได้น้ัน โดย
ต้องเข้าใจว่า กลุ่มน้ีพฤติกรรมการทำงานที่มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีมมากกว่าการทำงานเด่ียว วิถีชีวิต
ค่อนข้างหลากหลาย ปรับตัวเก่งและมีความคิดริเร่ิม กล้าคิด กล้าแสดงออก ไม่ชอบอยู่ในกรอบ และ
ไม่ชอบเงื่อนไข คนกลุ่มน้ีต้องการความชดั เจนในการทำงาน โดยตอ้ งการทราบว่างานท่ีทำนนั้ มีประโยชน์
ต่อตนเองและผู้อื่นอย่างไร ดังนั้น การที่จะทำให้การจัดการองค์ความรู้ให้ประสบผลสำเร็จต่อองค์กรได้
ปจั จัยด้านกลยุทธ์จากการทำนายพยากรณ์จะต้องมีบทบาทท่ีสอดคล้องกันกับพฤติกรรมและค่านิยมของ
กลมุ่ เจนเนอเรชั่น Nexters ดว้ ยเชน่ เดียวกนั
3. ปัจจัยด้านการให้รางวัลและการยอมรับส่งผลให้เกิดการจัดการองค์ความรู้ได้ เน่ืองจากเป็น
การสร้างแรงจูงใจ และพฤติกรรมในการแบ่งปัน รวมท้ังการแลกเปล่ียนองค์ความรู้ได้อย่างเปิดเผย
ที่พร้อมต่อยอดในการพัฒนาการจัดการองค์ความรู้ในองค์กรต่อไปได้ นอกจากน้ัน ผลตอบแทนใน
การทำงานก็เป็นปัจจัยหน่ึงของคนกลุ่มนี้เพ่ือสร้างเป็นแรงผลักดันในการทำงานต่อไป เช่น การทำงาน
หนักต้องมาพร้อมกับผลตอบแทนท่ีตนพอใจ (นริศา สุระวิญญู, 2559, น. 11-12) ต้องการเงินเดือนสูง
และเลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็ว (นราเขต ย้ิมสุข, 2556) ดังน้นั ปัจจัยในการจดั การองค์ความร้ดู ้านการให้
รางวัลและการยอมรับที่ได้ทำนายพยากรณ์ไว้ จึงเป็นส่วนสำคัญที่จะต้องนำมาปรับใช้ในองค์กร
เพอ่ื บรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
4. ปจั จัยด้านวัฒนธรรมองคก์ ารสง่ ผลให้เกดิ การจดั การองค์ความรู้ในกลุ่มเจนเนอเรชนั่ Nexters
ได้เพราะวัฒนธรรมองค์การเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลต่อการเรียนรู้องค์การและการจัดการความรู้ โดย
วัฒนธรรมท่ีเหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดเสรีภาพความไว้วางใจและทำงานร่วมกัน
ดังนั้น องค์กรจึงต้องสร้างวัฒนธรรมเพื่อเอ้ือต่อการจัดการความรู้ โดยเปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลภายในองค์กรซึ่งกันและกัน ไม่กีดกันหรือแบ่งเพศในการแบ่งบทบาทหน้าท่ีในการทำงาน รวมถึง
ควรทราบส่ิงทค่ี นรุ่นนี้ต้องการคือ ความเป็นอิสระในการทำงานที่เป็นปัจจัยในการเสริมการเรยี นรู้เพ่ือให้
บุคลากรหรอื พนกั งานในองค์กรเกดิ การพัฒนาและต่อยอดต่อไปไดใ้ นอนาคต ดังนนั้ ปจั จยั ดา้ นวัฒนธรรม
องค์การท่ีได้ทำนายพยากรณ์ไว้น้ี ก็เป็นอีกหน่ึงปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการจัดการองค์ความรู้เป็นอย่าง
156 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
มากทจี่ ะชว่ ยใหก้ ลุ่มเจนเนอเรช่ัน Nexters และเจนเนอเรชัน่ อนื่ ๆ ในองค์กรเข้าใจและรับทราบตรงกนั ถึง
ความสำคญั ของกระบวนการในการจัดการองคค์ วามรใู้ นองค์กร
สรุป
กลุ่มตัวอย่างพนักงานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters ในองค์กรมหาชนแห่งหน่ึง จำนวน 86
คน มีระดับการศึกษาโดยส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 64
ลกั ษณะงานท่ีทำ สว่ นใหญ่อยู่ในสายงานบริหาร จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 46.5 และมีประสบการณ์
ในการทำงานของ 1-5 ปี จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 54.7 นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างพนักงานประจำ
ยังให้ความสำคัญตอ่ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ท่ีคา่ เฉล่ยี 3.93 โดยดา้ นที่มีคา่ เฉล่ีย
สูงที่สุด คือ ด้านผู้นำองค์การของพนักงาน อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ียสูงที่สุด 4.00) รองลงมาคือ ด้าน
เทคโนโลยีและด้านการให้รางวัลและการยอมรับ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.95) ลำดับถัดมา คือ ด้าน
วัฒนธรรมองค์การ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.93) ต่อมา คือ ด้านการวัดและการประเมินผล อยู่ใน
ระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.90) และลำดับสุดท้าย คือ ด้านกลยุทธ์ อยู่ในระดับมากเช่นกัน (ค่าเฉล่ีย 3.80 )
ส่วนความสำคัญต่อรูปแบบของการจัดการองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก ที่ค่าเฉล่ีย 3.94 โดยรูปแบบที่มี
คา่ เฉล่ยี สูงที่สดุ คือ ด้านการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มาก (ค่าเฉล่ียสุงทส่ี ุด 4.14) รองลงมาคอื ด้านการแบ่งปัน
แลกเปล่ียนความรู้ (ค่าเฉลี่ย 4.02) ลำดับถัดมา คือ ด้านการประมวลและการกล่ันกรองความรู้และด้าน
การเข้าถึงองค์ความรู้ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉล่ีย 3.98 เท่าๆ กัน) ด้านการสร้างและการแสวงหาความรู้
อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.90) ด้านการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.87)
และลำดบั สุดท้าย คือ ดา้ นการค้นหาความรู้ อยูใ่ นระดับมากเชน่ กัน (คา่ เฉลี่ย 3.68)
และค่าของตัวแปรที่สามารถร่วมทำนายปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้อย่างน้อย 1 ปัจจัย จาก
รูปแบบในการจัดการองค์ความรู้ที่มีท้ังหมด 4 ตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้าน
เทคโนโลยี ด้านกลยุทธ์ ด้านการให้รางวัลและการยอมรับ และด้านวัฒนธรรมองค์การ ซ่ึงสอดคล้องกับ
ผลการวเิ คราะห์ระดับความคิดเหน็ ของพนกั งานประจำในเจนเนอเรชั่น Nexters ต่อปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อ
การจัดการองค์ความรู้รวม 3 ปัจจัย โดยอันดับที่มีค่าเฉลี่ยสูงเป็นอันดับท่ี 2 อันดับที่ 3 และ อันดับท่ี 4
คือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยีและด้านการให้รางวัลและการยอมรับ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.95) และ
ด้านวัฒนธรรมองค์การ อยูใ่ นระดับมากเชน่ กนั (ค่าเฉล่ยี 3.93)
ส่วนผลของสมการทำนายปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ที่ส่งผลต่อรูปแบบของการจัดการ
องค์ความรู้ พบว่า ผู้ที่มีคะแนนหน่ึงคนต่อปัจจัยในการจัดการองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีเท่ากับ 1.135
คะแนน ปัจจัยด้านกลยุทธ์เท่ากับ .809 คะแนน ปัจจัยด้านการให้รางวัลและการยอมรับ .920 คะแนน
และปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การเท่ากับ .698 คะแนน เม่ือนำคะแนนท้ังหมดมารวมกันแล้วจะสามารถ
ทำนายคะแนนรูปแบบของการจัดการองค์ความรู้ได้เท่ากับ 3.91 คะแนน จะเห็นได้วา่ พนักงานหนึ่งคนนี้
มรี ูปแบบของการจดั การองค์ความรู้ทใ่ี ห้ความสำคัญในระดบั สูง
สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 157
ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะต่อองคก์ ร
1. ผู้นำองค์กรควรให้ความสำคญั ตอ่ กลยุทธข์ ององค์กรซ่ึงเป็นปัจจัยสำคญั ท่จี ะทำเกดิ การจดั การ
องค์ความรู้ในองค์กรได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากข้ึน ดังน้ัน การดึงการมีส่วนร่วมจาก
พนักงานเจนเนเรชั่น Nexters ให้เข้ามาร่วมมีบทบาทในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน จะทำให้
การจดั การองค์ความรูเ้ กิดขน้ึ ไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม
2. ควรกำหนดมแี ผนเพื่อการดำเนินงานท่ีชดั เจนในการจัดการองค์ความรู้ให้มากขึ้นจากเดิม เพื่อ
ช่วยให้องค์กรขับเคลื่อนไปข้างหน้าในการจัดการองค์ความรู้และนำไปสู่แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best
Practice) ได้ รวมท้ังจะทำให้องค์กรขับเคล่ือนไปสู่เป้าหมายท่ีกำหนดไว้ต่อผลลัพธ์ในการดำเนินการท่ี
เปน็ เลศิ สร้างความยงั่ ยืนใหก้ บั องค์กรตอ่ ไปได้ในอนาคต
3. การจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ ทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งควรมุ่งเน้นที่ความทันสมัยเพ่ือให้เกิด
ความพร้อมในการจัดการองค์ความรู้ สามารถตอบสนองและสนับสนุนต่อการแลกเปลี่ยนองค์ความรูแ้ ละ
การเรียนรู้ของพนักงานได้ โดยมองว่าองค์กรมหาชนแห่งน้ีเป็นการทำงานที่เก่ียวข้องกับอุตสาหรกรรม
ไมซ์ ซึ่งเป็นองค์กรเชิงธุรกิจจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศทางธุรกิจหรือ Business ecosystem
ที่จะต้องทำงานร่วมกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการพัฒนาในด้านต่างๆ เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆ จึงควร
จะต้องมีความพร้อมในด้านนี้พอสมควร เพราะต้องอาศัยเทคโนโลยีดิจิทัลในการพัฒนาและส่งเสริม
เพื่อให้สามารถเปน็ ผนู้ ำด้านเทคโนโลยีในประเทศไทยและเทยี บเคยี งกับนานาชาตติ ่อไปได้
4. ควรส่งเสริม/สนับสนุน ให้มีการจัดการองค์ความรู้ในรูปแบบการเรยี นรู้ โดยมีการดำเนินงาน
ให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่พนักงานทุกคนไม่รู้สึกว่าเปน็ ภาระ หากแต่เป็นวิถีชีวติในการทำงานประจำ
ของทุกคนที่ปฏิบตั ิงานภายใต้องคก์ รเดียวกนั
5. พนักงานควรมีพ้ืนท่ีสำหรับการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ภายใต้กิจกรรมต่างๆ ท่ี
เกี่ยวข้องกับการจัดการองค์ความรู้ เช่น การมีเวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Forum)
ท่ีเป็นกจิ จะลกั ษณะอยา่ งสมำ่ เสมอ เพอ่ื เป็นเวทใี หบ้ คุ ลากรในองคก์ รมโี อกาสพบปะพูดคุยกนั เป็นต้น
ข้อเสนอแนะสำหรับการวจิ ยั ครงั้ ต่อไป
1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบประสบการณ์ในการทำงานของแต่ละเจนเนเรชน่ั ต่อการจัดการ
องค์ความรู้หรือรูปแบบในการจัดการองค์ความรู้ เพราะเช่ือมั่นว่าคนแต่ละเจนเนอเรชั่นจะมี
ความตอ้ งการ/ความเหมาะสม ตอ่ การจดั การองค์ความรทู้ ีแ่ ตกตา่ งกันออกไป
2. เปรียบเทียบกลยุทธ์ขององค์กรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการองค์ความรู้ เช่น เปรียบเทียบ
กลยุทธ์ในการจัดการองค์ความรู้ระหว่างองค์กรเอกชนและองค์กรภาครัฐ หรือ องค์กรภาคธุรกิจที่มี
ลกั ษณะทใี่ กล้เคยี งกัน เป็นตน้
158 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
รายการอา้ งอิง
ทศั นี ศรีกิตติศกั ด.์ิ (2554). เจนเนอเรช่นั ในองค์กร บุคลกิ ภาพห้าองคป์ ระกอบ และปัจจัยจงู ใจใน
การทำงาน: กรณศี ึกษาพนักงานบรษิ ทั ประกันภัยแหง่ หน่งึ . (งานวิจยั ส่วนบคุ คลปรญิ ญา
มหาบณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะศลิ ปศาสตร,์ ภาควิชาจติ วิทยา,
สาขาวิชาจติ วิทยาอุตหกรรมและองค์การ.
ศทุ ธกานต์ มิตรกูล และ อนนั ต์ชยั คงจนั ทร์. (มกราคม–มิถุนายน 2559). เจเนอเรชนั วายในองค์กร:
การศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหว่างความสอดคลอ้ งของคา่ นิยมกบั ความผูกพันต่อองค์กร.
วารสารวิทยาการจัดการ, 33(1), 51-75.
นราเขต ยิม้ สุข. (มิถนุ ายน 2556). เรยี นร้แู รงงานต่าง Generation. เอกสารประกอบการสอนวิชา พร.
601 แรงงานศึกษา. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์,
โครงการพเิ ศษหลกั สูตรพัฒนาแรงงานและสวสั ดกิ ารมหาบัณฑติ .
นริศา สุระวญิ ญู. (2559). ปจั จยั ทีม่ ีผลต่อความพงึ พอใจในการปฏิบตั งิ านของผจู้ ัดการตรวจสอบบัญชี
Gen Y ในสำนักงานสอบบญั ชขี นาดใหญ่ 4 แห่ง. (การคน้ ควา้ อิสระปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณชิ ยศาสตร์และการบัญชี, สาขาวชิ าการจัดการเชงิ กลยุทธ.์
ไพรชั ธชั ยพงษ์ และ พเิ ชษ ดุรงคเวโรจน์. ((พฤษภาคม 2563 23. หลักสตู ร กิจกรรม 5 ส. เพอ่ื เพม่ิ
ผลผลติ และปรับปรงุ งาน. สืบค้นจาก https://www.safesiri.com/5s-activities-to-
productivity-up/
วจิ ารณ์ พานชิ . (23 พฤษภาคม 2563). การจดั การความรู้ (ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ ). สืบค้นจาก
http://www.thaiall.com/km/indexo.html
ศรีบวร เอีย่ มวัฒน์. (2561). แนวโน้มของ Disruptive Technology และความเปน็ ไปได้ของรปู แบบ
ธรุ กจิ ในอนาคตของเครื่องถ่ายเอกสารในประเทศไทย. (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ).
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, วิทยาลัยนวัตกรรม, สาขาวชิ าการบรหิ ารเทคโนโลย.ี
สุริโย กัณหา. (2558). การจัดการความรเู้ พอ่ื การพฒั นาผลติ ภัณฑ:์ กรณีศึกษาโรงงานผู้ผลิตเคร่อื งจกั ร
อตุ สาหกรรมอาหาร. (การค้นคว้าอสิ ระปริญญามหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะวิศวกรรมศาสตร์, ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, สาขาวชิ าการพฒั นางานอุตสาหกรรม.
อิทธิกร ตานะโก. (2558). การศึกษาปจั จัยที่สง่ ผลต่อการจดั การความรูใ้ นสถาบันอุดมศึกษา กรณีศกึ ษา:
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. (การค้นควา้ อสิ ระปรญิ ญามหาบณั ฑิต).มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะรฐั ศาสตร์, สาขาบรหิ ารรัฐกจิ .
David, Guile. (2002). Learning Through Work Experience. Berlin: Germany Research Gate.
Ahmed, Z. ALHussain. (2012). Barriers to Knowledge Management in Saudi Arabia.
Michigan: ProQuest LLC.
สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 159
การจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมเพื่อสรา้ งความเข้มแข็ง
ของชมุ ชนตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี
Self-Management of the Multiculturalism Community to Strengthen
of Saikhao Subdistrict, Khokpho District, Pattani Province
จิราภา แดงดษิ ฐ์เครี1 และ อ.ดร. กาญจนา รอดแก้ว2
Jirapa Dangditkeree3 and Kanchana Roadkaew, Ph.D.4
Abstract
The objective of this research aimed to study the process and mechanism of self
management for strengthening of the multicultural community. This research used a
qualitative research whereby data are collected through the methods of interviews,
observation and focus group discussion. In addition, secondary data are collected from
documents and other relevant research works. Findings from the research show that the
self management process of Sai Khao Sub-district consists of 1) adjustment of the
concept on the community work, 2) learning and knowledge exchange, 3) establishment
of rules and regulations, and 4) collaboration in activities. Mechanisms that facilitate the
self management of the community are 1) community leaders such as the leader of the
sub-district, village heads and wisemen of the villages; 2) community members who are
regarded as key forces for driving community works; and 3) networks such as
Community Development Office of Pattani Province, Songkhla Rajabhat University, Yala
Rajabhat University and Area Development for Sustainable Tourism Organization. The
community of Sai Khao Sub-district has the principles for coherence, namely,
1) mutual respect, 2) acceptance of difference, and 3) mutual assistance. Meanwhile,
the crucial principles for strengthening the community include 1) community love
relationships, 2) participation, and 3) building of confidence in capabilities.
Keywords: Multicultural community, self management, community strengthening
บทคัดยอ่
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษากระบวนการและกลไกการจัดการตนเองของชุมชนพหุ
วัฒนธรรม หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชน และหลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
1 นกั ศกึ ษาปริญญาโทหลกั สูตรพัฒนาชมุ ชนมหาบัณฑติ คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
2 อาจารย์ประจำคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
3 Master of Science Program in Community Development, Faculty of Social Administration, Thammasat University
4 Lecturer, the Faculty of Social Administration, Thammasat University, Thailand
160 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครัง้ ที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563
เก็บรวบรวมข้อมลู โดยวิธกี ารสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ การสนทนากลุ่ม และการเก็บข้อมลู เชงิ ทุตยิ ภูมิ
จากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การจัดการตนเองของชุมชนตำบลทรายขาวมี
กระบวนการสำคัญ ได้แก่ 1) การปรับแนวคิดชุมชน 2) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3) การตั้งกฎ กติกา และ
4) การร่วมมือทำกิจกรรม มีกลไกที่เอ้ือต่อการจัดการตนเองของชุมชน ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้นำ ได้แก่
กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และปราชญ์ชาวบ้าน 2) สมาชิกในชุมชน ถือเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อน
การทำงานชุมชน และ 3) เครือข่าย ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปัตตานี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สงขลา ราชภัฏยะลา และองค์การบริหารการพัฒนาพื้นท่ีเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน ชุมชนตำบล
ทรายขาวเป็นชุมชนสองวิถีที่มีหลักการอยู่ร่วมกัน ได้แก่ 1) การเคารพให้เกียรติ 2) การยอมรับใน
ความแตกต่าง และ 3) การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน หลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง ได้แก่ 1) รักและ
หวงแหนชมุ ชน 2) การมีส่วนร่วม และ 3) สร้างความมั่นใจในศักยภาพ
คำสำคัญ: ชมุ ชนพหวุ ฒั นธรรม, การจดั การตนเอง, สรา้ งชุมชนเขม้ แข็ง
บทนำ
ในประเทศไทยมีผู้คนหลายเช้ือชาติ หลายวัฒนธรรม อาศัยอยู่ร่วมกันเป็นพหุวัฒนธรรม มี
การอยู่รวมกันเป็นหนึ่งเดียว มีความชอบที่เหมือนกัน แต่ในความเป็นจริงมีความขัดแย้งกันในเรื่องของ
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็นต้นตอของความขัดแย้งไม่เฉพาะความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนในภาคใต้
เทา่ น้ัน ซึ่งเปน็ ปญั หาท่ีภาคอื่นๆ ก็พบเจออยู่ด้วยเช่นกนั (ประเวศ วะสี, 2552, น. 14) การจัดการตนเอง
จงึ เปน็ อีกวธิ ีหน่ึงที่ทางชุมชนใชใ้ นการจัดการกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในชุมชน โดยเรมิ่ จากตวั ชุมชน
ใชค้ วามสามารถของสมาชกิ ในชุมชนเป็นฐานในการรเิ รมิ่ จัดการกับปัญหา จัดความสัมพนั ธก์ ับสิง่ ตา่ งๆ ท่ี
เกิดขึ้นภายในชมุ ชน (สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล, 2557, น. 111-114) อาทิเช่น
การจัดการคนในสงั คมพหุวัฒนธรรมให้อยู่ร่วมกันไดอ้ ย่างสงบสุขนั้น มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาชุมชน
เป็นอย่างมาก คือ การช่วยกันดูแลสมาชิกในชุมชนให้อยู่ร่วมกันได้อย่างมีสงบสุข สร้างความเป็นธรรม
ด้วยการประสานให้สมาชิกทำหน้าที่ของตนเองได้อย่างลงตัว กระตุ้นให้เกิดการคิดที่สร้างสรรค์ รวมทั้ง
สร้างจิตสำนึกให้ร่วมกันอนุรักษ์และรักษาวัฒนธรรมของตนเองให้คงอยู่ต่อไป โดยการจัดการต้องอยู่
บนพื้นฐานของความเป็นอิสระ ท้ังทางด้านความคิด การแสดงออก และองค์ความรู้ท่ีถูกถ่ายทอดออกมา
ในรูปแบบของประสบการณ์หรือภูมิปัญญาท้องถ่ิน เมื่อสมาชิกในชุมชนได้เรียนรู้ร่วมกันก่อให้เกิด
การร่วมมือกันแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนภายในชุมชนด้วยตนเอง หากเกิดปัญหาขึ้นภายในชุมชนสมาชิกใน
ชุมชนจะตระหนักถึงปัญหาที่พวกเขากำลังประสบอยู่ โดยจะมีความเชื่อว่าหากร่วมมือกันหา
แนวทางแก้ไขผ่านกระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยพลังความสามัคคี
และสามารถพ่งึ ตนเองได้กลายเป็นชุมชนท่ีมคี วามเข้มแข็ง (อานนั ท์ กาญจนพันธ์, 2556, น. 62)
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี เป็นอีกหนึ่งชุมชนท่ีมีการดำเนินชีวิตแบบวิถี
พหุวัฒนธรรม มีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความเชื่อ ภาษา วัฒนธรรม และศาสนา สมาชิกในชุมชน
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 58.6 และศาสนาพุทธ ร้อยละ 41.4 มีการสร้างความผูกพันของ
สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสงั คมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 161
คนทรายขาวให้มีมาต้ังแต่คร้ังในอดีต เม่ือมีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับทางศาสนา คนทั้งสองศาสนา
ก็จะมาร่วมงานซ่ึงกันและกัน แสดงให้เห็นถึงการไม่แบ่งแยกศาสนา ในตำบลทรายขาวมีความงามทาง
วฒั นธรรม เป็นความสวยงามของสถานที่ท่องเท่ียว อาทิเช่น วัดทรายขาว สร้างขึน้ ปี พ.ศ. 2300 เป็นวัด
ท่ีมีความสวยงามเป็นอย่างมาก ภายในวัดมีพระอุโบสถทรงกลมยอดแหลม ประดับตกแต่งด้วย
ความละเอียดอ่อน มีความบรรจงเป็นศิลปะท่ีงดงาม มีเจดีย์พระครูธรรมกิจโกศล (ท่านอาจารย์นอง
ธมฺมภูโต) อดีตเจ้าอาวาส เป็นพระที่มากด้วยบารมี เป่ียมไปด้วยพรหมวิหารธรรม มีมัสยิดนัจมุดดีน
(บาโงยลางา) ท่ีถูกออกแบบโดย เจา้ อาวาสวัดทรายขาว มสั ยดิ มคี วามโดดเด่นในเรอ่ื งโครงสรา้ งของมสั ยิด
ที่ไม่ใช้ตะปูแต่ใช้ไม้เป็นสลักยึด “มัสยิดบาโงยลางา” จึงถือเป็นมัสยิดร่วมสมัย ลักษณะคล้ายกับศาลา
การเปรียญและเป็นสถาปัตยกรรม ในบริเวณมัสยิดยังมีบ่อน้ำโบราณ เป็นบ่อน้ำท่ีน้ำไม่เคยแห้งไม่ว่าจะ
ฤดูกาลใดๆ สามารถใช้เลี้ยงชีพคนในตำบลได้ ยังคงมีน้ำอยู่ตลอดท้ังปี กลองหรือที่เรียกว่ากันว่า
“นางญา” ใช้ในการตีเตือนภัยเมื่อมเี หตุร้ายและบอกเวลาละหมาด จุดเด่นของกลองอยู่ที่ล้ินทำจากไม้ไผ่
ซ่ึงอยู่ภายในตัวกลอง เมื่อมีคนมาตีกลองไม้ไผ่เหล่านี้จะสั่น ทำให้เกิดเสียงที่มีความไพเราะและดังก้อง
กังวานไกลไปมากกว่า 3 กิโลเมตร วิถีชีวิตของคนในพ้ืนที่มีความพิเศษกว่าชุมชนอ่ืนๆ พ้ืนที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ เป็นพื้นท่ีท่ีมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของคนสองกลุ่มระหว่างชาวไทยพุทธและ
ชาวไทยมสุ ลมิ มาอย่างยาวนานกว่า 300 ปี โดยมีทุนทางสังคมที่เป็นแหล่งโบราณสถาน คือ วัดและมสั ยิด
ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมความสัมพันธ์ของชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมใน
บริเวณใกลเ้ คยี ง ตำบลทรายขาวถอื เป็นชุมชนเขม้ แข็ง คือ สมาชิกในชุมชนมีความสามัคคี มีความซ่อื สัตย์
ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีการรวมกลุ่มองค์กรในชุมชน มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็น มีอาชีพสามารถ
เล้ียงตัวเองได้ มีความรักใคร่ปรองดองกัน อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา และมีสุขภาพที่แข็งแรง สมาชิกใน
ชุมชนสามารถร่วมกนั แก้ไขปัญหาภายในชุมชนได้ดว้ ยการมีส่วนรว่ ม มกี ารรวมกลมุ่ กันระหวา่ งกลมุ่ คนท้ัง
สองศาสนาในการดำเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมส่งเสริมกลุ่มอาชีพแปรรูปอาหาร
จิตอาสาพัฒนาหมู่บ้าน กีฬาต้านยาเสพติด และกิจกรรมทางด้านศาสนา สามารถดำเนินกิจกรรมได้โดย
ไม่เกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความรุนแรงข้ึนภายในชุมชนทำให้ผู้ศึกษาเกิดความสนใจจึงได้ทำการเลือก
พื้นทน่ี ้เี ป็นพนื้ ท่ีในการศกึ ษา
ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่า ผศู้ ึกษามีความสนใจที่จะศึกษาประเดน็ การจัดการตนเอง
ของชุมชนพหุวฒั นธรรมเพอื่ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวดั ปัตตานี
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและกลไกการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรม หลักการ
อยู่ร่วมกันในชุมชน และหลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือนำเสนอบทเรียนรู้ชุมชนเข้มแข็งของตำบล
ทรายขาวท่ีทำให้ชาวไทยพุทธและชาวไทยมุสลิมเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาและจัดการชุมชนด้วย
ตนเอง ทำให้มีการดำเนนิ ชีวิตเป็นไปอย่างสงบสุข เกิดความรัก ความสามคั คี ความผูกพนั ธ์และอยู่รว่ มกัน
ไดอ้ ย่างสงบสุขภายในชมุ ชน ผ่านคำถามการวิจยั เพ่ือถอดบทเรียนรู้ชมุ ชนเข้มแข็งของตำบลทรายขาวที่มี
การจัดการตนเองท่ีดีดังโจทย์วิจัยต่อไปน้ี ชุมชนพหุวัฒนธรรม ตำบลทรายขาว มีกระบวนการจัดการ
ตนเองอย่างไร มีกลไกท่ีเอื้อต่อการจัดการในมิติใดบ้าง มีหลักการอยู่ร่วมกันอย่างไร และมีหลักการสร้าง
162 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
ชุมชนเข้มแข็งอย่างไร ผลการศึกษาครั้งน้ีทำให้ได้รูปแบบการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมเพ่ือ
สร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสามารถนำไปเป็นกรณีศึกษาสำหรับชุมชนอ่ืนๆ ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน
ตอ่ ไปได้
วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษากระบวนการและกลไกการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมของชุมชนตำบล
ทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
2. เพื่อศึกษาหลักการอยู่ร่วมกันในชุมชนพหุวัฒนธรรมของตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ
จังหวัดปัตตานี
3. เพื่อศึกษาหลักการสร้างชุมชนเข้มแข็งของชุมชนตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัด
ปัตตานี
แนวคดิ และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับการจดั การตนเอง มนี ักวิชาการและนักวิจัยทำการศึกษาไว้อย่างหลากหลาย
อาทิเช่น การจัดการตนเองของเครือข่ายสวัสดิการชุมชน (ชนินทร์ วะสีนนท์, 2549) และการจัดการ
ตนเองของการฟื้นฟูชุมชนชน (สุวิมล มีแสง, 2554) พบว่า ประเด็นที่ค้นพบจากงานวิจัยกระบวนการ
จัดการตนเองชุมชนและกลไกการจัดการตนเองชุมชน มีความสอดคล้องกับนักวิชาการหลายท่านที่
กล่าวไว้ โกวิทย์ พวงงาม (2553) ซ่ึงผู้ศึกษาสามารถสรุปกระบวนการจัดการตนเองชุมชนเพ่ือนำมาเป็น
กรอบในการศึกษาได้ดังน้ี ดังนี้ 1) การปรับแนวคิดชุมชน 2) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3) การต้ังกฎ กติกา
และ 4) การร่วมมือทำกิจกรรม นอกจากน้ีงานวิจัยในประเด็นการจัดการตนเองของชุมชน ทำให้ผู้ศึกษา
เข้าใจบทบาทในการขบั เคลอ่ื นงานพร้อมทั้งการสนับสนุนให้ชุมชนเกิดการจัดการตนเองมากย่ิงขึ้น ดังน้ัน
เม่ือผู้ศึกษานำมาสังเคราะห์ประเด็นกลไกที่เอ้ือต่อการจัดการตนเองมีความสอดคล้องกับนักวิชาการท่ีได้
อธิบายถึงกลไกที่เอ้ือต่อการจัดการตนเองไว้ผู้ศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้มาพัฒนาเป็นกรอบใน
การศึกษาดังนี้ 1) กลุม่ ผู้นำภายในชุมชน (ผู้นำทางการและผู้นำไม่เป็นทางการ) 2) สมาชิกในชุมชน และ
3) เครือขา่ ย
2. แนวคิดเก่ียวกับการพัฒนาชุมชน มีนักวิชาการได้อธิบายหลักการพัฒนาชุมชนไว้อย่าง
หลากหลาย อาทิเช่น กรมการพัฒนาชุมชน (2563) ได้กล่าวไว้ว่า หลักการพัฒนาชุมชนที่แท้จริง คือ
หลักประชาชน 1) เริ่มต้นท่ีประชาชน มองปัญหาจากทัศนะของประชาชนเพื่อให้เข้าใจปัญหาและ
ความต้องการของประชาชน 2) ทำงานร่วมกับประชาชน ทำให้ประชาชนมีกำลังใจ เข้าใจปัญหาของ
ตนเองและร่วมกันช่วยแก้ไขปัญหา 3) ยึดประชาชนเป็นหลัก โดยให้เร่ิมพัฒนาแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
ซึ่งผู้ศึกษาไดน้ ำมาสงั เคราะหเ์ ป็นกรอบในการเขียนอธิบายเพิ่มเตมิ ในผลการศึกษา
3. แนวคิดเก่ียวกับพหุวัฒนธรรม มีนักวิชาการและนักวิจัยทำการศึกษาไว้อย่างหลากหลาย
อาทิเช่น การอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย (ยุทธนา นรเชฏโจ และ จุฑารัตน์
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดิการสงั คมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 163
ทองอนิ จันทร์, 2560) และวิถีพหุวฒั นธรรมของชุมชนวัดขันเงินตามหลกั พุทธสนั ตวิ ิธี (พระโกวิท พลญาโน
และคณะ, 2561) พบว่า ประเด็นท่ีค้นพบจากงานวิจัยหลักการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม มีความ
สอดคล้องกับนักวิชาการหลายท่านที่กล่าวไว้ ชนากานต์ โสจะยะพันธ์ (2562) ซึ่งผู้ศึกษาสามารถสรุป
หลักการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมเพื่อนำมาเป็นกรอบในการศึกษาได้ดังนี้ 1) การเคารพให้เกยี รติ
2) การยอมรับในความแตกตา่ ง และ 3) การช่วยเหลือซงึ่ กนั และกัน
4. แนวคิดเก่ียวกับความเข้มแข็งของชุมชน มีนักวิชาการและนักวิจัยทำการศึกษาไว้อย่าง
หลากหลาย อาทิเช่น ชุมชนเข้มแข็งในทัศนะของชาวชุมชน (วุฒิชัย สายบุญจวง, 2561) และชุมชน
เขม้ แขง็ (สาวิณี รอดสิน, 2554) พบว่า ประเด็นท่ีคน้ พบจากงานวจิ ัยหลักการสร้างชุมชนเขม้ แขง็ มคี วาม
สอดคล้องกับนักวิชาการหลายท่านที่กล่าวไว้ สุรพล พยอมแย้ม (2556) ซึ่งผู้ศึกษาสามารถสรุปหลักการ
สร้างชุมชนเข้มแข็งเพ่ือนำมาเป็นกรอบในการศึกษาได้ดังนี้ 1) รักและหวงแหนชุมชน 2) การมีส่วนร่วม
และ 3) สร้างความมน่ั ใจในศักยภาพ
วธิ กี ารและเคร่ืองมือในการศึกษา
การศึกษาคร้ังน้ีใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ท่ีเน้นการพรรณนาและ
วเิ คราะห์ เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาสามารถจำแนกรายละเอยี ดได้ ดังต่อไปนี้
1. การวิจัยเอกสาร (Documentary research) ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเอกสารต่างๆ ท่ี
เก่ียวข้อง เช่น หนังสือ บทความ งานวิจัย วารสารงานวิชาการ และวิทยานิพนธ์ที่เก่ียวข้อง ตลอดจน
ฐานข้อมลู อิเลก็ ทรอนิกสท์ เี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การตนเอง
2. การสังเกต (Observation) โดยใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation)
เข้าไปร่วมในเหตุการณ์จริง เช่น เข้าร่วมในกิจกรรมการประชุมของคณะกรรมการชุมชน ที่จัดข้ึนเพื่อ
สรุปผลการทำงานภายในชุมชน รวมถึงการร่วมแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยน ความคิด ประสบการณ์
เป็นต้น และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Nonparticipant Observation) ทำการสังเกตโดยไม่เข้าไปมี
ส่วนร่วมในสภาวการณ์จริง แต่จะเป็นการสังเกตลักษณะทั่วไปของตำบลทรายขาว เช่น การสงั เกตการณ์
วิถคี วามเปน็ อยู่ กลุ่มอาชีพ ประเพณีวฒั นธรรม เปน็ ตน้
3. การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นเคร่ืองมือหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ซ่ึงวิธีการ
นจี้ ะชว่ ยใหไ้ ด้ข้อมลู ทเี่ น้นรายละเอียดข้อเท็จจริงจากกลุ่มเป้าหมาย ในประเด็นกระบวนการจัดการตนเอง
และกลไกที่เอื้อต่อการจัดการตนเองของชุมชน หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชน และหลักการสร้างชุมชน
เข้มแขง็
4. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) รวบรวมข้อมูลจากการพูดคุยกับกลุ่มผู้ให้
ข้อมูลในประเด็นกระบวนการจัดการตนเองและกลไกที่เอ้ือต่อการจัดการตนเองของชุมชน หลักการ
อยู่รว่ มกนั ในชุมชน และหลกั การสร้างชุมชนเขม้ แขง็ อย่างเฉพาะเจาะจง
5. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis) วิเคราะห์เนื้อหาตามประเด็น (Content analysis) โดยการ
วเิ คราะห์คำหลักรว่ มกับการเชื่อมโยงแนวคดิ ทฤษฎีท่เี ก่ียวข้องจากการทบทวนวรรณกรรม และทำการจัด
164 | สมั มนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้ังที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563
กลุ่มข้อมูล โดยอ้างอิงคำพูดของผู้มีส่วนร่วมในการวิจัยและเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลจนได้ชุด
ขอ้ มูลทสี่ ามารถนำเสนอเป็นข้อเท็จจริง เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ข้อมูล
สามารถจัดกลุ่มข้อมูลได้ 3 กลุ่มหลัก คือ 1) ข้อมูลการจัดการตนเองของชุมชน 2) ข้อมูลหลักการอยู่
ร่วมกันในชุมชน และ 3) ข้อมูลหลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง นำเสนอผลการศึกษาในรูปแบบการเขียน
เชิงพรรณนา โดยอยูใ่ นขอบเขตของแนวความคดิ และวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาท่ีต้ังไว้
ขอบเขตดา้ นพนื้ ทใ่ี นการศกึ ษา
หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่ในการศึกษา ผู้ศึกษาเลือกพื้นท่ีตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ
จังหวัดปัตตานี เนื่องจากเป็นชุมชนที่มีความโดดเด่นหลายด้าน และเป็นพื้นท่ีท่ีแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ
ของสมาชิกในชุมชนในการร่วมมือกันจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรม ซึ่งมีรายละเอียด ดังต่อไปน้ี
1) ด้านธรรมชาติ เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ในด้านคุณภาพของดินเหมาะแก่การเพาะปลูก พ้ืนที่
โดยรอบปกคลุมไปด้วยป่าดิบช้ืนที่แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก ตำบลทรายขาว
มีแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติท่ีสำคัญ ได้แก่ จุดชมวิวเขารังเกียบอุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาวเป็น
ป่าดิบชื้นท่ีอุดมไปด้วยพรรณไม้หลากหลายชนิด และยังเป็นป่าต้นน้ำลำธารท่ีสำคัญของจังหวัดปัตตานี
ประชาชนในพ้ืนที่ได้นำน้ำไปใช้เพ่ือการเกษตร อุปโภคและบริโภคร่วมกันอย่างคุ้มค่า 2) ด้าน
ประวัติศาสตร์ ตำบลทรายขาวเป็นแหล่งรวมศาสนสถานท่ีสำคัญ ได้แก่ มัสยิดนัจมุดดิน หรือที่เรียกกัน
อีกช่ือว่า “มสั ยิดบาโงยลางา” เปน็ ศาสนสถานท่ีมีการกอ่ สร้างแบบผสมผสานระหวา่ งสถาปัตยกรรมแบบ
ไทยและมุสลมิ ทำให้สถานท่ีแห่งนี้มคี ล้ายกบั ศาลาการเปรียญของไทย มีอายุประมาณ 300 ปี มสั ยดิ แห่ง
นมี้ ปี ระวัติความเป็นมาตั้งแต่สมยั สงครามระหว่างปาตานีดารุสสลามกบั ราชอาณาจักรกรุงศรอี ยุธยา และ
วัดทรายขาวเป็นวัดท่ีอยู่คู่กับชุมชนมามากกว่า 200 ปี ภายในวัดมีอุโบสถทรงกลมยอดแหลมประดับ
ตกแต่งอย่างสวยงาม มีเรื่องราวเก่ียวกับประวัติศาสตร์เล่าสู่กันมาจากรุ่นสู่รุ่น แสดงให้เห็นถึงศักยภาพ
ของชุมชนท่ีสามารถดำรงรักษาและอนุรักษณ์ศาสนสถานเหล่าน้ีให้คงอยู่ 3) ด้านภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรม ตำบลทรายขาวเป็นชุมชนสองวัฒนธรรมระหว่างชาวไทยพุทธและไทยมุสลิม ชุมชนแห่งน้ี
ยังเป็น 1 ใน 12 ชุมชนตน้ แบบในพ้ืนที่สามจงั หวดั สมาชิกในชมุ ชนยังคงอนุรกั ษ์ประเพณขี องพ้ืนถิ่นปักษ์
ใตไ้ ว้หลากหลาย เช่น ประเพณีชกั พระ กวนอาซูรอ งานอาหารโบราณ ความเช่ือทางพุทธศาสนา เป็นต้น
สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนหน่ึงในการดึงคนท้ังสองศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการชุมชน สมาชิกในชุมชน
ตำบลทรายขาวอยู่แบบพึ่งพาอาศัยกัน มีความสัมพันธ์ท่ีดี ทำให้ชุมชนแห่งน้ีเป็นชุมชนท่ีมีความโดดเด่น
ในเรื่องวิถีชุมชนสองวัฒนธรรม 4) ด้านประชากร สมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาว มีผู้นำท่ีมีศักยภาพ
มีความรู้และประสบการณ์ทำงาน ทำให้เหน็ ศักยภาพทีม่ ีอยูใ่ นตวั บุคคล ซ่ึงเปน็ ความสามารถเฉพาะทางที่
แต่ละคนใช้เป็นแนวทางในการจัดการชุมชนร่วมกัน 5) ด้านความปลอดภัย พ้ืนที่ตำบลทรายเป็นหน่ึงใน
พื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ไม่มีการก่อเหตุร้าย เนื่องจากชุมชนมีการจัดเวรยามเฝ้าระวัง
ทั้งกลางวันและกลางคืน สร้างจุดตรวจการเข้าออกภายในชุมชน และให้ทุกคนช่วยกนั เป็นหเู ปน็ ตาสังเกต
คนแปลกหน้าท่ีเข้ามาในชุมชน เป็นอีกหน่ึงวิธีท่ีทางชุมชนใช้เพื่อเฝ้าระวังการก่อเหตุร้าย 6) ด้าน
ผลิตภัณฑ์สินค้าโอทอป (OTOP) ประกอบไปด้วย กล้วยเส้นปรุงรสที่มีความแปลกใหม่และทันสมัย
สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดิการสังคมระดับชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 165
ตอบโจทย์ความต้องการในทุกกลุ่มวัย มีทั้งหมด 5 รส มีทั้งรสหวานงาดำ รสต้มยำ รสปาปริก้า รสสมุนไพร
และรสด้ังเดิม ส้มแขกแช่อ่ิมอบแห้ง มีรสชาติหวานอมเปรี้ยว เป็นการถนอมอาหารให้อยู่ได้นานและ
เพ่ิมมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ ผ้าทอลายจวนตานีซึ่งเป็นผ้าพ้ืนเมืองสมัยโบราณของชาวปัตตานีที่มีมา
แต่ดั้งเดิม ตัวผ้าใช้เส้นไหมเส้นเล็กท่ีมีความละเอียดเป็นไหมท่ีคุณภาพสูง มีสีสันและลวดลายท่ีสวยงาม
ในปัจจุบันผ้าจวนตานียังได้รับเคร่ืองหมายรับรองผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย “นกยูงพระราชทาน” ซึ่งถือเป็น
ความภาคภูมิใจของชาวตำบลทรายขาว และ 7) ด้านผลผลิตทางการเกษตร (ทุเรียนทรายขาว)
พันธ์ุหมอนทอง เป็นทุเรยี นเปลือกบาง เนื้อแห้ง สีทองผิวสวยเรยี บเนียน มีรสชาติที่หวานกลมกล่อมและ
มีแป้งน้อย ทุเรียนทรายขาวเป็นทุเรียนท่ีมีคุณภาพติดอันดับ 1 ใน 5 ของทุเรียนที่มีความอร่อยท่ีสุดของ
ประเทศ ทุเรียนทรายขาวจึงเป็นท่ตี ้องการของตลาดทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ
ขอบเขตดา้ นผใู้ ห้ข้อมูลหลกั
การศึกษาในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาจากเอกสาร (Documentary
research) ประกอบด้วยแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการตนเองและกลไกท่ีเอื้อต่อ
การจัดการตนเองของชุมชน หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชน หลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง การสัมภาษณ์
(Interview) และการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) จากประชากร 3 กลุ่มหลัก ท่ีได้จากการ
คัดเลือกผู้ที่มีประสบการณ์ตรงในการขับเคลื่อนงานชุมชนร่วมกับหน่วยงาน ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้นำ
จำนวน 10 คน ได้แก่ คณะกรรมการชมุ ชน ผู้นำทางศาสนา และปราชญ์ชาวบา้ น 2) กลุ่มผ้ทู ี่เกี่ยวข้องใน
ชุมชนตำบลทรายขาว จำนวน 5 คน ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และกลุ่มอาสาสมัคร
ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน และ 3) ภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง จำนวน 5 คน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชน
จังหวัดปัตตานี มหาวิทยาลัย (สงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี, ราชภัฏยะลา, ราชภัฏสงขลา) และ
องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนที่พิเศษเพื่อการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน (องค์การมหาชน) อพท. ร่วมกับ
การสังเกต โดยใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant observation) และการสังเกตแบบไม่มี
สว่ นร่วม (Nonparticipant observation)
ผลการศึกษา
1. การจัดการตนเองของชุมชนตำบลทรายขาว จากการศึกษากระบวนการจัดการตนเองและ
กลไกท่ีเอ้ือต่อการจัดการชุมชนตำบลทรายขาว พบว่า ชุมชนมีกระบวนการจัดการตนเองเริ่มจากสมาชิก
ในชุมชน5ประสบกับปัญหาด้านเศรษฐกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาตกต่ำจึงเกิดการรวมตัวของ
กลุ่มคนท่ีประสบกับปัญหาเดียวกัน โดยการร่วมกันคิดหาวิธีแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนเกิดการเรียนรู้ การมี
สว่ นร่วมของกลุ่มผู้นำภายในชุมชน สมาชิกในชุมชน และเครอื ขา่ ยทีเ่ ป็นกลไกสำคัญทำให้เกิดการจัดการ
ทีเ่ ปน็ ระบบ ซง่ึ สามารถอธิบายรายละเอียดไดด้ ังนี้
5 สมาชกิ ในชุมชน ไดแ้ ก่ เด็กตงั้ แตช่ ั้นประถมข้ึนไปทสี่ ามารถทำกจิ กรรมร่วมกบั ชุมชนได้ เยาวชน คนกลมุ่ วัยทำงาน และผสู้ งู อายุทีอ่ าศัยอยู่
ในชุมชน
166 | สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
กระบวนการจัดการตนเองของชมุ ชน
1) การปรับแนวคิดชุมชน เป็นอีกหน่ึงกระบวนการที่ทางชุมชนตำบลทรายขาวใช้เป็นตัว
ช่วยในการจัดการกับชุมชน โดยมีข้ันตอน 4 ขั้นตอน ดังน้ี (1) หน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน
ท้ังทางด้านงบประมาณ เคร่ืองมืออุปกรณ์ กำลังแรงกาย แรงใจมากเกินไป จนทำให้สมาชิกในชุมชนมี
ความคิดว่าการจะทำกิจกรรมหรือแก้ไขปัญหาอะไรสักอย่าง ต้องรอให้หน่วยงานภาครัฐลงมาช่วยเหลือ
ก่อนท่ีจะลงมือทำด้วยตนเอง (2) ผู้นำชุมชน ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้นำกลุ่ม
ต่างๆ ในชุมชนเข้าไปมีบทบาทในการทำกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ทำให้มองเห็นว่า สมาชิกใน
ชุมชนบางกลุ่มมีความคิดท่ีว่า “เมื่อเกิดปัญหาหน่วยงานภาครัฐต้องหาวิธีแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน”
(3) ผนู้ ำชมุ ชนจึงตดั สนิ ใจเรยี กสมาชกิ ในชมุ ชนมารวมตวั กนั ทอ่ี าคารอเนกประสงคข์ องหมบู่ า้ น โดยใชเ้ วที
ประชาคมเป็นจุดรวมคนเพื่อมาพบปะ พูดคุย แลกเปล่ียนความคิด ทำความเข้าใจวิธีการทำงาน และ
ปรับเปล่ียนวิธีคิดให้สมาชิกในชุมชนเห็นถึงความสามารถและความสำคัญของตนเอง และแก้ไขปัญหาที่
เกิดข้ึนด้วยตนเองก่อน แล้วให้มองว่าการท่ีมีคำส่ังหรือนโยบายจากหน่วยงานภาครัฐเขา้ มา ให้สมาชิกใน
ชุมชนเปลี่ยนความคิดมองหน่อยงานภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนท่ีคอยให้ความการช่วยเหลือชุมชน ไม่ใช่มอง
ว่าหน่วยงานภาครัฐต้องเป็นผู้แก้ไขปัญหาให้กับชุมชน และ (4) สมาชิกในชุมชนร่วมแลกเปลี่ยนความคิด
เรียนรู้ร่วมกัน ทำความเข้าใจกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนหรือปัญหาท่ีชุมชนกำลังเผชิญอยู่ เริ่มหาที่มา
หรอื ต้นตอของสาเหตุ เรียนรูท้ ำความเข้าใจและรว่ มกนั หาวิธีแกไ้ ขปญั หา กำหนดเปา้ หมายและทศิ ทางใน
อนาคต การปรับแนวคิดของชุมชนทำให้สมาชิกในชุมชนมีความสามารถในการคาดการณ์สถานการณ์ท่ี
กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตได้ และชุมชนมีความสามารถในการมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิด
ขน้ึ กบั ชุมชนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและแก้ไขได้อยา่ งถกู จุด
2) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จุดเร่ิมต้นของการเกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนอย่างให้ได้ชัด
คือ สมาชิกในชุมชนประสบกับปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ เช่น กล้วยที่มีปริมาณมากเกิน
ความต้องการของท้องตลาดและราคาถูก ทางชุมชนจึงใช้กระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ 4 ข้ันตอนใน
การแก้ไขปัญหา มีรายละเอียดดังน้ี (1) สมาชิกในชุมชนท่ีประสบกับปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตร
ตกต่ำไปรวมตัวกันท่ีบ้านผู้ใหญ่ เพ่ือปรึกษาหาวิธีการรับมือกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน และร่วมกันหาวิธีแก้ไข
ปัญหาระยะยาว (2) ผู้ใหญ่บ้านและสมาชิกในชุมชนร่วมกันทำความเข้าใจกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน หาต้นตอ
สาเหตุ และร่วมกันแลกเปล่ียนความคิด เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา โดยใช้อาคารอเนกประสงค์ของ
หมู่บ้านเป็นสถานท่ีในการพูดคุย มีการเสนอความคิดเห็นโดยการยกมือแล้วพูดเสนอแนวทางที่ตนเองคิด
(3) รวบรวมแนวทางแก้ไขปัญหาท่ีทุกคนร่วมกันนำเสนอ เขียนลงในกระดาษปรู๊ฟหรือที่เรียกอีก
อย่างหน่ึงว่า กระดาษฟลิปชาร์ท แล้วทำการโหวดว่าจะใช้วิธีการไหนในการแก้ไขปัญหา ข้อสรุปท่ีได้ คือ
ใช้วิธีการแปรรูปเพิ่มมูลคา่ ให้กบั สินค้า และ (4) สมาชิกในชุมชนรวมตัวกันแปรรูปกล้วยให้เป็นกล้วยเส้น
ปรุงรส โดยใช้อาคารของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรน้ำตกทรายขาวในการแปรรูป การแลกเปล่ียนเรียนรู้เป็น
วิธีท่ีทำให้ชุมชนกลายเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ คือ สมาชิกในชุมชนพร้อมใจท่ีจะเรียนรู้ด้วยตนเอง
มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลาท่ีจะรับรู้ เรียนรู้ข่าวสารของสังคมในมิติต่างๆ มีความมั่นใจ กล้าที่พูด
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ คร้ังท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 167
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น กล้าตัดสินใจดำเนินการและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง นำไปสู่การตัดสินใจใน
การดำเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ของชุมชน
3) การต้ังกฎ กติกา ที่เห็นเป็นรูปธรรมมากที่สุดของชุมชน คือ การต้ังกฎ กติกาการอยู่
ร่วมกันของสมาชิกในชุมชน ถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากท่ีทำให้สมาชิกในชุมชนอยู่ร่วมกันได้อย่างมี
ระเบียบ มีความสุข การตั้งกฎ กติกา มี 3 ขั้นตอนดังน้ี (1) ผู้ใหญ่ประกาศเชิญชวนสมาชิกในชุมชน
ทุกกลุ่มวยั ได้แก่ เด็ก เยาวชน กลุ่มคนวัยทำงาน ผสู้ ูงอายุ เป็นต้น เข้าร่วมกิจกรรมการเสนอข้อตกลงใน
การอาศัยอยู่ร่วม เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้ง การแบ่งแยกศาสนาในภายภาคหน้า โดยใช้
อาคารอเนกประสงค์ในการจัดเวทีประชาคม ซึ่งเป็นเคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี (2) สมาชิกใน
ชุมชนร่วมกันเสนอข้อตกลงร่วมกัน โดยมีตัวแทน 2 คน เป็นผู้เขียนข้อตกลงท่ีทุกคนร่วมกันเสนอ และ
(3) รวบรวมข้อตกท่ีได้จากการนำเสนอ และร่วมกันโหวดข้อตกลงที่จะนำมาเป็นกฎ กติกาชุมชนที่ทุกคน
ต้องนำปฏิบัติ กฎของชุมชนมีท้ัง 2 ข้อหลัก ได้แก่ 1. การให้เกียรติและเคารพวิถีปฏิบัติของกันและกัน
2.ช่วยเหลือและแบ่งปันกันในทุกโอกาส กฎ กติกาท้ังสองข้อนี้ช่วยควบคุมพฤติกรรม การปฏิบัติตัว
ที่ไม่เหมาะสมของสมาชิกในชุมชน มีความสำคัญต่อการอาศัยอยู่ร่วมกันในชุมชนเป็นอย่างมากทำให้
สมาชกิ ในชมุ ชนยอมรับ เคารพและใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กนั และกัน และสามารถอยูร่ ่วมกนั ได้อยา่ งมีความสขุ
4) การร่วมมือทำกิจกรรม มีจุดเริ่มต้นมาจากการเชิญชวน การรวมตัวกันของคนกลุ่มเล็กๆ
ในชุมชนที่มีจุดประสงค์หรือเป้าหมายเดียวกัน มีขั้นตอนในการร่วมมือ 6 ขั้นตอนดังนี้ (1) สมาชิกใน
ชุมชนรวมตัวกัน เพื่อทำกิจกรรมที่มีเป้าหมายเดียวกัน (2) ทำความเข้าใจกับกิจกรรมท่ีทางกลุ่มกำลังจะ
จัดข้ึน (3) คัดเลือกหัวหน้ากลุ่ม ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทหลักในการประสานงาน (4) แบ่งหน้าท่ีรับผิดชอบงาน
ใหช้ ดั เจน (5) ร่วมมือการดำเนินกิจกรรมโดยให้สมาชิกกลุ่มมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตั้งแต่เร่ิมต้น
จนส้ินสุดการดำเนินงาน และ (6) ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม จะทำให้สมาชิกทุกคนเห็นว่า
การทำกิจกรรมร่วมกันผลตอบแทนท่ีได้คือ ได้พัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง และผลประโยชน์
สำคัญท่ีสมาชิกในชุมชนทุกคนได้รับร่วมกันคือชุมชนได้มีการพัฒนาไปในทางที่ดีข้ึน ทำให้ชุมชนตำบล
ทรายขาวมีจดุ เดน่ ในเรื่องความสามัคคี การมีส่วนรว่ ม
กลไกทเี่ อ้ือตอ่ การจดั การชมุ ชน
1) กล่มุ ผู้นำภายในชมุ ชน ผ้ศู ึกษาแบง่ กลุ่มผูน้ ำออกเปน็ 2 กลุ่มดังนี้ (1) ผู้นำชุมชนแบบเป็น
ทางการ ผู้นำชุมชนในตำบลทรายขาว ได้แก่ กำนัน ผใู้ หญ่บ้าน ประธานชุมชน และคณะกรรมการชุมชน
เปน็ ต้น เป็นผทู้ ่ีได้รับการเลอื กตั้งหรอื แตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการ ผู้นำเป็นบุคคลสำคัญท่ีทุก
คนไว้วางใจให้เป็นตัวแทนของชุมชนในการประสานงานและรันกระบวนการทำงานรวมไปถึงขั้นรวมคน
เพ่ือขับเคล่ือนกิจกรรม ผู้นำท่ีดีต้องเป็นที่ยอมรบั ของสมาชิกในชุมชน มีความรู้ ความสามารถ และมีไหว
พริบในการแก้ไขสถานการณ์ได้ทันทวงที ทำงานเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมด้วยความเต็มใจ และที่สำคัญมี
ความอดทนต่อส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ผู้นำชุมชนและผู้นำกลุ่มของตำบล
ทรายขาวได้รับการยกย่อง ให้ได้รับรางวัลเกียรติคุณระดับชาติ ไม่ว่าจะเป็นรางวัลผู้ใหญ่บ้าน
แหนบทองคำ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ดีเด่น เป็นต้น การดำรงตำแหน่งกำนันของตำบลทรายขาว มกี ารต้ัง
168 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดิการสังคมระดับชาติ ครง้ั ที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
ข้อตกลงร่วมกันว่าจะต้องทำการสับเปลี่ยนตำแหน่งกำน้ัน เช่น การเป็นกำนันของตำบลทรายขาว จะ
ดำรงตำแหน่งสลับกันระหว่างคนไทยพุทธกับคนไทยมุสลิม หากปัจจุบันคนไทยพุทธดำรงตำแหน่ง
จนเกษียณ คนต่อไปท่ีมาเป็นกำนันต้องเป็นคนไทยมุสลิม ท้ังสองศาสนาจะไม่ลงสมัครแข่งกัน เป็น
ข้อตกลงทีส่ มาชิกในชุมชนตำบลทรายขาวท้งั คนไทยพุทธและคนไทยมุสลมิ ได้ให้การยอมรบั กบั กฎกตกิ าท่ี
ต้ังขึ้น เปรียบเสมือนสัญญาใจระหว่างกลุ่มคนทั้งสองศาสนา และให้รักษากฎ กติกาน้ีไปจนถึงรุ่นลูกรุ่น
หลาน (2) ผู้นำชุมชนแบบไม่เป็นการ หรือท่ีเรียกอีกอย่างว่าผู้นำธรรมชาติ เป็นผู้นำที่สมาชิกในชุมชนให้
ความเคารพนับถือ ให้การยอมรับ เนื่องจากเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน หรือมี
ประสบการณ์ท่ีเฉพาะเจาะจงในแตล่ ะด้าน ซงึ่ ไดแ้ ก่ ผนู้ ำทางศาสนา ผูน้ ำทางดา้ นภูมิปัญญา หรือเรยี กอีก
อย่างหน่ึงว่า “ปราชญ์ชุมชน” เป็นผู้ที่คอยให้ความรู้ ให้คำแนะนำในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น
การทำเคร่ืองจักรสาน การทอผ้า การแปรรูปอาหาร การทำกิจกรรมตามประเพณีวัฒนธรรม เป็ นต้น
บคุ คลเหลา่ น้ีถือเป็นกำลงั สำคญั อีกส่วนหนงึ่ ที่คอยผลกั ดนั และมบี ทบาทสำคัญในการจดั ชมุ ชน
2) สมาชิกในชุมชน ได้แก่ เด็กต้ังแต่ช้ันประถมขึ้นไปท่ีสามารถทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนได้
เยาวชน คนกลุ่มวัยทำงาน และผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน บุคคลเหล่านี้เป็นกำลังสำคัญในการดำเนิน
กิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ เพราะสมาชิกในชุมชนแต่ละคนที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือ
คอยสนับสนุน ต่างคนก็ต่างมีความรู้ ความสามารถ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในการทำงานท่ีแตกต่าง
กันออกไปข้ึนอยู่กับประสบการณ์และความถนัดของแตล่ ะบุคคล การทำงานอยู่บนฐานของการร่วมมือกัน
ของทุกกลุ่มฝา่ ยท่แี บ่งตามความเหมาะสมแล้วมกี ารวางแผน ประสานงาน เชือ่ มโยงข้อมลู อย่างเปน็ ระบบ
ความร่วมมือท่ีทุกคนมีให้กันน้ันส่งผลให้มีการจัดระบบการทำงานที่ดีและมีประสิทธิภาพ ระบบ
ความสมั พันธแ์ บบเครือญาติของสมาชิกในชุมชนกเ็ ป็นส่วนสำคัญท่ีทำให้พวกเขาสามารถทำงานร่วมกนั ได้
เป็นไปอย่างราบรื่น จะเห็นได้ว่าสมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาวเป็นกำลังสำคัญหลักท่ีทำให้ชุมชนมีพลัง
ในการลกุ ขึ้นสู้ สามารถจดั การกบั ปญั หาต่างๆ ที่เกดิ ข้นึ และจัดการตนเองได้ในท่สี ดุ
3) เครือข่าย หน่วยงานที่เข้ามาให้ความช่วยให้การสนับสนุนการดำเนินการจัดกิจกรรม
พัฒนาชุมชนของตำบลทรายขาว ผลการศึกษาพบว่า เครือข่ายท่ีเข้ามาให้การสนับสนุนน้ันสามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ (1) เครือข่ายภายในชุมชน ได้แก่ วัด โรงเรียน กลุ่มอาชีพเป็นเครือข่ายท่ีเกิดจาก
การรวมกลุ่มกันของสมาชิกในชุมชน ที่มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการดำเนินงานเดียวกัน มีความคิด
และอุดมการณ์ที่คลา้ ยกัน ซง่ึ กลุ่มทเ่ี กิดข้นึ ภายในชมุ ชนตำบลทรายขาว ส่วนใหญ่แลว้ จะเป็นกล่มุ ที่จัดตั้ง
ข้ึนเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกในชุมชนและพัฒนาชุมชน กลุ่มเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์ในรูปแบบของ
เพ่ือนบ้าน ญาติพ่ีน้องท่ีมีความผูกผันกันมาเป็นเวลานาน สมาชิกในกลุ่มก็จะเป็นคนภายในชุมชนท่ีรู้จัก
กันเป็นอย่างดี เม่ือมีการดำเนินงานก็จะพูดคุยกันง่ายและมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน (2) เครือข่าย
ภายนอกชุมชน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยา
เขตปัตตานี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา องค์การบริหารการพฒั นาพ้ืนท่ีพิเศษ
เพ่ือการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน (องค์การมหาชน) อพท. เป็นต้น การดำเนินงานของชุมนตำบลทรายขาว
เป็นการดำเนินงานที่มีจุดเริ่มต้นมาจากสมาชิกในชุมชนเป็นลำดับแรก ทางชุมชนได้มีเครือข่ายจาก
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวัสดิการสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 169
หน่วยงานภายนอกที่ติดต่อเข้ามาเพ่ือขอร่วมดำเนินงานกับสมาชิกในชุมชน คอยเป็นผู้สนับสนุน
งบประมาณ ถ่ายทอดองค์ความรู้ และงานวิจัยท่ีเป็นฐานข้อมูลให้กับชุมชนสามารถดำเนินงานไปได้
อยา่ งราบรนื่
2. หลักการอยู่รว่ มกนั ในชุมชนพหุวฒั นธรรม
1) การเคารพให้เกียรติ การอยู่ร่วมกันของสมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาวมีการอาศัยอยู่
ร่วมกันแบบเครือญาติ ถึงแม้ว่าสมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาวจะนบั ถือศาสนาทตี่ ่างกนั แตพ่ วกเขาได้รับ
การปลูกฝังมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่า ตายาย ว่าอยู่ชุมชนเดียวกันให้พึ่งพาอาศัยกัน ผู้คนมีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน
เกดิ ความรักและความผูกพัน ฉะนั้นการอยู่รว่ มกันของพวกเขาจึงไม่มกี ารแบ่งแยกหรอื ทะเลาะกัน แตท่ าง
ชุมชนก็ได้ทำข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันเพ่ือเป็นข้อเตือนใจให้ทุกคนปฏิบัติร่วมกัน และเป็นการป้องกัน
ไม่ให้เกิดปัญหาที่รุนแรงขึ้นภายหลัง สมาชิกในชุมชนจะมีวิธีการแสดงออกถึงการเคารพให้เกียรติดังนี้
(1) ยอมรับในความสามารถของผู้อื่น (2) รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (3) ใช้คำพูดที่สุภาพ (4) ไม่เห็น
แก่ตัว นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม และ (5) ไม่แสดงกริยาที่ดูไม่เหมาะสม การท่ีทุกคนเคารพให้เกียรติผู้อ่ืน
เป็นการปฏิบัติข้ันพื้นฐานท่ีเพ่ือนมนุษย์ควรทำ เพราะ การอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความแตกต่างทางด้าน
ศาสนา ประเพณวี ัฒนธรรม ความเชื่อและอ่ืนๆ การเคารพให้เกียรติซึ่งกนั และกันเปน็ สิง่ ที่ทำใหส้ มาชิกใน
ชมุ ชนตำบลทรายขาวสามารถอย่รู ่วมกนั ไดอ้ ย่างมคี วามสุข
2) การยอมรับในความแตกต่าง ชุมชนตำบลทรายขาวมีความเป็นพหุวัฒนธรรมคือ สมาชิก
ในชุมชนมีทั้งชาวไทยพุทธและไทยมุสลิมแต่พวกเขายอมรับในความแตกต่างทางด้านศาสนาของกันและ
กัน สามารถทำกิจกรรมร่วมกันได้หากไม่ผิดต่อหลักปฏิบัติทางศาสนา ตัวอย่างเช่น ชาวไทยพุทธจัดงาน
ในพื้นท่ีของวัดทรายขาวชาวไทยมุสลิมก็ให้ความร่วมมือไปช่วยจัดเตรียมสถานที่ ทำความสะอาด
ปัดกวาด เมื่อชาวไทยมุสลิมจัดงานท่ีมัสยิดชาวไทยพุทธจะระดมคนไปร่วมแรงในการช่วยจัดเตรียมงาน
เช่นกัน รวมไปถึงงานศพ งานแต่งงาน งานบวช แม้แต่พิธีเข้าสุหนัต กลุ่มคนทั้งสองศาสนาท่ีเป็น
เพ่ือนสนทิ ญาตพิ ่ีนอ้ งก็มกี ารบอกกลา่ วใหไ้ ปรว่ มงานหรอื เขา้ ไปช่วยงาน
3) การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ชุมชนตำบลทรายขาวเป็นชุมชนที่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมเป็นหลัก มีการดำรงชีวิตแบบช่วยเหลืออุปถัมภ์ซึ่งกันและกัน ในชุมชนยังมีการปลูกข้าวไว้
บริโภคในครัวเรือน หากเหลือก็จะนำออกไปจำหน่ายเพื่อหารายได้เสริม ในชุมชนยังใช้วิธีการออกปาก
เป็นธรรมเนียมที่แสดงออกถึงการมีน้ำใจต่อผู้อื่น ขั้นตอนการออกปาก มี 3 ข้ันตอนดังนี้ (1) ผู้ออกปาก
เลา่ ความเดอื ดร้อนหรอื ขอความชว่ ยเหลือจากเพื่อนบ้าน (2) พดู คยุ นัดวันและสถานท่ีในการเก็บเกี่ยวขา้ ว
เลอื กวันท่ีเพื่อนบา้ นวา่ ง และ (3) สง่ ข่าวขอความชว่ ยเหลือโดยการบอกต่อๆ กัน เมื่อถึงจุดนัดหมายเพือ่ น
บ้านก็จะร่วมแรงร่วมใจกันเก็บเก่ียวข้าว และระหว่างเก็บเก่ียวข้าวนั้นก็จะมีการร้องเพลงขับกลอนกัน
ทำการเก็บเก่ียวไปได้ประมาณ 2-3 ชั่วโมง ทุกคนก็จะหยุดพักเหนื่อย ทานน้ำ กินหมาก ร่วมพูดคุย
สูบบุหรี่ เป็นต้น เมื่อทำการเก็บเก่ียวข้าวของตนเองเสร็จก็จะสลับสับเปล่ียนไปช่วยของคนอื่นต่อ ดังนั้น
หลักการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาวที่กล่าวมาข้างต้นล้วนแล้วแต่เป็นข้อตกลงที่เกิด
จากสมาชิกในชุมชนร่วมกันสร้างขึ้นเพ่ือนำมาปฏิบัติ ทำให้กลุ่มชนทั้งสองศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างมี
170 | สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑติ ศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์และสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
ความสุข ไม่เกิดการเบียดเบียนกัน ไม่มีการดูหม่ินเหยียดหยามศาสนาของกันและกัน และยังสามารถ
รว่ มกันทำกจิ กรรมที่เปน็ ประโยชน์ต่อตวั บคุ คลและชมุ ชนไดอ้ ย่างราบรน่ื โดยไมเ่ กิดความขดั แย้ง
3. หลกั การสร้างชุมชนเขม้ แขง็
1) รกั และหวงแหนชุมชน สมาชกิ ในชุมชนตำบลทรายขาวมคี วามภาคภูมใิ จที่ชมุ ชนมีศาสนา
สถานที่เป็นแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นวัดทรายขาว มัสยิดนัจมุดดิน (มัสยิดโบราน 300
ปี) เป็นท่ีสนใจของผู้คนภายนอกชุมชนและคนในพ้ืนที่ใกล้เคียง ร่วมทั้งมีทรัพยากรทางธรรมชาติท่ี
อุดมสมบูรณ์ มีอุทยานแห่งชาตนิ ้ำตกทรายขาวท่ีเป็นแหล่งน้ำสำคัญไหลลงสู่ธารน้ำในชุมชนให้สมาชิกใน
ชุมชนมีน้ำใช้อยู่ตลอดปี มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาทางด้านการจักรสาน การแปรรูปอาหาร การทอผ้า
ให้กับคนรุ่นหลัง สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นทุนชุมชนท่ีควรค่าแก่การเก็บรักษาและอนุรักษ์ให้คงอยู่ควบคู่ไปกับ
ชุมชนตราบนานเท่านาน ขั้นตอนในการสร้างความรักและหวงชุมชน มี 3 ขั้นตอนดังนี้ (1) ผู้ใหญ่บ้าน
รวมมือกับสำนักงานวัฒนธรรมในการเชิญชวนสมาชิกในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ทุนชุมชนและสืบ
สานประเพณวี ัฒนธรรมใช้พื้นทวี่ ัดทรายขาวในการจดั กจิ กรรม (2) ถ่ายทอดองค์ความรู้ทางดา้ นทุนชุมชน
และประเพณีวัฒนธรรมให้กับสมาชิกในชุมชนมองเห็นถึงคุณค่าและความสำคัญของสิ่งเหล่าน้ี และ
(3) ลงพื้นที่เรียนรดู้ ้วยตนเอง ได้แก่ ศกึ ษาทรพั ยากรธรรมชาติ เรยี นร้กู ารแปรรูปอาหาร เรียนรู้การทอผ้า
และเรียนรู้ประเพณีของทั้งสองศาสนา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ทำให้สมาชิกในชุมชนเกิดความรักและหวงแหน
ชมุ ชนมคี วามร้สู กึ วา่ ตนเป็นเจา้ ของชมุ ชน ต้องชว่ ยกนั ดแู ลรักษา
2) การมีส่วนร่วม เป็นส่ิงสำคัญในการดำเนินงานชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมจากผู้นำ
หรือสมาชิกในชุมชนต่างก็เป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนงาน ในท่ีน้ีขอยกตัวอย่างการมีส่วนร่วมของ
สมาชิกในชุมชนที่ส่งผลให้ชุมชนตำบลทรายขาวมีภาพลักษณ์ท่ีดี และประกาศให้ตำบลทรายขาวเป็น
ตำบลสันติสุข จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เม่ือปี พ.ศ. 2550 เน่ืองจากตำบลทรายขาวไม่มี
เหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ติดต่อกันเป็นเวลา 2 ปี ช่วงเวลาท่ีเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบในพ้ืนท่ี
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สมาชิกในชุมชนตำบลทรายขาว มีข้ันตอนในการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันไม่ให้
เกิดเหตุรุนแรง หรือ เกิดความไม่สงบขึ้นในชุมชน มีขั้นตอนในการดำเนินการ 3 ข้ันตอนดังน้ี (1) ผู้นำ
ชุมชน สมาชกิ ในชมุ ชน และองค์การบริหารส่วนตำบลทรายขาวร่วมประชุมเพือ่ ระดมความคิดหาแนวทาง
การรักษาความสัมพันธ์ระหว่างชาวไทยพุทธและไทยมุสลิม หาแนวทางเฝ้าระวัง และวางแผนการรับมือ
กับเหตุการณ์ท่ีจะเกิดขึ้น โดยใช้ห้องประชุมขององค์การบริหารส่วนตำบลทรายขาว (2) จัดการเฝ้า
เวรยาม ตรวจการเข้าออกชุมชน และให้สมาชิกทุกคนเป็นหูเป็นตาให้กับชุมชน และ (3) ติดตามและ
รายงานสถานการณ์การก่อเหตุความไม่สงบให้สมาชิกในชุมชน โดยใช้เสียงตามสายในการประกาศ เม่ือ
เวลาผ่านไปชุมชนตำบลทรายเป็นชุมชนท่ีไม่เกิดเหตุความรุนแรง การที่สมาชิกทุกคนช่วยกันสอดส่อง
ดูแลชุมชนทำให้สมาชิกในชุมชนเกิดความรัก ความสามัคคี ไว้เน้ือเช่ือใจและพร้อมใจที่จะร่วมกันดำเนิน
กิจกรรมต่างๆ ที่ทางชุมชนจัดขึ้นโดยไม่มีการแบ่งแยกศาสนา สามารถทำร่วมกันได้หากกิจกรรมน้ันไม่มี
การประกอบพิธีกรรทางศาสนาหรือผิดหลักศาสนา ท่ีสำคัญจุดเด่นของชุมชนตำบลทรายขาวกลุ่มคน
ทงั้ สองศาสนาใช้ภาษาใต้ท่ีเป็นภาษาพ้ืนถ่ินเดียวกันในการพูดคุยส่ือสารกัน ไม่ใช้ภาษายาวี ทำให้สมาชิก
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบัณฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 171
ในชมุ ชนพูดคุยสื่อสารกนั ได้ง่ายและเข้าใจตรงกัน ไม่เกิดการแบ่งแยกหรือเกิดความแตกต่าง ชุมชนแห่งนี้
จงึ กลายเปน็ ชมุ ชนท่ีมีความเข้มแข็ง สามารถจดั การกบั ปญั หาและพ่งึ ตนเองได้
3) สร้างความม่ันใจในศักยภาพ ให้กับสมาชิกในชุมชนเป็นอีกสิ่งที่มีความสำคัญต่อ
การกระตุ้นให้สมาชิกในชมุ ชนกล้าที่จะเข้ามามีสว่ นร่วมในการทำงานและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ข้ันตอนท่ี
ทางชุมชนใช้ในการสร้างความมั่นใจมี 5 ข้ันตอนดังน้ี (1) ทำให้สมาชิกกล้าแสดงออกด้วยการชักชวน
สมาชิกในชุมชนร่วมทำกิจกรรมกับผู้อ่ืน (2) ค้นหาจุดเด่นของตนเอง (3) ยอมรับในข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
(4) เรียนรู้ข้อผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นแล้วปรับแก้ไขให้ดีข้ึน และ (5) ต้ังเป้าหมายให้ชัดเจน เพ่ือเป็นตัวกำหนด
ทิศทางให้ตนเอง ทางชุมชนใช้วิธีการจัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์ เช่น กิจกรรมแข่งกันกีฬาต้าน
ยาเสพติด การละเล่นพ้ืนบ้าน เป็นกิจกรรมที่สร้างความเพลิดเพลิน เป็นการละลายพฤติกรรมสมาชิกใน
ชุมชนให้เกิดความสนิทสนมกันมากยิ่ง เมื่อเกิดความสนิท ความไว้วางใจกัน กลุ่มคนเหล่าน้ีจะมีการเชิญ
ชวนให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมอื่นๆ และเครื่องมือสำคัญอีกอันหน่ึงคือ การใช้เวทีประชาคม
เป็นท่ีพบปะคุยกนั และเป็นสถานทเี่ ปิดโอกาสให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น หาขอ้ สรุปในการดำเนินงาน
ตา่ งๆ
172 | สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
การจัดการตนเองของชุมชน
- ใชเ้ วทีประชาคม 1. การปรับแนว ิคดชุมชน- กระตุ้นให้- เชญิ ชวนให้- กระตุ้นใหค้ นทุกกลมุ่ วัย
เปน็ เครือ่ งมือใน 2. การแลกเป ่ีลยนเรียนรู้สมาชกิ ในชุมชนประชาชนในในชุมชนเข้ามามบี ทบาท
การดําเนนิ การ ต่ืนตัว พรอ้ มรบั รู้ ชุมชนมีส่วนร่วม ในการทํากิจกรรม
- ใหค้ วามรู้ เพื่อให้ 3. การ ั้ตงกฎ ก ิตกาข่าวสารในการเสนอ
สมาชิกในชุมชนทาํ 4. การร่วม ืมอทํา ิกจกรรมความคิดเหน็- สรา้ งความม่นั ใจและ
ความเขา้ ใจกับการ - สรา้ งความ ความเปน็ เจา้ ของกิจกรรม
ดําเนินงานชุมชน พรอ้ มในการ - สร้างกฎกตกิ า ให้กบั สมาชิกในชมุ ชน
- ปลูกฝงั ให้สมาชกิ เรียนรู้ ชมุ ชนเพือ่ เปน็
ในชมุ ชนจดั การ ขอ้ ตกลงในการ - ให้สมาชกิ ในชุมชนมีสว่ น
ปญั หาดว้ ยตนเอง - เพ่ิมศักยภาพ ปฏิบัตริ ่วมกนั ร่วมในทุกข้ันตอน
ความสามารถ
กลไก ใหก้ บั สมาชกิ ใน - ตดิ ตามผลการ
ชุมชน ดําเนนิ งาน
กลุม่ ผู้นำภายในชุมชน สมาชิกในชุมชน เครอื ขา่ ย
หลกั การอย่รู ่วมกัน หลกั การสร้างชุมชนเขม้ แข็ง
การเคารพให้เกียรติ รกั และหวงแหนชมุ ชน
• ยอมรบั ในความสามารถของผอู้ น่ื • สรา้ งจิตสำนกึ รกั ชุมชน
• ไม่แสดงกรยิ าท่ีดไู ม่เหมาะสม • ความเป็นเจา้ ของชมุ ชนร่วมกนั
• ประพฤติตัวตอ่ ผู้อ่ืนดว้ ยความเคารพ
การยอมรับในความแตกต่าง การมีส่วนรว่ ม
• สร้างความเข้าใจในเร่อื งความแตกต่างทั้ง • ส่งเสรมิ ใหม้ สี ว่ นร่วมในการดำเนนิ งาน
ทางด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ทุกขั้นตอนต้ังแต่เร่ิมตน้ จนสน้ิ สดุ การ
• ไมด่ หู มน่ิ ศาสนา ดำเนินงาน
การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน สร้างความมนั่ ใจในศกั ยภาพ
• สนบั สนุนใหม้ กี ารชว่ ยเหลอื กนั ในทกุ ๆ เร่ือง • กระตุ้นให้กล้าแสดงออก
เชน่ การออกปากเกบ็ เกย่ี วขา้ ว งานบุญตา่ งๆ • สร้างความเชอื่ ให้กบั ทุกคนวา่ ตนเองมีความรู้
การพัฒนาพนื้ ที่ในชมุ ชน เป็นต้น ความสามารถ
ภาพที่ 1 การจัดการตนเองของชมุ ชนตำบลทรายขาว
ทมี่ า: จากการสงั เคราะห์ การสัมภาษณ์ และขอ้ มลู ภาคสนาม
สัมมนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 | 173
อภปิ รายผลการศกึ ษา
จากการศึกษาเร่ืองการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและกลไก
การจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรม หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชน และหลักการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
พบวา่
ประเด็นท่ี 1 การจัดการตนเองของชุมชนตำบลทรายขาว ชมุ ชนมีกระบวนการจัดการตนเองท่ี
สอดคล้องกับ แนวคิดการจัดการตนเองของชุมชนของ โกวิทย์ พวงงาม (2553) กล่าวว่า ชุมชนมี
ความสามารถจัดการกับปัญหาและส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชน แสดงออกมาในรูปแบบของการปรับเปล่ียน
แนวคิดชุมชน การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การวางกฎระเบียบชุมชน เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนของ
คนในชุมชน นอกจากนี้การจัดการตนเองท่ีเกิดขึ้นภายในชุมชนตำบลทรายขาวน้ันยังมีกลไกท่ีเอ้ือต่อ
การจัดการที่สำคัญ ได้แก่ 1) กลุ่มผู้นำภายในชุมชน มีทั้งผู้นำที่เป็นทางการและผู้นำท่ีไม่เป็นทางการ
2) สมาชิกในชุมชน และ 3) เครือข่าย มีทั้งเครือข่ายภายในชุมชน และเครือข่ายภายนอกชุมชน สุดท้าย
แล้วยืนยันได้ว่า การจัดการตนเองของชุมชนประสบความสำเร็จได้น้ัน โดยเริ่มจากตัวชุมชนใช้
ความสามารถของสมาชิกในชุมชนเปน็ ฐานในการริเริ่มจัดการกบั ปัญหากอ่ น แลว้ จึงนำมาสู่การร่วมมือกับ
เครือข่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชนในการขับเคลื่อนงานชุมชนและพัฒนาชุมชนให้ดีข้ึน ผ่านกลไก
คนในชุมชนที่เป็นกำลังสำคัญ ในการขับเคล่ือนการทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง จึงกลายเป็นชุมชนท่ี
สามารถพึ่งตนเองไดแ้ ละกลายเป็นชุมชนเข้มแข็งมาจนถงึ ปัจจุบัน ตรงกับงานวิจัยของ ชนินทร์ วะสีนนท์
(2549, น. 295-298) ได้ศึกษาการจัดการสวัสดิการของเครือข่ายของอินแปง กลไกกระบวนการจัดการ
ตนเอง กล่าวว่า กลไกทีม่ ีส่วนสนับสนุนให้เกดิ การจัดการตนเองของชุมชน คือ บุคคลในชุมชน โครงสรา้ ง
องคก์ ร และเครือข่าย
ประเด็นท่ี 2 หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชนพหุวัฒนธรรม หลักการอยู่ร่วมกันในชุมชนตำบล
ทรายขาว มีความสอดคลอ้ งกับแนวคิดของ ชนากานต์ โสจะยะพนั ธ์ (2562) กลา่ วว่า หลักการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรมเป็นหลักการพื้นฐานในการดำเนินชีวิตที่ทุกคนควรปฏิบัติเพื่อเป็น
การแสดงออกถึงการให้เกียรติผู้อื่นและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น หลักการอยู่ร่วมกันมีอยู่ 3 หลักการ คือ
1) การเคารพให้เกยี รติ 2) การยอมรับในความแตกต่าง และ 3) การชว่ ยเหลอื ซง่ึ กัน จากขอ้ มลู ที่กลา่ วมา
ข้างต้นล้วนแล้วแต่เป็นข้อตกลงท่ีเกิดจากสมาชิกในชุมชนร่วมกันสร้างข้ึนเพ่ือนำมาปฏิบัติ ทำให้กลุ่มชน
ทั้งสองศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข สุดท้ายแล้วจุดเด่นของชาวตำบลทรายขาวใช้ภาษาใต้ใน
การส่ือสาร ซ่ึงเป็นภาษาท้องถิ่น แตกต่างจากชาวไทยมุสลิมท่ีอ่ืนเพราะส่วนใหญ่คนที่นับถือศาสนา
อิสลามจะใช้ภาษายาวีในการส่ือสาร ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวไทยมุสลิมใช้ในการพูดคุยกัน ทำให้สมาชิกใน
ชมุ ชนรูส้ กึ ไม่เกดิ การแบกแยกหรอื เกดิ ความแตกตา่ งในการรอยู่ร่วมกันของกลมุ่ คนท่ีนับถือศาสนาต่างกัน
ประเด็นที่ 3 หลักการสร้างชุมชนเข้มแข็งของชุมชนตำบลทรายขาว เป็นการกระตุ้นให้
สมาชิกในชุมชนมีสว่ นร่วมในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง มีความสอดคล้องกับแนวคิดของ สุรพล พยอมแย้ม
(2556) กล่าวว่า หลักการสร้างชุมชนเข้มแข็งเน้นการมีส่วนร่วมและสร้างสมาชิกในชุมชนมีความสามัคคี
174 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑติ ศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
และมีความผกู พันต่อชุมชน มีจติ สำนึกรักและหวงแหนชุมชน เพราะส่ิงท่ีกล่าวมานี้เป็นหลักข้ันพื้นฐานท่ี
สามารถดึงสมาชิกในชุมชนให้มีความสนใจ ใหค้ วามร่วมมอื ในการพัฒนาและสรา้ งชมุ ชนให้มีความเปน็ อยู่
ทดี่ ีด้วยความเต็มใจ หลักการสร้างชุมชนเขม้ แขง็ ได้แก่ 1) รักและหวงแหนชุมชน 2) การมสี ่วนร่วม และ
3) สร้างความมั่นใจใหส้ มาชิกในชมุ ชน
ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตำบล
ทรายขาว อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานีในครั้งนี้ ผู้ศึกษามีข้อเสนอจากงานวิจัยและข้อเสนอแนะระดับ
นโยบาย เชิงปฏิบัติการ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย
1) ส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกข้ันตอนตั้งแต่เริ่มดำเนินการจน
ส้ินสุดการดำเนินการ โดยเปิดโอกาสให้สมาชิกในชุมชนทุกกลุ่มวัยเข้ามามีบทบาท มีหน้าที่ใน
การดำเนินงาน ทำกิจกรรมร่วมกับชุมชนอย่างจริงจัง ผลการศึกษาทำให้เห็นว่าบางขั้นตอนการดำเนินงาน
ยังขาดการใส่ใจและยังให้ความร่วมมือไม่เต็มท่ี จึงควรปรับการดำเนินงานและเน้นการมีส่วนร่วมให้เห็น
ถึงความสำคัญในการดำเนินงานทุกข้นั ตอน
2) ส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ทางด้านภูมิปัญญาและองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ให้
คนรุ่นหลัง โดยเน้นการถ่ายทอดให้กับเด็กและเยาวชนอย่างจริงจัง เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เห็นถึง
คุณค่าและความสำคัญชุมชน เกิดความรักและหวงแหนชุมชน คิดว่าตนเองเป็นเจ้าของชุมชน และ
หันกลบั มาพฒั นาบา้ นเกิดของตนเองให้มากข้นึ
2. ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการทำงานชุมชนให้เด็กและเยาวชน ดึงกลุ่มคนเหล่าน้ีให้เข้ามามี
บทบาทในการทำงานร่วมกับชุมชนอย่างเป็นระบบ โดยเร่ิมจากปรับเปลี่ยนวิธีคิดให้เด็กและเยาวชนเห็น
ถึงความสามารถและความสำคัญของตนเองและแก้ไขปญั หาที่เกิดขึ้นด้วยตนเองก่อน สร้างความเข้าใจถึง
หลักการทำงานของชุมชน เช่น ลงพื้นท่ีศึกษาทำความเข้าใจบริบทชุมชนด้วยตนเอง จัดการอบรม
หลักสตู รหลักการทำงานร่วมกับชมุ ชนให้กบั เด็กและเยาวชนเพอ่ื ให้เด็กและเยาวชนมีความเข้าใจหลักงาน
ชุมชนมากย่ิงขึ้น ให้เด็กและเยาวชนลงพ้ืนที่เรียนรู้การทำงานร่วมกับผู้ใหญ่บ้าน กำนัน และหน่วยงานที่
เข้ามาให้การสนับสนุนเพ่ือเป็นการให้เด็กและเยาวชนได้ลงพื้นท่ีสัมผัสกับการทำงานของจริงไม่ใช่เรียนรู้
แต่ในตำราเอกสาร โดยให้คณะทำงานในชุมชนคอยเป็นพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ เด็กและเยาวชนจะเป็น
กลไกสำคัญในการขับเคล่ือนงานชุมชนในอนาคต และสามารถจัดการชุมชนให้เป็นระบบได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
3. ข้อเสนอแนะในการศึกษาตอ่ ไป
ผลการศึกษาการจัดการตนเองของชุมชนพหุวัฒนธรรมเพ่ือสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานี ผู้ศึกษาได้ข้อสรุปตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้แล้ว
สมั มนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดกิ ารสงั คมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 175
ยังค้นพบว่านอกจากชุมชนตำบลทรายขาวเป็นชุมชนสองวิถีแล้วนั้น ชุมชนทรายขาวยังมีของดีมากมาย
ไม่ว่าจะเป็นทุเรียนทรายขาวท่ีมีคุณภาพ ระดับ 5 ดาว ติด Top Five ระดับประเทศ ผลิตภัณฑ์แปรรูป
กล้วยหิน ส้มแขก ผ้าทอลายจวนตานี และรถจิ๊บนำเท่ียวโบราณสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ท่ีโดดเด่น
ทางชุมชนจึงจัดตั้งกลุ่มและหาแกนนำในการจัดทำชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในปัจจุบั นพื้นท่ี
ตำบลทรายขาว อำเภอโคกโพธ์ิ จังหวัดปัตตานีเปน็ ชมุ ชนท่องเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรมที่เข้มแข็ง เป็นประเด็นท่ี
น่าสนใจทีส่ ามารถตอ่ ยอดการศึกษาได้
เอกสารอา้ งองิ
กรมการพัฒนาชมุ ชน. (2563). รายงานประจำปี 2563 เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้
ภายในปี 2564. กรงุ เทพฯ: กรมการพัฒนาชุมชน.
โกวทิ ย์ พวงงาม. (2553). การจดั การตนเองของชุมชนและท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ.์
ชนากานต์ โสจะยะพันธ์. (2562). การอย่รู ว่ มกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรม. สบื ค้นจาก
https://chonladec.blogspot.com/2019/02/blog-post_89.html
ชนนิ ทร์ วะสนี นท์. (2549). การจดั การสวัสดิการของเครือข่ายอนิ แปง: กลไก กระบวนการจัดการตนเอง.
(วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎบี ณั ฑิต). มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์.
ประเวศ วะสี. (2552). การใช้เมืองนำการทหารในการแกไ้ ขปัญหาภาคใต้ ใน การเมอื งต้องนำการทหาร:
ทศิ ทางการแก้ไขปัญหาภาคใต้สคู่ วามยัง่ ยืน. กรุงเทพฯ: ส เจรญิ การพิมพ์.
พระโกวทิ พลญาโน, พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ, และ ขันทอง วฒั นะประดิษฐ์. (2561). วิถีพหุวัฒนธรรมของ
ชุมชนวัดขนั เงนิ จ.ชุมพร ตามหลักพุทธสนั ตวิ ธิ ี. วารสารสันตศิ กึ ษาปริทรรศน์ ฉบับพเิ ศษ, 6,
182-193.
พรี พัฒน์ พันศิร.ิ (2559). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการพฒั นาองค์กรชมุ ชน. นครปฐม:
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
ยุทธนา นรเชฏโจ และ จุฑารัตน์ ทองอนิ จันทร์. (มกราคม-เมษายน 2563). การอยรู่ ว่ มกันของคนใน
สงั คมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย. วารสารมหาจฬุ าวิชาการ, 7(1), 102-118.
วฒุ ิชยั สายบญุ จวง. (มกราคม-เมษายน 2561). ชมุ ชนเขม้ แข็งในทัศนะของชาวชมุ ชน กรณศี กึ ษา
บา้ น ปลายคลองบางโพธ์ิเหนือ หมู่ท่ี 3 ตำบลบางโพธเิ์ หนือ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี.
วารสารวไลยอลงกรณ์ปรทิ ัศน์ (มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร)์ , 6(6), 119-203.
สถาบันพฒั นาองค์การชุมชน (องค์การมหาชน). (2554). ชุมชนท้องถ่ินจดั การตนเอง เหตุผล ความหมาย
เป้าหมาย ตวั ชี้วัด และกระบวนการทำงาน. สืบค้นจาก www.codi.or.th/wownloads/
community_news/CODInews_050354. Pdf
สถาบันวจิ ยั ประชากรและสังคมมหาวิทยาลยั มหิดล. (2557). สุขภาพคนไทย 2557: ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ จัดการ
ตนเองสูก่ ารปฏริ ปู ประเทศจากฐานราก. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบนั วิจยั ประชากรและ
สังคม.
176 | สมั มนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑติ ศกึ ษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดิการสังคมระดับชาติ ครัง้ ท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
สาวณิ ี รอดสนิ . (2554). ชมุ ชนเขม้ แข็ง: กรณีศึกษาชุมชนบ้านปางจำปี ตำบลหว้ ยแก้ว อำเภอแม่ออน
จงั หวัดเชียงใหม.่ (วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ ). มหาวิทยาลัยศลิ ปากร, คณะวทิ ยาการจดั การ,
สาขาวชิ ารฐั ประศาสศาสตร.์
สุรพล พยอมแย้ม. (2556). จิตวิทยาในงานชุมชน (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรงุ เทพฯ: บางกอกคอมเทค
อินเตอร์เทรด.
สุวิมล มีแสง. (2554). กระบวนจดั การตนเองในการฟน้ื ฟูชมุ ชนหลงั ภยั พบิ ตั ิด้วยการสรา้ งชมุ ชนใหม:่
กรณีศึกษา บ้านมอ่ นเฮาะ ตำบลทา่ ผา อำเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม.่ (วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา
มหาบณั ฑติ ). มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้, สำนกั บรหิ ารและพัฒนาวิชาการ, สาขาวิชาการพฒั นาภูมสิ งั คม
อยา่ งยงั่ ยืน.
อานนั ท์ กาญจนพนั ธ.์ (2556). พหวุ ัฒนธรรมในบริบทของการเปล่ยี นผ่านทางสงั คมและวัฒนธรรม.
กรงุ เทพฯ: กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์.
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 | 177
กลไกและกระบวนการปรบั ตวั แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วชมุ ชนให้เป็นการจัดสวัสดกิ ารชุมชน
กรณีศกึ ษาชมุ ชนริมคลองมหาสวัสด์ิ อำเภอบางกรวย จงั หวดั นนทบุรี
Mechanisms and Processes for Adapting Community Tourism Site to
Community Welfare, A Case Study of Communities Along the
Klong Maha Sawat, Bang Kruai District, Nonthaburi Province
เมธาพร ศรีประมวล1 และ ผศ.ดร. สริ ยิ า รตั นช่วย2
Methaporn Sripramual3 and Asst. Prof. Siriya Rattanachuay, Ph.D.4
Abstract
This research purposed to study the mechanisms and processes for adapting
community tourism sites and to study the format of community welfare. This study was
a qualitative study. The research tools were document analysis, in-depth interviews,
participatory and non-participatory observation. The results revealed that there are four
most important support mechanisms which are driving the community tourism of the
community were: first, the community mechanisms in terms of community capital of
Klong Maha Sawat community included 1) natural capital, 2) human capital, 3) knowledge
base and wisdom capital, and 4) cultural capital. Second, the formal and informal
leader groups in the community. Third, internal and external communities’ networks.
There are 5 community processes to enhance the potential of community tourism sites:
first, improving processes for the landscape of Chao Mae Tubtim Shrine, second,
adaptation processes of the Laddawan agricultural farm, third, the adapting processes of
the 100-year antique house, fourth, the adapting processes of the Wat Sriboonruang and
fifth, the participating processes of the Chalerm Phra Kiat Herb Garden. In addition, the
community welfare model which is arisen from community tourism and supported the
development of the community in three models, one, the community welfare in
economics, two, the community welfare in the education and three, the community
welfare in environment.
Keywords: Community tourism, mechanisms of community tourism sites, adaptation
processes of community tourism sites, community welfare
1 นกั ศกึ ษาปริญญาโทหลกั สตู รพฒั นาชมุ ชนมหาบณั ฑิต คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
2 อาจารยป์ ระจำคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
3 Master of Science Program in Community Development, Faculty of Social Administration, Thammasat University
4 Lecturer, the Faculty of Social Administration, Thammasat University, Thailand
178 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 10 ประจำปีการศึกษา 2563
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษากลไกและกระบวนการปรับตัวแหล่งท่องเท่ียวและ
รปู แบบสวัสดิการชุมชน โดยเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ใช้เครื่องมือการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์เชงิ ลึก
การสังเกตแบบมีสว่ นรว่ มและไม่มีส่วนรว่ ม ทัง้ นี้ ผลการศึกษา พบว่า กลไกที่ส่งเสริมให้เกิดการขับเคลอ่ื น
การท่องเที่ยวชุมชนมากทส่ี ุด 4 อันดบั ไดแ้ ก่ หนึ่ง กลไกของชุมชนในด้านทนุ ชุมชนภายในชมุ ชนริมคลอง
มหาสวัสด์ิ ได้แก่ 1) ทุนธรรมชาติ 2) ทุนมนุษย์ 3) ทุนองค์ความรู้และภูมิปัญญา และ 4) ทุนวัฒนธรรม
สอง กลุ่มผู้นำท่ีเป็นทางการและกลุ่มผู้นำท่ีไม่เป็นทางการภายในชุมชน สาม เครือข่ายภายภายในและ
ภายนอกชุมชน โดยมีกระบวนการของชุมชนสู่การสร้างเสริมศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวชุมชน 5 ลำดับ
ได้แก่ 1. กระบวนการปรับปรุงภูมิทัศน์ของศาลเจ้าแม่ทับทิม 2. กระบวนการปรับตัวของสวนเกษตร
ลัดดาวัลย์ 3. กระบวนการปรับตัวของบ้านโบราณ 100 ปี 4. กระบวนการปรบั ตัวของวัดศรเี รอื งบุญ และ
5. กระบวนการมีส่วนร่วมของสวนสมุนไพรเฉลิมพระเกียรติ อีกทั้งรูปแบบสวัสดิการชุมชนท่ีเกิดขึ้นจาก
การท่องเท่ยี วชุมชนและหนุนเสริมการพฒั นาชุมชน 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ หนึ่ง สวัสดกิ ารชุมชนด้านเศรษฐกิจ
สอง สวัสดกิ ารชมุ ชนด้านการศกึ ษา และ สามสวัสดกิ ารชุมชนด้านสงิ่ แวดล้อม
คำสำคัญ: การท่องเท่ยี วชุมชน กลไกแหลง่ ทอ่ งเที่ยวชุมชน กระบวนการปรบั ตวั แหลง่ ท่องเทีย่ วชุมชน
สวัสดกิ ารชมุ ชน
บทนำ
ปัจจุบันสถานการณ์อตุ สาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศไทยเป็นอตุ สาหกรรมท่ีมีการขยายตัว
สูง ซ่ึงส่งผลสำคัญอย่างย่ิงต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย รวมท้ังเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญนำมาซึ่งเงินตรา
ต่างประเทศ การเพ่ิมขึ้นของรายได้ ภาวการณ์สร้างงาน โดยศักยภาพและทุนทางการท่องเท่ียว
ของประเทศไทย มีหลากหลายประเภทด้วยกัน อาทิ ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท่ีเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นท่ี ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่ทำให้
ประเทศไทยได้รับความสนใจและความนิยมที่จะเป็นเป้าหมายในการเดินทางเพ่ือการท่องเท่ียวอย่ าง
ต่อเนื่องจากนักท่องเท่ียวต่างชาติและนักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีให้ความสำคัญกับการเดินทางท่องเที่ยว
ภายในประเทศมากขึ้น (กรมการท่องเท่ียว, 2561) จากรายงานการจัดอันดับศักยภาพในการแข่งขันด้าน
ธุรกิจท่องเที่ยวของแต่ละประเทศท่ัวโลกฉบับปี 2562 โดยสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic
Forum : WEF) ประเทศไทยได้รับอันดับท่ี 31 จากทั้งหมด 140 ประเทศ และประเทศไทยจัดอยู่ใน
อันดับที่ 3 ของอาเซียน อีกทั้งประเทศไทยยังมีการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันด้านธุรกิจท่องเที่ยว
อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านโครงสร้างพื้นฐานการบริการท่องเท่ียว และ
ด้านการคมนาคมทางอากาศ ซึ่งอุตสาหกรรมท่องเท่ียวมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่าง
มาก ปี พ.ศ. 2562 คิดเป็นมูลค่า 5.75 หม่ืนล้านเหรียญ หรือคิดเป็นร้อยละ 9.6% ของผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศ (GDP) (สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, 2562) นอกจากนี้การเติบโตของเศรษฐกิจของ
สัมมนาผลงานวิชาการระดับบณั ฑิตศึกษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 179
ประเทศไทยที่รายได้ส่วนหนึ่งมาจากการได้รับผลกระทบโดยตรงเป็นอย่างมากจากอุตสาหกรรม
การทอ่ งเที่ยว
ในขณะที่แนวโน้มการท่องเท่ียวของประเทศไทยมีการเติบโตที่สูงข้ึนน้ัน ก็ได้มีการขยายความ
เปน็ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเข้าไปในพนื้ ทขี่ องชุมชนมากย่ิงข้นึ อกี ทั้งมนี กั ทอ่ งเทย่ี วสว่ นหนงึ่ ทีใ่ ห้ความ
สนใจกับการเดินทางไปสัมผัสกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของชุมชนในพ้ืนที่ต่างๆของประเทศไทยท่ี
เพิ่มมากข้ึน (การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย, 2559) ประกอบกับภาครัฐได้เล็งเห็นถึงความสำคัญและ
ผลกระทบในเชิงบวกที่จะทำให้เม็ดเงินจากอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวลงไปสู่เศรษฐกิจฐานรากของ
ประเทศ รวมทั้งทำให้เกิดการกระจายรายได้จากการท่องเท่ียวสู่ภาคชุมชนโดยตรง หรือท่ีเรียกว่า
การทอ่ งเท่ียวชมุ ชน ซึง่ สอดคลอ้ งกบั นโยบายของภาครฐั ท่ีตอ้ งการให้เศรษฐกจิ ฐานรากขบั เคล่ือนประเทศ
การพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากจึงเปน็ เป้าหมายสำคญั ประการหน่ึงทมี่ ีวัตถุประสงคใ์ นการลดความเหล่ือมล้ำ
การพฒั นาคณุ ภาพคน และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
การท่องเท่ียวชุมชน เป็นการท่องเท่ียวท่ีเกิดขึ้นจากการใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับและ
ประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการจัดการท่องเท่ียวภายในชุมชน เช่น การมีโปรแกรมท่องเท่ียวเชิง
ธรรมชาติจากบริบทและสภาพแวดล้อมดั้งเดิมของชุมชน การใช้วัตถุทางวัฒนธรรมภายในชุมชนเป็น
สถานที่ท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม เป็นต้น อีกทั้งการท่องเที่ยวชุมชนน้ัน ชุมชนยังจำเป็นต้องมีการปรับตัว
ให้ชุมชนของตนเองนั้นกลายเป็นชุมชนท่ีพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงเป็นชุมชนท่องเท่ียว กล่าวคือ การมี
นักท่องเที่ยวให้ความสนใจที่จะเข้ามาท่องเท่ียวยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆจากการจัดการภายในชุมชน
และการท่องเท่ียวชุมชนน้ันจำเป็นต้องมีการดำเนินการขับเคล่ือนโดยท่ีมีคนในชุมชนเป็นแกนหลักใน
การบรหิ ารจัดการ ส่งเสริมและเสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้กับชุมชนผ่านกระบวนการมีสว่ นร่วมของคนใน
ชุมชน
ชุมชนริมคลองมหาสวัสด์ิต้ังอยู่บนพื้นท่ีบริเวณริมคลองมหาสวัสดิ์ท่ีมีอายุเก่าแก่มากถึง 100 ปี
ทำใหช้ มุ ชนรมิ คลองมหาสวสั ดมิ์ ีวิถีชีวติ ทม่ี คี วามสัมพันธก์ บั สายน้ำเปน็ หลกั อาทิ ด้านประวตั ิศาสตร์ ดา้ น
การคมนาคม ด้านการประกอบอาชีพ ด้านวัฒนธรรม เป็นต้น ชุมชนริมคลองมหาสวัสด์ิจึงเป็นพื้นท่ีที่มี
ความน่าสนใจและมีความโดดเด่นในด้านการมีทุนชุมชนท่ีมีความสอดคล้องกับบริบทชุมชน ภายหลังปี
พ.ศ. 2554 จากเหตุการณ์อุทกภัยคร้ังใหญ่ ชุมชนได้ดำเนินการท่องเที่ยวชุมชนข้ึนและยังเป็นพื้นท่ีที่ทำ
ให้เห็นถึงศักยภาพของคนในชุมชนในการเข้ามามีส่วนร่วม และให้การสนับสนุนด้านต่างๆ ใน
กระบวนการบริหารจัดการการท่องเที่ยวชุมชน ซึ่งความน่าสนใจและความโดดเด่นในด้านศักยภาพพ้ืนท่ี
ชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์หรือทุนชุมชนน้ัน ได้แก่ ทุนธรรมชาติ ทุนมนุษย์ ทุนองค์ความรู้และภูมิปัญญา
และทุนวัฒนธรรม
ดังน้ันภาคการท่องเที่ยวในระดับชุมชนของชมุ ชนริมคลองมหาสวัสด์ินับวา่ เป็นชุมชนท่องเที่ยวท่ี
มี ค ว า ม น่ า ส น ใจ ใน ด้ า น ข อ ง ก า ร ป รั บ ตั ว ให้ เห ม า ะ ส ม กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บั น แ ล ะ ก า ร ค ง อ ยู่ ข อ ง
การท่องเที่ยวชุมชน บทความฉบับน้ีจึงต้องการนำเสนอประเด็นกลไกและกระบวนการปรับตัวแหล่ง
ท่องเที่ยวชุมชนสู่การจัดสวัสดิการชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ อำเภอบางกรวย จังหวัด
180 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑติ ศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดกิ ารสังคมระดับชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563
นนทบุรี ผ่านคำถามเพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาในมิติกลไกและกระบวนการปรับตัวแหล่งท่องเที่ยว
ของชุมชน และรูปแบบสวสั ดกิ ารทเี่ กดิ ขึน้ จากแหล่งท่องเทยี่ วชุมชน
คำถามและวัตถุประสงค์ของการศกึ ษา
บทความวิจัยฉบับนี้ ต้ังประเด็นคำถามที่น่าสนใจไว้ว่า ชุมชนริมคลองมหาสวัสด์ิมีกลไกและ
กระบวนการปรับตัวของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนอย่างไร และจากการเกิดขึ้นของแหล่งท่องเที่ยวชุมชนริม
คลองมหาสวสั ดิ์ นำไปสู่สวสั ดิการชุมชนรูปแบบใดบ้าง
จากประเด็นคำถามข้างต้น ไดก้ ำหนดวัตถุประสงค์เพอ่ื ศกึ ษากลไกและกระบวนการปรับตัวแหล่ง
ท่องเท่ียวชุมชน อีกทั้งเพ่ือศึกษารูปแบบสวัสดิการชุมชนท่ีเกิดจากแหล่งท่องเท่ียวชุมชนของชุมชนริม
คลองมหาสวัสด์ิ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบรุ ี
แนวคดิ เกย่ี วกบั กลไกและกระบวนการปรับตัวของชุมชน
แนวคิดเกี่ยวกับกลไกและกระบวนการปรับตัวของชุมชน Roy (2003) ได้ให้ความหมายไว้ว่า
การปรับตัวของมนุษยห์ รอื การปรับตวั ของบุคคล บคุ คลครอบคลุมถงึ ปจั เจกบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน หรือ
สังคม ซึ่งหมายถึง ระบบการปรับตัวท่มี ีส่งิ แวดลอ้ มที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเป็นส่ิงกระต้นุ และ
ด้วยบุ คคล จำเป็ น ต้องมีป ฏิ สัม พั น ธ์กับ ส่ิ งแวด ล้อมทั้ งภ าย ใน แล ะภ าย น อกท่ี มี การเป ลี่ย น แป ล งอยู่
ตลอดเวลา เพ่ือรักษาความม่ันคงภายในของตนเอง รวมถึง อรทัย ไพยรัตน์ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า
การเผชญิ กับสภาพแวดล้อมที่เปลีย่ นแปลงอย่ตู ลอดเวลาท้ังภายในจติ ใจและสภาพแวดล้อมภายนอก เช่น
สังคม เศรษฐกิจ ภูมิอากาศ ทำให้บุคคลจำเป็นต้องค้นหาวิธีในการรับ มือ ปรับตัว และต้องมี
ความสามารถในการปรับตัวอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง เพื่อให้
การดำรงชีวิตมีความปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมและอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข ขณะที่มูลนิธิ
เพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (2560) ได้ให้ความหมายของการปรับตัวของชุมชนไว้ว่า เป็นการดำเนินการ
เปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิต สภาพแวดล้อม หรือบริบทชุมชน จากการคำนึงถึงผลกระทบท่ีจะเข้ามา
ส่งผลในขณะปัจจุบันจนถึงในอนาคต ท้ังในด้านของส่ิงแวดล้อม ระบบนิเวศของชุมชน ซ่ึงการปรับตัว
เกิดขนึ้ ได้ในรปู แบบของการปรบั ตัวตามธรรมชาตแิ ละการปรับตัวในส่วนของแผนชมุ ชน
กลไกและกระบวนการปรับตัวของชุมชนอีกกระบวนการสำคัญที่จะทำให้ชุมชนเกิดการ
เปลยี่ นแปลง เป็นกระบวนการที่ต้องมีชุมชนเป็นผู้กำหนดแนวทาง กำหนดแผนงานท่ีจะดำเนินการต่างๆ
โดยกลไกและกระบวนการปรับตัวของชุมชนมีด้วยกัน (มูลนิธิเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน , 2560) ดังนี้
1) ชุมชนต้องมีการเตรียมความพร้อมเพื่อปรับตัว 2) ชุมชนต้องสามารถวิเคราะห์และเข้าใจถึงปัญหา
3) ชุมชนและคนในชุมชนต้องเป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินการ 4) ปรับใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมา
ดำเนินการร่วมกับความรู้ทางวิชาการ 5) การปรับตัวที่สำคัญจำเป็นต้องคำนึงถึงบริบทให้ครอบคลุมทุกมิติ
และผลกระทบท่ีชุมชนจะได้รับในระยะยาว 6) ชุมชนต้องมีการปรับตัวอย่างเป็นพลวัตร 7) ประสาน
ความรว่ มมอื กับเครือข่ายภายนอกท้ังในภาคส่วนของหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน
สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บณั ฑิตศกึ ษาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์และสวสั ดิการสงั คมระดบั ชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปกี ารศึกษา 2563 | 181
ส่วนแนวทางการปรับตัวของชุมชน ต้องคำนึงถึงบริบท ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติ และ
วิถีชีวิตของคนในชุมชนเป็นสิ่งสำคัญ (มูลนิธิเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน, 2560) โดยแบ่งแนวทางการปรับตัว
ของชุมชนออกเป็น 3 ปัจจัย ดังน้ี 1) การเผชิญหน้า (Exposure) หมายถึง การมีมาตรการป้องกัน
2) ความอ่อนไหว (Sensitivity) หมายถึง การมีมาตรการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของชุมชน 3) ความสามารถ
ในการรับมือจัดการ (Coping Capacity) หมายถึง การเตรียมพร้อมในการรับมือกับปัญหาและ
สถานการณ์ท่อี าจเกดิ ข้ึนได้ในชุมชน
แนวคิดเก่ยี วกบั การจัดการท่องเท่ียวชุมชน
การท่องเที่ยวชุมชน เป็นการท่องเที่ยวทางเลือกที่มุ่งเน้นความย่ังยืนและประโยชน์สูงสุดต่อ
ชุมชน และต้องเป็นการท่องเท่ียวท่ีมีชุมชนและคนในชุมชนเป็นเจ้าของ บนฐานของการมีส่วนร่วมใน
การดำเนินการตา่ งๆ เช่น การกำหนดทิศทาง การวางแผน การปฏิบัติ และการสรปุ ผลการปฏิบัติรว่ มกัน
อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาศักยภาพของชุมชนและคนในชุมชนด้านการจัดการความรู้ควบคู่ไปด้วย และ
ยังต้องมีการนำทรัพยากรที่อยู่ภายในชุมชนมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการท่องเที่ยวชุมชน อาทิ
ทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณี (สินธ์ุ สโรบล, 2559) โดยมีผู้ให้
คำนิยามในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน อย่างเช่น พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ (2557) กล่าวไว้ว่าการท่องเท่ียว
ชมุ ชน เป็นรปู แบบการสร้างความเข้มแข็งจากดำเนินงานโดยมเี คร่ืองมือ คือ การมุ่งเน้นสรา้ งความสมดุล
ทัง้ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม สงั คม เศรษฐกิจของชมุ ชน และเพื่อเป็นการกระตนุ้ การแก้ไข
ปัญหารวมถึงการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่คนในชุมชน เช่น การสร้างงาน การกระจายรายได้ ไปจนถึง
การแก้ไขปัญหาความยากจน โดยที่การท่องเท่ียวชุมชนต้องมีหลักการท่ีสำคัญ ดังเช่น สถาบัน
การท่องเท่ียวโดยชุมชน (2552) ได้กำหนดไว้ 10 ประการ ดังนี้ 1) เจ้าของโดยชุมชนเป็นหลัก 2) การมี
สว่ นร่วมดำเนินการของคนในชุมชน 3) สร้างเสริมความภาคภูมิใจของชุมชน 4) สร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตที่
ดีขึ้น 5) ส่ิงแวดล้อมของชุมชนมีความย่ังยืน 6) รักษาวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้องถิ่น 7) แลกเปลี่ยน
เรียนรู้กับชุมชนอื่นได้ 8) เข้าใจ เคารพในศักดิ์ศรีของมนุษย์และต่างวัฒนธรรม 9) สร้างผลตอบแทนท่ี
เสมอภาคแก่คนในชมุ ชน 10) เกดิ การกระจายรายได้ส่ชู มุ ชนเพอ่ื การพัฒนาสาธารณประโยชน์
เม่ือพูดถึงการท่องเท่ียวชุมชนแล้วน้ัน จำเป็นต้องมีกระบวนการบริหารจัดการท่องเท่ียวชุมชน
โดย ชูกล่ิน อุนวิจิตร (2553) กล่าวไว้ว่า เริ่มต้นจากชุมชนมีความพร้อมและความเข้าใจในการท่ีจะวาง
แผนการสร้างความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติและองค์ประกอบภายในชุมชนด้านอื่นๆ รวมไปถึง
ความพร้อมของชุมชนที่เป็นรากฐานสำคัญต้องมีการกระตุ้นให้เกิดการศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ร่วมกัน
ของผู้นำและชุมชนในด้านประวัติศาสตร์ องค์ความรู้ชุมชน และวัฒนธรรมชุมชนก่อน เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจด้านความเป็นมาของชุมชนท่ีแท้จริง และเป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการท่องเที่ยว
ชุมชนที่มีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีความรู้ต่างๆท่ีอาจจะพ่ึงเกิดขึ้นในชุมชนยังสามารถใช้เป็นองค์ความรู้
ให้กับนักท่องเท่ียวได้ และองค์ประกอบของการจัดการท่องเท่ียวชุมชน ชูกลิ่น อุนวิจิตร (2553) ได้กล่าวถึง
องค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวชุมชนจำเป็นต้องมีองค์ประกอบ ได้แก่ 1) ทรัพยากรธรรมชาติที่
182 | สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑติ ศกึ ษาสังคมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสังคมระดับชาติ คร้งั ท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
อุดมสมบูรณ์ และวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ชุมชน 2) ชุมชน คนในชุมชน และองค์กรชุมชนมี
ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันและมีความต้องการท่ีจะพัฒนาชุมชนร่วมกัน 3) มีกฎ กติกาในการจัดการ
วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมชุมชน และ 4) สร้างกระบวนการเรียนรู้ท่ีร่วมกันของชุมชนและผู้มาเยือน
ผ่านกิจกรรมการท่องเที่ยวในด้านวิถีชีวิตชุมชนและวัฒนธรรมชุมชน รวมไปถึงการสร้างจิตสำนึกเร่ือง
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ อีกท้ัง สุถี เสริฐศรี (2557) ได้กล่าวถึงการเตรียม
ความพร้อมของชุมชนในการจัดการท่องเท่ียวชุมชน ไว้ว่า ชุมชนต้องทราบศักยภาพและความพร้อมของ
ตนเอง เพื่อที่จะรองรบั นักท่องเท่ียวและบรหิ ารจดั การด้านการรับมือกับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่
อาจจะเกิดข้ึน หากชุมชนมีศักยภาพในการรับมือท่ีดีได้นั้น และ วรุฒม์ บุญมากมี (2558) ได้กล่าวว่า
ชุมชนจะสามารถประสบความสำเร็จในด้านการจัดการท่องเท่ียวได้อย่างย่ังยืน และองค์ประกอบด้าน
ความพร้อมของชุมชนประกอบด้วย 4 ประการ คือ 1) ด้านภายภาพ ได้แก่ ศักยภาพของผู้นำและคนใน
ชมุ ชนตอ่ การดำเนนิ การจัดทำการทอ่ งเท่ยี วชุมชน 2) ดา้ นสตปิ ัญญา ไดแ้ ก่ การเข้ารับกระบวนการเตรยี ม
ความพร้อมด้านความรู้ความสามารถนำการจัดการท่องเที่ยวชุมชนจากการอบรม 3) ด้านส่ิงแวดล้อม
ได้แก่ สภาพแวดล้อม บริบท และทรัพยากรภายในชุมชนที่จะนำมาใช้ประโยชน์ต่อการจัดต้ังแหล่ง
ท่องเท่ียวชุมชน 4) ด้านอารมณ์ ได้แก่ แรงกระตุ้นทางด้านอารมณ์ของผู้นำและคนในชุมชน
ท้ังความสนใจ แรงจูงใจ และบคุ ลกิ ภาพในดา้ นความต้องการทีจ่ ะจัดทำการท่องเทย่ี วชมุ ชน
แนวคดิ เก่ยี วกับการจดั การทุนชมุ ชน
แนวคิดเก่ียวกับการจัดการทุนชุมชน ทุนชุมชนเป็นส่ิงที่มีอยู่ภายในชุมชนอันเป็นสิ่งดีงามและ
เออื้ ประโยชน์ได้ ประกอบด้วย ทนุ ความรู้และภมู ิปัญญา ทุนทางสงั คม ทุนทรัพยากรและธรรมชาติ ทนุ ท่ี
มีการสะสม และทุนมนุษย์ (เสรี พงศ์พิศ, 2545) และกองทุนเพื่อสังคม อ้างถึงใน วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์ุ
(2548) ได้ให้คำนิยามของทุนชุมชนไว้ว่า เป็นส่ิงที่นำไปสู่การสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง และทำให้เกิด
ความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน เช่น ความเสียสละ ความสามัคคี ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
ร่วมกัน ซ่ึงทุนของชุมชน ประกอบด้วย ทุนวัฒนธรรม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และทุนมนุษย์ โกวิทย์
พวงงาม (2553) กล่าวถึง ประเภทของทุนชุมชนโดยจำแนกประเภทไว้ ดังนี้ 1) ทุนพ้ืนฐาน (Basic
Capital) คือ ปัจจัยพ้ืนฐานในการดำรงชีวิตประจำวันของชุมชนและช่วยทำให้ชุมชนประสบความสำเร็จ
2) ทนุ ธรรมชาติ (Natural Capital) คือ การที่ชุมชนนำทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นฐานในการใช้ประโยชน์
3) ทนุ แห่งชีวิต หรือทุนสร้างสรรค์ คอื การพยายามสร้างความสมดุลในธรรมชาติ เพ่ือก่อให้เกิดการพึง่ พา
อาศัยซึ่งกันและกันในระยะยาว 4) ทุนมนุษย์ (Human Capital) คือ การที่ชุมชนมีทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ
และต้องมีการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพของทุนมนุษย์ที่เพียงพอและเหมาะสม 5) ทุนความรู้
ภูมิปัญญา (Knowledge Wisdom Capital) คือ ส่ิงที่เกิดข้ึนจากกระบวนการผ่านการคิดค้นของคนใน
ชมุ ชน และเกิดจากการส่ังสมความรูม้ าเป็นระยะเวลานาน 6) ทนุ วัฒนธรรม (Cultural Capital) จำแนก
ได้เป็น 2 รูปแบบ คือ วัฒนธรรมเชิงนามธรรมที่ไม่มีรูป เช่น ระบบความคิด ความเชื่อ พิธีกรรม
องค์ความรู้ ภูมิปัญญา เป็นต้น และวัฒนธรรมเชิงรูปธรรมที่มีรูปลักษณ์เป็นส่ิงที่มีคุณค่า เช่น อาคาร
สัมมนาผลงานวชิ าการระดบั บัณฑิตศึกษาสงั คมสงเคราะห์ศาสตรแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมระดับชาติ ครั้งที่ 10 ประจำปีการศึกษา 2563 | 183
บ้านเรือน สิ่งอำนวยความสะดวก เป็นต้น สะท้อนวิถีชีวิตและส่ิงที่ตนในชุมชนได้สืบทอดกันมาอย่าง
ยาวนาน 7) ทุนทางสังคม (Social Capital) หมายถึง ความสัมพันธ์ท่ีดีของคนในชุมขนที่มีต่อกัน หรือ
กฎเกณฑ์ทางสังคมท่ีหล่อหลอมให้คนอยู่ร่วมกันในชุมชน เสรี พงศ์พิศ (2548) ได้กล่าวไว้ว่า การจัดการ
ทุนชุมชนเปรยี บดั่งการจัดการชุมชนแบบรวมศูนย์ และควรคำนึงถึงทุนความรู้ภูมิปัญญาในด้านการผลิต
ข้าวของเครื่องใช้ การอยู่ร่วมกันภายในชุมชน การดำรงชีวิตร่วมกัน ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
ร่วมกัน รวมไปถึงต้องคำนึงถึงทุนทางสังคม อันหมายถึง กฎระเบียบชุมชน จารีตประเพณีที่ทำให้คนอยู่
ร่วมกัน เพ่ือให้ชุมชนมีความภาคภูมิใจในตนเองและสามารถพัฒนาความสามารถในการดำเนินกิจกรรม
ได้อย่างมีความเช่ือมั่น ขณะที่ วรวุฒิ โรมรัตนพันธ์ุ (2548) ได้ให้แนวทางการจัดการทุนชุมชนไว้เช่นกัน
โดยแบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะตามองค์ประกอบ ดังนี้ 1) แนวทางในการจัดการทุนชุมขนท่ีสามารถควบคุม
องคป์ ระกอบภายใน โดยเป็นการจัดการในด้านระบบความคิดและนำไปสกู่ ารสรา้ งระบบความสัมพนั ธท์ ่ดี ี
ทางสังคมบนพ้ืนฐานของการยกระดับจิตใจของบคุ คลต่อสาธารณะ และ 2) แนวทางการจัดการทุนชุมชน
ท่ีเก่ียวกับองค์ประกอบภายนอก ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ควบคุมได้ยากและมีความซับซ้อน ได้แก่
หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน นโยบาย กฎหมาย โครงการ หรอื งบประมาณทีม่ าจากภายนอก
แนวคดิ เก่ยี วกับทุนทางสงั คม
Bourdieu (1986) ได้อธิบายถึงทุนทางสังคม คือ การรวมตัวกันของทรัพยากรท่ีมีอยู่หรือการมี
ศักยภาพที่มคี วามสัมพันธ์กับเครือข่าย ความคงอยูข่ องความสัมพันธ์ในทุนทางสังคมที่มากขึ้นหรอื นอ้ ยลง
นั้นขึ้นอยู่กับความใกล้ชิดและการยอมรับซึ่งกันและกัน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือการเป็นสมาชิกของ
เครอื ข่ายและการได้รับการสนับสนุนจากเครอื ข่ายนั้นเป็นทุนทางสังคมอย่างหนึ่ง ซ่ึงถือว่าเป็นทรพั ยากร
อย่างหน่ึงที่เอ้ือประโยชน์ให้ได้รับการอำนวยความสะดวกในสังคมในแง่มุมต่างๆ ทุนทางสังคมใดท่ีมี
ความสัมพันธ์ที่ดีและแน่นแฟ้นต่อกัน เป็นทุนทางสังคมในลักษณะที่ย่ังยืน เช่นเดียวกันกับ Coleman
(1990) กล่าวถึง ทุนทางสังคมไว้ว่า ถือเป็นทรัพยากรประเภทหน่ึงท่ีเป็นประโยชน์ ทุนทางสังคมถูก
กำหนดโดยหน้าท่ี มีองค์ประกอบสองอย่างด้วยกัน ได้แก่ โครงสร้างทางสังคมและ โครงสร้าง
ความสัมพันธ์ของบุคคลภายในโครงสร้างน้ัน ทุนทางสังคมมีความสามารถในการทำให้เกิดประสิทธิผล
หรือความสำเร็จในบางสิ่งบางอย่างได้ ทุนทางสังคมแตกต่างจากทุนในรูปแบบอ่ืนๆในด้านของโครงสร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก และมีการขับเคลื่อน หรือทำบางสิ่งโดยสมาชิกภายในทุนทางสังคมนั้น
นอกจากนี้ในส่วนของ Putnam (1995) ได้ให้ความหมายถึงทุนทางสังคมของไว้ว่า ทุนทางสังคม
คือ คุณลักษณะของการจัดระเบียบสังคม เช่น เครือข่าย บรรทัดฐาน และความไว้วางใจทางสังคม
ทีอ่ ำนวยความสะดวกในการประสานงานและความรว่ มมือเพื่อผลประโยชนร์ ่วมกนั
ในส่วนของประเภททุนทางสังคม น้ัน ได้มีคำนิยามของ Anheier, Helmut และ Jeremy
Kendall (2002) ได้จำแนกประเภททุนทางสังคมไว้ ดังน้ี 1) ทุนทางสังคมภายในครัวเรือน หมายถึง
ทุนทางสังคมท่ีมีความเชื่อมโยงระหว่างบุคคลเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะปิด มักถูกอธิบายว่าเป็น
ความสมั พันธใ์ นแนวนอนระหว่างบคุ คลในกลุ่มสังคม2) ทุนทางสังคมภายในชุมชน หมายถงึ ทุนทางสังคม
184 | สมั มนาผลงานวิชาการระดบั บัณฑิตศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดบั ชาติ ครั้งท่ี 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563
ทเี่ ช่ือมระหว่างกลุ่มในแนวระนาบ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลท่ีมองข้ามการแบ่งแยกทางสังคมหรือ
ระหว่างกลุ่มทางสังคม และ 3) ทุนทางสังคมภายนอกชุมชน หมายถึง ทุนทางสังคมในแนวด่ิง เก่ียวข้อง
กบั บรรทดั ฐานของความเคารพและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเครอื ขา่ ยท่ีไวว้ างใจกนั หรอื ระหว่างกลมุ่ ในระดับ
ท้องถ่ินกับองค์กรภายนอกหรือองค์กรของรัฐ และการกำหนดทุนทางสังคมที่สำคัญต่อแนวคิดเกี่ยวกับ
ทุนทางสังคม ได้มี Aldridge, Stephen, David Halpern, และ Sarah Fitzpatrick (2002) ได้กล่าวไว้
ว่า เป็นปัจจยั หลกั ของทนุ ทางสังคม ไดแ้ ก่ ประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรม ไมว่ ่าจะเป็นโครงสรา้ งทางสังคม
ในแนวราบหรือแนวดิง่ ครอบครัว การศกึ ษา สภาพแวดล้อม การเคลื่อนยา้ ยท่ีอยูอ่ าศัย ความไม่เทา่ เทียม
กนั ทางเศรษฐกิจและชนชั้นทางสงั คม ความเข้มแขง็ และลักษณะเฉพาะของภาคประชาสังคมและรูปแบบ
ของการบริโภคส่วนบุคคลและค่านิยมส่วนบุคคล ในขณะท่ี Pantoja (1999) ได้กล่าวถึงปัจจัยท่ีกำหนด
ทุนทางสงั คม ได้แก่ การเชื่อมโยงระหว่างครอบครวั และเครือญาติ เครือข่ายสังคมที่กว้างข้ึนทั้งอย่างเป็น
ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ สังคม การเมือง สถาบันและนโยบายซ่ึงรวมถงึ กฎหมายและบรรทัดฐานทเ่ี ป็น
ทางการที่ควบคมุ ชวี ติ ของคนในสงั คมและบรรทัดฐานค่านยิ มทางสงั คม
แนวคดิ สวสั ดิการชมุ ชน
แนวคิดสวัสดิการชุมชน เป็นการจัดสวัสดิการชุมชนในรูปแบบการมีคุณค่าและศักด์ิศรีของท้ัง
ผู้ให้และผู้รับ เพ่ือเป็นการสร้างหลักประกันที่ทำให้คนในชุมชนมีวิถีชีวิตที่ดีขึ้นตลอดท้ังช่ัวอายุ การจัด
สวัสดิการชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เช่น กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุในชุมชน กองทุนออมวันละบาท
กองทุนสวัสดิการผู้นำชุมชน กองทุนสัจจะออมทรัพย์ เป็นตน้ (สถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน, 2562) โดยมี
ผู้ให้คำนิยายไว้หลากหลายท่านด้วยกัน ดังเช่น ปัทมาวดี โพชนุกูล ซูซูกิ (2552) กล่าวไว้ว่า การให้เพื่อ
การสงเคราะหห์ รือการแก้ไขปัญหาของบคุ คลในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในเร่อื งของเงินหรือส่ิงของของ
กลุ่มองค์ต่างๆ รวมทั้งเครือข่ายภายนอกชุมชน อีกท้ัง อุทัย ปริญญาสุทธินันท์ (2561) ได้อธิบายไว้ว่า
สวัสดิการชุมชนเป็นสวัสดิการที่จัดข้ึนบนพ้ืนฐานของการใช้ทุนเดิมของชุมชนในการช่วยเหลือเกื้อกูล
ภายในชุมชน และผู้นำชุมชนต้องจัดสวัสดิการชุมชนท่ีครอบคลุม กว้างขวาง และทั่วถึงแก่คนในชุมชน
และ ชัยวัชน์ หน่อรัตน์ (2556) ได้นิยามไว้ว่า สวัสดิการชุมชนต้องคำนึงถึงคนในชุมชนเป็นหลัก เพ่ือให้
คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และมีความสัมพันธ์ที่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาพ ผ่านการจัด
สวสั ดิการท้งั ในด้านการมอบบริการชมุ ชนทงั้ ด้านคุณค่าทางจิตใจและดา้ นวัตถุ
ในส่วนของประเภทและรูปแบบของการจัดสวัสดิการชุมชน ได้มีผู้อธิบายไว้ ดังเช่น อภิญญา
เวชยชัย และศิริพร ยอดกมลศาสตร์ (2550) จำแนกรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3
ฐาน ได้แก่ ฐานทรัพยากร ฐานวัฒนธรรม และฐานงานพัฒนา มีรายละเอียดดังนี้ 1) การจัดสวัสดิการ
จากฐานทรัพยากร เน้นการจัดสวัสดิการเพื่อทุกคน ความม่ันคงทางด้านอาหาร และใช้ทรัพยากรเป็น
แหล่งหารายได้และวัตถุดิบพร้อมกัน 2) การจัดสวัสดิการจากฐานวัฒนธรรม เน้นการจัดสวัสดิการท่ี
สำคัญในการเกื้อกูลของระบบอุปถัมภ์ 3) การจัดสวัสดิการจากฐานงานพัฒนา เป็นส่วนที่ชุมชนรับเอา
รูปแบบมาจากเครือข่ายภายนอกเข้าไปปรับเปล่ียนให้เหมาะสมและดำเนินการในชุมชน เช่นเดียวกันกับ