The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือหลักสูตรสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by WJ RT Waeojeab, 2022-09-19 22:12:59

หลักสูตรสถานศึกษา

หนังสือหลักสูตรสถานศึกษา

Keywords: ่ีjulawan19299





ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการท่ี สพฐ.
๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสงั่ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑
ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐)

โดยมีคำสั่งให้โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ประถมศึกษาปีที่ ๔ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของ
ประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับ
นโยบายและเป้าหมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

โรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์ จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕65 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) รวมถึงการกำหนด
หลักสูตรต้านทุจริต เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและ
จัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ
โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตาม
ความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มี
ความพรอ้ มในการกา้ วสสู่ งั คมคุณภาพ มีความรูอ้ ยา่ งแทจ้ ริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง ในทุกระดับเห็น
ผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรือ่ งการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่
ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผเู้ รยี นทุกกลุม่ เป้าหมายในระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

การจดั หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสำเร็จตามเปา้ หมายที่คาดหวงั ได้ ทกุ ฝ่ายที่เก่ียวข้อง
ท้ังระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และบุคคลต้องรว่ มรับผิดชอบ โดยรว่ มกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ใน
การวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่
คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ่ีกำหนดไว้



พระบรมราโชบายด้านการศึกษา รัชกาลที่ ๑๐

การศึกษาต้องมุ่งสร้างพน้ื ฐานให้แก่ผู้เรยี น ๔ ด้าน
๑. มีทศั นคตทิ ีถ่ กู ตอ้ งต่อบ้านเมือง
๑. ตอ้ งมคี วามรู้ความเขา้ ใจท่ีมีตอ่ ชาตบิ า้ นเมือง
๒. ยดึ มัน่ ในศาสนา
๓. มนั่ คงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์
๔. มคี วามเออื้ อาทรต่อครอบครัวและชมุ ชนของตน
๒. มีพ้ืนฐานชวี ิตทีม่ ัน่ คง มคี ณุ ธรรม
๑. ใหร้ ู้จกั แยกแยะสง่ิ ท่ีผิด-ชอบ ชวั่ -ดี
๒. ปฏบิ ัตแิ ต่สิง่ ที่ชอบที่ดีงาม
๓. ปฏิเสธสงิ่ ท่ผี ดิ ท่ีชั่ว
๔. ชว่ ยกนั สร้างคนดใี หแ้ กบ่ ้านเมือง
๓. มีงานทำ มีอาชพี
๑. การอบรมเลยี้ งดลู ูกหลานในครอบครวั หรือการฝึกอบรมในสถานศึกษา ต้องมงุ่ ใหเ้ ด็กและ
เยาวชนรกั งาน สงู้ าน ทำงานจนสำเร็จ
๒. การฝึกอบรมทั้งในหลกั สตู รและนอกหลกั สตู ร ตอ้ งมีจดุ มุง่ หมายใหผ้ ูเ้ รียนทำงานเป็นและ
มงี านทำในทส่ี ุด
๓. ต้องสนบั สนนุ ผสู้ ำเร็จหลักสตู รมอี าชพี มีงานทำ จนสามารถเลี้ยงตวั เองและครอบครัวได้
๔. เปน็ พลเมอื งดี
1. การเป็นพลเมืองดเี ป็นหน้าท่ีของทุกคน
2. ครอบครัว-สถานศึกษาและสถานประกอบการ ต้องส่งเสรมิ ให้ทุกคนมีโอกาสทำหนา้ ที่พลเมืองดี
3. การเป็นพลเมืองดคี ือ“เห็นอะไรทจี่ ะทำเพ่ือบา้ นเมืองได้ก็ตอ้ งทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร งานบำเพ็ญ
ประโยชน์ งานสาธารณะกุศลให้ทำด้วยความมีนำ้ ใจและความความเอื้ออาทร

วิสัยทศั นห์ ลักสูตรสถานศึกษา

หลักสตู รโรงเรียนวดั ช่องเป่ียมราษฎร์ พุทธศกั ราช ๒๕๖5 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖0) เปน็ หลกั สูตรท่มี ่งุ พัฒนาผ้เู รียนทุกคนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
สู่มาตรฐานสากลและเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คุณธรรม มีความเป็นผู้นำของสังคมมี
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐานสามารถใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยรี วมทัง้ เจตคติท่จี ำเป็นตอ่ การศกึ ษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผูเ้ รียนเป็น
สำคัญบนพ้ืนฐานความเชือ่ วา่ ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ



เปา้ ประสงคห์ ลักสตู ร (Corporate objective)
1. เพื่อให้ผู้เรยี นทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการพัฒนา

เต็มตามศักยภาพ มที กั ษะชวี ิต มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเป็นแนว
ทางการดำเนินชีวิต เป็นผู้นำที่ดขี องสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้และการส่ือสาร
อย่างหลากหลาย ผเู้ รียนมีศกั ยภาพเป็นพลโลก (Worid Citizen)

2. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ (Quality System
Management) เพอ่ื รองรบั การกระจายอำนาจอยา่ งท่ัวถึง

3. เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่
ทนั สมัยยกระดบั การจดั การเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (Worle Class standard)

4. เพอ่ื ให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเปน็ ไปตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสทิ ธิผลสูงสุด

วิสยั ทศั น์โรงเรียน
โรงเรียนวดั ช่องเป่ียมราษฎร์ ใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน ประสานภมู ปิ ัญญาไทย ใส่ใจเทคโนโลยีตามวถิ เี ศรษฐกิจ

พอเพียง เคียงคคู่ ณุ ธรรมนำความรู้ สู่มาตรฐานสากล

พนั ธกจิ
1. จัดการศกึ ษาระดบั อนบุ าลถึงชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทงั้ ในและนอกเขตบริการเกณฑ์นักเรยี นที่มอี ายุ

เขา้ เกณฑ์ภาคบังคบั ในเขตบรกิ ารได้ 100 %
2. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐาน

การศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและความตอ้ งการของท้องถิ่น
3. วิเคราะห์จัดทำงบประมาณท่ีได้รับการอุดหนุนจากเขตพืน้ ท่ี จากหน่วยงานอืน่ และท่ีไดร้ ับบรจิ าคจาก

องค์กรเอกชน
4. จดั ทำ/ปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษา และระเบยี บการวดั ผลประเมินผล
5. กำกับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน
6. ศึกษาวิเคราะห์ วจิ ยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ด้านการศกึ ษาของโรงเรียน
7. ระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรพั ยากรบคุ คล เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในโรงเรยี น
8. สรา้ งนักเรยี นให้มคี วามรทู้ ไี่ ดม้ าตรฐาน
9. ปลูกฝังนักเรียนให้เปน็ คนทมี่ คี ณุ ธรรม สามารถครองตนอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
10. จัดระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียน

เปา้ ประสงค์
1. นักเรียนในเขตบริการและนอกเขตบริการของโรงเรียนมีความเสมอภาคดา้ นโอกาสทางการศึกษา
2. โรงเรียนมแี ผนกลยทุ ธใ์ นการบริหารจดั การ
3. โรงเรยี นมีการจัดระบบและพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศเปน็ ปัจจุบันและนำมาใชใ้ นการบริหารจดั

การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
4. มหี ลกั สูตรสถานศกึ ษาใชอ้ ย่างเหมาะสมกับสภาพทอ้ งถิ่น
5. พฒั นากระบวนการเรียนการสอนทีม่ งุ่ ส่งเสริมการเรียนรู้โดยยดึ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
6. มีทรพั ยากรด้านต่างๆท้ังทรพั ยากรบุคคลเพยี งพอในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
7. นกั เรียนมคี วามรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานมคี ุณธรรม จริยธรรม



8. โรงเรยี นมีการจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน เพ่ือรองรบั การประเมนิ ภายนอก
9. สง่ เสริมการศกึ ษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงข้ึนโดยใหส้ ัมพันธ์กบั ความต้องการด้านอาชพี

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์ พุทธศักราช ๒๕๖4 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖3) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

1. รักษ์ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอื่ สัตย์สจุ รติ
3. มวี นิ ัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มจี ติ เป็นสาธารณะ

มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นวัดช่องเปี่ยมราษฎร์

โรงเรยี นวดั ช่องเปี่ยมราษฎร์ อำเภอนาโยง จังหวดั ตรงั เปน็ โรงเรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ได้กำหนดมาตรฐานสถานศึกษาตามมาตรฐาน
การศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ดังรายละเอียด
ต่อไปน้ี

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖5 มจี ำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รียน
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั

แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอียด ดงั น้ี



มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น
ความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา
๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร
๕) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ
๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
๑) การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
๒) ความภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ
กลมุ่ เป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบคุ ลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ
๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้
๓.๒ ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรทู้ ีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้



สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
จำนวน ๓๑ สาระ ๕๕ มาตรฐาน ดังน้ี

กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย (๕ สาระ ๕ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ แก้ปัญหาในการดำเนิน

ชีวติ และมนี ิสยั รักการอ่าน

สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียน เขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขียนเรอื่ งราวใน

รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

สาระท่ี ๓ การฟงั การดแู ละการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สึก

ในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์

สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ

ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติ ของชาติ

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (๓ สาระการเรยี นรู้ ๗ มาตรฐานการเรยี นร้)ู

สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ

จำนวน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการดำเนินการสมบัติของการดำเนนิ การและนำไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟังกช์ นั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่

กำหนดให้

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ

นำไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป

เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้



สาระท่ี ๓ สถิติและความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรูท้ างสถิติในการแก้ปัญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบ้อื งต้น ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (๔ สาระ ๑๐ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต

และความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กับส่ิงมีชีวิตต่างๆ ในระบบนเิ วศการถ่ายทอดพลงั งานการเปล่ียนแปลงแทนที่ใน
ระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา และผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม แนวทาง
ในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ ไปใช้
ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สง่ิ มีชีวติ รวมทัง้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสาร

กบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอ่ื นทีแ่ บบต่างๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง
และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของ เอกภพ กาแลก็ ซี

ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะทีส่ ่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยี
อวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลม ฟ้า อากาศ และภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
ส่ิงมชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชวี ิตในสงั คมท่ีมกี ารเปล่ียนแปลงอย่าง
รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน



อย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ
ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๕ สาระ ๑๑ มาตรฐาน)

สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ี

ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรทั ธาที่ถกู ต้อง ยึดมั่น และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพ่ืออย่รู ่วมกันอย่างสนั ติสุข
มาตรฐาน ส๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏบิ ัตติ นเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรกั ษาพระพุทธศาสนาหรือ

ศาสนาทตี่ นนบั ถอื

สาระท่ี ๒ หน้าท่พี ลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชวี ิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏิบัตติ นตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมอื งดี มีค่านิยมที่ดงี ามและธำรงรักษา

ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสนั ติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จุบันยดึ มั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้

ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ

สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้

ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เพ่อื การดำรงชีวิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ

มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกจิ และความ
จำเป็นของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก

สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้

วิธีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปจั จบุ ัน ในดา้ นความสัมพันธ์และการ

เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวเิ คราะหผ์ ลกระทบทเี่ กิดข้ึน
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภมู ิปัญญาไทยมีความรกั ความภมู ิใจและ

ธำรงความเปน็ ไทย
สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร์

มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการ ทางภูมิศาสตร์
ตลอดจนใชภ้ มู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ



มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่
ยงั่ ยนื

กลุม่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (๕ สาระ ๖ มาตรฐาน)

สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์

สาระที่ ๒ ชวี ิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ๒.๑เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษาและมที ักษะในการดำเนนิ ชวี ิต

สาระท่ี ๓ การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจำอย่าง

สมำ่ เสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนกั กีฬา มจี ิตวิญญาณในการแขง่ ขันและชื่นชมในสุนทรียภาพของ
การกีฬา

สาระท่ี ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค

และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพือ่ สขุ ภาพ

สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปจั จัยเสยี่ ง พฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สาร

เสพตดิ และความรนุ แรง

สาระการเรียนรู้ศิลปะ (๓ สาระ ๖ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์

วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างาน
ทัศนศลิ ป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล
สาระที่ ๒ ดนตรี

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ณุ ค่าดนตรี
ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคณุ ค่าของดนตรี
ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

๑๐

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์

คุณคา่ นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรสู้ ึกความคดิ อย่างอิสระช่นื ชมและประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของ

นาฏศิลปท์ ี่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล

กลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ (๒ สาระ ๒ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ิตและครอบครวั
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การ

จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำรงชีวิตและ
ครอบครวั

สาระท่ี ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจ มีทักษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพอ่ื

พัฒนาอาชพี มีคุณธรรมและมเี จตคติทีด่ ีต่ออาชีพ

สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (๔ สาระ ๘ มาตรฐาน)

สาระท่ี ๑ ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่ืองท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเห็นอย่าง

มเี หตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและ

ความคิดเหน็ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เห็นในเรอื่ งต่างๆ โดยการพูด

และการเขียน

สาระท่ี ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้

อยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม

สาระท่ี ๓ ภาษากับความสัมพนั ธก์ บั กล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืน
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็น

พืน้ ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั นข์ องตน

สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพนั ธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ งๆทั้งในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม

๑๑

มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ
การแลกเปลย่ี นเรียนรูก้ บั สังคมโลก

หลกั สตู รการป้องกนั การทุจริตศึกษา

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาสำหรับใช้ในทุกระดับการศึกษา
ในส่วนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้จัดทำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม
“การปอ้ งกันการทจุ ริต” ขึ้น และคณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เมือ่ วนั ท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑
และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา
โดยมุ่งเน้นการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจริตในลักษณะ
ต่าง ๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต ความสำคัญของการต่อต้านการทุจริต รวมท้ัง
จัดให้มีการประเมินผลสมั ฤทธิข์ องการจัดหลักสตู รในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียนด้วย

หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) รายวิชาเพิม่ เตมิ “การป้องกันการทุจริต”
ประกอบดว้ ย ๔ หน่วยการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ๑) การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒) ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓) STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต ๔) พลเมืองกับความรับผิดชอบ
ต่อสังคม ที่สถานศึกษาจัดให้กับผู้เรียนเพื่อปลูกฝังและป้องกนั การทุจริตไม่ให้เกิดขึ้น โดยเริ่มปลูกฝังผู้เรยี นตัง้ แต่
ชั้นปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะที่สำคัญ และมี
คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรยี นวดั ชอ่ งเป่ยี มราษฎร์ ระดบั ประถมศึกษา ๑๒

เวลาเรยี น (ชั่วโมง/ปี) ป. 6

กลุ่มสาระการเรยี นรู้/ กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา 160
160
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 120
120
รายวชิ าพนื้ ฐาน 160 40
160
ภาษาไทย 200 200 200 160 120 80
120
คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 40 80
80
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 120 80 80
80
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 120 120 120 120 80 880
80
- ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 80 -
80 80
- หนา้ ท่ีพลเมือง 880 -
40
- ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม 80 80 80 80 - 40
- เศรษฐศาสตร์ 80 40
- 200
- ภูมศิ าสตร์ 40
40 40
สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 40
200 40
ศิลปะ 40 40 40 80 30
40 10
การงานอาชพี 40 40 40 80 120
40
ภาษาตา่ งประเทศ 120 120 120 80 30
10
รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) 840 840 840 880 120

รายวิชาเพมิ่ เติม

ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 80 80 80 -

คณติ ศาสตร์ 40 40 40 80

คอมพิวเตอร์ 40 40 40 -

ทจุ ริตศึกษา 40 40 40 40

ดนตรี - นาฏศลิ ป์ 40 40 40 40

คลนี ิคภาษา - - - 40

รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เติม) 240 240 240 200

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40

กจิ กรรมนักเรยี น

- ชมุ นุม 40 40 40 40

- ลูกเสือ/เนตรนารี 30 30 30 30

กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10
120 120 120 120
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด 1,200 ชั่วโมง/ปี

๑๓

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นวัดชอ่ งเป่ียมราษฎร์ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน : ชั่วโมง ม.3
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
รายวิชาพื้นฐาน ม.1 ม.2 120
ภาษาไทย 120
คณิตศาสตร์ 120 120 160
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 120 120
160 160 40
- วิทยาศาสตร์ 120 120 160
- เทคโนโลยี 40 40 40
สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 160 160
- ประวัตศิ าสตร์ 40 40 120
- หน้าทพี่ ลเมือง
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 120 120 80
- เศรษฐศาสตร์ 80
- ภูมิศาสตร์ 80 80 40
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 80 80
ศิลปะ 40 40 40
- ทศั นศลิ ป์
- ดนตรี 40 40 80
- นาฏศิลป์ 120
การงานอาชพี 80 80 920
ภาษาตา่ งประเทศ 120 120
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) 920 920 40
รายวิชาเพ่ิมเติม 40
คณติ ศาสตร์ 40 40 80
วิทยาศาสตร์ 40 40 160
คอมพิวเตอร์ 80 80
รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเติม) 160 160 40
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40
กจิ กรรมนกั เรียน 30
- ชุมนุม 40 40 10
- ลูกเสือ/เนตรนารี 30 30
10 10
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ กิจกรรม ๑๔

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น เวลาเรยี น : ชัว่ โมง
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ม.1 ม.2 ม.3
120 120 120

1,200 ชัว่ โมง/ปี

๑๕

โครงสรา้ งหลักสูตร ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์

รายวิชาพื้นฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)
ท 11101 ภาษาไทย 1 200
ค 11101 คณติ ศาสตร์ 1 200
ว 11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 80
ส 11101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หน้าทพ่ี ลเมือง 1 80
ส 11102 ประวตั ิศาสตร์ 1 40
พ 11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 40
ศ 11101 ศลิ ปะ 1 40
ง 11101 การงานอาชีพ 1 40
อ 11101 ภาษาตา่ งประเทศ 1 120
840
รวม
รายวิชาเพม่ิ เติม 80
อ 11201 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 1 40
ค 11201 คณิตศาสตรเ์ พม่ิ เติม 1 40
ง 11201 คอมพวิ เตอร์ 1 40
ส 11201 ทุจรติ ศกึ ษา 1 40
ศ 11201 ดนตรี – นาฏศลิ ป์ 1 240

รวม 40
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
➢ กิจกรรมแนะแนว 30
➢ กิจกรรมนักเรยี น 40
10
- ลกู เสอื /เนตรนารี 120
- ชมุ นุม 1,200
➢กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวม
รวมเวลาเรียนท้ังหมด

๑๖

โครงสรา้ งหลักสูตร ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนวดั ชอ่ งเป่ียมราษฎร์

รายวิชาพืน้ ฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)
ท 12101 ภาษาไทย 2 200
ค 12101 คณติ ศาสตร์ 2 200
ว 12101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2 80
ส 12101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หนา้ ทพ่ี ลเมือง 2 80
ส 12102 ประวตั ศิ าสตร์ 2 40
พ 12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 40
ศ 12101 ศลิ ปะ 2 40
ง 12101 การงานอาชีพ 2 40
อ 12101 ภาษาตา่ งประเทศ 2 120
840
รวม
รายวิชาเพิ่มเติม 80
อ 12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 40
ค 12201 คณิตศาสตร์เพ่มิ เตมิ 2 40
ง 12201 คอมพิวเตอร์ 2 40
ส 12201 ทุจริตศกึ ษา 2 40
ศ 11201 ดนตรี – นาฏศลิ ป์ 2 240

รวม 40
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
➢ กิจกรรมแนะแนว 30
➢ กิจกรรมนกั เรียน 40
10
- ลกู เสอื /เนตรนารี 120
- ชมุ นมุ 1,200
➢กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวม
รวมเวลาเรียนท้งั หมด

๑๗

โครงสร้างหลกั สตู ร ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนวดั ช่องเปย่ี มราษฎร์

รายวิชาพื้นฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)
ท 13101 ภาษาไทย 3 200
ค 13101 คณติ ศาสตร์ 3 200
ว 13101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 80
ส 13101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หนา้ ทพ่ี ลเมือง 3 80
ส 13102 ประวตั ศิ าสตร์ 3 40
พ 13101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3 40
ศ 13101 ศลิ ปะ 3 40
ง 13101 การงานอาชพี 3 40
อ 13101 ภาษาต่างประเทศ 3 120
840
รวม
รายวิชาเพม่ิ เติม 80
อ 13201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 40
ค 13201 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเติม 3 40
ง 13201 คอมพิวเตอร์ 3 40
ส 13201 ทุจรติ ศึกษา 3 40
ศ 13201 ดนตรี – นาฏศลิ ป์ 3 240

รวม 40
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
➢ กิจกรรมแนะแนว 30
➢ กิจกรรมนักเรียน 40
10
- ลกู เสอื /เนตรนารี 120
- ชมุ นุม 1,200
➢กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

รวม
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

๑๘

โครงสร้างหลักสูตร ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นวดั ช่องเปย่ี มราษฎร์

รายวิชาพนื้ ฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)

ท 14101 ภาษาไทย 4 160

ค 14101 คณิตศาสตร์ 4 160

ว 14101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 120

ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หน้าที่พลเมือง 4 80

ส 14102 ประวตั ิศาสตร์ 4 40

พ 14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 80

ศ 14101 ศลิ ปะ 4 80

ง 14101 การงานอาชพี 4 80

อ 14101 ภาษาต่างประเทศ 4 80

รวม 880

รายวชิ าเพม่ิ เติม

ค 14201 คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม 4 80

ส 14201 ทจุ ริตศกึ ษา 4 40

ศ 14201 ดนตรี – นาฏศิลป์ 4 40

ท 14201 คลินิกภาษา 1 40

รวม 200

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

➢ กจิ กรรมแนะแนว 40

➢ กจิ กรรมนกั เรียน

- ลกู เสอื /เนตรนารี 30

- ชมุ นมุ 40

➢กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวม 120

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 1,200

๑๙

โครงสร้างหลักสูตร ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรยี นวดั ช่องเปย่ี มราษฎร์

รายวิชาพนื้ ฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)

ท 15101 ภาษาไทย 5 160

ค 15101 คณิตศาสตร์ 5 160

ว 15101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 120

ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หน้าที่พลเมือง 5 80

ส 15102 ประวตั ิศาสตร์ 5 40

พ 15101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 80

ศ 15101 ศลิ ปะ 5 80

ง 15101 การงานอาชพี 5 80

อ 15101 ภาษาต่างประเทศ 5 80

รวม 880

รายวชิ าเพม่ิ เติม

ค 14201 คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม 4 80

ส 14201 ทจุ ริตศกึ ษา 4 40

ศ 14201 ดนตรี – นาฏศิลป์ 4 40

ท 14201 คลินิกภาษา 2 40

รวม 200

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

➢ กจิ กรรมแนะแนว 40

➢ กจิ กรรมนกั เรียน

- ลกู เสอื /เนตรนารี 30

- ชมุ นมุ 40

➢กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวม 120

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 1,200

๒๐

โครงสร้างหลักสูตร ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นวดั ช่องเปย่ี มราษฎร์

รายวิชาพนื้ ฐาน เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)

ท 16101 ภาษาไทย 6 160

ค 16101 คณิตศาสตร์ 6 160

ว 16101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 120

ส 16101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม/หน้าที่พลเมือง 6 80

ส 16102 ประวตั ิศาสตร์ 6 40

พ 16101 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 80

ศ 16101 ศลิ ปะ 6 80

ง 16101 การงานอาชพี 6 80

อ 16101 ภาษาต่างประเทศ 6 80

รวม 880

รายวชิ าเพม่ิ เติม

ค 14201 คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม 4 80

ส 14201 ทจุ ริตศกึ ษา 4 40

ศ 14201 ดนตรี – นาฏศิลป์ 4 40

ท 14201 คลินิกภาษา 3 40

รวม 200

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

➢ กจิ กรรมแนะแนว 40

➢ กจิ กรรมนกั เรียน

- ลกู เสอื /เนตรนารี 30

- ชมุ นมุ 40

➢กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวม 120

รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 1,200

๒๑

โครงสรา้ งหลักสตู ร ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนวดั ช่องเปีย่ มราษฎร์

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหัสวิชา รายวิชาพ้นื ฐาน เวลาเรียน รหสั วชิ า รายวิชาพ้ืนฐาน เวลาเรียน
หนว่ ยกติ /ชั่วโมง หนว่ ยกติ /ชัว่ โมง
ท 21101 ภาษาไทย 1 1.5 60 ท 21102 ภาษาไทย 2 1.5 60
ค 21101 คณิตศาสตร์ 1 1.5 60 ค 21102 คณติ ศาสตร์ 2 1.5 60
ว 21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 1.5 60 ว 21103 วิทยาศาสตร์ 2 1.5 60
เทคโนโลยี 1 เทคโนโลยี 2
ว 21102 (วทิ ยาการคำนวณ) 0.5 20 ว 21104 (การออกแบบเทคโนโลย)ี 0.5 20
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ สังคมศกึ ษา ศาสนาและ
ส 21101 วฒั นธรรม 1 1.5 60 ส 21104 วัฒนธรรม 2 1.5 60
ประวตั ศิ าสตร์ 1 ประวัตศิ าสตร์ 1
ส 21102 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1 0.5 20 ส 21105 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 2 0.5 20
พ 21101 ศลิ ปะ 1 1.0 40 พ 21102 ศิลปะ 2 1.0 40
ศ 21101 การงานอาชพี 1 1.0 40 ศ 21102 การงานอาชีพ 1.0 40
ง 21101 ภาษาต่างประเทศ 1 1.0 40 ง 21102 ภาษาอังกฤษ 2 1.0 40
อ 21101 1.5 60 อ 21102 1.5 60

รวม 11.5 460 รวม 11.5 460

รายวชิ าเพ่มิ เติม 20 รายวชิ าเพิม่ เติม 20
20 20
ค 21201 คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเติม 0.5 40 ค 21202 คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 0.5 40
80 80
ว 21201 ทักษะกระบวนการทาง 0.5 ว 21202 ทักษะกระบวนการทาง 0.5
วิทยาศาสตร์ 1 20 วิทยาศาสตร์ 2 20

ง 21201 คอมพวิ เตอร์ 1 15 ง 21202 คอมพวิ เตอร์ 1 30
20 20
รวม 2.0 5 รวม 2.0 5

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 60
600 600
➢กิจกรรมแนะแนว ➢กิจกรรมแนะแนว

➢กจิ กรรมนักเรียน ➢กจิ กรรมนกั เรยี น

ลูกเสือ/เนตรนารี ลูกเสอื /เนตรนารี

ชุมนุม ชุมนุมชมรม

➢กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ ➢กิจกรรมเพ่ือสังคมและ

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวม รวม

รวมจำนวน/หน่วยกติ /ชว่ั โมง/ภาค 13.5 รวมจำนวน/หนว่ ยกติ /ชัว่ โมง/ภาค 13.5

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด 1,200 ชวั่ โมง/ปี

๒๒

โครงสรา้ งหลกั สูตร ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นวดั ช่องเปยี่ มราษฎร์

รหัสวชิ า ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรียน รหสั วิชา ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน
รายวชิ าพ้นื ฐาน หนว่ ยกิต/ชั่วโมง รายวชิ าพ้ืนฐาน หนว่ ยกติ /ชั่วโมง
1.5 60 1.5 60
ท 22101 ภาษาไทย 3 1.5 60 ท 22102 ภาษาไทย 4 1.5 60
ค 22101 คณติ ศาสตร์ 3 1.5 60 ค 22102 คณิตศาสตร์ 4 1.5 60
ว 22101 วทิ ยาศาสตร์ 3 ว 22103 วทิ ยาศาสตร์ 4
เทคโนโลยี 3 0.5 20 เทคโนโลยี 4 0.5 20
ว 22102 (วทิ ยาการคำนวณ) ว 22104 (การออกแบบเทคโนโลย)ี
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ 1.5 60 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ 1.5 60
ส 22101 วัฒนธรรม 3 ส 22104 วฒั นธรรม 4
ประวัติศาสตร์ 3 0.5 20 ประวัติศาสตร์ 4 0.5 20
ส 22102 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3 1 40 ส 22105 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 4 1 40
พ 22101 ศิลปะ 3 1 40 พ 22102 ศิลปะ 4 1 40
ศ 22101 การงานอาชีพ 3 1 40 ศ 22102 การงานอาชีพ 4 1 40
ง 22101 ภาษาตา่ งประเทศ 3 1.5 60 ง 22102 ภาษาต่างประเทศ 4 1.5 60
อ 22101 อ 22102

รวม 11.5 460 รวม 11.5 460

รายวิชาเพม่ิ เติม 20 รายวิชาเพม่ิ เติม 20
20 20
ค 22201 คณิตศาสตร์เพ่ิมเตมิ 0.5 40 ค 22202 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 0.5 40
80 80
ว 22201 เริ่มตน้ กบั โครงงาน 0.5 ว 22202 เร่มิ ตน้ กับโครงงาน 0.5
วิทยาศาสตร์ 20 วทิ ยาศาสตร์ 20

ง 22201 คอมพวิ เตอร์ 1 15 ง 22202 คอมพวิ เตอร์ 1 15
20 20
รวม 2.0 5 รวม 2.0 5

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 60
600 600
➢กิจกรรมแนะแนว ➢กจิ กรรมแนะแนว

➢กจิ กรรมนกั เรยี น ➢กิจกรรมนกั เรียน

ลูกเสอื /เนตรนารี ลกู เสือ/เนตรนารี

ชุมนุม/ ชมุ นมุ /

➢กิจกรรมเพอื่ สังคมและ ➢กจิ กรรมเพื่อสังคมและ

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวม รวม

รวมจำนวน/หน่วยกิต/ชว่ั โมง/ภาค 13.5 รวมจำนวน/หนว่ ยกิต/ชั่วโมง/ภาค 13.5

รวมเวลาเรยี นท้ังหมด 1,200 ช่ัวโมง/ปี

๒๓

โครงสร้างหลกั สูตร ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นวดั ช่องเป่ียมราษฎร์

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2

รหสั วชิ า รายวชิ าพนื้ ฐาน เวลาเรยี น รหสั วิชา รายวชิ าพื้นฐาน เวลาเรียน
หน่วยกติ /ช่ัวโมง หนว่ ยกติ /ชั่วโมง
ท 23101 ภาษาไทย 5 1.5 60 ท 23102 ภาษาไทย 6 1.5 60
คณติ ศาส 1.5 60 ค 23102 คณิตศาสตร์ 6 1.5 60
ค 23101 ตร์ 5
วทิ ยาศาสตร์ 5 1.5 60 ว 23103 วิทยาศาสตร์ 6 1.5 60
ว 23101 เทคโนโลยี 5 เทคโนโลยี 6
(วิทยาการคำนวณ) 0.5 20 ว 23104 (การออกแบบเทคโนโลย)ี 0.5 20
ว 23102 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ สังคมศกึ ษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม 5 1.5 60 ส 23104 วฒั นธรรม 6 1.5 60
ส 23101 ประวัตศิ าสตร์ 5 ประวตั ิศาสตร์ 6
สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5 0.5 20 ส 23105 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6 0.5 20
ส 23102 ศลิ ปะ 5 1 40 พ 23102 ศลิ ปะ 6 1 40
พ 23101 การงานอาชีพ 5 1 40 ศ 23102 การงานอาชีพ 6 1 40
ศ 23101 ภาษาต่างประเทศ 5 1 40 ง 23102 ภาษาต่างประเทศ 6 1 40
ง 23101 1.5 60 อ 23102 1.5 60
อ 23101

รวม 11.5 460 รวม 11.5 460

รายวชิ าเพิม่ เติม 20 รายวชิ าเพิ่มเตมิ 20
20 20
ค 23201 คณติ ศาสตรเ์ พมิ่ เติม 0.5 40 ค 23202 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ 0.5 40
80 80
ว 23201 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 0.5 ว 23202 โครงงานวิทยาศาสตร์ 0.5
20 20
ง 23201 คอมพวิ เตอร์ 1 ง 23202 คอมพิวเตอร์ 1
15 15
รวม 2.0 20 รวม 2.0 20
5 5
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
60 60
➢กิจกรรมแนะแนว 600 ➢กิจกรรมแนะแนว 600

➢กจิ กรรมนักเรยี น ➢กจิ กรรมนักเรียน

ลูกเสอื /เนตรนารี ลูกเสือ/เนตรนารี

ชมุ นมุ ชมรม ชมุ นมุ ชมรม

➢กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ ➢กิจกรรมเพื่อสงั คมและ

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวม รวม

รวมจำนวนหนว่ ยกิต/ชว่ั โมง/ภาค 13.5 รวมจำนวน/หนว่ ยกิต/ชว่ั โมง/ภาค 13.5

รวมเวลาเรียนทั้งหมด 1,200 ชัว่ โมง/ปี

หมายเหตุ : รายวิชาหน้าที่พลเมืองระดับ ป.1-ม.3 จัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับสาระที่ ๒ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม และบูรราการกบั กิจกรรมของโรงเรียน

๒๔

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
รายวิชาท่เี ปิดสอน และคำอธิบายรายวชิ า

๒๕

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

๒๖

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

สาระ
สาระท่เี ป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ประกอบดว้ ย

๑. การอา่ น
๒. การเขียน
๓. การฟงั การดู และการพูด
๔. หลกั การใช้ภาษา
๕. วรรณคดี และวรรณกรรม

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดำเนนิ ชีวติ และมีนสิ ยั รกั การอา่ น

สาระที่ ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวในรปู แบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สึกใน
โอกาสตา่ งๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์

สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษาภมู ปิ ัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ

สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นำมาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ

๒๗

รายวชิ าทเ่ี ปิดสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

รายวิชาพ้ืนฐาน ระดับชนั้ ประถมศึกษา ป.1- ป.6

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย 2 จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย 4 จำนวน 160 ชั่วโมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย 5 จำนวน 160 ชว่ั โมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย 6 จำนวน 160 ชั่วโมง

รายวชิ าพื้นฐาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา ม.1-ม.3 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชัว่ โมง
1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ช่ัวโมง
ท 21101 ภาษาไทย 1 (ภาคเรียนที่ 1) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ท 21102 ภาษาไทย 2 (ภาคเรียนที่ 2) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชั่วโมง
ท 22101 ภาษาไทย 3 (ภาคเรียนที่ 1) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
ท 22102 ภาษาไทย 4 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชั่วโมง
ท 23101 ภาษาไทย 5 (ภาคเรยี นท่ี 1)
ท 23102 ภาษาไทย 6 (ภาคเรียนท่ี 2)

รายวิชาพ้นื ฐาน ระดับชัน้ ประถมศึกษา ป.4 - ป.6

ท 14201 คลินกิ ภาษา 1 จำนวน 40 ชัว่ โมง
ท 15201 คลินิกภาษา 2 จำนวน 40 ชั่วโมง
ท 16201 คลนิ ิกภาษา 3 จำนวน 40 ช่ัวโมง

๒๘

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม
เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอก
ความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัด
ลายมอื ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นส่ือสารดว้ ยคำและประโยคงา่ ยๆ มมี ารยาทในการเขยี น

ฝกึ ทักษะในการฟัง ฟงั คำแนะนำ คำสง่ั ง่ายๆและปฏบิ ัตติ าม ตอบคำถาม เล่าเร่ือง พูดแสดงความคิดเห็น
และความรสู้ กึ จากเรื่องท่ีฟังและดู พดู สือ่ สารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ เนน้ มารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เรียบเรยี งคำเปน็ ประโยคง่ายๆ ตอ่ คำคล้องจองงา่ ยๆ

บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึกท่องจำบท
อาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการ
แสวงหาความรู้ กระบวนการกลุม่ กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้
ทักษะการฟัง การดูและการพดู พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจำวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวชว้ี ดั

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ๒๙

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคำและ
ข้อความที่อ่าน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
และปฏิบัตติ ามคำส่ังหรอื ข้อแนะนำ มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้นๆ ตาม
จินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสัง่ ทซี่ บั ซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญของเรอ่ื ง ต้ัง
คำถาม ตอบคำถาม พดู แสดงความคิดเหน็ ความร้สู กึ พูดสอ่ื สารได้ชัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทใน
การฟงั การดแู ละการพูด

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เรยี บเรยี งคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลกั ษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถิ่น ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย
กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ
อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวช้วี ัด

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ๓๐

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ศึกษา การอา่ นออกเสียงคำ ข้อความสน้ั ๆ บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ การอ่านบทอาขยานการอา่ นความหมาย
ของคำและข้อความ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การอ่านข้อเขียนเชิงอธบิ าย การอ่านวรรณกรรม การ
อ่านสะกดคำ การอ่านประโยคงา่ ยๆ การอ่านคำคล้องจอง การอ่านคำขวัญ การเขียนคัดลายมือตวั บรรจงเต็ม
บรรทัด การเขียนสะกดคำ การแต่งประโยคง่ายๆ การแต่งคำขวัญ การแต่งคำคล้องจองการเขียนบรรยาย
เรื่อง การเขียนบันทึกประจำวัน การเขียนรายงานจากการค้นคว้า การเขียนจดหมายลาครู การเขียนจด
หมายถึงเพื่อนและบิดามารดา การเขียนเรื่องตามจินตนาการ การเล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่ได้ฟังและดู
การตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ได้ฟังและดู การพูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกที่ได้ฟังและดู
การพดู ส่อื สารไดช้ ัดเจน การเขียนสะกดคำ

โดยใช้ทักษะทางภาษาในสิ่งที่ฟัง ดูและพูด สามารถจับใจความสำคัญได้อย่างถูกต้อง แสดงความ
คิดเห็นจากเรื่องที่ฟังและดู มีทักษะในการเขียน เขียนได้ถูกต้อง สวยงาม มีระเบียบ สื่อความได้รู้หลักเกณฑ์
การเขียนและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ได้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง ชัดเจนตามหลักเกณฑ์การอ่านสามารถตั้ง
คำถามและตอบคำถาม เลา่ เร่อื งท่อี ่านได้ เพอื่ ให้ไดค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ ความบันเทิง และความคดิ จากสิ่งท่ีได้
อ่าน ฟงั ดูและเขียน นำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันเกิดความภาคภมู ใิ จในภาษาไทย

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชวี้ ัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ๓๑

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย 4 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา 160 ช่วั โมง

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง เรื่องสั้น ความหมายของคำ ประโยค สำนวน การอ่านจับ
ใจความสำคญั การแยกขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเหน็ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดเห็นจากเร่ืองที่อ่าน
มารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด การเขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง
ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดพัฒนางานเขียน การเขียนย่อความ การ
เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา การเขียนบันทึก การเขียนรายงาน การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
มารยาทในการเขียน การจำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น การพูดสรุปความ การพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น
และความรู้สึก การพูดรายงาน การตั้งคำถามและตอบคำถาม มารยาทในการฟัง การดูและการพูด การสะกด
คำและบอกความหมายของคำ ชนิดและหน้าที่ของคำ การใช้พจนานุกรม การแต่งประโยค การแต่งบทร้อย
กรอง และคำขวัญ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น การอ่านนิทานพื้นบ้านและ
นทิ านคติธรรม การร้องเพลงพืน้ บ้าน การท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรอง มีความรู้ความเข้าใจ หลักการใช้
ภาษาอย่างถกู ต้อง

โดยใช้ทักษะการอ่าน สร้างความรู้และความคิด ใช้ทักษะการฟัง ดู พูดอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์ ใช้ทักษะการเขียนสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมารยาทในการเขียน ใช้ทักษะการฟัง ดู พูด
อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์มีความรู้ความเข้าใจ หลักการใชภ้ าษาอยา่ งถูกต้อง มีมารยาทในการฟัง การดู
และการพดู มีนสิ ยั รกั การอ่าน เห็นคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมและภูมิปัญญาไทย

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖
ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ช้ีวดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ๓๒

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย 5 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา 160 ชัว่ โมง

ฝึกอ่านออกเสียง คำ วลี ประโยค และข้อความตามหลักเกณฑ์การอ่านเกี่ยวกับ คำสุภาพ คำราชาศัพท์
สำนวนภาษา คำคม คำขวัญ อักษรย่อ เครื่องหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยกรอง เป็นทำนองเสนาะ การอ่าน
บทอาขยาน โดยเน้นอ่านได้คล่องแคล่วรวดเร็ว ถูกต้องตามอักขรวิธี มีวรรคตอน ใช้น้ำเสียงเหมาะสมกับเรื่องท่ี
อ่าน ฝึกอ่านในใจเกี่ยวกับนิทาน ตำนาน เรื่องสั้น สารคดี บทความ บทละคร บทร้อยกรอง การอ่านโวหาร
บรรยาย การพรรณนาการเปรียบเทียบโดยเน้นการอ่านได้รวดเร็วตามเวลาที่กำหนด การจับใจความ แยก
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ความ สรุปความ การใช้บริบทในการอ่านและเข้าใจความหมายของคำ ประโยค
ข้อความ รู้จักเลือกอ่านหนังสือและสื่ออีเล็กทรอนิกส์ และนำความรู้จากการอ่านไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ
แก้ปัญหา และพัฒนาตน มีมารยาทและมีนิสัยรักการอ่าน ฝึกคัดลายมือและเขียนบรรจงแกมหวัด ฝึกเขียนสะกด
คำและเขียนตามคำบอก เขียนเล่าเรื่อง เขียนตั้งคำถาม ตอบคำถาม เขียนเรียงความ ย่อความเรื่องจาก
ประสบการณ์และจินตนาการ เขียนรายงานและเขียนชี้แจงการปฏิบัติงาน การเขียนจดหมายถึงญาติและเพื่อน
เขียนกรอกแบบรายการต่าง ๆ การเขียนเลขไทย โดยเน้นให้มีทักษะในการเขียน เขียนได้ถูกต้องรวดเร็วเป็น
ระเบียบ สวยงาม สื่อความได้ เขียนได้อย่างมีรูปแบบมีมารยาทและมีนิสัยรักการเขียน ฝึกฟัง ดู เรื่องราว ข่าว
เหตุการณ์ คำโฆษณา การอภิปราย การรายงาน สำนวนโวหาร ภาษิต คำพังเพย บทร้อยกรอง นิทาน ตำนาน
บทความ สารคดี โดยเน้นการจับใจความ เข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องและของผู้พูด เข้าใจถ้อยคำ น้ำเสียง กิริยา
ท่าทางของผู้พูด แยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเหน็ วิเคราะหห์ าหลักการ สรปุ ความเรอื่ งที่ฟงั และพูด เลือกฟังและดูสิ่ง
ที่เป็นประโยชน์มีมารยาทในการฟังและดู ฝึกพูดออกเสียงคำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน คำควบกล้ำ คำที่มี ร ล ให้
ถูกต้องตามอักขรวิธี ฝึกฝน การใช้คำในการพูดให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษาฝึกเล่าเรื่อง อธิบาย บรรยาย
ความรู้สึกสนทนาโต้ตอบ พูดแสดงความคิดเห็น การตั้งข้อสังเกต เปรียบเทียบ การพูดรายงานโดยเน้นมารยาท
และบุคลิกภาพที่ดีในการพูด การใช้น้ำเสียง ลีลาท่าทางประกอบการพูดการเล่าลำดับเหตุการณ์ พูดสื่อความได้
ชัดเจน ถูกต้อง กล้าพูด ใช้คำพูดได้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลฝึกการใช้คำ กลุ่มคำ ตามชนิดและ
หน้าที่เรียบเรียงเป็นประโยค หลักการใช้ประโยค การใช้คำที่มีความหมายโดยตรงและโดยนัย การใช้พจนานุกรม
คำราชาศพั ท์และคำสภุ าพ การใชค้ ำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย การแตง่ คำประพันธ์ การใชภ้ าษพดู และภาษา
เขียน การใช้ทกั ษะทางภาษาและสื่ออเี ล็กทรอนิกสใ์ นการศึกษาคน้ ควา้

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๕ มาตรฐาน 33 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ๓๓

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย 6 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา 160 ชั่วโมง

อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความท่ี เป็น
โวหาร สำนวนเปรียบเทยี บ รู้จักเลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ จับใจความจากเรื่องที่อ่านโดยแยกข้อ เท็จ
จรงิ และขอ้ คดิ เหน็ และนำความรู้ที่ได้ไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชวี ิต อธิบายข้อมูลจาก การอ่านแผนผัง
แผนที่ ปฏิบัติตามคำสั่ง และข้อแนะนำ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้ภาษาได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์
คัดลายมือตามแบบอักษรไทย เขียนแผนภาพความคิด เรียงความ ย่อความ นิทาน บันทึกรายงาน โดยใช้โวหาร
ต่าง ๆ พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟัง และดู จาก สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากสื่อโฆษณา รายงาน พูดลำดับเหตุการณ์ พูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่างๆ
วิเคราะห์ชนิด และหน้าที่ของ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์คำบุพบท คำเชื่อม คำอุทาน ใช้คำ
ราชาศัพท์ ระดับภาษา ภาษาถิ่น คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ กลุ่มคำ หรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม
ประโยคซอ้ น กลอนสภุ าพ สำนวน คำพังเพย และสุภาษิต เขา้ ใจ และเหน็ คุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ี
อา่ น เล่านิทานพ้นื บ้าน ร้องเพลงพน้ื บ้าน ท่องบทอาขยาน บทรอ้ ยกรองท่มี ีคุณคา่ ตามความสนใจ

ใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการใช้ภาษาไทย เพื่อให้
เกิดความรู้ ความคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ มี
มารยาทที่ดี กระตือรือร้น รักการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด ภูมิใจในภาษาไทย และใช้ภาษาไทยใน
ชีวติ ประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวช้ีวดั

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ๓๔

ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ (ภาคเรียนที่ ๑) เวลา 60 ชวั่ โมง

อา่ นบทร้อยแกว้ บทรอ้ ยกรอง จับใจความสำคญั ของเรอื่ ง ระบุเหตผุ ล ข้อเท็จจรงิ และขอ้ คดิ เห็นจากงาน
เขียน ทั้งสารคดี บันเทิงคดี และเอกสารทางวิชาการ อ่านเอกสารคู่มือวิธีใช้เครื่องมือเครื่องใช้ทางเทคโนโลยี
วิเคราะหค์ ุณค่าจากการอ่านหนงั สอื ที่อา่ น

เขียนสื่อสาร บรรยายประสบการณ์ เรียงความ ย่อความ ความคิดเห็น จดหมาย บันทึก รายงาน และ
โครงงาน

พดู สรปุ จากเรอื่ งทีฟ่ ังและดู พูดแสดงความคิดเหน็ ใหเ้ หตผุ ลความน่าเชอื่ ถอื
อธิบายเสียงในภาษา พลังภาษา วิธีสร้างคำ ชนิดของคำ ประโยค วิเคราะห์ระดับภาษา ภาษาพูด ภาษา
เขยี น แตง่ บทร้อยกรองประเภทกาพย์
สรุปเนื้อหา วิเคราะห์ และประเมินคุณค่า วรรณคดี วรรณกรรม ทั้งด้านจินตนาการ ศิลปะ การประพันธ์
อารมณ์ คณุ ธรรม วิเคราะห์แนวคิดสำคัญ นำความรู้ขอ้ คิดไปใช้ ทอ่ งจำอาขยาน บทร้อยกรองท่ีมีคณุ ค่า

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวมท้งั หมด ๓๕ ตวั ช้วี ัด

๓๕

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย 2 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ (ภาคเรียนที่ ๒) เวลา ๖0 ชัว่ โมง

ฝึกการอ่านคำอธิบาย อ่านคำบรรยาย อ่านเรื่องเล่า อ่านนิทาน อ่านข่าว อ่านบทความชี้แจงเหตุผล
อ่านออกเสียงทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง อ่านหนังสือ และงานเขียนต่างๆ ทั้งบันเทิงคดี และสารคดี ท่องจำบท
ประพนั ธท์ ่ชี อบ เพื่อให้สามารถจับใจความสำคัญ แยกข้อเท็จจริงจากข้อคิดเห็น ตคี วาม แสดงความคิดจากสิ่งท่ีได้
อา่ นได้ถูกต้องชัดเจน เลอื กอา่ นหนังสอื ได้ตรงตามความตอ้ งการอา่ นได้อย่างมวี จิ ารณญาณ มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกการเขียนคำอธิบาย เขียนบรรยาย เขียนเรื่องเล่า เขียนนิทาน เขียนข่าว เขียนบทความ เขียน
รายงาน หรืองานเขียนต่างๆ เขยี นคัดลอกข้อความ เขียนจดหมาย กรอกแบบฟอรม์ แต่งคำประพันธ์ เขยี นอกั ษรไทย
และเขียนตัวเลขไทยไดถ้ กู ตอ้ งชัดเจนตามความต้องการ และมีมารยาท ในการเขียน

ฝึกการฟัง การดู การพูด โดยฟัง ดู คำอธิบาย คำบรรยาย เรื่องเล่า นิทาน ข่าว บทความ พูดสนทนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เล่าเรื่อง รายงาน ชี้แจงเหตุผล อธิบายตามต้องการ แสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้
พดู ดู ฟงั ไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจนตรงตามความต้องการและมมี ารยาทในการฟัง ดู พูด

ศึกษาหลักภาษาเกี่ยวกับเสียงในภาษาไทย การจำแนกคำในภาษาไทย การใช้ประโยคในการสื่อสาร
การใชพ้ จนานุกรม การแตง่ คำประพนั ธต์ รงตามความตอ้ งการ และถกู ตอ้ ง

ฝึกการพูดสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พูดรายงาน มีศิลปะในการพูดสนทนา และศึกษา การ
เขยี นโครงเรื่องของเรยี งความ ยอ่ ความไดช้ ัดเจน ทำใหก้ ารใช้ภาษาดำเนินไปไดด้ ว้ ยดี

อ่านวรรณคดี และวรรณกรรม และงานประพันธ์ที่ใช้ภาษาอย่างมีรสนิยม ในฐานะที่เป็นวัฒนธรรม
ของชาติ เพ่อื ให้เหน็ คณุ คา่ และใช้ภาษาเปน็ เครอื่ งมือแสวงหาความรู้

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวมท้งั หมด ๓๕ ตัวช้วี ดั

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ๓๖
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย 3
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ (ภาคเรียนท่ี ๑) กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
เวลา ๖๐ ชั่วโมง

อ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายเรื่องที่อ่าน เขียนผังความคิด
อภปิ ราย วิเคราะห์ ระบุขอ้ สังเกต และประเมนิ คุณคา่ จากการอ่าน

เขียนบันทึก เขียนบรรยาย และพรรณนา เขียนเรียงความ ย่อความ รายงานการศึกษา โครงงาน
จดหมายกจิ ธรุ ะ วิเคราะหว์ จิ ารณง์ านเขยี นโดยยดึ หลกั การเขียนและมารยาทในการเขียน

ฟงั ดู และพดู สรุปใจความสำคัญ วิเคราะห์วจิ ารณ์ข้อเทจ็ จรงิ ข้อคดิ เห็นจากเร่อื งทไี่ ด้ฟงั
สรา้ งคำชนิดต่างๆ วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งประโยค แต่งกลอนสุภาพ ใช้คำราชาศพั ท์ถูกต้อง รวบรวมและ
อธิบายความหมายคำภาษาบาลแี ละสนั สกฤต
สรุปเนอื้ หา วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ อธิบายคุณค่าเชิงศิลปะ อารมณ์ คณุ ธรรมของวรรณคดี วรรณกรรม นำ
ความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด

ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๘
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทง้ั หมด ๓๒ ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ๓๗

ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย 4 กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ (ภาคเรยี นที่ ๒) เวลา ๖๐ ชั่วโมง

การอ่านออกเสียงคำตามหลักเกณฑ์ทางภาษา การจับใจความสำคัญ การตีความ การอ่านอย่างมี
สมรรถภาพและอ่านไดเ้ รว็ วงคำศพั ทท์ ่คี วรทราบ สำนวนโวหารประเภทพรรณนาและอุปมา การใชบ้ ริบทการอ่าน
สร้างความเข้าใจ แหล่งความรู้ในการพัฒนาประสบการณ์และความรู้ การแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์เรื่องท่ี
อ่าน การใช้แผนภาพความคิดวิเคราะห์ พัฒนาการอ่าน การย่อเรื่องและนำความรู้ความคิดไปใช้ประโยชน์ในการ
ดำเนินชีวิต การใช้พจนานุกรมและบริบทการอ่านตรวจสอบความรู้ การอ่านในใจอย่างมีประสิทธิภาพ การอ่าน
ออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองตามลักษณะคำประพันธ์ด้วยน้ำเสียงถูกต้องเหมาะสม การวิเคราะห์คุณค่าด้าน
ภาษาและเนือ้ หาจากเรือ่ งที่อา่ น การท่องจำบทอาขยานและบทประพันธ์ท่ีมีคุณคา่ นำไปใช้อ้างอิง การเลือกอ่าน
หนังสือ สื่อสารสนเทศและสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อพัฒนาตนด้านความรู้และการทำงาน มารยาทในการอ่านและการสร้าง
นิสยั รักการอ่าน

การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความ การเขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนรายงาน การใช้
กระบวนการเขียนพัฒนางานเขียน มารยาทในการเขียน การสร้างนิสัยรักการเขียนและการศึกษาค้นคว้า การ
เลือกใช้ภาษาเรียบเรียงข้อความได้อย่างประณีต การศึกษา ค้นคว้า รวบรวมและบันทึกข้อมูล การจัดลำดับ
ความคิด ขั้นตอนในการนำเสนอตามรปู แบบของงานเขยี นประเภทต่างๆ

การสรุปความ การจับประเด็นสำคัญจากเรื่องที่ฟังและดู การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและ
จุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู การสังเกตน้ำเสียง กิริยาท่าทาง และการใช้ถ้อยคำของผู้พูด การพูดนำเสนอ
ความร้คู วามคดิ จากการอา่ น การฟงั และการดู มารยาทในการฟงั การดู และการพูด

คำมูล คำประสม คำซ้ำ คำซ้อน ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน การใช้
ประโยคตามเจตนาของการส่ือสาร การใช้ภาษาแสดงความคดิ เห็น คำราชาศพั ท์และการใชค้ ำราชาศัพท์ตามฐานะ
ของบคุ คล การคิดไตรต่ รองและลำดบั ความคดิ ก่อนพดู และเขียนอักษรไทย และหลกั การใชอ้ กั ษรไทย ชนิดของคำ
ในภาษาไทย คำศัพท์ทางวิชาการและเทคโนโลยี การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ การแต่งบทร้อยกรอง
ประเภทกลอน โดยแสดงความคิดเชงิ สร้างสรรค์ การรอ้ งเล่น และถา่ ยทอดเพลงพ้ืนบา้ นในท้องถน่ิ อย่างเห็นคุณค่า
การใชท้ กั ษะทางภาษาแสวงหาความรู้ การใชท้ กั ษะทางภาษาระดมความคิด การใชท้ ักษะทางภาษาในการทำงาน
ระดบั ของภาษาที่เปน็ ทางการและภาษาทีไ่ มเ่ ป็นทางการ การใช้ภาษาพดู และภาษาเขียนได้ถกู ต้องตามหลักการใช้
ภาษา การยกย่องผู้ใชภ้ าษาไทยอยา่ งมคี ณุ ธรรมและวัฒนธรรม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทงั้ หมด ๓๒ ตัวชีว้ ดั

๓๘

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย 5 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ (ภาคเรียนที่ ๑) เวลา ๖๐ ช่ัวโมง

อ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง จับใจความสำคัญและรายละเอียด บอกความแตกต่างของคำที่มี
ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย เขียนบันทึกจากเรื่องในรูปแบบผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน
วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของเรื่องท่ีอ่าน แสดงความคดิ เห็นโต้แย้งเรื่องท่ีอา่ น

เขยี นสื่อสารอย่างถูกตอ้ งตามระดบั ภาษา เขยี นคำขวญั คำคม คำโฆษณา คติพจน์ ชีวประวัติ ย่อความ
จดหมายกิจธุระ โครงงาน เขียนอธิบายชี้แจง วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเรื่องที่อ่าน กรอกแบบ
สมัครงาน และเขียนบรรยายความร้แู ละทักษะตนเอง

แสดงความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ พูดรายงาน เรื่องที่ฟังและดู นำข้อคิดมาปรับใช้ในชีวิต ใช้ศิลปะ
การพดู ในโอกาสต่างๆ

จำแนกคำยืมภาษาต่างประเทศ วิเคราะห์สร้างประโยค ใช้คำราชาศัพท์ คำทับศัพท์ ศัพท์บัญญัติ
วเิ คราะห์ภาษาที่เป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ อธบิ ายคำศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ แต่งบทร้อยกรองประเภท
โคลง

สรุปเน้ือหา วรรณคดี และวรรณกรรม วิเคราะหบ์ ุคลกิ ลกั ษณะตัวละครอย่างมีเหตุผลวิเคราะห์วิถีชีวิต
ไทยผ่านวรรณคดีและวรรณกรรม อธิบายคุณค่า นำความรู้และข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมไปใช้ในชีวิตจริง
ทอ่ งจำอาขยานหรือบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ุณคา่

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙,ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๓๖ ตวั ชว้ี ัด

๓๙

คำอธบิ ายรายวชิ า

ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ (ภาคเรียนท่ี ๒) เวลา ๖๐ ช่วั โมง

ฝึกการฟัง ดู พดู อ่าน และเขยี น ฟงั ข้อความเรื่องราวในรูปแบบตา่ งๆ สรปุ ความ สงั เกตน้ำเสยี ง กริ ิยา
ท่าทาง พูดอธิบาย อภปิ ราย พูดในทป่ี ระชุม พูดแสดงความคิดเหน็ พดู ในโอกาสตา่ งๆ อา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ ร้อย
กรอง อ่านวรรณกรรมประเภทต่างๆ ท่องจำบทประพันธ์ที่ประทับใจ อ่านในใจ เขียนเรียงความ รายงานวิชาการ
จดหมายกจิ ธุระ เขยี นแสดงความคิดเหน็ โต้แย้ง อธิบาย ย่อความ ถอดความจากบทประพันธ์ แต่งบทประพนั ธ์

ศึกษาหลักภาษาเกี่ยวกับคำ แบบสร้างของคำ กลุ่มคำ ประโยคที่ซับซ้อนยิ่งขึ้น การสังเกตคำไทยแท้
คำท่มี าจากภาษาอืน่ การเขียนตวั สะกดใหถ้ ูกต้อง ราชาศพั ท์ ศกึ ษาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินทางภาษาประเภทต่างๆ

ฝกึ การใชภ้ าษาในการแสวงหาความรู้ ระดมความคดิ วเิ คราะห์ ประเมนิ คา่ การใช้ภาษาอย่าง
เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การใช้ภาษาของกลุ่มอาชีพต่างๆ การใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์ สอดคล้องกับ
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวัฒนธรรมไทย ใชต้ วั เลขไทยและภาษาไทยเปน็ เอกลกั ษณ์ไทย

เพื่อให้สามารถอา่ นและฟังอยา่ งมีวจิ ารณญาณ แสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ วิเคราะห์ วนิ จิ ฉัยเรื่องที่
อ่าน ที่ฟัง ได้อย่างมีเหตุผล พูดและเขียนได้ชัดเจน ถูกต้องเหมาะสม ตรงตามจุดประสงค์ สามารถแสดงออกเชิง
สร้างสรรค์ทั้งการพูดและการเขียน มีความรู้ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของวรรณกรรมพื้นบ้าน เห็นความสำคญั
ของเอกลกั ษณ์ไทย และมีมารยาทในการใช้ภาษา

โดยใช้กระบวนการคิดวิจารณญาณ กระบวนการพัฒนาความคิดแผนภาพโครงร่าง กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการปฏิบัติ การอภิปราย บทบาทสมมุติ
สถานการณจ์ ำลอง โครงงาน กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด Story line แฟ้มสะสมงาน การคัดเลือกหนังสือ
แผนภาพแสดงเหตุการณ์

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมท้งั หมด ๓๖ ตัวชว้ี ัด

๔๐

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

๔๑

สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

สาระที่ ๑ จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ
จำนวน ผลทเี่ กิดขึน้ จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนนิ การ และการนำไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ นั ลำดบั และอนกุ รม และการ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชน้ พิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พนั ธ์ หรอื ช่วยแกป้ ัญหาทกี่ ำหนดให้

สาระที่ ๒ การวดั และเรขาคณติ
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ้องการวัด และ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรปู
เรขาคณิต และทฤษฏีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา้ ใจหลักการนบั เบือ้ งตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้

๔๒

รายวชิ าที่เปิดสอน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

รายวชิ าพืน้ ฐาน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษา ป.1 - ป.6 จำนวน 200 ช่ัวโมง
ค 11101 คณิตศาสตร์ 1 จำนวน 200 ช่วั โมง
ค 12101 คณิตศาสตร์ 2 จำนวน 200 ช่ัวโมง
ค 13101 คณติ ศาสตร์ 3 จำนวน 160 ชว่ั โมง
ค 14101 คณิตศาสตร์ 4 จำนวน 160 ชว่ั โมง
ค 15101 คณติ ศาสตร์ 5 จำนวน 160 ชว่ั โมง
ค 16101 คณติ ศาสตร์ 6
1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
รายวิชาพนื้ ฐาน ระดับชน้ั มธั ยมศึกษา ม.1 - ม.3 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ค 21101 คณิตศาสตร์ 1 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
ค 21102 คณติ ศาสตร์ 2 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชั่วโมง
ค 22101 คณิตศาสตร์ 3 (ภาคเรยี นท่ี 1) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ช่ัวโมง
ค 22102 คณิตศาสตร์ 4 (ภาคเรยี นท่ี 2) 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชั่วโมง
ค 23101 คณิตศาสตร์ 5 (ภาคเรยี นที่ 1)
ค 23102 คณติ ศาสตร์ 6 (ภาคเรียนที่ 2)

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ระดับชั้นประถมศึกษา ป.1 - ป.6 จำนวน 40 ชั่วโมง
ค 11201 คณิตศาสตร์ 1 จำนวน 40 ชวั่ โมง
ค 12201 คณิตศาสตร์ 2 จำนวน 40 ชัว่ โมง
ค 13201 คณิตศาสตร์ 3 จำนวน 80 ช่ัวโมง
ค 14201 คณติ ศาสตร์ 4 จำนวน 80 ช่วั โมง
ค 15201 คณติ ศาสตร์ 5 จำนวน 80 ชัว่ โมง
ค 16201 คณติ ศาสตร์ 6

๔๓

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง

ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจำนวนสิ่ง
ต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก ค่าของเลขโดดใน
แต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย
= ≠ > < เรียงลำดับจำนวนต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
บวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้ำหนัก
สร้างโจทยป์ ัญหาพร้อมท้งั แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ ของจำนวนนับไม่เกนิ ๑๐๐ และ
๐ ระบุจำนวนท่ีหายไปในแบบรูปของจำนวนท่ีเพิ่มขึ้นหรอื ลดลงทีละ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไปในแบบรูปซ้ำของ
รูปเรขาคณิตและรูปอื่น ๆ ที่สมาชิกใน แต่ละชุดที่ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรยี บเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น
เมตร น้ำหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด และใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม
วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ
โจทย์ปัญหา เมอ่ื กำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หนว่ ย

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑

รวมท้ังหมด ๑๐ ตัวช้ีวดั

๔๔

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 2 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝกึ แก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจำนวน
สิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก ค่าของเลขโดด
ในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช้
เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตวั
ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการบวก การลบ การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน
๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน
๒ หลัก และประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการหารทีต่ ัวตั้งไมเ่ กิน ๒ หลกั ตวั หาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลกั ท้งั หาร
ลงตัวและหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับเวลาที่มีหน่วยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร พร้อมท้ัง
แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วัดและ
เปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวกการลบเกี่ยวกบั น้ำหนกั ทม่ี หี น่วยเป็นกโิ ลกรมั และกรมั กิโลกรัมและขีด วดั และเปรียบเทียบปรมิ าตรและความ
จุเป็นลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรปู หลายเหลีย่ มและวงกลม ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบ
ของโจทย์ปญั หา เมื่อกำหนดรปู ๑ รูปแทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ ๑๐ หนว่ ย

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑

รวม ๑๖ ตัวชี้วัด

๔๕

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดูอาราบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน
เศษสว่ นทีแ่ สดงปริมาณสง่ิ ต่าง ๆ และแสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ นที่กำหนด เปรยี บเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน
โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ
ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน
๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนและ
แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดง
วิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบพร้อมทั้ง
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของ
จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา
เลอื กใช้เคร่อื งมือความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอกความยาวของสิ่งตา่ ง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลเิ มตร เมตรและ
เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของ
โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับระหวา่ งเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกบั เซนติเมตร กิโลเมตรกบั เมตร จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ
เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็น
กิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็น
กิโลกรัมกับกรมั เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทยี บ
ปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและ
ความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ
รูปภาพและใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็น
จำนวนนับและใช้ข้อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,
ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

รวม ๒๘ ตัวชี้วดั

๔๖

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 4 กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา 160 ช่ัวโมง

ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอาราบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับที่
มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ พร้อมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง
ๆ บอก อา่ นและเขยี นเศษสว่ น จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน จำนวนคละที่
กำหนด เปรยี บเทยี บ เรยี งลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละทีต่ ัวสว่ นตวั หนึง่ เป็นพหูคณู ของอีกตวั หนึ่ง อ่านและเขยี น
ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหนง่ แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนยิ มท่ีกำหนด เปรยี บเทียบและเรียงลำดับทศนิยม
ไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง
สมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกว่า
๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก และแสดงการหารท่ี
ตัวตั้งไมเ่ กนิ ๖ หลัก ตวั หารไมเ่ กิน ๒ หลกั หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนบั และ ๐ แสดงวิธี
หาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน
ของจำนวนนับ และ ๐ พรอ้ มท้ังหาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบของ
เศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน ๓
ตำแหนง่ และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาการบวก การลบ ๒ ขน้ั ตอนของทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่

แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู และพื้นท่ีของรูปสีเ่ หล่ียมมมุ ฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกช่ือมุม
ส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความยาวของด้าน และใช้
ขอ้ มูลจากแผนภมู ิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑

รวม ๒๒ ตัวชี้วดั

๔๗

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา 160 ชวั่ โมง

เขียนเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ
แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขน้ั ตอน หาผลคูณของทศนยิ ม ท่ี
ผลคณู เป็นทศนยิ มไม่เกนิ ๓ ตำแหนง่ หาผลหารทต่ี วั ต้งั เปน็ จำนวนนับหรือทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และตัวหาร
เป็นจำนวนนับ ผลหารเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การ
คณู การหารทศนยิ ม ๒ ขั้นตอน และแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหารอ้ ยละไม่เกนิ ๒ ขน้ั ตอน

แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง
สี่เหลี่ยมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียก
ปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้ จำแนกรูปส่ีเหลี่ยม
โดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือ
เมือ่ กำหนดความยาวของเส้นทแยงมมุ และบอกลักษณะของปริซมึ

ใช้ขอ้ มูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภมู ิแทง่ จากข้อมูลท่ีเป็นจำนวนนับ

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวม ๑๙ ตัวช้ีวัด

๔๘

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 6 กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา 160 ชวั่ โมง

เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษส่วนและจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนับ หา
อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปญั หาโดยใชค้ วามรูเ้ กี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคนของ
เศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หาผลหาร
ของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การ
ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาอัตราส่วน ปัญหาร้อยละ ๒–๓
ขั้นตอน แสดงวิธคี ิดและหาคำตอบของปญั หาเก่ยี วกับแบบรูป

แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปหลายเหล่ยี ม ความยาว
รอบรูปและพ้ืนที่ของวงกลม จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรา้ งรปู สามเหลี่ยมเมื่อกำหนด
ความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบรุ ูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบจากรูปคลี่และระบรุ ปู คลข่ี องรูปเรขาคณิตสามมติ ิ

ใช้ข้อมลู จากแผนภมู ริ ูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑,

ป.๖/๑๒
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวม ๒๑ ตวั ชี้วดั

๔๙

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ (ภาคเรียนที่ ๑) เวลา ๖๐ ชั่วโมง

ศกึ ษา ฝึกทักษะการคดิ คำนวณ และฝกึ การแกป้ ัญหา ในสาระต่อไปนี้
จำนวนเต็ม การบวกจำนวนเต็ม การลบจำนวนเต็ม การคูณจำนวนเต็ม การหารจำนวนเต็ม และ
สมบัตขิ องจำนวนเต็ม
การสร้างทางเรขาคณิต การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ โดยใช้การ
สร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนำความร้เู กีย่ วกับการสร้างพ้ืนฐานทางเรขาคณติ ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
เลขยกกำลงั ความหมายของเลขยกกำลัง การคูณและการหารเลขยกกำลงั สญั ลักษณ์คณติ ศาสตร์
ทศนยิ มและเศษส่วน ทศนยิ มและการเปรยี บเทยี บทศนิยม การบวกและการลบทศนยิ ม การคูณและ
การหารทศนยิ ม เศษสว่ นและการเปรียบเทยี บเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน การคูณและการหารเศษส่วน
ความสมั พนั ธร์ ะหว่างทศนยิ มและเศษส่วน
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า
ดา้ นขา้ ง ด้านบน ของรูปเรขาคณติ สามมติ ิท่ปี ระกอบขึ้นจากลูกบาศก์
การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้
ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอย่างสรา้ งสรรค์ รวมทั้งเห็นคณุ ค่าและมีเจตคติที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์
สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเช่ือม่นั ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหา และทักษะ
ท่ีต้องการวดั

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ค ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒

รวมทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด


Click to View FlipBook Version