๕๐
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ค ๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ (ภาคเรียนท่ี ๒) เวลา ๖๐ ชั่วโมง
ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝกึ การแกป้ ญั หา ในสาระตอ่ ไปนี้
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การเตรียมความพร้อมก่อนรู้จักสมการ สมการและคำตอบสมการ การแก้
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว โจทย์ปญั หาเก่ยี วกบั สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดยี ว
อัตราสว่ น สัดสว่ น และรอ้ ยละ อัตราส่วน สัดส่วน รอ้ ยละ และบทประยกุ ต์
กราฟและความสมั พันธเ์ ชงิ เส้น คอู่ ันดบั และกราฟของคู่อันดับ กราฟและการนำไปใช้ ความสัมพนั ธ์เชิง
เส้น
สถิติ (๑) คำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอขอ้ มูลและการแปลความหมายข้อมูล
การจัดประสบการณห์ รือการสรา้ งสถานการณ์ทีใ่ กล้ตวั ให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจรงิ ทดลอง
สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในการแก้ปัญหาการสื่อส ารและการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเช่อื มโยง การให้เหตุผล และการคดิ สรา้ งสรรค์ รวมทั้งเหน็ คุณคา่ และมีเจตคติที่ดี
ตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และเชอ่ื มนั่ ใน
ตนเอง
การวดั และประเมนิ ผล ใชว้ ธิ กี ารหลากหลายตามสภาพความเปน็ จริงของเนื้อหา และทักษะที่ต้องการวัด
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ม.๑/๓
ค ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ค ๓.๑ ม.๑/๑
รวมทั้งหมด ๕ ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ๕๑
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ (ภาคเรยี นที่ ๑) เวลา ๖๐ ชว่ั โมง
ศึกษา ฝึกทักษะการคดิ คำนวณ และฝกึ การแกป้ ัญหา ในสาระตอ่ ไปน้ี
จำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้
ในการแกป้ ญั หา
พหุนาม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหุนาม การหารพหุนามด้วยเอกนามที่มีผลหาร
เป็นพหุนาม
การแยกตวั ประกอบของพหนุ าม(๑) การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยใช้ สมบัตกิ ารแจก
แจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลตา่ งของกำลังสอง
การแปลงทางเรขาคณิต การเลอื่ นขนาน การสะท้อน การหมนุ การนำความรูเ้ ก่ยี วกับการแปลงทาง
เรขาคณติ ไปใช้ในการแกป้ ญั หา
ความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับความ
เท่ากนั ทกุ ประการไปใชใ้ นการแก้ปัญหา
การสร้างทางเรขาคณติ การนำความรูเ้ กี่ยวกับการสรา้ งเรขาคณิตไปใช้ในชีวติ จรงิ
การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้
ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคณุ ค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์
สามารถทำงานอย่างเป็นระบบระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และเชื่อมัน่ ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหา และทักษะ
ทีต่ ้องการวัด
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ม.๒/๑
ค ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๔
รวมท้ังหมด ๖ ตัวช้ีวัด
๕๒
คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ (ภาคเรียนที่ ๒) เวลา ๖๐ ชัว่ โมง
ศึกษา ฝึกทกั ษะการคิดคำนวณ และฝกึ การแกป้ ัญหา ในสาระตอ่ ไปน้ี
จำนวนจรงิ จำนวนตรรกยะ จำนวนจริง รากทีส่ องและรากที่สามของจำนวนตรรกยะ การนำความรู้
ไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
พน้ื ทผี่ วิ และปรมิ าตร การหาพืน้ ที่ผิวและปรมิ าตรของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรเู้ ก่ียวกับ
พื้นท่ผี วิ ของปริซมึ และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
เส้นขนาน สมบัตเิ กย่ี วกับเส้นขนานและรปู สามเหล่ยี ม
ทฤษฏบี ทพที าโกรสั ทฤษฏบี ทพีทาโกรสั และบทกลับ การนำความรู้เก่ียวกบั ทฤษฏีบทพที าโกรัสและ
บทกลับไปใช้ในชวี ติ จริง
สถิติ(๒) การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของ
ข้อมลู การแปรความหมายผลลพั ธ์ การนำสถิติไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ
การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ ไปใช้
ในการเรียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอย่างสรา้ งสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์
สามารถทำงานอยา่ งเปน็ ระบบระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และเช่ือมัน่ ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหา และทักษะ
ทตี่ ้องการวัด
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ม.๒/๒
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม.๒/๒, ม.๒/๕
ค ๓.๑ ม.๒/๑
รวมทั้งหมด ๖ ตัวชี้วัด
๕๓
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ (ภาคเรยี นท่ี ๑) เวลา ๖๐ ชวั่ โมง
ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณ และฝกึ การแก้ปัญหา ในสาระตอ่ ไปน้ี
การแยกตวั ประกอบของพหนุ าม(๒) การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรสี ูงกวา่ สอง
ฟังก์ชันกำลังสอง กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการ
แกป้ ญั หา
ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การนำความรู้
เกี่ยวกับการแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปรไปใช้ในการแก้ปัญหา
พื้นที่ผิวและปริมาตร(๒) การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนำความรู้
เก่ียวกบั พื้นทผ่ี วิ และปริมาตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา
ความคลา้ ย รูปสามเหลยี่ มทค่ี ล้ายกนั การนำความรเู้ กีย่ วกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปญั หา
วงกลม วงกลม คอร์ด และเสน้ สมั ผัส ทฤษฏีบทเกี่ยวกับวงกลม
การจัดประสบการณห์ รือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตวั ใหผ้ ู้เรยี นได้ศึกษา คน้ คว้า โดยปฏิบัติจริง ทดลอง
สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมาย
ทางคณติ ศาสตร์ และการนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการท่ีได้ ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง
ๆ และใช้ในชวี ติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้งั เหน็ คุณคา่ และมีเจตคตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่าง
เปน็ ระบบระเบยี บ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และเช่อื มนั่ ในตนเอง
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ค ๑.๓ ม.๓/๓
ค ๒.๑ ม.๓/๑
ค ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๓
รวมทั้งหมด ๖ ตัวชี้วัด
๕๔
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ค ๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ (ภาคเรยี นท่ี ๒) เวลา ๖๐ ช่วั โมง
ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการคดิ คำนวณ และฝึกการแก้ปัญหา ในสาระต่อไปน้ี
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว
การนำความรู้เกยี่ วกบั การแก้สมการกำลงั สองตัวแปรเดียวไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว การแกอ้ สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว การ
นำความร้เู กย่ี วกับการแก้อสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียวไปใชใ้ นการแก้ปญั หา
สถติ ิ(๓) ข้อมลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล แผนภาพกลอ่ ง การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนำสถิตไิ ปใช้
ในชวี ติ จริง
ความน่าจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น การนำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ
เปน็ ไปใช้ในชวี ติ จรงิ
อัตราส่วนตรโี กณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ๓๐ องศา ๔๕
องศา และ ๖๐ องศา ไปใช้ในการแกป้ ัญหา
การจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง
ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้
ในการเรียนรู้สิง่ ต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดตี อ่ คณิตศาสตร์
สามารถทำงานอยา่ งเปน็ ระบบระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเชอื่ มน่ั ในตนเอง
การวัดและประเมินผล ใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหา และทักษะ
ท่ตี อ้ งการวดั
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒
ค ๒.๑ ม.๓/๒
ค ๒.๒ ม.๓/๒
ค ๓.๑ ม.๓/๑
ค ๓.๒ ม.๓/๑
รวมทง้ั หมด ๖ ตัวชี้วดั
๕๕
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ค 11201 คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 4๐ ช่ัวโมง
ศึกษาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา การบวก จำนวนท่ีมีผลบวกไม่เกิน
1,000 การลบจำนวนท่มี ตี วั ต้งั ไม่เกนิ 1,000 การคณู จำนวนทมี่ หี น่ึงหลักกบั จำนวนไม่เกินสองหลัก การหารที่มี
ตัวตั้งไม่เกินสองหลักและตัวหารหนึ่งหลัก โดยมีผลหารมีหนึ่งหลัก การบวก ลบ คูณ หารโจทย์ปัญหา โดยใช้การ
ปฏบิ ัติ การฝึกฝนทางด้านการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา จะช่วยเพม่ิ ขีดความสามารถในการ
คดิ คาํ นวณมากขน้ึ และเป็นพน้ื ฐานในการศึกษาเรยี นรู้ต่อไป
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและเห็นคุณค่าของการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์
ปัญหา มคี วามรับผดิ ชอบ มีวินัย ใฝjเรยี นรู้และมคี วามมงุ่ มนั่ ในการศกึ ษาหาความรู้มาพฒั นาตนเองอยู่เสมอ
ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรยี นอธบิ ายความหมายและความสำคัญเกีย่ วการบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปญั หาได้
2. ผู้เรยี นมีทักษะทางด้านการบวก การลบ การคณู การหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็
3. ผู้เรยี นมที กั ษะดา้ นการวเิ คราะห์โจทย์ปัญหา
4. ผู้เรยี นมีทักษะการแสดงวิธที ำและหาผลลัพธ์ไดถ้ กู ต้อง
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
๕๖
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ค 12201 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ 2 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 4๐ ช่วั โมง
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของแต่ละประเภทการวัดความยาว การวัดความยาว ความสูง และ
ระยะทางทม่ี หี น่วยเป็นเมตร เซนตเิ มตร และมลิ ลเิ มตร การเลือกใช้เคร่ืองวัด และหน่วยการวดั ความยาว ความสูง
หรือระยะทางที่เป็นมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการวัดความยาว การเปรียบเทียบความยาว ความสูง
หรือระยะทาง การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร โจทย์ปัญหาการบวกการลบ เกี่ยวกับความยาว
ความสูง หรือระยะทาง การชั่ง การชั่งเป็นกิโลกรัม กรัม และขีด การเลือกใช้เครื่องชั่งและหน่วยชั่งที่มีมาตรฐาน
ความสมั พนั ธ์ระหว่างหนว่ ยการชัง่ การเปรียบเทียบน้ำหนกั การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั กรมั และขดี โจทย์
ปญั หาการบวกการลบเก่ยี วกบั นำ้ หนกั การตวง การตวงเป็นลติ ร มลิ ลิลิตร ถ้วยตวง และช้อนตวง การเปรียบเทยี บ
ความจุ การคาดคะเนปริมาตรเป็นลิตร โจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ยี วกบั ปริมาตรของสิ่งท่ีตวง หรอื ความจุของ
ภาชนะ
เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการวัดความยาว การชั่ง การตวง มีทักษะการอ่าน
ค่าการแทนคา่ หน่วยในแต่ ละประเภท เป็นการฝึกการเรยี นรู้ ใฝ่เรียนรู้ นําความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรยี นอธบิ ายความหมายของความยาวและสรุปเกีย่ วกบั ความยาวได้
2. ผู้เรียนอธบิ ายความหมายของการชง่ั และสรุปเกยี่ วกับการชง่ั ได้
3. ผู้เรยี นอธบิ ายความหมายของการตวงและสรุปเกย่ี วกบั การตวงได้
4. ผู้เรยี นวิเคราะห์และจําแนกสง่ิ ของสองอย่างว่าด้านไหนยาวกว่ากันพร้อมอธิบายวธิ กี ารสังเกต
รวมทงั้ หมด 4 ผลการเรียนรู้
๕๗
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ค 13201 คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา 4๐ ช่วั โมง
รูปเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยม รูปหก
เหลยี่ ม .... การจาํ แนกรปู เรขาคณิต รูปท่มี ีแกนสามาตร รปู เรขาคณิตสามมติ ิ การจาํ แนกรูปเรขาคณติ สองมิติและ
สามมิติ โดยการใช้กระบวนการทางเรขาคณิตและสมบัติบางประการของรูปเรขาคณิต เป็นการจําแนกรูป
เรขาคณติ รปู ท่มี แี กนสมมาตร รปู เรขาคณิตสามมิติการจาํ แนกรูปเรขาคณติ สองมิติและสามมิติได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้พัฒนาผู้เรียนให้มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างมี ความสขุ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มคา่ จนสามารถนาํ ทกั ษะปฏบิ ตั ิงานไปใช้
ในชีวติ ประจำวนั ได้
ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับเรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมิติ
2. ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของเรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมิติได้
3. ผู้เรียนมที กั ษะในการหาแกนสมมาตร
4. ผู้เรยี นมที กั ษะในการวาด สร้างรปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมิติ
5. ผู้เรียนความตั้งใจใฝ่เรียนรู้มีวินัยมีความมุ่งมั่นในการฝึกฝนและเกิดทัศนะคติที่ดีต่อการเรียน
คณิตศาสตร์
รวมทงั้ หมด 5 ผลการเรยี นรู้
๕๘
คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม
ค 14201 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 8๐ ชั่วโมง
ศึกษาหลักการเรียงลำดับจากมากไปน้อยและจากน้อยไปมาก ต้องอาศัยการนับเลขที่ชํานาญและคล่อง
แคล้ว การฝึกท่องอยู่เสมอจะทำให้เราไม่มีข้อผิดพลาดดังนั้นการฝึกนับเลขเพ่มิ ทีละเท่าๆกนั ชว่ ยให้เราหาผลลัพธ์
ไดเ้ ร็วข้ึน
โดยใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ตา่ งๆ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม รู้จักใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการแก้ปัญหา ใช้เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ และสรุปผลไดอ้ ย่าง
เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอได้อย่าง
ถูกต้องและชัดเจน สามารถเช่ือมโยงความรู้ หลักการกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ในการเรยี นรู้สิ่งต่างๆและ
ใช้ในชวี ติ ประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมทั้งเหน็ คณุ ค่าและมเี จตนคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ มคี วามคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์
สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบระเบียบ มคี วามรอบคอบ มวี จิ ารณญาณ และมคี วามเช่อื มัน่ ในตนเอง
เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจกระบวนการแก้ปัญหา การเรียงจำนวนจากมากไปน้อยและการเรยี ง
จากน้อยไปมากได้ มีทักษะการนับเลขที่ดี เพื่อให้เข้าใจบทบาทและการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง สามารถนํามา
ประยกุ ตใ์ ช้กบั ชวี ติ ประจำวนั ได้
ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรียนอธิบายการเรยี งลำดบั จากมากไปน้อยได้
2. ผู้เรยี นอธบิ ายการเรียนลำดบั จากน้อยไปมากได้
3. ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับไดอ้ ย่างคล่องแคล่วและถกู ตอ้ ง
4. ผู้เรียนสามารถนบั เลขอย่างคล่องแคล่ว
5. ผู้เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้มีวินยั มีความมุ่งม่ันในการฝึกซอ้ มและเกดิ ทัศนะคตทิ ี่ดตี ่อการ
เรยี นคณติ ศาสตร์รวม
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรยี นรู้
๕๙
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
ค 15201 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เติม 5 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 8๐ ชว่ั โมง
การอา่ นแผนภูมิแท่งและแผนภูมิแทง่ เปรยี บเทยี บ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลและการเขยี นแผนภูมแิ ท่ง
ความหมายและการนําไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ของเหตุการณท์ เ่ี กดิ ขึ้นแนน่ อน อาจจะเกิดขึน้ หรือไม่เกิด และไม่
เกิดขนึ้ อย่างแน่นอน
โดยใช้การศกึ ษาคน้ คว้าการศึกษาเรียนรู้ การอา่ นแผนภมู แิ ทง่ และแผนภมู เิ ปรียบเทยี บ การเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลต้องลงมือปฏบิ ัติจากสถานการณจ์ ริง สง่ิ ท่ียังไมเ่ กดิ และไมเ่ กิดข้ึนอยา่ งแนน่ อน การเขยี นแผนภูมแิ ทง่ เปน็
การเขยี นท่ีให้เห็นความแตกต่างสามารถเปรยี บเทียบระหว่างสง่ิ ของสองอย่างและหลายๆอย่างได้
เพอื่ ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมลู การสรา้ งแผนภมู ิ การเปรียบเทยี บแผนภูมิและ
เข้าใจความหมาย การนาํ ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้
ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรียนอธบิ ายถงึ ความหมายและการนําไปใชไ้ ด้
2. ผเู้ รยี นรู้จักเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการเขยี นแผนภมู แิ ท่ง
3. ผูเ้ รยี นสรา้ งแผนภูมิแทง่
4. ผเู้ รียนเปรียบเทียบผลในแผนภูมิแทง่ ได้
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
๖๐
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ค 16201 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 8๐ ชั่วโมง
ความยาวรอบรูป คอื ผลบวกของความยาวด้านทกุ ด้านของรูปเหลี่ยม
วิธีหาความยาวรอบรูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมโดยทั่วไปหาความยาวเส้นรอบรูปได้โดยวัดความยาวของ
ด้านทุกด้าน แล้วนํามาบวกกัน รูปสี่เหลี่ยมบางชนิดหาความยาวโดยใช้สูตรความยาวรอบรูปได้โดยวัดความยาว
บางดา้ นแล้วนํามาคาํ นวณโดยใช้สตู ดังนี้
สีเ่ หลย่ี มผืนผ้า, ส่เี หลย่ี มด้านขนาน = 2 × ( กว้าง + ยาว )
สเี่ หล่ยี มจตั รุ สั , สเ่ี หลี่ยมขนมเปียกปนู = 4 × ดา้ น
เพ่อื ให้ผู้เรยี นเกดิ ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการหาความยาวรอบรูปส่เี หลย่ี มและการหาพื้นทภ่ี ายใน รูป
สเ่ี หลี่ยม มีความมุ่งมั่น ใฝ่เรียนรู้ นําความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ผู้เรียนอธิบายความหมายของความยาวรอบรู้และการหาพื้นทีไ่ ด้
2. ผู้เรียนจำสตู รการหาพื้นท่ีต่างๆ
3. ผู้เรยี นวเิ คราะห์โจทย์ปญั หา และบอกสงิ่ ทโ่ี จทย์ต้องการได้
4. ผู้เรียนเขา้ ใจวธิ กี ารหาผลลพั ธ์และขั้นตอนวธิ กี ารทำ
รวมท้ังหมด 4 ผลการเรยี นรู้
๖๑
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
ค 21201 คณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ 1 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 2๐ ช่วั โมง
ศกึ ษา ฝึกทักษะ/ กระบวนการในสาระต่อไปน้ี
การประยกุ ต์ 1 รูปเรขาคณิต จำนวนนับ ความยาวของด้านของรปู สามเหลี่ยม จุดข้างในและจุดข้าง
นอก ประกอบภาพจากรปู เรขาคณติ ที่กำหนดใหเ้ ป็นรูปต่างๆ
จำนวนและตวั เลข ระบบตัวเลขโรมัน
การประยกุ ตเ์ กี่ยวกบั จำนวนเตม็ และเลขยกกำลงั การคดิ คำนวณ โจทยป์ ญั หา
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัตจิ รงิ ทดลอง สรปุ รายงาน
เพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเชอ่ื มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณติ ศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตร์อ่ืนๆ และนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการที่ไดไ้ ปใช้ในการเรียนรูส้ ่ิงต่างๆ และใช้
ในชวี ิตประจำวนั อย่างสร้างสรรค์ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พร้อมทง้ั ตระหนกั ในคุณคา่ และมเี จตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งมีระบบ มีระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมคี วาม
เชอ่ื มัน่ ในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ กป้ ัญหาต่างๆ ได้
2. อ่านและเขียนตวั เลขโรมนั ได้
3. ใช้ความรเู้ กี่ยวกบั จำนวนเตม็ และเลขยกกำลังในการแก้ปัญหาได้
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบทีไ่ ด้
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
๖๒
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ค 21202 คณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ 2 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 2๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ฝกึ ทักษะ/ กระบวนการในสาระตอ่ ไปนี้
การประยุกต์ 1 รอ้ ยละในชวี ติ ประจำวัน
จำนวนและตวั เลข ระบบตัวเลขฐานตา่ งๆ
การประยุกต์ 2 แบบรปู ของจำนวน การประยุกตเ์ ศษสว่ นและทศนิยม
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัตจิ ริง ทดลอง สรุป รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ตา่ งๆ ทางคณติ ศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตรอ์ ่ืนๆ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทกั ษะกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ และใช้
ในชีวิตประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พร้อมทง้ั ตระหนกั ในคณุ คา่ และมเี จตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ มีระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความ
เชือ่ มน่ั ในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ใชค้ วามรู้และทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์แก้ปัญหาต่างๆ ได้
2. บอกคา่ ของเลขโดดในตวั เลขฐานต่างๆ ที่กำหนดใหไ้ ด้
3. เขียนตวั เลขฐานท่กี ำหนดให้เปน็ ตวั เลขฐานต่างๆ ได้
4. ตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบที่ได้
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
๖๓
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ค 22201 คณิตศาสตร์เพม่ิ เตมิ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 (ภาคเรยี นที่ 1) เวลา 2๐ ช่วั โมง
ศึกษา ฝกึ ทักษะ/ กระบวนการในสาระต่อไปน้ี
เอกนามและพหุนาม สัมประสิทธิ์และดีกรีของเอกนาม ดีกรีของพหนุ าม การบวกและการลบเอกนาม
การบวกและการลบพหนุ าม การคูณและการหารพหุนาม
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ
ปฏบิ ตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการส่ือ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเชอื่ มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณติ ศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตรอ์ นื่ ๆ และนำประสบการณด์ า้ นความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการท่ีได้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ง่ิ ต่างๆ และใช้
ในชีวติ ประจำวันอย่างสรา้ งสรรค์ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทัง้ ตระหนกั ในคุณค่าและมเี จตคติที่ดีต่อ
คณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งมีระบบ มรี ะเบียบ มคี วามรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ และมคี วาม
เชื่อมนั่ ในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหนุ ามได้
2. หาผลคณู และผลหารของพหนุ ามอย่างงา่ ยได้
รวมทงั้ หมด 2 ผลการเรยี นรู้
๖๔
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
ค 22202 คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม 4 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2 (ภาคเรยี นท่ี 2) เวลา 2๐ ช่ัวโมง
ศึกษา ฝึกทกั ษะ/ กระบวนการในสาระตอ่ ไปนี้
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง แยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง การจัดหมู่
แยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูป x2 + bx + c แยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูป ax2 + bx +
c และ a 1แยกตัวประกอบของพหนุ ามท่ีอยู่ในรูปกำลังสองสมบูรณ์ และแยกตวั ประกอบของพหุนามที่อยู่ใน
รปู ผลตา่ งของกำลงั สอง
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ
ปฏิบตั จิ ริง ทดลอง สรปุ รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชอื่ มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตรอ์ ่ืนๆ และนำประสบการณด์ ้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรยี นรู้ส่ิงต่างๆ และใช้
ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พร้อมทง้ั ตระหนักในคณุ คา่ และมเี จตคติท่ีดีต่อ
คณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ มรี ะเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และมคี วาม
เชอ่ื มนั่ ในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี องได้
รวมท้ังหมด 1 ผลการเรยี นรู้
๖๕
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ค 23201 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม 5 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 2๐ ชั่วโมง
ศึกษา ฝึกทกั ษะ/ กระบวนการในสาระตอ่ ไปนี้
กรณฑ์ทสี่ อง การบวก การลบ การคณู และการหารจำนวนจริงทอ่ี ย่ใู นรปู a เมือ่ a 0 โดยใชส้ มบัติ
ab = a b เม่อื a 0 และ b 0 และ a = a เมื่อ a 0 และ b > 0
bb
การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยอาศัยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
หรือใช้ทฤษฎีเศษเหลือ
โดยจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชวี ติ ประจำวันท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการปฏิบัติ
จรงิ ทดลอง สรุป รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการสื่อ
ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนำเสนอ การเช่ือมโยงความรตู้ ่างๆ ทางคณติ ศาสตรแ์ ละเชอ่ื มโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตร์อน่ื ๆ และนำประสบการณด์ า้ นความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นการเรียนรูส้ ่ิงตา่ งๆ และใช้
ในชีวิตประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พรอ้ มทงั้ ตระหนกั ในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ
คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างมรี ะบบ มรี ะเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ และมีความ
เชอื่ มั่นในตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. บวก ลบ คณู และหารจำนวนจรงิ ท่ีอย่ใู นรปู a เมอ่ื a 0 และ b 0 โดยใชส้ มบัติ
1) ab = a b เมอ่ื a 0 และ b 0
2) a = a เมอ่ื a 0 และ b > 0
bb
2. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยใู่ นรปู กำลังสองสมบรู ณ์ได้
3. แยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รสี ูงกว่าสองที่มสี มั ประสิทธิ์เปน็ จำนวนเตม็ โดยอาศัยวิธีทำ
เปน็ กำลังสองสมบรู ณ์หรือใชท้ ฤษฎเี ศษเหลือได้
รวมท้ังหมด 3 ผลการเรียนรู้
๖๖
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ค 23202 คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียนที่ 2) เวลา 2๐ ช่ัวโมง
ศกึ ษา ฝึกทักษะ/ กระบวนการในสาระตอ่ ไปนี้
สมการกำลังสอง การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลัง
สองตัวแปรเดยี ว
เศษสว่ นของพหนุ าม การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษสว่ นของพหุนาม การแก้สมการเศษส่วนของ
พหุนาม การแกป้ ัญหาเก่ยี วกับเศษสว่ นของพหนุ าม
โดยจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ
ปฏิบัติจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน
เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสารการส่ื อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชอ่ื มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณติ ศาสตร์และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์
กบั ศาสตร์อื่นๆ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ และใช้
ในชวี ติ ประจำวันอย่างสร้างสรรค์ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พร้อมทัง้ ตระหนักในคุณค่าและมเี จตคติที่ดีต่อ
คณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอย่างมีระบบ มีระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความ
เชื่อมั่นในตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. แกส้ มการกำลังสองตวั แปรเดยี วโดยใชส้ ูตรได้
2. แกโ้ จทย์ปัญหาเกีย่ วกบั สมการกำลังสองตัวแปรเดียวได้
3. บวก ลบ คณู และหารเศษสว่ นของพหุนามได้
4. แกส้ มการเศษส่วนของพหุนามได้
5. แก้ปญั หาเกี่ยวกับเศษสว่ นของพหนุ ามได้
6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบทีไ่ ด้
รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้
๖๗
กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๖๘
สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต
และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด
พลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศความหมายของ ประชากร ปัญหาและ
ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งน ำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัตขิ องส่ิงมชี วี ิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่
ทำงานสัมพันธ์กันความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของอวัยวะต่างๆของพืชที่
ทำงานสมั พนั ธก์ นั รวมทง้ั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพและววิ ฒั นาการของส่ิงมชี ีวิตรวมทงั้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลายและการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวนั ผลของแรงท่กี ระทำตอ่ วัตถลุ ักษณะ
การเคลื่อนที่แบบตา่ งๆ ของวัตถรุ วมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของ คลนื่ ปรากฏการณ์ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบลักษณะกระบวนการเกิดและววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซ่ี
ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมท้งั ปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสรุ ิยะทส่ี ่งผลต่อสง่ิ มีชีวติ
และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน
โลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและ
ภูมอิ ากาศโลกรวมท้ังผลต่อส่งิ มชี ีวิตและสงิ่ แวดล้อม
๖๙
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.๑ เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยเี พ่อื การดำรงชวี ติ ในสงั คมที่มีการเปลย่ี นแปลง
อย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่นๆ
เพอื่ แก้ปญั หาหรือพฒั นางานอย่างมคี วามคดิ สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรมเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่าง เหมาะสม โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ิตสังคม
และสิง่ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว 4.๒ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาทพ่ี บในชวี ติ จริงอย่างเปน็ ขั้นตอน
และเปน็ ระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้การทำงานและ
การแก้ปัญหาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทัน และมจี ริยธรรม
๗๐
รายวิชาทเี่ ปิดสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชาพ้นื ฐาน ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา ป.1 - ป.6 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ว 11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 จำนวน 80 ชั่วโมง
ว 12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ว 13101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 จำนวน 120 ชวั่ โมง
ว 14101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4 จำนวน 120 ชวั่ โมง
ว 15101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5 จำนวน 120 ชว่ั โมง
ว 16101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6
รายวิชาพืน้ ฐาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา ม.1 - ม.3 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
ว 21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชั่วโมง
ว 21103 วิทยาศาสตร์ 2 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ว 22101 วิทยาศาสตร์ 3 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชั่วโมง
ว 22103 วิทยาศาสตร์ 4 (ภาคเรียนท่ี 2) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชัว่ โมง
ว 23101 วทิ ยาศาสตร์ 5 (ภาคเรยี นที่ 1) 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชั่วโมง
ว 23103 วทิ ยาศาสตร์ 6 (ภาคเรยี นท่ี 2)
ว 21102 เทคโนโลยี 1 0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชว่ั โมง
(วทิ ยาการคำนวณ) (ภาคเรียนท่ี 1) 0.5 หนว่ ยกิต จำนวน 20 ชว่ั โมง
ว 21104 เทคโนโลยี 2
0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชว่ั โมง
(การออกแบบและเทคโนโลยี) (ภาคเรียนท่ี 2)
0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชว่ั โมง
ว 22102 เทคโนโลยี 3
(วิทยาการคำนวณ) (ภาคเรียนท่ี 1) 0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชัว่ โมง
ว 22104 เทคโนโลยี 4 0.5 หนว่ ยกิต จำนวน 20 ชั่วโมง
(การออกแบบและเทคโนโลย)ี (ภาคเรียนที่ 2)
ว 23102 เทคโนโลยี 5
(วทิ ยาการคำนวณ) (ภาคเรยี นที่ 1)
ว 23104 เทคโนโลยี 6
(การออกแบบและเทคโนโลยี) (ภาคเรยี นท่ี 2)
รายวชิ าเพมิ่ เติม ระดับช้นั มัธยมศึกษา ม.1 - ม.3 0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชว่ั โมง
ว 21201 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ภาคเรียนท่ี 1) 0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชั่วโมง
ว 21202 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (ภาคเรยี นท่ี 2) 0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชัว่ โมง
ว 22201 เร่ิมต้นกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ (ภาคเรยี นที่ 1)
0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชว่ั โมง
ว 22202 เรม่ิ ต้นกบั โครงงานวิทยาศาสตร์ (ภาคเรยี นท่ี 2)
0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชั่วโมง
ว 23201 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ (ภาคเรียนท่ี 1)
0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชัว่ โมง
ว 23202 โครงงานวิทยาศาสตร์ (ภาคเรยี นที่ 2)
๗๑
คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ว 1๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๘๐ ช่วั โมง
ศึกษา วิเคราะห์ ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆที่ได้จากการสำรวจบอกสภาพแวดล้อมท่ี
เหมาะสมในบรเิ วณทีพ่ ชื และสตั ว์อาศยั อยใู่ นบรเิ วณทสี่ ำรวจบรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทสี่ ่วนต่างๆของร่างกาย
มนุษย์ สัตว์และพืชรวมทั้งบรรยายการทำหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่างๆ
จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของสว่ นต่างๆของร่างกายของตนเองและการดแู ลส่วนต่างๆอย่าง
ถกู ตอ้ งและปลอดภยั
อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ทำจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ ระบุชนดิ ของวสั ดุและจดั กลุม่ วสั ดุตามสมบัตทิ ่ีสังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคล่ือนท่ี
ของเสยี งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบดุ าวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคนื จากข้อมลู ที่รวบรวม
ได้ อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะ
ภายนอกของหินจากลกั ษณะเฉพาะตวั ทีส่ งั เกตได้ แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทียบ
แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหา อย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ เขียนโปรแกรม
อย่างงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือสื่อใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเกบ็ เรียกใช้ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ปฏิบัติตามขอ้ ตกลงในการใช้คอมพิวเตอรร์ ว่ มกันดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบื้องต้น
และใชง้ านอย่างเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปราย
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งทเ่ี รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
รวมท้ังหมด ๑๕ ตัวช้ีวัด
๗๒
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
ระบุวา่ พชื ต้องการแสงและนำ้ เพื่อการเจริญเติบโตโดยใชข้ อ้ มลู จากหลักฐานเชิงประจกั ษต์ ระหนักถึงความ
จำเป็นที่พืชต้องการได้รับน้ำและแสงเพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวติ ของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มชี วี ติ จากข้อมูลที่รวบรวม
ได้ เปรียบเทียบสมบัตกิ ารดดู ซับน้ำของวัสดไุ ปประยุกต์ใช้ในการทำวัสดใุ นชวี ิตประจำวัน อธิบายสมบัติทีน่ ำวัสดุ
มาผสมกันโดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์การนำมาทำเป็นวัสดุในการใช้งานการน ำกลับมาใช้ใหม่ตระหน ักถึง
ประโยชนข์ องการนำวัสดุท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ บรรยายแนวทางการเคล่ือนทีข่ องแสงจากแหลง่ กำเนิดแสงและ
อธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็น โดย
เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อนั ตรายจากการมองเห็นวัตถใุ นท่มี ีแสงสว่างไมเ่ หมาะสม ระบสุ ว่ นประกอบของดิน
และจำแนกชนดิ ของดินโดยใช้ลักษณะเน้ือดินและการจับตวั เปน็ เกณฑ์ อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากดินจากข้อมูลที่
รวบรวมได้ แสดงลำดับขั้นตอนการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์หรือข้อความ เขียน
โปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัด
หมวดหมู่ ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม
ข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอร์รว่ มกนั ดแู ลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภปิ ราย
เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอื่ สารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวช้ีวัด
๗๓
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
บรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากที่รวบรวมได้ ตระหนักถึง
ประโยชน์ของอาหาร น้ำและอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับสิ่งเหล่านี้อย่างเหมาะสม สร้าง
แบบจำลองทบี่ รรยายวัฏจักรชีวติ ของสัตว์และเปรียบเทียบวฏั จักรชีวิตของสัตว์บางชนิดคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่
ทำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปลี่ยนแปลง อธิบายว่าวัตถุประกอบกันเป็นวัตถุชิน้ ใหม่ได้โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือทำให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ระบุผลของแรง
เปล่ยี นแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบและยกตวั อย่างแรงสัมผัสและแรงสัมผัส
ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่การจำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลท่ี
เกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็กเมื่อนำมาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไป
เป็นอีกพลังงานหนึ่ง การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าประโยชน์ของ
ไฟฟา้ โดยการนำเสนอวธิ กี ารใชอ้ ย่างประหยดั และปลอดภัย
อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการขึ้นละตกของดวงอาทติ ย์การเกิดกลางวนั กลางคืนและการกำหนดทิศโดยใช้
แบบจำลองตระหนักถึงความสำคัญของดวงอาทิตย์ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ระบุส่วนประกอบของ
อากาศ บรรยายความสำคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพษิ ทางอากาศตอ่ สง่ิ มชี ีวติ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้
ตระหนักถึงความสำคญั ของอากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นในการลดการเกิดมลพษิ ทางอากาศ อธิบาย
การเกดิ ลมจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ บรรยายประโยชนแ์ ละโทษของลม จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ แสดงอลั กอริทึม
ในการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใชอ้ ินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล และ
นำเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงใน
การใช้อนิ เทอรเ์ น็ต
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภปิ ราย
เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่อื สารสง่ิ ท่เี รยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวชีว้ ัด
๗๔
คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา 120 ชั่วโมง
บรรยายหน้าที่ของราก ลำต้น ใบและดอกของพืชดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ จำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้
ความเหมือนและความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์และกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสัตว์
จำแนกพืชออกเป็นพชื ดอกและพชื ไม่มดี อกโดยใช้การมีดอกเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ จำแนกสัตว์ออกเป็น
สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้
บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทน้ำสะเทินบก กลุ่ม
สัตว์เลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลยี งลูกด้วยนม และตัวอย่างสิง่ มชี วี ิตในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบตั ิทาง
กายภาพ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความร้อนและการนำไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จาก
การทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่องความแข็งสภาพยืดหยุ่นการนำความร้อนและการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันผา่ นกระบวนการออกแบบช้ินงาน แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอ้ ่ืนโดยการอภิปรายเกีย่ วกับสมบัติทาง
กายภาพของวัสดุอย่างมเี หตผุ ลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารท้งั ๓ สถานะ จากขอ้ มูลท่ีได้จากการ
สังเกตมวล การต้องการที่อยู่รูปร่างและปริมาตรของสสาร ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสารทั้ง ๓
สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดน้ำหนักของวัตถุ
บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ จำแนกวัตถุเป็น
ตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสงและวัตถุทึบแสงโดยใช้ลักษณะการมองเห็นสิ่งต่างๆผ่านวัตถุนัน้ เป็นเกณฑ์จาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้าง
แบบจำลองที่อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รูปร่างของดวงจันทร์
สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะและอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่างๆ
จากแบบจำลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบาย การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา
อย่างง่าย ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อและตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้
อินเทอรเ์ น็ตค้นหาความรู้และประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมลู รวบรวม ประเมนิ นำเสนอขอ้มลูและสารสนเทศ
โดยใชซ้ อฟต์แวรท์ ี่หลากหลาย เพ่ือแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวันใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ
และหนา้ ท่ีของตน เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ื่น แจ้งผ้เู กย่ี วขอ้ งเมอื่ พบข้อมูลหรือบคุ คลท่ไี ม่เหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปราย
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารส่งิ ที่เรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวช้วี ัด
๗๕
คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 5 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ เวลา 120 ชั่วโมง
บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของส่ิงมชี ีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชวี ติ ซ่ึงเป็นผลมาจากการปรับตัวของ
สิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิง่ มีชวี ิต
กับสิ่งไม่มีชีวิตเพื่อประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิต
และผู้บริโภคในโซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของส่ิงแวดล้อมที่มีต่อการดำรงชวี ิตของส่ิงมีชวี ิตโดยมีส่วนร่วมในการ
ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของ พืช สัตว์ และ มนุษย์
แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดยการถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ อธิบายการ
เปล่ียนสถานะของสสารเมื่อทำให้สสารรอ้ นขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ อธบิ ายการละลายของสาร
ในน้ำ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการเปล่ียนแปลงที่ผันกลับไม่ได้
อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัต ถุอยู่นิ่งจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ใช้เครื่องชั่ง
สปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก
หลักฐานเชงิ ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกนั ท่ีกระทำต่อวัตถุ อธิบายการ
ไดย้ ินเสยี งผา่ นตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปรทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสยี ง
ตำ่ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับ
เสียง ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่องระดับเสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง
เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่งและเส้นทาง
การขน้ึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าและอธิบายแบบรูปเสน้ ทางการขึน้ และตกของกล่มุ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
ในรอบปี เปรียบเทียบปรมิ าณนำ้ ในแต่ละแหล่งและระบปุ ริมาณนำ้ ที่มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูล
ที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดยนำเสนอแนวทางการใช้น้ำอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้ำ สร้าง
แบบจำลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และ
น้ำค้างแข็ง จากแบบจำลอง เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ ฝน หิมะ และลูกเห็บ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ ใชเ้ หตุผล
เชิงตรรกกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบและ
เขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกกะอย่างง่ายตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล
ติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวมประเมิน นำเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายเพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาทเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของ
ผู้อื่น แจ้งผู้เก่ยี วข้องเมือ่ พบข้อมูลหรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภปิ ราย
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสงิ่ ทีเ่ รียนรู้ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ
๗๖
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมท้ังหมด ๓๒ ตัวชว้ี ัด
๗๗
คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา 120 ช่ัวโมง
ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทานบอก
แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวยั รวมทัง้ ความ
ปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหาร
ครบถว้ นในสัดสว่ นท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมทัง้ ความปลอดภยั ต่อสุขภาพ สรา้ งแบบจำลองระบบย่อยอาหาร
และบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร
ตระหนักถึงความสำคัญของระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร
ให้ทำงานเป็นปกติ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด
การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน
เกี่ยวกับการแยกสาร อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผ่านการขัดถูโดยใช้หลักฐานเชิง
ประจักษ์ ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ เขียนแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ออกแบบการทดลองด้วยวิธีทีเ่ หมาะสมในการอธบิ ายวิธีการ
และผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถงึ ประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดย
บอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการ
อธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อไฟฟ้าแบบ
อนุกรม แบบขนาน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการ
เกิดเงามืดเงามัว สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา
อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้
เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการเกดิ ซากดึกดำบรรพ์
และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุมรวมทั้งอธิบายผลที่มีต่อ
ส่งิ มชี ีวติ และสิง่ แวดล้อมจากแบบจำลอง อธบิ ายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย จากข้อมูลที่รวบรวม
บรรยายลกั ษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝัง่ ดินถล่ม แผ่นดินไหว ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของ
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ
และธรณีพิบัติภัย ที่อาจเกิดในท้องถิ่น อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรือน
กระจกต่อสิ่งมีชีวิต ตระหนักถึงผลกระทบองปรากฏการณ์เรือนกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลด
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก็สเรือนกระจก ใช้เหตุผลเชิงตรรกกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่พบใน
ชีวิตประจำวัน ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรมและแก้ไข ใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการคน้ หาข้อมลู อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกัน
อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่
เหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ
การอภิปราย
เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งท่เี รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ
๗๘
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
รวมทั้งหมด ๓๐ ตัวช้วี ัด
๗๙
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง
ศึกษาเกี่ยวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจำแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และจำแนกด้วยขนาด
อนุภาคของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้
ความรู้ทางเคมีให้เป็นประโยชนต์ ่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัยการศึกษา
ชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภท โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบภายในเซลล์
สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และการ
ออสโมซิส ศึกษาการดำรงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การลำเลียงสารในพืชการ
เจริญเติบโตของพืช การสืบพันธุ์ของพืช และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช การออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิง
นามธรรมเพอ่ื แก้ปัญหาหรืออธิบายการท างานที่พบในชีวิตจริง การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ตัวแปร
เงอื่ นไข วนซ้ า การออกแบบอัลกอริทึม เพ่อื แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่าย การเขยี นโปรแกรม
โดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python, java และ c การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิประมวลผล สร้าง
ทางเลือก ประเมินผล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความ
เหมาะสมของเนอื้ หา การใชส้ ่ือและแหล่งข้อมูลตามขอ้ กำหนดและข้อตกลงได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10,
ม.1/11, ม.1/12, ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10
ว 4.2 ม.1/1, ม.1/2
รวมทั้งหมด 30 ตวั ชว้ี ัด
๘๐
คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ว ๒๑๑๐3 วทิ ยาศาสตร์ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี 2 เวลา ๖๐ ชั่วโมง
ศึกษาเกี่ยวกับอุณหภูมิและการวัดผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร การถ่ายโอนความ
ร้อน การดูดกลืนและการคายความร้อน สมดุลความร้อน องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศผล
ของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ ได้แก่อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ
ความชื้นอากาศ ลม เมฆ และฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์อากาศ และการ
เปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศของโลก การออกแบบอัลกอรทิ มึ ท่ใี ช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพอ่ื แกป้ ัญหาหรืออธบิ ายการท า
งานที่พบในชีวิตจริง การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ การออกแบบอัลกอริทึม
เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python,
java และ c การรวบรวมข้อมลู จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา การใช้สื่อและ
แหล่งขอ้ มลู ตามขอ้ กำหนดและข้อตกลงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมท่เี หมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7
ว. 4.2 ม.1/3, ม.1/4
รวมทั้งหมด 17 ตวั ชวี้ ัด
๘๑
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๒2๑๐1 วิทยาศาสตร์ 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง
ศกึ ษา วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของสารละลาย สภาพการละลายได้และปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการสภาพละลายได้
ความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถ่ายระบบประสาท
ระบบสืบพนั ธ์ตำแหนง่ ของวัตถุ ระยะทาง และการกระจัด อตั ราเรว็ และความเร็ว แรงลพั ธ์แรงเสยี ดทาน แรงและ
ความดันของของเหลว แรงพยุงของของเหลว โมเมนต์ของแรง แรงและสนามของแรงการออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้
แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การท างานที่พบในชีวิตจริง การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะ
และฟังก์ชันในการแก้ปัญหา การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python, java และ c องค์ประกอบ
และหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อประยุกต์ใช้งานหรือ แก้ปัญหาเบื้องต้น
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย มีความรบั ผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธใิ นการเผยแพรผ่ ลงาน
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด
ว 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10,
ม.2/11, ม.2/12, ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15, ม.2/16, ม.2/17
ว 2.1 ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10,
ม.2/11, ม.2/12, ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15
ว 4.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
รวมทั้งหมด 39 ตัวช้วี ดั
๘๒
คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
ว ๒2๑๐3 วทิ ยาศาสตร์ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา ๖๐ ชว่ั โมง
ศกึ ษา วิเคราะหง์ านและกำลัง เครือ่ งกลอยา่ งง่าย พลังงานศักย์โน้มถว่ งและพลังงานจลน์ กฎการอนุรักษ์
พลังงาน วิธีการแยกสาร การน าความรู้เรื่องการแยกสารไปใช้ประโยชน์ โครงสร้างภายในโลกกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก ดิน ชั้นดินและช้ันหน้าตัดดิน แหล่งน้ำผิวดินและแหล่งน้ำใต้ดิน ภัย
ธรรมชาติจากน้ำท่วม แผ่นดินถล่มและการกัดเซาะชายฝั่ง ภัยธรรมชาติจากหลุมยุบและแผ่นดินทรุด เชื้อเพลิง
ซากดกึ ดำบรรพ์ พลังงานทดแทน
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
ว 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
ว 2.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10
ว 4.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
รวมทง้ั หมด 24 ตัวช้วี ัด
๘๓
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
ว ๒3๑๐1 วทิ ยาศาสตร์ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา ๖๐ ชวั่ โมง
ศึกษา วิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิก และวัสดุผสม
การเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของ
เหล็ก ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ ปฏกิ ิริยาของกรดกับเบส และปฏิกริ ิยาของเบสกับโลหะ ปฏกิ ิริยาการเผาไหม้การ
เกิดฝนกรด การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีท่มี ตี ่อสง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม วธิ กี ารปอู ง
กันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า
และความต้านทาน และคำนวณปริมาณที่เกี่ยวข้อง ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า
การวัดปริมาณทางไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและ
แบบขนาน การทำงานของช้ินส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์อย่างงา่ ย คำนวณพลังงานไฟฟา้ เลือกใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟา้ วิธกี ารใช้
เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภยั คลื่นและสว่ นประกอบของคล่ืน คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน
โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ปัญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น การพัฒนางานอาชีพ
วิธีการแก้ปัญหา การตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ การใช้ความรู้ และทักษะ
เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือกลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัยเพ่ือ
แก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทเ่ี หมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8
ว 2.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10,
ม.3/11, ม.3/12
ว 4.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
รวมทัง้ หมด 25 ตัวชี้วัด
ว ๒3๑๐3 วทิ ยาศาสตร์ 6 ๘๔
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา ๖๐ ชว่ั โมง
ศึกษา วิเคราะห์กฎการสะท้อนของแสง การเคลื่อนทีข่ องแสง ภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสงการ
กระจายแสงของแสงขาว การเกิดภาพจากเลนส์ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการทำงานของทัศนอุปกรณ์
ความสว่างทีม่ ีตอ่ ดวงตา วดั ความสว่างของแสง ปฏสิ ัมพนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงาน
ในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่าง
ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์การแบ่งเซลล์แบบ
ไมโทซิสและไมโอซิส โรคทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ การโคจรของ
ดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง การเกิดฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์การเกิดข้างข้ึน
ข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ พัฒนา
แอปพลิเคช่ัน รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ การใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือบริการ
บนอินเทอร์เน็ต การประเมินความน่าเชือ่ ถือของข้อมูลวิเคราะห์ส่ือและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด การใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย กฎหมายเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์
โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6
ว 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5, ม.3/6, ม.3/7, ม.3/8, ม.3/9, ม.3/10,
ม.3/11
ว 2.3 ม.3/13, ม.3/14, ม.3/15, ม.3/16, ม.3/17, ม.3/18, ม.3/19, ม.3/20,
ม.3/21
ว 3.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
ว 4.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
รวมท้ังหมด 34 ตวั ช้ีวดั
๘๕
คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ว ๒1๑๐2 เทคโนโลยี 1 (วทิ ยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2๐ ชัว่ โมง
ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทำงา นที่พบในชีวติ
จรงิ การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ตวั แปร เงื่อนไข วนซำ้ การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อแก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python, java และ c เป็นตน้
ศึกษาการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล ตลอดจนใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ใช้สื่อและแหล่งข้อมูล
ตามข้อกำหนดและขอ้ ตกลงได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงคำนวณและปัญหาเป็นฐาน (Problem – based
Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้
ตรวจสอบการเรยี นรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ
ในการวิเคราะห์โจทยป์ ัญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยกุ ตใ์ ช้ในการสรา้ งโครงงานได้
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การนำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง
และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรูเ้ ทา่ ทนั และ
รับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
สังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและ
การจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว. 4.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
รวมทัง้ หมด 4 ตวั ชว้ี ดั
๘๖
คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว ๒1๑๐4 เทคโนโลยี 2 (การออกแบบเทคโนโลยี) กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2๐ ชวั่ โมง
ศึกษาแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน วเิ คราะห์สาเหตหุ รือปัจจยั ทีส่ ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จำเป็น นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ
วางแผน ดำเนินการแก้ปัญหา ด้วยการทดสอบ ประเมินผล ระบุข้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการ
ปรบั ปรุงแกไ้ ข และนำเสนอผลการแก้ปญั หา เลอื กใช้วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ กลไก ไฟฟ้า หรอื อิเล็กทรอนิกส์เพ่ือ
แก้ปัญหาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเปน็ ฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู้แบบ
ใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์
การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยี
ประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผลของ
เทคโนโลยตี ่อชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้
ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถใน
การแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มี
คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ มในการใช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์
มาตรฐานตัวชว้ี ดั
ว. 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
รวมทั้งหมด 5 ตวั ชวี้ ัด
๘๗
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๒2๑๐2 เทคโนโลยี 3 (วทิ ยาการคำนวณ) กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2๐ ช่วั โมง
ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบในชีวิตจริง
การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา การเขียนโปรแกรมโดยใช้
ซอฟตแ์ วรS์ cratch, python, java และ c อภปิ รายองคป์ ระกอบและหลักการทำางานของระบบคอมพวิ เตอร์และ
เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบือ้ งต้น ตลอดจนใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย
มคี วามรบั ผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพรผ่ ลงาน
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการเรียนรู้แบบ
ใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสนอผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน
เพื่อให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะใน การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิง
คำนวณมาประยุกต์ใช้ในการสรา้ งโครงงานได้
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การนำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและ สารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง
และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย เพือ่ ชว่ ย ในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรู้เท่าทันและ
รับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจใน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
สงั คมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาและมี
ทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวมท้ังหมด 4 ตัวช้วี ดั
๘๘
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๒2๑๐4 เทคโนโลยี 4 (การออกแบบเทคโนโลย)ี กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 2๐ ชว่ั โมง
ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีต่อมนุษย์ และสังคม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม ประเภท ของวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ตรงกับความ
ต้องการ มีความปลอดภัย และใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า เครื่องกลในการสร้างชิ้นงาน ได้แก่ รอก คาน ล้อและ
เพลา พื้นเอียง ลิ่ม สกรู เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน เครื่องมือวัด เครื่องมือตัด เครื่องมือ ยึดติด เครื่องมือเจาะ
เสยี งและอปุ กรณท์ ี่ทำใหเ้ กิดเสียง อปุ กรณ์ท่ีทำให้เกดิ เสยี ง ไฟฟา้ และอุปกรณ์ทท่ี ำให้เกิดแสง วงจรไฟฟา้ และ การ
ต่อตัวต้านทาน ประเภทและการต่อวงจรไฟฟ้า ความสัมพันธ์ของกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร์และ
วิศวกรรมศาสตร์แนวคิด กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบบเทคโนโลยีการ
คดิ เชงิ ออกแบบ แนวคิดหลกั ของการคดิ เชิงออกแบบ กระบวนการคดิ เชิงออกแบบ และความคิดเชิงออกแบบของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณก์ ารแกป้ ัญหาวางแผนการเรยี นรู้ และ นำเสนอผ่านการทำกจิ กรรมโครงงาน
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า ผล
ของเทคโนโลยีตอ่ ชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนนำความรคู้ วามเขา้ ใจในวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไป
ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสงั คมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถใน
การแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์มี
คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ว 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
รวมทัง้ หมด 5 ตัวชี้วดั
๘๙
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว ๒3๑๐2 เทคโนโลยี 5 (วิทยาการคำนวณ) กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 2๐ ช่วั โมง
ศึกษาเก่ียวกับการจัดการข้อมูลและสารสารเทศ การใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
ศึกษาเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรู้เท่าทันสื่อ ศึกษาเกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาเกีย่ วกับแอปพลเิ คชัน เทคโนโลยี IoT และการพัฒนาแอปพลิเคชัน
โดยอาศยั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เน้นใหผ้ ู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติ ฝึกทกั ษะการคิด เผชญิ สถานการณ์การแก้ปัญหา
วางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้างองค์ความรใู้ หมด่ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติ
เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ มที ักษะการคดิ เชิงคำนวณ การคดิ วิเคราะห์ การแกป้ ัญหาเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมูลส่วนตัว และการสื่อสารเบื้องต้นในการ
แก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และนำ
เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและ
จนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทักษะในการส่ือสาร ความสามารถในการตัดสินใจ และ
เปน็ ผ้มู ีจติ วิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มในการใช้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวดั
๙๐
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๒3๑๐4 เทคโนโลยี 6 (การออกแบบเทคโนโลย)ี กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 2๐ ช่วั โมง
ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และผลกระทบต่อมนุษย์ สังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และอาชีพในชุมชน เพื่อสำรวจและระบุปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงตามความจริง กระบวนการ
แกป้ ญั หาโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ ร่วมกนั ความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั ประเภท และสมบัติ
ของวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ เหล็ก พลาสติก ยางพารา เครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน เช่น ค้อน ประแจ สว่าน คีม
ประเภทต่าง ๆ เพื่อใหส้ ามารถตัดสินใจเลอื กแนวทางในออกแบบการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ( Problem – based Learning) วิธีการสอนโดยเน้น
รูปแบบการสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) วัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es
Intructional Model) และวิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบอุปนัย (Induction) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือ
ปฏิบตั ิ ฝึกทกั ษะการคิด เผชญิ สถานการณ์การแกป้ ัญหา วางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสรา้ งองค์ความรู้
ใหมด่ ว้ ยตนเองผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะเกี่ยวกับการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ใน
การออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิ ด
ประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ
แก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มี
คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
รวมทง้ั หมด 5 ตวั ชีว้ ัด
๙๑
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ว ๒1201 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 2๐ ชว่ั โมง
ศึกษาทดลอง เกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การสังเกต การจำแนกประเภท การวัด การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปส
กับสเปส และสเปสกับเวลา การสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การชี้บ่งและบอกชนิด
ของตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการทดลองและปฏิบัตกิ ารทดลอง
การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป วิเคราะห์สภาพปัญหา และภูมิปัญญาท้องถิ่น นำมาเขียนเค้าโครงงาน
วิทยาศาสตร์ หรือการทำกิจกรรมในชวี ติ ประจำวนั และพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการออกแบบดัดแปลง และ/
หรอื คดิ ประดิษฐ์ช้นิ งาน
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารส่ิงทร่ี ู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นท่ีจะใฝ่เรียนรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตรใ์ นการ
นำหลักการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาดูแลความงามและสขุ ภาพให้สมวัย
ผลการเรียนรู้
1. ระบุช่ืออุปกรณว์ ทิ ยาศาสตร์ และสามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
2. ทดลองเกย่ี วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการสังเกต ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
3. ทดลองเกีย่ วกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านความสามารถในการจดั จำแนกได้อยา่ งถูกต้อง
4. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการใช้เครื่องมือวัด ได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง
5. ทดลองเกี่ยวกบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ด้านความสามารถในการคำนวณ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
6. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการระบุความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส
และ สเปสกับเวลาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
7. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการนำข้อมลู มาจัดกระทำเพ่ือให้ผู้อนื่ เข้าใจได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
รวมท้ังหมด 7 ผลการเรียนรู้
๙๒
คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ว ๒1202 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 2๐ ชวั่ โมง
ศึกษาทดลอง เกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การสังเกต การจำแนกประเภท การวัด การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปส
กับสเปส และสเปสกับเวลา การสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การชี้บ่งและบอกชนิด
ของตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร การออกแบบการทดลองและปฏิบัตกิ ารทดลอง
การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป วิเคราะห์สภาพปัญหา และภูมิปัญญาท้องถิ่น นำมาเขียนเค้าโครงงาน
วิทยาศาสตร์ หรือการทำกิจกรรมในชีวติ ประจำวัน และพฒั นาความคิดสร้างสรรคใ์ นการออกแบบดดั แปลง และ/
หรอื คดิ ประดิษฐ์ช้ินงาน
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถสือ่ สารส่ิงทรี่ ู้ มี
ความสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นที่จะใฝเ่ รียนรู้ ตระหนักถึงความสำคัญของวิทยาศาสตรใ์ นการ
นำหลักการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาดแู ลความงามและสุขภาพใหส้ มวัย
ผลการเรยี นรู้
1. ทดลองเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ด้านการอธบิ ายข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
2. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการทำนายหรือคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้น
ลว่ งหนา้ ได้อย่างถกู ตอ้ ง
3. ทดลองเกย่ี วกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการต้ังสมมตฐิ านไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
4. ทดลองเกยี่ วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้านการระบแุ ละควบคมุ ตวั แปรได้อย่างถูกตอ้ ง
5. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการกำหนดความหมายและขอบเขตของคำ
หรอื ตวั แปรต่างๆ ให้เข้าใจตรงกัน
6. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคำตอบหรือ
ทดสอบสมมตุ ิฐานท่ตี ง้ั ไว้
7. ทดลองเกยี่ วกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการจัดกระทำข้อมูล และการลงข้อสรปุ
รวมท้งั หมด 7 ผลการเรยี นรู้
๙๓
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
ว ๒2201 เร่ิมต้นกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2๐ ชว่ั โมง
ศึกษาค้นคว้าสืบค้นข้อมูล ฝึก ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กำหนดตัวแปรและควบคุมตัวแปร
การจกั ระเบียบข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมลู ใช้กราฟแสดงขอ้ มูล การแปลข้อมลู และการลงข้อสรุป และกิจกรรม
ในรูปแบบต่างที่เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสำรวจ การทดลองสิ่งประดิษฐ์และทฤษฎี วิเคราะห์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาเอกสารและสำรวจธรรมชาติรอบตัวในท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การระบุปัญหาและหัว
เรื่องในการทำโครงงานวิทยาศาสตรต์ ามข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ท่เี น้นการแก้ปญั หาอยา่ งมีระบบฝึกทักษะการต้ัง
ปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง กำหนดและควบคุมตัวแปร การใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
โดยใช้กระบวนการโครงงานวทิ ยาศาสตร์ กาสงั เกต เปรียบเทียบ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์ บันทึกและอธิบาย
การทดลอง นำเสนอ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนวิทยาศาสตร์ จากประสบการณ์
ตรงตามวิธีทางวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์
คณุ ธรรมจริยธรรม และลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ผลการเรียนรู้
๑. สบื ค้นขอ้ มูลเกีย่ วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๒. บอกหรืออธิบายความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๓. บอกหลกั การและจุดมุ่งหมายในการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้
๔. บอกหรอื อธิบายคุณคา่ ของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๕. เขา้ ใจและจำแนกประเภทของโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้
๖. บอกหรอื อธบิ ายลกั ษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์แตล่ ะประเภทได้
๗. บอกหรอื อธบิ ายแนวทางในการเลอื กหัวข้อเรอื่ งในการทำโครงงานได้
๘. บอกหรืออธบิ ายหลักการตงั้ ชือ่ โครงงานได้
๙. สามารถต้ังชื่อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้
๑๐. บอกความสำคัญของเอกสารทเี่ กยี่ วขอ้ งกับโครงงานได้
๑๑. บอกแหลง่ ความร้ทู ใี่ ช้ในการศึกษาคน้ ควา้ ประกอบการทำโครงงานได้
๑๒. บอกส่วนประกอบเค้าโครงย่อของโครงงานได้
๑๓. เขียนเค้าโครงยอ่ ของโครงงานได้
รวมท้งั หมด 13 ผลการเรยี นรู้
๙๔
คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
ว ๒2202 เรม่ิ ตน้ กับโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2๐ ช่วั โมง
การเรียนการสอนรายวิชา เริ่มต้นกับโครงงานวิทยาศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยโครงงาน
ประเภท สำรวจ ทดลอง และสิง่ ประดิษฐ์ และกจิ กรรมทีใ่ ห้นกั เรยี นทำโครงงานวทิ ยาศาสตรต์ ามความสนใจ ตั้งแต่
เรมิ่ จนทำโครงงานสำเรจ็ การทำโครงงานเน้นใหน้ ักเรียนฝึกคิด วิเคราะหป์ ัญหาท่ีสนใจทจ่ี ะทำโครงงาน คิด
ออกแบบการประดิษฐ์และทดลองประสิทธิภาพได้ และตัดสินใจเลือกวิธีการที่เหมาะสม มีการวางแผนการ
ดำเนินงานเพื่อลงมือปฏิบัติทดลองได้อย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ บันทึกผล วิเคราะห์ผล สรุปผล และเขียน
รายงาน ตลอดจนนำเสนอผลงานและแสดงผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์ การทำกิจกรรมจะช่วยพัฒนา
นักเรียนให้สามารถคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหา ผลการศึกษาค้นคว้าในระดับของนักเรียนจะขยายไปถึงข้ัน
นำไปใช้แก้ปญั หาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นทอ้ งถิ่นส่งผลต่อการพฒั นาด้านต่างๆ ได้
ผลการเรียนรู้
๑. ระบปุ ัญหาจากชีวติ ประจำวันเพ่ือนำไปสูก่ ารทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์
๒. สืบค้นข้อมูลประกอบการทำโครงงานวิทยาศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และมีความ
นา่ เช่อื ถอื
๓. วเิ คราะห์ปัญหา วางแผนการทดลอง
๔. ทำงานเป็นกลุ่มมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแสดงความคิดเห็น การออกแบบหรือดัดแลงการ
ทดลอง ตลอดจนวสั ดอุ ุปกรณ์ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
๕. ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความถนัดและสนใจกลุม่ ละโครงงาน
๖. เขียนรายงานประกอบการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๗. นำเสนอและจดั แสดงผลงานในรปู แบบการนำเสนอปากเปล่า หรือ นทิ รรศการ
รวมท้งั หมด 7 ผลการเรียนรู้
ว ๒3201 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1 ๙๕
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา 2๐ ชัว่ โมง
ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง และอภิปรายความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์
โครงงานวิทยาศาสตร์ การเขยี นเคา้ โครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขยี นรายงาน และ การจัดแสดงโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล
และการอภปิ ราย
เพื่อให้เกิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
นำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม
ผลการเรียนรู้
๑. บอกหรอื อธบิ ายความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๒. บอกหลกั การและจดุ มงุ่ หมายในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๓. บอกหรอื อธิบายคุณค่าของการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้
๔. อธิบายลักษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์แต่ละประเภท และจำแนกประเภทของโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ได้
๕. บอกหรอื อธิบายแนวทางในการเลอื กหัวข้อเรื่องในการทำโครงงานได้
๖. อธบิ ายหลกั การต้งั ชื่อโครงงาน สามารถตั้งช่อื โครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้
๗. อธิบายความสำคัญของเอกสารท่เี กี่ยวข้องกบั โครงงานได้
๘. บอกแหล่งความรทู้ ใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ คว้าประกอบการทำโครงงานได้
๙. บอกส่วนประกอบเคา้ โครงย่อของโครงงาน เขยี นเคา้ โครงยอ่ ของโครงงานได้
๑๐.จัดทำโครงงานวิทยาศาสตรต์ ามความถนดั และความสนใจกลมุ่ ละ 1 โครงงานได้
๑๑. เขยี นรายงานประกอบการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
๑๒. นำเสนอและจัดแสดงผลงานในรปู แบบการนำเสนอปากเปลา่ หรอื นิทรรศการของโครงงานได้
รวมทัง้ หมด 12 ผลการเรียนรู้
ว ๒3202 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2 ๙๖
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา 2๐ ชัว่ โมง
ศึกษาค้นคว้าเอกสาร สำรวจสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น อันนำไปสู่การระบุชื่อเรื่องหรือปัญหาสำหรับทำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ ค้นคว้าเอกสารทั้งด้านทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ทำ รวบรวม
ข้อมูลเบื้องต้น ออกแบบการทดลอง วางแผนการดำเนนิ งาน ทำการทดลอง การเขียนเค้าโครงย่อของโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละการเขยี นรายงานโครงงาน
ศึกษาค้นคว้าเอกสาร สำรวจสภาพแวดล้อมในท้องถิน่ อันนำไปสู่การระบุชื่อเรื่องหรือปัญหาสำหรบั ทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์ ค้นคว้าเอกสารทั้งด้านทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับโครงงานที่ทำ รวบรวมข้อมูล
เบื้องต้น ออกแบบการทดลอง วางแผนการดำเนินงาน ทำการทดลอง การเขียนเค้าโครงย่อของโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ การทำโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละการเขยี นรายงานโครงงาน
ผลการเรยี นรู้
๑. ระบุปญั หาจากชวี ติ ประจำวันเพื่อนำไปสกู่ ารทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์
๒. สืบค้นข้อมูลประกอบการทำโครงงานวิทยาศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และมีความ
น่าเช่ือถือ
๓. วเิ คราะห์ปญั หา วางแผนการทดลอง
๔. ทำงานเป็นกลุ่มมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแสดงความคิดเห็น การออกแบบหรือดัดแลงการ
ทดลอง ตลอดจนวัสดอุ ุปกรณ์ในการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์
๕. ทำโครงงานวิทยาศาสตรต์ ามความถนัดและสนใจกลุ่มละโครงงาน
๖. เขียนรายงานประกอบการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้
๗. นำเสนอและจัดแสดงผลงานในรูปแบบการนำเสนอปากเปลา่ หรือ นิทรรศการ
รวมทงั้ หมด 7 ผลการเรียนรู้
๙๗
กลมุ่ สาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๙๘
สาระและมาตรฐานการเรียนรูก้ ล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ี
ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่
รว่ มกันอย่างสันตสิ ขุ
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาทต่ี นนบั ถอื
สาระท่ี ๒ หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอย่รู ่วมกนั ในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติ
สขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซ่ึง
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร
ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ
จำเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก
สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา้ ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้
วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์มาวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ า่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ในด้านความสัมพันธแ์ ละ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอ์ ย่างตอ่ เนื่อง ตระหนกั ถึงความสำคญั และสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเป็นมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย มีความรกั ความภูมใิ จ
และธำรงความเปน็ ไทย
สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร์ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันใช้แผน
มาตรฐาน ส ๕.๑ ที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการ
ทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
เพ่อื การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน
๙๙
รายวิชาทีเ่ ปิดสอน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม
รายวชิ าพืน้ ฐาน ระดับชัน้ ประถมศึกษา ป.1 - ป.6 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 11101 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 จำนวน 40 ชวั่ โมง
ส 11102 ประวตั ิศาสตร์ 1 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ส 12101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ส 12102 ประวัติศาสตร์ 2 จำนวน 80 ชวั่ โมง
ส 13101 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 จำนวน 40 ชวั่ โมง
ส 13102 ประวตั ิศาสตร์ 3 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 4 จำนวน 40 ชวั่ โมง
ส 14102 ประวัตศิ าสตร์ 4 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ส 15102 ประวัติศาสตร์ 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง
ส 16101 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 จำนวน 40 ชว่ั โมง
ส 16102 ประวัติศาสตร์ 6
รายวชิ าพ้นื ฐาน ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษา ม. 1 - ม. 3 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชวั่ โมง
ส 21101 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 (ภาคเรียนท่ี 1) 0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชว่ั โมง
ส 21102 ประวตั ิศาสตร์ 1 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
ส 21104 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 (ภาคเรียนที่ 2) 0.5 หนว่ ยกติ จำนวน 20 ชวั่ โมง
ส 21105 ประวตั ิศาสตร์ 2 (ภาคเรียนที่ 2) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ส 22101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 (ภาคเรยี นท่ี 1) 0.5 หน่วยกติ จำนวน 20 ชวั่ โมง
ส 22102 ประวัตศิ าสตร์ 3 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ส 22104 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 (ภาคเรยี นที่ 2) 0.5 หนว่ ยกติ จำนวน 20 ชวั่ โมง
ส 22105 ประวัตศิ าสตร์ 4 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 ชว่ั โมง
ส 23101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 (ภาคเรียนที่ 1) 0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชวั่ โมง
ส 23102 ประวตั ิศาสตร์ 5 (ภาคเรยี นที่ 1) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชวั่ โมง
ส 23104 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 (ภาคเรยี นท่ี 2) 0.5 หน่วยกิต จำนวน 20 ชวั่ โมง
ส 23105 ประวตั ศิ าสตร์ 6 (ภาคเรยี นที่ 2)