๒๐๐
รายวิชาท่ีเปิดสอน
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
รายวชิ าพ้ืนฐาน ระดับช้นั ประถมศึกษา ป.1 - ป.6
อ 11101 ภาษาองั กฤษ 1 จำนวน 120 ชว่ั โมง
อ 12101 ภาษาอังกฤษ 2 จำนวน 120 ชว่ั โมง
อ 13101 ภาษาองั กฤษ 3 จำนวน 120 ชวั่ โมง
อ 14101 ภาษาองั กฤษ 4 จำนวน 80 ชัว่ โมง
อ 15101 ภาษาอังกฤษ 5 จำนวน 80 ชัว่ โมง
อ 16101 ภาษาอังกฤษ 6 จำนวน 80 ชวั่ โมง
รายวชิ าพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษา ม. 1 - ม.3 จำนวน 60 ชว่ั โมง
อ 21101 ภาษาอังกฤษ 1 (ภาคเรียนที่ 1) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
อ 21102 ภาษาอังกฤษ 2 (ภาคเรียนท่ี 2) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชวั่ โมง
อ 22101 ภาษาอังกฤษ 3 (ภาคเรียนที่ 1) 1.5 หนว่ ยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
อ 22102 ภาษาอังกฤษ 4 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หน่วยกิต จำนวน 60 ชว่ั โมง
อ 23101 ภาษาองั กฤษ 5 (ภาคเรียนท่ี 1) 1.5 หน่วยกติ จำนวน 60 ชวั่ โมง
อ 23102 ภาษาอังกฤษ 6 (ภาคเรยี นที่ 2) 1.5 หน่วยกติ
รายวิชาเพมิ่ เติม ระดบั ช้ันประถมศกึ ษา ป.1 - ป.3
อ 11201 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร 1 จำนวน 80 ชวั่ โมง
อ 12201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร 2 จำนวน 80 ชว่ั โมง
อ 13201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร 3 จำนวน 80 ชวั่ โมง
๒๐๑
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา 120 ช่ัวโมง
ปฏบิ ตั ิตาม คำส่ังง่ายๆ ทีฟ่ ัง ตัวอกั ษรและเสียง และสะกดคำงา่ ย ๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน ภาพตรง
ตามความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟัง เรื่องใกล้ตัว คำสั้น ๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง
คำสั่งง่าย ๆ ตามแบบที่ฟัง ความต้องการง่ายๆของตนเองตามแบบที่ฟัง การขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับ
ตนเองตามแบบท่ีฟงั ข้อมูลง่ายๆ เก่ียวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว ตามวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ชอ่ื และคำศัพท์
เกยี่ วกับเทศกาลสำคัญของเจา้ ของภาษา การเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมที่เหมาะสมกบั วัย การระบุ
ตัวอักษรและเสียงอักษรของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรยี นรอู้ ่ืน การฟงั /พูดในสถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขนึ้ ในห้องเรียน การใช้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพ่ือรวบรวม
คำศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งใกล้ตัว
โดยการปฏิบัติตาม ระบุ อ่านออกเสียง เลือกภาพ ตอบคำถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก พูดขอ ให้ข้อมูล
ทำท่าประกอบ เข้าร่วม ฟัง/พูด เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เกิด
สมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ขน้ึ ในตวั ของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่นในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั
ต ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ต ๑.๓ ป.๑/๑
ต ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ต ๒.๒ ป.๑/๑
ต ๓.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๑ ป.๑/๑
ต ๔.๒ ป.๑/๑
รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวชว้ี ัด
๒๐๒
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
อ ๑2๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 120 ชั่วโมง
ปฏบิ ัตติ ามคำส่ังง่ายๆ และคำขอรอ้ งง่ายๆ ท่ฟี ัง ระบุตวั อักษรและเสียง อา่ นออกเสียงคำ สะกดคำ และ
อ่านประโยคง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกภาพตรงตามความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟัง ตอบคำถาม
จากการฟังประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย ๆ ที่มีภาพประกอบ พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่าย ๆในการสื่อสาร
ระหว่างบคุ คลตามแบบท่ีฟงั ใช้คำสั่งและคำขอรอ้ งง่าย ๆ ตามแบบที่ฟัง บอกความต้องการง่ายๆของตนเองตาม
แบบทฟ่ี ัง พดู ขอและให้ขอ้ มูลง่ายๆ เกยี่ วกบั ตนเองตามแบบทฟี่ งั พูดให้ขอ้ มลู เกย่ี วกับตนเองและเรอ่ื งใกล้ตัว พดู
และทำท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์เกี่ยวกับเทศกาลสำคัญของเจ้าของ
ภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย ระบุตัวอักษรและเสียงอักษรของ
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ฟัง/พูด ใน
สถานการณ์ง่ายๆท่ีเกิดขึน้ ในห้องเรยี น ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เก่ียวข้องใกลต้ ัว
โดยการระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคำถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทำท่าทาง เข้าร่วม ฟัง เพื่อให้
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการของหลักสูตร
มคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ขน้ึ ในตัวของผเู้ รียน และสามารถอยรู่ ่วมกับผู้อนื่ ในสงั คมได้อย่างมีความสุข สามารถ
นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ
ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๒ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔
ต ๑.๓ป.๒/๑ , ป.๒/๑
ต ๒.๑ ป.๒/๒ , ป.๒/๓
ต ๒.๒ป.๒/๑
ต ๓.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๑ ป.๒/๑
ต ๔.๒ป.๒/๑
รวมทัง้ หมด ๑๖ ตวั ชวี้ ัด
๒๐๓
คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
อ ๑3๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 3 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 120 ชั่วโมง
ปฏิบัติตามคำสั่งและคำขอร้องที่ฟังหรืออ่าน คำ สะกดคำ อ่านกลุ่มคำประโยค และบทพูดเข้าจังหวะ
(chant)ง่าย ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของคำกลุ่มคำและประโยคทีฟ่ งั
จากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ คำสั้นๆ ง่าย ๆในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ี
ฟัง คำส่ังและคำขอร้องงา่ ย ๆ ตามแบบทฟี่ ัง ความตอ้ งการง่ายๆของตนเองตามแบบท่ีฟงั ขอและให้ขอ้ มูลง่ายๆ
เกีย่ วกบั ตนเองและเพื่อนตามแบบทฟ่ี ัง ความรูส้ ึกของตนเองเก่ียวกับสิ่งตา่ งๆ ใกลต้ ัว หรอื กิจกรรมต่างๆ ตามแบบ
ที่ฟัง ให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว คำตามประเภทของ บุคคล สัตว์ และสิ่งของตามท่ีฟังหรือ
อ่าน มารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ชอ่ื และคำศพั ทง์ า่ ยๆเก่ียวกบั เทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและ
ชวี ิตความเปน็ อยู่ของเจ้าของภาษา กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย ความแตกต่างของเสียง
ตวั อกั ษร คำ กลุม่ คำ และประโยคงา่ ยๆ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)และภาษาไทย คำศัพท์ทเ่ี ก่ียวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น สถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)เพื่อ
รวบรวมคำศพั ท์ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งใกล้ตัว
โดยการอ่านออกเสียง สะกดคำ ฟัง พดู เลอื ก/ระบุ ตอบคำถาม พดู โต้ตอบ ใช้ บอก จัดหมวดหมู่
ทำท่าประกอบ เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิด
ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด
ต ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ต ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ต ๑.๓ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ต ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ต ๒.๒ ป.๓/๑
ต ๓.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๑ ป.๓/๑
ต ๔.๒ ป.๓/๑
รวมท้งั หมด ๑๘ ตวั ชี้วัด
๒๐๔
คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
อ ๑4๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 4 กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 80 ช่ัวโมง
ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำ (instructions)ง่าย ๆที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียงคำ
สะกดคำ อ่านกลุ่มคำ ประโยค ข้อความง่ายๆ และบทพูดเข้าจังหวะ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุภาพ
หรอื สญั ลกั ษณ์ หรือเคร่อื งหมายตรงตามความหมายของประโยคและข้อความสน้ั ๆที่ฟังหรืออ่าน ตอบคำถามจาก
การฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำ
ขอร้อง และคำขออนุญาตง่าย ๆ พูด/เขียนแสดงความต้องการของตนเองตามและขอความช่วยเหลือใน
สถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพื่อน และครอบครัว พูดแสดงความรู้สึกของ
ตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว หรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง พูด/เขียนให้ข้อมูลงา่ ยๆ เกี่ยวกับตนเองและ
เรื่องใกล้ตัว พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใกล้ตัวที่ฟังหรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็นง่ายๆ
เกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว พูดและทำท่าประกอบอย่างสุภาพตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา ตอบคำถามเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่ง่ายๆของเจ้าของภาษา การเข้า
ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย บอกความแตกต่างของเสียงตัว อักษร คำ กลุ่มคำ
ประโยค และข้อความ ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง/พูดในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและ
สถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสบื คน้ และรวบรวมข้อมูลต่างๆ
โดยการฟงั พดู อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสยี ง เลือก ตอบคำถาม พดู โต้ตอบ ใช้ บอก ทำทา่ ทาง เข้า
ร่วม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เกิดสมรรถนะตามความต้องการ
ของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อ ย่างมี
ความสุข สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้กับชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั
ต ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔
ต ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป๔/๔ , ป๔/๕
ต ๑.๓ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ต ๒.๒ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ต ๓.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๑ ป.๔/๑
ต ๔.๒ ป.๔/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชวี้ ัด
๒๐๕
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
อ ๑5๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 80 ชั่วโมง
ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำ ที่ฟังหรืออ่าน อ่านออกเสียง ประโยค ข้อความ และบท
กลอนสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/วาดภาพสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายตรงตามความหมายของประโยค
และข้อความสั้นๆที่ฟังหรืออ่าน บอกใจความสำคัญและตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านบทสนทนา และนิทาน
ง่ายๆหรือเรื่องสั้นๆ พูด/เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอร้อง คำขออนุญาตและให้
คำแนะนำง่าย ๆ พดู /เขียนแสดงความตอ้ งการของตนเองตาม ขอความชว่ ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการใหค้ วาม
ช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูด/เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเองเพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว
พดู แสดงความร้สู กึ ของตนเองเกี่ยวกบั เรือ่ งต่างๆ ใกลต้ ัว หรือกจิ กรรมตา่ งๆพร้อมทัง้ ให้เหตผุ ลสั้นๆประกอบ พูด/
เขียนให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมิแสดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟัง
หรืออ่าน พูดแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสุภาพตาม
มารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตอบคำถาม/บอกความสำคัญของเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลองและ
ชวี ิตความเปน็ อยูง่ ่ายๆของเจ้าของภาษา การเขา้ รว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความ
เหมือน/ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลำดับคำ
(order)ตามโครงสร้างของประโยคของภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)และภาษาไทย บอกความเหมือน/ความ
แตกต่างระหว่างเทศกาลและงานฉลองตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คำศัพท์ท่ี
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน ฟัง พูด และอ่าน/เขียนในสถานการณ์
ต่างๆท่ีเกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ใช้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
ตา่ งๆ
โดยการฟัง พูด อ่าน เขียน ระบุ อ่านออกเสียง เลือก ตอบคำถาม พูดโต้ตอบ ใช้ บอก ทำท่าทาง เข้า
ร่วม เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีความร้คู วามเขา้ ใจและนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั เกิดสมรรถนะตามความต้องการของ
หลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ขึ้นในตวั ของผูเ้ รยี น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ
สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ต ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ต ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ต ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ต ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ต ๓.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๑ ป.๕/๑
ต ๔.๒ ป.๕/๑
รวมท้ังหมด ๒๐ ตวั ชี้วดั
๒๐๖
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
อ ๑6๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 6 กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เวลา 80 ชั่วโมง
ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง และคำแนะนำ ที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ นิทาน และบทกลอน
สนั้ ๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอา่ น เลอื ก/ระบุประโยค หรอื ขอ้ ความสน้ั ๆ ตรงตามภาพ สญั ลักษณ์ หรอื เครอ่ื งหมาย
ที่อ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟังหรืออ่าน บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆและเรื่องเล่า พูด/
เขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำสั่ง คำขอร้อง และคำขออนุญาตและให้คำแนะนำ พูด/เขียน
แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณง์ ่ายๆ พูด/เขียน
เพื่อขอและให้ข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว พูด/เขียนแสดงความรู้สึกของตนเอง
เกย่ี วกบั เรือ่ งตา่ งๆ ใกลต้ วั หรือกิจกรรมตา่ งๆ พร้อมทัง้ ใหเ้ หตุผลส้นั ๆประกอบ พูด/เขียนให้ขอ้ มลู เกย่ี วกับตนเอง
เพื่อน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง และแผนภูมแิ สดงข้อมูลต่างๆตามที่ฟงั หรืออ่าน พูดเขียนแสดง
ความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยาท่าทางอย่างสภุ าพ เหมาะสมตามมารยาท
สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของ
เจ้าของภาษา การเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ บอกความเหมือน/ความแตกต่าง
ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน และการลำดับคำ ตามโครงสร้าง ประโยค
ของภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)และภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมอื น/ความแตกต่างระหวา่ งเทศกาลงาน
ฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวม คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น
จากแหลง่ การเรียนรู้ และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณต์ ่างๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
และสถานศึกษา ใชภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ)ในการสืบคน้ และรวบรวมข้อมลู ตา่ งๆ
โดยการฟงั พูด อ่าน เขยี น ระบุ อ่านออกเสยี ง เลอื ก ตอบคำถาม พดู โต้ตอบ เข้าร่วม เปรยี บเทียบ
ค้นควา้ ใช้ บอก เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน เกดิ สมรรถนะตามความ
ต้องการของหลักสูตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้ึนในตัวของผู้เรียน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างมีความสุข สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
นำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั
ต ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ต ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ต ๑.๓ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ต ๒.๒ป.๖/๑, ป.๖/๒
ต ๓.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๑ ป.๖/๑
ต ๔.๒ ป.๖/๑
รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวชี้วัด
๒๐๗
คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
อ 21101 ภาษาองั กฤษ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 (ภาคเรียนท่ี 1) เวลา 60 ชั่วโมง
อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน บทร้อยกรอง บอกความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียง
ประโยคต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย ปฏิบัติตามและใช้คำสั่ง คำแนะนำ คำชี้แจง พูดและเขียนบรรยาย สรุปใจความสำคัญที่ได้จากการ
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นเรื่องเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมและเหตุการณ์ใกล้
ตัวในความสนใจ ระบุและเลือกข้อมูล ประโยค ขอ้ ความ บทสนทนา นิทาน เร่ืองสั้นและตอบคำถามเก่ียวกับเรื่อง
ที่ฟังหรืออ่าน ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูลจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งที่เป็นข้อเท็จจริ งและข้อคิดเห็นท่ี
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เปรียบเทียบประเพณี งานเทศกาล งานฉลอง วันสำคัญ ชีวิตความเป็นอยู่
และวัฒนธรรมเจ้าของภาษา เข้าร่วมและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม โดยสามารถสื่อสารด้วยภาษา
น้ำเสียง และกริ ิยาทา่ ทางสภุ าพเหมาะสม ทัง้ ในสถานการณจ์ ริงและสถานการณ์จำลองอย่างถูกตอ้ งตามกาลเทศะ
มคี วามใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มั่นในการทำงาน รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และรักความเป็นไทย
มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั
ต 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4
ต 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5
ต 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
รวมท้ังหมด 12 ตวั ช้ีวดั
๒๐๘
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
อ 21102 ภาษาอังกฤษ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 (ภาคเรียนท่ี 2) เวลา 60 ช่ัวโมง
อ่านออกเสียงข้อความ นทิ าน บทร้อยกรอง บอกความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียง
ประโยคต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย ปฏิบัติตามและใช้คำสั่ง คำแนะนำ คำชี้แจง พูดและเขียนบรรยาย สรุปใจความสำคัญที่ได้ จากการ
วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นเรื่องเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมและเหตุการณ์ใกล้
ตัวในความสนใจ ระบแุ ละเลอื กข้อมลู ประโยค ข้อความ บทสนทนา นทิ าน เรือ่ งสน้ั และตอบคำถามเกี่ยวกับเร่ือง
ที่ฟังหรืออ่าน ค้นคว้า รวบรวม สรุปข้อมูลจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งที่เป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นท่ี
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เปรียบเทียบประเพณี งานเทศกาล งานฉลอง วันสำคัญ ชีวิตความเป็นอยู่
และวัฒนธรรมเจ้าของภาษา เข้าร่วมและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม โดยสามารถสื่อสารด้วยภาษา
นำ้ เสียง และกริ ิยาทา่ ทางสภุ าพเหมาะสม ทัง้ ในสถานการณ์จริงและสถานการณจ์ ำลองอย่างถูกตอ้ งตามกาลเทศะ
มคี วามใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มัน่ ในการทำงาน รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และรกั ความเปน็ ไทย
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ต 2.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3,
ต 2.2 ม.1/1, ม.1/2,
ต 3.1 ม.1/1
ต 4.1 ม.1/1
ต 4.2 ม.1/1
รวมท้ังหมด 8 ตวั ชี้วดั
๒๐๙
คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
อ 22101 ภาษาอังกฤษ 3 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 (ภาคเรียนท่ี 1) เวลา 60 ชั่วโมง
ฟัง พูด อ่าน เขียนในหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องด่ืม
ความสัมพันธ์บุคคล เวลา การซื้อขาย ลม ฟ้า อากาศ ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 2,150 คำ เข้าใจ
ภาษาตา่ งประเทศในการแลกเปล่ียน นำเสนอขอ้ มูล ข่าวสารเพื่อสื่อความหมาย สรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างบุคคล
แสดงความรูส้ กึ นึกคิดของการใหเ้ หมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ อ่านออกเสียงคำ วลี ข้อความหรือบทความ
สั้นๆ ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องใช้ภาษาและท่าทาง เพื่อสื่อความถ่ายโอนข้อมูลที่ได้ฟังและอ่านทั้งที่เป็นความ
เรยี งและไม่เป็นความเรียงเปน็ ถ้อยคำของตนเองหรอื ในรูปแบบอื่นๆ แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับประสบการณ์ของ
ตนเอง ขา่ วหรอื เหตุการณส์ ำคญั ตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั เข้ารว่ มกิจกรรมสำคัญ ประเพณี วัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของภาษาอังกฤษ สามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการ เรียนรู้
อืน่ ๆ ดว้ ยความเพลิดเพลิน
เพื่อใหม้ ีทกั ษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาตา่ งประเทศได้อย่างถูกต้อง ตามหลักภาษาและมี
คุณธรรม จริยธรรมในเร่ือง การมีความสามัคคี มีสัมมาคารวะ การตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และ มีความ
รับผดิ ชอบ
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
ต 1.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ต 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5
ต 1.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3
รวมท้ังหมด 12 ตวั ช้วี ดั
๒๑๐
คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
อ 22102 ภาษาองั กฤษ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 (ภาคเรยี นท่ี 2) เวลา 60 ชว่ั โมง
ฟัง พูด อ่าน เขียนในหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม
ความสมั พนั ธ์บคุ คล เวลา การซ้ือขาย ลม ฟา้ อากาศ ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 2,150 คำ เขา้ ใจภาษาตา่ งประเทศ
ในการแลกเปล่ยี น นำเสนอข้อมลู ขา่ วสารเพ่อื ส่อื ความหมาย สร้างความสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคลแสดงความรู้สึกนึก
คิดของการให้เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ อ่านออกเสียงคำ วลี ข้อความหรือบทความสั้นๆ ปฏิบัติตาม
คำสั่ง คำขอร้องใช้ภาษาและท่าทาง เพื่อสื่อความถ่ายโอนข้อมูลที่ได้ฟังและอ่านทั้งที่เป็นความเรียงและไม่เป็น
ความเรียง เป็นถ้อยคำตนเองหรือในรูปแบบอื่นๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง ข่าวหรือ
เหตกุ ารณส์ ำคัญตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั เข้าร่วมกิจกรรมสำคัญ ประเพณี วฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่าของภาษาอังกฤษ
สามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ด้วยความ
เพลิดเพลนิ
เพ่ือใหม้ ที กั ษะกระบวนการฟงั พูด อา่ น เขยี น ภาษาต่างประเทศไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตามหลกั ภาษาและมี
คุณธรรม จริยธรรมในเรื่อง การมีความสามัคคี มีสัมมาคารวะ การตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์และ มีความ
รบั ผิดชอบ
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ต 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3,
ต 2.2 ม.2/1, ม.2/2
ต 3.1 ม.2/1
ต 4.1 ม.2/1
ต 4.2 ม.2/1 , ม.2/2
รวมท้ังหมด 9 ตวั ชี้วัด
๒๑๑
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
อ 23101 ภาษาองั กฤษ 5 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ภาคเรียนที่ 1) เวลา 60 ชวั่ โมง
ฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวเรื่องที่เกี่ยวกับตนอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องด่ืม
ความสัมพันธ์กับบุคคล เวลา การซื้อขาย ลมฟ้า อากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ
สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 2,250 คำ เข้าใจภาษาต่างประเทศในการ
แลกเปล่ียน นำเสนอขอ้ มูลข่าวสารเพ่ือสื่อความหมาย สรา้ งความ สมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล แสดงความรู้สึกนึกคิดให้
เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ อ่านออกเสียงคำ วลี ข้อความ บทความสั้นๆ ปฏิบัติตามคำสั่งคำขอร้อง ถ่าย
โอนข้อมูลที่ได้ฟังและอ่านทั้งที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง เป็นถ้อยคำของตนเอง ข่าวหรือเหตุการณ์
สำคัญต่างๆ รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับเทศกาลวันสำคัญ ประเพณีและวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ภาษาอังกฤษสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่นๆ ด้วยความ
เพลิดเพลนิ เปน็ พนื้ ฐานในการประกอบอาชพี ต่อไปในอนาคต
เพือ่ ใหม้ ที ักษะกระบวนการ ฟัง พดู อ่าน เขยี น ภาษาตา่ งประเทศได้อย่างถกู ต้องตามหลักภาษาและมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในเร่อื ง การมีความซ่ือสตั ย์ การตรงต่อเวลา มคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามสามคั คี
มาตรฐานตวั ช้ีวัด
ต 1.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4
ต 1.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3, ม.3/4, ม.3/5
ต 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
รวมท้ังหมด 12 ตวั ชี้วัด
๒๑๒
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
อ 23102 ภาษาองั กฤษ 6 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 (ภาคเรยี นที่ 2) เวลา 60 ชัว่ โมง
ฟัง พูด อ่าน เขียน ในหัวเรื่องที่เกี่ยวกับตนอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม
ความสัมพันธ์กับบุคคล เวลา การซื้อขาย ลมฟ้า อากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ
สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ 2,250 คำ เข้าใจภาษาต่างประเทศในการ
แลกเปล่ยี น นำเสนอขอ้ มูลข่าวสารเพื่อสื่อความหมาย สร้างความ สมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คล แสดงความรู้สึกนึกคิดให้
เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ อ่านออกเสียงคำ วลี ข้อความ บทความสั้นๆ ปฏิบัติตามคำสั่งคำขอร้อง ถ่าย
โอนข้อมูลที่ได้ฟังและอ่านทั้งที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง เป็นถ้อยคำของตนเอง ข่าวหรือเหตุการณ์
สำคัญต่างๆ รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับ เทศกาลวันสำคัญ ประเพณีและวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ
ภาษาอังกฤษสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่นๆ ด้วยความ
เพลดิ เพลนิ เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต
เพอ่ื ใหม้ ีทักษะกระบวนการ ฟัง พูด อา่ น เขียน ภาษาตา่ งประเทศได้อยา่ งถูกต้องตาม หลักภาษาและ
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในเร่อื ง การมีความซอื่ สตั ย์ การตรงต่อเวลา มีความรับผดิ ชอบมีความสามัคคี
มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
ต 2.1 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3,
ต 2.2 ม.3/1, ม.3/2
ต 3.1 ม.3/1
ต 4.1 ม.4/1
ต 4.2 ม.4/1, ม.4/2
รวมทงั้ หมด 9 ตัวชี้วดั
๒๑๓
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม
อ 11201 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 1 กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 เวลา 80 ชว่ั โมง
เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนเข้าใจและใช้คำสั่งในห้องเรียน คำขอร้อง ตัวอักษร เสียงตัวอักษร สระ การ
สะกดคำ การอ่านออกเสียงคำ กลุ่มคำ ประโยคที่มีความหมายสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ใกล้ตัว อาหาร เครื่องดื่ม บท
อ่าน บทสนทนาด้วยภาษาง่ายๆ ประโยค นิทานง่ายๆ ที่มีภาพประกอบ การเล่านิทานประกอบท่าทาง ให้ข้อมูล
และความตอ้ งการเก่ียวกับตนเองสน้ั ๆ เช่น การพูดแนะนำตนเอง ขอบคณุ ขอโทษ เรยี นร้คู ำศพั ทเ์ กย่ี วกับเทศกาล
ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เทศกาล งานฉลอง เห็นประโยชนใ์ นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยสนใจเขา้ ร่วมกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรม และแสวงหาความรู้ ความเพลิดเพลินจากภาษาอังกฤษ การร้องเพลงเพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีความรักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์ ซ่อื สัตย์ สุจรติ มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง ม่งุ มั่นในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ
ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั
1. ระบตุ ัวอักษรและเสยี ง อา่ นออกเสยี งและสะกดคำง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่านได้
2. พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการส่ือสารระหวา่ งบคุ คลตามแบบท่ีฟังได้
3. ปฏบิ ตั ิตามคำสั่งและใช้คำสัง่ งา่ ยๆ ตามแบบท่ีฟงั ได้
4. พูดขอและให้ข้อมลู งา่ ยๆ เกยี่ วกับตนเองตามแบบทฟ่ี งั ได้
5. บอกความตอ้ งการง่ายๆของตนเองตามแบบท่ีฟังได้
6. ตอบคำถามจากการฟังเรื่อง ใกลต้ วั บทอ่านเกย่ี วกับเรื่องใกล้ตัว หรอื นทิ านท่มี ภี าพประกอบประโยค
คำถามและคำตอบได้
รวมทงั้ สน้ิ 6 ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง
๒๑๔
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
อ 12201 ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร 2 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 80 ชวั่ โมง
เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนใช้คำสั่งในห้องเรียน ตัวอักษร เสียงตัวอักษร สระ การสะกดคำ การอ่านออก
เสียงคำ กลุ่มคำ บทอ่าน บทสนทนา ประโยค ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข้อความที่ใช้ในการพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง และเรื่องใกล้ตัว คำที่มีความหมายสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ ใกล้ตัว อาหาร เครื่องดื่ม วัฒนธรรมเจ้าของภาษา
แสดงกิริยา การขอบคุณขอโทษ การพูดแนะนำตนเองกิจกรรมทางภาษา การร้องเพลงการใช้ภาษาในการฟัง พูด
อ่านในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล และมีทักษะทาง
สังคมมีวิถีของระบอบประชาธิปไตย ซื่อสัตย์ใฝ่เรียนรู้แสดงออกถึงความเป็นไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
สามารถสือ่ สารสิง่ ท่ีเรยี นรู้และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวัน
ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง
1. อา่ นและเขียนตวั อกั ษร คำศพั ทแ์ ละประโยคท่ีเกย่ี วขอ้ งใกล้ตัวได้
2. ระบตุ ัวอักษรและเสียงตวั อักษรของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
3. พูดสอ่ื สารภาษาองั กฤษในการขอและให้ขอ้ มูลเรอื่ งใกล้ตัวได้อยา่ งเหมาะสมกับวัย
4. บอกความหมายของคำและกลมุ่ คำที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคำถามการฟงั ท่ีมีภาพประกอบ หรือ
อ่านประโยคบทสนทนาหรือนิทานงา่ ยๆ
5. ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดต้ ามวยั อย่างม่นั ใจ และกล้าแสดงออก
6. ใช้ภาษาได้ตามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
7. บอกคำศพั ทท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อน่ื
รวมท้ังสิน้ 7 ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวัง
๒๑๕
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
อ 13201 ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่ือสาร 3 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 80 ชว่ั โมง
เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนพูดทักทายเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้องเหมาะสม อ่านออกเสียงตัวอักษร ค า
ประโยคง่ายๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัวบอกความหมายของคำท่ีเรียน และที่ฟังได้ตรงตามความหมาย ตอบคำถาม
จากการฟังเรื่องที่เรียนได้ พูดขอและให้ข้อมูลง่ายๆ เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนได้เหมาะสมตามวัย สามารถใช้
ภาษาอังกฤษในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่เรียนได้เหมาะสมตามวัย ใช้ภาษาในการพูดและทำท่า
ประกอบตามมารยาทสังคมวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่
เหมาะสมกับวัย โดยมีทักษะทางสังคม มีวิถีตามระบอบประชาธิปไตย ซื่อสัตย์ ใฝ่เรียนรู้ แสดงออกถึงความเป็น
ไทย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถส่อื สารส่งิ ทเี่ รยี นรู้ และนำความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน
ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั
1. นกั เรยี นใชค้ ำทักทายเปน็ ภาษาอังกฤษไดถ้ ูกต้องเหมาะสม
2. อา่ นออกเสยี งตัวอักษร คำ ประโยคงา่ ยๆ ทเี่ กีย่ วกับเรื่องใกล้ตวั
3. บอกความหมายของคำท่ีเรยี น และทีฟ่ งั ได้ตรงตามความหมาย
4. ตอบคำถามจากการฟงั เร่ืองทเี่ รียนได้
5. พดู ขอและให้ข้อมลู งา่ ยๆ เกย่ี วกบั เร่อื งทีเ่ รียนได้เหมาะสมตามวัย
6. ใช้ภาษาองั กฤษในการสือ่ สารระหว่างบคุ คลตามแบบทีเ่ รียนได้เหมาะสมตามวยั
7. ใช้ภาษาในการพูดและทำท่าประกอบตามมารยาทสังคม วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา รวมทั้งเข้ารว่ ม
กิจกรรมทางภาษา และวัฒนธรรมท่เี หมาะสมกบั วัย
รวมทั้งสิ้น 7 ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั
๒๑๖
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
๒๑๗
กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
การจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นโรงเรยี นวัดชอ่ งเปยี่ มราษฎร์
โรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 มุ่งให้ผ้เู รยี นได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์
ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มศี ีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยปลูกฝังและสร้าง
จิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ
ประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่ ความสามารถในการ
สื่อสาร ความสามารถในการคิดความ สามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ
ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี
ซ่ึงจะสง่ ผลในการพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ได้แก่ รักชาติศาสน์กษัตริยซ์ ื่อสตั ย์ สุจรติ มี
วินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกิดทักษะการทำงาน
และอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก
โรงเรียนวัดชอ่ งเปี่ยมราษฎร์ จัดกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนโดยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดงั นี้
1. กิจกรรมแนะแนว
เปน็ กิจกรรมทสี่ ่งเสริมและพัฒนาผ้เู รียนให้รจู้ ักตนเองรู้รักษ์สง่ิ แวดล้อม สามารถคิดตดั สินใจ คิดแก้ปัญหา
กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้งั ด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังช่วยให้
ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรม ที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนา
ผเู้ รยี น โดยนักเรยี นทกุ คนตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมแนะแนว ดังนี้
ระดบั ประถมศึกษา 40 ช่วั โมงตอ่ ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 40 ชว่ั โมงตอ่ ปี แบ่งออกดังนี้
- ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 20 ช่ัวโมง
- ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 20 ชว่ั โมง
2. กิจกรรมนักเรยี น
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวนิ ัยความเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดีความรับผดิ ชอบ การทำงานร่วมกัน
การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์โดยจดั
ให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอนได้แก่
การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
ตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรม
นกั เรียน ประกอบดว้ ย
2.1 กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารีและยุวกาชาด
โดยนกั เรยี นทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารแี ละยวุ กาชาด ดงั นี้
ระดับประถมศึกษา 30 ช่วั โมงต่อปี
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 30 ชว่ั โมงตอ่ ปี แบง่ ออกดังนี้
- ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 15 ชว่ั โมง
- ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 15 ชั่วโมง
๒๑๘
2.2 กจิ กรรมชมุ นุม
โดยนกั เรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมชุมนุม/ชุมนมุ วชิ าการ ดงั น้ี
ระดบั ประถมศกึ ษา 40 ช่ัวโมงตอ่ ปี
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 40 ช่วั โมงต่อปี แบ่งออกดังนี้
- ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 20 ช่ัวโมง
- ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 20 ชัว่ โมง
3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ตามความสนใจ
ในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละ ต่อสังคม และการมีจิตสาธารณะ
เช่นกิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชนโ์ ดยบูรณาการในกิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และกจิ กรรมชุมนมุ ดงั น้ี
ระดับประถมศกึ ษา 10 ช่ัวโมงต่อปี
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 10 ชัว่ โมงต่อปี แบง่ ออกดังนี้
- ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 5 ช่วั โมง
- ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 5 ช่ัวโมง
โดยทงั้ 3 กจิ กรรม คอื กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์
เม่ือผ้เู รยี นไดป้ ฏิบตั ิกจิ กรรมแล้วน าไปสู่เป้าหมายเพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ และคุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์
ของผ้เู รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 มคี วามสมั พันธเ์ ชอ่ื มโยงกนั
ทงั้ น้ี การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน จะพจิ ารณาทัง้ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบตั กิ ิจกรรมและ
ผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด และให้ผลการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเป็นผ่าน หรือ ไมผ่ า่ น ดังน้ี
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นรายกิจกรรม มแี นวปฏิบตั ิ ดังนี้
1.1 ตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกิจกรรมของผ้เู รียนใหเ้ ป็นไปตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา กำหนด
1.2 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะของผู้เรียน
ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนดดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลายเน้นการมีส่วนร่วม ของผู้เก่ยี วข้องในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
1.3 ผู้เรียนที่มีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตาม
เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนดเป็นผ้ผู ่านการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นรายกิจกรรมและนำผลการประเมินไป
บนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรียน
1.4 ผเู้ รียนท่มี ผี ลการประเมนิ ไมผ่ า่ นในเกณฑ์เวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏิบตั ิ กจิ กรรมและผลงาน/
ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากำหนดครูหรือผู้รับผิดชอบต้องดำเนินการซ่อมเสริมและประเมินจนผ่าน
ทัง้ นี้ควรดำเนินการให้เสร็จสน้ิ ในปกี ารศกึ ษานัน้ ๆ ยกเวน้ มีเหตสุ ดุ วิสยั ให้อยใู่ นดลุ พนิ ิจของสถานศกึ ษา
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นเพ่อื การตดั สนิ
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อตัดสินเลื่อนชั้นและจบระดับการศึกษา เป็นการประเมินการผ่าน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค เพื่อสรุปผลการผ่านในแต่ละ กิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อเลื่อนชั้นและ
ประมวลผลรวมในปีสุดทา้ ยเพือ่ การจบแตล่ ะระดบั การศกึ ษา โดยการดำเนนิ การดังกลา่ วมแี นวปฏบิ ัติ ดงั นี้
2.1 กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนทุก
คนตลอดระดบั การศึกษา
๒๑๙
2.2 ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากำหนดเกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดนั้น ผู้เรียนจะต้องผ่านกิจกรรม 3
กจิ กรรมสำคญั คือ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
2.3 ผู้รับผิดชอบเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนเพ่อื ให้ความเหน็ ชอบ
2.4 ผู้รับผดิ ชอบเสนอผู้บริหารสถานศกึ ษาพจิ ารณาเพื่ออนุมตั ิผลการประเมิน กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนผ่าน
เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษา
เกณฑ์การตัดสนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
1. เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นรายปี/รายภาค แบ่งเป็น 2 ระดับ ดังน้ี
ผ่าน หมายถึง ผ้เู รียนมีผลการประเมนิ ระดบั “ผา่ น” ในกิจกรรมสำคัญทงั้ 3 ลกั ษณะ คือ
กิจกรรมแนะแนวกจิ กรรมนักเรียน และกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณ
ประโยชน์
ไม่ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดับ“ไมผ่ ่าน” ในกิจกรรมสำคญั กจิ กรรมใดกิจกรรม
หนึ่งจาก 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อ
สังคม และสาธารณประโยชน์
2. เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพอ่ื จบระดับการศึกษา
ผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมีผลการประเมินระดับ “ผา่ น” ทกุ ชนั้ ปใี นระดับการศกึ ษานัน้
ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดับ “ไม่ผา่ น” บางชัน้ ปีในระดับการศกึ ษาน้ัน
๒๒๐
สาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน
๒๒๑
โครงสรา้ ง
เพ่ือให้การจัดการศึกษาตามตามสาระการเรยี นร้ทู ้องถิ่น เรื่องราวเขาช่อง เป็นไปตามหลักการ จดุ หมาย
ทก่ี ำหนด และผู้ท่ีเกี่ยวข้องมีแนวทางในการปฏบิ ัติในทศิ ทางเดยี วกนั จงึ ได้กำหนดโครงสร้าง ดงั นี้
๑. การจดั การเรยี นรู้ กำหนดการจดั สาระการเรียนรู้ แบ่งเปน็ ๒ กลมุ่ ดังน้ี
กลุ่มท่ี ๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓-๖
กลุม่ ที่ ๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑-๓
๒. สาระการเรยี นรู้
ประกอบดว้ ยองคค์ วามรู้ ทักษะ กระบวนการเรยี นรู้ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จติ พิสยั คณุ ธรรม
จริยธรรม ของผู้เรยี น ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๗ กลมุ่ สาระ ๘ รายวชิ า ดังน้ี
๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕. ประวตั ศิ าสตร์
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชีพ
๘. ภาษาองั กฤษ
๓. หนว่ ยการเรยี นรู้
การกำหนดหน่วยการเรยี นรู้ เป็นลกั ษณะของการบูรณาการ ท่สี อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และ
ตวั ชีว้ ัดชนั้ ปี ทีก่ ำหนดไว้ในหลักสตู ร
๔. รปู แบบและวธิ กี าร
- บรู ณาการแบบสหวิทยาการในกลุม่ สาระการเรยี นรู้
- ใช้ส่ือเทคโนโลยี นวัตกรรม แหล่งเรยี นรู้ และภมู ิปัญญาท้องถิน่ ทห่ี ลากหลาย โดยมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี น
สามารถพัฒนาตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพ
- ใช้หลักการทำงานเป็นทมี ในการวางแผน การจัดกระบวนการเรยี นรู้และการวดั ผลประเมนิ ผล โดยการ
มีส่วนร่วมกับทกุ ฝา่ ยทเ่ี กี่ยวข้อง
๕.เป้าหมายการเรยี นรู้
๕.๑ นกั เรยี นไดเ้ รยี นร้เู ขา้ ใจ ประวตั แิ ละความสำคญั ของสถานท่ีและบุคคลสำคัญในชุมชนของตนเอง
๕.๒ นกั เรียนภูมใิ จในชุมชนของตนและรว่ มกนั อนรุ ักษ์และสบื สานวัฒนธรรมและตัวอย่างที่ดีใหค้ งอยู่
ตอ่ ไป
๒๒๒
๖.โครงสร้างมาตรฐานการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ เร่อื ง คลองลำชานบ้านเรา
หน่วยการเรยี นรยู้ ่อย สาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ประวตั ิคลองลำชาน ส ๔.๑ ส ๔.๓
- ประวตั ศิ าสตร์ ท ๑.๑ ท ๑.๒ ท ๓.๑
ทรพั ยากรธรรมชาติในพ้นื ที่ - ภาษาไทย ง ๔.๑
คลองลำชาน - การงานอาชพี ว ๑.๒ ว ๒.๒ ว ๒.๑ ว ๖.๑
วิถชี วี ิตคนคลองลำชาน - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ค ๑.๑ ค ๑.๒ ค ๕.๒ ค ๖.๑
- คณิตศาสตร์ ส ๕.๒
ทอ่ งเท่ียวคลองลำชาน - สังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม ง ๔.๑
บนั ทึกทวิ ทัศน์คลองลำชาน - การงานอาชีพ อ ๔.๑ อ ๔.๒
- ภาษาอังกฤษ ศ ๑.๑ ศ ๒.๒ ศ ๓.๓
- ศลิ ปะ
หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง ประวัตบิ ุคคลสำคญั
หนว่ ยการเรยี นรู้ย่อย สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้
ประวตั ิบคุ คลสำคัญ
- ประวตั ศิ าสตร์ ส ๔.๑ ส ๔.๓
ผลงานบคุ คลสำคญั - ภาษาไทย ท ๑.๑ ท ๑.๒ ท ๓.๑
- การงานอาชพี ง ๔.๑
คณุ ธรรมทเี่ ป็นแบบอยา่ ง
- ประวตั ิศาสตร์ ส ๔.๑ ส ๔.๓
- ภาษาไทย ท ๑.๑ ท ๑.๒ ท ๓.๑
- การงานอาชพี ง ๔.๑
- สังคมศกึ ษา ศาสนา และ ส ๒.๑
วฒั นธรรม
๒๒๓
เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
หลักสูตรโรงเรียนวัดช่องเปี่ยมราษฎร์ พุทธศักราช ๒๕๖5 มหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุงพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) กำหนดเกณฑ์สำหรบั การจบการศึกษา ดังนี้
เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา
๑. ผู้เรียนเรยี นมผี ลการประเมินรายวชิ าพน้ื ฐานและเพ่ิมเตมิ ผ่านทกุ รายวิชา
๒. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ระดบั “ผา่ น” ขึน้ ไป
๓. ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ขึน้ ไป
๔. ผ้เู รยี นต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและไดร้ ับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุกกจิ กรรม
เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
๑. ผู้เรียนเรียนมผี ลการประเมนิ รายวชิ าพ้ืนฐานและเพิม่ เตมิ ผ่านทุกรายวิชา
๒. ผู้เรยี นตอ้ งมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป
๓. ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั “ผา่ น” ข้นึ ไป
๔. ผเู้ รยี นต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นและไดร้ บั การตดั สินผลการเรยี น “ผา่ น” ทกุ กจิ กรรม
การจัดการเรียนรู้
การจดั การเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏบิ ัติ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็น
เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝัง
เสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเปน็ สมรรถนะสำคัญใหผ้ ูเ้ รยี นบรรลุตามเป้าหมาย
๑. หลักการจดั การเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรยี นรตู้ อ้ งส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ คำนงึ ถงึ ความ
แตกตา่ งระหว่างบคุ คลและพัฒนาการทางสมองเนน้ ให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคณุ ธรรม
๒. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็น
เครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง
กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการ STEM
กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ัย
๒๒๔
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถช่วยใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผสู้ อน จึงจำเปน็ ตอ้ งศึกษาทำความ
เข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกบั การดำเนนิ ชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ และ คนไทยในยคุ ๔.๐
๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจา รณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนได้
พฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีกำหนด
๔. บทบาทของผู้สอนและผ้เู รียน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมีบทบาท
ดังนี้
๔.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศึกษาวิเคราะห์ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล แลว้ นำขอ้ มลู มาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ท่ี
ทา้ ทายความสามารถของผู้เรียน
๒) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่เป็น
ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมทง้ั คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาการทางสมอง เพ่อื นำผู้เรียนไปสเู่ ป้าหมาย
๔) จดั บรรยากาศที่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี นให้เกดิ การเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
๖) ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนด้วยวิธีการท่หี ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องวิชา
และระดับพัฒนาการของผู้เรียน
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผูเ้ รยี น รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ
เรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผเู้ รียน
๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นรขู้ องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคำถาม คิดหา
คำตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ
๓) ลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ สรปุ สงิ่ ทีไ่ ดเ้ รยี นร้ดู ้วยตนเอง และนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ
๔) มปี ฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกับกลุ่มและครู
๕) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองอย่างต่อเน่อื ง
๒๒๕
สอ่ื การเรยี นรู้
สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ส่ือการเรยี นรูม้ หี ลากหลาย
ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สอ่ื
ควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการ และลลี าการเรียนรูท้ ีห่ ลากหลายของผเู้ รยี น
การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมี
คุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศกึ ษา เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา หนว่ ยงานที่เกยี่ วขอ้ งและผมู้ ีหนา้ ท่จี ัดการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ควรดำเนินการดงั นี้
๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรยี นรทู้ ่มี ีประสทิ ธภิ าพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพอื่ การศกึ ษาคน้ คว้าและการแลกเปลย่ี นประสบการณ์
การเรียนรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ทอ้ งถิน่ ชุมชน สงั คมโลก
๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรบั การศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้งจัดหา
สิ่งทีม่ อี ยู่ในท้องถ่นิ มาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ ส่อื การเรียนรู้
๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผูเ้ รียน
๔. ประเมินคุณภาพของส่อื การเรยี นรทู้ ่ีเลือกใช้อย่างเปน็ ระบบ
๕. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพอ่ื พฒั นาสือ่ การเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั กระบวนการเรียนร้ขู องผู้เรียน
๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ือ
การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสมำ่ เสมอ
ในการจัดทำ การเลอื กใช้ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศกึ ษา ควรคำนึงถงึ หลักการ
สำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนอ้ื หามีความถูกต้องและทันสมยั ไม่กระทบความมน่ั คงของชาติ ไม่ขัดต่อ
ศลี ธรรม มกี ารใช้ภาษาท่ถี กู ต้อง รปู แบบการนำเสนอท่ีเขา้ ใจง่าย และน่าสนใจ
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รียนต้องอยู่บนหลักการพนื้ ฐานสองประการ คอื การประเมินเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเร็จนั้น
ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะ
สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุ ก
ระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ี
แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ
ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นร้อู ย่างเตม็ ตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา และระดบั ชาติ มีรายละเอยี ด ดงั น้ี
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอน
ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น การ
๒๒๖
ซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมนิ โครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสมงาน การ
ใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
ผปู้ กครองร่วมประเมิน ในกรณที ี่ไม่ผา่ นตัวชวี้ ดั ให้มกี ารสอนซ่อมเสริม
การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้ อัน
เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา
ปรับปรุงและสง่ เสริมในด้านใด นอกจากนย้ี ังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนของตนดว้ ย ทั้งนี้โดย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เปน็ การประเมินที่สถานศึกษาดำเนนิ การเพื่อตดั สินผล การเรียนของ
ผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน ผู้ปกครองและชุมชน
๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือ
กบั หนว่ ยงานต้นสังกดั ในการดำเนินการจดั สอบ นอกจากน้ยี งั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมลู จากการประเมิน
ระดับสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา
๔. การประเมนิ ระดบั ชาติ เป็นการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียนในระดบั ชาติตามมาตรฐานการเรียนรตู้ าม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผูเ้ รยี นทุกคนท่ีเรยี น ในชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ช้นั
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ และมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เขา้ รบั การประเมิน ผลจากการประเมนิ ใช้เป็นขอ้ มลู ในการเทยี บเคยี ง
คุณภาพการศึกษาในระดับตา่ ง ๆ เพ่ือนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเปน็
ขอ้ มลู สนบั สนนุ การตดั สินใจในระดับนโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนกตาม
สภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผู้เรียนที่มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่ม
ผู้เรียนท่ีมปี ัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพกิ ารทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ขอ้ มูลจากการประเมินจึง
เป็นหัวใจของสถานศกึ ษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนไดท้ ันท่วงที ปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนได้รับการพฒั นาและ
ประสบความสำเรจ็ ในการเรียน
๒๒๗
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน เพื่อใหบ้ คุ ลากรทเ่ี ก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยถือปฏบิ ัติรว่ มกัน
เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสิน การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตัดสินผลการเรยี นของกลุม่ สาระการเรียนรู้ การอา่ น คิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นนนั้ ผสู้ อนตอ้ งคำนึงถงึ การพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บ
ข้อมลู ของผู้เรียนทุกด้านอยา่ งสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอนซ่อมเสริมผู้เรยี นให้พฒั นาจนเตม็
ตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รยี นตอ้ งมีเวลาเรียนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผ้เู รยี นตอ้ งได้รบั การประเมินทุกตัวชีว้ ดั และผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศกึ ษากำหนด
(๓) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวิชา
(๔) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด ใน
การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
(๑) ผเู้ รียนต้องมเี วลาเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด
(๒) ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั การประเมินทุกตัวชวี้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด
(๓) ผูเ้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา
(๔) ผู้เรยี นต้องได้รับการประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด ใน
การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า
สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนช้ันได้ แต่หากผู้เรียนไม่
ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ัง
คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซ้ำชน้ั ได้ ทงั้ น้ีใหค้ ำนงึ ถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ
๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรยี น
ระดบั ประถมศกึ ษา ในการตดั สินเพ่อื ใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวิชา สถานศกึ ษาสามารถใหร้ ะดับ
ผลการเรยี นหรือระดบั คุณภาพการปฏิบัตขิ องผูเ้ รียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบรอ้ ยละ และระบบที่
ใชค้ ำสำคัญสะทอ้ นมาตรฐาน
การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์นัน้ ใหร้ ะดับผล การ
ประเมินเป็น ดีเย่ียม ดี และผ่าน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่
ผา่ น
๒๒๘
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวชิ า สถานศึกษาสามารถ
ให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
และระบบที่ใช้คำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์นั้น ใหร้ ะดบั ผล การ
ประเมนิ เป็น ดีเยยี่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และไม่
ผา่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้
ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรือ
อย่างนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดบั คณุ ภาพการปฏิบัตขิ องผเู้ รียนท่ีสะท้อนมาตรฐาน
การเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้
๒. เกณฑก์ ารจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คือ
ระดับประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานกำหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กำหนด
(๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศกึ ษากำหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากำหนด
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด
๒.2 เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ี
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานกำหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กำหนด
(๓) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
ตามท่ีสถานศึกษากำหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด
๒๒๙
(๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด
สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรบั ผู้ด้อยโอกาส การศกึ ษาตามอัธยาศัย ให้คณะกรรมการ
ของสถานศึกษา เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา และผูท้ เ่ี กี่ยวข้อง ดำเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ใน
แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสำหรับกลุ่มเป้าหมาย
เฉพาะ
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียนข้อมูล และสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับ
พัฒนาการของผู้เรยี นในด้านต่าง ๆ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
1. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรยี นและรับรองผลการเรียนของผู้เรยี น
ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
สถานศกึ ษาและผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษาจะต้องบนั ทกึ ขอ้ มูลและออกเอกสารนี้ให้ผู้เรยี น
เป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3) หรอื ลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี
1.๒ แบบรายงานผสู้ ำเรจ็ การศึกษา เป็นเอกสารอนุมัตกิ ารจบหลกั สูตร โดยบนั ทกึ รายชือ่ และ
ข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) จบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3)
2. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทส่ี ถานศึกษากำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศกึ ษาจัดทำข้ึนเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมลู สำคัญเก่ียวกบั
ผู้เรยี น เช่น แบบรายงานประจำตวั นักเรยี น แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นประจำรายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรบั รองผล
การเรยี น และเอกสารอน่ื ๆ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการน าเอกสารไปใช้
การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา
การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรยี นรู้อ่ืน ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชพี การจดั การศกึ ษาโดย
ครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียน ควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกท่ี
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด
รายวิชา/จำนวนหน่วยกติ ทีจ่ ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนินการไดด้ งั น้ี
1. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอืน่ ๆ ทีใ่ หข้ ้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้และ
ภาคปฏบิ ัติ
๒๓๐
3. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัตใิ นสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ การบริหาร
จัดการหลักสูตรในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา
หลกั สูตรน้ัน หนว่ ยงานต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งในแตล่ ะระดบั ตั้งแตร่ ะดบั ชาติ ระดับท้องถิน่ จนถึงระดับสถานศึกษา มี
บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้การดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามี
ประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ใน
ระดบั ชาติ
ระดบั ทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา หน่วยงานต้นสงั กดั อ่ืน ๆ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทใน
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี
กำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การจัดทำหลักสูตรของ
สถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลกั สตู รในระดบั สถานศกึ ษา ให้ประสบความสำเร็จ โดยมีภารกจิ สำคัญคอื
กำหนดเป้าหมาย และจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่น โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็น
ความต้องการในระดับชาติพัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้ง
เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและการพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมินผล
วเิ คราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรยี น
สถานศึกษามีหน้าทีส่ ำคัญในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การวางแผนและดำเนนิ การใช้หลกั สตู รการ
เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัย และพัฒนาการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทำระเบียบการวัด
และประเมนิ ผล ในการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา ต้องพจิ ารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพื้นที่การศึกษา หรอื หน่วยงานสังกัดอน่ื ๆ ในระดับท้องถ่นิ ได้จัดทำเพิ่มเติม รวมท้ัง
สถานศกึ ษาสามารถเพ่ิมเติมในส่วนท่เี กี่ยวกบั สภาพปัญหาในชมุ ชนและสงั คม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ และความต้องการ
ของผู้เรยี น โดยทกุ ภาคส่วนเข้ามามสี ่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา