The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2022-01-20 02:21:59

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และ
จารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย

โครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ภายใต้โครงการจัดทำฐานข้อมูล

ด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

คำนำ

วฒั นธรรมเปน็ สง่ิ สะท้อนให้เห็นถงึ คุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถิ่นต่าง ๆ ไดพ้ ฒั นาและสรา้ งสรรค์
ขึน้ เพอ่ื ใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการดาเนินชีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบและวิธีการทีห่ ลากหลาย ทง้ั ในรูปแบบของวิถีชีวิต
ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา และศิลปะ เป็นต้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสานึกและกระตุ้นให้คนในชุมชนท้องถ่ิน
เกดิ ความตระหนกั มคี วามต่นื ตัว และเข้ามามสี ่วนร่วมในการฟน้ื ฟเู ผยแพร่ และสืบสานภูมิปญั ญาท้องถิน่ ของตน

จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดท่ีมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ มีวัฒนธรรมและมีองค์ความรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีแตกต่าง และความหลากหลายในองค์ความรู้ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิ นที่มี
การสงั่ สมและสืบทอดมาอย่างต่อเนื่องและปรากฏให้เห็นในปัจจุบัน การพัฒนาจังหวัดเชียงราย เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับ
ชุมชนท้องถิ่น ที่สาคัญประการหนึ่ง คือ การพลิกฟ้ืน ศิลปะ และวัฒนธรรมท้องถิ่นที่มีอยู่ในท้องถ่ินน้ัน ๆ
ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ภูมิปัญญาในแต่ละสาขา โดยเฉพาะภูมิปัญญาในการประกอบอาชีพเป็นภูมิปัญญาความรู้
เชิงศิลป์แขนงต่าง ๆ ท่ีมีศิลปินท้องถิ่นและศิลปินแห่งชาติตลอดจนช่างฝีมือ ซ่ึงวัฒนธรรมและองค์ความรู้ภูมิปัญญา
ดังกล่าวเปน็ ทรพั ยากรที่สาคญั สามารถใช้ประโยชน์หรอื เกอ้ื กูลชุมชนท้องถ่ินผู้เป็นเจ้าของได้

เพ่ือเป็นการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และ
ภูมิปัญญาท้องถ่ิน รวมท้ังการเสริมสร้างคุณค่าทางสังคมและจิตใจต่อมรดกทางวัฒนธรรม เป็นส่ิงสาคัญ
ในการส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และเป็นผู้สืบทอดมรดกวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งให้ประชาชน
และเยาวชนในท้องถ่ินได้เรียนรู้ความสาคัญของวิถีชีวิต คุณค่าของประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ความเป็นมาและวัฒนธรรม
ประเพณี อันจะสร้างความภาคภูมิใจและจิตสานึกในการดูแลรักษาวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเอกลักษณ์
ของชาติ เกิดการสืบสานและต่อยอดในการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาติให้สืบต่อไป กรมส่งเสริมวัฒนธรรม
จึงไดส้ นบั สนนุ งบประมาณให้สภาวัฒนธรรมจงั หวดั เชยี งราย ในการดาเนนิ งานโครงการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ภายใต้โครงการจัดทาฐานขอ้ มูลดา้ นศาสนา วฒั นธรรม และจารีตประเพณีท้องถนิ่ ประจาปี ๒๕๖๔ กจิ กรรมการจัดทา
ฐานข้อมูลองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมด้านศาสนาวัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจาปี ๒๕๖๔
ท้ังนี้ สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย ได้จัดทาหนังสือฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น
ประจาปี ๒๕๖๔ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นส่วนหน่ึงในการส่งเสริม สนับสนุน สืบสาน และอนุรักษ์
ฟื้นฟูมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงราย ให้เป็นที่รู้จักและแพร่หลายทั้งในกลุ่มของเด็ก เยาวชน และ
ประชาชนท่วั ไป สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดเชยี งรายขอขอบคุณปราชญ์ชาวบา้ นทุกทา่ นทไี่ ดใ้ หค้ วามอนุเคราะห์ข้อมูล
ภาพถา่ ย ในการจดั ทาหนงั สือองค์ความรู้เล่มน้ีเป็นอย่างย่งิ

สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชยี งราย
มกราคม ๒๕๖๕

สารบัญ

จังหวัดเชียงราย หนา้
อาเภอเมอื งเชียงราย
อาเภอเวยี งชัย ๑

อาเภอเวยี งเชียงรุ้ง ๑๗
อาเภอแมล่ าว
๓๔
อาเภอเทงิ ๔๓
อาเภอพญาเม็งราย
อาเภอขุนตาล ๕๖
๖๗
อาเภอเชยี งของ ๗๔
อาเภอเวยี งแก่น
๘๕
อาเภอพาน ๙๘
อาเภอปา่ แดด
อาเภอแมส่ รวย ๑๐๗
๑๑๖
อาเภอเวียงป่าเป้า ๑๒๕
อาเภอแมจ่ นั
๑๓๔
อาเภอแมส่ าย ๑๔๕
อาเภอแมฟ่ ้าหลวง
อาเภอเชียงแสน ๑๕๖
๑๖๙
อาเภอดอยหลวง ๑๗๘

๑๘๙

1

จังหวัดเชียงราย

จังหวัดเชยี งราย เปน็ จงั หวัดทต่ี งั้ อยูใ่ นภาคเหนือของประเทศไทย ตงั้ อยูท่ างทศิ เหนือสุดของประเทศไทย
ในเชิงภูมิศาสตร์ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าและประเทศลาว ทางตอนเหนือและตะวันออก จังหวัดพะเยา
และจังหวัดลาปาง ทางทิศใต้ และจังหวัดเชียงใหม่ ทางทิศตะวันตกจังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทย
เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาต้ัแต่สมัยเชียงแสนของพญามังราย ผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพ้ืนท่ีราบลุ่ม
แม่น้ากก มคี วามอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอยสูงท่ีสลับซับซ้อน เปน็ แหลง่ กาเนิดต้นน้าและน้าตกอนั งดงามหลายแห่ง
และมีเทือกเขาผีปันน้าที่เป็นพรมแดนกั้นสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาจนถึงด้านทิศเหนือ อีกท้ังเป็นจุดแรก
ท่แี มน่ ้าโขงไหลผ่านประเทศไทย และเปน็ พรมแดนก้ันกลางระหวา่ งประเทศไทยกบั สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

จังหวัดเชยี งรายแบง่ การปกครองออกเป็น 18 อาเภอ มแี มน่ ้ากก แม่นา้ อิง แม่นา้ รวก และแมน่ า้ โขง เปน็ แม่นา้
สายสาคัญ โดยทาเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย สาธารณรัฐ
แหง่ สหภาพเมียนมา และสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว หรือรูจ้ กั กนั ในนามของดนิ แดนสามเหลยี่ มทองคา

จังหวัดเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซ่ึงเป็นนครหลวงก่อน
การกาเนิดอาณาจกั รล้านนา มี "คาเมือง" เปน็ ภาษาท้องถน่ิ มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ทั้งด้านศิลปะ ประเพณวี ฒั นธรรมท่ีมี
ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทล้ือจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน นอกจากนี้
จังหวดั เชียงรายยังข้ึนชื่อว่าเป็น "เมืองศลิ ปะ" และเป็นบ้านเกิดของศิลปินทม่ี ีอิทธิพลอย่างมากในวงการศิลปะไทย และ
ต่างประเทศ โดยเฉพาะ ดร.ถวัลย์ ดัชนี ผู้สร้างสรรค์บ้านดา และศาสตรเมธี ดร. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ผู้สร้างสรรค์
วดั รอ่ งขนุ่ และหอนาฬิกาเมืองเชยี งราย สถานทท่ี อ่ งเทยี่ วสาคัญของเชียงรายทม่ี ีเอกลกั ษณ์เฉพาะของศิลปนิ

ความเปน็ มาของจังหวัดเชียงราย

ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์บันทึกไว้ว่า เม่ือวันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๑๘๐๕ หลังจากท่ีพญามังรายได้
รวบรวมหัวเมืองทางเหนือ และเสด็จไปรวมพลท่ีเมืองลาวกู่ต้า ช้างของพระองค์ก็ได้พลัดหายไปทางทิศตะวันออก
พระองค์จึงเสด็จตามรอยช้างไปจนถึงดอยจอมทอง ท่ีตั้งอยู่ตรงร่ิมฝ่ังแม่น้ากกนัทธี และทรงเห็นว่าชัยภมู ิเหมาะแก่การ
สรา้ งเมอื ง จึงให้สรา้ งเวียงโอบล้อมดอยจอมทองไว้ ขนานนามว่า “เวียงเชยี งราย”

จนกระท่ังปี พ.ศ. ๑๘๓๙ ก็มีการสร้างเมืองใหม่ข้ึน ชื่อว่า “"นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" หรือ เชียงใหม่
และตั้งใหเ้ ป็นราชธานีแหง่ อาณาจักรลา้ นนา นับแต่น้ัน หลงั จากทพ่ี ญามังรายย้ายไปครองราชสัมบตั ทิ ีเ่ ชียงใหม่แล้ว
เมืองเชียงรายก็ขึน้ ตอ่ เมืองเชยี งใหม่ โดยมี ขนุ คราม หรือ พระไชยสงคราม พระราชโอรสของพญามังรายครองราช
สมบตั ิท่ีเชยี งรายสบื ตอ่ มา

ในกาลต่อมาแคว้นล้านนาไทยได้ตกอยู่ในการปกครองของพม่า ยาวนานมาจนถึงปี พ.ศ. 2330 ที่เกิด
สงครามระหว่างไทยและพม่ากันอย่างต่อเนื่อง จนกระท่ังทัพจากแคว้นเชียงตุงโดนไทยตีจนแตกพ่ายกลับไป
เมอื งเชยี งรายก็ถกู ท้ิงรา้ งมาตลอด จนในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 3 ทรงโปรดใหต้ ้ัง
เมอื งเชียงรายใหเ้ ปน็ เมืองในสงั กดั เมอื งเชียงใหม่ ก่อนจะกลายมาเปน็ จงั หวัดต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2453 จนถงึ ปจั จบุ ัน

2

ท่ีต้งั และอาณาเขต

จังหวัดเชียงรายต้ังอยู่ตอนเหนือสุดของประเทศไทย อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่
19 องศาเหนอื ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนอื และเส้นแวงท่ี 99 องศา 15 ลิปดา
ถึง 100 องศา 45 ลิปดาตะวนั ออก
ทิศเหนือ ติดต่อกับเมืองสาดและจังหวัดท่าขี้เหล็กของรัฐฉาน สาธารณรัฐ
แหง่ สหภาพเมยี นมาและแขวงบ่อแก้วสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ทศิ ตะวันออกติดต่อกับแขวงอุดมไซ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอภูซาง อาเภอจุน อาเภอดอกคาใต้ อาเภอ
ภูกามยาว อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยาอาเภอเมืองปาน อาเภอวังเหนือ จังหวัด
ลาปาง และอาเภอดอยสะเก็ด จงั หวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันตก ติดกับอาเภอดอยสะเก็ด อาเภอพร้าว อาเภอไชย
ปราการ อาเภอฝาง และอาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และเมืองสาด รัฐฉาน
สาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมา แผนที่จังหวดั เชียงราย

จงั หวดั เชยี งรายมีชายแดนติดกับสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมา ประมาณ 130 กิโลเมตร และมีชายแดนติดต่อกับ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประมาณ 180 กิโลเมตร เป็นเพียงหน่ึงในสองจังหวัดของประเทศไทยที่มีอาณา
เขตชายแดนติดต่อกบั ประเทศเพอ่ื นบ้านด้วยกนั ถึงสองประเทศในจังหวัดเดียว

ภูมปิ ระเทศ

จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,290,000 ไร่ มีภูมิประเทศ
เป็นเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือ (North Continental Highland) มีพ้ืนท่ีราบสูงเป็นหย่อม ๆ ในเขตอาเภอ
แม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า และอาเภอเชียงของ บริเวณเทือกเขาจะมีความสูงประมาณ 1,500-2,000 เมตร
จากระดับน้าทะเล โดยมีดอยลังกาหลวง เป็นยอดเขาท่ีสูงท่ีสุดในจังหวัด มีความสูง 2,031 เมตร บริเวณส่วนท่ีราบ
ตามลุ่มแม่น้าสาคัญในตอนกลางของพื้นที่ ได้แก่ อาเภอพาน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สาย อาเภอ
เชียงแสน และอาเภอเชียงของ มีความสูงประมาณ 410 - 580 เมตร จากระดับน้าทะเล ลักษณะพ้ืนท่ีส่วนใหญ่
เปน็ ภเู ขาสูง มีปา่ ไม้ปกคลมุ บริเวณเทือกเขามชี ้นั ความสงู 1,500 - 2,000 เมตร จากระดับนา้ ทะเล มีทร่ี าบเป็น
หย่อม ๆ ในระหว่างหุบเขา และตามลุ่มน้าสาคัญ จังหวัดเชียงรายมีภูเขาล้อมรอบโดยเฉพาะทางทิศตะวันตกเปน็
แนวเทือกเขาผีปันนา้ ตดิ ต่อกันไปเป็นพดื ตลอดเขตจงั หวัด

ภมู ิอากาศ
จังหวัดเชียงรายมีอุณหภมู เิ ฉลี่ยตลอดปปี ระมาณ 24 องศาเซลเซียส
ฤดูร้อน เร่ิมต้นจากกลางเดือนกุมภาพันธ์ - กลางเดือนพฤษภาคม โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ

32 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน เร่ิมต้นจากกลางเดือนพฤษภาคม - กลางเดือนตุลาคม โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ

27 องศาเซลเซียส และมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยปีละประมาณ 1,768 มิลลิเมตร มากที่สุดในปี 2544 จานวน
2,287.60 มิลลเิ มตรน้อยทสี่ ุดในปี 2546 จานวน 1,404.10 มิลลิเมตร จานวนวนั ทม่ี ฝี นตกเฉล่ีย 143 วนั ตอ่ ปี

ฤดูหนาว เร่ิมต้นเดือนพฤศจิกายน – กลางเดือนกุมภาพันธ์ จังหวัดเชียงรายมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ
15.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุด 0.9 - 1.0 องศาเซลเซียส 2542 สภาพอากาศของจังหวัดเชียงราย
ถือว่าหนาวจัดในพื้นท่ีราบ อุณหภูมิจะอยู่ท่ี 7-9 องศาเซลเซียส ส่วนบนยอดดอย อุณหภูมิต่าสุดจะอยู่ท่ี
0-5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ -1.5 องศาท่ีภูชี้ฟ้า ปลายปี 2556 จึงทาให้อากาศที่เชียงรายในช่วงฤดูหนาว
เป็นพ้นื ที่ทนี่ ักทอ่ งเทีย่ วอยากมาเปน็ อยา่ งยงิ่

3
สัญลกั ษณ์ประจาจงั หวัด

ตราประจาจงั หวัด : รปู ช้างสีขาวใตเ้ มฆ หมายถึง นิมิตของความรุง่ เรอื งในอดีต เพราะพญามังรายเคยใช้
ช้างเป็นกาลังสาคัญในการทาศึกปราบศตั รูจนได้ชัยชนะ นอกจากน้ี ช้างยงั เปน็ ชนวนให้พญามงั รายมากอ่ ร่างสร้าง
เมืองนี้ข้ึนอีกด้วย โดยว่ากันว่า หายไปจากหลักท่ีผูกไว้ พญามังรายติดตามไปจนถึงภูมิประเทศอันบริบูรณ์ริมน้ากก
จงึ โปรดใหต้ ง้ั เมืองเชยี งรายขึน้ ณ ท่นี ้ัน

ดอกไม้ประจาจังหวดั : ดอกพวงแสด

ต้นไมป้ ระจาจังหวัด : ต้นกาซะลองคา โดยเปน็ ไมท้ ่ีสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
พระราชทานให้เป็นต้นไม้ประจาจังหวัดเมื่อวันท่ี 9 พฤษภาคม
พ.ศ. 2537 เน่ืองในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี

จงั หวดั เชยี งราย แบง่ การปกครองออกเป็น 18 อาเภอ ดงั น้ี

๑. อาเภอเมืองเชยี งราย ๑๐. อาเภอพาน

๒. อาเภอเวยี งชัย ๑๑. อาเภอปา่ แดด

๓. อาเภอเวยี งเชียงรุ้ง ๑๒. อาเภอแม่สรวย

๔. อาเภอแม่ลาว ๑๓. อาเภอเวยี งป่าเป้า

๕. อาเภอเทงิ ๑๔. อาเภอแม่จนั

๖. อาเภอพญาเม็งราย ๑๕. อาเภอแม่สาย

๗. อาเภอขุนตาล ๑๖. อาเภอแมฟ่ า้ หลวง

๘. อาเภอเชียงของ ๑๗. อาเภอเชียงแสน

๙. อาเภอเวยี งแก่น ๑๘. อาเภอดอยหลวง

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ มื อ ง เ ชี ย ง ร า ย

เมืองพญามังราย
สายใยน้ำกก พระหยกล้ำค่า

ไร่แม่ฟ้าหลวงรวมใจ
น้ำตกใสขุนกรณ์

สภาวัฒนธรรมอำเภอเมืองเชียงราย

5

อำเภอเมืองเชยี งรำย

ประวัติควำมเป็นมำ

อำเภอเมืองเชียงรำย เป็นอำเภอหน่ึงของจังหวัดเชียงรำย ท่ีมีศูนย์กลำงกำรบริหำร ศูนย์กลำง คมนำคม
ศูนย์กลำงธุรกิจ และศูนย์กลำงทำงศำสนำและวัฒนธรรมล้ำนนำของจังหวัดเชียงรำย นับเป็นหนึ่งใน อำเภอเมือง
ทีม่ คี วำมเจริญมำกในภำคเหนอื ตอนบนรองจำกอำเภอเมอื งเชยี งใหม่

อนุสำวรยี พ์ อ่ ขนุ เมง็ รำยมหำรำช
ประวัติควำมเป็นมำของอำเภอเมืองเชียงรำย กษัตริย์ในรำชวงศ์ละวะจักรรำช (บำงตำนำน เรียกลำวจักรรำช)
ได้สืบสันติวงศ์ต่อจำกปฐมกษัตริย์ผู้สร้ำงเมืองหิรัญนครยำง จนถึงเช้ือพระวงศ์พระนำม ว่ำ ลำวเมง หรือลำวเมอื ง
ซึ่งต่อมำได้อภิเษกสมรสกับนำงอั้งย่ิง หรือนำงเมพคำยำย (หรือนำงเทพคำข่ำย) และ มีพระโอรสประสูติ ในปี
พ.ศ. ๑๗๘๑ พระนำมวำ่ เจำ้ เมง็ รำย (หรอื เจ้ำมังรำย) ซึง่ ไดค้ รองรำชย์ต่อจำกพระบิดำ เมอื่ ปี พ.ศ. ๑๘๐๔ และได้
มีดำริที่จะรวมเมืองน้อยใหญ่ในแคว้นล้ำนนำ (ภำคเหนือตอนบน) ให้เป็นหน่ึงเดียว จึงได้ยกทัพไปเจริญสัมพันธ์
ไมตรีและปรำบปรำมหัวเมืองต่ำง ๆ และในช่วงที่ไปหัวเมืองฝ่ำยใต้ เมื่อไปถึง ดอยจอมทอง ริมน้ำกก เห็นเป็น
ชัยภมู ดิ ี เหมำะแกก่ ำรป้องกันกำรรุกรำนของทัพเม็งโกลทีก่ ำลังแผ่อำนำจเข้ำครองยนู นำน พมำ่ และตั้งเกย่ี จึงทรง
สร้ำงเมืองใหม่เป็นศูนย์กลำงของแคว้นหิรัญนครเงินยำงแทนเมือง ยำง และต้ังช่ือเมืองใหม่ว่ำ "เมืองเชียงรำย"
ในพ.ศ. ๒๓๘๕ เจ้ำผู้ครองนครเชียงใหม่ ลำปำง ลำพูน ได้ขอพระรำชทำนตั้งเมืองใหม่ต่อพระบำทสมเด็จพระน่ังเกล้ำ
เจ้ำอย่หู ัว และเมอื งเชียงรำยซึ่งถูกทง้ิ ร้ำงไปเมื่อคร้ัง พระยำกำวิละทำสงครำมกบั พม่ำ กไ็ ดร้ ับกำรฟ้ืนฟู อีกครัง้ หนึ่ง
แต่เป็นเมืองบริวำรของเชียงใหม่ ต่อมำได้มีประกำศเสนำบดีกระทรวงมหำดไทย ให้รวมเมืองเชียงรำย เมืองเชียงแสน
เมืองฝำง เมืองพะเยำ เวียงป่ำเป้ำ แม่ใจ ดอกคำใต้ แม่สรวย เชียงคำ เชียงของ ต้ังเป็นหัวเมืองจัตวำ เรียกว่ำ
"เมืองเชยี งรำย” อย่ใู นมณฑลพำยพั จนกระท่ังถึงสมัยรัชกำลที่ ๕ กไ็ ดย้ กเลิกกำรปกครองแบบมณฑล เทศำภิบำล
และมปี ระกำศตั้งเมอื เชียงรำย เป็นจังหวดั เชียงรำย ตั้งแต่น้ันมำ

6

แผนที่อำเภอเมืองเชยี งรำย

คำขวัญอำเภอเมอื งเชยี งรำย

เมอื งพญามงั ราย สายใยน้ากก พระหยกล้าคา่ ไรแ่ ม่ฟ้าหลวงรวมใจ นา้ ตกใสขนุ กรณ์

ลกั ษณะทำงกำยภำพ

อำเภอเมืองเชยี งรำยต้งั อยู่ทำงตอนกลำงของจังหวดั มอี ำณำเขตติดตอ่ กับอำเภอและจังหวดั ข้ำงเคียง ดงั นี้
- ทิศเหนอื ติดตอ่ กบั อำเภอแมจ่ นั และอำเภอแมฟ่ ้ำหลวง
- ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอเวียงเชยี งรุ้ง และอำเภอเวียงชยั
- ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับอำเภอเทงิ อำเภอป่ำแดด อำเภอพำน และอำเภอแม่ลำว
- ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อำเภอแม่สรวย และอำเภอแมอ่ ำย (จงั หวัดเชยี งใหม่)

7

แหล่งเรยี นรู้/แหลง่ ทอ่ งเท่ียว

๑. อนุสาวรีย์พ่อขนุ เม็งรายมหาราช
ตงั้ อยู่ในตัวเมืองเชียงรำย บริเวณทำงแยกท่ีจะไปอำเภอแม่จัน
พอ่ ขนุ เม็งรำยเปน็ กษัตรยิ ์องค์ที่ ๒๕ แหง่ รำชวงศ์ลวะ พระองค์ทรงสร้ำง
เมอื งเชียงรำยเปน็ เมืองหลวงแทนหริ ัญนครเงินยำง พ่อขุนเม็งรำยมหำรำช
พระองค์คือปฐมกษัตริย์แห่งรำชวงศ์มังรำย ผู้สร้ำงเมืองเชียงรำยให้
เกรียงไกรในอดีต และปัจจบุ ันอนุสำวรยี ์พ่อขุนเมง็ รำยมหำรำช เปน็ ดัง
แลนด์มำร์กของเชียงรำยท่ีผู้สัญจรผ่ำนไปมำต้องแวะไปสักกำระสักครั้ง
โดยอนุสำวรยี ์แห่งนม้ี ีลกั ษณะเปน็ พระรปู ของพระองค์หลอ่ ดว้ ยทองสัมฤทธิ์
ขนำดหน่ึงเท่ำครึ่งทรงฉลองพระองค์ด้วยเคร่ืองทรงพระมหำกษัตริย์
แบบล้ำนนำโบรำณ ประทบั ยนื บนฐำนสูงประมำณ ๓ เมตร ทรงถือดำบ
ด้วยพระหัตถ์ซ้ำยแนบกับพระเพลำ ทรงสวมมำลัยพระกรและสวมพระธำมรงค์ที่พระหัตถ์ขวำตรงนิ้วนำงและ
นว้ิ ก้อย และตรงนิ้วชที้ ี่พระหตั ถ์ขำ้ งซ้ำย และทรงฉลองพระบำท ในปจั จุบันมตี งุ หลวงเฉลิมพระเกียรตสิ ีทองอร่ำม
ขนำดใหญ่ประดับอยู่ทำงด้ำนหลังอนุสำวรีย์ด้วย สำหรับฐำนใต้พระบรมรูปมีคำจำรึกว่ำ "พ่อขุนเม็งรำยมหำรำช
พ.ศ. ๑๗๘๒-๑๘๖๐ ทรงสร้ำงเมืองเชียงรำยขึ้นเป็นเมืองแรกเม่ือ พ.ศ. ๑๘๐๕ ทรงสถำปนำอำณำจักรล้ำนนำไทย
ให้เป็นปึกแผ่น และทรงสร้ำงควำมสำมัคคีระหว่ำงชนชำติไทย" รู้จักพ่อขุนเม็งรำย พ่อขุนเม็งรำยเป็นกษัตริย์
องค์ท่ี ๒๕ แห่งรำชวงศ์ลวะ เป็นโอรสของพญำลำวเม็งและพระนำงเทพคำขยำย หรือพระนำงอั้วม่ิงจอมเมือง
ประสตู เิ มอื่ วันอำทิตย์ แรม ๙ ค่ำ เดอื น ๓ ปีจอ พทุ ธศักรำช ๑๗๘๒ และเสด็จสวรรคตท่ีเมืองเชยี งใหมใ่ นปี พ.ศ. ๑๘๕๔
รวมพระชนมำยุได้ ๗๒ พรรษำ โดยสถูป (กู่) บรรจุพระอัฐิหรือ กู่พญำมังรำยมหำรำช ต้ังอยู่ที่วัดงำเมืองน่ันเอง
ท้ังนี้ พ่อขุนเม็งรำยได้สร้ำงเมืองเชียงรำยข้ึนบนดอยทอง จำกรำกฐำนเดิมที่เคยเป็นเมืองมำก่อน เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๐๕
ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งรำชวงศ์มังรำยและรวบรวมบ้ำนเล็กเมืองน้อยเข้ำเป็นอำณำจักรล้ำนนำไทยจนเจริญรุ่งเรือง
จวบจนปัจจบุ นั

๒. วัดพระสงิ ห์
ตั้งอยู่ท่ี ถนนสิงหไคล ริมแม่น้ำกก ใกล้ศำลำกลำงจังหวัดหลงั เกำ่

แต่เดิม เคยเป็น ที่ประดิษฐำนพระพุทธสิหิงค์ องค์ที่ประดิษฐำนอยู่
ณ วหิ ำรลำยคำ วดั พระสงิ ห์ จังหวดั เชยี งใหม่ ในปจั จุบัน ตำมประวัติเล่ำว่ำ
เจำ้ มหำพรหม พระอนุชำของพระเจ้ำกือนำ กษตั ริย์ผ้คู รองนครเชียงใหม่
ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มำจำกเมืองกำแพงเพชร พระเจ้ำกือนำได้โปรดฯ
ให้ประดษิ ฐำนไว้ ณ เมืองเชียงใหม่ ต่อมำ พระเจ้ำมหำพรหมทูลขอยืม
พระพุทธสิหิงค์ มำประดิษฐำน ไว้ท่ีเมืองเชียงรำยเพ่ือหล่อจำลอง แต่เม่ือส้ินบุญพระเจ้ำกือนำ พระเจ้ำแสนเมือง
รำชนัดดำของพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ เจ้ำมหำพรหมคิดจะชงิ รำชสมบัติจงึ ยกกองทพั จำกเชยี งรำย
ไปประชิดเมืองเชียงใหม่ แต่เจ้ำแสนเมืองก็สำมำรถป้องกนั เมอื งได้ อีกท้ังยกทัพมำตีทัพเจ้ำมหำพรหมถึงเชียงรำย
และคร้ังน้ีเองท่ีทรงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ คืนกลับไปประดิษฐำนอยู่ท่ี วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่สืบมำ
นอกจำกนี้ วดั พระสงิ ห์ยังมีรอยพระพุทธบำทจำลอง บนแผ่นศิลำ กวำ้ ง ๕ นิว้ ยำว ๖ ฟตุ มอี กั ษรขอมโบรำณ จำรึกว่ำ
"กุศลำธมมำ - อกุศลำธมมำ" สันนิษฐำนว่ำสรำ้ งในสมัยพระเจำ้ เมง็ รำยมหำรำช

8
๓. วัดพระแกว้

ตัง้ อยูก่ ลำงเมืองเชียงรำย เลขที่ ๑๙ หมูท่ ่ี ๑ ถนนไตรรตั น์ ตำบล
เวียง อำเภอเมืองเชียงรำย วัดน้ีได้ เป็นสถำนที่ค้นพบพระแก้วมรกต
หรือพระพุทธ มหำมณีรัตนปฏิมำกร ซ่ึง ประดิษฐำนอยู่ ณ วัดพระ
แก้ว กรุงเทพมหำนคร ในปัจจุบันตำมประวัติ เล่ำว่ำ เมื่อปี พ.ศ.
๑๘๙๗ ในสมยั พระเจ้ำสำมฝง่ั แกนเปน็ เจ้ำเมอื งครองเชยี งใหม่นนั้ ฟำ้
ได้ผ่ำเจดีย์ร้ำงองค์หน่ึง และได้ พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่
ภำยในเจดีย์ ต่อมำรักกะเทำะออก จงึ ไดพ้ บวำ่ เปน็ พระพุทธรูปสเี ขียว
ท่ีสร้ำงด้วยหยก ซึ่งก็คือ พระแก้วมรกต นั่นเอง ปัจจุบัน วัดพระแก้ว เป็นที่ประดิษฐำน พระหยกซึ่งสร้ำงขึ้นใหม่
ในวำระที่ สมเด็จพระศรีนครินทรำ บรมรำชชนนี มีพระชนมำยุ ครบ ๘๐ พรรษำ ซ่ึงชื่อว่ำ "พระหยกเชียงรำย”
ซ่ึงสมเด็จพระศรีนครินทรำบรมรำชชนน้ีได้ พระรำชทำนนำมว่ำ"พระพทุ ธรัตนำกรวฒุ วิ ัสสำนสุ รณ์มงคล" มีขนำด
ใกล้เคยี งกับพระแก้วมรกต เพ่ือใหพ้ ุทธศำสนิกชนได้สักกำรบชู ำ

๔. วัดพระธาตุดอยจอมทอง วัดพระธำตุดอยจอมทอง หรือวัดพระธำตุ
ดอยทอง (หรอื วัดพระธำตดุ อยตอง ตำมสำเนยี งคนเชียงรำย) เปน็ หนึง่ ใน
พระธำตุ ๙ จอม ตง้ั อยู่ที่ถนนอำจอำนวย ตำบลรอบเวียง อำเภอเมืองเชียงรำย
เปน็ วัดเกำ่ แก่ และถอื เปน็ ปูชนยี สถำนแห่งหน่งึ ใน “เก้ำจอม” ของสถำนที่
อันเป็นมงคลนำมของจังหวัดเชียงรำย โดยวัดพระธำตุดอยจอมทองนี้
สนั นษิ ฐำนว่ำสร้ำงกอ่ นท่ีพญำมงั รำยมหำรำชจะเสด็จมำพบพ้นื ทบ่ี ริเวณน้ี
และโปรดให้สร้ำงเมืองเชียงรำยในปี พ.ศ. ๑๘๐๕ โดยตำมประวัติท่ีมี
กำรกล่ำวถึงวัดพระธำตุดอยจอมทองระบุวำ่ สร้ำงขน้ึ ในรัชสมัยพญำเรือนแก้ว
เจ้ำผูค้ รองเมืองไชยนำรำยณ์ (บรเิ วณอำเภอเวียงชัยปัจจุบัน) ปี พ.ศ. ๑๔๘๓ โดยในกำรสร้ำงวัดครัง้ นั้น ได้มกี ำรสร้ำง
องค์พระเจดีย์ประธำนของวัดขึ้นเพ่ือเป็นที่ประดิษฐำนพระบรมสำรีริกธำตุของสมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ
ที่พระมหำเถระชำวลังกำได้นำมำถวำยแด่พญำพังครำชแห่งเมืองโยนกนำคพันธุ์ ซึ่งพญำพังครำชได้โปรดให้แบ่ง
พระบรมสำรรี ิกธำตอุ อกเปน็ ๓ สว่ น และนำไปประดิษฐำน ณ พระบรมธำตุเจดยี ์ท่ีสำคัญของจงั หวัดเชียงรำยในปัจจุบัน
ได้แก่ พระมหำชินธำตุเจำ้ ดอยตุง พระธำตุจอมกิตติ และพระธำตดุ อยจอมทองแห่งน้ี
๕. ก่พู ระเจา้ เมง็ ราย
ต้ังอยู่หน้ำวัดงำเมืองบนดอยงำเมือง เป็นอนุสำวรีย์สำคัญแห่งหน่ึง
เพรำะเป็นท่ีบรรจุอฐั ิของพ่อขุนเม็งรำยมหำรำช จังหวัดเชียงรำยเปน็
อีกหน่ึงจังหวัดท่ีมีควำมสำคัญต่อประวัติศำสตร์ชำติไทยท่ีได้มีกำร
บันทึกเรื่องรำวท่ีได้เกิดข้ึน ณ อำณำจักรแห่งนี้ไว้มำกมำยซ่ึงถือว่ำเป็น
ยุคแห่งประวัติศำสตร์ที่สำคัญยุคหนึ่งของประเทศไทยในประวัติศำสตร์
ช่วงแรก ๆ เลยก็ว่ำได้ โดยเฉพำะท่ีมีควำมเก่ียวพันกับเรื่องดินแดน
กำรเมืองกำรปกครอง วัฒนธรรมรวมไปถึงผู้ปกครอง ซ่ึงผู้ท่ีเคยศึกษ
ประวตั ิศำสตร์
ควำมเป็นมำของจังหวัดเชียงรำยก็คงไม่มีใครไม่เคยได้ยินชื่อของพระเจ้ำเม็งรำย หรือพ่อขุนเม็งรำย ซ่ึงจังหวัด
เชียงรำยนอกจำกจะมอี นุสำวรีย์สำมกษตั ริย์แลว้ กพู่ ระเจ้ำเม็งรำยก็เปน็ อกี สถำนทห่ี นึง่ ท่ีเปน็ อนสุ ำวรยี ์ทส่ี ำคญั แหง่
หนึ่งเนอ่ื งจำกสถำนท่แี ห่งนี้เป็นที่เกบ็ และบรรจอุ ฐั ิของพ่อขนุ เมง็ รำยมหำรำชอดีตเจ้ำเมืองแหง่ ดินแดนน้ี กพู่ ระเจำ้
เม็งรำยต้ังอยหู่ นำ้ วัดงำเมือง บนดอยงำเมือง นอกจำกน้ีตำมประวัติกล่ำวว่ำพระเจ้ำไชยสงครำมรำชโอรสพระเจำ้
เม็งรำยเมื่อได้มอบรำชสมบัติให้พระเจ้ำแสนภูรำชโอรสข้ึนครองนครเชียงใหม่ แล้วพระองค์ได้นำอัฐิพระรำชบดิ ำ
มำประทับอย่ทู ี่เมอื งเชยี งรำย และไดโ้ ปรดเกล้ำฯ สรำ้ งกู่บรรจุอฐั ิของพระรำชบดิ ำไว้ ณ ดอยงำเมอื งแห่งน้ีซึ่งก็คือ
กู่เม็งรำยแห่งนี้น่ีเอง

9
๖. พทุ ธอทุ ยานดอยอนิ ทรีย์ (วัดดอยอินทรยี )์

ตั้งอยู่บริเวณ บ้ำนห้วยกีด หมู่ ๑ ตำบลดอยฮำง อำเภอเมืองเชียงรำย
จังหวัดเชียงรำย พุทธสถำน ธุดงค์วัดพระธำตุดอยอินทรีย์ (วัดดอยอินทรีย์)
เป็นโครงกำรพัฒนำป่ำ ไม้ (โครงกำรพระสงฆ์ช่วยงำนด้ำนป่ำไม้) โครงกำรน้ี
ทำงกรมป่ำไม้ได้ เปิดโอกำสให้วัดหรือสำนักสงฆ์ได้เข้ำร่วมโครงกำรดูแลป่ำไม้
รักษำปำ่ ไม้ และให้เปน็ สถำนท่ีปฏบิ ตั ิธรรม โดยโครงกำรพระสงฆ์ชว่ ยงำนป่ำไม้
ได้เริม่ ต้น เมอื่ วันที่ ๒๕ ตุลำคม ๒๕๔๘ ตำมพระรำชบัญญตั ปิ ่ำไม้ อย่ำงถูกตอ้ งตำม กฎหมำยป่ำ ปัจจุบนั ไดม้ ีพระสงฆ์
ประชำชน ทวั่ ไป ทงั้ ภำครัฐและเอกชน เขำ้ ร่วมปลูกป่ำ ปฏิบัตธิ รรมเป็นจำนวนมำก และในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ชำวบ้ำนในตำบล
ดอยฮำง ร่วมกับองค์กำรบริหำรส่วนตำบลดอยฮำง สำนักบริหำรพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี ๑๕ กลุ่มปฏิบัติภำรกิจบริหำรงำน
ด้ำนป่ำไม้เชียงรำย สำนักงำนพระพุทธศำสนำจังหวัดเชียงรำย พุทธสมำคมจังหวัดเชียงรำย และจังหวัดทหำรบกเชียงรำย
ได้ร่วมกันสร้ำงพระพุทธรูปปำงตรัสรู้ โดยมีหน้ำตักกว้ำง ๑๐.๐๔ เมตร สูง ๑๕.๑๐ เมตร และพระเจดีย์ฐำนกว้ำง ๑๓ x ๑๓
เมตร สงู ๑๐ เมตร เพือ่ เป็นศนู ย์รวมจิตใจของชำว เชียงรำย ต่อไป
๗. สวนสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ฯ เชียงราย
ต้ังอยู่ห่ำงจำกตัวเมอื งเชียงรำยประมำณ๔ กิโลเมตร บนเส้นทำงเชียงรำย-แมจ่ นั
เข้ำไปทำงด้ำนหลังมหำวิทยำลัยรำชภัฏเชียงรำย สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์
เชียงรำย ล้อมรอบด้วยพื้นน้ำและพื้นดินท่ีเป็นทุ่งนำ หมู่บ้ำน ป่ำสงวน รวมทั้ง
พื้นท่ีของมหำวิทยำลยั รำชภัฎเชยี งรำย ไกลออกไปจะเหน็ ภูเขำสีเทำครำมล้อมรอบ
และใกล้ ๆ มีเนินเต้ีย ๓ เนินและพื้นท่ีรำบสวยงำม บนเนินมีต้นสุพรรณิกำร์หรือ "ฝ้ำยคำ" เป็นจำนวนมำก เม่ือถึงฤดู
ออกดอกจะเหลืองสดใสสะพรัง่ น่ำประทับในพ้นื ทีม่ ีหนองน้ำใหญ่เรียกว่ำ "หนองบวั ใหญ"่ และหนองเลก็ เรียกวำ่ "หนองบัวน้อย"
ยำมเช้ำและเย็นเมื่อพระอำทิตย์ทอแสง ผิวน้ำท่ีพล้ิวเป็นระลอกจะสะท้อนแสงอำทิตย์ด้วยสีสันที่งดงำมทำให้มีประชำชน
มำเท่ียวชมจำนวนมำก ตำมแนวแกนของสวนท่ีบนเนินจะมีพลับพลำที่ประทับเป็นสถำปัตยกรรมแบบเชียงรำยต้ังเดน่ เป็นสง่ำ
แลไปทำงหนองบวั ใหญซ่ ่ึงจะเห็น "อทุ ยำนดอกไม"้ ที่ปลุกไมด้ อกเมอื งหนำวเปน็ ขนั้ หลัน่ ลงไปตำมเนนิ จนชิดขอบหนอง
จุดเด่นอีกสวนหน่ึงของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ เชียงรำยคือ "ถนนดอกไม้" ที่ยำวหลำยร้อยเมตรเป็นแกนเชื่อม
ระหว่ำงหนองบัวใหญแ่ ละหนองบัวน้อย มีสวนปำล์ม สวนไผ่ สวนสัก และสวนรุกขชำติเป็นสว่ นประกอบสำคัญด้วย
ภำยในสวนมีศูนยว์ ิจัยและพฒั นำแพทย์พน้ื บำ้ นแผนไทยและแผนชนเผ่ำของสถำบันรำชภฎั เชยี งรำย มสี วนรวบรวม
พนั ธสุ์ มนุ ไพร พชื ผักพื้นบำ้ น ภำยในสวนมที ัศนยี ภำพสวยงำม บรรยำกำศร่มรื่น ในเนื้อท่ี ๖๒๐ ไร่ มหี นองบัวทีก่ ว้ำงขวำง
ถึง ๒๒๓ ไร่ ซ่ึงเป็นส่วนท่ีทำให้สถำนที่แห่งน้ี น่ำไปพักผ่อน หย่อนใจ เพรำะน้ำในหนองบัวใสเย็นและเต็มเปี่ยม
ตลอดปี บนพนื้ ทีร่ อบหนองบวั เป็นท่ีตัง้ ของพลับพลำ ศำลำพกั แดด และมสี วนปำลม์ สวนไผอ่ ยู่บนทลี่ ำดเนนิ เขำ
๘. อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแมฟ่ า้ หลวง (ไรแ่ มฟ่ ้าหลวง)
เป็นมูลนธิ ิ ตง้ั อยูท่ ห่ี มบู่ ำ้ นป่ำงิ้ว ตำบลรอบเวียง หำ่ งจำกตัวเมอื งเชียงรำย
ประมำณ ๔ กิโลเมตร โดยใช้เส้นทำงผ่ำนหนำ้ คำ่ ยเมง็ รำยมหำรำชไปทำงวดั ฮอ่ งล่ี มพี ืน้ ท่ี
๑๕๐ ไร่ เดมิ รู้จักกันในนำม "ไร่แม่ฟ้ำหลวง" เคยเปน็ สำนกั งำนของมลู นธิ สิ ่งเสรมิ
ผลผลิตชำวเขำไทยฯ ( ช่ือเดมิ ของมูลนธิ ิแมฟ่ ้ำหลวงฯ ) และยังเปน็ สถำนท่ี "ปลูกคน"
ในโครงกำรผนู้ ำเยำวชนชำวเขำ ระหว่ำงปี ๒๕๒๒-๒๕๒๘ เพอื่ สนับสนนุ ด้ำนสถำนทีพ่ ัก
สำหรับเยำวชนชำวเขำจำกถิ่นห่ำงไกลให้ได้รับกำรศึกษำโดยนำเยำวชนเหล่ำน้ันมำอยู่รว่ มกันในลักษณะครอบครัว ช่วยกัน
ทำงำน ปลูกผัก ทำอำหำรด้วยกัน เพื่อฝึกกำรพึ่งพำตัวเอง กำรอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น และกำรช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ซ่ึงจะ
ปูพื้นฐำนให้พวกเขำมีควำมเสียสละขยัน และเป็นผู้นำที่มีคุณธรรมต่อชุมชนพวกเขำในอนำคต ต่อมำ โครงกำรน้ีได้สิ้นสุด
เมื่อกำรศกึ ษำภำคปกติของไทยขยำยเข้ำไปในพื้นที่หำ่ งไกลแล้ว เยำวชนจึงมีโอกำสไดเ้ รียนในโรงเรียนไกลบ้ ้ำน ไร่แม่ฟำ้ หลวง
จึงเปล่ียนเป็น "อุทยำนศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้ำหลวง" เพื่อเป็นศูนย์กลำงด้ำนศิลปวัฒนธรรมล้ำนนำ สถำนท่ีเก็บรักษำและ
ให้ควำมรเู้ กี่ยวกับงำนพุทธศลิ ป์เก่ำแก่ สถำปตั กรรมลำ้ นนำ ศิลปวตั ถจุ ำกไมส้ ักและโบรำณวัตถุอำยกุ ว่ำศตวรรษ รวมถึงเป็น
ทจี่ ดั แสดงนิทรรศกำรหมุนเวียนของศลิ ปนิ ดำ้ นต่ำง ๆ ภำยในประกอบดว้ ย หอคำหลวง หอคำน้อย ศำลำแก้ว และหอแก้ว

10

๙. วนอทุ ยานนา้ ตกขนุ กรณ์
น้ำตกท่ีสูงและสวยที่สุดของจังหวัดเชียงรำยชำวบ้ำนเรียกว่ำ

"น้ำตก ตำดหมอก" มีควำมสูงถึง ๗๐ เมตร สองข้ำงทำงท่ีเดิน
เข้ำสู่น้ำตกเป็นป่ำเขำธรรมชำติร่มร่ืน นำตกขุนกรณ์ ตั้งอยู่ท่ี
หน่วยพิทักษ์อุทยำนแห่งชำติลำนำ้ กกท่ี ๑ (น้ำตกขุนกรณ์) ตำบล
แม่กรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงรำย น้ำตกแห่งนี้ข้ึนช่ือว่ำเป็น
น้ำตกทีส่ วยท่สี ดุ ในจังหวัดเชียงรำย มีควำมสงู ประมำณ ๗๐ เมตร
นอกจำกน้ียงั มีเส้นทำงศึกษำธรรมชำติเหมำะสำหรบั ผู้ทีต่ ้องกำร
ศึกษำทำงด้ำนธรรมชำติ เพรำะสภำพป่ำบริเวณน้ำตกขุนกรณ์มีควำมอุดมสมบูรณ์และมีควำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพสูง กำรเดินทำง ห่ำงจำกตัวเมืองเชียงรำยประมำณ ๓๓ กิโลเมตร สำมำรถเดินทำงด้วยรถสองแถวประจำ
ทำงสำยเชียงรำย-ปำงริมกรณ์ หรือโดยรถยนต์ส่วนบุคคลตำมทำงหลวงหมำยเลข ๑ ประมำณ ๑๓ กิโลเมตรถึง
บ้ำนร่องขุ่น และเล้ียวขวำไปตำมทำงหลวงหมำยเลข ๑๒๐๘ ประมำณ ๕ กิโลเมตรจนถึงบ้ำนสวนดอกแล้วเลย้ี ว
ซำ้ ยตำมทำงหลวงหมำยเลข ๑๒๑๑ ประมำณ ๓ กโิ ลเมตร จนถึงสำมแยกบ้ำนใหม่เล้ียวขวำเขำ้ น้ำตกขนุ กรณ์ตำม
ทำงหลวงหมำยเลข ๑๒๐๘ ประมำณ ๑๒ กิโลเมตร จำกน้ันเดนิ ทำงด้วยเทำ้ ขนึ้ ถงึ ตวั นำ้ ตกประมำณ ๑.๔ กโิ ลเมตร

๑๐. แมน่ า้ กก
เปน็ แม่นำ้ ท่ีไหลผ่ำนตวั เมอื งเชียงรำย มคี วำมยำวรวมทั้งส้ินประมำณ

๑๓๐ กิโลเมตร แม่น้ำกกคือแม่น้ำท่ีคอยหล่อเลี้ยงชำวเชียงรำย และมี
ต้นน้ำอยู่ในบริเวณเทือกเขำชำยแดนพม่ำ ไหลเข้ำเขตไทยท่ีท่ำตอน
ไหลผ่ำนตัวเมืองเชียงรำยไปบรรจบกับแม่น้ำโขงท่ีบ้ำนสบกก เชียงแสน
มีควำมยำวรวมท้ังสิ้น ๑๓๐ กิโลเมตร แม่น้ำแห่งน้ีมีควำมสำคัญต่อ
วัฒนธรรมลำ้ นนำในอดีต เนื่องจำกมีกำรคน้ พบกำรตง้ั เมอื งโดยรอบลำน้ำ
ปัจจุบนั แม่น้ำกกแห่งน้ีมีทัศนียภำพที่สวยงำมเหมำะสำหรับกำรพักผ่อนหย่อนใจ กิจกรรมน่ำทำ กำรล่องเรอื ไป
ตำมลำน้ำกก เพื่อชมธรรมชำติสองฟำกฝั่งน้ำ โดยเร่ิมจำกท่ำเรือสะพำนแม่ฟ้ำหลวงในตัวเมืองเพื่อท่องเที่ยวชม
ทัศนียภำพของแม่น้ำกก ซึ่งสองฝ่ังเป็นธรรมชำติท่ีสวยงำม นอกจำกน้ี ยัง สำมำรถแวะชมหมู่บ้ำนชำวเขำต่ำง ๆ ไปยัง
บ้ำนกะเหรี่ยงรวมมิตร หมูบ่ ำ้ นทอ่ งเที่ยวที่เตรียมกิจกรรมขขี่ ้ำงชมวิถีชำวเขำต้อนรับนักท่องเท่ียว ไม่วำ่ จะเปน็ ชำวอีก้อ
ชำวลีซอ ลำหู่ ไทลือ้ ม้ง นอกจำกน้ยี ังมีกำรแสดงวัฒนธรรมชนเผ่ำ รำ้ นจำหน่ำยของที่ระลึก และโฮมสเตยไ์ ว้บริกำร
๑๑. ทวั ร์ช้างกระเหร่ียงบ้านรวมมิตร
ต้ังอยู่ท่ีหมู่ ๖ ตำบลแม่ยำว อำเภอเมืองเชียงรำย จังหวัดเชียงรำย อยู่
ห่ำงจำกตัวอำเภอ ประมำณ ๑๙ กิโลเมตร โดยใช้เส้นทำงร่องเสือเต้น - ห้วยขม
และต่อด้วย เส้นทำงทรำยมูล-รวมมิตร นักท่องเท่ียวสำมำรถเดินทำงโดยรถยนต์
ส่วนตัว รถยนต์โดยสำร รถทัวร์ กำร เดินทำงสะดวกสบำยเพรำะเป็น
ถนนลำดยำงจนถึงหมู่บำ้ น หรอื เดินทำงโดยทำงเรือก็ได้ มีท่ำเทียบเรอื สำหรับ
นกั ท่องเทีย่ วทีม่ ำจำกจังหวดั เชียงใหม่ และตัวเมอื งเชียงรำย มที ข่ี นึ้ ช้ำงตดิ กับแมน่ ้ำกก นกั ท่องเท่ยี วสำมำรถนง่ั ชำ้ งเท่ียว
ภำยในหมู่บ้ำน เพื่อชมประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและ ควำมเป็นอยู่ของชนเผ่ำต่ำง ๆ เช่น กระเหร่ียง ลำหู และอำข่ำ
ตลอดจนซื้อของท่ีระลึก ของฝำกท่ีทำโดยฝีมือ ของชำวเขำเผ่ำต่ำง ๆ ท่ีมีไว้ให้บริกำรอย่ำงหลำกหลำย นอกจำกนั้น
ยังสำมำรถนงั่ ช้ำงทวั ร์ป่ำไปเท่ียวน้ำตก ห้วยแมซ่ ้ำย ระหว่ำงทำงท่ำนจะได้ชมควำมงดงำมของ ธรรมชำติและสูดอำกำศ
ที่บริสุทธิ์ นอกจำกน้ันยังผ่ำนหมู่บ้ำนชำวเขำเผ่ำต่ำงๆ เช่น อำข่ำ ลำหู เย้ำ กระเหรียง และ จะได้เห็นขนบธรรมเนียม
ประเพณีวฒั นธรรมของชนเผ่ำด้วย

11

๑๒. น้าพุรอ้ นหว้ ยหมากเลย่ี ม
เป็นแหล่งน้ำพุร้อนธรรมชำติท่ีมีอุณหภูมิควำมร้อนประมำณ

๖๗ องศำ เซลเซียส มีที่ตั้งอยู่ภำยในวนอุทยำนน้ำตกห้วยแก้ว
บ่อน้ำร้อนห้วยหมำกเล่ียม บ้ำนผำเสริฐพัฒนำ หมู่ท่ี ๕ ตำบลดอย
ฮำง อำเภอเมืองเชียงรำย จังหวัดเชียงรำย ห่ำงจำกอำเภอ
เมืองเชียงรำย ประมำณ ๒๐ กิโลเมตร สำมำรถเดนิ ทำง โดยรถยนต์
รถจักรยำนยนต์ ทำงลำดยำงตลอดสำยหรือเดินทำงโดยเรือจำก
ท่ำเรือสะพำนแม่ฟ้ำหลวง ข้ึนไป ตำมลำน้ำกกประมำณ ๒๐ นำที
ก็ถึงท่ำเรอื บริเวณน้ำพรุ ้อนท่มี พี น้ื ทป่ี ระมำณ ๕๐๐ ไร่

เปน็ บ่อนำ้ รอ้ นริมแมน่ ำ้ กก ปจั จุบนั เปน็ ที่ตั้งของทท่ี ำกำร อช. ลำน้ำกก เป็นทีร่ ู้จักของนักท่องเทีย่ วล่องเรอื ตำม
ลำนำ้ กกมำนำน มีทวิ ทัศนส์ วยงำมร่มร่นื ในหน้ำแลง้ จะมโี ปรแกรมขี่ชำ้ งเท่ียว โดยชำ้ งจะพำข้ำมลำน้ำกกไปยังบ่อ
น้ำร้อน บริกำรให้แช่น้ำแร่ บ่อน้ำร้อนห้วยหมำกเล่ียมเป็นบ่อน้ำร้อนขนำด เส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณ ๕ ม. มีน้ำร้อน
ผุดขึ้นมำช้ำๆจำกน้ัน จะไหลเป็นห้วยเล็กๆไปยังบ่อซเี มนต์ที่ทำไว้สำหรับให้ลงแช่โดยเฉพำะ บ่อน้ำร้อนมอี ณุ หภูมิ
๖๗ องศำเซลเซส มแี รธ่ ำตุฟลอู อไรด์ ไนเตรด ซัลเฟต ไอโอดนี ในระดับที่ไม่เปน็ อนั ตรำย มหี ้องอำบนำ้ สว่ นตวั ๓๐ ห้อง
และมีสระน้ำอุ่นแบบแช่รวม มีบ้ำนพักติดน้ำกกจำนวนสำมหลัง ลำนกำงเต็นท์พักแรม ห้องน้ำ และมีร้ำนอำหำร
เคร่อื งดื่ม ไว้คอยบริกำรนักทอ่ งเท่ยี ว

๑๓. โบราณสถานถา้ พระ
อยู่ห่ำงจำกตัวอำเภอเมืองเชียงรำย ประมำณ ๕ กิโลเมตร

ลักษณะเป็น ภูเขำหินลูก เดียว สูงประมำณ ๘๐๐ เมตร ตั้งอยู่
ริมแม่น้ำกกตรงข้ำมกบั หำดเชียงรำย ถ้ำนั่งเรือผ่ำนสำมำรถ มองเห็น
ทัศนียภำพบริเวณโดยรอบภำยนอกถ้ำ ภำยในถ้ำพระ มีพระพุทธรูป
องค์ใหญ่เป็นพระประธำน และ ยังมีพระพุทธรูปบูชำอีกหลำยองค์
นอกจำกนี้ ในถำ้ ยงั มหี นิ ยอ้ ยท่สี วยงำม
และมีค้ำงคำวอยู่เป็นจำนวนมำก นอกจำกถ้ำพระแล้ว ภำยในภูเขำหินยังมีถ้ำอ่ืน ๆ อีก ได้แก่ ถ้ำช้ำง ล้วง ถ้ำลม
และถ้ำหวำย บริเวณถ้ำยังคงสภำพของธรรมชำติสวย สดงดงำม มีทำงเดินรอบภูเขำ สำมำรถเท่ียวชมเดินวนไป
ตำม ถ้ำต่ำง ๆ พอสุดท้ำยจะมำบรรจบท่ีถ้ำพระที่อยู่บริเวณ ด้ำนหน้ำซง่ึ เป็นจุดเริม่ ต้น ใช้เวลำประมำณ ๒ ชั่วโมง
และควร เตรียมอุปกรณ์ในกำรเดินทำงให้พร้อม นอกจำกน้ี บริเวณถ้ำพระยังเป็นแหล่งประวัติศำสตร์
ทพ่ี ระบำทสมเดจ็ พระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หวั รชั กำลท่ี ๗ เคยเสดจ็ ประพำส เมื่อวันท่ี ๑๖ มกรำคม ๒๔๖๙
๑๔. วดั ร่องขนุ่
ตั้งอยู่ที่บ้ำนร่องข่นุ ตำบลป่ำอ้อดอนชัย กิโลเมตรที่ ๘๑๗
ก่อนถึงตัวเมือง ๑๒ กิโลเมตร กำรออกแบบและสร้ำงโดย
อำจำรย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ลักษณะเด่นของวัด คือ
พระอโุ บสถถูกแต่งดว้ ยลวดลำย กระจกสี เงินแวววำว เปน็ เชิงช้ัน
ลดหลน่ั กนั ไป หน้ำบันประดบั ด้วยพญำนำค มงี วงงำดูแปลกตำ
เป็นท่ีน่ำสนใจ ภำพจิตรกรรมฝำผนังภำยในพระอุโบสถเป็น
ฝมี อื ภำพเขยี นของอำจำรย์เอง

12

กำรขับซอ
“ซอ” เปน็ ศิลปะการขับขานของล้านนาทมี่ ีมานานเปน็ สอ่ื พนื้ บ้าน

แขนงหน่ึง เน้ือหาสาระที่ช่างซอนามาส่ือนั้นมีหลาหลายท้ังเรอื่ งราวใน

ท้องถ่ิน ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต เหตุการณ์

สาคัญ ในช่วงเวลา ต่าง ๆ รวมถงึ บทซอซึ่งแตง่ ขน้ึ ใช้เฉพาะงานประเพณี

ต่าง ๆ เช่นงานบวช งานข้ึนบ้านใหม่ งานปอยข้าวสังข์ งานปอยหลวง

เปน็ ตน้ ในอดีตไม่มสี ิง่ อานวยความสะดวก ไม่มสี ถานบันเทิงมากดังเช่น

ปัจจุบัน นอกจากการแสดงลิเก และซอเท่าน้ัน ดังน้ันทางเลือกของคน

สมัยก่อนโดยเฉพาะคนล้านนา จึงชอบท่ีจะฟังซอ และดูการแสดงซอ

เป็นสว่ นใหญเ่ พราะเป็นภาษาท้องถ่ิน

ซอ คือ ศิลปะการแสดงประเภทหน่ึงของล้านนา มีลกั ษณะของการขับลา

นาหรือการขับร้องด้วยถ้อยทานองต่าง ๆ อันไพเราะเป็นศิลปะการแสดงด้าน

การขับขานพืน้ บ้านล้านนาที่พบทางภาคเหนือตอนบน ซอเปน็ สือ่ พ้ืนบ้านที่ให้

ความบนั เทิงและเนื้อหาสาระทน่ี ามาเป็นบทขับร้องเปน็ องค์ความรู้ทไ่ี ดร้ ับการ

ถ่ายทอดมาจากพ่อครู แม่ครู และการนาเหตุการณ์บ้านเมืองมาร้อยเรียงเป็น

บทขบั ขาน เนือ้ หาจะแผงคติธรรม และคติโลก คือมีทง้ั สาระและบันเทงิ อยู่ในบทซอ

คาว่า “ ซอ ” ในท่นี ี้เป็นภาษาคาเมือง ภาษาถน่ิ เหนือ มคี วามหมายว่า ขบั

ขบั ร้อง รอ้ งเพลง หรือเพลงพนื้ บา้ นล้านนาชนิดหนึ่ง มีผใู้ ห้ความหมายไว้หลายท่าน

ดว้ ยกัน ( ทรงศักดิ์ ปรางวัฒนากุล ๒๕๒๓, สงิ ฆะ วรรณลยั ๒๕๒๔, มณี พนมยงค์

๒๕๒๙ เรืองเดช ปันเขื่อนขัติย์ ๒๕๒๙, ยงยุทธ ธีรศิลป์และทวีศักด์ิ ปิ่นทอง

๒๕๓๕ ) สรุปไดว้ า่ ซอ หมายถึง การรอ้ งเพลงพืน้ บ้านของล้านนาหรือเมืองเหนือ

ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซอพ้ืนเมือง เป็นการละเล่นพื้นเมืองล้านนาอย่างหนงึ่

ของชาวล้านนามีทั้งการซอโต้ตอบกันในลักษณะเพลงปฏิพากย์ระหว่าง หญิง

ตวั อย่ำงกำรประพนั ธ์บทขับซอ หรือซอเด่ียว เพ่ือเล่าเร่ืองพรรณนาเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยมีเคร่ืองดนตรีพื้นเมือง
เช่น ปี่จุม ซึง สะล้อ ขลุ่ย บรรเลงประกอบ ได้รับความนิยมในเขต ๘ จังหวัด

ภาคเหนือ และบางสว่ นของจงั หวัดสโุ ขทัย อตุ รดิตถ์ และตาก

คำศพั ท์เกย่ี วกับซอ

ในหนงั สือเรอื่ ง ซอ เพลงพน้ื บา้ นล้านนาฯ มคี าศัพทเ์ ฉพาะเก่ยี วกับซอทค่ี วรทราบ หรอื จะไดเ้ ขา้ ใจเร่ืองราวของ
ซอในหนังสือเลม่ นี้ไดง้ า่ ยขนึ้ คาศัพท์เหล่านเี้ ป็นคาเมอื ง เปน็ คาในภาษาถ่นิ เหนือ สามารถเขา้ ใจความหมายได้ไม่
ยากนัก ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้
๑. ชา่ ง หมายถงึ ทาได้ ทาเป็น
๒. ช่างซอ หมายถึง ผู้ขบั รอ้ งเพลงซอได้ ซอเปน็ หรือพอ่ เพลง แมเ่ พลงซอ ช่างซอมีทั้งชา่ งซอชายและชา่ งซอ
หญงิ ขบั ซอโต้ตอบหรอื รอ้ งเสริมความกนั แก้ความกัน บางคร้ังซอเด่ียวในเรื่องใดเรือ่ งหนงึ่ ช่างซอคณะหนง่ึ ๆ มี

หวั หนา้ คณะ ๑ คน มีคู่ถ้อง ๑ คน มนี ักดนตรี ๑-๔ คน มีลูกคู่ประกอบอีก ๑-๓ คน สว่ นใหญ่จะเป็นลูกศิษยท์ ี่
ตดิ ตามเพ่ือเรียนรู้การขับซอ ทาหน้าท่ีซอประกอบบ้าง ฟ้อนประกอบให้บรรยากาศครืน้ เครงบ้าง นบั วา่ เปน็ การ
๓. นายสมเป็นช่างซอชาย เมื่อซอคู่กบั นางบวั ผาเป็นช่างซอหญงิ ทงั้ นายสมและนางบัวผาเป็นค่ถู อ้ งกัน ช่างซอ
ทีเ่ ป็นคู่ถ้องกันมักจะขับซอในลกั ษณะทีฝ่ ่ายหน่งึ เปน็ ฝา่ ยถาม อกี ฝา่ ยหนึง่ เปน็ ฝา่ ยตอบ หรือฝ่ายหน่งึ พูด ฝา่ ยหนง่ึ เสรมิ

13

๔.ชา่ งซงึ เปน็ คาท่ีใช้เรียกนกั ดนตรีทท่ี าหนา้ ที่ทาที่ดดี ซึงบรรเลงประกอบการซอ
๕. ชา่ งปี่ เป็นคาที่ใชเ้ รียกนกั ดนตรีทท่ี าหนา้ ที่เปา่ ปี่จมุ บรรเลงเพลงประกอบการซอ เท่าทพ่ี บเหน็ เปน็ ผชู้ าย
ล้วน มีจานวนเท่าปจ่ี ุมทนี่ ามาเป่า

๖. เซย้ เปน็ คาอุทานที่ผฟู้ งั เปล่งออกมารบั การขับบทซอท่ตี นพงึ พอใจ ประทับใจแลว้ อุทานคาว่า “ เซ้ย ”
พรอ้ มลากเสยี งยาว ๆ เป็นขานรับบทซอนั้นๆ ไปในตัวดว้ ย การอุทานเปลง่ เสยี งลกั ษณะนช้ี ่วยสร้างบรรยากาศใน
การขับซอไดอ้ ยา่ งครนื้ เครง มีผู้กล่าววา่ ถา้ มีการเซ้ยแสดงวา่ ผ้ฟู งั ผู้ชม เกิดอารมณ์ร่วม หรือ อารมณส์ ะเทือนใจ

เป็นอย่างมากถึงขนั้ ใหเ้ งิน เป็นรางวลั แกช่ ่างซออีกด้วย
๗. ผาม เป็นปะราเล็ก ๆ ทสี่ รา้ งขน้ึ ช่ัวคราว เพือ่ ใชเ้ ป็นสถานที่ใหช้ ่างซอได้ต้ังวงซอ โดยยกพ้ืนข้ึนสูงประมาณ

๑-๒ เมตร มุงหลงั คาแบบงา่ ยๆ ดว้ ยคาหรอื ตองตึง ถา้ อาศัยร่มเงาจากตน้ ไม้ หรอื อ่นื ๆ กไ็ มต่ ้องมีหลังคา ผามมี
ความแขง็ แรงพอทีจ่ ะรบั นา้ หนักของผ้คู นได้ประมาณ ๑๐ คน บนผามปูด้วยเส่ือ มีเคร่ืองอานวยความสะดวก เช่น

คนโทนา้ เซี่ยนหมาก จานใสข่ องวา่ ง เชน่ เมย่ี ง เปน็ ตน้ แตถ่ า้ สถานทม่ี ีพอทจ่ี ะจัดเป็นสัดสว่ น ให้ช่างซอไดแ้ สดง

แลว้ ไมต่ อ้ งสร้างผามก็ได้

การซอเด่ียว เปน็ การขบั ซอเพยี งคนเดียว เรยี กว่า “ซอป็อด”

(ซอส้ัน ๆไม่มีดนตรีประกอบ) มักเป็นการซอเพื่อสังสรรค์เฮฮา

ลักษณะเป็นการราพึงราพัน และการอบรมส่ังสอน ปัจจุบันไม่

เป็นท่ีนิยม การซอคู่ เป็นการขับซอระหว่างช่างซอชาย ๑ คน

กับช่างซอหญิง ๑ คนในลักษณะการโต้ตอบ ซักถามกัน ส่วนใหญ่

ผซู้ อจะคิดคาร้องขึ้นสด ๆ ในขณะแสดง ซอคู่เป็นรูปแบบการซอ

แบบด้ังเดมิ ท่ใี ช้การอยา่ งแพรห่ ลายในงานบญุ ประเพณตี า่ ง ๆ

ลักษณะช่างซอ มี ๒ ชนิด คือ กำรขับซอทีม่ คี ่ถู ้อง
๑. ซอเด่ียว หรือ ซอป้อด คือการซอโดยคน ๆ เดียวเป็น โดยมีนักดนตรเี ล่นสด

ชา่ งซอชาย หรือหญิงกไ็ ด้นยิ มใชซ้ อเลา่ เรือ่ ง

๒. ซอถ้อง หรือซอมีคู่ถ้อง คือ การซอแบบปฏิพากย์

ซอโต้ตอบกันของช่างซอ เป็นช่างซอชายกับช่างซอหญิง หรือ

ช่างซอชายกับชาย หรือช่างซอหญิงกบั หญิง อย่างใดอยา่ งหนงึ่

กำรขบั ซอเดย่ี ว โดยใช้ดนตรปี ระกอบ
ซึ่งไมม่ นี กั ดนตรีเลน่ สด

ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัติมรดกภูมิปญั ญำทำงวฒั นธรรม
ชื่อ นำงบัวผนั ศรีพรม และนำงทำ วนั ดี
ท่อี ยู่ ๖๔ และ ๑๙๔ หมู่ ๔ บ้ำนทุ่งก่อ ตำบลทงุ่ กอ่

อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวัดเชยี งรำย ๕๗๒๑๐
หมำยเลขโทรศัพท์ -

14

รำโต

ศลิ ปะกำรแสดงรำนก รำโต หรือ รำก่งิ กะหร่ำ มีท่มี ำจำกเรือ่ งรำวในพุทธประวัติ
ตำมตำนำนของชำวไทใหญ่ที่เชื่อว่ำ เม่ือคร้ังพระพุทธเจ้ำเสด็จกลับจำกกำรแสดง
พระธรรมเทศนำโปรดพุทธมำรดำ ณ สวรรค์ชั้นดำวดึงส์ ขณะเสด็จกลับสู่โลก
มนุษย์น้ัน ได้มีพุทธศำสนิกชนพร้อมใจกันนำอำหำรไปทำบุญตักบำตรที่เรียกวำ่
ตักบำตรเทโวโรหนะ พรอ้ มกันน้นั เหล่ำบรรดำสัตว์หิมพำนต์ต่ำง ๆ เชน่ กินนร
กนิ นรี เปน็ ต้น ไดพ้ ำกันมำฟ้อนรำแสดงควำมยินดีในกำรเสด็จของพระพุทธเจ้ำ
ชำวไทใหญ่จึงได้นำเอำท่ำกำรร่ำยรำเลียนแบบอำกัปกิริยำของกินรีมำทำกำร
ฟ้อนรำท่เี รยี กวำ่ กง่ิ กะหรำ่ หรอื รำนก รำโต
ตัวนก มีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ ปีก หำง และลำตัว จะทำจำกโครงไม้ไผ่หรือหวำย และติดหุ้มด้วยผ้ำแพรสีต่ำง ๆ
ประดับกระดำษตัดเป็นลวดลำยท่ีสวยงำม ส่วนศีรษะจะมีกำรโพกผ้ำหรือสวมหมวกยอดแหลมแล้วแต่ควำมนิยม
ของแต่ละท้องถิ่น ส่วนกำรรำโตหรือก้ำโต เป็นกำรแสดงของสัตว์หิมพำนต์ที่มีลักษณะคล้ำยกวำงกำรรำโตจะใช้
ผแู้ สดง 2 คน เชดิ หุ่นและร่ำยรำตำมจงั หวะกลองอยำ่ งสนกุ สนำน
ชุดนกกิ่งกะหร่ำ ถือเป็นงำนฝีมือท่ีสะท้อนเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมชำวไทใหญ่ ที่มีจินตนำกำรดัดแปลงวัสดุใกล้ตัว
ให้กลำยเป็นเสมือนตวั กนิ นร หรอื กินนรี สัตวป์ ่ำหมิ พำนต์ตำมควำมเช่ือของคนในอดีต ทอี่ อกมำฟ้อนร่ำยรำต้อนรับสมเด็จ
พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำในเทศกำลวนั ออกพรรษำ โดยชดุ นกกงิ่ กะหร่ำน้นั ประกอบด้วยองคป์ ระกอบสำคญั คือ ปีก หำง และ
ลำตัว ปีกและหำงมีโครงสร้ำงที่ทำจำกไม้ไผ่ นำมำเหลำขึ้นเป็นโครงเย็บติดด้วยผ้ำสวยงำม อำทิ ผ้ำลูกไม้ ผ้ำแพร และ
ผูกโยงด้วยเชือก ให้ปีกและหำงสำมำรถกำงออกได้เหมือน ปีกนก โดยปีกและหำงผูกเชือกให้คล้องกับข้อมือ เพื่อใช้บังคับ
ในกำรร่ำยรำ สว่ นลำตวั สวมใส่เส้อื กำงเกงสีเดียวกนั ในอดีตชดุ นกกง่ิ กะหร่ำจะมปี ีกและหำงแยกกัน
ปัจจุบันบำงที่ทำให้ปีกและหำงเป็นชิ้นเดียวกันเพื่อสะดวกในกำรจัดทำ โดยสมัยก่อนนั้นจะใช้กระดำษสำมำย้อมสี
เอำมำตกแต่งให้เป็นลวดลำยให้ดูสวยงำม และให้ผู้ชำยท่ีสูงอำยุเป็นคนรำโดยจะใช้หน้ำกำกสวมใส่แทนกำรแต่งหน้ำ
ช่ำงผ้ทู ำส่วนใหญ่จะเป็น ผู้สอนท่ำรำในกำรฟ้อนนกกิง่ กะหรำ่ ไปพรอ้ มกนั ซงึ่ มเี ชอื้ สำยไทใหญ่ สง่ ต่อภูมปิ ัญญำทำง
ประเพณแี ละวัฒนธรรมอันดีงำมส่ชู นรุ่นหลังตอ่ ไป
กำรฟ้อนนกก่ิงกะหร่ำกำร “ฟ้อนนกก่ิงกะหร่ำ” ถือเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมเฉลิมฉลองเน่ืองในเทศกำลวันออกพรรษำ
ของชำวไทใหญ่ท่ีปฏิบัติสืบทอดกันมำหลำยรอ้ ยปี ด้วยเหตุท่ีชำวไทใหญ่นับถือศำสนำพทุ ธอยำ่ งเคร่งครัดเทศกำล
ออกพรรษำ ซ่ึงตรงกับวันข้ึน 15 ค่ำ เดือน 11 จึงเหมือนเป็นประเพณีท่ีชำวไทใหญ่ให้ควำมสำคัญเป็นอยำ่ งมำก
ด้วยถือเป็นวันท่ีพระพุทธเจ้ำเสด็จลงจำกสวรรค์ชั้นดำวดึงส์มำยังโลกมนุษย์ ดังเรื่องรำวพุทธประวัติท่ีเล่ำขำนกันไว้ว่ำ
ในวันออกพรรษำเปน็ วนั ท่สี มเด็จองค์พระสมั มำสัมพุทธเจ้ำเสด็จลงจำกสวรรค์ชั้นดำวดึงสม์ ำยังโลกมนษุ ย์ หลงั จำก
ท่ีพระองค์ไดเ้ สด็จไปจำพรรษำ และแสดงพระธรรมเทศนำโปรดเทพบุตรพุทธมำรดำซง่ึ อยู่สวรรค์ชั้นดุสิต แตล่ งมำ
ฟังพระธรรมเทศนำท่ีชั้นดำวดึงส์ ครั้นถึงวันปวำรณำออกพรรษำ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 พระพุทธองค์จึงเสด็จ
ลงสู่โลกมนุษย์ทำงบันไดทิพย์ทั้ง 3 ได้แก่ บันไดเงิน บันไดทอง และบันไดแก้ว ซึ่งสักกเทวรำช (พระอินทร์) ให้พระวิษณุกรรม
เนรมิตทอดจำกสวรรค์ช้ันดำวดึงส์สู่โลกมนุษย์ เม่ือควำมทรำบดังน้ันเหล่ำบรรดำสิงสำรำสัตว์น้อยใหญ่ในป่ำหิมพำนต์
แดนไกล และนักสิทธ์ิวิทยำธรรูปร่ำงแปลก ๆ รวมถึงมนุษย์ต่ำงก็ยินดีที่จะได้พบกับพระพุทธองค์ จึงมีกำรเตรียมกำร
แสดงไว้คอยตอ้ นรับดว้ ยพำกันมำฟอ้ นรำแสดงควำมยินดีในกำรเสดจ็ กลบั มำของพระพทุ ธเจำ้

ผทู้ ่ถี อื ปฏิบตั ิมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม
ชือ่ นำยทวสั แสนคำกอ้ น
ทอ่ี ยู่ บ้ำนสนั ปำ่ ก่อ ตำบลรอบเวียง

อำเภอเมอื งเชยี งรำย จังหวดั เชียงรำย ๕๗๐๐๐
หมำยเลขโทรศพั ท์ -

15

ขำ้ วสม้ ไทใหญ่ ขำ้ วปั้นชำตพิ ันธ์ุ
ชำวไทใหญ่ หรอื กลุ่มชนท่คี นในล้ำนนำเรียกว่ำ “เงย้ี ว” มีถ่ินฐำนอยู่
แคว้นรัฐฉำนของพม่ำ ชำวไทใหญ่มีควำมมีควำมเก่ียวข้องกับล้ำนนำ
มำตลอด เป็นควำมสัมพันธ์ทำงด้ำนเครือญำติ และวัฒนธรรม เช้ือสำย
ของรำชวงศ์มังรำยได้ปกครองเมืองไทใหญ่ และเช้ือสำยของไทใหญ่เคย
เป็นกษัตรยิ ป์ กครองล้ำนนำ คือ เจำ้ เมกฎุ สุทธิวงศ์ (เจ้ำแม่กุ) กษัตรยิ อ์ งค์
สุดท้ำยของรำชวงศ์มังรำยก่อนที่จะตกอยู่ภำยใต้กำรปกครองของพม่ำ
ในสมยั ตระกุลกำวลิ ะ เช้อื วงศ์เจำ้ เจ็ดตน ก็มีควำมสัมพนั ธ์ด้ำนเครอื ญำติ
กับเชื้อสำยเจ้ำฟ้ำหลวงไทใหญ่ แต่ในบำงยุคสมัยล้ำนนำไทยกับรัฐไทใหญ่ก็เกิดควำมขัดแย้งบำดหมำงกัน
โดยเฉพำะในชว่ งเวลำทีม่ หำอำนำจตะวันตกเขำ้ มำแทรกแซงทำงกำรเมืองในพทุ ธศตวรรษที่ 24-25

สำหรับอำหำรของชำวไทยใหญส่ ่วนใหญม่ กั จะปรงุ จำกพชื ผกั หรือยอดไม้เป็นส่วนใหญ่ เรยี กได้วำ่ เมอื่ ไดร้ ับประทำน
อำหำรไทยใหญ่แล้วไม่แตกต่ำงจำกกำรรับประทำนยำสมนุ ไพร อำหำรยอดฮิตสำหรบั ชำวไทยใหญ่ทม่ี มี ำยำวนำนคอื ถวั่ เน่ำ
หรอื เต้ำหถู้ วั่ เหลือง และยังมีอำรหำรต่ำงๆอีกมำกมำยทนี่ ำ่ รับประทำน เช่น ถว่ั พูอุ่น ข้ำวแรมฟนื ข่ำงปองมะละกอ เป็นต้น

“ข้ำวส้ม” ของชำวไทใหญน่ นั้ คือ กำรหุงขำ้ วเจำ้ ให้สกุ แลว้ นำไปคลุกกบั มะเขอื เทศลูกเล็กๆ ทเ่ี รยี กวำ่ มะเขอื สม้
เพรำะมีรสเปร้ียวกว่ำมะเขือเทศพันธุ์อื่นๆ โดยใช้รสเปรี้ยวหวำนธรรมชำติจำกมะเขือเทศ เพ่ิมโปรตีนด้วยกำรใส่
เน้ือปลำแม่น้ำลงไปคลุกให้เข้ำกัน หรือจะใส่มันฝร่ังต้มสุกแล้วบดลงไปด้วยกันก็ได้ แล้วป้ันเป็นลูก เป็นข้ำวปั้น
เวอร์ชน่ั ไทใหญท่ ่ีให้คุณคำ่ ทำงอำหำรพร้อมสรรพ

วิธีทำ เร่ิมจำกกำรเจียวกระเทียมให้เหลืองหอม แล้วใส่ผงขมิ้นลงไปผัดให้มีสีสัน ตักเอำกระเทียมแยกออกมำ
แล้วใส่มะเขือเทศและเน้อื ปลำหรอื หมูสับลงไปผัดในนำ้ มันกระเทียมเจียว ตรงนี้ถ้ำใครไม่สะดวกในกำรใช้เน้ือปลำ
จะใส่กุ้งแห้งปน่ แทนกไ็ ด้หรอื จะใส่ทุกอย่ำงก็ยิ่งอร่อย สำหรับคนกนิ มังสวิรตั ยิ ังสำมำรถพลิกแพลงใส่เหด็ แทนได้ด้วย
เติมน้ำนิดหน่อย ปรุงรสด้วยเกลือหรือน้ำปลำ ผัดจนมะเขือเทศและเนื้อปลำสุก จึงตักเอำเนื้อปลำมำแกะเอำก้ำง
และลอกหนงั ออก

จำกนัน้ หำชำมโคมมำ 1 ใบ ตักข้ำวสวยใส่แล้วใส่มะเขือเทศและเนอื้ ปลำลงไปคลุกให้เข้ำกนั ถ้ำจะใส่มันฝรงั่ บด
ดว้ ยก็ใสล่ งไปคลกุ ตอนน้ี พร้อมกบั น้ำจำกกำรผดั เครอื่ ง ปรุงรสด้วยเกลอื ชมิ รสตำมชอบ เม่อื ไดร้ สชำติถูกปำกแลว้
ก็ปน้ั เปน็ ลูกกลมขนำดใหญ่ เลก็ ตำมชอบ หรอื จะใส่พมิ พก์ ดเปน็ ทรงเกๆ๋ ไดต้ ำมควำมพอใจ

จัดเรียงข้ำวส้มใส่จำนให้สวยงำม โรยด้วยกระเทียมเจียวและ
ต้นหอมซอย สำหรับเวอร์ช่ันไทใหญ่แท้ จะขำดถั่วเน่ำไม่ได้ ให้นำถ่ัว
เน่ำแค็บไปป้ิงไฟแล้วป่นมำโรยหน้ำ เคียงด้วยพริกแห้งทอด ผักสดต่ำง
ๆ ตำมชอบ ท่ีเข้ำกันดีได้แก่ กระเทียมสด หอมแดง ต้นหอม ผักชี
แตงกวำ รำกชู แคบหมู และถั่วเน่ำแข็บป้งิ จะกนิ เพียงเท่ำนี้หรือกินกับ
กับขำ้ วอ่นื อย่ำงจิ้นลงุ ไกอ่ ุบ๊ หรอื แกงฮังเลก็เขำ้ กันดี

ผูท้ ถี่ อื ปฏิบตั ิมรดกภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม
ช่ือ สมำคมศลิ ปินปซี่ อล้ำนนำ เชียงรำย
ที่อยู่ สำนกั งำนวัฒนธรรมจังหวดั เชียงรำย ตำบลริมกก

อำเภอเมอื งเชียงรำย จงั หวัดเชียงรำย ๕๗๑๐๐
หมำยเลขโทรศัพท์ ๐๕๓ ๑๕๐๑๖๙

16

ผ้ำทอสนั ทรำย

ผ้ำทอสันทรำย เป็นมรดกภูมิปัญญำท่ีนำงบุหงำ จันหน่อแก้ว และ
นำงมอญ ยำวิชัย นำมำถำ่ ยทอดให้กบั คนในชุมชน ซงึ่ แต่เดิมท่ำน

ทั้งสองมภี ูมิลำเนำเป็นคนจงั หวดั นำ่ น และได้อพยพยำ้ ยถน่ิ ฐำนมำ
ตั้งรกรำกที่จังหวัดเชียงรำย จึงได้นำควำมรู้และทักษะกำรทอผ้ำ

นำมำประกอบเป็นอำชีพ โดยเร่ิมจำกกำรทอผ้ำพื้น จำกน้ันได้รับ
กำรสนับสนุนจำกสำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัดเชียงรำยในกำร
นำวิทยำกรมำให้ควำมรู้ในเร่ืองกำรออกแบบลวดลำยทำให้ผ้ำทอ

สนั ทรำยมเี อกลักษณ์ทีโ่ ดดเด่นเรอื่ งของกำรทอผ้ำลำยยกดอก
กำรยกดอก เป็นเทคนิคกำรทำลวดลำยในกำรทอผ้ำ ซ่ึงเกิดจำก

วิธีกำรยกและแยกเส้นไหม ในกำรทอต้องใช้เท้ำในกำรเหยียบเพื่อยก
ตะกรอสลับไปมำตำมลวดลำยที่กำหนดไว้ ผำ้ ยกดอกมีลกั ษณะเดน่ คอื
ในผนื ผำ้ จะมีลวดลำยในตัว โดยผวิ สัมผัส ผ้ำยกดอกจะมีควำมนูนของผืน

ผ้ำแต่ละชิ้นแตกต่ำงกัน ขึ้นอยู่กับลวดลำยแต่ละลำย บำงครั้งอำจมี
กำรจกฝำ้ ยเพมิ่ เติมเพ่ือเพม่ิ ลวดลำย ในกำรทอผ้ำยกน้นั จะทอยกลวด

ลำยใหน้ นู สูงข้ึนกวำ่ ผนื ผำ้ โดยเลือกยกบำงเสน้ และขม่ บำงเส้นแล้วพุ่ง
กระสวยไปในระหว่ำงกลำงด้วยด้ินเงิน หรือดิ้นทอง เดิมน้ันผ้ำยกดอก
ถือไดว้ ำ่ เป็นผำ้ โบรำณทอ่ี ดตี ใช้ในคุ้มเจำ้ หรอื ในรำชสำนกั เท่ำน้ัน

วัสดุ - อุปกรณ์
1. ฝ้ำย
2. กี่ทอผ้ำ ได้แก่ เครื่องทอผ้ำพื้นเมือง ท่ีเรียกว่ำ กี่ หรือ หูกทอผ้ำ,
ฟืม, เขำฟืม, ไม้เหยียบ, เขี้ยวหมำหรือฟันปลำ, ไม้หำบเขำ
และไม้หำบฟืน, มะลอ้ , หวั นก, กระสวยและหลอดไม้, ไม้สะป้ำน
3. เฟือขอ
4. กงกว๊ำง
5. เพียนป่นั ด้ำย
6. กระป๋องหรอื หลอดฝ้ำยขนำดใหญ่
ขันตอนกำรทอผ้ำ 7. บันไดลิง

1. นำเสน้ ด้ำยที่ยอ้ มแลว้ มำกรอใส่หลอด

2. นำไปโว้นกบั หลักเพ่ือให้ไดจ้ ำนวนเสน้ ด้ำยและควำมยำว

ตำมท่ีตอ้ งกำร ผทู้ ี่ถือปฏิบัติมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวฒั นธรรม
3. เสน้ ด้ำยที่โวน้ แล้วนำไปม้วนเขำ้ ลมู ชื่อ นำงบุหงำ จนั หนอ่ แกว้
4. นำเส้นดำ้ ยมำรอ้ ยตะกอ (เขำ) และฟนั หวี (ฟมื ) จนครบ ท่อี ยู่ 108 หมู่ 2 บ้ำนสันทรำยนอ้ ย

ตำมจำนวนเส้นด้ำยทก่ี ำหนดไว้ ตำบลสนั ทรำย อำเภอเมอื งเชยี งรำย
5. จำกนัน้ นำดำ้ ยพุ่งทเ่ี ตรยี มไวไ้ ปกรอใส่หลอดเล็กสำหรับ จงั หวัดเชยี งรำย ๕๗๐๐๐
ใส่กระสวยเพ่ือใช้ทอ หมำยเลขโทรศัพท์ 086 187 5791
6. เรมิ่ ทอผ้ำได้ตำมลำยทีก่ ำหนดไว้

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ วี ย ง ชั ย

พระธาตุศรีจอมเทพสวยเด่น
หนองหลวงแหล่งปลา
ดอนศิลาผาใหญ่

พระเจ้ากือนาลือไกล เวียงชัยข้าวดี

สภาวัฒนธรรมอำเภอเวียงชัย

18

อำเภอเวียงชัย

ประวตั ิควำมเป็นมำ

พงศาวดารหลายฉบับกล่าวว่า เม่ือราวปี พ.ศ. ๑๙๐๐ พระเจ้าไชยนารายณ์ โอรสองค์ที่ ๒ ของพญามังราย
ได้ทรงสร้างเมืองข้ึนอีกเมืองหนึ่งที่ต้าบลดอนมูล แม่น้าลาวหรือแม่น้ากาหลง เรียกชื่อเมืองว่า “เวียงชัยนารายณ์”
ตอ่ มาเมืองได้รา้ งไปเนอ่ื งจากภยั ของสงคราม จนกระทั่งถึงสมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ซง่ึ ปรากฏเร่ืองราวในประวตั อิ ีกว่า
เมืองรา้ งแห่งนั้นเรียกวา่ “ปงเวียงชยั ” อยหู่ ่างจากเมอื งเชียงรายไปทางทิศตะวันออกเฉยี งใต้ประมาณ ๘ กิโลเมตร
ไดม้ ีผคู้ นเรมิ่ ทยอยเข้าไปท้ามาหากินต้งั บ้านเรอื นจนกลายเปน็ หมู่บา้ นเรยี กวา่ “ปงเวยี งชยั ” ตอ่ มาราษฎรไดอ้ พยพ
เขา้ มาอยใู่ นพ้ืนท่ีนัน้ มากขึน้ จึงตง้ั เปน็ ตา้ บล เรยี กวา่ “ต้าบลเวยี งชยั ”

ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ได้แยกออกจากอ้าเภอเมืองเชียงราย
ต้ังเปน็ ต้าบลเวียงชัย ต้าบลทุ่งกอ่ ออกเป็นกง่ิ อา้ เภอต่อกระทรวงมหาดไทย
และในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ กระทรวงมหาดไทยได้ออกประกาศ ลงวันท่ี ๓๐
พฤษภาคม ๒๕๑๗ ให้แบ่งท้องท่ีอ้าเภอเมืองเชียงราย จ้านวน ๓ ต้าบล
คอื ต้าบลเวียงชัย ต้าบลทุง่ กอ่ ต้าบลผางาม ตง้ั ขน้ึ เปน็ กง่ิ อา้ เภออกี
แห่งหนึ่งเรียกว่า “ก่ิงอ้าเภอเวียงชัย” ตั้งแต่วันท่ี ๓๐ พฤษภาคม
๒๕๑๗ และยกฐานะเป็นอา้ เภอเม่ือวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๒๒ ต่อมา
เม่ือวันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๓๘ กระทรวงมหาดไทย ได้ออกประกาศแยก
ต้าบลทุ่งก่อ ต้าบลดงมหาวัน ต้าบลป่าซาง ออกจากอ้าเภอเวียงชยั
จัดตงั้ เปน็ “กิง่ อา้ เภอเวียงเชียงรุ้ง” ปัจจบุ ันอ้าเภอเวยี งชัย แบง่ เขต
การปกครองออกเป็น ๕ ต้าบล ๗๕ หมบู่ า้ น

แผนที่อำเภอเวยี งชัย

คำขวญั อำเภอเวยี งชัย

“พระธาตุศรจี อมเทพสวยเดน่ หนองหลวงเป็นแหล่งปลา
ดอนศลิ าผาใหญ่ พระเจา้ กือนาลอื ไกล เวียงชยั ข้าวดี”

ลกั ษณะทำงกำยภำพ

1. สภำพท่ัวไป
อ้าเภอเวียงชัย ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงราย โดยที่ว่าการอ้าเภอ ต้ังอยู่ที่
บ้านกลางเวยี ง หมู่ท่ี ๑ ต้าบลเวียงชัย อยู่ห่างจากตัวจังหวดั เชียงราย ประมาณ 12 กิโลเมตร มีทางหลวงจากตัว
จังหวัดเชียงราย ถงึ ทวี่ ่าการอ้าเภอเวยี งชยั จ้านวน ๓ เสน้ ทาง คอื
- เสน้ ทางจากแยกบา้ นหวั ดอย ต้าบลทา่ สาย ประมาณ ๑๓ กโิ ลเมตร
- เส้นทางแยกจากถนนพหลโยธิน วดั ศรีทรายมลู ประมาณ ๑๑ กิโลเมตร
- เสน้ ทางจากหา้ แยกพ่อขนุ เมง็ ราย ประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร
อำณำเขตตดิ ตอ่
- ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับอ้าเภอเวยี งเชยี งรุ้ง จังหวดั เชียงราย
- ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั อ้าเภอเมอื งเชียงราย จงั หวัดเชยี งราย
- ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั พญาเม็งราย จงั หวดั เชยี งราย
- ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อา้ เภอเมอื งเชยี งราย จังหวัดเชียงราย

19
เนอ้ื ที่
อา้ เภอเวยี งชัย มพี ื้นท่ีท้งั หมด ประมาณ ๓๑๘.๖๕ ตารางกิโลเมตร

๒. สภำพภูมปิ ระเทศ
พ้ืนท่ีโดยทั่วไปเป็นท่ีราบกวา้ ง มีภูเขาเรียงราย เป็นแนวเขตตดิ ต่อกบั อ้าเภอต่าง ๆ บางส่วนเป็นแนวเขา
ลอนลึกและลอนตื้นลาดชัน จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอ้าเภอ พ้ืนที่ ๔ ต้าบล อยู่ในเขตป่า
สงวนแหง่ ชาติ ป่าหว้ ยสกั และปา่ แม่กกฝ่ังขวา มรี ะดับความสูงจากนา้ ทะเลประมาณ ๔๒๐ เมตร

๓. ลกั ษณะภมู ิอำกำศ
อ้าเภอเวียงชัย มีลักษณะภูมิอากาศ โดยท่ัวไปเป็นแบบร้อนช้ืน สลับกับร่องมรสุมพัดผ่านมีอุณหภูมิเฉล่ีย
ตลอดปีประมาณ 25 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู สิ ูงสดุ ประมาณ 37 องศาเซลเซยี ส แบง่ ได้เปน็ 3 ฤดู ไดแ้ ก่
1. ฤดฝู น เร่มิ ประมาณช่วงเดือนพฤษภาคม - ตลุ าคม ของทุกปี โดยได้รบั อิทธพิ ลจากลมมรสุมตะวันตก
เฉยี งใต้เป็นส่วนใหญ่ และมีปริมาณน้าฝนโดยเฉลยี่ 1,660 มลิ ลเิ มตร (มม.) ต่อปี
2. ฤดูหนำว เร่ิมประมาณช่วงเดือนพฤศจิกายน - กมุ ภาพันธ์ ของทุกปี เปน็ ช่วงท่ีไดร้ บั อิทธิพลจากลมมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ซงึ่ ในชว่ งเดือนมกราคมจะเปน็ ช่วงทีม่ ีอุณหภูมติ า้่ สุดประมาณ 6 องศาเซลเซยี ส
3. ฤดูร้อน เร่ิมประมาณช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน ของทุกปี ช่วงปลายเดือนเมษายน - ต้นเดือนพฤษภาคม
เป็นช่วงทมี่ กั จะมลี มพายุและฝนตกรุนแรง มักจะมีลูกเหบ็ ตกเป็นบริเวณกว้าง และจะมีอณุ หภูมิสงู สุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส

แหล่งเรียนรู้

๑. พพิ ิธภณั ฑ์พน้ื บำ้ นตำบลเวียงเหนือ
การจัดท้าเกิดขึ้นจากการความต้องการของชุมชนโดยใช้พ้ืนท่ีของอาคารศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน ที่ตั้ง
อยู่ในโรงเรียนเวียงชัยพิทยา ซ่ึงเป็นอาคารท่ีเกิดข้ึนจากพระราชด้าริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แต่เดิมเป็นอาคารแบบเปิด ต่อมาท่านพระครูพิธานพิพัฒนคุณ เจ้าอาวาส
วัดพนาลยั เกษมได้ปรบั ปรงุ ให้เปน็ อาคารที่เหมาะสมต่อการจัดแสดงเร่ืองราวทางวฒั นธรรมของชุมชน
ภายในอาคารจัดแสดงแบ่งออกเป็น 5 โซน คอื
1. ข้อมูลแสดงพัฒนาการของชุมชนในรปู ของ time line
2. โต๊ะทรงงานของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมอื่ ครง้ั มาเยี่ยมชม
3. ปราชญ์ชมุ ขนตา้ บลเวยี งเหนอื
4. วัตถทุ างวัฒนธรรม วถิ ชี ีวติ ชุมชน และประเพณี
5. แหลง่ วฒั นธรรมและวิถีชวี ติ ชมุ ชนคนเวียงเหนอื
ทต่ี ั้ง โรงเรียนเวียงชยั พทิ ยา หมู่ 11 ตา้ บลเวียงเหนือ อ้าเภอเวียงชยั จงั หวดั เชยี งราย

๒. พิพธิ ภณั ฑ์พ้ืนบ้ำนวฒั นธรรมไทยวนคนเมืองล้ำนนำ
พิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านวัฒนธรรมไทยวนคนเมืองล้านนา หรือข่วง
วัฒนธรรม จัดต้ังโดยพ่อครูมานิตย์ เจริญเกษมทรัพย์ นับเป็นพิพิธภัณฑ์ท่ีมี
ชีวิต ด้วยกิจกรรมและรูปแบบการน้าเสนอวัฒนธรรมไทยวนหรือพ้ืนเมือง
ล้านนา ท่ีเน้นการถ่ายทอดความรู้ศิลปหัตถกรรมและการแสดงทางวัฒนธรรม
ศิลปะการแสดงของชาวล้านนาที่เป็นทั้งเอกลักษณ์ และความภาคภูมิใจ และ
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ซึ่งพ้ืนที่ส้าคัญในบริเวณของพิพธิ ภัณฑ์
ประกอบดว้ ย ๒ สว่ น ได้แก่ หอวฒั นธรรมข่วงวฒั นธรรม และหอซิ่น
ที่ตั้ง พพิ ิธภณั ฑ์พื้นบา้ นวัฒนธรรมไทยวนคนเมืองล้านนา บ้านเลขที่ ๑๒๑/๗ หมู่ ๑๓ บา้ นชยั นิเวศน์ ตา้ บล
เวียงชยั อา้ เภอเวียงชยั จังหวัดเชยี งราย

20
๓. พพิ ิธภัณฑ์วัดโบรำณเวยี งเดมิ
วัดโบรำณเวยี งเดิม เปน็ ทปี่ ระดิษฐานของพระพุทธรูปโบราณ ซ่งึ ชาวบ้านได้ขุดค้นพบ เมอื่ วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม
๒๕๑๕ ตรงกับข้ึน ๑ ค่้า เดือน ๙ เหนือ ปีชวด จุลศักราช ๑๓๓๔ เน่ืองจากได้ส่ังการให้ก้านัน ผู้ใหญ่บ้าน ทุกหมู่บ้าน
ในต้าบลเวียงเหนือ ร่วมกันพัฒนาถนนหนทางภายในหมู่บ้าน ซึ่งเดิมเป็นหลุมเป็นบ่อ นายวงค์ มโนวรรณ์ ผู้ใหญ่บ้าน
ในขณะนัน้ ได้ร่วมกบั ชาวบ้านน้าดินมาถมพืน้ ทที่ ่ีเปน็ หลุมเป็นบ่อ เพือ่ ใหพ้ ืน้ ท่เี สมอกัน ชาวบา้ นจงึ ไดไ้ ปขุดดินท่ีจอมปลวก
ในป่าละเมาะท่มี ีแต่ตน้ ไผ่ และกอ้ นอฐิ เกา่ ในบริเวณนนั้ ขณะท่ีขุดจอมปลวกอยู่น้ัน นายฟอง สุดา ไดข้ ดุ พบเศยี รพระพุทธรูป
และพบว่าเป็นพระพุทธรูปองค์ที่สมบูรณ์ พระพักตร์คล้ายพระสิงห์ปางมารวิชัย ความกว้างหน้าตัก ๗๓ นิ้ว สูง ๘๒ น้ิว
สร้างด้วยอิฐถือปูน และยังพบ แนวก้าแพงโบราณและซุ้มประตูโบราณอยู่ในบริเวณเดียวกัน คณะกรรมการวัดจึงได้แจ้งให้
กรมศิลปากร หน่วยที่ ๔ อ้าเภอเชียงแสน มาตรวจสอบและพบว่า พระพุทธรูปองค์น้ีสร้างในพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ อายุ
ไม่ต่า้ กว่า ๖๐๐ ปี จากการขุดค้นพบครั้งน้ที ้าให้ชาวบ้านสันนษิ ฐานว่าที่บริเวณแหง่ น้ีเคยเปน็ วัดร้างมากอ่ น จงึ พร้อมใจกัน
ตง้ั เปน็ อารามขนึ้ และได้ขออนญุ าตยกวัดร้างข้ึนเปน็ วดั มีพระสงฆ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยใช้ช่อื วา่ “วัดโบราณเวยี งเดมิ ”
นอกจากนี้ยังได้ขุดค้นพบของเก่าประเภทเคร่ืองใช้ อาทิ หม้อ
ชาม แจกัน รวมถึงพระพุทธรูป และเศียรพระพุทธรูปโบราณที่ท้าด้วยหินทราย
จงึ ไดร้ วบรวมและจดั แสดงอยู่ในพิพธิ ภณั ฑ์โบราณเวยี งเดมิ
ท่ีต้งั วัดโบราณเวียงเดิม หมู่ ๒ ตา้ บลเวียงเหนอื อ้าเภอเวียงชยั จังหวดั เชียงราย

๔. หอศิลปบ์ ำ้ นนำยพรมมำ
นายพรมมา อินยาศรี เกิดเม่ือวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๕ ณ จังหวัดล้าปาง
ปัจจบุ ันอายุ ๖๐ ปี อยู่บา้ นเลขท่ี ๗ หมู่ ๗ บา้ นโพธิช์ ยั ตา้ บลเวยี งเหนอื อา้ เภอเวียงชัย
จังหวัดเชียงราย จบการศึกษาจากคณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ลา้ นนา วิทยาเขตภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นศลิ ปินท่มี ีช่ือเสียงและเปน็ ทีร่ ู้จักของ
คนรักงานศิลปะ เป็นปราชญผ์ ู้มีความรภู้ มู ิปญั ญาในสาขาศิลปกรรมของจังหวัดเชียงราย
ท่ตี ง้ั หอศิลปบ์ า้ นนายพรมมา บา้ นเลขที่ ๗ หมู่ ๗ ตา้ บลเวียงเหนือ อ้าเภยเวียงชยั จังหวัดเชียงราย

แหลง่ ท่องเท่ียว

๑. พุทธสถำนพระเจำ้ กือนำ
พุทธสถำนพระเจ้ำกือนำ ต้ังอยู่ริมฝ่ังแม่น้ากก หมู่ ๘ ต้าบลเวียงเหนือ
อา้ เภอเวยี งชยั จังหวัดเชียงราย เป็นปชู นียสถานท่ีส้าคญั ของอ้าเภอเวียงชัย มีหลวงพ่อใหญ่
พระเจ้ากือนาเป็นท่ีเคารพสักการะของประชาชนท่ัวไป เป็นพระพุทธรูปศักด์ิสิทธิ์
องค์พระน้ันถูกห่อหุ้มด้วยรากไม้เกือบท้ังองค์ ท่ีส้าคัญพุทธสถาน แห่งน้ีปรากฏ
ในค้าขวญั ของอ้าเภอเวียงชัยทว่ี ่า “พระเจ้ำกอื นำลือไกล”

พทุ ธสถำนพระเจ้ำกอื นำ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปที่ชื่อว่า หลวงพ่อใหญ่พระเจ้ากอื นา พระพทุ ธรูปองค์นี้
กอ่ ด้วยอิฐถอื ปนู มีหน้าตักกวา้ ง ๖ ศอก สูง ๖ ศอกคืบ สรา้ งเม่ือ พ.ศ. ๑๙๒๘ มปี ระวัติโดยยอ่ คือ พระเจ้ากอื นาธรรมิกราช
หรือพญากอื นา พระมหากษัตริย์แห่งแควน้ ล้านนาล้าดับที่ ๖ แห่งราชวงศเ์ มง็ ราย ครองราชย์ระหวา่ ง พ.ศ. ๑๘๙๘ – ๑๙๒๘
พระเจ้ากอื นาเปน็ โอรสของพระเจ้าผาชู ผู้เป็นพระโอรสของพระเจ้าแสนภู พระเจ้าแสนภูเปน็ พระราชโอรสของพระเจ้าศรีชัย
สงคราม พระเจ้าศรีชัยสงครามเป็นพระราชโอรสของพญามังราย วีระกษัตรย์แห่งแคว้นโยนก และล้านนาในสมัยแรกสร้าง
พระเจา้ กอื นาเป็นกษัตรยิ ์ที่ทรงใฝ่พระทัยในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิง่ ในรัชสมยั ของพระองค์ได้สร้างพระธาตุดอยสุเทพ
สร้างวัดบุปผารามสวนดอก ได้นิมนต์พระสุมนเถระมาจากกรุงสุโขทัยมาตั้งปรบั ปรุงพระพทุ ธศาสนาในเชียงใหม่จนรุ่งเรือง
โดยที่พระองค์เป็นชาวเมืองเชียงแสน จึงไม่โปรดประทับอยู่ที่เชียงใหม่ ได้เสด็จกลับมาครองเมืองเชียงแสน ระหว่างเสด็จ
พระราชด้าเนินตามล้าน้ากก ได้สร้างพระพุทธรูปองค์นีเ้ ป็นท่ีระลีกไว้ ณ ที่ฝั่งแม่น้ากกน้ี พร้อมทั้งให้ข้าราชบริพารท้าการ
สร้างบ้านแปงเมือง เรียกว่า เวียงกือนำ พระพุทธรูปองค์น้ี จึงได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้ำกือนำ ด้วยเหตุผล
ดงั กลา่ ว

21
๒. หนองหลวง
หนองหลวง เป็นอ่างเก็บน้าตามธรรมชาติทม่ี ีขนาดท่ีใหญ่ที่สุดของจังหวัดเชียงราย มพี น้ื ท่ีประมาณ ๙,๐๐๐ ไร่ ตัง้ อยู่
ในพ้ืนท่ีของ ๓ ต้าบล ๒ อ้าเภอ คือ ต้าบลเวียงชัย อ้าเภอเวียงชัย จ้านวนกว่า ๑,๐๐๐ ไร่ ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอ
เวียงชยั จา้ นวนกวา่ ๑,๐๐๐ ไร่ และต้าบลห้วยสัก อา้ เภอเมืองเชยี งราย จา้ นวนกว่า ๖,๐๐๐ ไร่ ทัง้ นี้ บริเวณรอบปาก
อ่างเก็บน้าหนองหลวง มีเกาะปรากฏอยู่ท้ังหมด คือ เกาะแม่หม้าย เกาะดงมะเฟือง เกาะสันป่าเป้า เกาะสันกลาง
เกาะทองกวาว เกาะไหมเย็บ (เกาะแม่หยิบ) เกาะขนุน และ เกาะไผ่เหมย โดยที่ผ่านมามีชาวบ้าน และกลุ่มนักส้ารวจตรวจ
พบเสาวิหาร วดั โบราณสถาน ปากถ้า อยเู่ ลยจากฝ่ังอ่างเข้าไปในเขตเกาะแม่หม้าย ถึงเกาะดงมะเฟือง อกี ทัง้ ยังขดุ พบฆ้อง
โบราณขนาดใหญ่ จา้ นวน ๑๒ ใบ ในบรเิ วณหน้าศาลเจ้าแม่หนองหลวงเชียงราย จึงสันนษิ ฐานกนั ว่าอ่างเก็บน้าหนองหลวง
เป็นเมืองโยนกไชยบุรี ซึ่งล่มจมลงไปในสมัยพระเจ้ามหาไชยชนะ เม่ือพุทธศักราช ๓๗๐ โดยเหตุอาถรรพ์ที่ชาวเมืองฆ่า
และพากนั กนิ เน้อื ปลาไหลเผือก จนเกิดอาเพศแผ่นดิน ท้าใหเ้ มืองจมหายไปในสมัยอาณาจักรเชียงแสน (เป็นต้านานเล่าขาน
สบื ต่อกันมา)
หนองหลวง เป็นแหล่งน้าธรรมชาติที่ส้าคัญในการท้าเกษตร ประมง
เพาะเล้ียงสัตว์น้า และได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตรที่ส้าคัญ
ของอ้าเภอเวียงชัย ดว้ ยความร่วมมือรว่ มใจของคนในชุมชนทชี่ ่วยกนั พฒั นาเพ่ือ
ดึงดูดนักท่องเท่ียว โดยมีกจิ กรรมล่องแพ ปลูกป่า การป่นั จักรยาน และสะพาน
ไมไ้ ผใ่ หน้ ักท่องเท่ียวไดส้ ัมผัสกับวิถีชีวิตแบบธรรมชาตอิ ีกทั้งหนองหลวงยังเป็น
แหล่งวตั ถดุ ิบท่ีส้าคัญในการผลติ สินค้าขึ้นช่ือของอ้าเภอเวยี งชัย คอื ปลาส้ม
ซง่ึ เป็นผลิตภัณฑ์อาหารแสนอร่อยจากปลาที่เอกลักษณ์ของหนองหลวง ของฝากขึ้นชื่อท่ีใครเดนิ ทางมาต้องได้ชิมได้ซื้อ
ตดิ ไมต้ ิดมอื กลบั ไปเป็นของฝากอย่างแนน่ อน

๓. พระธำตศุ รีจอมเทพ
พระธาตุศรีจอมเทพ ต้ังอยู่ที่บ้านยกเจริญ หมู่ 8 ต้าบลเมืองชุม อ้าเภอ
เวยี งชัย จงั หวัดเชียงราย เป็นพระธาตุทีส่ ร้างอยปู่ ลายภูเขา ลอ้ มรอบดว้ ยธรรมชาติ
ซ่งึ สามารถมองเห็นภมู ทิ ศั นข์ องพนื้ ที่อ้าเภอเวียงชยั ไดท้ ัง้ หมด
พระธาตุศรีจอมเทพ ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์จนส้าเร็จเรียบร้อยแล้ว
ดว้ ยแรงศรทั ธาจากพอ่ ค้าประชาชน และผู้มจี ิตศรทั ธาไดร้ ่วมกันบรจิ าคให้การ
อุปถัมภ์ด้วยดีตลอดมา โดยไม่ได้ใช้งบประมาณจากทางราชการแต่อย่างใด ซ่ึงองค์พระธาตนุ ้ไี ด้ประดิษฐานอยู่บน
ยอดเขาสูง แลดูโดดเดน่ สงา่ งาม รอบฐานเจดียป์ ระดับประดาดว้ ยกระจกหลากสี เป็นประกายงดงาม ยามเมื่อพระ
อาทิตย์ส่องแสงมากระบท จะเกิดเป็นแสงสว่างส่องประกายระยบิ ระยับไปท่ัวอาณาบริเวณ และกว้างไกลออกไป
สุดสายตา
๔. วดั ถำ้ พระผำคอก
วัดถ้าพระผาคอก (ชื่อเดิม คือ วัดถ้าพระผางาม) ต้ังอยู่
หมู่ ๙ บ้านผางาม ต้าบลผางาม อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
บนเสน้ ทางระหว่างทตี่ ้งั อ้าเภอเวียงชยั ไปอ้าเภอพญาเม็งราย อยู่บน
ภูเขาเล็ก ๆ ท่ีสัปปายะ ซงึ่ ชาวบ้านแถบนน้ั เรียกว่า ผาคอก ในปจั จุบัน
ยังเปน็ ศนู ย์ปฏบิ ตั ิวิปัสสนากรรมฐานอีกด้วย

22
๕. อ่ำงเกบ็ น้ำชลประทำนแมต่ ำ๊ ก
ต้ังอยู่บริเวณ บ้านดอยงาม หมู่ 6 ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอ
เวียงชัย จังหวดั เชียงราย อา่ งเก็บน้าแมต่ ๊ากเปน็ อ่างเก็บน้าขนาดกลาง
ของกรมชลประทาน ที่สามารถกักเก็บน้าได้ 9,000,000 ลบ.ม.
เพื่อใช้ในการเกษตรกรรม พื้นท่ีตั้งอ่างเก็บน้าอยู่ในเขตพ้ืนที่ หมู่ 6
บา้ นดอยงาม หมทู่ ี่ 5 บ้านชยั พฤกษ์ และหมู่ 14 บา้ นใหม่สนั ตสิ ุข ตา้ บล

ดอนศิลา เป็นสถานท่ีที่ราษฎรบริเวณใกล้เคียงใช้เป็นแหล่งหาปลา
และเกษตรกรรม และเป็นสถานทพ่ี กั ผ่อนหยอ่ นใจโดยเฉพาะฤดูร้อน
มีทิวทัศน์ท่ีสวยงามมาก มีชาวบ้านมาต้ังร้านค้าขายของเป็นจ้านวนมาก
เพอ่ื บรกิ ารแก่นกั ท่องเทย่ี ว อยหู่ ่างจากดอยผาชา้ งประมาณ 4 กโิ ลเมตร
อยหู่ ่างจากอ้าเภอเวียงชัยประมาณ 16 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัด

๖. สวนพระรำชเสำวนยี ์ผำชำ้ ง

ดอยผาช้าง ต้ังอยู่บริเวณบ้านดอนเหนือ หมู่ 16 ต้าบล
ดอนศิลา อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรายเป็นภูเขาหินขนาดใหญ่
จ้านวน 3 ลูก โดดเด่นอย่กู ลางทงุ่ นา อยู่ในพน้ื ทีบ่ ้านดอน หมู่ 8 ตา้ บล
ดอนศิลา อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย ห่างจากอ้าเภอเวียงชัย
ประมาณ 12 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดเชียงราย ประมาณ
25 กิโลเมตร อยู่บนถนนสายหัวดอย - บ้านดอน - พญาเม็งราย - ต้า

(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1152 ช่วงกิโลเมตรท่ี 18 ถึง 19)
จากถนนใหญเ่ ข้าไปอีกประมาณ 1.5 กิโลเมตรก็จะถงึ บรเิ วณผาช้าง
ดอนศิลา แต่เดิมไม่มีถนนเข้าถึงการเดินทางต้องเดินเท้าเลียบ
ไปตามคันนา ในปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต้าบลดอนศิลา ได้ท้าการ
ตัดถนนลงดนิ ลกู รัง เขา้ ถึงบริเวณผาช้าง

บรเิ วณดอยผาชา้ งเป็นภูเขาหินปูน มตี ้นไม้ขน้ึ ปกคลมุ ไมม่ ากนัก ส่วนมากจะเปน็ ประเภทเถาวัลย์ และไม้
เบญจพรรณขนาดเลก็ และยังมีต้นจนั ผา ซึ่งขน้ึ บรเิ วณหน้าผาเป็นแหง่ ๆ บริเวณดอยผาช้างยังมถี ้าอีกหลายแหง่ เช่น
ถ้าพระ ถ้าปลา ถ้าค้างคาว ซ่ึงมีค้างคาวอาศัยอยเู่ ป็นจ้านวนมาก และมนี ้าลอดผา บริเวณดอยผาชา้ งมพี ื้นที่โดยรวม
ประมาณ 80 ไร่ ดอยผาชา้ งเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี วประจ้าตา้ บลดอนศลิ าซ่ึงอยใู่ กล้ชุมชนและมีความสวยงามทาง
ธรรมชาติ มีระยะทางรอบดอยผาช้างประมาณ 2.3 กโิ ลเมตร ลกั ษณะทางภูมปิ ระเทศมีลักษณะเป็นภเู ขาหินต้งั อยู่
กลางท่รี าบลุ่มลอ้ มรอบด้วยพนื้ ทก่ี ารเกษตรของราษฎร รอบผาช้างมถี ้าตามธรรมชาติอยู่หลายแห่ง เช่น ถ้าพระ ถ้าปลา
ถ้าบงึ่ (ถ้าค้างคาว) ถ้าสตางค์ และมีทางน้าตามธรรมชาตไิ หลลอดผ่านภูเขาเปน็ ความสวยงามและความมหัศจรรย์ทาง

ธรรมชาติมที างเดนิ ขน้ึ สู่ยอดผาได้ สามารถไตข่ น้ึ ไปเพ่อื ชมทศั นียภาพตา้ บลดอนศิลา และต้าบลผางามได้ทกุ มมุ มอง
7. นำ้ ตกหว้ ยคำ่

น้าตกห้วยค่า ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านใหม่ศรีวิลัย
หมู่ 17 ต้าบลดอนศิลา อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
เป็นน้าตกท่ีเพ่ิงถูกค้นพบใหม่ การเดินทางต้องเดินเท้า
เข้าไป เพื่อสัมผัสกับธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และความ

สวยงามของนา้ ตกแห่งนี้

23

“ค่ำว” วรรณกรรมลำ้ นนำ

ค่าวหรือค่าวซอเป็นวรรณกรรมที่สันนิษฐานว่า
เกิดขึ้นในช่วงระหว่าง พ.ศ.2300-2470 เพราะเป็น
ช่วงที่บ้านเมืองพ้นจากอ้านาจการปกครองของพม่า
วัฒนธรรมหลายอย่างรวมทั้งวรรณกรรมค่าว จึงได้รับ
การฟื้นฟูข้ึน ค่าวหรือค่าวซอเป็นวรรณกรรมที่สืบ
เนื่องมาจากธรรมค่าว โดยธรรมค่าวนั้นแต่งขึ้นเพื่อใช้
เทศน์ให้ชาวบ้านฟังท่ีวัด ผู้ที่ฟังธรรมค่าวก็ได้ข้อคิด
ปรัชญาหรือหลักธรรม ส้าหรับผู้ที่ไม่ได้ฟังธรรมค่าว
ก็ได้อาศัยฟังค่าวซอแทนเพราะค่าวซอมีเนื้อเรื่อง
ท้านองเดียวกับธรรมค่าว จะต่างกันในรูปแบบของ
การประพนั ธ์ เทา่ นัน้ ค่าวซอแสดงถึงวฒั นธรรมของชาวภาคเหนอื โดยเฉพาะล้านนาในด้านต่าง ๆ เช่น ประเพณี การละเล่น
สุภาษติ การแตง่ กาย ตลอดจนสภาพความเป็นอยขู่ องชาวภาคเหนอื นอกจากนคี้ า่ วซอยังแต่งขน้ึ ด้วยคา้ ประพันธ์ท่ีมี
ลักษณะเฉพาะตัว แตม่ สี ว่ นคลา้ ยกลอนแปดอย่บู า้ งตรงทีม่ ีสมั ผสั รบั กนั ไปโดยตลอด
“ค่าว” เปน็ ช่ือฉนั ทลกั ษณป์ ระเภทหนง่ึ ของล้านนา เป็นลกั ษณะการร้อยกรองถอ้ ยคา้ ให้รวมกันอยา่ งมรี ะเบียบ
ตามหลักเกณฑ์หรือวิธีการแต่งแห่งค้าประพันธ์ประเภทค่าว การเรียงร้อยถ้อยค้าให้เป็นระเบียบเหมือนห่วงโซ่
คือ มีสมั ผสั คล้องจองกันไปน้ี จึงเปรยี บการสง่ สัมผสั ของค้าประพันธ์ประเภทคา่ ววา่ เหมือนเชือกคา่ ว
ค่าวเป็นวรรณกรรมที่มีคณุ คา่ ทางดา้ นภาษาของล้านนา มีความ
สนุ ทรียะ บอกเลา่ เร่ืองราวความเป็นมาทางประวัตศิ าสตร์แสดงออก
ถึงภูมิปัญญาและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของสังคมชนบทในอดีต
สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมประเพณี แฝงด้วยคติธรรมและสุภาษิต
สอนใจ นอกจากนี้ ค่าวยังแสดงถงึ ความเปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะถิน่
ท้ังน้ี ท่านพระครูวิมลศิลปะกิจ รองเจ้าคณะอ้าเภอเวียงชัย ได้มี
การประพันธ์วรรณกรรมล้านนา “ค่าว” โดยการน้าเอาค้าคม/
ส้านวนสภุ าษิตลา้ นนาวนั ละก้อม เพอื่ น้ามาเป็นคติสอนใจ ผลงานที่
เขยี นจะเปน็ ปกิณกะเป็นส่วนใหญ่ เช่น
ชุดค่ำวฮ่ำวัดรำษฎร์เจริญ ประกอบด้วย ประวัติวัดราษฎร์เจริญ ประวัติพระสิงห์น้อย ประวัติการสร้าง
พระธาตุสุวรรณมิ่งมงคล วัดราษฎร์เจริญ (เขียนเป็นอักษรล้านนา) และประวัติพระครูสุวรรณถิรคุณ (ค้าปัน ถิรญาโณ)
อดตี เจา้ อาวาสวัดราษฎรเ์ จริญ เปน็ ต้น
ชดุ ทัศนศึกษำนำนำประเทศ ประกอบด้วย ค่าวฮา้่ ทัศนศกึ ษาเวียดนามกลาง ครง้ั ที่ ๑ ค่าวฮ้่าทัศนศึกษาสิบสอง
ปันนา คร้ังที่ ๑ คา่ วทศั นศึกษาวฒั นธรรมเวียดนามกลาง คร้งั ท่ี ๒ ค่าวฮ่้าทัศนศึกษาเมอื งจนี “เสน้ ทางสายไหม”
คา่ วฮ้า่ ศึกษาดงู านวฒั นธรรมพระพุทธศาสนาสงิ คโปร์ คา่ วฮา่้ ทัศนศึกษาเมืองคนุ หมงิ เปน็ ต้น
ชุดปกิณกะ วรรณกรรมคา่ วอีกมากมายทีม่ ีหน่วยงานขอสนับสนุน
เช่น ประวัติโฮงยาสมเด็จพระญาณสังวรอ้าเภอเวียงชัย พระคุณแม่
ความเปน็ มาของลานวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนต้าบลเวยี งเหนือ วสิ าขบู
ชา ๒๕๖๑ วันเกิดครูบากันทวี อนุตฺตโร จังหวัดพะเยา เวียงหนองหล่ม
อ้าเภอแม่จนั เปน็ ตน้

24
ปจั จุบัน ท่านพระครวู ิมลศิลปะกจิ ไดม้ กี ารการแสดงผลงานของข้อมูล โดยการเผยแพร่ในเฟซบุ๊กสว่ นตวั คือ
wimonsinlapakit, wimon kaewpiang, ruangrith laewpiang และมกี ารจัดพิมพ์ผลงานเผยแพร่ออกเปน็ รูปเล่ม

ตวั อย่ำงผลงำน “คำ่ ว” ของพระครวู ิมลศลิ ปกจิ ทเ่ี ผยแพร่บนเฟซบุ๊ก

...สภุ ำษติ กำคมเมอื งล้ำนนำวนั ละกอ้ ม...
...ก้อมท่ี 623 (06/01/65) วันนี้เสนอกำว่ำ ...สำมวันแอ่วหำคนเฒ่ำ เก้ำวันแอว่ หำคนหนมุ่ ....

*********
...ยกมอื สำ ครูบำเจือ้ งจน๊ั วนั ผดั ว่ำอัน้ วนั ครูน้อมสำ
เดือนสเี่ หนอื น้ี ออกส่ีคำ่ หนำ หกมกรำ หกห้ำแม่นหมน้ั
เปน็ วันหลม่ หลวง ต๋ำมยวงเจอ่ื หน้ั ไทยวนล้ำนนำ แต๊ตกั๊

...สัพปะ๊ มงคล จุ๊หนเวน้ นกั บ่จ๊กั จ่องดว้ ย จดั ทำ
ดว้ ยเจ่อื แต่เกำ๊ หล่มเข้ำหนำหนำ หำกไปยะทำ เงินคำเขำ้
บ้ำนใหม่แตง่ งำน เปิดร้ำนแถมเจ้ำ จะเวน้ หมดเฮำ วนั นี้

...หำกว่ำจำเปน๋ ไดเ้ กน๋ บอกจ๊ี เอำไวท้ ่หี น้ี เมนิ มำ
หื้อเอำยำมน้นั แป๊วันหน้ั หนำ เก้ำโมงหัน้ นำ เถิงสิบเกงิ่ หัน้
และช่วงเต่ยี งวัน เถงิ บำ่ ยเกิง่ อ้นั เปน็ ยำมแป๊วนั พ่ีน้อง
...กำนี้ปกิ้ มำ อู้จำ๋ เกีย่ วกอ๊ ง ภำษิตเกยี่ วขอ้ ง สำนวน
สำมวนั แต๊ตกั๊ แอ่วนักหันหวน คนเฒำ่ ตงั มวล บ่ละขำดหว้นิ

เกำ้ วันแอ่วหำ คนหนมุ่ ทั้งสน้ิ หื้อเปน็ อำจิณ อยำ่ ละ
...ทำ่ นได้หมำยเถิง เตงิ ตันก้มุ วะ ไมถตี ่อดว้ ย ผูค้ น
มนี ำ้ ใจ๋นอ้ ม พร้อมทัว่ จุ๊หน ไมถีเวียนวน ผู้คนท่ัวบำ้ น
สังคหะกั๋น จอ่ งหวนั ปำป้ำน แลกเปล่ียนกน๋ั ยงั ควำมฮู้
...ไดป้ ระสบก๋ำรณ์ ผู้เฒ่ำนั้นลู๊ ทเี่ ปิ้นตอ่ สู้ ผ่ำนมำ
ไดแ้ นวควำมคดิ คนรุ่นใหมห่ นำ เอำพัฒนำ ต๋วั ต๋นเฮำได้
อย่ำอยคู่ นเดียว หื้อเตียวเหนอื ใต้ แผไ่ มถไี ป ทั่วทศิ
...สรุปแล้วหนำ หื้อจำ๋ ผูกมิตร กับคนท่ัวหน้ำ อำณำ
สำนวนก้อมน้ี 6-2-3 หนำ ข้ำขอวำงลำ เอำไวเ้ ท่ำอ้ี ๆ

ผูท้ ี่ถือปฏิบตั ิมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
ชื่อ พระครูวิมลศิลปกจิ
วัน เดอื น ปเี กดิ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๑
ที่อยู่ ๑๒๘ หมู่ ๑๑ บา้ นพนาลยั ต้าบลเวียงเหนือ

อ้าเภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๔ ๖๓๘ ๔๖๗๑ /๐๘๑ ๙๖๑ ๓๓๔๕

ทา่ นพระครูวมิ ลศิลปะกิจ ได้สอนนสิ ิตชั้นปีที่ ๒
ทกุ สาขาวชิ าท่ีลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าวฒั นธรรม

ของวิทยาลยั สงฆเ์ ชียงราย

25

ฟ้อนขนั ดอก/ฟอ้ นโปรยดอกไม้

ฟอ้ น เป็นภาษาเหนอื หมายถึง การร่ายรา้ เพือ่ บชู าสง่ิ ต่าง ๆ
อนั เปน็ ศิลปะล้านนา สว่ นใหญจ่ ะเป็นการร่ายร้าที่แสดงพร้อม
กันเป็นชุด ๆ ไม่ด้าเนินเป็นเรื่องราว โดยเอกลักษณ์ของ
การฟ้อน คือการจีบนว้ิ ทมี่ ีความออ่ นช้อยไปพร้อม ๆ กบั ท่าทาง
กรดี กรายรา่ ยร้า โยกตวั ไปตามทว่ งท้านองเพลง

ในสมัยโบราณฟ้อนใช้แสดงประกอบเฉพาะในวันส้าคัญ
ในพระราชพิธแี ละพระราชฐานเท่านนั้ เชน่ ในคุ้มหลวง ผู้ฟอ้ น
โดยมากล้วนเป็นเจ้านายเช้ือพระวงศ์ฝ่ายในทั้งส้ิน ศิลปะ
การฟ้อนอยู่ท่ีความพร้อมเพรียงและความอ่อนช้อยของท่าฟ้อน
เปน็ สา้ คญั

การฟ้อนได้ถือว่าเป็นการแสดงออกถึงวัฒนธรรม
และขนบประเพณีของชาวเหนือ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะท้ัง
การแต่งกาย จังหวะ และลีลา ท่าทางการฟ้อนร้า เพลง
และดนตรีทใ่ี ช้ประกอบ จึงนับเป็นศลิ ปะและวฒั นธรรมของ
ชาวภาคเหนือท่ที รงคุณคา่ อย่างแท้จริง

ฟ้อนขันดอก หรือ ฟ้อนโปรยดอกไม้ เอกลักษณ์
ท่ีโดดเด่นของการฟ้อนชนิดนี้ คือ การถือพานท่ีจะใส่ดอกไม้
นานาชนิด โดยส่วนใหญ่จะเป็นดอกไม้เพื่อตบแต่งบูชา
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ และไฮไลท์ของการฟ้อน
ขันดอก คือ การโปรยดอกไม้ข้ึนเหนือศีรษะ เป็นการฟ้อน
อวยพรให้แก่ผ้มู ารว่ มงานนั้น ๆ
เพ่ือเป็นการสืบสาน สร้างสรรค์ และรักษาศิลปะการแสดง “ฟ้อนขันดอกหรือฟ้อนโปรดดอกไม้” ให้คงอยู่
สืบไป กลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ต้าบลเวียงเหนือได้รวมตัวกันจัดตั้ง “คณะช่างฟ้อนพ้ืนเมืองวิทยาลัยผู้สูงอายุต้าบล
เวียงเหนือ” ขึ้นมา เพ่ือน้าศิลปะการแสดงดังกล่าว ไปแสดงในงานบุญต่าง ๆ ภายในพ้ืนที่ และถ่ายทอดให้แก่
คนรนุ่ หลัง ซึง่ เป็นการอนรุ กั ษ์ศิลปะการแสดงดังกล่าวให้คงอย่สู บื ไป

ผู้ท่ีถือปฏิบตั ิมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชอ่ื ชุมชนคณุ ธรรมวัดพนาลยั เกษม
ทอ่ี ยู่ ๑๒๘ หมู่ ๑๑ บ้านพนาลัย ต้าบลเวยี งเหนือ

อา้ เภอเวียงชัย จังหวดั เชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๔ ๖๓๘ ๔๖๗๑ /๐๘๑ ๙๖๑ ๓๓๔๕

26

อว่ งขำ้ ว/แกวง่ ขำ้ ว/ไกว๋ข้ำว

มรดกภูมิปัญญาความเช่ือด้านพิธีกรรมการอ่วงข้าวหรือ

แกว่งข้าว หรือไกว๋ข้าวนี้ เป็นความเช่ือของคนล้านนาก่อนที่
พระพุทธศาสนาจะเข้ามาสู่ล้านนา น้ันคือ “การเช่ือผี” และ

การแพทย์ยังไม่มีเช่นปัจจุบัน ต้องอาศัยสมุนไพร เมื่อหมอ (หมอดู)
และผีสางท่ีนับถือ เช่น ผีปู่ผีย่า เป็นต้น ตลอดถึงส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ
ทงั้ หลาย เมื่อเกิดการเจ็บปว่ ย รักษาดว้ ยสมนุ ไพร คาถาอาคม ไม่หาย

ก็ต้องอาศัยการดูหมอ ที่คนล้านนาเรยี กวา่ “ดูเมื่อ” เพื่อถามหา
สาเหตุการเจบ็ เป็นป่วยไข้นั้น

การอว่ งขา้ วน้ี สว่ นใหญจ่ ะเปน็ การกระท้าเพอื่ รกั ษาอาการป่วยของเด็ก เช่น เป็นไข้ เปน็ หวัด ท้องเสีย เป็นต้น
ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสและสามารถหายได้เองในระยะต่อมา การถามหมอเมื่อแล้วมาปฏิบตั ิตามผีบอกนั้น จึงคล้ายๆ
ลักษณะของอุปทานเป็นผลทางจิตใจท่ีช่วยให้ญาติของผู้ป่วยคลายความกังวลนั่นเอง ท้ังน้ี ก็ต้องควบคู่ไปกับ

การรกั ษาดว้ ยยาตามปกตดิ ้วย
การอ่วงข้าว/แกว่งข้าวหรือไกว๋ข้าว มักจะท้าก็ต่อเม่ือเด็กทารกท่ีก้าลังเกิดใหม่หรืออายุครบ 1 เดือนขึ้นไป

เกิดอาการรอ้ งไหแ้ บบผิดปกติจากท่ีเคยเป็นหรือเจ็บปว่ ยออด ๆ แอด ๆ พ่อแม่กจ็ ะนา้ เส้อื ผ้าเด็กและของใช้ในพธิ ี ไดแ้ ก่
❖ ข้าวเหนียว ๑ ป้ัน (ขนาดเทา่ ไข่ไก)่
❖ ข้าวสาร ๑ ลติ ร

❖ สวยดอกไม้ ธูปเทยี น ๑ สวย ใสเ่ ทียนเลม่ เลก็ ๒ เล่ม ธปู ๔ ดอก
❖ กลว้ ยนา้ วา้ ๑ ใบ

❖ เงินขันตั้ง ๗-๑๒ บาท (บางแห่งใช้ ๗ บาท คือ ๑ อาทิตย์มี ๗ วัน บูชาครูวันทั้ง ๗ บางแห่งใช้ ๙ บาท บูชา
ครนู วฆาตทั้ง ๙ บางแหง่ ใช้ ๑๒ บาท บชู าครู ๑๒ ราศี)
❖ ด้ายฝ้ายขาวทเ่ี รยี กว่าสายสิญจน์ ยาวประมาณ ๑ ศอก ๑ เส้น

จากน้ัน ไปยังบ้านของผู้รับท้าพิธีอ่วงข้าว หรือแกว่งข้าวหรือไกว๋ข้าว
เพอื่ ทจ่ี ะสอบถามว่า เดก็ ที่ร้องไห้หรือป่วยเป็นเพราะอะไร และเปน็ ใครในชาติ

ที่แล้ว เป็นญาติฝั่งไหน มาเกิดแล้วต้องการอะไร เช่น ซองขาว (ข้าว) ซองแดง
(แบงค์ร้อย) ผู้ท้าพิธีจะเตรียมอุปกรณ์ คือ “กระด้ง” หรือ “ถาด” หรือ
“ขันโตก” เอามาวางกลางเรอื น แล้วนา้ เสอ้ื ผ้า สงิ่ ของของผปู้ ่วยท่ีผู้ทมี่ าถาม

น้ันน้ามาวางในกระด้งหรือถาดน้ันท้ังหมด จากนั้น ผู้ประกอบพิธีก็จะประนม
มือหันหน้าไปทางห้ิงพระในบ้าน กล่าวนะโม ๓ จบ แล้วท้าสมาธิ จนสมาธิเขา

นิ่งแล้ว จึงกล่าวไหว้วานต่อส่ิงศักด์ิสิทธิ์ที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า “วานอินทร์
วานพรหม” น่ันเอง จากน้ันหันหน้ามาทางกระด้งหรือถาด แล้วยกขึ้น
แล้วกลา่ วคา้ โวหารตามฮตี ฮอยว่า

“ขอส่ิงศักด์ิสิทธ์ิตังหลำย ขอจ่วยข้ำโพดละอ่อน ไค่ฮู้ชำติหลัง ชำติหน้ำว่ำไผ๋มำเกิด ไอ่แก้ว
ไอค่ ำ หรอื ตระกลู ไหนมำเกดิ ”

(ขอสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิทั้งหลำย จงได้โปรดช่วยขำ้ ให้ช่วยเด็กนอ้ ยคนนี้ เพื่ออยำกรวู้ ำ่ อดีตชำตนิ ัน้ ดวงจติ ของ
ผู้ใดกลบั ชำติมำเกดิ เปน็ เด็กน้อยคนนี้ในปจั จบุ นั ชำติน้)ี

27
เม่ือกล่าวเชิญเทพเทวดาเรียบร้อยแล้ว ผู้อัญเชิญพิธีจะใช้ข้าวเหนียวที่ป้ันไว้ ผูกด้วยด้ายท่ีเตรียมไว้ด้านหนึ่ง
อีกด้านหนึ่งน้ามาผูกติดกับนิ้วชี้ด้านซ้าย และปล่อยให้เชือกยาวประมาณหน่ึงคืบ ยกลอยอยู่เหนือถาดหรือ
พานขนั ครู แล้วจึงเริม่ ตง้ั คา้ ถามว่าเป็นดวงจิตของญาติผู้ล่วงลับฝ่ายบิดาหรอื มารดาท่กี ลับชาติมาเกิด โดยจะสงั เกต
ดูที่ก้อนข้าวที่ผูกติดนิ้วมือ เช่ือกันว่าถ้าเป็นค้าตอบที่ใช่ ก้อนข้าวจะเริ่มแกว่งไปมา หรือหมุนรอบเป็นวงกลม

โดยท่ผี ถู้ ือด้ายอยูน่ ง่ิ ๆ เทา่ นั้น

กำรสืบสำน กำรแสดงผลงำนของข้อมูล

ผูป้ ระกอบพิธหี รอื ทา้ พธิ ี ส่วนใหญ่จะ พธิ ีกรรมการอว่ งข้าว หรอื แกว่งขา้ ว หรอื ไกวข๋ า้ วนี้ไม่ได้จัด
เป็นผู้หญงิ ที่มอี ายวุ ยั กลางคนขน้ึ ไป ท่ีทาง แสดงโดยทั่วไป มักจะเกิดข้ึนจากการท่ี เม่ือ มีผู้ หญิง
ภาคเหนอื เรียกว่า “แม่อุ๊ย” หรอื “แม่ปา้ ” ท่ีคลอดลูกออกมาในช่วงแรก ๆ หากเด็กที่เกิดมามีอาการ

ซ่ึงได้รับการถ่ายทอดมาจากสายผปี ยู่ ่าของ ไ ม่สบาย เจ็บออด ๆ แอดๆ มาตลอด หรือร้องไห้งอแง
ตนเอง หรอื ผู้ที่เขามีความประสงค์จะใหส้ ืบ ทงั้ กลางวัน - กลางคืน โดยไม่ทราบสาเหตกุ ารป่วย

ทอด ซึง่ ยังคงมีการสืบทอดกันอย่ภู ายใน ดงั นนั้ พอ่ แม่ ปยู่ ่า ตายาย หรอื ญาติผใู้ หญ่ จะตอ้ งมีการท้า
ชุมชนของตนเอง กรรมการอ่วงข้าว หรือแกว่งข้าว หรือไกว๋ข้าว เพื่อหาสาเหตุ
และวิธีการแก้ไข ท้าเด็กสุขภาพแข็งแรง เลี้ยงง่าย เจริญเติบโต
และมีความเจริญรุ่งเรืองสืบไป โดยจะเห็นพิธีกรรมดังกล่าว
ในเฉพาะพื้นท่ีที่ยังคงมีความเช่ือในเร่ืองพิธีกรรมโบราณของ
ชาวล้านนา

การสาธิตมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมสาขาแนวปฏบิ ตั ิทางสังคมพิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล
พิธีกรรม “อว่ งขา้ ว หรือแกวง่ ข้าว หรอื ไกว๋ขา้ ว” โครงการมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ภายใต้โครงการจัดทา้

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถนิ่ ประจา้ ปี ๒๕๖๔
โซนที่ ๑ (อ.เมอื งเชยี งราย เวียงชยั เวยี งเชียงรงุ้ และแม่ลาว)

เมอ่ื วนั ที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ ณ หอประชมุ อาคารเอนกประสงค์ พวงแสด 4 โรงเรียนอนบุ าลองค์การบริหาร
สว่ นตา้ บลป่าซาง ตา้ บลป่าซาง อ้าเภอเวยี งเชียงรงุ้ จงั หวดั เชียงราย

ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม
ชอื่ นางอ้าไพ เชอ้ื เมอื งพาน
ทอ่ี ยู่ หมู่ ๑๑ บา้ นพนาลยั ต้าบลเวียงเหนือ

อ้าเภอเวียงชัย จังหวดั เชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙๘ ๐๐๑ ๓๔๒๒

แกงบอน 28

วิถีชีวิตของคนล้านนาท่ีพึ่งพาอาศัยอยู่กับธรรมชาติ ดังน้ัน อาหาร

หลักของคนล้านนาส่วนใหญ่ได้แก่ พืชผักหรือสัตว์ทั่วไปท่ีหาได้จาก
ธรรมชาติ เป็นการผสมผสานวัตถุดิบจากธรรมชาติน้ามาปรุงแต่งโดยเน้น

พืชผักและอาหารส่วนใหญ่รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้าตาลในอาหาร
ความหวานจะไดจ้ ากส่วนผสมของอาหารนัน้ ๆ เชน่ ผกั ปลา และมกั จะ
นา้ เอาวัตถดุ บิ ที่มีอยูใ่ นธรรมชาติมาเป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหาร

“บอน” เป็นพืชที่หาได้ง่ายตามป่าท่ีชุ่มน้า มีหัวอยู่ใต้ดินขยายพันธ์ุ

รวดเร็วโดยการแตกหน่อไปตามดินโคลน โดยบอนที่น้ามาเป็นวัตถุดิบ
ในการแกง คือ บอนต้นอ่อน พันธุ์สีเขียวสด และไม่มีสีขาวเคลือบอยู่

ตามก้านและใบ บอนสีเขียวสด เรียกว่า บอนหวาน ส่วนชนิดท่ีมีสีซีดกว่า

และนวลขาวกว่า เรียกว่า บอนคัน ส่วนของบอนที่น้ามาแกงคือ หล่ีบอน
เป็นยอดอ่อน หรือใบอ่อนของบอนท่ีอยู่ใกล้โคนต้น ในการปรุงแกงบอน
ถ้าไมใ่ ช้นา้ มะขามเปียก ใหใ้ ชน้ า้ ส้มป่อยแทน

ส่วนผสม ❖ ตะไครห้ ่ันทอ่ น 1 ตน้ ❖ แคบหมู 1/2 ถ้วย
❖ บอนตน้ อ่อน 8 ต้น

❖ ใบมะกรูด 5 ใบ ❖ ข่าหั่น 5 แว่น ❖ มะเขือพวง 1/4 ถว้ ย
❖ น้ามะขามเปียกหรือน้าส้มปอ่ ย 2 ชอ้ นโตะ๊
เครื่องแกง
❖ พรกิ ข้ีหนูแห้ง 15 เมด็ ❖ ตะไครซ้ อย 1 ช้อนโต๊ะ ❖ หอมแดง 5 หวั
❖ กระเทียม 10 กลบี ❖ ปลาร้า หรือ กะปิ 1 ช้อนชา ❖ เกลอื 1/2 ชอ้ นชา
ขนั้ ตอนกำรทำ

1. น้าบอนมาปอกเปลอื ก หัน่ เป็นท่อน ลา้ งน้าให้สะอาด
๒. น้าบอนมาใสห่ มอ้ เติมน้าใหท้ ่วมบอน ต้มเคยี่ วจนบอนนมิ่ เละ จนน้าแหง้ ไปหมด (คนบอ่ ย ๆ คอยระวงั ไม่ใหไ้ หม้
ติดกน้ หม้อ)
๓. ใส่เคร่ืองแกง คนใหเ้ ขา้ กนั ใสข่ า่ ห่ัน ตะไครห้ ่นั ท่อน มะเขือพวง รอมะเขือสุก

๔. ใสน่ า้ มะขามเปียก เกลือ ใส่ใบมะกรดู ฉีก
๕. ใส่แคบหมู คนให้เข้ากัน ปดิ ไฟ
เคลด็ ลบั : ๑. เลือกใช้บอนตน้ อ่อน พันธุส์ เี ขยี วสด และไมม่ สี ีขาวเคลือบอยตู่ ามกา้ นและใบ บอนสีเขยี วสด
เรียกว่า บอนหวาน ส่วนชนดิ ทม่ี ีสซี ดี กวา่ และนวลขาวกว่า เรียกว่า บอนคนั ส่วนของบอนทีน่ า้ มาแกงคือหลีบ่ อน
เป็นยอดอ่อน หรือใบออ่ นของบอนท่ีอยู่ใกล้โคนต้น
๒. การตม้ บอน ต้องใหส้ ุกจนเละ เค่ียวจนน้าแห้ง ถา้ บอนไม่สกุ จะทา้ ใหเ้ กดิ อาการระคายคอ
๓. บางพน้ื ทีอ่ าจนา้ บอนไปนง่ึ ใหส้ ุก
ผทู้ ถ่ี อื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม

ชอ่ื นางสมคดิ จันทรส์ ภุ าเสน
ทอ่ี ยู่ ๙๐ หมู่ ๑๑ บา้ นพนาลัย ต้าบลเวยี งเหนือ
อา้ เภอเวยี งชัย จงั หวัดเชียงราย ๕๗๒๑๐

หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๕ ๐๓๘ ๙๔๓๕

29

แกงแคไกเ่ มือง
ในอดีตจงั หวดั เชยี งราย เปน็ ส่วนหนง่ึ ของอาณาจกั รล้านนา ช่วงที่
อาณาจักรล้านนามีความเจริญรุ่งเรืองอ้านาจ ได้แผ่ขยายอาณาเขตไปยัง
ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ลาว ดังน้ัน จึงมีผู้คนจากดินแดนต่าง ๆ
อพยพเข้ามาต้ังถ่ินฐาน ท้าให้ได้รับวัฒนธรรมท่ีหลากหลายจากชนชาติต่าง
ๆ รวมไปถึงวัฒนธรรมด้านอาหาร โดยคนภาคเหนือนิยมรับประทานข้าว
เหนยี วเปน็ อาหารหลัก มนี ้าพริกชนดิ ต่าง ๆ อาทิ น้าพริกหน่มุ น้าพรกิ ออ่ ง
และแกงหลากหลายชนิด นอกจากนยี้ ังมีอาหารชนิดอ่นื ๆ เช่น แหนม ไส้
อั่ว แคบหมู สภาพอากาศของทางภาคเหนือก็มีส่วนส้าคัญที่ท้าให้
อาหาร
พ้ืนบ้านภาคเหนือแตกต่างจากภาคอื่น ๆ นั่นคือ การที่อากาศหนาวเย็นเป็นเหตุผลให้อาหารส่วนใหญม่ ีไขมันมาก
เช่น น้าพริกอ่อง แกงฮังเล ไส้อ่ัว เพ่ือช่วยให้ร่างกายอบอุ่น อีกทั้งการที่อาศัยอยู่ในหุบเขาและบนท่ีสูงอยู่ใกล้กับป่า
จึงนยิ มน้า พืชพันธุ์ในปา่ มาปรุงเป็นอาหาร เชน่ ผักแค บอน หยวกกลว้ ย ผักหวาน ทา้ ให้เกิดอาหารพืน้ บ้านช่ือต่าง ๆ
เช่น แกงแค แกงหยวกกลว้ ย แกงบอน
แกงแค เป็นแกงที่ประกอบด้วยพืชผักสวนครวั หลากหลายชนิดท่ีสามารถเกบ็
เอาตามภายในรั้วบ้าน อาทิ ต้าลึง ชะอม ใบชะพลู ผักชีฝรั่ง มะเขือพวง เห็ดลมอ่อน
ผักเผ็ด และดอกแค โดยเน้ือสัตว์ที่น้ามาเป็นส่วนผสมด้วยหน่ึงอย่าง จะท้าให้
เรียกช่ือแกงแคตามชนิดของเน้ือสัตว์ที่น้ามาเปน็ ส่วนผสมน้นั เชน่ แกงแคไก่ แกงแคกบ
แกงแคจิ้นงัว แกงแคปลาแห้ง เป็นต้น ทั้งน้ี แกงแคไก่ หากน้าไก่บ้าน หรือท่ีเรียกว่า
“ไก่เมอื ง” มาเป็นส่วนประกอบจะท้าใหร้ สชาตนิ ้าแกงจะกลมกล่อมมากกวา่ ไก่พันธุ์
สว่ นผสม
❖ เนือ้ ไกเ่ มืองหั่นช้ินพอดคี ้า ❖ ผักชีฝรง่ั ❖ ใบพริก ❖ ใบชะพลู (ผักแค)
❖ มะเขือเปราะ ❖ ผักเผ็ด ❖ ดอกงิ้วแหง้ ❖ ใบตา้ ลึง ❖ ยอดชะอม
❖ ถว่ั ฝักยาว ❖ มะเขอื พวง ❖ เห็ดลมอ่อน ❖ หางหวาย
❖ เครือ่ งแกง ❖ นา้ ปลา ❖ น้าเปล่า ❖ น้ามันพืช
ข้ันตอนกำรทำ
เคร่ืองแกง 1. เด็ดหรือหนั่ ผกั ทุกชนดิ ลา้ งให้สะอาด พักไว้
❖ พริกชฟ้ี ้าแหง้ หนั่ ท่อนแชน่ า้ ๒. โขลกเคร่ืองแกงรวมกนั ใหล้ ะเอยี ด
❖ กระเทยี มหน่ั หยาบ ๓. ผัดเครื่องแกงกับน้ามันจนมีกล่ินหอม ใส่เน้ือไก่ลงผัดจนสุก เติมน้าลงไป
❖ หอมแดงซอย ต้ังไฟใหส้ ว่ นผสมเดอื ด
❖ ตะไคร้ซอย ๔. ใส่ผักเผ็ด ถั่วฝักยาว มะเขือพวง มะเขือเปราะ ต้าลึง ยอดชะอม ผักชีฝรั่ง
ใบพรกิ และใบชะพลลู งไป
❖ กะปิ ๕. ปรุงรสดว้ ยนา้ ปลา คนให้ส่วนผสมเข้ากันอีกคร้ัง ยกลงจากเตา ตักเสริ ์ฟ

❖ เกลือ

พรอ้ มรบั ประทาน
ผทู้ ี่ถือปฏิบัติมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ นางสมคิด จนั ทร์สภุ าเสน
ท่อี ยู่ ๙๐ หมู่ ๑๑ บ้านพนาลัย ต้าบลเวยี งเหนือ
อ้าเภอเวยี งชยั จังหวดั เชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๕ ๐๓๘ ๙๔๓๕

30

นำ้ พริกปลำจี่
วิถีชีวติ ของคนไทยส่วนมากล้วนผูกพันกับแหล่งน้ามาต้ังแต่
อดีต โดยเรามักพบเห็นปลาได้ทั่วไปตามแหล่งน้าในชนบท
อ้าเภอเวียงชัย เป็นอ้าเภอท่ีมีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน
มีหนองหลวงเป็นแหล่งน้าส้าคัญที่หล่อเล้ียงชีวิตของชาว
อ้าเภอเวียงชัย มีปลาหลากหลายชนิดให้ชาวบ้านได้น้ามา
เป็นวัตถุดิบในการปรุงอาหาร และเป็นแหล่งปลูกข้าวชั้นดี
และมีความอดุ มสมบูรณ์ของพชื พรรณธัญญาหารอย่างมาก

นำ้ พรกิ ปลำจี่ หากออกเสียงสา้ เนยี งแบบคนเหนอื เรียกว่า “น้าพิกปา๋ จ่ี” เปน็ นา้ พริกทม่ี ลี ักษณะข้นถงึ ขลกุ ขลิก
เป็นอาหารภาคเหนือ ใช้ปลาดุกย่างโขลกรวมกับพริกชี้ฟ้า หอม กระเทยี มเผา แลว้ ใสเ่ ครือ่ งปรงุ อ่ืน ๆ และมะกอก

รับประทานกับผักน่ึง เช่น มะเขือยาว ถ่ัวฝักยาว หน่อไม้ไร่ และมะลิดไม้ (ฝักลิ้นฟ้า หรือเพกา มีลักษณะ
ฝกั ยาว แบน ฝกั อ่อน ท้าให้สกุ กนิ กบั น้าพริก)

น้าพริกปลาจ่ี นับว่าเป็นเมนูท่ีนิยมรับประทานกันในทุกครัวเรือน มีส่วนผสมและวิธีท้าที่ง่ายแต่คุณค่า
ทางอาหารสูง เป็นเมนูเพือ่ สุขภาพโดยแท้จรงิ และมีการสืบทอดกนั จากรุ่นสู่รนุ่ โดยส่วนใหญย่ ่า ยาย หรือแม่จะมี
การถ่ายทอดให้แก่ร่นุ ลกู ร่นุ หลานในสตู รการปรุง และเคล็ดลับความอรอ่ ย

วตั ถุดบิ

❖ ปลาดุกย่าง โดยแกะแต่เนือ้ หลังจากย่างแลว้

❖ พรกิ ชฟี้ ้า ❖ หอมแดง

❖ กระเทียม ❖ ผกั ชี และต้นหอม

❖ น้าปลา ❖ มะนาว

❖ ผกั สดหรือผกั ลวกท่ีใช้รบั ประทานคกู่ ับน้าพรกิ

ข้นั ตอนกำรทำ

1. เผาพริก หอม กระเทยี ม พอสุก ปอกเปลือกหอม และกระเทียม
๒. โขลกพรกิ หอม กระเทยี ม
๓. ใสเ่ น้ือปลาดุกยา่ งลงโขลกให้เขา้ กนั

๔. ปรงุ รสชาติตามชอบดว้ ย นา้ ปลา, นา้ มะนาว, โรยต้นหอม และผักชี
เคลด็ ลบั :

แยกเน้ือปลาดุกออกเปน็ 2 ส่วน สว่ นแขง็ ๆ น้าไป
โขลกกบั น้าพริกก่อน ท่เี หลือคอ่ ยเอาไปคลุกเค้ากัน

ผู้ที่ถอื ปฏิบัติมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ชื่อ นางสมคดิ จันทร์สุภาเสน
ทีอ่ ยู่ ๙๐ หมู่ ๑๑ บา้ นพนาลยั ต้าบลเวียงเหนือ

อ้าเภอเวียงชยั จงั หวัดเชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๕ ๐๓๘ ๙๔๓๕

31

ขนมปำด
ชาวล้านนามีขนม หรือที่ออกเสียงส้าเนียงคนเมือง คือ
“เขา้ หนม” เปน็ อาหารประเภทของหวาน ปรงุ ด้วยแป้งและกะทิ
และน้าตาล หรือน้าอ้อย โดยปกติมักจะท้าขนม เม่ือมีเทศกาล
โอกาสพิเศษ หรือพิธีกรรมเท่านั้น และมักจะเป็นการเตรียม
เพอื่ ท้าบุญ เชน่ วันพระ วันส้าคญั ทางพทุ ธศาสนา วันสงกรานต์
งานประเพณี งานทา้ บญุ เป็นตน้
ขนมปาดนั้นมีมานานมากกว่า 60 ปี เป็นขนมที่ท้าข้ึนเพื่อน้าไปท้าบุญที่วัดเทศกาลสงกรานต์หรือปีใหม่เมอื ง
และเลี้ยงแขกที่มาเที่ยวบ้านตอนสงกรานต์ ส่วนอีกงานคือ งานปอยหรืองานบวช (บวชลูกแก้ว อุปสมบทพระ)
โดย 1 ปีมีเพียง 1 ครั้งเท่าน้ัน ก็จะมีการท้าขนมปาดเป็นงานร่วมสามัคคีของชนในกลุ่มเรียกว่า วันกินขนมปาด
จะท้าก่อนงาน 1 วัน กระทะแรกสา้ หรับผทู้ า้ ร่วมกนั กนิ กระทะทส่ี องไวท้ า้ บุญเล้ยี งแขก กระทะทีส่ ามห่อแจกแขก
ในงาน เครื่องปรุงหรือส่วนผสมของขนมปาดน้ัน ประกอบด้วยข้าวเจ้า น้าอ้อย มะพร้าวทึนทึก ส่วนวิธีท้าน้ัน
มีข้ันตอนไม่มากนัก แต่ต้องอาศัยเวลาในการท้าเป็นอย่างมาก เร่ิมจากน้าข้าวสารมาเค่ียวกบั น้าอ้อย ในกระทะใบบัว (ใหญ่)
ใหผ้ ู้ชาย 2 คน ใชพ้ ายคน กนั ทงิ้ ไว้เย็นแลว้ ตัดเปน็ คา้ ๆ ใส่กระทงใบตองโรยด้วยมะพรา้ วทนึ ทึกขูดหยาบ ๆ
ขนมปาด เปน็ หน่งึ ในเมนูขนมชนดิ หนงึ่ ที่หาทานไดย้ าก ค้าวา่ “ปาด” ภาษาเหนือแปลว่า “ตัด หนั่ ” นยิ มท้ารับประทาน
ในงานมงคล เช่น งานบวช งานท้าบุญขึ้นบ้านใหม่ และงานประเพณีต่าง ๆ ของชาวล้านนา ลักษณะของขนมปาดนั้น
จะคล้ายขนมศิลาอ่อน จะมีสีออกจะน้าตาลเข้ม มีรสชาติหวานมัน เวลาเคี้ยวจะกรุบกรอบในปากเล็กน้อยจาก
มะพรา้ วเเละงาท่ใี ชใ้ นการทา้ ขนม ในวนั งานบวช เจา้ ภาพจะหอ่ ขนมปาดแจกแขกถือติดมอื ไปฝากที่บ้านทุกคน
การท้า “ขนมปาด” ถือว่าเป็นขนมที่เป็นกุศโลบายของคนสมัยก่อนในการสรา้ งความรักความสามัคคี โดยการท้า
ขนมปาดนั้นต้องใช้คนจ้านวนมากและใช้แรงพอสมควร ถือเป็นขนมรวมญาติหรือลูกหลานมาร่วมกันท้า ต้องใช้
ความอดทน ใจเย็น ความละเอยี ด และความรว่ มแรงร่วมใจชว่ ยกันท้าจึงจะส้าเรจ็
ส่วนผสม
❖ ข้าวเจ้า ❖ น้าเปล่า
❖ นา้ ออ้ ย ❖ เกลือ
❖ แป้งข้าวเจา้ ❖ มะพรา้ วทนึ ทกึ
ขั้นตอนกำรทำ
๑. น้าข้าวสาร (ขา้ วเจ้า) มาล้างน้าท้าความสะอาด จากนัน้ นา้ ข้าวสารใสน่ ้าเปล่ามาต้ม ใช้ไฟออ่ น คอยคนเรื่อย ๆ
๒. น้าแปง้ ข้าวเจ้าผสมกบั นา้ เปลา่ เทลงไปในหมอ้ ท่ตี ม้ ขา้ ว (เพือ่ เพม่ิ ความขน้ เหนยี วใหก้ บั ขนม)
๓. น้านา้ ออ้ ยมาห่ันเป็นชน้ิ เลก็ ๆ จากน้นั น้าน้าออ้ ยเทลงไปในหมอ้ คนใหเ้ ข้ากัน คอยคนเรอ่ื ย ๆ
๔. นา้ มะพรา้ วทนึ ทกึ ท่ขี ูดเรียบร้อยแล้ว เทลงไปในหม้อ คนให้เขา้ กัน
๕. ใส่เกลือเล็กนอ้ ย จากน้นั เคยี่ วไปเรอ่ื ย ๆ โดยคอยคนอยเู่ สมอ จนแหง้ หนดื ปดิ ไฟ
๖. น้าขนมมาเทลงถาดทเ่ี ตรียมไว้ และนา้ มาน้ามะพรา้ วทึนทกึ ที่ขูดเรยี บร้อยแล้ว มาเทโรยด้านหน้า
๗. พกั ไวใ้ ห้เย็น พรอ้ มรบั ประทานโดยตดั หรือหั่นเป็นขนาดต่าง ๆ
ผู้ทถ่ี อื ปฏิบตั ิมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ นางสมคดิ จนั ทร์สุภาเสน
เคลด็ ลบั : ต้องคอยคนอยเู่ รื่อย ๆ เพือ่ ให้ ทอ่ี ยู่ ๙๐ หมู่ ๑๑ บ้านพนาลัย ต้าบลเวยี งเหนือ
ขนมไม่ตดิ กระทะ
อา้ เภอเวียงชัย จงั หวัดเชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๕ ๐๓๘ ๙๔๓๕

32

เคร่ืองจักสำนชุมชนคณุ ธรรมวัดพนำลัยเกษม

วัดพนาลัยเกษม เดิมชื่อว่า วัดป่าบงขวาง ตั้งอยู่เลขท่ี ๑๒๘ หมู่ ๑๑

บ้านพนาลัย ตา้ บลเวียงเหนือ อ้าเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย วัดน้แี ต่เดิม
เป็นวัดร้าง ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อใด พบแต่เพียงกองอิฐและ

ซากเจดยี ์ซงึ่ อยู่ตรงที่สร้างอุโบสถหลังใหม่ ต่อมาประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๐
มีชาวบ้านอพยพมาจากบา้ นปล้อง อ้าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย มาตง้ั
รกรากแผ้วถางเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ทา้ มาหากิน ณ บรเิ วณนี้

เน่ืองจากพื้นที่เป็นป่าไผ่ (ไผ่บง) เป็นจ้านวนมาก ท้าให้ชาวบ้านในชุมชนน้าวัตถุดิบดังกล่าวมาใช้ในชีวิตประจ้าวัน
วัดพนาลัยเกษม ซ่ึงเป็นสถานท่ีศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านในชุมชนจึงเป็นจุดเริ่มต้นท่ีท้าให้ชาวบ้านในชุมชน หมู่ ๑๑

มาร่วมตัวกันท้าผลิตภัณฑ์จักสานพานพุ่ม และน้ามาดัดแปลงไปใช้กับงานตกแต่งบ้านหรือส้านักงาน โดยมีการคิดค้น
ลายแบบท่ีเหมาะสมแล้วท้าข้ึน ในรูปแบบต่าง ๆ เป็นการใช้เวลาว่างของคนในชุมชนท่ีว่างเว้นจากการท้านา
ประกอบกับต้องการน้าวัตถุดิบ (ไม้ไผ่) ในชุมชนท่ีมีอยู่ท่ัวไปน้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่น

และเป็นการอนุรักษภ์ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินดา้ นงานหัตถกรรมใหค้ งอย่สู ืบไป

เครื่องจักสานชุมชนคุณธรรมวัดพนาลัยเกษม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้

วัสดุจากธรรมชาติ โดยใช้มรดกภูมิปัญญาในด้านการจักสานมาออกแบบ
ผลิตภัณฑใ์ ห้มคี วามสวยงาม ทันสมัย สามารถใชง้ านได้จรงิ เป็นผลิตภัณฑ์
ที่น้าเอาทักษะความช้านาญท่ีเป็นภูมิปัญญาแบบดั้งเดิมมาปรับเปล่ียน

และพัฒนารูปแบบให้เป็นผลิตภัณฑ์จักสานแบบใหม่ให้ตอบสนองกับ
ความต้องการของผู้บรโิ ภคสมยั ใหม่ แตย่ งั คงคุณค่าทางด้านงานหัตถกรรม

สะท้อนให้เห็นถึงการน้าทุนทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม
ประเพณีของคนในชุมชนมาใช้ในการผลิต โดยมีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น
คือลวดลายในการจักสาน และมีรปู แบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย

วสั ดอุ ปุ กรณ์ ไมไ้ ผ่ มีด เครอ่ื งจักตอก คอ้ น ตะปู ลวด แปรง แลคเกอร์

ขั้นตอนกำรทำ ผทู้ ี่ถอื ปฏิบัติมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
ช่ือ พระครวู มิ ลศิลปะกจิ /กลุม่ ผสู้ ูงอายุต้าบลเวียงเหนอื
๑. หาไมไ้ ผ่ขนาดท่ีต้องการ ท่อี ยู่ ๑๒๘ หมู่ ๑๑ บา้ นพนาลัย ต้าบลเวียงเหนือ
๒. ตัดไม้เป็นทอ่ นตามขนาด
๓. จักตอก อา้ เภอเวยี งชยั จงั หวดั เชียงราย ๕๗๒๑๐
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๔ ๖๓๘ ๔๖๗๑ / ๐๘๑ ๙๖๑ ๓๓๔๕
๔. รูดเสี้ยนออก
๕. ข้นึ รปู ตามโครงสร้างของชิ้นงาน

๖. จกั สานตามลวดลายทอี่ อกแบบ
๗. ตากแดดให้แหง้
๘. ส้ารวจรายละเอียดของช้ินงาน

๙. ลงแล็คเกอร์ แล้วน้าไปตากแดดให้แหง้
๑๐. บรรจหุ บี หอ่ จากน้ันสง่ ไปยังลกู คา้ ตามออเดอร์

33

ผำ้ ทออสี ำนล้ำนนำ
ผ้ำทออีสำนล้ำนนำ เป็นมรดกภูมิปัญญาท่ีคนอีสานที่ได้อพยพ
ย้ายถนิ่ ฐานจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มักจะน้าเอาองค์ความรู้ด้าน
การทอผ้าของบรรพบุรุษที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เพ่ือน้ามาใช้เป็น
เครื่องนุ่งห่มของตนเองและบุคคลในครัวเรือน โดยจะมีการออกแบบ
ลวดลายผ้าไหมท่ีบ่งบอกถึงวิถีชีวิตที่เก่ียวข้องกับธรรมชาติท่ีอยู่รอบตัว
เชน่ ลายปลาซวิ ลายกงเลก็ ลายกงใหญ่ ลายดอกไม้ เปน็ ตน้

การท้าผ้าไหมมัดหม่ีถือว่าเป็นการใช้ศิลปะในการย้อมสีที่เรียก
กันท่ัวไปว่าการมัดย้อม ซึ่งลวดลายท่ีเกิดข้ึนก็จะเกิดจากการมัดแล้วน้าไปย้อมให้เกิดลวดลายและการกระจายสี
ท่ีอยู่ตรงรอยต่อของแต่ละสีท่ีท้าให้เกิดความสวยงาม รวมไปถึงศิลปะการทอผ้าด้วยที่น้าเส้นด้ายที่ได้จากการมัดย้อม
นา้ ไปข้นึ ท่กี ่ที อผา้ จนเกิดเป็นลายผา้ ของแต่ละผนื ทมี่ ีความสวยงามแตกต่างกนั ไป

วัสดุอปุ กรณแ์ ละอุปกรณ์ ขั้นตอนกำรทอผ้ำ
1. ด้ายผ้าไหม การเตรียมเส้นไหม การน้าเส้นไหมที่ซ้ือมาเข้าเหล่ง
2. เหล่ง : ใชส้ า้ หรับจดั เรียงเส้นไหมออกจากกระบุง หรือตะกร้า ส้าหรับการจัดเรียงเส้นไหม จากน้ันน้าเส้นไหมไปฟอก
3. กง และอ้ัก : ท้าหน้าที่ใช้ส้าหรับใส่ใจเส้นไหม ส่วนอั้ก ด้วยด่างเพื่อท้าความสะอาด ก่อนน้าไปย้อมสีตามท่ี
ใชส้ า้ หรับกวกั เส้นหม่ีออกจากกง ตอ้ งการ
4. ทสี่ าวไหมเสน้ ยนื : ใช้ส้าหรับสาวไหมเสน้ ยืน
5. ที่เข็นไหม : ใช้โดยการเอาปลายม้วนไหมจ่อไว้ที่ไหน การทอผ้า ข้นั ตอนในการทอผ้า มีดังน้ี
ส่วนมอื อกี ข้างจบั ทีห่ มุนใหว้ งล้อหมนุ ส่วนไหนกจ็ ะหมนุ ตาม ๑. สืบเส้นด้ายยืนเข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อย
6. หลักเฝือ :ใชใ้ นการคน้ ดา้ ยเส้นยืน หลักเฝือท้าจากไม้ หรือเหลก็
7. แปรงหวี และตะกรอ (เขา) : ฟันหวี มลี ักษณะคล้ายหวี ยาว ปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะกอแต่ละชุดและฟันหวี
เท่ากับความกว้างของหนา้ ผ้าท้าด้วยโลหะมีลักษณะเป็นซ่ีเล็ก ๆ ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากบั แกนม้วนผ้าอีก
มีกรอบท้าด้วยไม้หรือโลหะ ส่วนตะกอ คือ เชือกท้าด้วยด้าย ด้านหนง่ึ ปรบั ความตึงหย่อนใหพ้ อเหมาะ กรอดา้ ยเข้า
ไนลอนที่ร้อยคล้องไหมยืนเพื่อแย่งเส้นไหมเป็นหมวดหมู่ตาม กระสวยเพ่อื ใชเ้ ป็นดา้ ยพงุ่
ที่ต้องการ ใช้ส้าหรับแยกเส้นด้ายให้ข้ึนเพื่อเปิดให้จังหวะของ
เสน้ ดา้ ยพ่งุ สอดขัดกัน 2. เริ่มการทอโดยกดเครื่องแยกหมู่ตะกอ เส้นด้าย
8. หลอดด้ายและกระสวย : หลอดด้ายมีลักษณะรูปร่างเป็นกลม ยืนชุดที่ ๑ จะถูกแยก ออกและเกิดช่องว่าง สอด
เรียวยาว มีรูกลวงตรงกลางส้าหรับสอดไม้ขอหลอด เพ่ือสอดรู กระสวยด้ายพุ่งผ่าน สลับตะกอชุดท่ี 1 ยกตะกอชุดที่
หลอดด้ายให้อยู่ในรางกระสวย ส่วน กระสวย ท้าด้วยไม้ ปลาย 2 สอดกระสวยดา้ ยพุง่ กลบั ท้าสลบั กนั ไปเร่อื ย ๆ
สองด้านมน ตรงกลางกลวง ส้าหรับบรรจุหลอดด้ายพุ่ง มีน้าหนัก
และขนาดเหมาะมือ ใชพ้ ุ่งไปมาระหวา่ งการยกเสน้ ดา้ ยยืนขึ้นลง 3. การกระทบฟนั หวี (ฟืม) เม่ือสอดกระสวยด้ายพ่งุ
9. กที่ อผา้ หรือหูกทอผ้า : เปน็ อปุ กรณใ์ ช้ส้าหรบั ทอผ้า กลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพ่ือให้ด้ายพุ่งแนบติดกันได้
เนอ้ื ผา้ ทแี่ น่นหนา

4. การเก็บหรือมว้ นผา้ เมอ่ื ทอผ้าไดพ้ อประมาณ
แล้วกจ็ ะม้วนเกบ็ ใน แกนมว้ นผ้า โดยผอ่ นแกนดา้ ยยนื

ให้คลายออกและปรับความตึงหย่อนใหม่ใหพ้ อเหมาะ

ผทู้ ถี่ ือปฏิบัติมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ชอื่ นางจนั ได ทองเหลา
ทีอ่ ยู่ 10 หมู่ 8 บ้านไตรแกว้ ต้าบลเวียงเหนอื

อ้าเภอเวยี งชยั จงั หวัดเชียงราย 57210

หมายเลขโทรศพั ท์ 084 948 6610

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ วี ย ง เ ชี ย ง รุ้ ง

เวียงเก่าเชียงรุ้ง เขาสูงพระบาท
ธรรมชาติน้ำตก มรดกล้านนา
ประชารื่นรมย์ ชื่นชมคุณธรรม

สภาวัฒนธรรมอำเภอเวียงเชียงรุ้ง

35

อำเภอเวียงเชียงรุ้ง

ประวตั ิควำมเปน็ มำ

อำเภอเวียงเชียงรุ้งเดิมเป็นส่วนหน่งึ ของอำเภอเวียงชัย ประชำกรในพ้นื ท่ีอำเภอประกอบด้วยประชำชน
หลำยภำค ย้ำยมำอยู่ด้วยกัน ส่วนใหญ่เป็นคนภำคเหนือ รองลงมำเป็นประชำชนที่อพยพมำจำก
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีควำมหลำกหลำยในวัฒนธรรม และวิถีชีวิต แต่มีควำมผสมผสำนและกลมกลืนกัน
ในสังคม และวัฒนธรรมประเพณี อีสำนและล้ำนนำอย่ำงลงตัว ต่อมำทำงรำชกำรได้แบ่งพ้ืนที่กำรปกครองออกมำ
ตั้งเป็นก่งิ อำเภอเชยี งรุ้ง ตง้ั แตว่ นั ท่ี ๑๖ สงิ หำคม ๒๕๓๖ ซง่ึ ขณะนน้ั นำยสนน่ั อินตะ๊ ขัติย์ เปน็ นำยอำเภอเวียงชัย

เมอ่ื วันท่ี ๑ เมษำยน ๒๕๓๘ กระทรวงมหำดไทยประกำศอนมุ ตั ใิ ห้ตงั้ กิ่งอำเภอเวียงเชียงรงุ้
เมื่อวันที่ ๓ เมษำยน ๒๕๓๘ เปดิ ที่ทำกำรกงิ่ อำเภอเวียงเชยี งรุ้ง ชั่วครำว โดยผ้วู ำ่ รำชกำรจงั หวดั เชียงรำย
(นำยคำรณ บุญเชดิ )
เม่ือวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๓๙ เปิดท่ีว่ำกำรก่ิงอำเภอเวียงเชียงรุ้ง เป็นกำรถำวร โดยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
เชียงรำย (นำยคำรณ บญุ เชิด)
เมื่อวันท่ี ๘ กันยำยน ๒๕๕๐ ยกฐำนะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอ โดยพระรำชกฤษฎีกำตั้งอำเภอ พ.ศ.๒๕๕๐
ซึ่งประกำศตำมพระรำชกิจจนุเบกษำเล่ม ๑๒๔ ตอนท่ี ๒๖ วันที่ ๒๔ สิงหำคม ๒๕๕๐ โดยให้ใช้บังคับเมื่อพ้น
กำหนด ๑๕ วัน นับตง้ั แต่ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เป็นตน้ ไป

แผนทอ่ี ำเภอเวยี งเชียงรุง้

คำขวญั อำเภอเวยี งเชยี งรงุ้ เขาสงู พระบาท
มรดกลา้ นนา
เวียงเกา่ เชียงร้งุ ชื่นชมคณุ ธรรม
ธรรมชาตนิ ้าตก
ประชารื่นรมย์ บอ้ งไฟประเพณี

ลอื ลา้ ผ้าไหม

36

ลักษณะทำงกำยภำพ

๑. สภาพทั่วไป

อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอำเภอเมืองเชียงรำย ห่ำงจำกอำเภอเมืองเชียงรำย

37 กิโลเมตร ท่ีว่ำกำรอำเภอเวียงเชียงรุ้ง ต้ังอยู่หมู่ 15 บ้ำนโป่งพัฒนำ ตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง

มีจำนวนเน้อื ที่ประมำณ80 ไร่ เป็นท่ีดินสำธำรณะประโยชน์ พ้ืนท่ีของอำเภอเวียงเชียงรงุ้ มี จำนวน 206.31 ตำรำงกิโลเมตร

หรือประมำณ 128,944 ไร่ มอี ำณำเขตติดตอ่ ดงั น้ี

อาณาเขตตดิ ต่อ
- ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับ อำเภอแมจ่ นั และ อำเภอดอยหลวง จงั หวัดเชยี งรำย
- ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอเชยี งของ และ อำเภอพญำเม็งรำย จงั หวัดเชียงรำย
- ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชยี งรำย
- ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อำเภอเมืองเชียงรำย จงั หวัดเชยี งรำย

๒. สภาพภูมปิ ระเทศ

สภำพท่วั ไปเป็นทีร่ ำบกว้ำง มภี ูเขำบำงส่วนเรียงรำยเป็นแนวเขตติดต่อกบั อำเภออน่ื ๆ พื้นทีล่ ำดเอียงไป
ทำงทิศตะวันตก สูงจำกระดับนำ้ ทะเลประมำณ 420 เมตร โดยทั่ว ๆ ไปเป็นท่ีรำบกว้ำง มีภูเขำเรียงรำยสลบั

เปน็ แนวติดตอ่ กนั อำเภออื่น ๆ มแี ม่น้ำเผ่อื ต้นกำเนดิ ตำบลทงุ่ กอ่ ไหลจำกทิศตะวันออกไปสตู่ ะวนั ตกลงสู่แม่น้ำกก
ยำวประมำณ 12 กิโลเมตร และแม่น้ำห้วยลึกไหลผ่ำนอำเภอเวียงเชียงรุ้ง มีเนื้อท่ีประมำณ ๘๐ ไร่ เป็นที่ดิน
สำธำรณประโยชน์พื้นที่ของอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จำนวน ๒๐๖.๘๑ ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ ๑๒๘,๙๔๔ ไร่

ส่ ว น ก ำร คม น ำคม ทำงรถ ย นต์ ถ้ ำใช้ เ ส้ นทำง ห ลวงแ ผ่ น ดิ นจำกจั ง ห วัดเ ชี ย งรำย แ ยก เ ข้ ำทำงวัดศรี ทรำยมูล
ผ่ำนท่ีว่ำกำรอำเภอเวียงชัย ถึงอำเภอเวียงเชียงรุ้ง ประมำณ ๔๕ กิโลเมตร และสำมำรถเดินทำงต่อไปยัง อำเภอ

ดอยหลวง อำเภอเชียงของ อำเภอเชียงแสน หรืออำเภอแม่จันก็ได้ และอีกเส้นทำงหนึ่ง ใช้เส้นทำงจำกอนุสำวรีย์
พ่อขุนเม็งรำยมหำรำช ผ่ำนสนำมกีฬำกลำงจังหวัดเชียงรำย ถึงหมู่บ้ำนป่ำยำงมน แยกซ้ำยใช้เส้นทำงผ่ำน
บ้ำนป่ำบง ผ่ำนพุทธสถำนกือนำ ไปถึงสำมแยกดงป่ำสัก แล้วเลี้ยวซ้ำยผ่ำนบ้ำนดงชัย ระยะทำงถึงอำเภอเวียงเชียงรุ้ง

ประมำณ 3๗ กิโลเมตร
๓. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

มีลักษณะภูมิอำกำศ โดยทั่วไปเป็นแบบร้อนช้ืน สลับกับร่องมรสุมพัดผ่ำน มีอุณหภูมิเฉล่ีย
ตลอดปปี ระมำณ 25 องศำเซลเซยี ส อุณหภูมิสูงสดุ ประมำณ 37 องศำเซลเซียส แบ่งไดเ้ ป็น 3 ฤดู ไดแ้ ก่

1. ฤดฝู น เร่ิมประมำณช่วงเดือนพฤษภำคม - ตุลำคม ของทุกปี โดยได้รับอิทธพิ ลจำกลม

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้เปน็ ส่วนใหญ่ และมีปริมำณนำ้ ฝนโดยเฉล่ีย 1,660 มิลลเิ มตร (มม.) ต่อปี
2. ฤดหู นาว เริ่มประมำณช่วงเดือนพฤศจิกำยน - กุมภำพันธ์ ของทุกปี เป็นช่วงที่ได้รับ

อิทธิพลจำกลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งนำควำมหนำวเย็นมำเยือน ซึ่งในช่วงเดือนมกรำคมจะเป็นช่วงท่ีมี
อณุ หภมู ิต่ำสดุ ประมำณ 6 องศำเซลเซียส

3. ฤดรู ้อน เร่ิมประมำณช่วงเดือนมีนำคม - เมษำยน ของทุกปี ช่วงปลำยเดือนเมษำยน

จนถึงต้นเดือนพฤษภำคม เป็นช่วงที่มักจะมีลมพำยุและฝนตกรุนแรง ซ่ึงในแต่ละปีมักจะมีลูกเห็บตกเป็นบริเวณ
กวำ้ ง และจะมีอณุ หภมู ิสงู สุดประมำณ 37 องศำเซลเซยี ส

37

แหล่งเรียนรู้/แหล่งทอ่ งเทยี่ ว

๑. วนอทุ ยานน้าตกหว้ ยแมส่ กั
ตั้งอยู่ที่ตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงรำย

อยู่ในเขตป่ำสงวนแห่งชำติป่ำห้วยสักและป่ำแม่กกฝ่ังขวำ มีเน้ือที่
ประมำณ 2,800 ไร่ กรมป่ำไม้ได้ประกำศจัดตั้งเป็นวนอุทยำน
เมื่อวันที่ 8 พฤษภำคม 2545 ลักษณะภูมิประเทศ บริเวณ
วนอุทยำนห้วยแม่สักเป็นภูเขำวำงตัวในแนวทิศตะวันตกเฉียงใต้ -
ตะวันออกเฉียงเหนือ สูงจำกระดับน้ำทะเลประมำณ 460-963 เมตร
มีลำห้วยแม่สักเป็นห้วยขนำดใหญ่ ซึ่งเป็นแหล่งต้นนำ้ ของ
น้ำตกห้วยแม่สัก มี พืชพรรณ เป็นป่ำเบญจพรรณที่มีไม้สักข้ึนอยู่จำนวนมำก สภำพป่ำเป็นบรเิ วณน้ำตกห้วยสกั ยงั
อุดมสมบูรณ์ แตใ่ นบรเิ วณอ่ืน ๆไมค่ ่อยสมบูรณน์ กั เนื่องจำกในอดตี เคยถกู บกุ รกุ ปจั จุบันปำ่ ไม้ค่อยๆ เริ่มฟ้นื ตวั ขน้ึ
พันธ์ุไม้ที่พบได้แก่ ตะแบกเกรียบ สัก กระท่อมหมู เลี่ยน เติม ไม้พ้ืนล่ำงเป็นพวกไผ่ กล้วยป่ำ ผักครำด หญ้ำคำ
สำบเสือ กลอย หญ้ำคมบำง บอน และเฟิร์น ส่วน สัตว์ป่า ท่ีพบในเขตวนอุทยำน ได้แก่ กระต่ำยป่ำ อ้นเล็ก
กระจ้อน กระแต พังพอน ไก่ป่ำนกกระปูด นกเขำเปล้ำ นกกำงเขนดง นกปรอดหัวโขน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
สัตวเ์ ล้ือยคลำนและปลำชนิดต่ำง ๆ
2. วนอุทยานน้าตกตาดสายร้งุ
ตั้งอยู่ในเขตป่ำสงวนแห่งชำติป่ำห้วยสักและป่ำแม่กกฝ่ังขวำตำบล
ป่ำซำง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงรำย มีเนื้อที่ประมำณ 4,000 ไร่
น้ำตกตำดสำยรุ้ง เป็นน้ำตกท่ีมีทิวทัศน์สวยงำม อยู่ใกล้แหล่งชุมชน
ทกุ ปจี ะมนี ักท่องเท่ียวจำกตำบลใกล้เคียง และต่ำงอำเภอเข้ำมำท่องเที่ยว
เปน็ จำนวนมำก โดยเฉพำะในชว่ งฤดูแล้งและเทศกำลสงกรำนต์
ลักษณะท่ัวไปเป็นเทือกเขำสูง ทอดตัวยำวในแนวเหนือ-ใต้ พ้ืนที่ลำดเอียงไปทำงทิศตะวันออก ลำดชันประมำณ
40-60 เปอรเ์ ซ็นต์ สูงจำกระดับน้ำทะเลปำนกลำง 500-700 เมตร
ลักษณะภูมิอำกำศ สภำพอำกำศเป็นแบบมรสุมเขตร้อน อุณหภูมติ ำ่ สุด 8.5 องศำเซลเซียส สงู สุด 37 องศำเซลเซียส
มีปริมำณน้ำฝนเฉล่ียรำยปี เท่ำกับ 1980 มิลลิเมตร มีช่วงฤดูร้อนระหว่ำงเดือนมีนำคม-เมษำยน ฤดูฝนระหว่ำง
เดือนพฤษภำคม-ตุลำคม และฤดูหนำวระหว่ำงเดือนพฤศจกิ ำยน-กุมภำพนั ธ์
พืชพรรณและสัตว์ป่ำ พรรณไมเ้ ป็นป่ำเบญจพรรณสลับป่ำไผ่ มีไม้ยนื ตน้ และไผ่ข้ึนผสมกระจำยเต็มพนื้ ที่ มีไม้สัก
ปะปนคละกับไม้อืน่ เชน่ สกั ประดู่ แดง ตะเคยี น ซอ้ เสลำ สมอพเิ ภก มะแฟน กระพีเ้ ขำควำย พระเจำ้ ห้ำพระองค์
ตะแบก นอกจำกนั้น ยังมีพืชกลุ่มเฟินและหวำยกระจำยอยู่ตำมบริเวณลำห้วย ไผ่ที่พบส่วนใหญ่เป็นซำง ไผ่บงเลก็
ไผไ่ ร่ ไผไ่ รล่ อ เปน็ ต้น
3. วนอทุ ยานประวัตศิ าสตร์เวียงเชียงรุ้ง
เวียงเชียงรุ้ง หรือเวียงฮุ้ง เป็นเมืองโบรำณสมัยล้ำนนำ ลักษณะ
เป็นเนิน มีคูน้ำล้อม พบซำกโบรำณวัตถุจำนวนมำก มีกำรพบศิลำจำรึก
สมัยพระเจ้ำติโลกรำชระบุว่ำบริเวณนี้เคยเป็นเมืองมำก่อน เป็นเมืองท่ำ
สำหรับเช่ือมตอ่ ประเทศจีนและล้ำนนำรวมถงึ เมอื งอ่ืนๆแถบลุ่มแม่น้ำโขง
ได้มีกำรค้นพบเมืองโบรำณแห่งน้ใี นปี พ.ศ.2523 และข้ึนทะเบียนพ้นื ที่
508 ไร่ เปน็ เขตวนอทุ ยำนประวัตศิ ำสตรเ์ วยี งเชียงร้งุ กลำงเวยี งมวี ดั รำ้ ง
แห่งนึงท่ีหลงเหลือซำกโบรำณมำกท่ีสุดในพื้นที่นี้และถูกบูรณะเป็น
วัดเวียงเชียงรงุ้ ปัจจุบนั มีพระสงฆ์จำพรรษำ และไดน้ ำช่อื ไปต้ังเป็นชอื่ อำเภอเวยี งเชยี งรงุ้

38

พธิ ีกรรมสู่ขวัญควำย
พิธีกรรมสู่ขวัญควำย ซึ่งกำลังจะสูญหำย คนกับควำยวิถีชีวิตชำวชนบท

ผูกพันลึกซึ้ง มีควำมรักและเอ้ืออำทรต่อกัน ไม่ว่ำคนหรือสัตว์ มิตรภำพ

ท่ีจะดำรงอยูไ่ ด้เนิ่นนำน สำยใยผูกรดั ไม่ให้ขำด คอื น้ำใจ ควำยเป็นสัตว์เลี้ยง

ที่อยู่คู่ชำวไร่ชำวนำมำช้ำนำนตั้งแต่อดีตกำล เป็นสัตว์ให้คุณเป็นกำลัง

หลักของชำวนำ ในกำรปลูกข้ำวเล้ียงผู้คนมำโดยตลอด ปัจจบุ นั ควำยถูก

ใช้งำนน้อยลงเพรำะวิถีชีวิตเกษตรกรเปลี่ยนไป จำกใช้แรงงำนควำยหัน

ไปใช้แรงงำนจำกเครื่องจักรแทน กำรสู่ขวัญควำย เป็นกำรเตือนสติ

เตอื นจิต เตอื นใจ ให้คนมคี วำมกตัญญูกตเวที รำลกึ ถงึ บุญคุณของผู้ท่ีได้

ช่วยเหลือเก้ือกูลแก่ตนว่ำได้รับผลประโยชน์ หรือแสดงกำรตอบแทน

บุญคุณ และเพ่ือเป็นกำรอนุรักษ์ สืบสำนประเพณีกำรสู่ขวัญควำย

ให้คงอยสู่ บื ต่อไปมิใหส้ ญู หำย

พิธีกรรมที่สืบทอดใกล้เลือนหำย เป็นภูมิปัญญำจำกเครือข่ำยสภำวัฒนธรรมตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง

จังหวัดเชียงรำย โดยภมู ิปญั ญำท้องถิ่นพิธกี รรมสู่ขวญั ควำย โดยนำยอคั คพล วนั ดี หรือพ่อถำ ผทู้ รงภูมิปัญญำด้ำน

พิธีกรรมสู่ขวัญควำย โดยมีควำมรู้ภูมิปัญญำท่ีเก่ียวข้องกับกำรฝึกสอนควำย และสำธิตพิธีกรรมสู่ขวัญควำย ตลอดจน

กำรใหค้ วำมรู้ต่ำง ๆ เกีย่ วกบั กำรใชช้ วี ิตหรอื ประโยชน์จำกควำย ซึ่งมีคุณค่ำและมปี ระโยชน์ต่อมวลมนุษยม์ ำช้ำนำน

พิธกี รรม เครือ่ งทำพิธสี ่ขู วญั ควำย

1. ทำบำยศรีนมแมว หรอื บำยศรปี ำกขำม อยำ่ งใดอยำ่ งหนึง่

2. ทำกรวยดอกไม้และด้ำยสำหรบั ผกู เขำควำยเวลำสขู่ วัญ

3. หญำ้ ออ่ น 1 หำบ สำหรบั เป็นรำงวลั แกค่ วำย

4. ขำ้ วเหนยี วสกุ 1 กล่อง

5. ไกต่ ม้ หนง่ึ คู่

6. เหลำ้ ไหหนง่ึ

7. ขนมบำงอยำ่ ง เชน่ ขนมต้มขำว ขนมต้มแดง หรอื ข้ำวตม้ มัด

8. น้ำขมน้ิ สม้ ปอ่ ยใส่ขนั เงิน สำหรับประพรมควำย

วิธีทำขวัญควำย

นำเอำเคร่ืองพิธีมำวำงบนเส่ือท่ีปไู วใ้ นแหล่งหรอื คอกควำย

เจ้ำของนำควำยไปอำบน้ำ ขัดสีฉวีวรรณจนหมดจดสะอำด แล้วจูง

ควำยมำผกู ไว้กับเสำหรอื หลักในคอก จำกนัน้ กไ็ ปเชิญพธิ ีกร หรอื ปู่

อำจำรย์มำทำพิธีปัดเครำะห์ เรียกขวัญ จนเสร็จแล้วเอำด้ำยผูก

กรวยดอกไม้ติดกับเขำควำย บำงรำยเอำด้ำยสำยสิญจน์ผูกคนไว้ ผู้ทถี่ ือปฏิบัติมรดกภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม
ด้วย แล้วเอำน้ำขมิ้นส้มป่อยประพรมเพื่อให้ควำยอยู่สุขสบำย พอ ชอื่ นำยอัคคพล วันดี
ทำพิธีเสร็จ เจ้ำของยกเครื่องข้ำวขวัญออกไป และนำเอำหญ้ำอ่อน
ทีอ่ ยู่ หมู่ ๔ บ้ำนทงุ่ กอ่ ตำบลทงุ่ ก่อ
มำให้ควำยกินเป็นเสร็จพิธีทำขวัญควำย สำหรับเจ้ำของยังไม่เสร็จ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จงั หวัดเชยี งรำย
เพรำะยังจะชวนพิธีกรมำกินไก่และด่ืมเหล้ำจำกไหน้ัน สนุกสนำน
๕๗๒๑๐
ตลอดวัน ถือว่ำงำนปักดำได้ผ่ำนพ้นไปแล้ว เป็นกำรฉลองควำม หมำยเลขโทรศัพท์ 093 2630641
เหนอื่ ยยำกจำกกำรไถนำและดำนำอีกสว่ นหน่ึงดว้ ย

39

ผยี ่ำหม้อนึ่ง
พิธีกรรมล้ำนนำ “ผีย่ำหม้อนึ่ง” วิถีโบรำณที่สืบทอดใกล้เลือนหำย
เป็นภูมิปัญญำจำกเครือข่ำยสภำวัฒนธรรมตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียง
เชียงรุ้ง จังหวัดเชียงรำย เป็นพิธีกรรม ควำมเช่ือในกำร เชิญวิญญำณ
ช่วยทำนำยทำยทัก, กำรถำมเวลำ (ถำมเมื่อ) หรือฤกษ์งำมยำมดี,
ถำมหำของหำยจะได้คืนหรอื เปล่ำ ,กำรทำยหรือถำมว่ำจะมีเน้อื คู่หรอื เปล่ำ,
กำรถำมอำกำรป่วย หรือกำรรกั ษำโรคว่ำจะหำยหรอื เปลำ่
“ ผยี ่ำหมอ้ นงึ่ ” เป็นภมู ปิ ัญญำดำ้ นแนวปฏบิ ตั ทิ ำงสงั คมพิธีกรรม โดยมีนำงบวั ผนั ศรีพรม อำยุ 62 ปี เปน็ ลูก
ของพ่อพรม วันดี (เสียชีวิตแล้ว) และแม่เอ้ย วันดี อำยุ 86 ปี เมื่อแม่เอ้ย วันดี ชรำภำพลงนำงบัวผัน ศรีพรม
จึงสืบทอดมำ ตั้งแต่พ.ศ. 2559 เร่ือยมำ ส่วนใหญ่คนที่มำถำมผีย่ำหม้อน่ึงก็จะเป็นคนป่วย คนที่ทำของหำย
คนท่ีโดนขโมยของ หรือเด็กท่ีเกิดใหม่แล้วร้องไห้ไม่หยุดอำจเป็นเพรำะอยำกได้ช่ือใหม่ อยำกได้ของติดตัว หรือ
ชำวบำ้ นมำถำมเมือ่ ถำม หรอื ดดู วง กจ็ ะมำถำมผีย่ำหมอ้ นึง่ เปน็ ควำมเช่ือของชำวบ้ำนสมัยก่อน ว่ำเมือ่ ถำมอะไรกับ
ผีย่ำหม้อนึ่งไปแล้วก็จะตอบได้หมด จะเป็นเรื่องจรงิ และต้องทำตำมที่ผีย่ำหมอ้ น่ึงบอก ถำมหำของหำยก็จะไดค้ นื
ถำมวำ่ ทำไมถงึ ป่วยก็จะไดร้ วู้ ำ่ ปว่ ยเพรำะอะไร
วสั ดุ/อุปกรณ์ และของประกอบพิธีกรรม
1) อุปกรณท์ ่ีใชส้ ำหรับนงึ่ ขำ้ ว (เตำอังโล่ หมอ้ น่ึง ไหนง่ึ ข้ำว)
2) ใชไ้ ม้ไผค่ ำดเปน็ แขนขำ
3) ผำ้ ดำ สำหรับนำมำคลมุ เป็นเสอ้ื
4) ถำด หรอื กระดง้ ใส่ขำ้ วสำร
5) ขำ้ วสำร (ใช้ข้ำวเหนียว)
6) พรกิ หนุม่ ใบพลู กลว้ ย 2 ลูก ข้ำวเหนยี ว เงนิ ขนั ตัง้ 50 บำท เปน็ เคร่ืองสกั กำระ
๗) ส้อยหมำก + ส้อยพลู 2 สอ้ ย (ร้อยใหเ้ ป็นเส้นยำว ๆ ลกู หมำก + ใบพลู 2 เสน้ )
๘) สอ้ ยดอก + ขำ้ วตอก + เทยี น 2 เลม่ 2 สอ้ ย (ดอกไม้ + ข้ำวตอก + เทียน 2 เลม่ จำนวน 2 เส้น)
๙) เสื้อผ้าของคนท่ีไมส่ บาย หรือของคนท่ีจะให้ทายทกั ๑ ผืน (ถา้ มคี นมาถามแทน)
พิธกี รรม/วธิ ีกำร
๑. นำข้ำวสำรใส่ถำด
๒. นำอุปกรณม์ ำประกอบเป็นอุปกรณท์ ำยทัก
๓. เม่ือมผี ู้มำถำมโชคชะตำ หรือถำมอำกำรเจ็บไขไ้ ดป้ ่วย หรอื ของหำย ฯลฯ
๔. ผู้ประกอบพิธี หรือร่ำงท่ีเป็นผีย่ำหม้อนึง่ จะเรียกผใี ห้เข้ำสงิ อปุ กรณ์ทำยทกั
ดังกล่ำว แลว้ นำไปจมิ้ หรอื เคำะลงในพ้นื ถำดข้ำวสำร
- หำกไม่ใช่ หรือไม่ถกู จะไม่มกี ำรเคำะในถำดข้ำวสำร
- หำกใช่ หรือถกู ตอ้ ง จะเคำะในถำดขำ้ วสำร

ทั้งน้ี ผู้ประกอบพิธี หรือร่ำงผีย่ำหม้อน่ึง ผทู้ ถี่ ือปฏิบตั ิมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
จะไม่รู้สึกตัว เพียงแต่เป็นส่ือให้กับผีย่ำ ชื่อ นำงบวั ผัน ศรีพรม และนำงทำ วันดี
หม้อนึ่งดังกล่ำว ทั้งนี้ หำกผีย่ำหม้อน่ึงไม่ ทอ่ี ยู่ ๖๔ และ ๑๙๔ หมู่ ๔ บำ้ นทงุ่ ก่อ ตำบลทุ่งกอ่
เข้ำสิง บริเวณอุปกรณ์ทำยทักดังกล่ำวน้ัน
ก็จะไม่ทรำบข้อมลู แตอ่ ยำ่ งใด อำเภอเวียงเชยี งรุ้ง จังหวัดเชียงรำย ๕๗๒๑๐
หมำยเลขโทรศพั ท์ -

40

โปงลำง

โปงลำง คือ ระนำดพ้ืนเมืองอีสำน เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเครื่อง

เคำะทำทำนองและจังหวะไปพรอ้ มกัน ลกู ระนำดทำจำกไม้ท่อนขนำดลำ

แขน เป็นตัด กลึง และถำกตกแต่งเทียบเสียงดนตรี โด, เร, มี, โซ, ลำ

เรียงเสียงลำดับจำกต่ำไปสูงได้ ๑๒ ลูก ๑๓ ลูก หรือ ๑๔ ลูก แล้วนำมำ

ร้อยผืนระนำดด้วยเชือกเสน้ โตขนำดเท่ำกบั เชือกผูกวัว เวลำเล่นใช้แขวน

เป็นแนวเฉยี งลงมำทำมุมประมำณ ๖๐ องศำกบั พนื้ ให้ด้ำนลกู ใหญ่เสียง

ทุ้มอยู่ตอนบนและด้ำนลูกเล็กสั้นและเสียงแหลมอยู่ตอนล่ำง กำรเคำะ

โปงลำงมักใช้ผู้เล่น ๒ คน คนเล่นทำนองเพลงจะเข้ำเคำะทำงด้ำนหน้ำ

ของผนื โปงลำง เรยี กว่ำเป็น “หมอเคำะ” อีกคนหนึ่งเขำ้ เคำะข้ำงขวำมือ

ของหมอเคำะมีหน้ำท่ีเคำะเสยี งประสำนและทำจงั หวะเรียกเป็น “หมอเสิร์ฟ”

ไม้ที่นำมำทำลูกโปงลำงนั้นนิยมใช้ไม้มะหำด(ไม้หมำกหำด) ซึ่งมีขึ้นอยู่

ตำมป่ำเบญจพรรณท่ัวไปไม้ชนิดนี้มีเปลือกเหนียวแข็งไม่บิดแตกเป็น

เสี้ยน เวลำแห้งแล้วเคำะมีเสียงดังดีมำก ย่ิงเป็นไม้มะหำดจำกต้นท่ียืน

ตำยย่ิงเสียงดีเป็นพิเศษ ช่ำงทำโปงลำงบำงคนจึงตัดเซำะเผำรำกต้น

มะหำด แล้วปล่อยให้ยนื ตน้ ตำยก่อนโค่นมำทำลูกโปงลำง

ควำมหมำยของโปงลำง มี ๒ ลักษณะ คำว่ำ "โปง" และ "ลำง" โปง เป็นส่ิงที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีในยำมวิกำล

แสดงวำ่ มเี หตุร้ำย ตตี อนเช้ำกอ่ นพระบิณฑบำตใหญ้ ำตโิ ยมเตรยี มตวั ทำบุญตักบำตร และ ตเี วลำเยน็ เพือ่ ประโยชน์

ให้คนหลงป่ำกลับมำถูก เพรำะเสียงโปงลำงจะดังกงั วำนไปไกล (สมัยก่อนใช้ตีในวัด) ส่วนคำว่ำ ลำง นั้น หมำยถึง

ลำงดี ลำงร้ำย กำรแสดงโปงลำงโรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยำคมโรงเรียนเวียงเชียงรุ้งวิทยำคม เป็นโรงเรียนที่เปิดสอน

ระดับมัธยมศึกษำ กำรแสดงโปงลำงเป็นกำรแสดงที่บ่งบอกถึงประเพณีกำรละเล่นของชุมชนที่มำจำกภำค

ตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นกำรแสดงท่ีใช้สำหรับแสดงในงำนมงคลต่ำง ๆ ของท้องถิ่น ท่ีมำของกำรตีโปงลำงตี

เพือ่ ใหเ้ กดิ เสียงดัง โปง หมำยถึง เสียงของโปง ลำง หมำยถงึ สัญญำณบอกลำงดหี รอื ลำงแหง่ ควำมรน่ื เริง โปงลำง

จึงหมำยถงึ เครอ่ื งดนตรที มี่ เี สยี งแห่งลำงดี ทำดว้ ยไม้เนือ้ แข็ง เรยี งรอ้ ยกัน ๑๒ ท่อน ใช้แขวนเวลำตี กำรบรรเลงตี

เข้ำจังหวะเร็ว ด้วยควำมสนกุ สนำน มีคณุ คำ่ ในศลิ ปะกำรแสดงของทอ้ งถิน่

กำรแสดงโปงลำงเป็นกำรแสดงบรรเลงในงำนมงคล และงำนร่ืนเริงต่ำง ๆ และงำนกิจกรรมประเพณีของชุมชน

หรือแม้กระท่งั ในงำนโชว์ต่ำง ๆ หรือพธิ เี ปิดงำนต่ำง ๆ กจ็ ะมกี ำรนำกำรแสดงโปงลำงมำบรรเลงโอกำส/เวลำที่ละเล่น

กำรแสดงโปงลำงนั้นนิยมแสดงในงำนบุญต่ำง ๆ เช่น งำนบวช งำนบุญกฐิน งำนประเพณีต่ำง ๆ ในท้องถ่ิน

รวมทง้ั งำนร่ืนเรงิ ตำ่ ง ๆ และแสดงในงำนมหกรรม หรือกิจกรรมท่จี ดั ตำมสถำนท่ีต่ำง ๆ เชน่ วดั โรงเรยี น ข่วงวฒั นธรรม

รวมทง้ั งำนกิจกรรมในสถำนท่อี น่ื ๆ

องค์ประกอบทบี่ ง่ บอกให้เห็นคณุ ลกั ษณะของศิลปะกำรแสดง

เคร่อื งดนตรี ๑๐ ชนิ้ ประกอบด้วย ผูท้ ีถ่ ือปฏิบัติมรดกภูมปิ ัญญำทำงวัฒนธรรม

❖ โปงลำง ❖ กลองหำง ชื่อ โรงเรยี นเวียงเชยี งรุง้ วิทยำคม
ท่ีอยู่ 41 หมู่ 12 บ้ำนเหล่ำเจรญิ เมือง ตำบลทุง่ กอ่
❖ แคน ❖ รำมะนำหรือกล้องตมุ้
อำเภอเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวัดเชียงรำย ๕๗๒๑๐
❖ พณิ โปร่ง ❖ ไหซอง หมำยเลขโทรศัพท์ 053 953275-6

❖ โหวด ❖ ฉำบ

❖ หมำกกั๊บแก้บ ❖ ฉง่ิ

แจ่วบอง 41

แจ่วบอง เปน็ อำหำรพนื้ บ้ำนอีสำน ทีน่ ำวัตถุดิบในท้องถน่ิ มำประกอบอำหำร
และเป็นที่รู้จักของคนท่ัวไป จึงทำให้กลุ่มแม่บ้ำน บ้ำนป่ำเลำ เห็นควำมสำคญั
ในกำรเพ่ิมค่ำผลผลิตภัณฑ์ และแปรรูปอำหำรถนอมอำหำร ที่ใช้ภูมิปัญญำ
ท้องถิ่นของชุมชน โดยทำแจ่วบอง เป็นอำหำรเพ่ือจำหน่ำยแก่ผู้สนใจ และ
ตำมรำ้ นค้ำ หรืองำนเทศกำลต่ำง ๆ เป็นที่รจู้ ักของสนิ ค้ำ ผลิตภณั ฑ์ของกลุ่ม

แจ่วบอง เป็นภูมิปัญญำในกำรถนอมอำหำรของสตรี หรือ
แม่ศรีเรือน และเป็นผลิตภัณฑ์ แปรรูปอำหำรโดยกำรถนอม

อำหำร ผลิตภัณฑ์แจ่วบอง มีรสชำติที่อร่อย สำมำรถนำไปประยุกต์
เป็นอำหำรประเภทอ่ืน ๆ นำวัตถุในท้องถิ่นของชุมชน มำประกอบ

อำหำร และยังเป็นอำหำรท่ีเป็นท่ียอมรับของผู้ที่ชอบทำน หรือ
สนใจ รวมท้ังผักต่ำง ๆ ท่ีใช้ทำนกับแจ่วบอง เช่น ผักกำดขำว
ผักบุ้ง ถว่ั ฝักยำว แตงกวำ มะเขอื ใบโหระพำ และอื่น ๆ ต่ำงกเ็ ป็น

สมุนไพรชนดิ ต่ำง ๆ จึงถอื ว่ำเปน็ สมุนไพรทม่ี ปี ระโยชน์ต่อรำ่ งกำย

ส่วนประกอบ
❖ พรกิ แหง้ หัวหอม กระเทียม ตะไคร้
ปลำร้ำสกุ สับละเอียด
❖ มะนำว หรอื มะขำมเปยี ก น้ำตำล
❖ พริกข้หี นู ใบมะกรดู
❖ แตงกวำ มะเขือ ถว่ั ฝกั ยำว ผกั กำดขำว

และผักอนื่ ๆ ตำมชอบ เพ่อื กนิ กับเปน็ เครือ่ งเคียง

ขั้นตอนกำรทำ

๑. นำพรกิ แห้งคัว่ ใหห้ อมและกรอบ หัวหอม กระเทยี ม ค่วั ให้สกุ หรอื จะใช้เผำก็ได้ปอกเปลือกออก ตะไคร้ควั่ ใหห้ อม

๒. โขลกพริกแห้งให้ละเอียด ใส่หัวหอม กระเทียม ตะไคร้โขลกพอแหลก จึงใส่ปลำร้ำสับ โขลกให้เข้ำกันดี

ใสม่ ะขำมเปยี กหรอื มะนำว ต้องกำรหวำนใสน่ ำ้ ตำลเล็กนอ้ ย ชิมดรู สตำมต้องกำร

๓. ตักใส่ถ้วย โรยด้วยพริกขี้หนู ใบมะกรูดหั่นฝอย เพื่อให้สวยงำมน่ำกิน ผักที่ใช้กิน คือ ผักกำดขำว ผักบุ้ง ถั่วฝักยำว

แตงกวำ มะเขือ ใบโหระพำ และอ่นื ๆ ตำมชอบ

แจ่วบอง เปน็ อำหำรท่วั ไปท่ผี ู้คนช่นื ชอบ และปจั จุบันใช้ปลำ ผู้ที่ถือปฏิบตั ิมรดกภมู ปิ ัญญำทำงวฒั นธรรม
ร้ำสุกในกำรปรุง เพื่อให้กำรรับประทำนท่ีถูกสุขลักษณะ อำหำร ช่ือ นำงดชั นี อวนทอง
แจ่วบ่องมีควำมสำคัญและคุณค่ำทำงสังคม จิตใจ วิถีกำรดำเนิน ทอี่ ยู่ 87 หมู่ 3 บำ้ นป่ำเลำ ตำบลดงมหำวัน
ชีวิตของชุมชนเพรำะเป็นอำหำรที่ชำวบ้ำนนิยมรับประทำนกัน
เพรำะทำไดง้ ำ่ ยมีเครอ่ื งปรุงไม่มำกนกั ด้วยควำมทท่ี ำไดง้ ่ำยจึงจะ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จงั หวัดเชียงรำย
พบว่ำแจ่วบองเป็นอำหำรที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน ถึงแม้วิถีชีวิตของ 57210
ชำวบำ้ นจะเปล่ียนไป แตแ่ จ่วบองไมไ่ ดเ้ สอื่ มควำมนิยมลงไปเลย
หมำยเลขโทรศัพท์ 081 796 3669

42

ผำ้ ขำวมำ้ ทอมอื

ผ้ำขำวม้ำทอมือ เป็นงำนฝีมือและมรดกภูมิปัญญำของกลุ่มผู้สูงอำยุ
ทีร่ วมตวั กนั ใชเ้ วลำว่ำงให้เป็นประโยชน์ และเกิดกำรอนรุ ักษ์ภมู ิปัญญำด้ำน
กำรทอผ้ำให้คงอยู่ เกิดควำมสำมัคคีของคนในกลุ่ม และสร้ำงรำยได้แก่
ผสู้ ูงอำยุ จุดเด่นของผ้ำขำวม้ำทอมือ คอื ลวดลำยที่ร่วมกันคิดในกลุ่ม และต้ัง
ชื่อลำยตำมหน่วยงำนที่ส่ังหรือต้องกำร เช่น ลำยออมสิน ลำยกศน. และ
จุดเด่นของกลุ่ม คือ ไมไ่ ด้ตง้ั กฎเกณฑ์ทีเ่ ข้มงวด เน่อื งจำกสมำชิก ก ลุ่มมี
เวลำว่ำงไม่เท่ำกัน ใครว่ำงจำกภำรกิจก็มำร่วมทำ ถ้ำใครมีภำรกิจอ่ืนหำก
เสร็จภำรกจิ ก็เข้ำมำช่วยกัน ทกุ คนในกลุ่มมีควำมสำมัคคี รกั ใคร่ กลมเกลยี ว

วสั ดุ – อปุ กรณ์
❖ ฝำ้ ย และด้ำยสตี ่ำง ๆ
❖ เฝื่อน : ใชส้ ำหรบั ปั่นดำ้ ย
❖ หลอดกรอดำ้ ย
❖ เฝอื : ใช้สำหรบั ขึงเสน้ ดำ้ ยเพื่อนำไปทำเปน็ เส้นยืน
หรอื เส้นแนวตั้งในขัน้ ตอนกำรทอผำ้
❖ กระสวย : ใช้สำหรับใส่หลอดดำ้ ยที่กรอแล้วส่งเสน้
ด้ำยพ่งุ เขำ้ ไปในดำ้ ยเส้นยนื ทีข่ ึงอยู่บนกห่ี รือหกู ทอผ้ำ
❖ กง : ใชจ้ ัดระเบยี บเสน้ ดำ้ ยจำกดำ้ ยท่ซี ื้อมำ
❖ อกั : ใชพ้ ันเส้นด้ำยเพ่ือจัดระเบยี บเสน้ ดำ้ ย
❖ ฟืม : มีลกั ษณะเปน็ ฟันฟืม หรอื ฟนั หวีท่หี ำ่ งตำม
ขนำดของเสน้ ดำ้ ย
❖ กี่หรือหูก : ใช้สำหรบั ทอผำ้
❖ จักรเยบ็ ผำ้ : ใช้สำหรับเยม็ ริมผ้ำขำวมำ้

ข้นั ตอนกำรทอผำ้
1. นำด้ำยหรือฝ้ำยมำโว้นกบั หลกั เฝือเพอ่ื ขึงเส้นด้ำย เตรียมนำไปทำเป็นเส้นยืน หรอื เสน้ แนวต้งั
2. นำด้ำยมำใส่กง และอกั เพื่อจัดระเบียบเสน้ ดำ้ ย
3. นำด้ำยมำใส่ในฟมื บนก่ีเพือ่ ทำเป็นเส้นยืนหรือแนวตงั้ เตรยี มกำรทอผำ้ ขำวม้ำ
4. นำด้ำยหรอื ฝ้ำยมำกรอกับเฝ่ือน ปั่นด้ำย เพอื่ นำด้ำยใหอ้ ยู่บนหลอดหรือแกนด้ำย
5. นำหลอดด้ำยใส่ในกระสวยเพื่อเตรียมนำไปทอเป็นเส้นพ่งุ แนวนอน
6. กำรทอผำ้ ขำวม้ำดว้ ยกี่

ผทู้ ี่ถอื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปญั ญำทำงวฒั นธรรม
ช่อื นำงวรรณดี สุนันต์
ทีอ่ ยู่ 623 หมู่ 11 บ้ำนเหล่ำเจริญรำษฎร์ ตำบลทงุ่ ก่อ

อำเภอเวียงเชยี งรงุ้ จงั หวดั เชียงรำย 57210
หมำยเลขโทรศพั ท์ -

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ แ ม่ ล า ว

แม่น้ำลาวคู่บ้าน
ห้วยส้านพลับพลาคู่เมือง
พระธาตุจอมหมอกแก้วลือเลื่ อง
นามประเทืองแผ่นดินทอง

สภาวัฒนธรรมอำเภอแม่ลาว

44

อำเภอแม่ลาว

ประวัตอิ ำเภอแม่ลาว

“แม่ลาว”เป็นชือ่ แม่น้ำสายหลักทส่ี ำคัญท่ีไหลอำเภอแม่ลาวคนพนื้ เมืองลา้ นมามักเรีย กช่ือว่า
“น้ำแม่ลาว” และเปน็ ทมี่ าของช่ืออำเภอแมล่ าวในปัจจบุ นั ซ่งึ ในอดตี อาณาเขตของ อำเภอแม่ลาว เปน็ พื้นท่ีของ
อำเภอเมอื งเชยี งราย และไดแ้ ยกออกมาเป็นกิง่ อำเภอแมล่ าว ในวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และไดย้ กฐานะ
เป็นอำเภอแมล่ าว ในวนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2539 อำเภอแม่ลาวประกอบดว้ ย 5 ตำบล ซง่ึ แตล่ ะตำบลต่างก็มี
ความเป็นมาท่ีสำคญั ทพ่ี อสรปุ ไดด้ งั นี้

๑. ตำบลบัวสลี

เป็นตำบลหนง่ึ ทอ่ี ยูใ่ นเขตปกครองของอำเภอแม่ลาวมกี ารก่อตั้งโดย นายสมศิริ เป็นชาวบ้าน
สันปูเลยเชียงใหม่ ได้พาสมัครพรรคพวกอพยพมาก่อต้ังหมู่บ้านสันปูเลย หลังจากนั้น ก็มีผูค้ นจากพื้นที่อื่น
เข้ามาอาศัยอยู่และมีบางส่วนที่มามเี ชื้อสายเจ้าทางเชียงใหม่ด้วย และมีการตั้งนามสกุลขึ้นใหม่เพื่อเปน็
การเคารพแก่ผูก้ ่อตัง้ คือ นามสกุล“สลสี องสม” และจงึ ไดต้ ง้ั เปน็ ชอ่ื ตำบลบวั สลี ซึ่งเป็นตำบลทใ่ี หญม่ าก

ในปัจจุบันมี 12 หมู่บ้าน สำหรับโบราณสถานในเขตตำบลบัวสลี จะมีอยู่ที่บ้านสันปูเลย
ซึง่ จะมกี ูถ่ ึง 3 ก่ดู ้วยกัน (กู่ หมายถงึ เจดีย์ สถปู ) ซงึ่ ไมท่ ราบว่าอยู่ในสมัยใด ซง่ึ ในสมัยก่อนจากการสอบถามผู้เฒา่ ผู้
แก่ในชุมชนได้กลา่ วว่า ต้งั แตเ่ กิดมาก็เห็นมาแบบน้แี ล้ว ตอนเป็นเด็กๆก็พากนั ไปเล่น มกี ารขุดขโมยพระและสงิ่ ของ
มคี ่าภายในก่ตู ัดเศยี รพระพุทธรปู เพื่อนำไปขาย ซึ่งในเขตบรเิ วณรอบๆยังมีซากเครื่องปั้นดินเผาแต กอยู่รอบๆ
ชาวบ้านมีการทำการเกษตรอยู่รอบๆตัวกู่ ต่อมาภายหลังก็ไม่มีใครกลา้ ที่จะเข้าไปขุดคน้ และไม่มีใครสนใจ
เพราะไมเ่ หน็ ความสำคัญมอี ยู่

๒. ตำบลดงมะดะ

ในอดีตเขตหมู่ที่ ๔, ๑๕ บ้านดงมะดะเป็นเขตเมืองเก่า พื้นที่ทั้งหมดแต่เดิมรวมไปถึงเขต
ตำบลจอมหมอกแก้วและตำบลโป่งแพร่ด้วย ซึ่งในเขตพื้นที่ดังกล่าวยังมีซากเมืองเก่าลักษณะเป็นหมู่บ้าน
คือ คูเมอื งและกำแพงเมืองท่ียงั เหลือให้เหน็ เคยมชี า่ งจติ รกรได้มาศกึ ษาและคาดวา่ เปน็ เมอื งหน้าด่านสมัยก่อน
และกลับมาบูรณะซอ่ มแซมสมยั พระเจา้ กาวลิ ะ มผี คู้ นเริ่มอพยพเขา้ มาสรา้ งบา้ นแปงเมือง แล้วต้ังชอื่ ตามช่ือตน้ ไม้
ชนดิ หนึ่งทีม่ อี ยอู่ ย่างหนาแน่น คอื “ตน้ มะดะ” จึงตั้งช่อื ว่า ดงมะดะ ซง่ึ ในตำบลมแี ควน้ เลก็ ๆ หรือเป็นหมู่บา้ น

๓. ตำบลจอมหมอกแกว้

มีประวตั ิความเป็นมาของชื่อว่า ตำบลจอมหมอกแก้วมาจากพระธาตุจอมหมอกแก้ว ซึ่งเป็น
พระธาตุท่ศี ักดิ์สิทธท์ิ ่ีชาวบา้ นเคารพนบั ถือ และในปจั จุบนั เป็นหนึง่ ในสถานที่ทอ่ งเทยี่ วในทริปการท่องเที่ยวพระ
ธาตุ ๙ จอม ตำบลจอมหมอกแก้วแยกออกมาจากตำบลดงมะดะเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๒๙

๔. ตำบลปา่ ก่อดำ

แยกมาจากตำบลบัวสลี ซึ่งชือ่ ของตำบลมาจากชือ่ ต้นไม้ที่มีชื่อว่า “มะก่อ” จะมีมากในพ้นื ที่
จงึ นำมาเป็นชื่อของตำบลในพน้ื ที่ มพี ระธาตหุ มอกมงุ เมอื งอยใู่ นหมทู่ ี่ ๔ บ้านทา่ ขเ้ี หล็ก ซง่ึ เป็นสถานท่ีท่ีเคารพ
สักการจึงให้ราษฎรในตำบลเชื่อว่า สถานทีแ่ ห่งน้ีมีความศักดิ์สิทธิส์ ามารถป้องกนั ภยันตรายจากธรรมชาตไิ ด้
ซึง่ ในตำบลปา่ กอ่ ดำไม่เคยเกดิ ภยั ธรรมชาติรนุ แรงนบั ต้งั แตก่ ่อสรา้ งพระธาตแุ หง่ นี้

45

๕. ตำบลโปง่ แพร่

ในอดีตถนนสายทีต่ ัดผ่านตำบลโป่งแพร่น้เี ป็นเสน้ ทางเสดจ็ และประทบั แรมของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๖ สมยั เปน็ “สมเด็จพระยุพราช” และทป่ี ระทับแรมของพระราชชายาเจา้ ดารา
รศั มี ซึ่งเป็นพระชายาในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั (รชั กาลที่ ๕) ณ บรเิ วณบา้ นหว้ ยสา้ นพลับพลา
ซ่ึงเป็นทต่ี ง้ั เป็นทำเลที่ดี เหมาะสม ตอ่ มาพระยาวงค์ ต้นตระกูลแสนคำมา ไดอ้ พยพครอบครัวมาจากเมืองยอง
มาตง้ั เปน็ บ้านเรอื นในปี พ.ศ. ๒๔๓๗ และได้มีตระกูลมูลสถานเดินทาง มาจากเชยี งใหม่ จงั หวัดลำปาง และจังหวัด
แพร่ ตอ่ มามกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองจากเจ้าเมืองมาเปน็ แคว้นซงึ่ มพี อ่ อยุ้ ต่นุ มลู สถาน เปน็ หัวหนา้ หรือกำนัน
ตำบลโป่งแพร่ ต่อมาไดม้ กี ารเปลย่ี นแปลง ตำบลโป่งแพร่ไปขึ้นกับตำบลบวั สลี นานเท่าใดไม่ปรากฏ พ.ศ.๒๔๘๓

ได้ยา้ ยมาข้นึ กับตำบลแม่กรณ์ และในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้จัดต้ังตำบลขนึ้ ใหม่ คือตำบลโปง่ แพร่

แผนทีอ่ ำเภอแมล่ าวโดยสังเขป
คำขวญั อำเภอแม่ลาว

“ นำ้ แมล่ าวค่บู ้าน หว้ ยสา้ นพลบั พลาคเู่ มอื ง
พระธาตุจอมหมอกแก้วลือเลือ่ ง นามประเทืองแผน่ ดินทอง ”
ลักษณะทางกายภาพ
๑. สภาพท่ัวไป

ตำแหน่งท่ตี ้ัง
อำเภอแม่ลาวตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย โดยอยู่ห่างจากตัวจังหวัดเชียงราย
ประมาณ ๒๔ กิโลเมตร พื้นที่ ๓๓๘ ตารางกิโลเมตร (ประมาณ ๒๑๑,๕๐๖ ไร่)
อาณาเขตตดิ ตอ่

▪ ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ ตำบลแม่กรณ์และตำบลปา่ อ้อดอนชยั อำเภอเมอื งเชียงราย
▪ ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ ตำบลธารทอง อำเภอพาน

46
▪ ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กับ ตำบลปา่ ออ้ ดอนชัย อำเภอเมืองเชียงราย และตำบลธารทอง

อำเภอพาน
▪ ทิศตะวันตก ติดต่อกบั ตำบลแม่สรวย อำเภอแมส่ รวย และตำบลหว้ ยชมภู อำเภอเมือง

เชียงราย
๒. สภาพภมู ปิ ระเทศ

ลักษณะภูมิประเทศของอำเภอแมล่ าว ส่วนใหญเ่ ปน็ พนื้ ที่ราบ มีเนินเขาและภเู ขาอยทู่ างดา้ น
๓. ลกั ษณะภมู ิอากาศ

สภาพเป็นอากาศร้อนชืน้ อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด ๔๐ องศาเซลเซียส ต่ำสุด ๘ องศาเซลเซียส
ปรมิ าณนำ้ ฝนเฉล่ยี สงู สุด ๕๐ – ๘๐ มิลเิ มตร /ปี
ข้อมลู แหง่ เรียนรู้

สถานีวจิ ยั เพาะเลี้ยงสตั วป์ ่าดอยตงุ (ส่วนแยก) เชยี งราย
ของสำนกั อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมปา่ ไม้ เหมาะสำหรับการพักผ่อนหย่อนใจ หรอื สำหรบั
การศึกษาชวี ิต และการทอ่ งเที่ยวเชงิ อนุรกั ษ์ ตงั้ อยบู่ ้านหนองผกั เหอื ด หมู่ท่ี ๑๐ ตำบลจอมหมอกแกว้ ห่างจาก
ตวั จงั หวดั เชยี งราย ประมาณ ๒๕ กโิ ลเมตร อยรู่ มิ ถนนสายเด่นหา้ – ดงมะดะ และหา่ งจากถนนใหญ่ประมาณ
๒.๒ กิโลเมตร

แหล่งท่องเทย่ี ว
วัดพระธาตุจอมหมอกแกว้
เป็นพระธาตุคู่บ้านคู่เมืองของอำเภอแม่ลาว

เป็นทีเ่ ล่ือมใสศรัทธาของประชาชนชาวอำเภอแม่ลาว
ตั้งอยู่บ้านดงมะเฟือง หมู่ที่ ๙ ตำบลจอมหมอกแก้ว
อยู่ริมถนนสายเด่นห้า – ดงมะดะ ระยะทางจาก
ตัวจงั หวดั ประมาณ ๒๗ กโิ ลเมตร

47
วดั พระธาตดุ อยจอ้ งสลบั แสง
เป็นสถานทีป่ ฏิบัติธรรมวิปัสสนา บรรยากาศสงบเงยี บ

ร่ืนรม มีความเปน็ ธรรมชาติ ตั้งอยู่ บ้านห้วยสา้ นพลับพลา
หมูท่ ่ี ๕ ตำบลโปง่ แพร่ อำเภอแม่ลาว

อ่างเกบ็ น้ำหว้ ยส้านพลับพลา
เป็นสถานที่เหมาะสำหรับการพักผ่อน
หย่อนใจตั้งอยู่ที่บ้านห้วยส้านพลับพลา หมู่ที่ ๕
ตำบลโป่งแพร่ เดินทางจากอำเภอเมอื งเชียงราย
ถนนสายเด่นห้า –ดงมะดะ ระยะทางประมาณ
๒๐ กิโลเมตรและเดินทางเข้าไปอีก ๓ กิโลเมตร

สวนชา สุวิรุฬห์ชาไทย เปน็ สวนชาตวั อยา่ งปลูกชา
จีนอู่หลงก้านอ่อนในพื้นท่ี ประมาณ ๘๐๐ ไร่ และดำเนนิ
กรรมวิธีการผลิต บรรจุ ครบวงจร เป็นแหล่งสำหรับการ
ท่องเท่ยี วทศั นศกึ ษาดูงาน


Click to View FlipBook Version