The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2022-01-20 02:21:59

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ วี ย ง แ ก่ น

เจ้าหลวงเวียงแก่น
ชายแดนไทย-ลาว น้ำงาว พราวใส

ผาไดเด่นดัง ผาตั้งเด่นนาน
ภูชี้ฟ้าสูงตระหง่าน ส้มโอหวานรสดี

สภาวัฒนธรรมอำเภอเวียงแก่น

99

อำเภอเวยี งแก่น

ประวัติควำมเปน็ มำ

อำเภอเวียงแก่นแต่เดิมนั้นขึ้นกับอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรำย ได้จัดตั้งเป็น กิ่งอำเภอเวียงแกน่

เม่อื วันท่ี 1 เมษำยน 2530 พ้นื ทก่ี ำรปกครอง แบง่ ออกเป็น 3 ตำบล คอื ตำบลม่วงยำย ตำบลหล่ำยงำว และ
ตำบลปอ

ต่อมำได้มีกำรยกฐำนะเป็นอำเภอเวียงแก่น เมื่อวันท่ี 7 กันยำยน 2538 พ้ืนที่กำรปกครองแบ่ง
ออกเปน็ 4 ตำบล คอื ตำบลม่วงยำย ตำบลหล่ำยงำว ตำบลปอ และตำบลทำ่ ขำ้ ม

คำขวัญอำเภอเวียงแก่น

เจ้ำหลวงเวียงแกน่ ชำยแดนไทย-ลำว นำ้ งำวพรำวใส ผำไดเดน่ ดงั
ผำตง้ั เดน่ นำน ภูชีฟ้ ้ำสงู ตระหงำ่ น ส้มโอหวำนรสดี

ลักษณะทำงกำยภำพ

ท่ตี ้งั

อำเภอเวียงแก่นตั้งอยู่ทำงทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงรำย ห่ำงจำกตัวจังหวัดเชียงรำย

ประมำณ 150 กโิ ลเมตร ซึ่งเป็นอำเภอท่อี ยู่ไกลทีส่ ุดของจังหวดั

อำณำเขตติดต่อ

ทศิ เหนอื ติดต่อกับ สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว

ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ ตำบลตับเตำ่ อำเภอเทิง

ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว

ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับ ตำบลศรดี อนชัย อำเภอเชียงของ และตำบลยำงฮอม อำเภอขนุ ตำล

ลกั ษณะภมู ิประเทศ

อำเภอเวียงแกน่ มีเนื้อที่ประมำณ 526 ตำรำงกิโลเมตร สภำพทตี่ ้งั อยใู่ นทรี่ ำบลบั หบุ เขำ บรเิ วณ

ทรี่ ำบอยูร่ ะหว่ำงเทอื กเขำ ด.อยยำว ดอยผำมน่ ดอยผำจิ มแี ม่นำ้ สำยสำคัญคอื แม่นำ้ งำว ซึง่ หลอ่

เลี้ยงพืชผลทำงกำรเกษตรและใช้อุปโภคของประชำชนส่วนใหญ่ และแม่น้ำโขงกันพรมแดนระหวำ่ งประเทศ

ไทยและสำธำรณรฐั ประชำธิปไตยประชำชนลำว

แหล่งท่องเทย่ี ว

๑. ผาตั้ง - ประตสู ยาม
เป็นจุดชมวิวผำตั้งอยู่ที่หมู่ 14 ตำบลปอ อำเภอ
เวยี งแกน่ จงั หวดั เชยี งรำย ซ่งึ ฤดกู ำลท่องเท่ียวอยู่ในช่วง

เดือนพฤศจิกำยน – กุมภำพันธ์ ของทุกปี มีระยะทำง
ห่ำงจำกทว่ี ำ่ กำรอำเภอ ประมำณ 32 กโิ ลเมตร ในช่วง
ฤดูหนำวจะมีดอกพญำเสือโคร่งบำน สะพร่ังสวยงำม
อยำ่ งมำก

100

๒. แก่งผาได
ตัง้ อยู่ท่ีหมู่ 4 ตำบลม่วงยำย อำเภอเวียงแก่น จงั หวัด
เชียงรำย เป็นจุดสุดท้ำยท่ีแม่น้ำโขงไหลผ่ำนประเทศไทย
เข้ำสู่สำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว โดยบริเวณ
แก่ง ผำไ ดน้ีเหมำะสำหรับ เป็น สถ ำนที่พัก ผ่อนห ย่ อ น ใ จ
มีเกำะแก่งกลำงลำน้ำโขงและหำดทรำยริมแม่น้ำโขง
ทีง่ ดงำม

๓. จุดชมววิ บ้านรม่ ฟา้ ทอง
บริเวณดงั กลำ่ วเป็นที่ตั้งของพลับพลำทรงงำนของ

สมเด็จพระนำงเจ้ำสิริกิติ์ พระบรมรำชินีนำถ พระบรม
รำชชนนีพันปีหลวง ต้ังอยู่ในพื้นที่บ้ำนร่มฟ้ำทอง
หมู่ 18 ตำบลปอ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงรำย
สถำนทบี่ ริเวณนี้ หำกเปน็ ช่วงระหว่ำงเดอื นมกรำคม –
กุมภำพันธ์ ซึ่งเป็นช่วงระหว่ำงท่ีดอกเสี้ยวป่ำและ
ดอกพญำเสอื โคร่งเบ่งบำนมคี วำมสวยงำมมำก

๔. ภชู ้ีฟ้า
ต้ังอยใู่ นเขตพื้นทีบ่ ้ำนร่มฟ้ำทอง หมู่ 18 ตำบลปอ
อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงรำย มีทิวทัศน์ท่ีสวยงำม
นักท่องเที่ยวสำมำรถเดินข้ึนจำกหน่วยจัดกำรต้นน้ำ
หงำว - งำวได้ สำหรับทีพ่ ัก อำหำร จะมีอยู่ หลำยแห่ง
นกั ท่องเทย่ี วสำมำรถพกั คำ้ งคนื ไดอ้ ย่ำงสะดวกสบำย

101

ภำษำขมุ

ขมุ เป็นกลุ่มชำติพันธุ์ที่มีถ่ินฐำนบริเวณตอนเหนือของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มำยำวนำน ได้แก่ บริเวณทำงใต้ของ

ประเทศจนี ทำงภำคเหนอื ของประเทศไทย ประเทศเวียดนำม
และสำธำรณรฐั ประชำธปิ ไตยประชำชนลำว ทีม่ ีชำวขมอุ ยูเ่ ป็น

จำนวนมำกท่ีสุด จำกหลักฐำนเอกสำรเก่ำแก่ทำให้เชื่อกันว่ำ
ชำวขมุ เป็นกลุ่มชนด้ังเดิมที่สำคัญกลุ่มหน่ึงของดินแดน
สวุ รรณภมู ิ มีชือ่ ขมุปรำกฏอยู่

คำว่ำ ขมุ แปลว่ำ คน เป็นคำที่ชำวขมุใช้เรียกตนเอง จึง
เป็นท้ังช่ือเผ่ำและช่ือภำษำ คำเรียกชำวขมุในลำว มี 2 คำ คอื

คำว่ำ “ข่ำ” และ “ลำวเทิง” หรือ “ลำวบนท่ีสูง” เพื่อให้
แตกต่ำงจำกกลุ่มคนท่ีพดู ภำษำลำวและตระกลู ไทยอ่นื ๆ
สำหรับชำวขมใุ นประเทศไทย เปน็ ทีร่ ู้จักทงั้ ชอื่ “ขำ่ ” และ “ขมุ”

มำเป็นเวลำนำน ชำวขมุชอบสร้ำงบ้ำนเรือนอยู่บริเวณชำยเขำหรือบนเขำสูง จึงมักถูกมองว่ำเป็นชำวเขำกลมุ่
เล็กในภำคเหนือ จังหวัดเชียงรำยและจังหวัดน่ำนบริเวณรอยต่อกับประเทศลำว นอกจำกน้ันยังพบกระจัด

กระจำยอยใู่ นจังหวดั สุพรรณบุรี กำญจนบรุ ี และอุทยั ธำนี
ชำวขมุแต่ละกลุ่มมีวัฒนธรรมและภำษำที่ต่ำงกันไป

เล็กน้อย และมีคำว่ำ ตม้อย ท่ีใช้เรียกชำวขมุด้วยกันเอง แต่

ต่ำงกลุ่มกนั ตอ่ ทำ้ ยด้วยลักษณะเฉพำะหรือถิน่ ท่ีอยขู่ องแต่ละ
กลุ่ม เช่น ตม้อยปูหลวง (ชื่อหมู่บ้ำนเดิม) ตม้อยเพอะ

(ลักษณะเฉพำะของภำษำ คำว่ำ “กิน”) ตม้อยอัล (คำว่ำ
“ไม่” ลักษณะเฉพำะของภำษำ) ตมอ้ ยล้อื (อยใู่ นกล่มุ พวกลอ้ื )
เป็นต้น คำว่ำ “คมุ้” หมำยถึงกลุ่มของตน ใช้ในกำรแยกชำว

ขมุออกจำกเช้ือชำตอิ ่ืน ๆ และคำว่ำ “แจะ” หมำยถึงกลุ่มคน
เช้ือสำยไทย ทั้งไทยกลำง ไทยภำคเหนือ ลำว ลื้อ และไทดำ

และใช้คำว่ำ “แมว” เรียกกลุ่มแมว้ เป็นต้น

ภาษาขมุ อยู่ในสำขำย่อยของขมุอคิ (Khmuic) สำขำมอญ-เขมร
(Mon-Khmer) ในตระกูลภำษำออสโตรเอเชียตคิ (Austroasiatic

Language Family) ซึ่งมีภำษำมัล-ปรัย และมลำบรี เป็นภำษำ
ร่วมสำขำย่อยเดียวกัน ภำษำขมุแต่ละถิ่นแต่ละพ้ืนที่มีควำม

แตกต่ำงเล็กน้อยด้ำนระบบเสียง ระดับคำ และระดับประโยค
ข้นึ อยู่กับอทิ ธิพลภำษำอนื่ ๆ ในสังคมทีม่ ีกำรตดิ ต่อสอื่ สำรกันด้วย
ลกั ษณะภำษำขมนุ ้ี เปน็ ของสำเนยี งหมบู่ ำ้ นหว้ ยเอียน อำเภอเวยี ง

แก่น จังหวัดเชียงรำย ที่ได้มีกำรศึกษำและฟ้ืนฟูภำษำด้วย
อกั ษรไทยแล้ว

102
พยญั ชนะของภำษำขมมุ ีท้งั หมด 22 เสยี ง ได้แก่ ก, ค, ง, จ, ช, ซ, ญ, ด, ต, ท, น, บ, ป, พ, ฟ, ม, ย,
ร, ล, ว, อ, และ ฮ. ซึ่งเป็นพยัญชนะตน้ ได้ทงั้ หมด (เสยี ง ฟ อำจพบได้ในประเภทคำยมื เท่ำน้นั )
พยญั ชนะควบกล้ำ 7 เสียง ได้แก่ ปล-, ปร-, พร-, กล-, กร-, กว- และ คร-
พยญั ชนะสะกด 15 เสยี ง ไดแ้ ก่ -ก, -ง, -จ, -ยฮ, -ญ, -ด, -น, -บ, -ม, -ย, -ร, -ล, -ว, และ -ฮ.
มเี สยี งสระทง้ั สนิ้ 20 เสียง แบง่ เป็นสระเสยี งสน้ั -ะ, -ำ, - ิ, - ี, - ึ, - ื, -ุ , - ู , เ-ะ, เ-, แ-ะ, แ-, โ-ะ, โ-,
เ-ำะ, -อ, เ-อะ, เ-อ, แ- ิ, และ เ-ำ.
มีสระประสม เ- ียะ, เ- ยี , เ- ือะ, เ- อื , -ัวะ และ ั-ว.
มีเสียงวรรณยกุ ต์ 1 เสียง ไดแ้ ก่ -้ ระดบั เสียงสูง-ตก

ภำษำภาษาขมุ ในชุมชนบ้ำนหว้ ยเอียน ตำบลหล่ำยงำว อำเภอเวยี งแกน่ จังหวัดเชยี งรำย ยังคงใช้
กันอย่ำงแพร่หลำย เปน็ ภำษำท่ีใชพ้ ดู คยุ กันในชวี ิตประจำวนั ทำให้เด็กเลก็ ซึมซับและสำมำรถพูดภำษำขมุ ได้

ท้ังน้ีในพ้นื ท่ีอำเภอเวียงแกน่ มีหมู่บ้ำนที่เป็นชนเผ่ำขมุ หลำยแห่ง ซ่ึงแต่ละปจี ะมีกำรจัดงำนปีใหมข่ มุ
ซึ่งชนเผ่ำขมุ ในแต่ละหมู่บ้ำนของพื้นท่ีอำเภอเวียงแก่น จะมำร่วมงำน และจัดกำรแสดง วิถึชีวิตของชนเผ่ำ
เช่น กำรแสดง กำรละเลน่ พิธกี รรม อำหำร เปน็ ต้น

ผทู้ ถ่ี ือปฏิบตั ิมรดกภมู ิปญั ญำทำงวฒั นธรรม
วนั เดือน ปีเกิด ๑๐ พฤษภำคม ๒๕๐๑
ที่อยู่ บำ้ นห้วยเอียน ตำบลหล่ำยงำว

อำเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชียงรำย
๕๗๓๑๐
หมำยเลขโทรศพั ท์ -

103

พธิ ขี นึ้ ท้ำวทงั้ ส่ี

พิธีกำรข้ึนท้ำวท้ัง 4 เป็นกำรอัญเชิญ บอกกล่ำวเทวดำ
ท้ัง 4 ทิศ ซ่ึงเป็นเทพำรักษ์เฝ้ำดูแลรักษำชีวิต ป้องกันภัย
อันตรำยต่ำง ๆ และบันดำลให้เกดิ ควำม สุขควำมเจริญแก่
เหล่ำมนุษย์ ได้แก่ ท้ำวมหำรำชธตรฐ ผู้เป็นใหญ่แห่ง
คนธรรพ์รักษำทิศตะวันออก ท้ำววิรุฬหก ผู้เป็นใหญ่แห่ง
กมุ ภณั ฑ์รักษำทศิ ใต้ ทำ้ ววิรปู กั ษ์ ผู้เป็นใหญแ่ หง่ นำครักษำ
ทิศตะวันตก และท้ำวเวสสุวรรณหรือท้ำวกุเวร ผู้เป็นใหญ่
แห่งยักษ์รักษำทิศเหนือ นอกจำกท้ำวทงั้ สแ่ี ลว้ ยงั มดี ำ้ นบน
ที่เป็นส่วนของฟ้ำมีพระอินทร์ และด้ำนที่เป็นพื้นดินสุดมี
พระแมธ่ รณี

ชำวอำเภอเวียงแก่นและชำวล้ำนนำ จะทำพิธีข้ึนท้ำว
ท้ัง 4 ในงำนมงคล เช่น ปลูกบ้ำนใหม่ ขึ้นบ้ำนใหม่ บวช
เณร อุปสมบทพระ งำนฉลองถำวรวตั ถุในศำสนำ งำนบูชำ
เสำอินทขลี (หลักเมอื ง) แรกนำและเทศกำลตรษุ สงกรำนต์
ถอื วำ่ ตอ้ งทำพิธีขึ้นท้ำวท้ังสเี่ สมอ เพ่อื ควำมเป็นสริ ิมงคลและเพอ่ื ปอ้ งกันภัยอันตรำยตำ่ ง ๆ
พธิ กี ำรข้นึ ทำ้ วทั้งส่ี คือ กำร “ข้นึ ” หรอื เริม่ ตน้ พิธีกรรมอันเป็น

มงคล โดยจะเริ่มที่กำรบอกกล่ำว “ทำ้ วท้งั สี่” คอื มหำเทพท้งั ๔ พระองค์

ซงึ่ เปน็ ผดู้ แู ลโลกท้งั ในกำรสำรวจดูผู้ประกอบกุศลกรรมตำ่ ง ๆ ทั้งปอ้ งกันภัย

และอำนวยควำมสุขควำมเจริญแก่มนุษย์ ในทิศท้ังส่ีของศูนย์กลำงของ

จักรวำล คือ เขำพระสุเมรุ ซ่ึงในวันข้ึนหรือแรม ๑๕ ค่ำ มหำเทพท้ัง

สี่พระองค์นี้จะไปตรวจตรำโลกด้วยตนเอง และทรงเป็นหัวหน้ำของ

เทพในสวรรค์ชั้นจำตุมหำรำชิกซึ่งตั้งอยู่บนทิวเขำยุคลธรอันสูงกึ่งหนึ่ง

ของเขำพระสุเมรุ ทุกพระองค์มีอำยุกำหนด ๕๐๐ ปีทิพย์ ท้ำวท้ังสี่

พระองคน์ ี้ ไดแ้ ก่

๑. ทำ้ วกุเวร หรือเวสสวุ ณั ณ์ หรอื ไพสรพณ์ มีหน้ำที่รักษำโลกอย่ทู ำงทิศเหนือของเขำพระสเุ มรุ

๒. ทำ้ วธตรฐะ มีหนำ้ ทีร่ กั ษำโลกอยู่ทำงทศิ ตะวนั ออกของเขำพระสเุ มรุ

๓. ท้ำววิรฬุ หกะ มีหนำ้ ทีร่ กั ษำโลกอย่ทู ำงทศิ ใตข้ องเขำพระสเุ มรุ

๔. ท้ำววริ ปู กั ขะมีหนำ้ ท่ดี ูแลโลกอยูท่ ำงทิศตะวันตกของเขำพระสเุ มรุ

แต่ในกำรประกอบพิธีนั้น นอกเหนือจำกจะกล่ำวถึงมหำเทพ

ท้ังสี่ดังกล่ำวแล้ว ยังกล่ำวถึงพระอินทร์และนำงธรณีอีกด้วย ซึ่งเมื่อ

กล่ำวถึงกลุ่มมหำเทพเช่นนกี้ ็จะถือว่ำพระอินทร์ซ่ึง “กินสองสวรรค์”

คือ เป็นอธิบดีของสวรรค์ ท้ังช้ันดำวดึงส์และจำตุมหำรำชิกเป็น

หัวหน้ำ ส่วนนำงธรณีนั้นปรำกฏในแง่ของ “ผู้จ่ือจำน้ำอยำดหมำย

ทำน” คือผู้เป็นสักขีพยำนรับรู้ถึงกำรกระทำกรวดน้ำทำบุญท้ังปวง

ของมนษุ ย์ จะเลือกประกอบพธิ ที ำงทศิ ตะวันออก เพรำะชำวลำ้ นนำ

นิยมนอนหันหัวไปทำงทิศตะวันออก ซึ่งถือเป็นทิศท่ีแสดงถึงควำม

รงุ่ โรจนเ์ ปน็ มงคล

104

เคร่ืองบนหรอื เครื่องบวงสรวง
กำรทำสถำนท่ีทำเครื่องเซ่นทำด้วยกำบกล้วยเรียกว่ำ "สะตวง" คือกระหงจำนวน ๖ อัน สำหรับใส่
เคร่อื งเซน่ อำหำรและผลไม้เป็นเครอ่ื งส่ีประกอบดว้ ยสงิ่ ตอ่ ไปนี้
กระทงท่ี ๑. ขำ้ ว ๔ คำ
กระทงที่ ๒. อำหำร ๔ ชิน้ จะเป็นเน้อื หรือปลำก็ได้
กระทงท่ี ๓. ข้ำวเหนยี วหรอื ขำ้ ว ๔ ถงุ หรอื ๔ คำ
กระทงที่ ๔. แกงส้ม ๔ ชุด
กระทงที่ ๕. แกงหวำน ๔ ชดุ
กระทงท่ี ๖. หมำกพลู บุหรี่ เม่ยี ง ๔ ชุด
เคร่ืองประกอบ ดอกไม้ ธูปเทยี น ๔ ชดุ เครอื่ งประกอบ เหลือง แดง ขำว เขียว ๔ ชดุ กำรทำสะตวง
น้ันนิยมเอำกำบกล้วยมำหักพับเสียบด้วยไม้ไผ่ ซึ่งจักตอกให้คงรูปเป็นสี่เหล่ียม แล้วเอำกระดำษรอง
เข้ำในสะตวง เพื่อใช้เป็นที่วำงเครอื่ งเซ่น กำรเตรียมเคร่ืองเช่นไว้ ๖ ชุด ก็เพรำะคนโบรำณต้องกำรสังเวยเทพ
๖ องค์ ประกอบด้วย
1. พระอินทร์ ซ่ึงเป็นใหญ่กวำ่ ท้ำวจตุโลกบำล
2. ท้ำวธตรฐ รกั ษำทศิ ตะวนั ออก
3. ทำ้ ววิรฬุ หก รักษำทศิ ใต้
4. ทำ้ ววริ ูปกั ข์ รักษำทศิ ตะวันออก
5. ท้ำวเวสสวุ ณั ณ์ รักษำทิศเหนอื
6. นำงธรณีเทวธดิ ำ ผรู้ ักษำแผน่ ดิน
กำรสังเวยตอ้ งมีสะตวง 6 อัน ของพระอนิ ทร์ ตั้งตรงกลำงอย่สู งู กวำ่ ตะตวงอ่ืน ๆ ของนำงเทพธดิ ำธรณี
วำงไว้ล่ำงใกล้กับแผ่นดิน ส่วนท้ำวจตุโลกบำลต้ังตำมทิศต้ังตำมทิศของท้ำวจตุโลกบำลแต่ละองค์เวลำทำกำร
สังเวยหำกจะมีงำนในตอนเช้ำ นิยมสังเวยตอนเย็นก่อนวันหน่ึง หำกจะทำพิธีตอนกลำงวัน นิยมสังเวย
ในตอนเช้ำ ควำมมุ่งหมำยก็คือต้องกำรให้เทพทั้ง 6 มำทำกำรรักษำงำนพิธีด้วย ผู้ที่เป็นเจ้ำของงำนจะทำกำร
จุดเทยี นจดุ ธูปบนสะตวงแลว้ วำงไว้ ปอู่ ำจำรย์จะกลำ่ วคำสังเวย
“ปัจจุบนั มคี นรุ่นใหม่ในชุมชน ไดม้ ีกำรเรียนรู้ สบื ทอด ของพธิ ีกรรมดงั กล่ำวใหค้ งอย่สู ืบไป”
กำรขึน้ ทำ้ วท้งั สี่ยงั มีให้พบเห็นเปน็ ประจำไม่ว่ำจะเป็นงำนของบ้ำนเมือง วัดวำอำรำม ชมุ ชนและปจั เจก
ชนโดยทั่วไป เช่น งำนบูชำเสำหลักเมือง ทำบุญเมือง งำนฉลองศำสนสถำน สำธำรณสถำน ทำบุญหมู่บ้ำน
เทศกำลสงกรำนต์ ขึ้นบ้ำนใหม่ แต่งงำน บรรพชำและอุปสมบท เป็นต้น จำกภำพท่ีปรำกฏตำมงำนต่ำง ๆ
แสดงให้เห็นถึงควำมสำคัญของมหำเทพท้ังส่ี ทย่ี ังเป็นทีน่ ยิ มนบั ถอื ของชำวลำ้ นนำอยำ่ งไม่มีวนั เส่ือม

ผทู้ ีถ่ อื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม
ชือ่ นำยมดั ทิพย์หมกึ
ท่อี ยู่ 132/1 หมู่ 5 ตำบลมว่ งยำย

อำเภอเวียงแกน่ จังหวดั เชยี งรำย
๕๗๓๑๐
หมำยเลขโทรศัพท์ -

105

เหลำ้ อุ หรือสุรำหมกั

เหล้ำไห(เหล้ำอุ) เป็นสุรำหมักอินทรีย์ ในภูมิปัญญำ
ของชนเผ่ำ ขมุ ในพ้ืนท่ี อ.เวียงแก่น ที่ใช้เป็นเครื่องดื่มที่มี
แอลกอฮอล์ไม่เกิน 20 %” เหล้ำอุของชนเผ่ำขมุ ทำมำ
จำกข้ำวเหนียวที่สีเป็นข้ำวสำรแล้ว นำมำล้ำงทำควำม
สะอำด พร้อมกับแกลบหยำบ ผึ่งให้แห้งนำทั้ง 2 อย่ำงมำ
บรรจุในไหดินในปริมำณที่เหมำะสม เติมน้ำเปล่ำให้ท่วม
พอดี ปิดฝำไหให้สนิท ท้ิงไว้ 2 - 3 วันหรือหลำยวัน
กส็ ำมำรถนำมำด่ืมได้ มีกลน่ิ หอมชวนดื่ม และเปน็ เครอื่ งดม่ื
ที่ชนเผำ่ ขมุ ในหม่บู ้ำนปกติจะเปน็ เคร่อื งด่ืมท่ีใช้ในงำนประเพณีของชนเผำ่ ขมุ เชน่ เทศกำลปีใหม่ ขน้ึ บ้ำนใหม่
แต่งงำน หรือกิจกรรมงำนพิธีทำงควำมเชื่อของชุมชน และใช้ต้อนรับแขกผู้มำเยือน เหล้ำไห (เหล้ำอุ) เป็น
เคร่ืองด่ืมพื้นบ้ำนท่ีผลิตข้ึนจำกข้ำวเหนยี วผสมแกลบแล้วหมักในไห จำกนั้นปิดด้วยข้ีเถ้ำจนสนิท เวลำดื่มต่ำง
จำกสุรำพ้ืนบ้ำนท่ัวไปตรงที่ต้องเติมน้ำ แล้วใช้หลอดท่ีผลิตจำก “ไม้ซำง” ไม้ไผ่ชนิดหน่ึงท่ีมีขนำดลำเล็ก
เจำะลงไปแล้วดื่ม ซึ่งมักใช้ด่ืมนงำนประเพณีต้อนรับแขก โดยล้อมวงดื่มแล้วเวียนไหไปรอบวงเป็นเคร่ืองดื่ม
เชิงวฒั นธรรม
เหลำ้ ๑ ไห จะใช้วสั ดุ ดังน้ี
๑. ขำ้ วกล้อง ๑ กิโลกรมั
๒. แกลบ ๓ ขีด
๓. หัวเชอื้ ๑.๕ ขีด
กำรทำข้ึนอยู่กับอุปกรณ์ ส่วนมำกแล้วจะทำครั้งหนึ่งประมำณ ๒๐ ไห โดยกำรนำข้ำวกล้องไปแช่น้ำไว้
๑ คืน จำกนั้นนำแกลบมำคลกุ เคลำ้ ให้เข้ำกัน เสรจ็ แล้วนำไปน่งึ ใหส้ ุก นำออกมำผง่ึ ลมใหข้ ้ำวเยน็ จำกน้ันนำหวั
เชอ้ื มำคลกุ เคลำ้ ให้เขำ้ กันแลว้ นำไปหมกั ไวท้ ่ไี หมงั กรขนำดใหญ่ จำนวน ๓ คืน แลว้ นำออกมำบรรจใุ สไ่ ห แล้วใช้
ใบตองปิดปำกไหก่อน แลว้ เอำข้เี ถำ้ ผสมน้ำพอเป็นกอ้ นปิดทบั อกี ครัง้ หน่ึง จำกนน้ั หมักไว้อกี ๑๕ วนั กส็ ำมำรถ
นำมำด่มื ได้แล้ว
ผทู้ ถี่ อื ปฏิบัติมรดกภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม
ชื่อ นำงสำวนภำพร สมศรี
ท่ีอยู่ 96 หมู่ 6 ตำบลหลำ่ ยงำว

อำเภอเวยี งแก่น จงั หวัดเชียงรำย
๕๗๓๑๐
หมำยเลขโทรศพั ท์ 086 183 5193

106

ไม้โถกเถก หรือขำโถกเถก

เป็นกำรเล่นต่อขำให้สูงสันนิษฐำนวำ่ จะมำจำกกำรท่ี
ผู้ใหญ่ใช้วิธีกำรนี้เดินข้ำมน้ำ หรือ เข้ำป่ำเข้ำพง แต่ไม่มี
รองเท้ำสวมใส่กันหนำมไหน่ เมื่อป่ำพงหมดไปมีรองเท้ำ
สวมใส่ป้องกันหนำมไหน่ได้กค็ งจะเลิกใช้กัน แต่เด็กนำมำเป็น
ของเล่น เล่นกันให้สนุกสนำน นอกเหนือจำกควำมสนุกสนำน
แล้ว ยังเป็นเครื่องมือออกกำลังกำย ท่ีช่วยให้ได้บริหำร
ส่วนต่ำงๆ ของร่ำงกำยเป็นอย่ำงดี เพ่ิมควำมแข็งแรงระบบ
กล้ำมเน้อื แขนขำ เพ่มิ ทกั ษะกำรทรงตวั

อปุ กรณใ์ นกำรเลน่
ไม้ไผ่ท่อนเล็กขนำดพอเหมำะมือจับได้มั่น ๒ ท่อน ยำวท่อนละ
ประมำณ ๑.๕๐ - ๒ เมตร เลือกไม้ไผ่ที่มีแขนงท่ีแข็งแรงย่ืนออกมำจำก
บ้องโดยกะขนำดให้ได้ควำมสูงในกำรที่จะขึ้นไปยืนและก้ำวเดินได้ตำม
ที่ต้องกำร หำกหำไม้ไผ่ที่แขนงแข็งแรงจำกปล้องไม่ได้ คะเนควำมสูง
ตำมที่ต้องกำรแล้วทำเครื่องหมำยไว้ จำกน้ันเจำะรูจำกที่ทำเครือ่ งหมำย
ให้ทะลุไปอีกด้ำนหนึ่ง หำไม้เหนียว ๆ แข็งแรง หรือเหล็กสอดเข้ำไป
ในรูทำสลัก และหำไม้ไผ่ท่อนยำวประมำณ ๑ คืบ ๑ คู่ ไม้ไผ่คู่นีเ้ ลือกตัด
ให้มีปล้องไม้ไผ่อยู่ตรงกลำง เหนือปล้องไม้ไผ่ด้ำนหน่ึงเจำะเป็นรูกว้ำง
พอท่ีจะสวมไม้ไผ่ท่อนยำวได้ให้ลงมำวำงอยู่บนแขนงไม้ที่ยื่นจำกปล้อง
หรอื ลงบนไม้หรือเหล็กที่ทำสลกั ไว้เวลำเลน่ ขึ้นไปเหยียบบนท่อนไม้ท่ีสวม
ไม้ท่อนยำววำงเท้ำให้ม่ันคง และจับไม้ท่อนยำวให้ตั้งตรง ก้ำวเดินไป
คล้ำยเดินธรรมดำ หำกหัดจนชำนำญก็พำไม้วิ่งได้อย่ำงรวดเร็ว ถ้ำต้อง
เดินสูงมำกจะทำรูสลักสูง เวลำขึ้นไปยืนบนไม้โถกเถกต้องใช้บันไดบ้ำน
หรอื กำแพงสำหรับพงิ ไม้โถกเถก แล้วขึ้นไปยนื
ปัจจุบันกำรเล่นไม้โถกเถกไมค่ ่อยนิยมเล่นแล้วในหมูเ่ ด็ก นอกจำกในบำงท้องถิ่น เพรำะมีของเล่น
อื่น ๆ ที่สำมำรถหำซ้ืออุปกรณ์มำเล่นกันได้สะดวกข้ึน ค่ำนิยมจำกภำยนอกเข้ำไปกำหนดและวำงรูปแบบท่วี ่ำ
เป็นสำกล กำรศึกษำ กำรเรียนกำรสอนเป็นกำรละเล่นที่เป็นสำกลนิยม ไม่มีเร่ืองของท้องถ่ิน กำรสืบทอด ภูมิ
ปัญญำในกำรประดิษฐ์ของเล่นพื้นถิ่นจึงค่อย ๆ หำยไปจนคนรุ่นหลังไม่มีโอกำสได้เรียนรู้
กำรละเล่นไม้โถกเถก หรือขำโถกเถก เล่นได้ทุกโอกำสเด็ก ๆ จะวิ่งแข่งกัน หรือเล่นในงำนโรงเรยี น
เป็นกำรแข่งขันระหว่ำงช้ันปี หรือในเทศกำลต่ำง ๆ เพื่อควำมสนุกสนำนและควำมสำมัคคี

ผ้ทู ีถ่ ือปฏิบัติมรดกภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม
ชื่อ นำยจนั ทร์ ขันทะ
ที่อยู่ หมู่ 6 ตำบลหลำ่ ยงำว

อำเภอเวียงแก่น จังหวดั เชียงรำย
๕๗๓๑๐
หมำยเลขโทรศัพท์ -

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ พ า น

พระธาตุจอมแว่ศักดิ์สิทธิ์
แหล่งผลิตลำไย ถ้ำ​ผา​โขง
งามสดใส เลื่องลือไกลถิ่นข้าวสาร
งามตระการ พระธาตุสามดวง​​
เที่ยวดอยหลวงน้ำตกปูแกง

สภาวัฒนธรรมอำเภอพาน

108

อำเภอพำน

ประวัติควำมเป็นมำ

ความเป็นมาของอาเภอพาน เดิมได้ปกครองตามระบอบ “พ่อเมือง” อาคารท่ีทาการอาเภอต้ังอยู่ที่
บา้ นฝั่งตน้ื ปจั จุบันเปน็ หมทู่ ่ี 8 ตาบลม่วงคา พอ่ เมืองนี้ข้ึนตรงตอ่ เจา้ ผู้ปกครองนครลาพูน ต่อมาเมือ่ ร.ศ.126
(พ.ศ.2450) ทางราชการได้เปลย่ี นฐานะการปกครองจากระบอบพ่อเมืองข้ึนเป็นก่ิงอาเภอ โดยมีปลัดอาเภอ

เป็นปลัดกิ่งอาเภอมาประจาเรียกวา่ “กงิ่ อาเภอเมืองพาน” แตท่ ี่ทาการยังอยู่ท่ีบ้านฝั่งต้ืนและต่อมาได้โอนกิ่ง
อาเภอเมืองพานเข้าไปอยู่กับอาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ครั้นถึงปี ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451)

ทางราชการได้ให้โอนกิ่งอาเภอเมืองพานไปข้ึนตรงต่ออาเภอแม่ใจ เพราะอยู่ใกล้อาเภอแม่ใจมาก เพื่อสะดวก
แกร่ าษฎรท่ีมาติดตอ่ ราชการ ไดด้ าเนินการมาจนถึง ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455) ทางราชการได้ยกฐานะกง่ิ อาเภอ
เมืองพานแล้วยุบอาเภอแม่ใจ และเขตอาเภอเมืองเชียงรายบางส่วน ให้ข้ึนกับอาเภอเมืองพาน การที่ได้ยก

ฐานะขึ้นเป็นอาเภอใหมน่ ี้ กไ็ ดย้ ้ายทว่ี ่าการอาเภอจากบา้ นฝ่งั ตื้น ไปต้งั ท่ีตาบลเมืองพาน อันเป็นทีท่ าการอาเภอ
แม่ใจปัจจุบันและได้ขนานนามว่า “อาเภอเมืองพาน” โดยอาศัยพลับพลา ซึ่งไว้รับเสด็จพระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ในสมัยเม่ือดารงตาแหน่งมกุฎราชกุมาร เม่ือ ร.ศ.124 ตั้งเป็นที่ว่าการอาเภอ
ซ่งึ ท่ดี ินเปน็ ท่ีของหลวงอยแู่ ล้ว ไมไ่ ด้ซ้ือจากผู้ใด ส่วนอาเภอแม่ใจ เมอื่ ยุบลงแลว้ คงมแี ต่สถานีตารวจอย่างเดียว
ต่อมาเม่ือ พ.ศ.2492 พลบั พลาซึ่งได้ใช้เป็นที่วา่ การอาเภอได้ชารุดทรุดโทรมลงมากประกอบกับทางราชการ

ได้ยุบอาเภอดอกคาใต้ จึงได้รื้ออาคารที่ว่าการอาเภอดอกคาใต้มาปลูกสร้าง ณ ที่ว่าการอาเภอเมืองพาน
โดยสร้างเป็นโรงไม้ชั้นเดียว ตามแบบของกระทรวงมหาดไทย ตัวที่ว่าการอาเภอท่ีปลูกใหม่น้ีใช้อยู่ได้ไม่นานก็

ชารุดทรดุ โทรมลงอีก จึงได้มีการปลกู สรา้ งข้ึนใหม่เปน็ เรือนไม้ชั้นเดียวแบบเดยี วกัน ตอ่ มาในสมัยท่ีนายอาเภอ
เมืองพาน ชื่อนายกมล สุทธนะ ได้ร่วมกับ ข้าราชการ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนในเขตอาเภอเมือง
พาน จัดการก่อสร้างที่ว่าการอาเภอขึ้นใหม่ ได้สร้างเป็นตัวตึกสองชั้น ชั้นล่างเป็นตัวตึก ส่วนชั้นบนเป็นไม้

ได้ช่วยกันดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้วได้เปิดเป็นท่ีทาการเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2493 ต่อมา เม่ือ พ.ศ. 2515
ในสมัยนายสมเกียรติ เกียรติสมฤทธ์ิ มาดารงตาแหน่งนายอาเภอเมืองพาน ทางกรมการปกครอง กระทรวง

มหาดไทย ได้อนุมัติเงินงบประมาณ จานวน 90,000 บาท (เก้าหม่ืนบาทถ้วน) ให้นายอาเภอ เมืองพาน
เพื่อทาการบูรณะปรับปรุงและซ่อมแซมท่ีว่าการอาเภอหลังนี้ข้ึนใหม่ให้มีสภาพดีขึ้น แต่ต่อมาสภาพได้ชารุด
ทรุดโทรมขนึ้ อีกทาง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ไดอ้ นุมัติเงินงบประมาณจานวน 7,595,000 บาท

(เจด็ ลา้ นห้าแสน เก้าหมนื่ หา้ พันบาทถว้ น) จึงได้รอ้ื ถอนอาคารทว่ี า่ การอาเภอหลงั เดิมในปี พ.ศ. 2540 ในสมัย
ของ นายศักดา คดิ หาทอง เปน็ นายอาเภอพาน และได้ก่อสรา้ งทีว่ า่ การหลังปจั จบุ ันแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2541

และเปิดใช้เป็นทางการเม่ือวันที่ 12 มิถุนายน 2541 โดย ฯพณฯ พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รัฐมนตรี
กระทรวงมหาดไทย เป็นประธานในพิธี ซึ่งอยู่ในสมัย นายสัญญา สันทัด เป็นนายอาเภอพาน ส่วนช่ืออาเภอ
ที่เรียกว่า “อาเภอเมืองพาน” นั้น ต่อมาทางราชการได้สั่งให้เปล่ียนช่ืออาเภอเสียใหม่ว่า “อาเภอพาน”

เพราะช่ือคาวา่ “เมอื ง” นั้น ซึ่งไปตรงกับอาเภอเมือง และก็เปน็ ทต่ี ้ังของศาลากลางจงั หวัดเทา่ นัน้ ฉะนั้นอาเภอ
เมืองพาน จงึ ตัดคาว่า “เมือง” ออกไป ก็คงเรยี กวา่ “อาเภอพาน” มาจนกระทง่ั ทกุ วนั น้ี

คำขวัญอำเภอพำน แหล่งผลิตลาไย
เลื่องลอื ไกลถิน่ ข้าวสาร
พระธาตุจอมแว่ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ เทีย่ วดอยหลวงนาตกปูแกง
ถาผาโขงงามสดใส
งามตระการพระธาตุสามดวง

109

ลักษณะทำงกำยภำพ

ท่ตี ้ังและอาณาเขต
อาเภอพาน เป็นอาเภอหน่ึงใน 18 อาเภอ เป็นอาเภอท่ีอยู่ทางทิศใตส้ ุดของจังหวัดเชยี งราย ห่างจาก
ทต่ี ้ังจงั หวัดเชียงรายประมาณ 43 กิโลเมตร มพี ื้นท่ีประมาณ 1,023 กิโลเมตร หรือประมาณ 639,375 ไร่
คดิ เป็นร้อยละ 8.76 ของจังหวัดเชยี งราย
ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ อาเภอแม่ลาว และอาเภอเมืองเชยี งราย จงั หวดั เชียงราย
ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับ อาเภอปา่ แดด จังหวดั เชยี งราย
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา และอาเภอวงั เหนือ จังหวัดลาปาง
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ อาเภอแม่สรวย และอาเภอเวยี งปา่ เป้า จังหวดั เชียงราย

ลักษณะภูมปิ ระเทศ
สภาพพื้นที่โดยท่ัวไปสว่ นใหญ่เป็นราบลุ่ม และเป็นพื้นที่ราบระหว่างภูเขา มเี ทือกเขาสูงสลับซับซ้อน
เป็นแนวยาวท้ังสองทาง คือ ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก เทือกเขาเหล่านี้มีความสูงระหว่าง 350 –
600 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง มีที่ราบสาหรับทาการเพาะปลูกไดด้ ี มีลาน้าที่สาคัญ ได้แก่ ลาน้า
แม่ส้าน ลาน้าแม่ลาว ลาน้อร่องธาร ลาน้าแม่เย็น ลาน้าแม่คาวโตน ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีระบบคลองส่งน้า
ชลประทาน ของระบบชลประทานแม่ลาว และยงั มีแหล่งเก็บกับน้าที่สาคัญ ได้แก่ หนองฮ่าง หนองเวียงห้าว
หนองบวกปลาค้าว หนองควายหลวง ฯลฯ

ลกั ษณะภูมิอำกำศ
มอี ากาศแบบมรสุมเมืองร้อน อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 24 - 27 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้าฝนเฉล่ีย
ทัง้ ปีประมาณ 1,853 มิลลิเมตร ฝนตกชุกในฤดูฝน ฤดูหนาวได้รับอิทธิพลจากมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื พัด
พาเอาความหนาวเย็นมาให้ บางคร้ังอากาศหนาวเย็นมาก อุณหภูมิต่าถึง 6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน มีอากาศ
รอ้ น บางครั้งอุณหภูมิสูงถึง 30 องศาเซลเซียส

แหลง่ ท่องเทยี่ ว

๑. วัดพระธาตุจอมแว่
เป็นหนึ่งในพระธาตุ 9 จอม ซ่ึงเป็นปูชนยี สถานท่สี าคัญ แหง่ หนง่ึ ของ
จงั หวดั เชียงราย ตง้ั อยู่ที่ตาบลเมืองพาน อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็น
พระธาตทุ ่ีมีประชาชนชาวอาเภอพานและอาเภอใกล้เคียงนับถอื กันว่าเป็น
พระธาตุอันศักดิ์สิทธ์ิ เม่ือถึงเดือน 9 ขึ้น 15 ค่า จะมีงานนมัสการ
องคพ์ ระธาตุทุกปี

๒. วัดพระธาตุสามดวง
วัดพระธาตุสามดวง มีชื่อเดิมว่า “พระเจดีย์สามองค์” หรือท่ี
เรียกว่า “พระธาตุสามดวง” วัดแห่งนี้จัดได้ว่าเป็นสถานท่ีท่องเที่ยว
แห่งหน่ึงในอาเภอพานเหมือนกัน ซึ่งสถานที่ท่องเที่ยวแห่งน้ีต้ังอยู่
บ้านป่าหุ่ง หมู่ 1 กับบ้านศาลาเหมืองหิน หมู่ 11 ตาบลป่าหุ่ง
อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ห่างจากท่ีทาการอาเภอพาน ไปทางทิศ
ตะวันตก ระยะทาง 12 กม. และสถานท่ีท่องเที่ยวแห่งนี้ยังจัดเป็น
โบราณที่สาคัญเหมือนกับวดั พระธาตดุ อยจอมแว่

110

๓. น้าตกปแู กง
น้าตกปูแกง อยู่ห่างจากท่ีทาการอุทยานฯประมาณ 500 เมตร
เป็นน้าตกหินปนู ขนาดใหญ่ทีเ่ กิดจากการทับถมของหินปูนทไ่ี หลปะปน
มากับสายน้า มีทั้งหมด 9 ช้ัน แต่ละช้ันอยู่ห่างกันประมาณ 100
เมตร ทุกช้ันสามารถลงเล่นน้าได้ ภายในยังมีถ้าตื้นมากมายหลายแห่ง
เป็นท่ีนิยมของนักท่องเที่ยวที่เข้ามาพักผ่อนในวันหยุดสุดสัปดาห์เป็น
ประจา บริเวณน้าตกนี้ยังเป็นแหล่งรวมของพันธุ์พืชและพันธ์ุสัตว์
นานาชนิด และทา่ นท่ีสนใจชมธรรมชาตทิ ห่ี ลากหลาย ทางอทุ ยาน
แห่งชาติดอยหลวงได้จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติไว้บริการ การเดินทางไปน้าตกมีทางแยกจากถนนสาย
เชยี งราย-พะเยาบรเิ วณหลกั กิโลเมตรท่ี เข้าไปถึงบรเิ วณน้าตก ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร เส้นทางใช้ได้ตลอดปี

๔. บอ่ น้าร้อนห้วยทรายขาว
บ่อน้าร้อนห้วยทรายขาว หรือ น้าพุร้อนห้วยทรายขาว

ตัง้ อยู่หมู่ 5 บ้านทรายขาว ตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัด
เชียงราย ต้ังอยู่ในทางหลวงแหมายเลข 1 ตอนต่อเขตแขวง
การทางพะเยาที่ 1 – แยกไปอาเภอแม่สรวย ระหว่าง กม.
793+228 – กม. 793+541 ทางด้านซ้าย อยู่ในบริเวณ
ที่ราบลุ่ม มีลัก ษ ณ ะ เป็ น ตะก อ น น้ า (Alluvial deposit)
ซ่ึงประกอบด้วยช้ันของหินทรายและดินที่ยังไม่จับตัวกันแน่น
บริเวณแหล่งนา้ พรุ อ้ นครอบคลุมพื้นท่ปี ระมาณ 16 ไร่ ตดิ ถนน
พหลโยธนิ ทางด้านตะวันออก ลักษณะของแหล่งน้าพุร้อนเปน็ บ่อน้าร้อนธรรมชาติที่กอ่ เปน็ บ่อซีเมนต์ บ่อน้า
ร้อน บอ่ น้าอุ่น และบ่อนา้ เย็น

๕. ถา้ ผาโขงหรือถา้ น้าลอด
ตั้งอยู่ท่ีเขตบริเวณหมู่บ้านปางเกาะทรายหมู่ 6 ตาบลป่าหุ่ง
ห่างออกจากอาเภอพานประมาณ 15 กิโลเมตรโดยจะผา่ นหลังที่
ทาการอ.พานไปทางทิศตะวันตกเป็นพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบขององคก์ าร
บริหารส่วนตาบลป่าหุ่ง และเป็นเขตอนุรักษ์อุทยานแห่งชาติดอย
หลวง อยหู่ ่างจากท่ที าการอาเภอพานไปทางทศิ ตะวันตกประมาณ
6 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยางและต่อด้วยถนนซีเมนต์ประมาณ
15 กิโลเมตรและถนนลูกรังอีก 1 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นแบบ
ถา้ หินปูนยงั มีน้าไหลผ่านออกมาจากถ้าตลอดท้ังปี ภายในของถ้า
เป็นโพรงกว้าง มีหินงอก หินย้อยลงมาสวยงามมาก สามารถเดิน
ผ่านและไปเที่ยวได้ถึงหลังถ้า สามารถเข้าเที่ยวชมได้ตลอดท้ังปี
โด ย เฉ พ า ะ ช่ ว ง เท ศ ก า ล ส ง ก ร า น ต์ จ ะ มี นั ก ท่ อ ง เที่ ย ว นิ ย ม ม า
ทอ่ งเท่ยี วและเก็บภาพเปน็ จานวนมาก โดยจะองค์การบริหารสว่ น
ตาบลป่าหุ่งมีการจัดให้มีร้านอาหาร ห้องน้า ส่ิงอานวยความ
สะดวกอ่ืน ๆ เหมาะสาหรับนักท่องเที่ยวท่ีมาเที่ยวชมท้ังชาวไทย
และชาวตา่ งประเทศอย่างมากมาย

111

ซอลำ้ นนำ

“ซอล้านนา” มีประวัติความเป็นมาท่ียาวนาน เป็นเอกลักษณ์
ทางวัฒนธรรมที่สาคัญและโดดเด่นย่ิงของชาวล้านนา มคี วามสัมพนั ธ์

กบั วิถีชีวิตความเป็นอยู่ เป็นกระจกเงา สะท้อนวิถีการดารงชีวิตของ
ชาวล้านนาในด้านต่างๆ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม ขนบธรรมเนียม

ประเพณี สถาบันศาสนา สถาบันครอบครัว การประกอบอาชีพ
อาหารและ โภชนาการ การแต่งกาย นอกจากน้ียังมีความงดงาม ของ
ภาษาคาเมือง หรือภาษาถิ่นเหนือ จึงเป็นภูมิปัญญาทาง ภาษาท่ี

บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้อย่างงดงามทรงคุณค่า น่าภูมิใจย่ิง ซอจึง
เป็นการขับขานหรือการร้องร้อยกรองท่ีเป็นภาษาคาเมืองหรือภาษา

ถ่ินเหนือมีฉันทะลักษณ์เฉพาะ จัดเป็นศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านของ
ล้านนาท่ีเป็นภูมิปัญญาทางภาษาท่ีได้สร้างสรรค์ไว้อย่างงดงามและ
ทรงคุณค่า แฝงด้วยคติธรรมคาสอน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์

ของมนษุ ยก์ บั มนุษย์ มนษุ ย์กบั ธรรมชาติ และมนษุ ย์กับสง่ิ ที่อยู่เหนอื
ธรรมชาติไว้อย่างชัดเจน สะท้อนให้เห็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่สาคัญ มีความสัมพันธ์กับวิถีความเป็นอยู่

ของชาวล้านนาในด้านต่าง ๆ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี สถาบันศาสนา สถาบัน
ครอบครวั การประกอบอาชพี อาหารและโภชนาการ การแต่งกาย การสาธารณะสุขมลู ฐาน เปน็ ต้น

ซอพ้ืนเมืองล้านนา หรือที่ชาวพื้นเมืองล้านนาเรียกว่า ซอ

(มักเรียกประกอบกันเป็น สะล้อ ซอ ซึง) เป็นรูปแบบการร้องเพลง
ที่ชาวพ้ืนเมอื งล้านนาใช้ขับกล่อมให้คลายทุกข์ โดยจะมีคาเรียกผู้ร้อง

เพลงซอว่าช่างซอ การขับซอในปัจจุบัน จะมีลีลาและรูปแบบที่
เปล่ียนแปลงไปตามยคุ สมัย การซอมที ้ังขับร้องเด่ียวและคู่ ซ่ึงเรียกว่า
"คู่ถ้อง" สลับด้วยดนตรี คือ ป่ีชุม 3 ป่ีชุม 4 หรือปี่ชุม 5 (ภาษา

พนื้ เมอื งจะออกเสยี งวา่ ปีจมุ ) ท่ีนิยมกันมาแตโ่ บราณ

ผู้ขับเพลงซอ หรือที่เรียกตามภาษาท้องถ่ินว่า “ช่างซอ” ที่ร้องโต้ตอบกันเรียกว่า “คู่ถ้อง” ช่างซอที่
เป็น คู่ถ้องต้องเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบดีและได้รับการฝึกฝน จนชานาญ เพราะต้องโต้ตอบกับอีกฝ่ายอย่าง
ทันท่วงที ตอ้ งมีความรรู้ อบตวั และมีความจาดี เพราะสามารถนาสงิ่ รอบข้างมาใชใ้ นการซอ ได้ นอกจากนี้ตอ้ ง
จาทานองของ เพลงซอ ไดอ้ ยา่ งขึ้นใจ เน้ือร้องของซอ เปน็ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าขึ้นอยู่ กับสถานการณ์และ
โอกาสท่ีไปแสดง เช่น ถ้าไปแสดง ในงานบวชนาค ช่างซอก็จะร้องเพลงซอพรรณนาเกี่ยวกับ การตอบแทน
พระคณุ พ่อแม่

ผู้ทถี่ ือปฏิบตั ิมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
ชื่อ แมค่ รูบวั ลอย โชติสริ พิ ชั ญ์

ศูนย์การเรยี นรขู้ บั ซอพืน้ เมอื งแมค่ รบู ัวลอย โชตสิ ริ พิ ัชญ์
ทอ่ี ยู่ 30 หมู่ 7 บ้านสันตน้ ผึ้ง ตาบลมว่ งคา

อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย 57120
หมายเลขโทรศพั ท์ 087 176 4714

112

หมกกบสมุนไพรไทล้อื

“หมกกบสมุนไพรไทลอ้ื ” หรือ “หมกแม่หม่อน” เป็นอาหารใน
วัฒนธรรมท้องถิ่นไทล้ือชุมชนบ้านกล้วยที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
หมกกบเป็นตัวคลุกเคล้าด้วยสมุนไพร ผิงไฟอ่อน ๆ หอมกล่ิน
สมุนไพรใหอ้ รรถรสอาหารชวนชิม

โดยภาพรวมแล้วเมนูห่อหมกน้ัน ช่วยให้ผู้รับประทานน้ันเจริญ
อาหารจากเครื่องแกง และมีฤทธิ์ขับลม จากเคร่ืองแกงท่ีตารวมกัน
โดยใช้ ข่า, รากผักชี, มะกรูด, กระชาย และสูตรท่ีใส่กระเทียมนั้นจะ
ชว่ ย
ย่อยอาหาร และยับย้ังการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ในระบบทางเดินอาหารด้วย และในวัฒนธรรมการรับประทาน
อาหารหลายจังหวดั นิยมทาห่อหมกเพื่อใช้ในงานพิธีมงคล หรืองานจัดเลี้ยง เนื่องจากเป็นอาหารที่มรี สชาตเิ ปน็ ที่ชื่น
ชอบของทุกกลมุ่ ชว่ งอายุ ไม่เผด็ มากเกนิ ไป เดก็ ๆ รับประทานได้ และรบั ประทานกับข้าวสวยอุน่ ๆ กอ็ ร่อย
1. การทาหมกกบสมนุ ไพรไทล้ือจะแตกต่างจากพื้นท่ีอนื่ คอื จะใช้กบทั้งตัวมาปรุงรส ไมส่ ับเป็นชิ้น และจะไม่
นาตวั กบไปยา่ งไฟเพราะจะทาใหเ้ น้ือกบกระด้างแข็ง ไม่นมุ่
2. ควรคลุกเครื่องปรุงให้เข้ากับเน้ือกบ เครื่องสมุนไพรจะซึมเข้ากับเน้ือกบทาให้ดับกล่ินคาว เนื้อกบหอม
กล่ินสมุนไพร
3. ควรใช้ขม้ินชนั หรอื ขมิน้ แกง โดยเลือกเน้ือในหัวเป็นสีเหลืองอมส้มแก่ เพราะจะมีกลิน่ หอมแรง เพ่ิมสีสัน
ของเน้อื กบให้นา่ รับประทาน
สว่ นประกอบ
❖ กบ 500 กรมั ❖ เกลอื 10 กรัม
❖ หอมแดง 20 กรัม ❖ ตน้ หอม 50 กรัม
❖ กระเทียม 30 กรัม ❖ ผกั ชี 50 กรัม
❖ ขมน้ิ ชนั 30 กรมั ❖ รากผักชี 50 กรัม
❖ ขา่ 10 กรัม ❖ เมล็ดผักชี 50 กรมั
❖ ตะไคร้ 40 กรมั ❖ ผักชีฝรั่ง 50 กรมั
❖ พริกแห้ง 40 กรมั ❖ ใบมะกรูด 50 กรมั
❖ ผงชูรส 10 กรมั
ขัน้ ตอนกำรทำ
๑. ผ่าท้องกบแล้วล้างให้สะอาด
๒. หั่นตะไคร้ ใบมะกรดู ตน้ หอม หอมแดง ข่า ผกั ชแี ละผักชีฝร่งั
๓. โขลกตะไคร้เมล็ดผักชี รากผักชี ข่า ขม้ิน หอมแดง กระเทียม ผงชรู ส เกลือและพริกแห้งให้ละเอียดตักใสภ่ าชนะ
๔. นาเครื่องปรุงคลุกเคล้าให้เข้ากับตัวกบ จากน้ันนาใบมะกรูด ต้นหอม ผักชี และผักชีฝร่ังทีซอยเตรียมไว้ผสมให้
เข้ากันและโรยบนตวั กบ
๕. ห่อกบด้วยใบตอง ยึดดว้ ยไม้กลัด
๖. นาห่อกบไปปงิ้ บนเตาถ่านไฟอ่อน ๆ ย่างจนกระท่งั ใบตองเหลืองเกรียม คอยกลับด้านใช้เวลาประมาณ 30-45 นาทรี อกบสุก
หรือนาไปหมกกบั ทรายบนเตาไฟออ่ น เรยี กวา่ “หมกแม่หมอ่ น” นาใส่จานพรอ้ มรบั ประทาน

ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ชอ่ื นายนรวัฒน์ พรหมเผา่
ทอ่ี ยู่ ตาบลสันมะเคด็ อาเภอพาน

จงั หวดั เชยี งราย 57120
หมายเลขโทรศพั ท์ 086 185 2624

113

ผำ้ ทอมอื ไทลอ้ื ชุมชนบำ้ นกล้วย
ประชากรในชุมชนไทล้ือบ้านกล้วย หมู่ ๕ ตาบลสันมะเค็ด อาเภอพาน
จังหวัดเชียงราย ได้อพยพถิ่นฐานมาจากชนเผ่าไทล้ือ บ้านกล้วยแพะ
ตาบลกล้วยแพะ อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง เมื่อปี พ.ศ. 2467
จึงได้มีการนาเอาวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ความเช่ือต่าง ๆ
รวมไปถงึ มรดกภูมปิ ัญญาการทอผ้าของชาวไทล้ือมาใช้ในชีวิตประจาวนั
วัสดุ - อุปกรณ์

กีท่ อผา้ กระสวย หลอดดา้ ย ไม้กา้ วใหญ่-นอ้ ย เขาฟมื

ดา้ ยสีต่าง ๆ
ข้ันตอนกำรทอผ้ำ (ไม้หลาบ)
๑. การปั่นด้าย เป็นการนาเส้นด้ายจาก “อัก” ท่ีผ่านการกรอเส้นไหมอย่างเป็นระเบียบ
เพื่อไม่ให้เส้นไหมพันกัน ใช้ร่วมกับอุปกรณ์อีกอย่างที่เรียกว่า “ไน” เป็นกงล้อหมุนท่ีใช้
สาหรับการกรอหรือการตตี ะกอของเส้นด้าย เข้ากับหลอดพุง่ เพ่อื ใช้ในการทอผา้
๒. วธิ กี ารเตรียมหกู และการสบื หกู
- เตรยี มเสน้ ด้ายทีเ่ ป็นเสน้ ยนื (เครอื ) และเสน้ พุง่ ตามสีทีก่ าหนดจากตัวแบบลายผ้าท่ตี อ้ งการ
- นาเส้นด้ายทเ่ี ป็นเสน้ ยืน (เครือ) ข้ึนขึงกับกี่ ตรวจความเรียบร้อยของฟืมและเขาให้เรยี บรอ้ ย
- นาเขาวางหลงั ก่ี คล่ดี ้ายเสน้ ยืน (เครือ) ออกแล้วนามาสอดในเขา ในการสอดจะต้องสอดจากขวาไปซ้าย ดา้ ย 1
เส้นตอ่ เขาหูก 1 ช่อง ทาเหมือนกนั จนหมดเสน้ ด้าย หลังจากน้ัน ตรวจสอบความถกู ต้อง
- นาเขาหูกผูกติดกบั รอกกรอผ้าใหแ้ นน่ นาฟืมไปใส่ในไมก้ ๊อบเพื่อเป็นไม้กระทบด้ายเวลาทอผ้าให้แนน่
- เริ่มข้นั ตอนการทอผ้า โดยนาหลอดด้ายใส่กระสวยพุ่งทอ 3-5 รอบ ตรวจดูความถูกต้องครง้ั สุดท้ายก่อนการทอผ้า
หลงั ตรวจสอบความถูกตอ้ งเสร็จก็สามารถเร่ิมขน้ั ตอนการทอผ้าให้ครบตามเครอื ผ้าท่ีเตรยี มไว้
เทคนคิ กำรเก็บลำยผำ้ ทอ
- ช่างทอผา้ ออกแบบผนื ผา้ กาหนดลายผา้ ทอหลัก และลายผา้ ทอรอง กาหนดความยาวของกา่ นผ้า
- เรม่ิ เก็บลายผา้ ดว้ ยวธิ กี ารนบั ลายจากกระดาษตารางท่ีกาหนดลายต้นแบบท่เี ตรียมไว้ โดยเริ่มนับเก็บจากเสน้ ท่ี 1 จนครบ
ลายท่ีสรา้ งข้นึ
- ในการเกบ็ ลายจะใช้ไม้เกบ็ ลายเล็กเปน็ ตวั เกบ็ ลายทนี่ ับได้ก่อนจากนน้ั สอดไม้เก็บลายใหญไ่ วเ้ พือ่ กากบั เส้นดา้ ยจนหมดแถว
- สอดไมก้ า้ วเลก็ ในช่องระหวา่ งเสน้ ด้ายยืนหนา้ ฟืม ดึงไม้เกบ็ ลายใหญอ่ อก พลิกไม้ก้าวเลก็ ตั้งขนาดกบั ผ้า
- นาไมก้ ้าวใหญ่สอดหลงั ฟืม ดึงไมก้ า้ วเลก็ ออก พลกิ ไม้ก้าวใหญต่ ั้งขนาดกับผ้า
- สอดไม้กา้ วเลก็ ในช่องระหว่างเสน้ ด้ายยืนหลังเขา และนาไมก้ ้าวใหญ่สอดหลังไม้ก้าวเลก็ อกี ทีพลิกไม้ก้าวทั้งเล็กและใหญ่ขน้ึ
- นากระสวยด้ายทีเ่ ตรียมไว้พงุ่ ลอดเสน้ ยืน (เครือ) กระทบผา้ ใหแ้ นน่
- ถอดไม้ก้าวท้ังเล็กและใหญ่ออกจากเส้นยืน (เครือ)
- เริ่มเก็บลายแถวท่ี 2 ต่อไปดว้ ยวิธีการเดิมจนครบลายท่กี าหนด โดยใช้เสน้ ดา้ ยตามสีทกี่ าหนดไวใ้ นแบบ จะได้ลวดลาย
ตามแบบที่กาหนดไว้
ผ้ทู ถ่ี อื ปฏิบัติมรดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
ชือ่ นางจนั ทรฟ์ อง พรหมเผ่า
ที่อยู่ 219 หม1ู่ 2 ตาบลสนั มะเคด็
อาเภอพาน จังหวดั เชยี งราย 57120

หมายเลขโทรศพั ท์ 086 185 2627

114

จกั สำน

จักสานถือได้ว่าเป็นแขนงหน่ึงในงานหัตถกรรม
และหตั ถกรรมศลิ ป์ ทไ่ี ดท้ าหนา้ ทร่ี บั ใช้มนุษยม์ านานนับ

พนั ปีเช่นเดียวกัน จนปัจจุบันจกั สานก็ยงั คงทาหน้าที่ไม่
น้อยกว่ายุคสมัยที่ผ่านมา พร้อมกับการพัฒนาวิธีการ

ผลิต รูปแบบและการตลาด จน สามารถกระจาย
แพรห่ ลายอย่างทั่วถงึ ทั้งในและต่างประเทศ จนสามารถ
เป็นสินค้าออกท่ีเชิดหน้าชูตาได้ดีประเภทหน่ึง เช่น

กระเป๋าถือ และแฟ้มใส่เอกสาร รวมถึงงานท่ีประณีต
ดว้ ยฝมี ือ ทที่ าดว้ ยไมไ้ ผ่ หรอื ไมช้ นดิ ตา่ ง ๆ

“ จักสาน” คาวา่ จัก คือ การทาใหเ้ ป็นแฉก เป็นหยักๆ ด้วยฟันเลื่อย หรืออีกวธิ ีการหน่ึง การที่ชาวบ้าน
ใชค้ มมีดผ่าไมไ้ ผ่แล้วทาให้เป็นเส้นบาง ๆ วธิ ีการอยา่ งนก้ี ็เรียกว่า จัก เช่นกนั สว่ นไมไ้ ผ่ หรือ หวาย ทจ่ี ักออกมา
เป็นเส้นบาง ๆ น้ันเรยี กว่า ตอก ถงึ ตอนน้ีการที่ชาวบ้านนาตอกมาขัดกันจนเกดิ ลวดลายท่ีต้องการ เราเรียกว่า

สาน ต่อจากนน้ั แล้วกจ็ ะเป็นการสร้างสรรค์ให้เกิดรปู ทรงตา่ ง ๆ จนทา้ ยทส่ี ุดเป็นภาชนะสามารถนาไปใชส้ อยได้
ตามต้องการ การจักสานต้องมีความคงทนถาวรและประโยชน์ใช้สอยเพิ่มเตมิ คือการไปใส่น้า การใช้ภูมิปัญญา

ดงั กล่าว มีมาแต่ครัง้ สุโขทัย หรืออาจจะกอ่ นหน้าน้ัน ปัจจุบนั เครื่องจักสานไดพ้ ัฒนาการไปมาก มีการประดิษฐ์
คิดคน้ ทาใหไ้ ดร้ ูปแบบตา่ ง ๆ

โดยท่ัวไปการสรา้ งเครื่องจักสานจะขึน้ อยู่กบั เง่อื นไขทางความต้องการดา้ นประโยชนใ์ ช้สอยตามสภาพ

ภูมิศาสตร์รวมถึงประเพณี ความเช่ือ ศาสนา และวัสดุในท้องถิ่นน้ัน ๆ ประกอบกันข้ึนเป็นเครื่องจักสานใน
รูปแบบและลวดลายต่าง ๆ ซ่ึงการจักสานของอาเภอพานนั้น ผลิตขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์และฝีมืออัน

ประณีตของคนอาเภอพาน และมีการออกแบบที่ทันสมัย ประกอบกบั เป็นผลติ ภณั ฑ์ท่ีทาข้ึนจากวัสดุธรรมชาติ
ซ่ึงมคี วามงดงามตามธรรมชาติอยู่แลว้

วัตถุดบิ /อุปกรณ์
❖ ก้านมะพร้าว
❖ ไม้ไผ่
❖ ปอทอเสอื่ ( ปอเทียมเส้นเล็ก )
❖ หวายเทียม
❖ ลวด
❖ คีมล็อก
❖ คีมปากนกแก้ว
❖ คมี ปากจงิ้ จก
❖ กรรไกรตัดกิ่งไม้
❖ เลื่อยสาหรับตัดไม้ไผ่
❖ เหลก็ แหลม
❖ มีดตอก
❖ มีดใหญ่
❖ สายวดั
❖ เข็มเยบ็ ผา้ เบอร์ใหญ่
❖ ดินสอหรือปากกา

115

กระบวนกำร/ข้ันตอน
๑. เลอื กก้านมะพร้าวเหลือง ๆ ไมอ่ ่อนไม่แก่เกนิ ไป จะทาใหไ้ ด้ตะกร้าทีแ่ ข็งแรง มีสีสวย ถา้ เปน็ ก้านทแ่ี ก่
มากจะทาให้สีคล้า หรืออ่อนเกินไปจะออกสีเขียวอ่อนและไม่แข็งแรง มะพร้าวน้าหอมจะมีก้านที่ส้ันกว่า
มะพร้าวใหญ่หรือมะพร้าวทใ่ี ช้ทาขนมและแกงกะทิ ทัง้ นขี้ นึ้ อยู่กบั ชน้ิ งานวา่ ตอ้ งการตะกรา้ ใบใหญ่หรอื ใบเลก็
๒. นาก้านมะพร้าวมาเหลาใบออก ใช้มีดขูดใหเ้ กลี้ยง จากน้ัน นาไปตากแดดให้แห้งเพราะจะทาให้สาน
ตะกรา้ ไดแ้ นน่ ไม่หลวม และชว่ ยป้องกนั ไม่ให้ข้นึ ราได้ง่าย
๓. เหลาไม้ไผ่ให้เป็นเส้นแบน ๆ ความหนาแลว้ แตค่ วามต้องการ เพื่อใชข้ ดเป็นวงสาหรับทาโครงตะกร้า
ต้องการให้เป็นรูปทรงใดอยู่ที่ข้ันตอนน้ี ตะกร้า ๑ ใบใช้โครงไม้ไผ่ ๕ อัน ประกอบเป็นส่วน ก้นตะกร้า ๒ อัน
ตัวตะกรา้ ๑ อัน (สว่ นกลาง ) และปากตะกร้า ๒ อัน
๔. นาก้านมะพร้าวท่ีเหลาและตากแดดเรียบรอ้ ยแล้วมาสานไขว้กันไปมา ให้มีความถี่ห่างแล้วแต่ความ
ต้องการ โดยเร่ิมสานกับโครงไม้ไผ่ส่วนที่เป็นตัวตะกร้า ใช้ปอทอเส่ือท่ีร้อยเข็มแล้วมัดให้ก้านมะพร้าวกับ
โครง ไม้ไผ่ตดิ กัน ข้ันตอนนีต้ ้องพยายามจัดก้านมะพรา้ วให้เรยี งเสมอกัน และมดั ด้วยปอทอเสอื่ ใหแ้ น่นหนา
๕. เม่ือสานส่วนตัวตะกร้าจนรอบแล้วจึงสานก้นตะกร้าโดยใช้โครงไม้ไผ่ประกัน ๒ วง และมัดด้วยลวด
และหวายเทียม
๖. จากน้ันนาโครงไม้ไผ่อีก ๒ อัน ประกบตรงส่วนปากตะกร้า ใช้ลวดและหวายเทียมมัดเช่นกัน
ขน้ั ตอนนี้จะตกแต่งปากตะกรา้ ดว้ ยการสานหวายเทียม
๗. รวบก้านมะพรา้ วส่วนท่ีเหลือท้งั สองข้างไวด้ ้วยกัน แล้วนากา้ นมะพร้าวทัง้ สองขา้ งมัดเชือ่ มต่อกันด้วย
หวายเทียมเพอ่ื เป็นหตู ะกรา้ ตัดกา้ นมะพร้าวท่ียาวเกินไปออกและตกแต่งให้เรยี บรอ้ ย

ผ้ทู ่ีถือปฏิบัติมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
ช่ือ นางจนั ทรฟ์ อง พรหมเผ่า
ท่อี ยู่ 219 หม1ู่ 2 ตาบลสันมะเค็ด

อาเภอพาน จังหวดั เชียงราย 57120
หมายเลขโทรศัพท์ 086 185 2627

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ ป่ า แ ด ด

ป่าแดดข้าวหอม ธาตุจอมสูงสง่า
ถ้ำผาแหล่งธรรม งามล้ำผ้าไหม

สภาวัฒนธรรมอำเภอป่าแดด

117

อำเภอป่าแดด

ประวตั ิอำเภอปา่ แดด
อำเภอป่าแดดเดิมเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอพาน ชื่อว่า ตำบลป่าแดด เป็นท้องที่ทุรกันดาร

และตั้งอยู่ห่าไกลจากตัวอำเภอพาน การเดินทางไปมาเพื่อติดต่อราชการกับที่ว่าการอำเภอพานแต่ละครั้ง
ต้องเดินเท้า เนื่องจากไม่มียานพาหนะใดๆ และด้วยระยะทางไกลทำให้ต้องมีการพักค้างแรมระหว่าง
การเดินทาง ส่วนสัมภาระต่างๆ ก็ต้องใช้คนแบกหาม และด้วยราษฎรส่วนใหญ่ไม่ได้รับความสะดวก
ในการเดินทาง นายสง่า ไชยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายในสมัยนั้นได้รายงานต่อกระทรวงมหาดไทย
ขอตั้งเป็นกิ่งอำเภอ กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ให้ยกฐานะ
ตำบลป่าแดดขึ้นเป็น กง่ิ อำเภอปา่ แดด และใหข้ น้ึ อยใู่ นเขตการปกครองของอำเภอพาน จังหวดั เชียงราย ตัง้ แตว่ ันท่ี
1 มถิ ุนายน พ.ศ. 2512

ต่อมากิง่ อำเภอปา่ แดดเป็นชมุ ชนท่ีหนาแนน่ ขึ้นและมีสภาพเจริญขึ้นกวา่ เดิมมาก ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์
ปราโมช นายกรฐั มนตรใี นสมยั น้นั จงึ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 192 ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
และมาตรา 56 วรรค 2 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 218 ลงวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2515
ตราพระราชกฤษฎกี าต้ังกิง่ อำเภอป่าแดด อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย เป็น อำเภอปา่ แดด ข้ึนกับจงั หวัดเชียงราย
เมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2518 ในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ ที่ 92 ตอนที่ 166 ลงวนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2518

แผนท่ีอำเภอปา่ แดดโดยสงั เขป
คำขวญั อำเภอป่าแดด

“ หลวงพอ่ หนุม่ คเู่ มอื ง ลอื เลื่องถิน่ ข้าวหอม พระธาตสุ ามจอมสูงสงา่
ถ้ำผาจรยุ แหลง่ ธรรม งามลำ้ ผา้ ไหมไทย ”

118

ลักษณะทางกายภาพ

๑. สภาพทวั่ ไป

ตำแหน่งท่ีต้ัง

ตง้ั อย่หู ่างจากตวั จงั หวัดเชยี งราย ประมาณ 52 กโิ ลเมตร

อาณาเขตตดิ ต่อ

▪ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับอำเภอพาน อำเภอเมืองเชียงราย และอำเภอเทงิ
▪ ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับอำเภอเทิง และอำเภอจุน (จังหวดั พะเยา)
▪ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอจุน อำเภอดอกคำใต้ อำเภอภูกามยาว และอำเภอแม่ใจ

(จงั หวดั พะเยา)
▪ ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอพาน
๒. สภาพภมู ิประเทศ

อำเภอป่าแดดมีภูเขาและป่าไม้ล้อมรอบทั้งสี่ด้าน ทางด้านทิศตะวันออกส่วนใหญ่เป็นภูเขา

และป่าไม้ ทางราชการไดก้ ำหนดเป็นป่าสงวนแห่งชาติขึน้ เรียกว่า "ป่าแมพ่ งุ " ทางทิศตะวันตกเปน็ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ

อีกป่าหนึ่ง เรียกว่า "ป่าแม่ปืม" สภาพพื้นที่ทั่วไปของอำเภอป่าแดด เป็นที่ราบลุ่ม มี แม่น้ำพุงไหลผ่านจาก
ทิศตะวันตกจากตำบลป่าแงะ ผ่านบ้านแม่พุง ตำบลป่าแดด ผ่านบ้านวังผา ตำบลสันมะค่า อำเภอป่าแดด
และมีภเู ขาสำคญั ช่ือ "ดอยงาม" ซ่งึ เป็นเขตก้นั ระหวา่ งอำเภอพานกับอำเภอปา่ แดด

๓. ลกั ษณะภูมอิ ากาศ

อำเภอป่าแดดมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้นสลับร้อนแห้งแล้ง อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี

ประมาณ 24 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลยี่ /ปี 80 มลิ ลเิ มตร ฝนสว่ นใหญ่จะมีในช่วงที่มลี มมรสุมตะวันตก
เฉียงใต้พัดผ่านประเทศไทย และด้านที่เป็นต้นลมจะได้รับปริมาณฝนมากกว่าด้านปลายลม ซึ่งฝนที่ตกอยู่นั้น
เป็นลักษณะของฝนภูเขา พื้นที่หน้าเขาจะได้รับฝนมากกว่าด้านหลังเขา เนื่องจากได้รับฝนจากพายุดีเปรสชัน
ทพ่ี ดั มาจากทะเลจนี ใต้ อำเภอป่าแดดมี 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดรู อ้ น

▪ ฤดูฝน : ซึง่ เป็นฤดทู ี่เรมิ่ ลงมอื เพาะปลกู พืชเมอื งรอ้ น จะเรม่ิ ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม
และไปสิ้นสุดฤดใู นเดือนกันยายนหรือต้นเดือนตุลาคม ฝนที่ตกเป็นฝนจากมรสุมตะวันตก
เฉยี งใต้ที่พดั มาจากอ่าวเบงกอล กบั ฝนจากพายุดีเปรสชันทีพ่ ัดจากทะเลจนี ใต้

▪ ฤดูหนาว : เป็นฤดูของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคม
และสิ้นสุดประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ฤดูหนาวในภาคเหนือมีลักษณะเห็นเด่นชัดกว่า
ภาคกลาง และภาคใต้ เพราะอยู่ใกล้แนวเคลื่อนที่ของอากาศหนาวเย็นที่เคลื่อนที่จาก
เขตความกดอากาศสงู ในไซบีเรยี และผา่ นประเทศจนี

▪ ฤดรู อ้ น : เร่ิมตน้ ประมาณกลางเดือนกมุ ภาพนั ธแ์ ละไปสนิ้ สดุ ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม
ในเดือนกุมภาพนั ธ์มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเร่ิมอ่อนกำลังลง ทำให้ลมตะวันออกเฉียงใต้
จากทะเลจนี มกี ำลังแรงข้ึน เป็นผลให้เกดิ พายุฤดูรอ้ นขน้ึ ในภาคเหนือเปน็ ครงั้ คราว ในเดือน
มีนาคมและเมษายนอุณหภมู ใิ นภาคเหนือขน้ึ สูงมาก

119

ขอ้ มลู แห่งเรียนรู้

ศนู ยก์ ารเรยี นรชู้ ุมชนตำบลป่าแดด

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยการริเริ่มของ นายแพทย์ธารา อ่อนชมจันทร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ป่าแดดขึ้น ในขณะนั้นได้ก่อตั้งชมรมหมอเมืองอำเภอป่าแดด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การดูแลสุขภาพแบบพืน้ บ้านหลายๆ ด้านโดยใช้ภูมิปัญญาของชุมชน เช่น การใช้สมุนไพรพธิ ีกรรมเช็ดแหกขาง
และการนวด หลังจากนั้นก็ได้ขยายเครือข่ายหมอพื้นบ้าน โดยได้ตั้งชมรมหมอพื้นบ้านเชียงราย – พะเยา
ถึงแม้ว่าหมอธารา อ่อนชมจันทร์ ย้ายไปรับราชการที่อื่นการดำเนินกิจกรรมร่วมกันของกลุ่มหมอพื้นบ้าน
อำเภอป่าแดด กย็ ังมีการรวมตัวกนั มาจนถงึ ในปัจจบุ ัน

ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้จัดตั้ง ศูนย์ถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านการแพทย์พื้นบ้านอำเภอป่าแดด
ณ วัดศรีชุมประชาหมู่ที่ 4 ตำบลป่าแดด โดยได้รับการสนับสนุนจากโครงการ “หนึ่งตำบลหนึ่งบริการนวด
พื้นบ้าน” (OTOP) และกลุ่มงานการแพทย์พื้นบ้านกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสขุ โดยได้ดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ดงั นี้

▪ จัดทำมาตรฐานการนวดพ้นื บา้ น
▪ การให้บริการนวดพื้นบ้านภายในศูนย์ฯ และเป็นศูนย์กลางในการรับผู้ป่วยจากหน่วยงาน

สาธารณสขุ
▪ เปน็ ท่พี บปะแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของหมอพ้นื บา้ น

▪ เป็นศนู ย์การเรยี นรูภ้ ูมิปัญญาพ้ืนบา้ นดา้ นตา่ ง ๆ

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติกระทรวงวัฒนธรรม
ได้เห็นความสำคัญของการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนในทุกๆ ด้าน จึงได้จัดสรร
งบประมาณใหส้ ภาวฒั นธรรมอำเภอป่าแดด จดั ตัง้ ศูนย์การเรยี นรชู้ มุ ชนตำบลป่าแดดอำเภอละ ๑ แหง่ ขึน้

ปัจจุบัน คณะกรรมการของศูนย์ถ่ายทอดภูมิปัญญาด้านการแพทย์พื้นบ้านอำเภอป่าแดด
และคณะกรรมการศูนย์การเรียนรูช้ ุมชนตำบลป่าแดด ได้ประชุมและมีความเห็นตรงกนั ว่า วัตถุประสงค์ของการ
จัดตั้งศูนย์ฯ ดังกล่าวตรงกัน และต้องการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มีรูปแบบแนวคิดการจัดกิจกรรม
ที่เหมือนกันจึงได้ตกลงรวมศูนย์โดยให้เป็นชื่อ “ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลป่าแดด” และได้ดำเนินการแต่งตั้ง
คณะกรรมการจากทุกภาคส่วนเพื่อร่วมกันดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และตอบสนองความต้องการ
ของชมุ ชนเกิดความยั่งยนื เป็นประโยชนต์ ่อชมุ ชนตอ่ ไป

บ้านโป่งศรีนคร

เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่มีคณะศึกษาดูงานอย่าง
ต่อเนื่องกว่า 200 คณะ เป็นชุมชนน่าอยู่ต้นแบบ
ของสำนกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ
(สสส.) และยังได้รับเลือกให้เป็นศูนย์เรยี นรู้ เพื่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบในระดับประเทศ
ของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.)
มีการลดปัญหาการดม่ื สรุ า มสี หกรณ์ขยะที่ช่วยทำให้
หมบู่ ้านมคี วามสะอาด และมีทัศนยี ภาพทสี่ วยงาม

120

วัดพระธาตนุ ้ำดอกบวั ตอง 12 ราศี

พระธาตุน้ำดอกบัวตอง 12 ราศี เป็นวัดที่มีเจดีย์ธาตุโบราณ และมีโบราณวัตถุเก่าหลายช้ิน
ปัจจุบันได้ดำเนินการสร้างเจดียธ์ าตุใหม่ครอบเจดีย์ธาตุอันเก่าทุกปี ในวันเพ็ญเดือน 8 เหนือ จะมีพิธีนมัสการ
และสรงน้ำพระธาตขุ องชาวล้านนาต้องเตรยี มเคร่อื งสกั การะ ดอกไม้ธูปเทยี น ฝกั ส้มป่อย หมอ้ ไห ขา้ วสุกข้าวสาร
อาหารแห้ง จากนั้น จะพากันเข้าพักในศาลาบาตร ที่รายล้อมองค์เจดีย์หรือรายล้อมตามแนวกำแพงวัดด้านใน
แล้วจึงไปปัดกวาดลานพระธาตุ ลานต้นโพธิ์ เรียกว่าอุปัฏฐากพระธาตุ ถึงเวลากลางคืนมีการจุดธูปเทียน
ถวายขา้ วตอกดอกไม้ ทำวัตรสวดมนต์ สวดกล่าวคำไหวพ้ ระธาตุเปน็ ภาษาบาลี

แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว

พระธาตุจอมครี ี

พระธาตุจอมคีรี ตั้งอยู่บนยอดเขาเตี้ยๆ
ไม่มีพระสงฆ์อาศัยอยู่ มีแต่พระธาตุหรือเจดีย์องค์
เดียวเท่านั้น องค์พระธาตุตั้งอยู่ในเขตตำบลป่าแดด
โดยมีทางแยกจากถนนสายใหญ่ เข้าไปประมาณ
3 กิโลเศษ และมีทางรถยนต์วิ่งเลียบไปข้างๆ
โรงเรยี นป่าแดดวทิ ยาคม

ถ้ำผาจรยุ

ถ้ำผาจรุยนั้นเป็นถ้ำที่มีความศักดิ์สิทธิ์สวยงาม
ทั้งยังมีพระพุทธรูปประดิษฐานในบริเวณถ้ำ บริเวณวัดมี
พื้นที่ประมาณ 60 ไร่ มีลักษณะเป็นภูเขาตั้งโดดเด่น
แยกตัวออกมาจากภูเขาลูกอื่น ซึ่งภายในประกอบด้วย
ภูเขาเล็กๆ สลับซับซ้อนอย่างลงตัวและสวยงาม
นอกจากนั้นยังมีถ้ำเล็กถ้ำน้อยกระจัดกระจาย
อยู่โดยท่วั ไป

อ่างเก็บน้ำหว้ ยแดด

อ่างเก็บน้ำห้วยแดด เป็นโครงการชลประทาน
ขนาดเล็กเร่งด่วนที่ทางรัฐบาลสร้างให้กับชาวบ้าน
โรงช้าง เมื่อปีปี พ.ศ. 2537 เพื่อใช้ประโยชน์
และบำรุงรักษา ร่วมกันโดยการชลประทานขนาด
เล็กท่ี 2 กรมชลประทานเป็นฝ่ายทำการก่อสร้าง
อ่างเก็บน้ำห้วยแดด ปัจจุบันอ่างเก็บน้ำห้วยแดด
ได้จัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวในตอนเทศกาลสงกรานต์
อีกแหง่ หนึ่งในอำเภอปา่ แดด

121

อักษรธัมม์ล้านนา หรือ ตัวเมือง

หรือ อักษรยวน ในอดีตเรียกว่า ไทยเฉียงลาวเฉียงตาม
ชื่อมณฑลลาวเฉียง เป็นอักษรที่ใช้ใน ๓ ภาษา
ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นเหนือ, ภาษาไทลื้อ ในประเทศ
จีน และภาษาไทเขิน ในประเทศพม่า นอกจากน้ี
อักษรล้านนายังใช้กับลาวธรรม (หรือลาวเก่า)
และภาษาถิ่นอื่น ในคัมภีร์ใบลานพุทธ และสมุดบันทึก
อักษรนี้ยงั เรียก อักษรธรรมหรืออักษรยวน

ภ า ษ า ไ ท ย ถ ิ ่ น เ ห น ื อ เ ป ็ น ภ า ษ า ใ ก ล ้ ช ิ ด กั บ
ภาษาไทยและเป็นสมาชิกของตระกูลภาษาเชียงแสน
มีผู้พูดเกือบ 6,000,000 คนในภาคเหนือของประเทศ
ไทย และหลายพันคนในประเทศลาว ซึ่งมีจำนวนน้อย
ที่รู้อกั ษรล้านนา อักษรนยี้ งั ใชอ้ ยู่ในพระสงฆ์อายุมาก

อักษรธัมม์ล้านนามีอายุยาวนานจนปรากฏ

หลักฐานบน จารึกต่างๆ ซึ่งส่วนมากจะเป็นจารึกทาง
พระพุทธศาสนา อักษรธัมม์ล้านนาจึงมีบทบาทสำคัญ
ต่อพระพุทธศาสนามาต้ังแต่อดีตในฐานะอกั ษรท่ีใช้บันทกึ

เรื่องราวทางพระพุทธศาสนาจนถึงปัจจุบัน อีกท้ัง
อยู่ในฐานะสื่อกลางที่บอกเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
และความรู้ทางพระพุทธศาสนา

สำหรับชื่อเรียก “อักษรธัมม์ล้านนา” นั้น ได้ปรากฏชื่อเรียกต่างกันไป จำนวน ๕ ชื่อ ได้แก่

อักษรธรรมล้านนา อักษรธรรมเหนือ ตัวหนังสือเมืองหรือตัวเมือง อักษรล้านนาไทย และอักษรไทยยวน
โดยมขี อ้ สนั นษิ ฐานว่า แต่ละชือ่ ตงั้ ขึ้นด้วยเหตผุ ลดงั ต่อไปน้ี

ผู้ทถี่ อื ปฏิบตั ิมรดกภมู ิปัญญา ๑. อักษรธรรมล้านนา เรียกชื่อนี้เพราะเป็นตัวอักษรทีใ่ ช้เขียนพระ
ช่อื นายมนัส กณั ทะวชั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและใช้ในอาณาจักรล้านนา
ทีอยู่ หมทู่ ี่ ๘ ตำบลป่าแดด
๒. อกั ษรเหนือ เรียกช่ือนีเ้ พราะเป็นตวั อักษรที่ใช้เขยี นพระธรรมทาง
อำเภอปา่ แดด จังหวัดเชียงราย พระพุทธศาสนา และใชใ้ นภาคเหนอื ของประเทศไทย
หมายเลขโทรศพั ท์ 0899526195
๓. ตัวหนังสือเมืองหรือตัวเมือง (คำเรียกตามสำเนียงล้านนาว่า
ตั๋วเมือง) เป็นคำเรียกตัวเองของคนภาคเหนือ ที่เรียกว่า
“คนเมือง” จึงเรียกตัวหนังสือที่เป็นของตนว่า “ตัวหนังสือเมือง
หรือ ตวั เมือง” เพ่อื ใหแ้ ตกต่างจากตวั หนังสือไทย ภาคกลาง

๔. อกั ษรลา้ นนาไทย เรียกชือ่ น้ีเพราะเปน็ ตวั อกั ษรที่ใช้ในอาณาจักร
ลา้ นนาไทย

๕. อกั ษรไทยยวน เรยี กชือ่ นเี้ พราะเปน็ ตวั อกั ษรที่ “ไทยยวน” ซึง่ เปน็
ชาติพันธุ์ทางภาคเหนือใชใ้ นการสอื่ สาร

122

การฟ้อนสามปอยหลวง ถือกำเนิดมาจากงานประเพณี

พิธีปอยหลวงในภาคเหนือ เป็นงานทำบุญ เพื่อเฉลิมฉลองศาสนสมบัติต่างๆ
เพื่อให้เกิดอานุสงส์แก่ตนและครอบครัว ถือว่าได้บุญกุศลแรงมาก นอกจากนี้
ยังเป็นเครื่องแสดงถึงความสามัคคีกลมเกลียวของคณะสงฆ์และชาวบ้านด้วย
เพราะเป็นงานใหญ่ การทำบุญปอยหลวงที่นิยมทำกันคือทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศล
ให้พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาตพิ ่ีน้องที่ลว่ งลับไปแลว้ ก็ได้ การฟ้อนสามปอยหลวง
มคี วามเชื่อว่า หากใครได้ฟ้อนนำครวั ทานเข้าวดั ในงานปอยหลวงแลว้ จะไดอ้ านสิ งสม์ าก
เกดิ ไปในภายหนา้ จะมีรปู ร่างหนา้ ตางดงามยิง่ ขึน้

คำว่า “สามปอยหลวง” มีที่มาจากดอกไม้ชนิดหนง่ึ
ชอ่ื วา่ “ดอกเออื้ งสามปอยหลวง” เปน็ กล้วยไม้แวนด้าใบแบน
มีถิ่นกำเนิดทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ดอกมีสีเหลืองอมสีน้ำตาลมีกลิ่นหอมเย็นชวนดมมาก
และเป็นพันธุ์ที่หายาก ในการฟ้อนสามปอยหลวงจะนิยม
ทัดดอกเอื้องสามปอยหลวงเพื่อประดบั ไว้บนหวั อกี ดว้ ย

เพลงประกอบที่มักจะใช้ในการแสดง นั้น คือเพลง "สามปอยหลวง" ของสุนทรี เวชานนท์
ซึ่งเป็นเพลงทีไ่ พเราะทีม่ เี นื้อหา ชื่นชม และเชิดชูความรักของสาวเหนือวา่ ส่วนมากแล้วจะเปน็ ความรกั ท่มี ีจิตใจ
ที่ม่นั คง และบรสิ ทุ ธิ์ รักใครรกั จรงิ ดจุ ดงั่ ดอกเอ้อื งสามปอยหลวง

เนือ้ เพลง "สามปอยหลวง"

“ สวยงามหาใดปานเปรยี บ......เทียบเอือ้ งนอ้ ยสามปอยหลวง

ดอกลดหล่นั เป็นชน้ั เป็นพวง..........เอือ้ งหลวงเจ้างามตาแต๊

เหลืองดงั สที องทาบทา..............เออื้ งเมืองฟา้ ชวนใฝต่ าแล

ฮักหลงกลิน่ และสเี จา้ แตเ้ จา้ เออ้ื งน้อยสามปอยหลวง

*เปน็ ศรเี อื้องไพรชาวเจียงใหม่

ซาบซง้ึ ซ่านทรวง................................เอ้อื งสามปอยหลวง

เป็นขวญั คู่ งามเหลือ............................ชิดชมไมม่ วี ันหน่าย

เฮอื้ งสดใส เหมอื นใจสาวเหนอื .............บรสิ ทุ ธ์ไิ มป่ นไมเ่ จอื

เมอ่ื ฮกั ไผหัวใจมัน่ เอย (ซำ้ *) ”

ผู้ที่ถือปฏิบัตมิ รดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม

ชือ่ นางกลั ยา อารหี นู

ทีอ่ ยู่ ตำบลปา่ แงะ อำเภอป่าแดด จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศพั ท์ 0932836953

123

การข้นึ ตา๊ วต้ังสี่

ต๊าวต้งั ส่ี หรือ ท้าวทงั้ สี่ หมายถงึ ท้าวจตุโลกบาล ทัง้ สพ่ี ระองค์ ซึง่ เปน็ มหาเทพทย่ี ่ิงใหญ่ และทรง

เป็นหัวหน้าของเหล่าเทพในสรวงสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิก ซึ่งตั้งอยู่เหนือทิวเขายุคลธร อันมีเขาพระสุเมรุเป็น
ศนู ย์กลาง ทา้ วทงั้ สม่ี หี นา้ ทค่ี อยปกป้องภยั อันตรายและอำนวยความสขุ ความเจริญแกม่ วลมนษุ ย์ โดยในวันข้นึ หรือ

แรม ๑๔ หรือ ๑๕ ค่ำ จะเสด็จลงมาตรวจตราดูแลความสงบสุขของมนุษย์อยู่เสมอ รายละเอียดเก่ยี วกับท้าวทั้งส่ี
ในเร่ืองของปราสาท ทศิ ทาง บริวารและพระโอรส พอสรุปได้ ดงั นี้

❖ ทา้ วธตรฐะ ประทับอยู่ปราสาเงิน ทิศตะวันออกของเขาพระสเุ มรุ
❖ ท้าววริ ุฬหกะ ประทบั อยปู่ ราสาทแก้วมณี ทิศใต้ของเขาพระสเุ มรุ
❖ ทา้ ววริ ูปกั ขะ ประทับอยู่ปราสาทแกว้ ทิศตะวนั ตกของเขาพระสุเมรุ
❖ ท้าวเวสสุวรรณ ประทบั อยู่ปราสาททอง ทศิ เหนอื ของเขาพระสุเมรุ

ตามความเชอ่ื ของคนลา้ นนา แตล่ ะพน้ื ท่ีจะมีเทพ 4 องค์คอยดูแลรักษาพ้นื ทนี่ ัน้ ไว้ ก่อนทจี่ ะลงมอื
ทำอะไร จะมีการบูชาด้วยเคร่ืองสักการะ เพื่อให้เทพารักษ์ช่วยปกปักรักษาให้รอดปลอดภัยจากเภทภัยอันตราย
ทั้งปวง ทั้งนี้ นอกจากสี่ทิศแล้วยังมีส่วนของฟ้ายังมีพระอินทร์ผู้ ซึ่งเป็นประมุขของเทพทั้งปวงเป็นผู้รักษา
ส่วนของผนื ดินมีพระแม่ธรณเี ปน็ ผู้รักษา ดังนั้นเม่ือจะทำการบูชาจึงต้องทำเครอ่ื งสกั การะเป็น 6 สว่ น โดย 4 ส่วน
ใช้บูชาทศิ ทง้ั 4 อกี 2 ส่วนใช้บชู าพระอนิ ทรแ์ ละพระแม่ธรณี

การบชู าท้าวท้ังสจ่ี ะตอ้ งมีการจัดเตรียมส่งิ ของตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย

1.เสาไม้ที่ตีไม้ไขว้เป็นกากบาทหันไปยัง 4 ทิศ มีความสูงประมาณ
2 ฟุต ด้านบนและปลายไม้ติดด้วยแผ่นไม้ขนาดเท่าหรือใหญ่กว่าสะตวง
หรอื เรียกอีกอยา่ งวา่ หอประสาทเสาเดียว

2. สะตวงทำด้วยกาบกล้วย นำมาหักพับเสียบด้วยไม้ไผ่ ให้เป็นรูป
สเี่ หล่ยี ม รองด้วยกระดาษ เพ่อื ใช้สำหรับบรรจุเครือ่ งสกั การะ

3. เครอ่ื งสักการะในสะตวง มี หมาก เมย่ี ง บุหร่ี ของกนิ อย่างละ 4 พร้อมดว้ ยกรวยดอกไม้ ที่สำคัญมีตุง
ที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ในการบูชา ทำด้วยกระดาษตัดเป็นรูปคลา้ ยธงปักไว้ท่ีสะตวงทั้งสี่แจ่ง จากนั้นผูป้ ระกอบพธิ ีจะ
เร่มิ ทำพธิ ี

ผ้ทู ่ีถือปฏบิ ัติมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม

ช่ือ นายปญั ญา ดอนมไี พร

ท่ีอยู่ ตำบลปา่ แงะ อำเภอปา่ แดด จังหวดั เชยี งราย

โทรศัพท์ 0932386953

124

ไข่ป่าม คือ หรือ ไข่ป๋าม (ป่าม เป็น ภาษาพื้นเมือง

แปลว่า ปิ้ง) เป็นอาหารพ้ืนเมืองทางภาคเหนือ ที่ปรุงไข่ให้สกุ ดว้ ยวิธี
ป่าม โดยเทไข่ลงบนใบตอง และเทน้ำลงใต้ใบตอง ตั้งไฟให้ไข่สุก
มีลักษณะคลา้ ยไข่เจยี วและมกี ลน่ิ หอมออ่ น ๆ ของใบตอง บางครง้ั เรียก
ไข่ทอดตอง

ในอดีตยงั ไมม่ ีอุปกรณ์ครัวที่สามารถประกอบอาหารได้สะดวกเหมือนทกุ วันนี้ จึงนำใบตองมาใช้
เปน็ ภาชนะ ในการใสอ่ าหาร เพือ่ ทำให้สุก ไข่ป่าม คอื การนำใบตองมาเยบ็ หรือกลัดด้วยไม้กลดั จากน้ันนำไข่ตอก
ใสก่ ระทงใบตอง (หรอื บางส่วนจะนำไขม่ าปรงุ รส ใสผ่ กั เห็ด มะเขอื เทศ ทกุ อยา่ งทต่ี อ้ งการก่อนทจ่ี ะเทลงใบตอง)
ก่อไฟย่างจนไขส่ กุ จนกลายเปน็ วฒั นธรรมการกินของคนเหนือท่เี รียกอาหารจานนวี้ ่า “ไข่ป่าม”

การทำไข่ป่ามในอดีตจะใช้การก่อเตาถ่านเพื่อใช้ในการย่าง ไข่ป่ามโดยใช้ใบตองเป็นตัวกลาง
ที่ช่วยถนอมไข่ไม่ให้เกิดการไหม้ อีกทั้งยังช่วยเรื่องกลิ่นหอมหลังจากใบตองโดนความร้อน ปัจจุบันการทำ
ไข่ป่ามทางภาคเหนือได้มีการประยุกต์เป็น การนำไข่ไก่มาปรุงเครื่องเหมือนไข่เจียว และใส่ เครื่องต่างๆ
ตามที่ลูกค้าต้องการ ไม่ว่าจะเป็นต้นหอม มะเขือเทศ หอมใหญ่ ปูอัด หมูสับ แหนม เห็ด พริกขี้หนูหั่นซอย
และนำมาเทลงใบตองย่างใหส้ กุ คลา้ ยๆ ไขน่ งึ่

สว่ นผสมไข่ปา่ ม

▪ ไข่ไก่ 5 ฟอง
▪ ตน้ หอมซอย 2 ชอ้ นโต๊ะ
▪ พริกซอย 2 เมด็
▪ เกลอื ป่น ½ ช้อนชา

วธิ กี ารทำไขป่ า่ ม

1. ตีไข่ไก่ใส่ชาม
2. ใสเ่ กลอื พรกิ หยวก ตน้ หอม
3. ตไี ขไ่ ก่และส่วนผสมใหเ้ ขา้ กนั
4. เตรยี มกระทงกว้างประมาณ 5 นิ้ว นำมาซอ้ นกันสลบั

หัวทา้ ย จบี เป็นกระทงใช้ไม้กลดั ทำทง้ั สองดา้ น
5. ใส่ส่วนผสมลงในกระทง
6. นำไปยา่ งไฟอ่อน ๆ จนไขส่ ุกและเหลอื งทว่ั

ผู้ทถ่ี อื ปฏิบตั มิ รดกภูมปื ญั ญาทางวัฒนธรรม

ชื่อ นางสุภาพ อมอุน่
ทีอ่ ยู่ เลขท่ี ๔๗ หมู่ท่ี ๑๐ ตำบลป่าแดด อำเภอปา่ แดด

จงั หวัดเชยี งราย

โทรศพั ท์ 08995542326

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ แ ม่ ส ร ว ย

ดอยช้างสูงเด่น
ร่มเย็นพระธาตุจอมแจ้ง
แหล่งชาวาวี ประเพณีสูงค่า

งามสง่าศาลสมเด็จฯ

สภาวัฒนธรรมอำเภอแม่สรวย

126

อำเภอแม่สรวย

ประวตั อิ ำเภอแม่สรวย

อำเภอแมส่ รวย จดั ต้งั ข้ึนเปน็ อำเภอมาตัง้ แต่ ร.ศ.๑๑๙ (พ.ศ.๒๔๔๔) มฐี านะเปน็ อำเภอหนง่ึ ของ
จังหวัดพายัพ ภาคเหนือ และอยู่ในบริเวณเมืองเชียงใหม่ ตำนานกล่าวว่า ชื่อของอำเภอมาจากชื่อของแม่น้ำ
ที่ไหลผ่านหมู่บ้านและตำบลที่ตั้งของอำเภอเดิมที่เรียกว่า “แม่ซ่วย” ซึ่ง “ซ่วย” เป็นภาษาพื้นเมือง หมายถึง
“ล้าง” ต่อมาเรียกชื่อเป็น “แม่สรวย” เดิมที่ว่าการอำเภอแม่สรวย อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของดอยจอมแจ้ง
ซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดพระธาตุจอมแจ้งในเขตตำบลแม่สรวย ซึ่งมีแม่น้ำแม่สรวยไหลผ่านหน้าที่ว่าการอำเภอ
และได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปอยู่บริเวณหน้าวัดแม่พริก ต่อมาในปี พ.ศ.๒๔๔๗ ได้มีหลวงดำรงฯ นายแขวง
ในขณะน้นั เหน็ ว่าท่ีตง้ั ของท่ีว่าการอำเภออยู่ในทำเลที่ไม่เหมาะสม และไมส่ ะดวก แก่ราษฎรในการติดต่อราชการ
ประกอบกบั ในฤดูแล้ง น้ำในลำห้วยแม่พริกแห้งขอดไมพ่ อใชส้ อยในการเกษตร และการบริโภคจึงได้ย้ายที่วา่ การ
อำเภอจากตำบลแมพ่ รกิ มาอยทู่ ่บี า้ นแม่สรวย ตำบลแม่สรวย ซึ่งเปน็ สถานทตี่ ัง้ ท่วี า่ การอำเภอแม่สรวยในปจั จบุ นั

เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๕๔ โดยมีประกาศเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้รวมเมือง
เชียงแสน เมืองฝาง อำเภอเวียงป่าเป้า เมืองพะเยา อำเภอแม่ใจ อำเภอดอกคำใต้ อำเภอแม่สรวย เมืองเชียงคำ
เมืองเทงิ เมืองเชียงของ ตั้งเปน็ เมืองจัตวา เรียกวา่ “เมืองเชียงราย” อยู่ในมณฑลพายัพและจัดแบ่งการปกครอง
ออกเป็น ๑๖ อำเภอ ๒ กิ่งอำเภอ อำเภอแม่สรวย จึงมีฐานะเป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่บัดน้ัน
เป็นต้นมา

คำขวญั อำเภอแมส่ รวย แผนท่อี ำเภอแมส่ รวยโดยสงั เขป

“ ดอยช้างสงู เด่น ร่มเย็นพระธาตจุ อมแจ้ง
แหล่งชาวาวี ประเพณีสงู ค่า งามสงา่ ศาลสมเด็จ ”

127

ลักษณะทางกายภาพ

๑. สภาพทั่วไป

ตำแหน่งทตี่ ั้ง

อำเภอแม่สรวยตั้งอยู่ถนนเชียงราย – เชียงใหม่ ในบริเวณตำบลแม่สรวย ซึ่งอยู่ห่างจังหวัด

เชียงราย ไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงใตป้ ระมาณ ๕๐ กโิ ลเมตร พื้นที่สว่ นใหญเ่ ป็นภูเขาและป่าไม้ มีทีร่ าบระหว่างภเู ขา
อยสู่ งู กวา่ ระดับนำ้ ทะเลเฉลี่ยประมาณ ๔๓๗ เมตร

อาณาเขตตดิ ต่อ

▪ ทศิ เหนอื ติดต่อกับ อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย และอำเภอแม่อาย จงั หวัดเชียงใหม่
▪ ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับ อำเภอเวียงป่าเปา้ จงั หวดั เชยี งราย
▪ ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ อำเภอแมล่ าว และอำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย
▪ ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั อำเภอไชยปราการ อำเภอฝาง และอำเภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่

เนือ้ ท่ี

อำเภอแม่สรวย มพี น้ื ท่ที ง้ั หมด ๘๙๒,๘๘๒ ไร่ ( ๑,๔๒๘.๖๑ ตร.กม. )

๒. สภาพภมู ปิ ระเทศ
▪ พื้นที่ราบ ๘๙,๓๓๑ ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๕๕ ของพน้ื ที่ท้งั หมด
▪ ภูเขา ๗๙๙,๒๑๗ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๙๙ ของพน้ื ที่ท้งั หมด
▪ พน้ื นำ้ ๔,๓๓๔ ไร่ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๐.๔๖ ของพ้ืนท่ีทง้ั หมด

๓. ลกั ษณะภมู ิอากาศ

อำเภอแม่สรวยได้รับอิทธิพลจากลมทะเลน้อยมาก เนื่องจากภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา
และปา่ ไม้ จงึ ทำให้อุณหภมู ิและฤดูกาลแตกตา่ งกนั มาก ดังน้ี

ฤดหู นาว

ฤดูหนาวของอำเภอแม่สรวย เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์

เมื่อลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าสู่ประเทศไทย หรือมีบริเวณความกดอากาศสูง หรือมีอากาศเย็น

จากประเทศจีน แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย รวมระยะเวลานานประมาณ ๔ เดือน เปน็ ระยะเวลาเปลีย่ นฤดูกาล
จากฤดฝู นเขา้ สูฤ่ ดูหนาว อากาศสูงกำลงั แรงจากประเทศจีนจะแผ่มาปกคลุมประเทศไทย เปน็ ระยะๆ ทำให้บรเิ วณ
อำเภอแม่สรวยมีอากาศหนาวจัด โดยเฉพาะบริเวณเทือกเขาในเดือนกุมภาพันธ์ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนอื

ทีพ่ ดั ปกคลมุ ประเทศไทย มีกำลงั อ่อนลงเปน็ ลำดับ ทำใหบ้ รเิ วณอำเภอแมส่ รวย มอี ุณหภูมสิ งู ขน้ึ และมีอากาศร้อน
ในตอนบา่ ย ซึ่งเปน็ การสิน้ สุดฤดหู นาวในช่วงประมาณเดือนกุมภาพนั ธ์ และเริม่ เขา้ สูฤ่ ดูร้อนต่อไป แต่ยังมีอากาศ
หนาวเยน็ ในตอนเช้าตอ่ ไป ในระยะหน่งึ

ฤดรู ้อน

ฤดูร้อนของอำเภอแม่สรวย เริ่มระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม อุณหภูมิสูงสุด
ในตอนบ่าย จะเริ่มขึ้นเกิน ๓๕.๐ องศาเซลเซียส แต่ในช่วงเช้าจะยังคงมีอากาศหนาวเย็น จนถึงประมาณ
เดือนมีนาคม ลมที่พัดจากประเทศไทยเปลี่ยนจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเป็นลมฝ่ายตะวันออกและลม

128

ฝา่ ยใต้มากขึน้ โดยมีลมจากทะเลจีนใต้ และอา่ วไทยพัดเข้าสู่ประเทศไทยในทางทิศใต้และตะวันออก ประกอบกับ
จะมีหย่อมความกดอากาศต่ำ เนื่องจากความร้อนปกคลมุ ประเทศไทยตอนบนในช่วงฤดูร้อน ทำให้มีอากาศร้อน
อบอ้าวและแห้งแล้งทั่วไป และอาจเกิดพายุฤดูร้อนขึ้นได้ในบางวัน โดยเฉพาะในช่วงเดือนมีนาคมจนถึง
เดอื นเมษายน

ฤดฝู น

ฤดูฝนของอำเภอแมส่ รวย เริ่มระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนตลุ าคม ลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้
พัดเข้าสูป่ ระเทศไทย และร่องความกดอากาศตำ่ เล่อื นขึน้ มาพาดผา่ นบริเวณประเทศไทย และจะไปสิ้นสุดประมาณ
กลางเดือนตุลาคม เป็นระยะเวลานานประมาณ ๕ เดือน จะมีฝนตกชุกในเดือนสิงหาคมและกันยายน
ตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมเป็นต้นไป ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะอ่อนกำลัง และจะเปลี่ยนเป็นลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนอื บริเวณประเทศไทยตอนบนจะลดนอ้ ยลงเปน็ ลำดบั

ขอ้ มูลแหง่ เรยี นรู้

โครงการบ้านเลก็ ในปา่ ใหญ่

เป็นโครงการตามพระราชดำริของสมเด็จ พระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ เนื้อที่ ๑๕,๐๐๐ ไร่ บริเวณหมู่บ้าน
เป็นที่ราบหุบเขาต้นน้ำลำธาร จัดสร้างบ้านให้อยู่อาศัย
ตามวิถีชีวิตของชาวเขา พร้อมที่ดินทำกินให้ครอบครัวละ
ประมาณ ๕ ไร่ มีที่ทำนา เลี้ยงปลา ปลูกพืชผัก ผลไม้เมือง
หนาว เลี้ยงสัตว์ไว้เป็นอาหาร มีธนาคารข้าว อาคารศิลปาชพี
การศึกษาในระบบนอกโรงเรียน ให้การเรียนรู้ด้านการ
ดำรงชีวิตกับธรรมชาติแวดล้อม ส่งเสริมการปลูกป่า
ป้องกันการตัดไม้ ทำลายป่า ทำไร่เลื่อนลอย มุ่งเน้น
การอนุรักษ์ไม้ เพื่อให้คนอยู่กับป่าได้อย่างสมดุล และเป็น
หมู่บ้านนำร่องเพื่อเป็นแบบอย่างกับหมู่บ้านบนพื้นที่สูงอ่ืน
ตอ่ ไป

ศูนย์วจิ ยั พฒั นาการเกษตรทส่ี ูงเชียงราย (วาว)ี

เป็นศูนย์วิจัยการเกษตรที่สูง (วาวี) จุดประสงค์เพื่อ
การพัฒนาชาวเขาให้มีการเพาะปลูกพืชผักผลไม้ ลดปัญหา
การตัดไม้ทำลายป่า และสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันได้มีการส่งเสรมิ
ให้ปลูกกาแฟ ข้าว บ๊วย มะคาเดเมีย ลิ้นจี่ และพืชผลดอกไม้
เมอื งหนาว บนยอดดอยช้างมที วิ ทัศน์ท่ีสวยงาม มองดูทศั นยี ภาพ
เมืองเชียงรายได้อย่างสวยงาม ประทับใจ เห็นยอดเขา
สลับซับซ้อนบริเวณสถานีมีสวนไม้ดอก ไม้ประดับ สำนักสงฆ์
บ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ และบ้านชาวเขาเผ่า อาข่า ลีซู จีนฮ่อ อยู่กัน
เป็นหย่อมๆ ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ กาแฟสดอาราบิก้า
จากยอดดอยช้าง เป็นสถานที่สวยงาม เหมาะสำหรับการ
ทอ่ งเที่ยวเชงิ อนรุ กั ษ์อกี แหง่ หนงึ่

129
แหลง่ ท่องเทยี่ ว

หมูบ่ า้ นวาวีและบ้านเลาลี (หมูบ่ ้านสวนชา)

เป็นหมู่บ้านปลูกชา แหล่งสำคัญของตำบลวาวี
มีโรงงานอบใบชา และเป็นแหล่งปลูกชาที่ใหญ่ที่สุด
ของอำเภอแม่สรวย ประกอบด้วยชาพันธุ์พื้นเมืองพันธ์ุ
ต่างๆ ทีพ่ เิ ศษ คือ ชาพนั ธุ์ซิงซงิ อหู ลง หรือพนั ธมุ์ ังกรดำ
เป็นหมู่บา้ นท่องเที่ยวทส่ี ำคญั อีกแห่งหนึ่งท่ีหมู่บ้านเลาลี
มกี ารแสดงศลิ ปวฒั นธรรมของเผา่ ชนเปน็ ประจำทกุ คืน

โครงการหลวงห้วยน้ำขุ่นและศูนย์ส่งเสริมการเกษตร
ที่สงู หว้ ยน้ำขุ่น

ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยน้ำขุ่น ตำบลท่าก๊อ วัตถุประสงค์ของ
โครงการเพ่ือส่งเสริมการเกษตร และเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่สี ำคัญ
อีกแห่งหนึ่งของอำเภอแมส่ รวย มีทิวทัศน์ที่สวยงาม เป็นภูเขาสูง
มีชาวเขาอาศัย ส่วนใหญ่ส่งเสริมการปลุกผลไม้เมืองหนาว
และมกี ารปลกู ข้าว และเลยี้ งสตั ว์

ดอยชาพนั ปี

เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่ค้นพบใน
เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๘ ถือว่าเป็นต้นชาพันปีที่ใหญ่ที่สุด
ในประเทศไทย มีขนาด ๒-๓ คน โอบ ต้นชาที่พบเป็น
ต้นชาพันธุ์อัสสัม หรือที่ชาวท้องถิ่นภาคเหนือเรียกว่า
ต้นเมี่ยง ซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่า ๑,๐๐๐ ปีนอกจากนั้นยังมี
ตน้ เล็กตน้ นอ้ ยขึ้นอยอู่ กี มากมาย รวมท้งั กลว้ ยไม้และพันธุ์ไม้
ต่างๆ ในพ้ืนที่ไม่ต่ำกวา่ ๕๐๐ ไร่

จุดชมววิ “ดอยกาดผี” (ภนู มสาว)

เป็นจุดชมวิวที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล ประมาณ
๑,๕๐๐ เมตร ดอยกาดผีติดกับเขตอำเภอเมืองเชียงราย
และอำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ สามารถชมทิวทัศน์รอบด้าน
ทั้ง ๔ ทิศ ๓ ประเทศ ได้แก่ ไทย ลาว และพม่า และยังสามารถ
มองเห็นความสวยงามในยามค่ำคืนของอำเภอเมืองเชียงราย
และอำเภอฝาง มชี ่องลมพดั แรงตลอดทง้ั ปี สภาพภูมิอากาศหนาว
มีบริเวณที่กว้างคล้ายตลาด ในภาษาเหนือ เรียก “กาด” คือ
การปัดกวาดให้สะอาดอยูเ่ สมอ จึงได้ชือ่ วา่ “ดอยกาดผี”

130

ตำราสุภาษติ สอนใจ ตำราสง่ เคราะห์-ฮ้องขวัญ
และตำราทำนายฝนั

ตำราสุภาษิตสอนใจ ตำราสง่ เคราะห์-ฮอ้ งขวญั และตำราทำนายฝัน เปน็ ตำราพน้ื เมืองท่ีรวบรวม
และแต่งขึ้นโดย นายบุญมี วงศ์น้อย ประธานสภาวัฒนธรรมตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
ซงึ่ เปน็ ภูมิปญั ญาปราชญด์ ้านภาษาล้านนาและตำราพน้ื เมืองโบราณ ซง่ึ เป็นองคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษา ค้นคว้า
ตั้งแต่ยังบวชเป็นพระที่วัดดงขนุน ตำบลธารทอง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย และเมื่อลาสิกขาบทออกมา
ก็ได้ทำการศกึ ษา คน้ คว้าด้วยตนเอง

เนือ่ งจากมีความสนใจส่วนตวั และมีพรสวรรค์ในศาสตร์ดา้ นนี้ ทำให้ได้ศกึ ษาทัง้ จากตำราของไทย
ล้านนา พม่า และตำราจีน รวมทั้ง ศึกษาจากครูบาอาจารย์ตามที่ต่างๆ จนสามารถทำการรวบรวมองค์ความรู้
ในศาสตร์ด้านนี้ และ มีการเพ่ิมเติมข้อมลู หรือองคค์ วามร้ทู ี่มขี องตนเองนำมาเขียนเป็นตำรา ท่ีเกย่ี วข้องกบั พธิ ีกรรม
ล้านนา เช่น การส่งเคราะห์ - ฮ้องขวัญ, การตั้งศาลพระภมู ิ, ตำราทำนายฝัน และสุภาษิตสอนใจ ขึ้นมาเผยแพร่
แกผ่ ู้สนใจ

เป็นตำราโบราณทไี่ ด้รับการศึกษาและสบื ทอดมาจากผมู้ อี งคค์ วามรู้ดา้ นพธิ ีกรรมและภาษาล้านนา
นำมารวบรวมเรยี บเรียงให้เขา้ ใจง่าย และมกี ารเพิ่มเติมองค์ความรู้ให้มคี วามสมบรู ณ์ ครบถ้วนมากย่ิงข้ึน

ผ้ทู ่ีถอื ปฏิบัตมิ รดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
ช่อื นายบุญมี วงศ์น้อย
ทอี่ ยู่ เลขที่ ๑๔ หมทู่ ี่ ๑ บ้านดินดำ ตำบลท่าก๊อ

อำเภอแมส่ รวย จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศัพท์ 098-7477107

131

ผ้าฝ้ายทอมือยอ้ มสีธรรมชาติ

กลุ่มผ้าฝ้ายพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติ เกิดจากการ
รวมกลุ่มกันของกลุ่มแม่บ้านบ้านหนองบัวสรวย ท่ีมี
ความสามารถในการทอผ้า สมาชกิ กลุ่มฯ ได้รับการสืบทอด
ภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษ เนื่องจากในสมัยก่อนผู้
หญิงไทยจะทำเครอื่ งนุง่ ห่มไว้ใชเ้ องในชีวติ ประจำวัน และสี
ย้อมผ้าสังเคราะห์ยังไม่มีใช้แพร่หลายเหมือนในปัจจุบัน
การย้อมผ้าจึงนำเอาวัสดุธรรมชาตจิ ากพืช หรือสัตว์ที่มอี ยู่
ในท้องถิ่น ซึ่งสามารถหาได้ง่ายมาย้อมผ้าให้เกิดสีต่างๆ
ตามความต้องการ

การทอผา้ ยอ้ มสธี รรมชาติยังเป็นการแสดงถึงวถิ ีชีวติ ของคนในทอ้ งถ่นิ ตัง้ แตข่ ั้นตอนการผลิตด้าย
จนถึงการเย็บผ้าด้วยมือ โดยทางกลุ่มฯ ได้มีการรวบรวมวิธีการย้อมสี การทอ การแต่งลวดลาย การออกแบบ
การตดั เยบ็ และการทำบรรจภุ ณั ฑใ์ ห้ตรงตามความต้องการของตลาดอีกดว้ ย เป็นผลติ ภัณฑท์ ่ผี ลิตโดยคนในทอ้ งถน่ิ
โดยกระบวนการในการผลติ ทุกขั้นตอนไม่ใช้สารเคมที ี่เป็นอันตราย และวัสดทุ ใ่ี ช้เป็นวัสดุจากธรรมชาติ

สจี ากวสั ดธุ รรมชาติที่ใชใ้ นการย้อมผ้า เชน่

❖ สนี ้ำตาล จาก ไม้ประดู่
❖ สีน้ำเงิน จาก ใบฮอ้ ม
❖ สีเหลือง จาก มะเฟือง, ขมน้ิ , ปเู ลย
❖ สเี ขียว จาก ใบมะกอก
❖ สีดำ จาก นำ้ เปลือกกล้วย + ตน้ หา้

กลุ่มผ้าฝ้ายพื้นเมืองย้อมสีธรรมชาติบ้านหนองบัว
สรวยจึงได้ร่วมกันอนุรักษ์ สืบสานและสืบทอดภูมิปัญญา
ท้องถิ่นของบรรพบุรุษในการทอผ้าฝ้ายจากสีธรรมชาติไม่ให้
สูญหาย นอกจากจะเป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมแล้ว
การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติยังเป็นการแสดงถึงวิถีชีวิตของ
คนในท้องถิ่น ตั้งแต่ ขั้นตอนการผลิตด้ายจนถึงการเย็บผ้า
ด้วยมือ โดยทางกลุ่มฯ ได้มีการรวบรวมวธิ ีการย้อมสี การทอ
การแต่งลวดลาย การออกแบบ การตัดเยบ็ และการทำบรรจุ
ภณั ฑ์ใหต้ รงตามความตอ้ งการของตลาดอกี ดว้ ย

132
การทอผ้าพื้น เป็นการใช้หลักการทอผ้าเบื้องต้น
ทนี่ ำเอาด้ายเสน้ ยืนและดา้ ยเส้นพงุ่ มาขัดกนั เพอื่ ให้เกิดเป็นผนื
ผ้า โดยด้ายเส้น พุ่งและเส้นยืนอาจเป็นด้ายสีเดียวกัน
หรือ ต่างสีกัน หรือนำเอาเส้นด้ายที่เป็นดิ้นเงินหรือดิ้นทอง
มาทอควบดา้ ย เพ่อื ให้ผ้า มคี วามมนั ระยับ สวยงามย่งิ ขึ้น

ขั้นตอน/วธิ ีการทำผา้ ฝา้ ยทอมือ
๑. สืบเสน้ ดา้ ยยนื เข้ากับแกนม้วนด้ายยืน และร้อยปลายด้ายแต่ละเส้นเข้าในตะ กอแต่ละชุดและฟันหวี

ดึงปลายเส้นด้ายยืนทั้งหมดม้วนเข้ากับแกนม้วนผ้าอีกด้านหนึ่ง ปรับความตึงหย่อนให้พอเหมาะกรอด้ายเข้า
กระสวยเพ่อื ใชเ้ ปน็ ด้ายพุ่ง

๒. เร่มิ การทอโดยกดเครอื่ งแยกหมูต่ ะกอ เสน้ ดา้ ยยนื ชดุ ท่ี ๑ จะถูกแยกออกและเกิดช่องวา่ งสอดกระสวย
ดา้ ยพงุ่ ผา่ น สลบั ตะกอชุดท่ี ๑ ยกตะกอชดุ ท่ี ๒ สอดกระสวยดา้ ยพุ่งกลบั ทำสลบั กนั ไปเร่ือยๆ

๓. การกระทบฟันหวี (ฟืม) เมื่อสอดกระสวยด้ายพุง่ กลับก็จะกระทบ ฟันหวี เพื่อให้ด้ายพุง่ แนบตดิ กันได้
เน้ือผ้าท่แี นน่ หนา

๔. การเก็บหรือม้วนผ้า เมื่อทอผ้าได้พอประมาณแล้วก็จะม้วนเก็บใน แกนม้วนผ้า โดยผ่อนแกนด้ายยนื
ใหค้ ลายออกและปรบั ความตึงหยอ่ นใหมใ่ ห้พอเหมาะ

ผู้ทีถ่ อื ปฏิบตั มิ รดกภมู ปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
ช่อื นางสมหมาย ศิริ
ท่ีอยู่ เลขที่ ๖๙ หมู่ที่ ๓ บ้านหนองบวั สรวย ตำบลศรีถอ้ ย

อำเภอแมส่ รวย จงั หวดั เชยี งราย
หมายเลขโทรศพั ท์ 089-9525679

133

ยำผักกาดอาข่า หรือ เหาะปะโซะ

เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ เนื่องจากในการปรุงอาหารจะไม่ใช้น้ำมัน
ในการปรุงอาหาร อุดมไปด้วยวติ ามิน เกลือแร่ จากผกั และสมุนไพร
ซึ่งส่วนประกอบแต่ละอย่างเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย วัตถุดิบ
สามารถหาได้ง่าย และวิธีการปรุงก็ไม่มีความยุ่งยากซับซ้อน
รสชาติจะอยู่ที่ความกรอบ หวานจากผักกาด ซึ่งเลือกผักกาดที่ไม่
อ่อนหรอื แกเ่ กินไป การลวกต้องไมล่ วกนานจนผักกาดเละ ความเผด็
จากพรกิ และขงิ รวมถงึ ความมนั จากถว่ั ลิสงคว่ั

สว่ นประกอบ
❖ ผกั กาดจ้อน หรือ ผกั กวางตุ้งพันธม์ุ ดี อก
❖ ถัว่ ลิสงค่วั
❖ ขงิ หน่ั เปน็ แว่น
❖ เกลอื
❖ พรกิ ป่น หรอื พรกิ ขห้ี นแู หง้
❖ กระเทยี ม

ขน้ั ตอนการทำ
๑. นำผักกาดไปล้างน้ำให้สะอาด จากนั้นต้มน้ำให้เดือด นำผักกาดที่ล้างน้ำสะอาดแล้ว ไปลวกในน้ำเดือด

พอให้ผักกาดสุก (ผกั จะมีเนื้อนมิ่ ) อยา่ ลวกนานจะทำใหผ้ กั กาดเป่ือยจนเละ
2. เมอื่ ผกั สุกจนเน้ือผักนมิ่ แล้ว นำผกั ไปแชใ่ นนำ้ เย็น หรอื น้ำอณุ หภูมิปกตกิ ไ็ ด้ เพื่อใหผ้ ักมเี นื้อสัมผัสที่กรอบ
3. นำผกั มาฉีกเป็นเส้นฝอยๆ จากน้ันบบี เอาน้ำออกให้หมด เน้ือผกั กาดจะมีลกั ษณะแหง้ ๆ จากนั้นพักไว้
4. โขลกกระเทยี ม ถัว่ ลสิ งค่วั และพริก ให้ละเอยี ด ปรงุ รสดว้ ยเกลือ นำไปคลุกกบั ผกั กาดทพ่ี ักไว้
5. จากน้ัน นำขงิ มาโขลกใหแ้ หลก บบี เอาน้ำออกแล้วนำเน้ือขิงลงไปคลกุ กบั ผักกาดท่ปี รงุ เรยี บรอ้ ยแล้ว ตกั ใส่

จาน พร้อมเสริฟทานกับข้าว

ผ้ทู ี่ถอื ปฏิบตั ิมรดกภูมปิ ญั ญทางวัฒนธรรม
ชอื่ นายชนะชัย วงคช์ นินท์
ท่ีอยู่ เลขที่ ๖๙ หมทู่ ่ี ๑๐ บ้านแสนเจรญิ ตำบลวาวี

อำเภอแม่สรวย จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ 081-๔๘๓๒๐๒๓

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ วี ย ง ป่ า เ ป้ า

เมืองโบราณเวียงกาหลง
มีองค์พระธาตุแม่เจดีย์ น้ำพุร้อนดี

ทุ่งเทวีและโป่งน้ำร้อน

สภาวัฒนธรรมอำเภอเวียงป่าเป้า

135

อำเภอเวยี งปา่ เป้า

ประวัตอิ ำเภอเวยี งปา่ เป้า
จากอดีตสู่ปัจจุบัน เวียงป่าเป้าเป็นชุมชนเก่าแก่ แต่เดิมเป็นหมู่บ้านเล็กๆ สันนิษฐานว่า

จะเป็นที่พักสำหรับผู้เดินทางค้าขายระหว่างจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และลำพูน ต่อมาชุมชนหนาแน่นข้ึน
“เจ้าอินทวิชยานนท์” เจ้าผู้ปกครองนครเชียงใหม่ ได้แต่งตั้ง “พระยาไชยวงค์” ขึ้นมาปกครอง โดยตั้งเมือง
อยู่ที่ป่าเฟือยไฮหรือป่าไทร อยู่ทางตอนใต้ของที่ว่าการอำเภอปัจจุบัน ชื่อ “เมืองเฟือยไฮ” ตามลักษณะ
ภูมปิ ระเทศเดิม ต่อมาประมาณ ปี พ.ศ. 2430 พระยาไชยวงค์เหน็ ว่าเมืองเฟือยไฮเปน็ ทล่ี มุ่ มีน้ำท่วมประจำทุกปี
ไมเ่ หมาะเป็นชุมชนอาศัยจงึ ย้ายมาตงั้ เมอื งใหมท่ างตอนเหนอื ซง่ึ ประชาชนมาถางปา่ ต้ังบา้ นเรือนอยู่ก่อนหน้าโดย
เรียกเมืองใหม่ว่า “เมืองป่าเป้า” ด้วยพื้นที่เมืองแห่งใหม่มีป่าไม้เป้า (เปล้า) จำนวนมาก ต่อมาในปี
พ.ศ. 2440 พระยาไชยวงค์ถึงแก่อนิจกรรม “พระยาเทพณรงค์” บุตรเขยได้รับการสถาปนาเป็นผู้ครอง
เมืองป่าเป้า ได้ปรับปรุงเมืองก่อกำแพงเมืองด้วยอิฐ ให้มีสภาพมั่นคงถาวรยิ่งขึ้นและขนานนาใหม่ว่า
“เวียงป่าเป้า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ถึงแก่อนิจกรรม “พระยาขันธเสมา” ซึ่งเป็นบุตรเขย ได้รับการสถาปนา
ครองเมืองสบื มา

ในปี พ.ศ. 2446 พวกเงี้ยว หรือ ไทยใหญ่ ได้ก่อการจารจลที่เมืองเชียงราย กองทัพจาก
เมืองลำปางและเมืองเชียงใหม่ขึ้นไปปราบปราม เมื่อเสร็จสิ้นจึงได้ตั้งจุดชุมนุมพลให้เป็นเมืองที่ตำบลแม่พริก
(ปัจจุบันอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอแม่สรวย บนฝั่งแม่น้ำลาว) ทั้งนี้ให้ชุมชนเวียงป่าเป้าเป็นกิ่งอำเภอ
ขึน้ การปกครองกบั ตำบลแมพ่ รกิ และได้รับการยกฐานะเปน็ อำเภอเวียงป่าเปา้ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2450 มีผดู้ ำรงตำแหนง่
นายอำเภอถึงปจั จบุ ัน รวม 40 คน

แผนท่ีอำเภอเวยี งงปา่ เปา้ โดยสังเขป
คำขวญั อำเภอเวียงปา่ เปา้

“ เมอื งโบราณเวียงกาหลง มีองค์พระธาตุแมเ่ จดยี ์ นำ้ พุรอ้ นดี ทงุ่ เทวแี ละโปง่ นำ้ ร้อน ”

136

ลักษณะทางกายภาพ

1. สภาพท่ัวไป

ตำแหน่งท่ตี ง้ั

อำเภอเวียงป่าเป้า เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากจังหวัดเชียงราย
ประมาณ 91 กโิ ลเมตร และอย่หู า่ งจากจังหวดั เชียงใหม่ ตามเส้นทางเชียงใหม่ – เชียงราย ประมาณ 95 กิโลเมตร

อาณาเขตติดต่อ

▪ ทศิ เหนือ ติดต่อกบั ตำบลทา่ ก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวดั เชยี งราย
▪ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง อำเภอดอยสะเกด็ จังหวัดเชียงใหม่
▪ ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับ อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย
▪ ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอพรา้ ว จังหวัดเชยี งใหม่ อำเภอวังเหนอื จงั หวัดลำปาง

เนือ้ ท่ี

มเี นื้อทปี่ ระมาณ 1,217 ตารางกิโลเมตร หรอื 760,605 ไร่

2. สภาพภมู ปิ ระเทศ

สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและภูเขาล้อมรอบทั้ง 4 ด้าน มีสภาพอากาศและดินเหมาะสม

กับการปลูกชา กาแฟ พืชผักไม้เมืองหนาว มีพื้นที่ราบอยู่ระหว่างกลางมีลักษณะทอดยาวจากทางทิศเหนือ
ไปทางทิศใต้ประมาณ 52 กิโลเมตร และกว้างจากทางทิศตะวันออกไปยัง ทิศตะวันตก ประมาณ 27 กิโลเมตร
และแม่นำ้ ลาว แม่น้ำแม่เจดยี ์ แมน่ ้ำแม่หาง แมน่ ้ำแมฉ่ างขา้ ว เหมาะสมกับการปลูกข้าว และพชื ผัก ผลไม้ตลอด

แนวทิศตะวันออกและทิศเหนือมภี ูเขาไม่ค่อยสลับซับซ้อนเหมือนทิศอื่น สภาพบ้านเรอื นส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มบ้าน
ทอดยาวไปตามสองข้างทาง ตามถนนสายเชียงราย – เชียงใหม่ และมีหมู่บ้านอยู่ตามแหล่งน้ำต่างๆ แม่น้ำสาย
สำคัญของอำเภอเวยี งปา่ เป้า มี 5 สาย ดังนี้

๒.๑ แม่น้ำลาว ไหลผ่านทุกตำบล เขตต้นน้ำอยู่บนภูเขาเขตติดต่อกับ อำเภอดอยสะเก็ด
จังหวัดเชยี งใหม่

๒.๒ แม่นำ้ แมป่ นู ไหลผา่ นตำบลเวียง ตำบลสนั สลี
๒.๓ แม่นำ้ แม่ฉางข้าว ไหลผ่านตำบลปา่ งวิ้ ตำบลบ้านโปง่
๒.๔ แม่นำ้ แมห่ าง ไหลผ่านตำบลแม่เจดีย์ ตำบลปา่ ง้วิ
๒.๕ แม่น้ำแม่เจดยี ์ ไหลผา่ นตำบลแม่เจดยี ์
3. ลักษณะภมู อิ ากาศ

อำเภอเวียงป่าเป้า มีลักษณะอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว

อณุ หภมู เิ ฉล่ยี 25 – 30 องศาเซลเซียส ในฤดูหนาวอากาศหนาวจัดมีหมอกปกคลุมเนอ่ื งจากภูมปิ ระเทศ เป็นป่า
และภูเขา

137

ขอ้ มลู แห่งเรยี นรู้

พพิ ธิ ภณั ฑ์เมืองโบราณเวยี งกาหลง

อาคารพิพธิ ภณั ฑ์เมืองโบราณเวียงกาหลง
ตั้งอยู่ที่ 83 หมู่ที่ ๕ ตำบลเวียงกาหลง อำเภอเวียงป่าเป้า
จังหวัดเชียงราย ภายในตัวอาคารจัดนิทรรศการแสดง
เกี่ยวกับความสำคัญทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์
ล้านนาที่สามารถเชื่อมโยงกันทั้ง ๔ จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบน ๒ คือ เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์สืบสาน ศิลปะ วัฒนธรรม
มรดกเครื่องเคลือบที่มีความเชื่อมโยงกับอารยะธรรม
ล้านนาตะวันออก และเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
เชงิ อนรุ ักษว์ ัฒนธรรมเวียงกาหลง

พิพธิ ภณั ฑ์พระ วดั พระธาตุแมเ่ จดยี ์

“พิพิธภัณฑ์พระ” ที่ได้รับการจัดสรา้ ง โดยท่าน
พระครูไพบูลย์พัฒนาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุ
แม่เจดีย์ เพื่อรวบรวมพระเครอื่ งพระบูชาหลากหลายรนุ่
และวัตถุโบราณต่างๆ ที่ขุดได้จากกรุวัดน้อยซึ่งเป็น
วัดร้าง อีกส่วนหนึ่งเป็นของสะสมของท่านพระครู
และญาติโยมนำมาบริจาค เพื่อเก็บรักษาไว้ให้อนุชน
คนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป

พิพธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ วดั ศรีสทุ ธาวาส

วัดศรีสุทธาวาสถือเป็นแหล่งศูนย์รวมจิตใจ
และสัญลักษณ์ของคนชุมชน และชาวบ้านยังคงมี
สำนึกร่วมกันในการบำรงุ รักษาวฒั นธรรมของตนเอง
กลายเป็นแรงผลักดันให้ท่านเจ้าอาวาส และชุมชน
รอบวัดร่วมกันก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ วัดศรีสุทธาวาส
ขน้ึ ในปี 2540 ทา่ านเจา้ อาวาสกล่าวถงึ วัตถปุ ระสงค์
ในการทำวา่

"ไม่ต้องการให้พิพธิ ภณั ฑ์เป็นแหล่งหารายได้หรือแหล่งทอ่ งเที่ยว แต่อยากให้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้
ข้อมูลสำหรับเด็ก นักเรียน เยาวชนที่ต้องการหาข้อมูลในท้องถิ่น ทำแบบค่อยเป็นค่อยไป เหมือนกับปลวกค่อย
สรา้ งทีละนิดทลี ะนอ้ ย แม้จะใชเ้ วลานานแต่ฐานจะม่ันคงมากกว่า"

ของที่จัดแสดงส่วนใหญ่เป็นวัตถุทางธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา บางส่วนจัดแสดงเครื่องใช้
ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงเศษเครื่องถ้วยเตาเวียงกาหลง ข้าวของอีกส่วนหนึ่งนำไปจัดแสดงไว้ที่วิหารราย
ซึ่งดัดแปลงพื้นที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตำบลเวียงป่าเป้า ภายในจัดแสดงอุปกรณ์เครื่องใช้ในวิถีการผลิต
ดา้ นเกษตรกรรมของชาวบา้ น

138
พิพิธภัณฑ์เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียวรูปทรงแบบล้านนาประยุกต์ ใช้ไม้จากการรื้อวิหาร
หลังเกา่ มาสรา้ ง ภายในจดั แสดงขา้ วของตา่ งๆ ที่ส่วนใหญเ่ ป็นโบราณวตั ถทุ ี่ทางวัดเก็บรักษาไว้ และของส่วนหนงึ่
ไดม้ าจากการบริจาคจากชาวบ้าน เน้ือหาการจัดแสดงไดร้ ับการสนบั สนนุ จดั ทำข้อมูลทางวิชาการ และทำทะเบียน
โบราณวตั ถจุ ากนักวิชาการทอ้ งถนิ่ และมลู นธิ ิเลก็ -ประไพ วิรยิ ะพนั ธุ์
ของที่จัดแสดงส่วนใหญ่เป็นวัตถุทางธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา บางส่วนจัดแสดงเครื่องใช้
ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงเศษเครื่องถ้วยเตาเวียงกาหลง ข้าวของอีกส่วนหนึ่งนำไปจัดแสดงไว้ที่วิหารราย
ซึ่งดัดแปลงพื้นที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตำบลเวียงป่าเป้า ภายในจัดแสดงอุปกรณ์เครื่องใช้ในวิถีการผลิต
ด้านเกษตรกรรมของชาวบา้ น พิพิธภัณฑ์ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงภายในอาคารเท่านั้น หากยังครอบคลุมถงึ บริเวณวดั
ทัง้ หมด รวมถึงผืนป่าชมุ ชนขา้ งวดั ราว 37 ไร่ ที่เป็นแหลง่ ใหค้ วามรูเ้ ร่อื งพนั ธ์ุไม้หายาก รวมถงึ สมนุ ไพรนานาชนิด

เครอ่ื งเคลอื บดนิ เผาเวียงกาหลง ศลิ ปะท่เี ป็นมรดกทางวัฒนธรรมแหง่ ล้านนา
เวียงกาหลงเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ที่เป็นแหล่งกำเนิด
เครอ่ื งเคลอื บดินเผาเวยี งกาหลงโบราณ ทมี่ ีอายุนับพันปี ท่ีใหญ่ทีส่ ดุ ของลา้ นนา มีเตาเผาโบราณจำนวนนับพันเตา
เครือ่ งเคลือบ ดนิ เผาเวยี งกาหลง มลี กั ษณะเดน่ ไมเ่ หมอื นใคร
นายทัน ธิจิตตัง และ นายศรี ลืมเนตร ได้ทำการศึกษาวิจัยภูมิปัญญาการทำเครื่องปั้นดินเผา
แบบโบราณ ศึกษาคิดค้นการนำธาตุที่เกิดจากผลิตผลพรรณไม้บางชนิดมาเป็นส่วนประกอบของสีธรรมชาติ
เพื่อใช้ในการเขียนลวดลาย และเคลือบแบบโบราณเครื่องปั้นดินเผา สืบทอดภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผา
เวียงกาหลงที่เชื่อมโยงกับพันธุกรรมพืชในท้องถิ่น พัฒนาเป็นสุดยอดผลิตภัณฑ์ดีเด่นของจังหวัดเชียงราย
ดำเนินการจัดกิจกรรมการสืบทอดภูมิปัญญาการทำเครื่องปั้นดินเผาแบบโบราณแก่นักเรียนและเยาวชน
เปดิ ใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรู้ เพอ่ื สรา้ งจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษ์แกค่ นในท้องถิ่นหรอื ผทู้ ส่ี นใจต่อไป

139
แหลง่ ทอ่ งเที่ยว

ดอยลังกา/ดอยผาโงม้
เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในจังหวัด มีความสูง
2,030 เมตรจากระดับน้ำทะเล ซึ่งยอดเขามีขนาด
สูงสุดเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ประกอบด้วยดอย
ผาโง้ม ดอยลังกาน้อย และดอยลังกาหลวง จุดเด่น
ของเส้นทางเดนิ ป่าเสน้ นี้ คือ การเดนิ ตามแนวสันดอย
ไปตลอดเส้นทางได้พบได้เหน็ ป่าสภาพต่างๆ มีทั้งป่า
ดบิ เขา ป่าสน และ ท่งุ หญ้าบนดอยสูง

บอ่ นำ้ พุร้อนแมข่ ะจาน
น้ำพุร้อนแม่ขะจาน อยู่ในท้องที่บ้านโป่งน้ำร้อน
ตำบลแม่เจดีย์ใหม่ บนเส้นทางสายเชียงราย - เชียงใหม่ มี
ร้านขายของที่ระลึกและเครื่องดื่มอาหาร เป็นสถานที่ที่
เหมาะสำหรับการหยุดพกั เวลาเดินทางผ่านไปมา

วงั มจั ฉา
วังมัจฉา หรือที่รู้จักกันในชื่อ ห้วยย่าคำมา เป็นอ่างเก็บน้ำที่อยู่บริเวณวัดพระธาตุแม่เจดีย์
ซึง่ ในอดีตเปน็ สถานท่ีศกั ดส์ิ ิทธิ์ ท่ีเคารพ สกั การะบูชา ของประชาชนใน อำเภอเวียงปา่ เปา้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2531
พระครูไพบูลย์พัฒนาภิรักษ์ได้เข้ามาปฏิบัติธรรมณสถานที่แห่งนี้และได้ลงมือพัฒนาพื้นที่และทำการบูรณะ
ให้มีสภาพคงเดิม ทำให้เปน็ แหล่งทอ่ งเที่ยวที่นักท่องเทย่ี วชอบมาพักผ่อนเปน็ ท่รี ูจ้ ักไปแพรห่ ลาย

140

ร ะ บ ำ ม ้ ง เป็นศิลปะการแสดงดั้งเดิม

ซึ่งมีรากเหง้าด่ังเดมิ เริ่มมีมาพร้อมๆ กับชนชาติมง้ พัฒนาการ
ต่างๆ กันไปตามยุคสมัยจนกลายเป็น "ระบำม้ง" ในปัจจุบัน
นับเนื่องเหตุการณ์จากการที่มีการหยุดพักผ่อน เพื่อพิธีการ
กินข้าวใหม่ และต่อเนื่องยาวนานกับเทศกาลเฉลิมฉลอง
ปีใหม่ หรือ เทศกาล "น่อเป๊ะเจา" ในวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 1
ของทุกปี หลักฐานทางประวัตศิ าสตรต์ ่างๆที่เขยี นขน้ึ

ต่างกก็ ล่าวอา้ งถึงชาวม้ง วา่ เป็นกลมุ่ ชนเผ่าที่มชี อบร้องรำทำเพลง และมกี ารแสดงศลิ ปวัฒนธรรมภายใน
งานรนื่ เรงิ เทศกาลปใี หมน่ ัน้ มีการเตน้ ระบำในการต้อนรับแขกเมืองประกอบเพลง เป็นทรี่ ่นื รมย์มาก

รากเหง้าของระบำม้ง มาจากการที่มีแคนม้งเป็นเครื่องดนตรีเป่า
ทำนองขึ้นมาใช้ประกอบในพิธีกรรม และมีการร้องเพลงกลอนสด
หรือเพลงโต้ตอบกันระหว่างชายหญิง เปรียบเหมือนกับการร้องลำตัด
แต่การร้องเพลงสดหรือกลอนสดโต้ตอบของม้ง เป็นไปแบบไม่มีดนตรี
ประกอบและรอ้ งดว้ ยการนงั่ รอ้ งตอบโต้กนั เป็นเรือ่ งราว จีบกัน หรือหยอก
ล้อ เหมือนหนุ่มสาวคุยกันแต่เป็นการคยุ กันด้วยท่วงทำนอง ที่เป็นเพลงมี
เสน่ห์เฉพาะตัวอยู่ที่ภาษาม้งที่ให้สำเนียงแปลกประหลาดต่อหูผู้อื่น แม้มิ
เข้าใจความหมาย

ระบำม้งโดยหญิงสาวชาวม้งเน้นลีลาการเต้น
การก้าวกระโดด แสดงออกซึ่งความสนุกสนาน ร่าเริง
ถอดแบบจากวิถีชีวิตของชาวม้ง มาประยุกต์เป็นท่ารำ
การแต่งการเพื่อการแสดงจะแต่งชุดม้งเต็มยศ ครบเครื่อง
และมกี ารใชอ้ ุปกรณอ์ ื่นประกอบด้วย

ระบำม้งมีหลายรูปแบบ แต่มีลักษณะเด่น
ประการเดียวและเป็นแบบอย่างเพียงแบบอย่างเดียว
ที่เหมือนกันคือ เรื่องของการแต่งกาย ระบำม้งจะเน้น
การแต่งกายด้วยชุดม้งเต็มยศไม่ว่าหญิงหรือชาย มีการใส่
หรือคาดกระเป๋าเหรียญเงินรูปีอินเดีย เชื่อกันว่าถ้าไม่ได้ยิน
เสียงเหรยี ญเงินน้ี ไม่ใช่บรรยากาศของระบำม้งแบบของแท้
และดั่งเดิม

ผ้ทู ่ถี อื ปฏบิ ตั มิ รดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

ชื่อ นายอสิ ระ อัศวะเจรญิ กลุ

ท่อี ยู่ แม่ตะละ ตำบลสนั สลี อำเภอเวียงป่าเป้า จงั หวัดเชียงราย

โทรศพั ท์ -

141

อั๊วเน่ง เป็นการรักษาอีกประเภทหนึ่งของม้ง

การอั๊วเน้ง (การทำผีหรือลงผี) มีอยู่ 3 ประเภท การอั๊วเน้ง
ข่อยชั๊วะ การอั๊วเน้งเกร่ทั่ง และการอั๊วเน้งไซใย่ ซึ่งแต่ละ
อั๊วเน้งมีความแตกต่างกันออกไปการรักษาก็แตกต่างกันไป
ด้วย การจะอั๊วเน้งได้ เมื่อมีคนในครอบครัวเจ็บป่วยโดย
ไม่รสู้ าเหตุ เป็นการรกั ษาอกี ประเภทหน่ึง ดังน้นั ม้งมกั จะนิยม
เ ร ี ย ก ข ว ั ญ ท ี ่ ห า ย ไ ป ห ร ื อ ม ี ผ ี พ า ไ ป ใ ห ้ ก ล ั บ ค ื น ม า เ ท ่ า น้ั น
ซึง่ ชาวมง้ เชอื่ ว่าการเจ็บป่วยเกดิ จากขวญั ที่อยใู่ นตวั หายไป

ชาวม้งมีการนับถือวิญญาณบรรพบุรุษ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกี่ยวกับ
ธรรมชาติสงิ่ แวดลอ้ มท่ี ชาวมง้ จะตอ้ งเซน่ สังเวยสิ่งศกั ด์สิ ิทธ์ติ ่างๆ เหล่านี้ปี
ละคร้งั โดยเชอื่ วา่ พธิ ไี สยศาสตรเ์ หลา่ น้จี ะช่วยใหว้ ินิจฉัยโรคไดถ้ กู ตอ้ ง และ
ทำการรกั ษาไดผ้ ล เพราะความเจบ็ ป่วยท้งั หลายลว้ นแต่เป็นผลมาจากการ
ผิดผี ทำให้ผเี ดือดดาลมาแกแ้ คน้ ลงโทษให้เจ็บปว่ ย จึงตอ้ งใช้วธิ ีจดั การกบั ผี
ใหค้ นไขห้ ายจากโรค

ม้งเชื่อว่าการที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง โดยไม่มีโรคภัยมา
เบียดเบียน นั่นคือความสุขอันยิ่งใหญ่ของม้ง ฉะนั้นม้งจึงต้องทำทุกอย่าง
เพื่อเป็นการรักษาให้หายจากโรคเหล่านั้น ซึ่งพิธีกรรมในการรักษาโรค
ของมง้ น้นั มีอยู่หลายแบบ ซง่ึ แต่ละแบบกร็ ักษาโรคแตล่ ะโรคก็แตกต่างกัน
ออกไป การที่จะทำพิธีกรรมการรักษาได้นั้นต้องดูอาการของผู้ป่วยว่า
อาการเปน็ เช่นไร แล้วจงึ จะเลือกวิธกี ารรักษาโดยวิธีใดถึงจะถูกตอ้ ง

มีวิธีการรักษาดังนี้ คนที่เป็นพ่อหมอจะเริ่มไปนั่งบนเก้าอี้ แล้วร่ายเวทมนต์คาถาต่างๆ
พรอ้ มกับตดิ ต่อ สอ่ื สารกับผีแลว้ ไปคลี่คลายเรือ่ งราวตา่ งๆกบั ผี ถา้ คลค่ี ลายไดแ้ ล้วจะมกี ารฆา่ หมู แต่ก่อนจะฆ่าหมู
นั้น จะต้องให้คนไข้ไปนั่งอยู่ข้างหลังพ่อหมอ แล้วผูกข้อมือ จากนั้นนำหมูมาไว้ข้างหลังคนไข้ แล้วพ่อหมอ
จะสั่งให้ฆ่าหมู การที่จะฆ่าหมูได้นั้นจะต้องมีคนหนึ่งซึ่งเป็นตัวแทนของพ่อหมอ และสามารถฟังเรื่องราว
ของการอั๊วเนง้ ได้ รวู้ ่าตอนน้พี อ่ หมอตอ้ งการอะไรหรือสงั่ ให้ทำอะไร เม่ือพ่อหมอสง่ั ลงมา คนทเ่ี ปน็ ตัวแทนตอ้ งบอก
กับคนในครอบครัวให้ทำตามคำบอกกล่าวของพ่อหมอ เมื่อสั่งให้ห่าหมูก็ต้องนำหมูมาฆ่าแล้วจะนำกัวะมาจุ่ ม
กับเลอื ดหมู พร้อมกบั มาปะที่หลังคนไข้ แล้วพ่อหมอจะเป่าเวทมนต์ให้ จากนัน้ จะนำกัวะไปจุม่ เลือดหมู เพื่อไป
เซน่ ไหวท้ ่ผี นังท่ีเป็นทรี่ วมของของบูชาเหล่าน้ัน

ผ้ทู ถี่ ือปฏิบัตมิ รดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม

ชื่อ นายภรู ิณัฐ ปนั แก้ว

ทีอ่ ยู่ บ้านทงุ่ มา่ นเหนอื หมทู่ ่ี ๑๓ ตำบลเวียงกาหลง
อำเภอเวยี งป่าเป้า จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศพั ท์ 0880316150

142

สมุนไพรพืน้ บา้ นรกั ษาโรค

คำว่า สมุนไพร ตามพระราชบัญญัติหมายความถึง ยาที่ได้
จากพืช สัตว์ และแร่ ซงึ่ ยังมิได้ชมีการผสมปรุงหรือแปรสภาพ (ยกเว้นการทำ
ให้แห้ง) เช่น พืชก็ยังคงเป็นส่วนของราก ลำต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ ยังไม่ได้
ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใดๆ เช่น การหั่น การบด การกลั่น การสกัดแยก
รวมทั้งการผสมกับสารอื่นๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะถูกดัดแปลง
ในรูปแบบ ต่างๆ เช่น ถูกหั่นเป็นชิ้นเล็กลง บดให้เป็นผง อัดให้เป็นแท่ง
หรือปอกเปลือกออก เป็นต้น เมื่อพูดถึงสมุนไพร คนทั่วๆ ไปมักจะนึกถึง
เฉพาะพืชทนี่ ำมาใช้ประโยชนใ์ นทางยา ทั้งนเ้ี พราะ สตั ว์ และแรม่ ีการใช้น้อย
จะใชเ้ ฉพาะในโรคบางชนิดเทา่ น้ัน

สมุนไพร คือ ของขวัญที่ธรรมชาติมอบให้กับ
มวลมนุษยชาติ มนุษย์เรารู้จักใช้สมุนไพรในด้านการบำบัด
รักษาโรค ในประเทศไทยมีภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเจริญ
งอกงามของพืชนานาชนดิ โดยเฉพาะพชื สมุนไพรมอี ยู่ มากมายเปน็
แสนๆ ชนิด ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและจากการเพาะปลูก
บางชนิดก็ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตยาแผนปัจจุบัน สมุนไพร
หลายชนิด ถูกนำมาใชใ้ นรูปของยากลางบ้าน คนไทยไม่เพียงแต่ใช้
พืชสมุนไพรเปน็ ยารกั ษาโรคเทา่ น้ัน แต่ไดน้ ำมาดัดแปลงเพือ่ บรโิ ภค
ในรูปของอาหารและเคร่ืองด่มื สมุนไพร

ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยนั้นมีรากฐานมานานนับร้อยนับพันปี อารยธรรมต่างๆ
ที่ถือเป็นเอกลักษณ์ในการแสดงถึงชาติ แสดงถึงเผ่าพันธุ์ และความเป็นผู้ที่เจริญแล้ว สิ่งหนึ่งที่แสดง
ออกมาไดเ้ ป็นอย่างดกี ค็ อื ศิลปะทีผ่ สมผสานและผกู พันอยู่ในการใชช้ ีวติ ประจำวนั ของคนไทยน่ันเอง ศลิ ปะดงั กล่าว
รวมไปถึงเรอ่ื งการกินอยู่ดว้ ย

ตวั อย่าง : ยาสมุนไพรสลายน่ิวในไต สรรพคุณเปน็ ยาขับปสั สาวะ
ถ้าเป็นนิ่ว นิ่วก็จะหลุดออกมาโดยไม่ตอ้ งผา่ ตัดประกอบด้วยตวั ย
ตัวยา ดงั นี้

❖ รากมะนาว
❖ รากมะพร้าวไฟ
❖ เงา่ สับปะรด
❖ รากมะเฟือง และตว้ ยาอนื่ ๆ

ผ้ทู ีถ่ ือปฏิบตั ิมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

ช่อื หมอธวัช เลยี ลา ประธานชมรมหมอเมอื งเวยี งกาหลง

ท่ีอยู่ ตำบลเวยี งกาหลง อำเภอเวยี งป่าเป้า จงั หวดั เชียงราย

โทรศัพท์ 0635752654

143

เครอ่ื งปัน้ ดินเผาเวียงกาหลง

เวียงกาหลงปัจจุบันกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ศึกษา เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องป้ันดินเผา ตลอดจนความเป็นมา คือสถานทีส่ ำคญั ทางประวัติศาสตร์แหล่งเตาเผายิ่งใหญ่เมืองโบราณนาม
เวียงกาหลง เป็นเมืองโบราณ ที่สร้างมา 2,000 กว่าปีมาแล้ว มีการค้นพบเตาเผา ประมาณ 3,000 กว่าเตา
ที่ไม่มีข้อมูลการค้นพบเตาเผาโบราณที่ไหนมาก่อน
ในประเทศไทย และคาดว่าเครื่องปั้นดินเผาเวียงกาหลง
เปน็ ทร่ี ู้จกั มาตัง้ แตพ่ ทุ ธศตวรรษท่ี 19 - 26 และร่งุ โรจน์จน
เป็นที่รู้จักของนักสะสมในปี พ.ศ.2467 เป็นต้นมา
เนื่องจากเครื่องเคลือบของเวียงกาหลง เป็นเครื่องเคลือบ
ทีม่ ีคณุ ภาพ ประณีต สวยงาม มเี อกลักษณโ์ ดดเด่นเฉพาะตัว
มนี ำ้ หนกั เบา ลายเสน้ คมชัด ดูแล้วไมเ่ บอ่ื ตา

ปัจจุบันเครื่องปั้นดินเผาเวียงกาหลงเน้นรูปแบบลวดลาย
อันเป็นเอกลักษณ์ 4 แบบ ซึ่งเปน็ ที่นิยมของนักสะสม และผู้ที่ชอบ
นำไปตกแต่งอาคารบ้านเรือน คือ ลายศรีโคมคำ ลวดลายสัตว์ป่า
หิมพานต์ ลวดลายดอกกา และลวดลายปลา ซึ่งทุกลวดลาย
บนภาชนะล้วนสะท้อนเรื่องราวในพระพุทธศาสนาทั้งสิน้ ความเปน็
เอกลักษณ์ของผลิตภณั ฑเ์ หล่านี้ไดส้ ร้างช่ือเสียงมาสู่จังหวัดเชียงราย
และประเทศไทย

ช่ือเสียงของตำบลเวยี งกาหลขจรขจายออกไปจนเปน็ ท่รี จู้ ักอยา่ งกว้างขวาง ปัจจุบันเครือ่ งปน้ั ดินเผาเวียง
กาหลง ที่นี่ประยุกต์ลวดลาย สร้างความสวยงามของภาชนะอย่างสมสัดส่วนและลงตัว โดยเฉพาะความละเอียด
ของเนื้อดนิ และการข้ึนรูปที่มีความบางเบา เพราะใช้เนื้อดินท่ีมคี ณุ ภาพสูง เรียกว่า “ดนิ ดำ” ทส่ี นั นิษฐานว่ามีอายุ
ไมต่ ่ำกวา่ 1,000 ปี และมแี หง่ เดียวในประเทศไทยด้วย ทำใหง้ านทีอ่ อกมามเี นื้อผิวละเอียดอ่อน นับเป็นสุดยอด
หตั ถกรรมของเคร่อื งป้นั ดนิ เผาทม่ี ีความได้เปรยี บกว่ากลุ่มเตาเผาอ่นื

สำหรับขั้นตอนของการทำเครื่องปั้นดินเผาเวียงกาหลง มีการนำดินดำมาขึ้นเป็นรูปทรงเสร็จแล้ว
จะนำไปเผาในอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส จากนั้นจะนำมาเขียนลวดลายด้วยสีแร่ธรรมชาติ และนำไปชุบน้ำ
เคลือบก่อนจะนำไปเผาต่อที่อุณหภูมิ 1,220-1,250 องศาเซลเซียส จนเสร็จสิ้นกระบวนการก็จะได้
เครื่องป้ันดนิ เผาทคี่ งคุณค่าความงามทางศลิ ปะและความเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว

ผูท้ ถ่ี ือปฏบิ ตั มิ รดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม

ชื่อ นายสุขนิรนั ดร์ นนั ต๊ะ

ทอ่ี ยู่ หมทู่ ่ี 5 ตำบลปา่ สา่ น อำเภอเวยี งป่าเป้า

จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 0810314080

"รถล้อเลื่อนไม้" 144

หรือเรียกกันติดปากว่า "ฟอร์มูล่าม้ง" ปีใหม่เท่านั้น จะเป็นการเล่นของเด็กและผู้ใหญ่
ซ่ึงสมยั ก่อนมง้ ไม่มรี ถ หรอื ยวด ยานพาหนะใชใ้ นการเดนิ ทาง
เป็นภูมิปัญญาของชาวเขาที่ดัดแปลง มาจาก และไม่มีของเล่นให้กับเดก็ ๆ ได้เล่นกนั เนื่องจากอยูห่ า่ งไกล
รถเข็นผลผลิตทางการเกษตร แต่ปัจจุบัน ความเจริญมาก ดังนั้นไม่สามารถที่จะหาซื้อของเล่นให้
ร ถล ้ อ เ ล ื ่ อ น ไม ้ ถู ก แ ท น ท ี ่ ด ้ วย ร ถ ย น ต์ กับเด็กๆ เล่นได้ ดังนั้นผู้ใหญ่จึงได้คิดค้นสร้างรถข้ึน
และจักรยานยนต์ไปแลว้ เหลือเพียงการละเลน่ ต่อมาจึงได้มีการนำมาขี่แข่งขันกัน และได้มีวิวัฒนาการ
และแข่งขันกันเพื่อความสนุกสนานในหมู่เพ่อื น ที่จะพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อใหผ้ ูใ้ หญ่สามารถทีจ่ ะเล่น
ฝูงกลุ่มเล็กๆภายในหมู่บ้าน และขยายเป็น รถล้อเลื่อไม้ได้ จึงได้มีการประกวดแข่งขันกนั ว่า รถคันไหน
การแข่งขันกนั ระหว่างหมบู่ ้าน ไปไกลที่สุด และรถคนั ไหนตกแตง่ ไดส้ วยงามทีส่ ุด

โดยการแข่งขันได้มีนักแข่งขันล้อเลื่อนของชนเผ่าต่างๆ ในพื้นที่ภาคเหนือ จำนวนมาก
ต่างร่วมกันลงชิงชัย ในการแข่งขันล้อเลื่อนชนเผ่า หรือโกลคลาสม้ง ที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปและพี่น้อง
ชาติพันธุ์เข้าร่วมการแข่งขันกัน รวมทั้งนักแข่งขันโกคาสม้งมืออาชีพจากทั่วภาคเหนือเข้าร่วมชิงชัย
ซ่ึงบรรยากาศเปน็ ไปอย่างคกึ คัก สร้างความสนกุ สนานให้กบั ผเู้ ขา้ ชมกนั เปน็ อยา่ งมาก

ผูท้ ี่ถอื ปฏบิ ัติมรดกภมู ิปญั ญทางวฒั นธรรม
ช่อื นายอิสระ อัศวะเจรญิ กลุ
ที่อยู่ แมต่ ะละ ตำบลสันสลี

อำเภอเวียงป่าเปา้ จงั หวัดเชียงราย
โทรศพั ท์ -

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ แ ม่ จั น

พระธาตุกู่แก้วคู่บ้าน
แม่น้ำจันคู่เมือง ลิ้นจี่หวานลือเลื่อง

รุ่งเรืองวัฒนธรรม

สภาวัฒนธรรมอำเภอแม่จัน

อำเภอแ14ม6 จ่ ัน

ประวตั คิ วำมเป็นมำ

อำเภอแม่จันเดิมเปน็ เพียงหมู่บ้ำนหรือตำบลหนงึ่ ในเขตควบคุมของเมืองเชียงแสนหลวง ตำมพงศำวดำรโยนก
กล่ำวว่ำ เมืองเชียงแสนมีพื้นที่ครอบคลุมบริเวณที่รำบลุ่มเชียงแสนทั้งหมด ซึ่งมีอำณำเขตท่ีกว้ำงขวำงต่อมำเมืองเชียง
แสนหลวงได้เกิดนำท่วมบ่อย ๆ ปีหนึ่งนำจะท่วมเป็นเวลำหลำยเดือน ชำวบ้ำนแถบนี้ที่มีอำชีพเพำะปลูกและทำนำ
แตไ่ ม่สำมำรถที่จะทำนำได้จึงพำกนั อพยพลงมำทำงใต้ ประมำณ 25 กโิ ลเมตร มำอยู่ที่ "บำ้ นข"ิ (ซง่ึ ปัจจุบนั คือ บำ้ นแม่คี
หมู่ 7 และหมู่ 9 ตำบลป่ำซำง อำเภอแม่จัน) ซ่ึงมีบริเวณเป็นท่ีรำบลุ่มกว้ำงมีแม่นำไหลผ่ำน ทำเลดี เหมำะแก่กำร
เพำะปลูกและทำนำ และยังมีชำวบ้ำนมำตั้งบ้ำนเรือนก่อนแล้วเกือบ 400 หลังคำเรือน ประกอบกับเป็นเส้นทำง
ค้ำขำยยังรัฐฉำนและยนู ำน และต่อมำชำวบ้ำนเมอื งเชียงแสนหลวงก็อพยพมำอยรู่ ่วมกันท่ีบำ้ นขิเพ่ิมมำกข้ึน

ในปี พ.ศ. 2424 พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงโปรดเกล้ำให้เจ้ำอินต๊ะ ซึ่งครองเมืองลำพูน
เมืองลำปำง และเจ้ำกำวิละ เจ้ำผู้ครองนครเชียงใหม่ นำรำษฎรจำกเชียงใหม่ประมำณ 1,500 ครัวเรือน ไปตั้งถิ่นฐำน
ท่ีเมืองเชียงแสนหลวง และพระรำชทำนบรรดำศักด์ิเจ้ำอินต๊ะ เป็น พระยำเดช ดำรงตำแหน่งเจ้ำเมืองเชียงแสน
ในปี พ.ศ. 2437

ในปี พ.ศ. 2442 เปน็ ปกี นุ (ช้ำง) จุลศักรำช 1261 ทรงพระกรณุ ำโปรดเกล้ำฯให้ นำยไชยวงศ์ บตุ รของพระยำ
รำชเดชดำรง (เจ้ำอินต๊ะ) เปน็ พระยำรำชเดชดำรง สืบตระกูลแทนบดิ ำ เป็นนำยอำเภอแมจ่ ันท่ีเรยี กว่ำ "แขวงเชียงแสนหลวง"
คนแรก ซ่ึงย้ำยมำจำกเมอื งเชียงแสน มำต้ังอยทู่ ่ีอำเภอแม่จัน โดยใช้ชอื่ ว่ำ "แขวงเชียงแสนหลวง" (แม่จัน) ในครั้งแรกมำต้ัง
อำคำรที่ว่ำกำรอยู่ท่ีหมู่บ้ำนแม่คี เพรำะบ้ำนแม่คีสมัยนั้นเป็นหมู่บ้ำนใหญ่ เป็นศูนย์กลำงกำรคมนำคม และกำรค้ำ
แลกเปลี่ยนสินค้ำ จำกน้ันได้ย้ำยท่ีอำคำรท่ีทำกำรแขวงเชียงแสนหลวง (อำเภอแม่จัน) จำกหมู่บ้ำนแม่คีลงมำทำงทิศใต้
ประมำณ 3 กโิ ลเมตร มำสรำ้ งอำคำรท่วี ำ่ กำรแขวงเชียงแสนหลวงใหม่ทร่ี มิ ฝงั่ แม่นำจัน ตำบลเวียงกำสำ จนถงึ ปี พ.ศ. 2452
เป็นปีเปกิ เลำ้ จลุ ศักรำช 1271 ไดเ้ ปล่ียนช่ือจำก "แขวงเชียงแสนหลวง" มำเปน็ "อำเภอแม่จัน" ตง้ั แตบ่ ดั นั้นเป็นตน้ มำ

ลกั ษณะทำงกำยภำพ

อำเภอแมจ่ ันมอี ำณำเขตติดต่อกบั อำเภอข้ำงเคียง ดงั นี้
ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับอำเภอแม่ฟ้ำหลวง อำเภอแมส่ ำย และอำเภอเชียงแสน
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ กบั อำเภอเชยี งแสน อำเภอดอยหลวง และอำเภอเวียงเชยี งรงุ้
ทิศใต้ ติดตอ่ กับอำเภอเมืองเชยี งรำย
ทิศตะวันตก ติดต่อกบั อำเภอแมฟ่ ้ำหลวง
ลักษณะภูมิประเทศ
สภำพลักษณะภูมิประเทศของเทศบำลตำบลแม่จัน มีลักษณะเป็นที่รำบลุ่มระหว่ำงหุบเขำ โดยมีแม่น้ำจันซง่ึ
เป็นแม่น้ำสำยหลักของอำเภอแม่จนั ไหลเข้ำสตู่ ัวเทศบำลตำบลทำงทิศตะวันตก แลว้ ไหลวิ่งขึ้นทิศเหนือขนำบเทศบำล
ฝั่งทิศตะวนั ตก (ตำมภำพ) และไหลออกจำกเทศบำลไปทำงทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลงสู่แมน่ ำ้ โขงต่อไป
ลกั ษณะภมู อิ ำกำศ
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนำคม – เดือนพฤษภำคม รวม 3 เดือน อุณหภูมิเฉล่ียประมำณ 27 องศำ
เซลเซยี ส อณุ หภูมิสูงสุดประมำณ 39 องศำเซลเซยี ส
ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่เดือนมิถุนำยน – เดือนตุลำคม รวม 5 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยประมำณ 27 องศำ
เซลเซียส อณุ หภูมิสงู สุดประมำณ 39 องศำเซลเซยี ส ฝนตกชุกทส่ี ุด ระหว่ำงเดอื นกรกฎำคมถึงเดือนกนั ยำยน
ฤดูหนำว เริ่มตั้งแต่กลำงเดือนพฤศจิกำยน – เดือนกุมภำพันธ์ รวม 4 เดือน อุณหภูมิเฉล่ียประมำณ
7- 10 องศำเซลเซียส

แหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว 147

๑. โป่งน้ำรอ้ น
ตั้งอยู่ท่ีบ้ำนโป่งน้ำร้อน หมู่ 11 ตำบลป่ำตึง อำเภอแม่จัน จังหวัด

เชยี งรำย อยูร่ ะหวำ่ งทำงไปดอยแม่สลองสำยใหม่ (ทำงหลวงหมำยเลข
1089) ดำ้ นซ้ำยมอื ใกลห้ ลัก กม. 78 อยู่ห่ำงจำกท่วี ่ำกำรอำเภอแมจ่ ัน
ถนนแม่จัน - ฝำง ประมำณ 8 กิโลเมตร และอยู่ใกล้กับท่ีทำกำร

องค์กำรบริหำรส่วนตำบลป่ำตึง ประมำณ 700 เมตร ติดกับถนน
เส้นทำงแมจ่ นั – ฝำง เปน็ สถำนท่ที ่องเทย่ี วหลักของตำบล และอำเภอ

แม่จัน โดยสร้ำงเป็นสวนหย่อมใจริมทำง สำหรับเป็นจุดแวะพักรถระหว่ำงทำงไป-กลับดอยแม่สลอง เป็นบ่อ
น้ำพุร้อนที่สวยงำม ภำยในบริเวณโป่งน้ำร้อนมีลำนน้ำพุร้อน ซึ่งมีควำมสูงถึง 10 เมตร อุณหภูมิของน้ำอยู่
ระหว่ำง 70-109 องศำเซลเซยี ส โดยสร้ำงฐำนคอนกรีตลอ้ มบริเวณน้ำพุรอ้ น

๒. น้ำตกตำดทอง
ต้ังอยู่ที่บ้ำนป่ำตึง หมู่ 7 ตำบลป่ำตึง อำเภอแม่จัน
จังหวัดเชียงรำย เป็นสถำนท่ีท่องเท่ียวพักผ่อนที่อยู่ใกล้
ที่ว่ำกำรอำเภอแม่จันอย่ำงมำก โดยมีระยะทำงห่ำงไปเพียง
แค่ ๖ กโิ ลเมตร มีควำมร่มรน่ื อยำ่ งมำก

๓. น้ำตกหว้ ยก้ำงปลำ
ตั้งอยู่ท่ีบ้ำนห้วยก้ำงปลำหมู่ที่ 15 ตำบลป่ำตึง อำเภอ
แม่จัน จังหวัดเชียงรำย ต้ังอยู่ท่ีหน่วยพิทักษ์อุทยำนแห่งชำติ
ท่ี ลก.3 (นำ้ ตกห้วยก้ำงปลำ) บ้ำนห้วยก้ำงปลำ หมู่ 15 ตำบล
ป่ำตึง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงรำย ตัวน้ำตกมีควำมสูง
ประมำณ 20 เมตรสภำพโดยรอบเป็นป่ำสนซึ่งสภำพป่ำมี
ควำมอุดมสมบูรณ์และมีควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ น้ำตก
ห้วยก้ำงปลำห่ำงจำกอำเภอแม่จันประมำณ 11 กิโลเมตร
สำมำรถเดินทำงโดยรถยนต์โดยสำรหรือรถส่วนบุคคล
อีกประมำณ 10 กโิ ลเมตรถงึ บำ้ นลั๊วพัฒนำแลว้ เลีย้ วซ้ำยไปอีก
ประมำณ 3 กิโลเมตรถึงบ้ำนห้วยก้ำงปลำแล้วเดินทำง
ดว้ ยเท้ำอกี ประมำณ 800 เมตรกจ็ ะถงึ น้ำตกหว้ ยก้ำงปลำ
๔. ลำนทองอทุ ยำนวัฒนธรรมล่มุ น้ำโขง
ต้ังอยู่ท่ีบ้ำนทุ่งต่ำง หมู่ 13 ตำบลป่ำตึง อำเภอแม่จัน จังหวัด
เชียงรำย ตั้งอยู่กิโลเมตรที่ 12 ของทำงหลวงหมำยเลข 1089
(แม่จัน - ท่ำตอน) ห่ำงจำกตัวเมืองเชียงรำย 36 กิโลเมตร มีเนื้อท่ี
กว่ำ 400 ไร่ จัดเป็นหมู่บ้ำนทำงวัฒนธรรม เพื่อแสดงถึงวิถีชีวิต
ควำมเป็นอยขู่ องคนบรเิ วณลมุ่ แม่นำ้ โขง ท่ำมกลำงบรรยำกำศที่เป็น
หุบเขำ และลำห้วยขุนน้ำแม่จัน มีอุทยำนไม้ดอกไม้ประดับนำนำ
พันธุ์ ห้อมล้อมด้วยไร่ชำ และสวนดอกท้อ มีกิจกรรมท่ีน่ำสนใจ
ได้แก่ ขี่ช้ำง น่ังเกวียน มีกำรแสดงของช้ำง กำรสำธิตต่ำง ๆ
เช่น กำรทำเครื่องเงิน เคร่อื งจกั สำน กำรทำกระดำษสำ กำรปั่นฝ้ำย
ทอผ้ำ งำนเย็บปัก


Click to View FlipBook Version