The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2022-01-20 02:21:59

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

48

ภาษาบีซู

ชนเผ่าพื้นเมืองบีซู เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่อยูใ่ นพื้นท่ี
จังหวัดเชียงราย โดยมีการเปิดเผยตัวตนให้เป็นที่รู้จกั ของคนทั่วไป
เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๔๘ ท่ชี นพน้ื เมืองบซี ไู ด้เข้าร่วมกบั เครอื ขา่ ยชนพ้ืนเมอื ง
แหง่ ประเทศไทย ทีจ่ ัดงานเดินรณรงคใ์ นจังหวดั เชยี งใหม่ เพ่อื ใหส้ งั คม
รับรู้วา่ มกี ลุ่มชาติพันธบ์ุ ซี ู เป็นชนเผา่ พน้ื เมอื งอยู่ในจังหวัดเชียงราย

ของประเทศไทย

ชนเผ่าพน้ื เมอื งบซี ู คาดว่าเปน็ กลุ่มชนดงั้ เดิมในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย มักถูกเรียกรวมกับกลุ่มชาติพันธ์ุลัวะหรือละว้า
จา กกา ร ศ ึกษา ของนักวิชา กา ร ใ นอด ีต พบ ว่า ชา ชา ต ิพัน ธ ุ์บ ีซู
มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ในจังหวัดเชียงรายเกือบทั้งหมด และมีการ
อ้างองิ ถึงการตัง้ ถ่ินฐานได้ชัดเจนนัก โดยในจังหวัดเชียงรายนั้น
มีกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ทีพ่ ดู ภาษาบีซตู ้งั ถิน่ ฐานอยู่ ๕ หมู่บ้าน

ชนเผ่าพนื้ เมืองบซี ูจงั เป็นท่ีรู้จักในกลมุ่ นกั วิชาการด้านภาษา
มายาวนาน ซึง่ ต่อมากระทรวงวฒั นธรรมไดป้ ระกาศข้ึนทะเบียน
ภาษาบีซูเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ ประจำปี
พ.ศ. ๒๕๕๗

ภาษาบซี ูมพี ยัญชนะตน้ ๒๙ หน่วยเสยี งมี ๔ หนว่ ยเสียงท่คี นรุน่ ใหม่ไมอ่ อกเสียง ไดแ้ ก่ ฮน ฮม ฮุย
และฮล สระมี ๑๐ หน่วยเสียง ความสนั้ ยาวของเสียงสระไมม่ นี ัยสำคัญทางความหมาย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของภาษา
ตระกูลทิเบต-พม่า กล่าวคอื จะออกเสยี งสระเสยี งส้ันหรือยาวกไ็ ด้ ไม่ไดท้ ำใหค้ วามหมายเปลย่ี นไป เชน่ ยะ - ยา “ไร”่

ซงึ่ ตา่ งจากภาษาไทยทก่ี ารออกเสียงสระสน้ั หรอื ยาว ทำให้ความหมายเปล่ียนแปลงวรรณยุกตม์ ี ๓ หน่วยเสียง ได้แก่
เสยี งระดบั กลาง ระดับต่ำตกและระดับสงู ขึน้ การเรียงคำในประโยคมีลักษณะแบบ ประธาน – กรรม - กริยา
(SOV)

ผูท้ ถ่ี ือปฏบิ ัติมรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรม

ช่ือ นายอุน่ เรอื น วงค์ภกั ดี

ที่อยู่ หมทู่ ่ี ๗ บ้านดอยชมภู ตำบลโปง่ แพร่
อำเภอแมล่ าว จังหวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๙๓-๒๖๒-๑๕๙๑

49

ฟ้อนเล็บ เปน็ ศลิ ปะการแสดงที่เปน็ เอกลักษณ์ทาง

ภาคเหนือโดยเฉพาะ รูปแบบการฟอ้ นมอี ยู่ ๒ แบบ คอื แบบพ้ืนเมือง
หรอื ฟอ้ นเมอื ง และแบบคุม้ เจ้าหลวง กระบวนทา่ รำเปน็ ลลี าท่าฟอ้ น
ทม่ี ีความงดงามเชน่ เดยี วกับฟอ้ นเทยี น นิยมฟอ้ นในเวลากลางวัน
สำหรับชื่อชดุ การแสดงจะมีความหมายตามลกั ษณะของผู้แสดง
ที่จะสวมเล็บยาวสีทองทกุ นิ้ว ยกเว้นน้วิ หวั แม่มอื การแสดงฟ้อนเล็บ
ของอำเภอแมล่ าว มีลกั ษณะเดน่ อยู่ที่ การแสดงไม่ได้จำกดั จำนวนผู้
แสดง หากทางงานเทศกาล ประเพณีใด ต้องการคนแสดง
จำนวนมาก ทางชมรมเครือข่ายพรอ้ มที่จะเตรยี มการแสดงให้ได้

การแต่งกาย
แต่งกายแบบไทยชาวภาคเหนือสมัยโบราณ
คือ เกล้าผมทัดดอกไม้และอบุ ะ นุ่งผ้าตามแบบชาวเหนือ
สวมเสื้อทรงกระบอกแขนยาว คอกลมหม่ สไบเฉยี ง นุ่งผา้ ซ่ิน
ลายขวาง และ สวมเล็บมอื ยาว ๘ นว้ิ เวน้ แตน่ ิ้วหัวแมม่ ือ

ดนตรีฟ้อนเล็บ
เคร่ืองดนตรีท่ีใชใ้ นการฟอ้ นเปน็ วงกลองตง่ึ นง วงต๊ก
เส้ง หรือวงปี่พาทยล์ า้ นนา (นยิ มิ ใชก้ ับฟ้อนเลบ็ แมค่ รบู ัวเรียว)
ซึง่ เป็นดนตรขี องชาวภาคเหนือ แตถ่ า้ เปน็ วงต๊กเสง้ จะเพม่ิ สิ้ง
มาด้วย เวลาดนตรีบรรเลงเสียงปี่ดังไพเราะเยือกเย็นมาก
ทว่ งทำนองเชือ่ งช้า เสียงกลองจะตดี งั ต๊ก สว่า ต่ึง นง อยา่ งนี้
เรื่อยไป ส่วนช่างฟอ้ นกจ็ ะฟ้อนช้า ๆ ไปตามลีลาของเพลง
เพลงท่ใี ชบ้ รรเลงฟ้อนเล็บจะแบง่ ตามท้องถ่ินหลักของแตล่ ะท่ี
จะใช้เพลงฟอ้ นเลบ็ ตา่ งกนั ดังนี้ เพลงมอญเชยี งแสน เพลงแม่
ดำโปน และเพลงแหยง่

ผ้ทู ถ่ี ือปฏิบตั ิมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ช่ือ นางมาลัย ทะรยิ ะ
ทอี่ ยู่ ๒๑๘ บ้านปา่ ก่อดำ หมู่ท่ี ๑๐ ซอย ๖

ตำบลปา่ กอ่ ดำ อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๖-๐๔๕-๕๑๕๗

50

ตาพยา่ นาเจ่อ นาบทือ ย่าง
(ความเช่อื ในเร่ืองการนบั ถอื หอเส้ือบา้ น)

ชนเผา่ พน้ื เมืองบีซใู นอดตี นั้น เป็นชนเผา่ ท่ีนบั ถือผบี รรพบรุ ษุ โดยมคี วามเช่ือเก่ียวกับพิธีไหว้ผี
บรรพบุรุษสืบทอดมา แมป้ ัจจบุ ันเปน็ กลุ่มชาติพันธห์ุ น่ึงทีน่ บั ถอื พทุ ธศาสนาอยา่ งเคร่งครัด แต่ก็ยังมีพิธีกรรม
เก่ียวกับการไหว้ผีบรรพบรุ ษุ อยูเ่ ช่นเดิม

ความเชื่อในเรื่องการนับถือหอเสื้อบ้าน ชาวบีซูมีการนับถือหอเสื้อบ้านโดยมีความเชื่อวา่
มีความศกั ดิส์ ทิ ธิ์ สามารถชว่ ยดูแลรกั ษาให้คนเราอยู่รอดปลอดภัย เช่น บ่าวสาวที่แต่งงานไดล้ ูกคนแรกกอ่ น
ต้องถวายหมู ๑ ตัว ที่หอเสื้อบ้านเพ่ือขอพรให้ลูกที่เกิดออกมาให้มีรา่ งกายสมบรูณ์ แข็งแรง มีสติปญั ญาที่ดี
และมรี ่างกายครบท้ัง ๓๒ ประการ ใหด้ ูแลเลี้ยงดงู ่ายหรือเวลาทลี กู หลานไปเรยี นหนงั สือตา่ งจังหวัดต้องไปไหว้
หอเส้ือบา้ นท่ีบ้านปูต่ งั้ ซง่ึ เปน็ ผดู้ ูแลหอเสอ้ื บ้าน เพอื่ ให้เดนิ ทางมีความปลอดภยั และโชคดเี วลาออกไปต่างจังหวัด
เพื่อให้เดนิ ทางโดยมีความปลอดภัยไปทำงานให้ประสบความสำเร็จมีความเจรญิ รุง่ เรอื งนอกจากน้ันในปีหน่ึง
ชาวบา้ นก็ตอ้ งมีการถวาย ๓ ครัง้ คือ เดอื น ๔ หน่ึงคร้งั เดือน ๘ หนึ่งคร้งั เดือน ๑๒ หนง่ึ ครง้ั โดยจะมีการถวายไก่
สุราขาว ขา้ วต้มมัด ผลไม้ และของหวาน

การจัดตงั้ หอเสื้อบา้ น
๑) การเส่ยี งทายเพอ่ื เลือกสถานทีส่ รา้ งหอ

▪ ผทู้ ีจ่ ะเส่ยี งทายตอ้ งเป็นผูเ้ ฒา่ ผ้แู ก่ ในหมบู่ ้าน
▪ ก่อนท่ีจะทำการเสยี่ งทายตอ้ งจดั เตรยี มข้าวเปลือก

เมล็ดทส่ี มบูรณใ์ ส่ภาชนะ
▪ จากนัน้ ยกข้ึนเหนือหวั เพ่ือตัง้ สจั จะอธษิ ฐาน

ถามปพู่ ญาแต่ละทศิ วา่ ปพู่ ญาชอบอยทู่ ศิ ไหน
▪ ถา้ ชอบทศิ ใดใหเ้ ก็บเมลด็ พนั ธุข์ ้าวไดเ้ ป็นคู่ เกบ็ ได้

๔ คู่ ก็ถือวา่ ตามนัน้

51
๒) ลกั ษณะของหอเส้ือบ้าน

๒.๑ หอเสอื้ บา้ นหอใหญ่

▪ เสาไมเ้ นอ้ื แขง็ นอกน้ันก็เปน็ ไมไ้ ผ่ เสาทใี่ ช้ในการสร้าง
หอเสือ้ บ้านหอใหญ่จะใช้เสา ๖ ตน้ หลงั คามงุ ด้วยหญา้ คา

▪ หงิ้ คอื ที่วางของใช้สอยของปพู่ ญาโดยยกพน้ื ขึ้นสูง
▪ ของใช้ที่วางบนหิ้งของปู่พญา มีหมอน เสื่อ ขันใส่
หมากพลู แจกนั ดอกไม้ และน้ำต้น
▪ ของกินที่ถวายหอเสือ้ บา้ นมี หมาก เม่ยี ง บุหร่ี นำ้ ขา้ ว อาหาร ผลไม้ ขา้ วต้ม และขนม

๒.๒ หอเสื้อบ้านหอเล็ก

▪ ทำด้วยเสาไม้เนื้อแข็ง นอกนั้นจะเป็นไม้ไผ่ เสาทีใ่ ช้ในการ
สร้างหอเส้อื บ้านหอเลก็ จะใช้เสา ๔ ต้น ยกพนื้ หลังคามุงดว้ ย
หญ้าคา

▪ ของท่เี ป็นบริวารอยู่ในหอเสอื้ หอเลก็ มี รปู ปน้ั ตา ยาย นางรำ
และมา้ สขี าว ๒ ตัว

▪ ของกินท่ีถวายหอเส้ือบ้านหอเล็กมี ข้าว ไกต่ ้ม ๑ ตัว ขนม
ของหวาน และผลไม้

ในการทำพิธีจะมี ปู่ตั้ง (ผู้ประกอบพิธกี รรม) คือ ผู้นำการทำพิธีไหวเ้ จ้า ลักษณะของปู่ตง้ั
จะต้องเป็นคนที่น่าเชื่อถอื และเป็นคนชนเผ่าบีซูเทา่ นั้น วิธีการจัดหาเสี่ยงทาย คือ ให้ชาวบ้านเสนอช่อื คน
ในหมูบ่ ้านบีซมู าประมาณ ๓ – ๔ คน โดยการเส่ียงทายเก็บเมล็ดข้าว ให้ปู่ต้ังเป็นคนเสีย่ งทาง ถามอังจาวว่า
ชอบอยกู่ ับคนไหน ถ้าชอบ ต้องเกบ็ เมล็ดข้าวให้ได้ ๔ ค่เู ทา่ น้ัน ถ้าได้ช่ือใคร คนนน้ั จะต้องยอมรับเป็นปตู่ ง้ั คนใหม่

หน้าท่ขี องปตู่ ้งั ปพู่ ญา คือ เป็นผ้ดู ูแลสถานทีห่ อเสอื้ บา้ น เปลีย่ นนำ้ ทุกวันพระ เปล่ียนแจกนั ดอกไม้
และถวายผลไม้ทกุ วันพระ ช่วงเข้าพรรษาทกุ ๆ วนั พระ จะต้องอันเชิญองั จาวไปวัด โดยในตอนเช้า ชาวบ้านจะเอา
ขา้ ว อาหาร ขนม ผลไม้ และกรวยดอกไม้ เอาไปใส่ในตะกร้าของปพู่ ญา และปู่ตงั้ จะเอาของทีช่ าวบ้านใส่ในตะกรา้
ไว้เอาไปถวายใหป้ พู่ ญา ตลอดระยะเวลา ๓ เดอื นชว่ งเข้าพรรษา

ผู้ท่ถี ือปฏิบัติมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม

ชอ่ื นายคำมา วงคล์ วั ะ

ที่อยู่ หมู่ ๗ บ้านดอยชมภู ตำบลโปง่ แพร่

อำเภอแมล่ าว จงั หวดั เชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๖๕-๖๔๗-๑๐๘๔

52

ลาพี ซ่าทอ หรือ ลาบพริกสมุนไพร

เป็นอาหารพ้ืนถน่ิ ของชนเผ่าพื้นเมืองบซี ู ลาบพรกิ สมนุ ไพร
เป็นอาหารที่สามารถทำได้ง่าย เมื่อเข้าเดินทางเข้าปา่
เพราะขั้นตอนการทำไม่ยุง่ ยาก และผักสามารถหาตาม
พื้นบ้านได้ รสชาติของลาบพรกิ สมุนไพร ต้องมีความเผ็ด
เค็ม หอม นำผักที่ใชเ้ ป็นส่วนประกอบเป็นผกั สดและผกั
ที่นำมามีประโยชน์ทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง และ
มสี รรพคุณในการปอ้ งกันโรค

ส่วนประกอบ

1. ผกั ไผ่ (เกบ็ ในหมูบ่ ้าน)
2. กระเทียม 1 - 2 หวั
3. พรกิ ขีห้ นู 5 – 7 เม็ด ตามความชอบ
4. พริกหนมุ่ ซ้อื จากตลาดหรอื ปลกู เอง 10 – 15 เม็ด
5. ยอดส้มป่อย เก็บได้บริเวณริมรั้วในหมู่บ้าย ใช้ยอด

ประมาณ 1 กำมอื
6. ใบตน้ หอม (หอมแป้น) เก็บได้บริเวณท่ีมนี ้ำชุ่มชืน้ ใน

หมู่บา้ น ใชใ้ บประมาณ 1 กำมอื
7. ใบขิง หรือหัวขงิ ปลูกกินเองในครอบครัว ใช้ใบ 1 กำมอื หรอื ใชห้ ัวขงิ 1 หัวเลก็
8. ตะไครป้ ระมาณ 3 – 4 ต้น ปลูกกนิ เองในครอบครัว
9. ปลาร้าแห้ง ซ้ือจากตลาด ประมาณ 5 – 10 ตวั
10. เกลือ ซื้อจากตลาด ใชต้ ามความเหมาะสม
11. ผกั ลวกกินคู่กันกบั ลาบพริก เชน่ มะเขอื ใบชงโค ใบมันสำปะหลงั ถ่วั ฝกั ยาว หรือผกั ตามชอบ

อปุ กรณท์ ่ีใช้
1. กระบอกไมไ้ ผผ่ า่ คร่งึ ไปตดั เองในปา่ เลือกลำไม้ไผ่

ที่แก่แล้ว ตั้งตรง ตัดให้ได้ขนาดยาวประมาณ
1 ศอก หรือ 1 ปล้อง ผา่ ครึง่ แล้วนำมาใช้ไดเ้ ลย
2. มีดปลายแหลม ขนาดยาว

53
ขัน้ ตอนการทำ

1. นำตะไครม้ าสบั ในกระบอกไม้ไผเ่ ปน็ ลำดบั แรก จะทำให้
เวลาสับแลว้ ไม่กระเดน็ ออกมา

2. นำพริกหนุ่ม, ยอดส้มปอ่ ย, ใบขงิ หรอื หวั ขงิ , กระเทยี ม,
เกลือ, หอมแปน้ , ใบผกั ไผ่ สบั ใหล้ ะเอียดในกระบอกไม้
ไผ่

3. นำปลารา้ แหง้ และพรกิ ข้หี นสู บั ใหล้ ะเอียด

4. นำมารับประทานพร้อมกับผักสดต่างๆ และผักลวก
ตามทชี่ อบ รบั ประทานกบั ข้าวเหนียว

เคลด็ ลับ

▪ การใช้กระบอกไมไ้ ผ่ผา่ เพ่อื เวลาสับผกั จะไม่กระจายออกนอกเขียง
▪ การใชเ้ ขียงทว่ั ไป อาจทำใหม้ ีกลิ่นคาวจากเขียงที่ใชเ้ ป็นประจำ
▪ ควรเรม่ิ จากการสับผกั ทม่ี คี วามแข็งก่อน เพ่อื ความละเอยี ด

ผูท้ ถ่ี อื ปฏบิ ตั ิมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม

ชอ่ื นางสาวยุพารัตน์ ติคำ

ทีอ่ ยู่ บ้านเลขท่ี ๑ หมทู่ ี่ ๗ บ้านดอยชมภู ตำบลโป่งแพร่

อำเภอแม่ลาว จงั หวัดเชยี งราย

หมายเลขโทรศัพท์ 086-086-7382

54

ไมก้ วาดดอกหญา้ เกดิ จากการนำเอาความคิด

ผสมผสานกบั จินตนาการ บวกกบั ได้ประยกุ ต์วสั ดุที่มอี ยู่ในท้องถิ่น
มาทำเป็นไม้กวาดจากดอกหญ้า เป็นการดัดแปลงวัตถดุ บิ ที่มีอยู่
ให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้ โดยให้เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน
ซึ่งเป็นการนำวัตถุดิบทีอ่ ยู่ใกล้ตัว นำมาดัดแปลงเป็นสิ่งของ
เครือ่ งใช้ในครัวเรือน จากขนั้ ตอนการผลิตทีง่ ่ายๆ และค่อยพัฒนา
ประยกุ ตใ์ ชต้ ามวัสดุที่มีอยู่ พร้อมคำนึงถึงประโยชนข์ องการใช้สอย
และทำสืบทอดจากบรรพบรุ ุษ จนถึงปจั จุบัน ซึ่งกรรมวิธีต่างๆ
ที่มาจากกระบวนการและข้ันตอนการผลติ ลว้ นมาจากสตปิ ัญญา
และการใช้ภูมิปัญญา ของบรรพบุรุษ ผลิตภัณฑท์ ี่ได้ และนำมา
ใชส้ อยกับชีวติ ประจำวัน

ดอกหญ้าไม้กวาด หรือเรียกว่า“ดอกหญ้ากง๋ ” จัดเป็นพืชลม้ ลุกตระกูลหญ้า มีลำต้นตั้งตรง
ลำตน้ แตกกอคลา้ ยกอไผ่ ลำต้นมลี กั ษณะทรงกลม แบ่งเปน็ ขอ้ ปลอ้ งชัดเจน ดอกหญ้าไม้กวาดเป็นพืชที่เกิดขึ้น
ตามธรรมชาติ อยู่ตามเชิงเขาหรือพ้ืนทส่ี งู สว่ นใหญ่จะเก็บได้ในช่วงเดือนธันวาคม–เมษายน ซึ่งชว่ งทีด่ อกออกมาก
ท่ีสุดจะอย่ใู นชว่ งต้นเดือนมกราคม และสามารถเกบ็ เกี่ยวเอาดอก กง่ิ กา้ น มาทำเป็นไมก้ วาด ทำความสะอาด
ภายในครัวเรือน

แม่บุญรอด ปิดทะเหล็ก ได้นำวตั ถุดิบทใ่ี ชท้ ำ ไม้กวาด
จึงได้นำความรู้ วธิ ีการทำไม้กวาดดอกหญ้า มาเผยแพร่ให้กับ
คนในครอบครัว ญาติพี่น้องได้ทำใช้ในครัวเรือน และขาย
ให้กับคนในหมู่บ้าน และเมื่อมีผู้ผลิตมากขึ้น เหลือใช้
ในครัวเรือนจึงนำออกขายให้กับเพื่อนบ้าน ต่างหมู่บ้าน
ต่างตำบลและออกเป็นวงกว้าง นอกจากนั้นยังมีพ่อค้ามา
รับซื้อเพือ่ ไปจำหน่าย ทำให้เร่ืองการทำไมก้ วาดกลายเปน็
อาชีพหลัก และเป็นอาชีพเสริมของหลายครอบครัวสร้าง
รายได้ใหก้ ับตนเอง เปน็ อาชพี ที่ทำรายไดต้ ลอดทงั้ ปี

ลักษณะเด่นท่เี ป็นอัตลกั ษณข์ องขอ้ มูล

▪ ไม้กวาดของที่นี่ เมื่อได้รับดอกหญ้ามาแล้วจะทำ
การคัดดอกหญ้าอย่างพิถีพิถัน จะไม่ใช้ดอกหญ้า
ที่แก่ เนื่องจากหญ้าแก่จะมีความแห้งและกรอบ
จะทำให้เวลาใช้กวาดพน้ื ดอกหญา้ จะร่วงตกได้

▪ แต่ละขั้นตอนการมดั ประกอบ ตอ้ งใช้ความชำนาญ
▪ มกี ารสรา้ งลวดลายแบบดงั้ เดมิ และแบบสมยั ใหม่

55

อุปกรณก์ ารทำไมก้ วาดดอกหญา้

๑. เข็มเย็บกระสอบ
๒. เชอื กฟาง
๓. ไม้ไผ่ ความยาวประมาณ ๘๐ ซม.
๔. ดอกหญา้
๕. ตะปูขนาด ๑ นิ้ว จำนวน ๒ ตวั

ข้นั ตอนการทำไม้กวาด

๑. นำดอกหญ้ามาทำความสะอาดและตากแดดให้แห้งคัดเลือก
เฉพาะดอกหญ้าทมี่ คี ุณภาพดี ไมแ่ ก่

๒. นำดอกหญา้ ปริมาณ ๑ กำมอื มดั ให้เปน็ วงกลม
๓. นำเขม็ เย็บกระสอบ ซง่ึ ร้อยเชอื กฟางไวแ้ ลว้ แทงเขา้ ตรงกลางมดั

ดอกหญ้า แล้วถกั ขึ้นลงแบบหางปลา ใหไ้ ด้ ๓ ชน้ั พร้อมจดั ดอก
หญา้ ให้มลี กั ษณะแบน
๔. ตัดโคนดอกหญา้ ใหเ้ สมอกัน
๕. นำดา้ มไมไ้ ผเ่ จาะรูทห่ี วั ไว้สำหรบั หอ้ ยเชือก และเจาะรตู รงปลาย
นำมาเสยี บเขา้ ตรงกลางมัดดอกหญา้
๖. นำเชือก หรือฟางมดั ดอกหญา้ ไวด้ ว้ ยกัน โดยนำเชือกมาสอดตรง
รทู ่ีเจาะ เพ่ือปอ้ งกันไมใ่ ห้ดอกหญา้ หลดุ ออกจากกัน
1. ตอกตะปูท่เี ตรียมไว้ เพอื่ ใหด้ อกหญา้ ติดกบั ดา้ มไมไ้ ผ่ และมคี วาม
แขง็ แรงข้ึน

** เคลด็ ลับทำให้ไมก้ วาดแข็งแรง ควรนำดอกหญ้าตากแดดใหแ้ ห้งสนทิ กอ่ นมัด จะได้ไม้กวาดทมี่ ี
ความแขง็ แรง ไมห่ ลดุ ง่าย เมื่อถงึ เวลาใชง้ าน

ผูท้ ี่ถอื ปฏบิ ตั ิมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ นางบุญรอด ปิดทะเหลก็
ทอ่ี ยู่ หมู่ ๕ บา้ นแม่ผง ตำบลปา่ ก่อดำ อำเภอแม่ลาว

จังหวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘๔-๑๗๐-๓๗๓๐

คำขวัญอำเภอเทิ ง

พระธาตุจอมจ้อคู่บ้าน
น้ำลาวหงาวอิงคู่เมือง

ภูชี้ฟ้าลือเลื่ อง
งามประเทืองดอกเสี้ยวบาน

สภาวัฒนธรรมอำเภอเทิง

อำเ5ภ7 อเทิง

ประวตั คิ วำมเปน็ มำ

เมืองเทิงหรือเวียงเทิงเป็นเมืองขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนเนินเขาคลุมทั้งสองฟากน้าแม่อิง ควบคุมเส้นทาง
คมนาคมที่ส้าคัญในลุ่มน้าอิง ภายในเขตเมืองทั้งสองฝ่ังแม่น้ามีซากวัดวาอาราม เศษภาชนะดินเผาเคลือบและ
ไม่เคลือบอยู่ทั่วไป นอกจากนั้นยังพบพระพุทธรูปและชิ้นส่วนพระพุทธรูปสกุลช่างพะเยาตามท่ีต่าง ๆ ท่ัวไป
อ้าเภอเทิงมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เริ่มมีการกล่าวถึงตั้งแต่สมัยขุนเจ๋ือง ราชโอรสขุนจอมธรรม ผู้ปกครอง
เมืองภูกามยาว (จังหวัดพะเยาในปัจจุบัน) ประมาณ จ.ศ. 482 (พ.ศ. 1663) เป็นหัวเมืองที่ส้าคัญของ
เมืองภูกามยาว โดยเมืองเทิงอยู่ในความปกครองของราชวงศม์ ังรายราวพทุ ธศตวรรษที่ 20-21

ต่อมาการปกครองไดแ้ ตกสาขาแยกเมืองออกปกครองมากขึ้น เมืองเทงิ จดั อยู่ในเขตปกครองของบริเวณ
นครน่าน ตามพระราชบัญญตั ิปกครองท้องท่ี ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2438) เรียกว่า ก่ิงแขวงเมืองเทิง เป็นหัวเมือง
ของบริเวณน่านเหนอื (หัวเมืองชั้นนอกที่อย่หู ่างไกลเรียกวา่ "บริเวณ" มีข้าหลวงบริเวณดูแล) ก่ิงแขวงเมืองเทิง
ได้จัดแบ่งหมู่บ้านต่าง ๆ เป็น 14 แคว้น เช่น แคว้นเวียงเทิง มีเจ้าหลวงเทิง (ไชยสาร) เป็นบุตรของเจ้าพรหม
สุรธาดาแห่งนนั ทบุรีศรนี ครนา่ นเป็นเจ้าหลวงเมืองเทิงองค์สุดท้าย แคว้นบ้านหงาว แคว้นตับเต่า แคว้นนา้ แพร่
แคว้นบ้านเอียน และแคว้นบ้านง้ิว ในพ.ศ. 2442 กระทรวงมหาดไทยจึงให้พระยามหาอ้ามาตยาธิบดี
(เสง วิริยศิริ) เม่ือครั้งเป็นพระยาศรีสหเทพราชปลัดทูลฉลอง ขึ้นมาจัดวางระเบียบการปกครองในมณฑล
ตะวันตกเฉียงเหนือ อันเนื่องแต่ได้ใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องท่ี ร.ศ. 116 แล้วนั้น และ
เพ่ือที่กระ ทรวง มหาดไ ทยจะ ไ ด้ตราข้อบัง คับส้าหรับปกครอง มณฑลตะ วัน ตกเ ฉียง เหนือขึ้น ใช้ใน ปี ต่ อ ไ ป
ปีน้ีพระยามหาอ้ามาตยาธิบดีได้มาท่ีจังหวัดน่าน พร้อมด้วยพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (คร้ังน้ันยังเป็น
เจ้าสุริยะพงษ์ผริตเดช) เจ้าผู้ครองนคร พระยาสุนทรนุรักษ์ (เล่ือง ภูมิรัตน์) ข้าหลวงประจ้าเมืองและเจ้านาย
ท้าวพญาทั้งปวงประชุมปรึกษาตกลงวางระเบียบราชการข้ึนใหม่ การปกครองท้องที่ใหม่ ได้แบ่งเขตแขวงเมอื ง
นา่ นออกเปน็ 8 แขวง แขวงนา้ องิ คอื หน่ึงในแขวงทงั้ ๘ คือรวม เมืองเทงิ เมืองเชียงค้า เมอื งเชยี งแลง เมืองงาว
เมอื งเชียงของ เมอื งเชียงเค่ียน เมอื งลอ เมืองมนิ ใหม้ ที ว่ี ่าการแขวงต้ังท่ีเมืองเทิง ในปี พ.ศ. 2457 แต่ตอ่ มาได้
แยกการปกครองจากจังหวัดน่านมาขึ้นตรงต่อจังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2475 แบ่งการปกครองออกเป็น
10 ต้าบลอ้าเภอเทิง หมายถึงอ้าเภออยบู่ นทร่ี าบสูง มนี า้ แมอ่ ิงไหลจากจงั หวดั พะเยา ผ่านอ้าเภอเทงิ ไปลงแม่น้า
โขงท่ีอ้าเภอเชียงของ จากลุ่มน้าแม่อิงน้ีเอง แสดงว่ายุคโบราณดึกด้าบรรพ์ บ้านเมืองท่ีอย่ลู ุ่มน้าแมอ่ ิงยอ่ มเกย่ี ว
ดองเป็นเครือญาติ แล้วมีลักษณะสังคมและวัฒนธรรมเดียวกัน เทิง ในชื่ออ้าเภอเทิง หมายถึงบริเวณที่สูง
เห็นได้จากแผ่นดินบริเวณน้ันยกตัวขึ้นสูงกว่าบริเวณอื่น ดูได้จากถนนที่ไปจากจังหวัดพะเยา เม่ือจะเข้าอ้าเภอ
เทิง ถนนจะค่อยๆ ลาดสูงข้ึน บริเวณอ้าเภอเทิงเป็นเขตที่สูง มีคนอยู่อาศัยร่วมสมัยกับเมืองพะเยา ,
เมืองเชียงราย ต้ังแต่ยุคก่อนรับพุทธศาสนา หรือก่อน พ.ศ. 1700 แล้วเติบโตเรื่อยมาจนรับพุทธศาสนา
ถงึ มคี นู ้าคันดินเปน็ บ้านเมอื งลุม่ น้าองิ แล้วมฝี มี ือช้านาญทา้ พระพทุ ธรูปหนิ ทรายจ้านวนมากมายทัง้ ลุม่ น้าอิง

กล่าวถึงเมืองเทิง(เมืองเติง) เมืองทเลิง(เมืองต๊ะเลิง) เมืองเธิง(เมืองเทิง) เมืองเซิง หรือเมืองเชิง
เม่ือตะก่อน(แตก่ อ่ น)เมืองเทิงเปน็ เมืองท่ีมอี ้านาจเฉพาะ เจ้าเมอื งเทิงองคส์ ุดทา้ ยคอื เจ้าหลวงเทงิ (ไชยสาร) เป็น
บุตรของเจ้าพรหมสุรธาดา หรือเจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญ ต่อมาเป็นเจ้าเมืองน่านเพราะไปสวามิภักด์ิ ร.1
แห่งกรุงสยาม เมืองเทิงจึงถูกรวมกับเมอื งน่าน จนถึงในสมัยร.5 แห่งสยามได้แยกไปรวมกับเมืองแถวๆนั้นเป็น
น่านเหนือต่อมาแยกเป็นจังหวัด (น่าจะอยู่ในอ้าเภอพะเยา) แต่มาเม่ือแยกพะเยาออกจากจังหวัดเชียงราย
ชอื่ เมืองเทิงกต็ ิดไปทางเชยี งรายจนกลายเปน็ อ้าเภอหนงึ่ ไป

ในตา้ นานพระเจ้าเลยี บโลกทพ่ี ระองคเ์ สดจ็ มาแล้วประทานพระเกศาธาตุ ซ่งึ บรรจอุ ยใู่ นพระธาตจุ อมจ้อ
และท้านายว่าต่อไปนี้จะมีเมอื งชอื่ เมืองเทิง อันหมายถึงการมาถึงของพระพุทธองค์ ท่ีเมอื งเทงิ เป็นแหล่งท่ีค้นพบ
พระพุทธรูปหินทราย อันเป็นฝีมือช่างสกุลพะเยา อันแสดงถึงว่าในอดีตถูกครอบง้าทางศิลปวัฒนธรรมจาก
เมืองภูกามยาว เมืองเทิงเป็นเมืองน้อยแต่ก้าลังคนมากเมืองเทิงจึงถือเป็นเมืองท่ีมีฐานะเป็นเมืองโทนคือไม่ใช่
เมืองขึ้น หมายถึงขึ้นโดยตรงต่อเมืองเชียงใหม่ (ขอยกตัวอย่างเมืองข้ึน เช่นเมืองวังเหนือ/ปัจจุบันอยู่บริเวณ
จงั หวัดลา้ ปาง เมอื งวังเหนือข้นึ ตอ่ เมอื งเชียงราย ดงั นนั้ เมืองโทนคอื เมืองเชยี งราย)เช่นเดยี วกนั เมืองเทิงก็เหมือน
เมืองน่าน เมืองแพร่ เมืองละคอน เมืองเชียงราย เมืองเชียงแสน คือเป็นเมืองโทน อาณาเขตเมืองเทิงน้ัน
ในปจั จุบันถูกแบง่ เขตเปน็ อา้ เภออีก 2 อ้าเภอ คอื อ้าเภอเทงิ แบง่ ไปเปน็ อ้าเภอขุนตาล (สว่ นหนึง่ ทางทศิ ใต้และ
ตะวันตก) และ(กง่ิ )อา้ เภอพญามงั รายทั้งหมด

เมืองเทิงก่อนหน้านนั้ ส้าคัญมากเพราะสืบเ5ช8ื้อสายมาจากเจ้าเมืองนา่ น หรือเป็นลูกหลานเจ้าเมืองนา่ น

มาปกครองหัวเมืองเทิง ทา้ ใหป้ ระวัติ ยังไมช่ ดั เจน เนอื่ งจากเปน็ ช่วงสงคราม และการตอ่ สู้ไมว่ ่าจะเป็นการกบฏ
เง้ียว หรือกับพม่า แต่มีหลักฐานส้าคัญคือบรรดาลูกหลานที่สืบสกุลมาจากเจ้าเมืองเหล่าน้ันต่างนับถึอกันเป็น

ญาติกันมาอยา่ งเหนียวแน่น ดังต่อไปน้ี นามสกุล ณ น่าน กิติลือ มหาวงศ์นันท์ มหาวงศ์ วงศ์วุฒิ ต้นค้า (ต้นค้า

ไม่พบแล้ว) วุฒิพรม ซึ่งจะสังเกตได้จากผู้หลักผู้ใหญ่ในอ้าเภอเทิงส่วนมากก็มาจากสกุลนี้ และจะไปอยู่ในต้าบล
รอบนอกท่ีเป็นแวน้ แคว้นในสมัยก่อนก็มี ปู่ย่าตาทวด ของนามสกุลเหล่าน้ี ชาวบ้านอ้าเภอเทิงส่วนมากจะเรียก
ค้าน้าหน้านามว่า พ่อนายแม่นาย อันหมายถึงลูกหลานเจ้าเมืองเม่ือก่อน ซ่ึงต้องเทียบเคียงกับเอกสารกับทาง
เมืองน่าน หรือพงศาวดารเมืองน่าน เพราะว่าเป็นเหตุการณ์ก่อนท่ีเมืองน่านที่เป็นรัฐอิสระ จะสวามิภักด์ิต่อ

กรงุ รตั นโกสินทร์ ดังนนั้ เมืองเทงิ ตอนน้นั จงึ ถือว่าเป็นเมอื งสา้ คญั ของเมืองนา่ น

อ้าเภอเทิง มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เร่ิมมีการกล่าวถึง ตั้งแต่สมัยขุนเจื๋อง ราชโอรสขุนจอมธรรม
ผู้ปกครองเมืองภูกามยาว (จังหวัดพะเยาในปัจจุบัน) ประมาณจุลศักราช ๔๘๒ (พ.ศ.๑๖๖๓) เป็นหัวเมืองที่

ส้าคัญของเมืองภูกามยาวนคร ต่อมาการปกครองได้แตกสาขาแยกเมอื งออกปกครองมากข้ึน เมืองเทิงจัดอยู่ใน

เขตปกครองของบริเวณนครน่าน ตามพระราชบัญญัติปกครองท้องท่ี ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ.๒๔๘๓) เรียกว่า
“กิ่งแขวงเมืองเทิง” เป็นหัวเมืองของบริเวณน่านเหนือ (หัวเมืองช้ันนอกท่ีอยู่ห่างไกลเรียกว่า “บริเวณ”
มีขา้ หลวงบริเวณดแู ล) ก่ิงแขวงเมืองเทงิ ไดจ้ ัดแบง่ หมบู่ า้ นตา่ งๆ เป็น ๑๔ แคว้น คือ

๑. แคว้นเวยี งเทิง ๒. แคว้นบ้านหงาว
๓. แคว้นตับเต่า ๔. แควน้ บา้ นแพร่
๕. แคว้นบ้านเอยี น ๖. แคว้นบา้ นงิว้

๗. แควน้ บา้ นแมต่ า้ ๘. แควน้ บ้านเก๋ียง
๙. แคว้นแมต่ ๊าก ๑๐. แคว้นบ้านปล้อง

๑๑. แควน้ บ้านเชยี งเคี่ยน ๑๒. แคว้นบา้ นปา่ ตาล
๑๓. แควน้ บา้ นสัก ๑๔. แควน้ บา้ นดอนไชย
พ.ศ.๒๔๔๗ ทางราชการไดโ้ อนเมอื งเทงิ และเชียงของ จากบรเิ วณนา่ นเหนือข้ึนกับเมืองเชียงรายเฉพาะ
ก่ิงแขวงเมอื งเทิง มพี ระยาพศิ าลครี เี มฆ เป็นผปู้ กครอง ระยะเวลานานเทา่ ใดไม่ปรากฏหลักฐาน และพ.ศ.๒๔๕๗
ทางราชการได้ยกฐานะกิ่งแขวงเวียงเทิงเป็น “อ้าเภอเทิง” ขึ้นต่อจังหวัดเชียงราย มีนายอ้าเภอเทิงคนแรกชื่อ
ขนุ วฒั นานุการ (ร.อ.ท.โปะ๊ วัฒนะสมบตั ิ)
ลักษณะทางกายภาพ
ที่ตง้ั

อ้าเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงราย ระยะทางห่างจากตัวจังหวัด
ประมาณ ๖๕ กิโลเมตร ระยะทางห่างจากกรุงเทพ ๘๙๑ กิโลเมตร ลักษณะพ้ืนท่ีโดยประมาณ ๗๙๕ ตาราง
กิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและท่ีราบเชิงเขาสลับกับพ้ืนท่ีภูเขาแยกเป็นที่ราบ ๔๕๖
ตารางกโิ ลเมตร พน้ื ทภ่ี ูเขา ๓๑๕ ตารางกโิ ลเมตร ลักษณะภูมอิ ากาศมี ๓ ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดหู นาว และฤดรู ้อน
อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด ๓๐.๗๐ ในเดือนเมษายน ต่้าสุด ๑๘.๖๐ ในเดือนธันวาคมและมกราคม พ้ืนที่มีความ

เหมาะสมในการปลูกขา้ ว พชื สวน และพืชไร่ โดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ ทงั้ ๔ ทิศดงั นี้
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับ อ้าเภอพญาเม็งราย อ้าเภอขุนตาล อ้าเภอเวียงแกน่ อ้าเภอเวยี งชัย จังหวดั เชยี งราย
และสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
ทิศใต้ ติดต่อกับ อ้าเภอภูซาง อ้าเภอจุน อ้าเภอเชียงค้า จังหวัดพะเยา และอ้าเภอป่าแดด จังหวัด
เชยี งราย
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ้าเภอภูซาง อ้าเภอเชียงค้า จังหวัดพะเยา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ้าเภอเมืองเชียงราย อ้าเภอป่าแดด อ้าเภอเวียงชัย อ้าเภอพญาเม็งราย
จงั หวดั เชียงราย

ทั้งน้ี มีแนวเขตตดิ กับสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาวประมาณ ๑๖ กิโลเมตร

59

แหล่งทอ่ งเทยี่ ว

๑. ภชู ฟ้ี ้า
อย่ใู นเขตบ้านร่มฟ้าไทย หม่ทู ี่ ๒๔ ตา้ บลตบั เต่า อา้ เภอเทงิ วนอทุ ยาน ภูช้ีฟา้ เป็นจดุ ชมวิวทะเล
หมอกและพระอาทิตย์ท่ีสวยงามที่สุดแห่งหนึ่ง มีลักษณะเป็นยอดเขาท่ีแหลมชี้ขึ้นไปบนท้องฟ้า อยู่สูงจาก
ระดับนา้ ทะเลประมาณ ๑,๖๒๘ เมตร โดยมีหน้าผาเปน็ แนวยาวขึ้นไปทางฝงั่ ประเทศลาว เบือ้ งลา่ งเป็นหมู่บ้าน
ลาวเชยี งตอง บนยอดภชู ้ีฟา้ เป็นทงุ่ หญา้ กวา้ งแซมด้วยทงุ่ โคลงเคลง ที่มดี อกสีชมพอู มมว่ ง ออกดอกบานระหว่าง
เดือนกรกฏาคม – มกราคม การเดนิ ทางจากเชียงราย ระยะทาง ๑๑๑ กโิ ลเมตร โดยใชเ้ สน้ ทางเชียงราย – เทิง
ระหวา่ งทาง ขึน้ ภชู ้ีฟา้ ในฤดหู นาวจะเหน็ ดอกเส้ยี วบานสะพรง่ั สวยงามตลอดเสน้ ทาง
ภูช้ีฟ้า อยู่สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 1,628 เมตรโดยมีหน้าผาเป็นแนวยาวย่ืนไปทางฝั่ง
ประเทศลาว เปน็ ยอดเขาสงู ท่สี ดุ ในเทือก เขาดอยผาหมน่ ด้านท่ีติดสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ยอด

ภชู ีฟ้ า้ มีลกั ษณะเป็นผาที่มแี หลมย่นื ข้ึนไปบนฟ้าจงึ เรียกวา่ ภูช้ีฟ้า โดยมองเหน็ ภเู ขาช้ขี ้ึนไปบนฟ้าทมี่ ลี กั ษณะเป็น
ภูเขาสูงท้ามุม 45 องศา ซ่ึงด้านบนมีพื้นที่ราบให้เดินเท่ียวชมประมาณ 1 กิโลเมตร
ด้านหน้าเป็นหน้าผาสูงมองเห็นหมู่บ้านเชียงตองในประเทศลาว มีจุดชมวิวยอดนิยม
อยู่ 2 จุด คือบริเวณ ยอดภูและบริเวณ ลานก่อนถึงยอดซ่ึงจะเห็นภูเขาช้ีได้อย่างชัด

เจร ไฮไลต์ส้าคัญ ของการมาเท่ียวภูชี้ฟ้า คือ มาเฝ้ารอชมพระอาทิตย์ขึ้นและทะเล
หมอกสุด อลังการคลอภูขาที่สวยงาม ชมเอกลักษณ์ทางธรรมชาติ ที่ไม่มีใครเหมือน
น่ันคือ ลักษณะภูเขา ที่ชี้ไปบนฟ้า หากนักท่องเที่ยวเดินทาง มาในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ –
มีนาคม จะเป็นช่วงเวลา ท่ีดอกเส้ียวหรือ ชงโคป่าจะผลิดอกสีขาวบานสะพรั่งเต็มเชิงเขา หากมาเยือน ภูชี้ฟ้า
ในช่วงปีใหม่ยัง ได้ชม งานปีใหม่ท่ีชาวม้งจะแต่งตัวม้งครบถ้วนท้ังหญิงและชาย จุดเด่นของงานคือ การโยนลูก
ช่วงหรือลูกหิน ระหว่าง หนมุ่ - สาว

๒. น้าตกตาดหมอก 60

ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีของหมู่18 บ้านธาตุ ต้าบลตับเต่า ห่างจากถนนลาดยางสายหลัก ประมาณ 3.5
กิโลเมตร เป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีทาง องค์การบริหารส่วนต้าบล ตับเต่าได้สนับสนุน และส่งเสริมเป็นแหล่ง

ท่องเทย่ี ว เชือ่ มต่อกบั นา้ ตก ตาดห้วยใคร้ ซึ่งอยู่หา่ งจากนา้ ตกหว้ ยใครประมาณ 10 กม. น้าตกตาดหมอก เป็น

น้าตกขนาดกลาง ความสูงข้องน้าตกมปี ระมาณ 10 ชั้น สูงต้่าลดหล่ันกันไป บางช้ันสูงถึง 30 เมตร ป่าบริเวณ
เข้าสู่น้าตกค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การท้าการท่องเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ์ ก่อนถึงน้าตกทางเข้า
ทั้งสองข้างทางเป็นพนื้ ทก่ี ารเกษตรของชาวบ้านท่ีควรสง่ เสริมเพ่ือเสริมการทอ่ งเท่ยี วได้อีกทางหน่งึ โดยผลผลิต
ส่วนใหญ่เป็นผลไมย้ ืนต้นเช่น ส้ม ส้มโอ เงาะ เป็นต้น และก่อนถึงน้าตกมพี ื้นที่สาธารณะของหมบู่ ้าน ประมาณ

100 ไร่ คาดวา่ จะอ่างกกั เก็บน้า น้าตกตาดหมอก เป็นน้าตกท่สี วยงาม และรอนกั ทอ่ งเท่ียวมาเยีย่ มชมความงาม

ท่ี ยังไม่เคยน้าเสนอมากอ่ น สายน้าท่ีเย็นฉ้า่ และมีน้าตก เป็นช้ันๆ ขน้ึ ไปจน ถึงช้ันสงู สดุ สา้ หรับนกั ทอ่ งเท่ียวที่
อยาก พักผ่อน กับธรรมชาติ ที่สวยงาม ท่ามกลางแมกไม้ใน ผืนป่าแห่งน้ีไม่ควรพลาด สายน้าท่ีทอดสูงเป็น

ละอองหมอก ลมท่ีพัดพริ้ว ไอน้ากระทบ ในบรรยากาศท่ีเรียกว่าคืนชีวิตสู่ธรรมชาติ คงไม่มีใครปฏิเสธ กับ

ความสุข ความสบายใจ และความว่างเปล่าของชีวิต เชิญท่านมาส้าผัส กล่ินไอแห่งธรรมชาติ ณ ต้าบลต้่าเต่า
ดนิ แดนที่รอคณุ คน้ หา
๓. น้าตกตาดไคร้

ตั้งอยู่ในพ้นื ที่ของหมู่ที่ ๒๒ บ้านไคร้เดชบุญเรือง ต้าบลตับเต่า ห่างจากถนนลาดยางสายหลักทาง
หลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑๕๕ สายเทิง – ผาแล เป็นระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร และเดินเท้าเข้าไป
ประมาณ ๒๐๐ เมตร เป็นแหล่งน้าตกขนาดกลาง มีน้าไหลตลอดปี สภาพป่าบริเวณน้าตกเป็นป่าอุดมสมบรู ณ์

ฤดูท่ีเหมาะแก่การเดินทางท่องเท่ียวคือช่วงเดือน ตุลาคม – พฤษภาคม รวมระยะเวลา ๗ เดือน และ
ทางเขา้ กอ่ นถึงบรเิ วณน้าตกมีพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมของชาวบ้านในทอ้ งถน่ิ

4. วัดพระธาตจุ อมจอ้
วดั พระธาตจุ อมจ้อ เปน็ หน่ึงในพระธาตุ 9 จอม และยังเปน็ พระธาตุคู่บ้านคู่เมือง
ของอ้าเภอเทงิ ต้ังอยู่ที่ ม.20 บา้ นเวียงจอมจ้อ ตา้ บลเวียง อา้ เภอเทงิ หางจากท่ีวา่ การอา้ เภอเทงิ
ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงลังกาแบบสถาปัตยกรรมล้านนา
พระธาตจุ อมจอ้ เป็นพระธาตุศกั ด์ิสิทธิทีอ่ ยู่คู่เมอื งเทิงมาตั้งแต่สมยั โบราณกาล ประวัตพิ ระธาตจุ อมจอ้ จากคัมภีร์
เก่าแก่ท่ตี ัง้ โดยนักปราชญผ์ ู้ชา้ นาญในดา้ นภาษาบาลีของอา้ เภอเมอื งเทงิ (เมอื งเถิง) ในสมัยนน้ั ไดก้ ลา่ วว่า ในกาล
สมยั เม่ือพระพทุ ธเจา้ เสด็จมาสวุ รรณภูมิ พระองค์ได้พกั อย่ใู ต้ตน้ อโศกบนดอยใกลน้ ้าแมอ่ ิง มพี ญานาคตนหน่ึง รู้
วา่ พระพุทธองคเ์ สดจ็ มาจงึ เขา้ ไปเฝา้ พระพุทธเจ้า ทูลถามความตา่ งๆแลว้ จงึ นา้ จอ้ ค้า ๓ ผนื แลว้ จอ้ แกว้ อกี ๓ ผืน
มาถวายพระพุทธองค์ พระอานนท์จึงขอทูลพระธาตุให้พระยานาคตนน้ัน พระพุทธองค์จึงน้าพระหัตถ์ลูบ
พระเศียรได้พระเกศาธาตุเส้นหนง่ึ จึงโปรดให้พญานาคไวพ้ ญานาคจึงนา้ ความแจ้งให้เจ้าเมืองเทิงสร้างพระธาตุ

ไว้ทก่ี ลางดอยเพื่อบรรจุพระเกศาธาตุ ตอ่ มาจึงมีการขนานนามพระธาตุนนั้ ว่า พระธาตจุ อมจอ้
5. ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรดอยผาหม่น

เป็นสถานท่ี เพาะปลูกไม้เมืองหนาวหลายชนิด เช่น ดอกทิวลิป

ลิลล่ี ดอกชัลเวียสีแดง ต้นคริสต์มาตย์สีแดง หลากสีหลายพันธ์ุ นอกจากน้ียังมี
ทัศนียภาพทส่ี วยงามเหน็ ภูเขาน้อยใหญ่เรียงสลับกันอย่างสวยงาม สีเขยี วขจีของ
ต้นไม้ แสดงให้เห็น ถึงความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้โดยรอบ ไฮไลต์ท่ีส้าคัญของ
ทน่ี ่ี กค็ งเป็นการเปิดใหเ้ ข้าชมแปลงดอกทวิ ลิปหลากสี ดอกลิลล่ี และยงั มีดอกไมเ้ มอื งหนาวอกี มากมาย บนเนื้อ
ท่ีกว่า 5 ไร่ โดยจะมี จัดเทศกาล ดอยทิวลิปบาน ท่ี ดอยผาหม่น ในช่วงหน้าหนาวของทุกปี
ดอกทิวลิปบานแล้วจะอยู่ได้ราว 1 สัปดาห์เท่านั้น และเป็นดอกไม้ท่ีชอบ อากาศหนาวจะอยู่ในอณุหภูมิท่ี 10-
15 องศาเซียลเซียส ศูนย์ส่งเสริมการเพาะปลูกไม้เมืองหนาว จึงได้ส่งเจ้าหน้าที่ ไปศึกษาอยู่ที่ประเทศ
เนเธอรแ์ ลนด์ เพ่ือศึกษาและทดสอบในการน้าทวิ ลิปเข้ามาปลกู ในเมืองไทย ทวิ ลปิ ของที่ดอย ผาหม่นมีสายพันธ์ุ
เป็นร้อยสายพันธุ์แต่ท่ีทดสอบแล้วปลูกได้ในเมืองไทยมีอยู่ 30 สายพันธ์ุ ส่วนที่น้ามาทดลองปลูกม ี 11 สาย
พนั ธท์ุ ี่ทนทานรับกบั สภาพอากาศบนดอยได้ การปลูกตอ้ งใชห้ นอ่ ท่นี ้าเขา้ จาก เนเธอรแ์ ลนด์ และใชค้ ร้งั เดยี ว ซ่ึง
อุณหภูมิจะเปน็ ตวั ก้าหนดการออกดอก

61 จอ๊ ย

“จ๊อย” คือการน้าค่าวมาแต่ง แต่ไม่มีการบันทึกแน่ชัดว่ามีมาต้ังแต่ในสมัยไหน โดยมีมาต้ังแต่โบราณกาล
ไม่สามารถระบุได้ชัดเจน โดยสมัยก่อนผู้ชายจะไปเท่ียวหาผู้หญงิ จะไม่มีเพลงท้าให้เหงา เกดิ ความกลัวผีและเข้าไม่ให้
การส่ือสารระหว่างชายหญิง จึงท้าให้เกิดการจ๊อยขึ้น ซึ่งมีการสอนกันภายในหมู่บ้านจึงเกิดเป็นการจ๊อย จากนั้น
ตอ่ มาจงึ มคี นนา้ มาต่อใหจ้ ๊อยมีความยาวข้ึน

๑. บทจ๊อยโดยทวั่ ไป เนือ้ หาของบทจ๊อยมกั กลา่ วคร่้าครวญแสดงความรักของบ่าวที่มีตอ่ สาว กลา่ วถึง
บรรยากาศในยาม คา้่ คืน

๒. บทจ๊อยประเภท " ค่าวว้อง " นอกจากบทจ๊อยท่ีแสดงความในใจของบ่าวแล้ว ยังมีบทจ๊อยลักษณะ
พิเศษคือมีลักษณะเป็นบทส้ัน ๆ ท่ีสามารถร้องวนไปวนมาไม่รู้จบได้ ( เช่นเดียวกับ " ซอว้อง ") เรียกว่า" ค่าวว้อง "
ซ่งึ เนือ้ หาจะไม่เกี่ยวกับความรกั แต่จะกล่าวถึงเร่ืองราวของชวี ิตในสงั คม ซงึ่ ถา้ ดอู ย่างผิวเผินจะเป็นบทจ๊อยที่สนุก ๆ
ไมม่ สี าระอะไร แตถ่ า้ พิจารณาอย่าง ลกึ ซึง้ แล้วก็จะทราบวา่ เนื้อหาจะแสดงถึงความขัดแย้งในสังคมบางอย่าง

๓. บทจ๊อยประเภท " ค่าวก้อม " ค่าวก้อมมีลักษณะเป็นบทจ๊อยส้ัน ๆ มักมีเน้ือหาค่อนแคะผู้หญิง
โดยบ่าวจะจอ๊ ยด้วยอารมณข์ ัน เปน็ การยวั่ โมโหสาว ท้าให้บรรยากาศในการเดนิ ไปแอ่วสาวครนื้ เครง สนุกสนาน

จ๊อย” จึงเป็นการขับล้าน้าอย่างหนึ่งของภาคเหนือ เป็นถ้อยค้าที่กล่าวออกมาโดยมีสัมผัสคล้องจองกนั
เป็นภาษาพ้ืนเมือง ออกเสียงสูง ๆ ต้่า ๆ เป็นท้านองเสนาะ ฟังแล้วจะเกิดความไพเราะ สนุกสนานไปตาม
ท่วงทา้ นองจ๊อย จดั อยู่ในวรรณกรรมประเภท “คา่ ว” และ ”ซอ” โดยทวั่ ไป “จ๊อย” จะเปน็ การขบั ลา้ น้าท่ีหนุ่ม
ชาวเหนอื ขบั รอ้ งเพื่อ จะได้มีเสียงรอ้ ง เป็นเพอื่ นขณะเดนิ ทางไปแอว่ สาวในเวลากลางคืน การจ๊อยไม่จา้ เป็นต้อง
มเี ครื่องดนตรีประกอบเหมือนอยา่ งซอ แตบ่ างคร้งั บ่าวอาจจะดีดซงึ ดีดเปี๊ยะหรือสีสะลอ้ คลอไปด้วยก็ได้ ในอดีต
การท่ีหนุ่มสาวจะตกลงปลงใจยินยอมมาใช้ชีวิตร่วมกันฉันท์สามีภรรยานั้น จะต้องเริ่มต้นมาจากการได้พบประ
พูดจา ดอู ุปนิสยั ซ่ึงกันและกนั นานพอสมควร เม่ือเหน็ วา่ มีอุปนิสยั ท่คี ลา้ ยคลึงกนั หรือ มีความพอใจซงึ่ กนั และกนั
กจ็ ะมีการหมน้ั หมายแตง่ งานกนั

ลักษณะเดน่
1. การอา่ นแบบธรรมดา เรยี กว่า “ค่าว”
2. ถ้ามีการอิ้นเสียงขน้ึ ไป เรยี กว่า “ค้าค่าว”
3. ถา้ อิ้นเสยี งใหย้ าวข้ึนไปอีก เรยี กว่า “จอ๊ ย”
ท้านองจอ๊ ย
1. วิงวอน มลี กั ษณะท้านองที่ห้วยโหน
2. โกง่ เฮวบง มีลักษณะท้านองท่ขี ้นึ ๆ ลงๆ
3. มา้ ย่อง มลี กั ษณะท้านองทเ่ี รว็
รูปแบบการอ่าน
❖ อ่านทา้ นองโกง่ เฮียวบง
การอ่านแบบลีลาช้ามีเอื้อน และใช้เสียงยาวส้ันไป
ตามจังหวะดนตรี โดยนยิ มอา่ นเรอ่ื งต่าง ๆ ให้คนฟัง เชน่ อา่ นค่าวซอ ตามเรือนเยน็ (บ้านท่มี ีศพ) หรอื ตามบ้าน
ท่ีนิยมฟงั นิยายเรื่องจกั ร ๆ วงศ์ ๆ ถา้ เปรยี บเทียบกับภาคกลางคอื การอา่ นท้านองเสนาะ
❖ อ่านทา้ นองวงิ วอน
การอ่านแบบต้องการให้ผู้ฟังเกิดความสงสารเมตตา เพราะลีลาเสียงเป็นท้านองสลดสังเวช
นยิ มอา่ นตอนเศรา้ ในเรอ่ื งละครทตี่ ้องการจะให้สะเทอื นอารมณ์ของผฟู้ ัง

ผ้ทู ่ถี อื ปฏิบตั มิ รดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ชื่อ นางสาคร พรมไชยา
ทอ่ี ยู่ 11 หมู่ 15 บ้านสันติราษฎฐ์ ต้าบลง้ิว
อ้าเภอเทงิ จงั หวดั เชยี งราย รหสั ไปรษณีย์ 57160
หมายเลขโทรศัพท์ 089 431 0383

พณิ อสี ำน 62
"พณิ อสี าน" เปน็ เครื่องเสียงชนดิ นึ่งท่ีอยู่คกู่ ับคนอีสาน โดยภาคอสี านจะเน้นในเรอ่ื ง พิณและแคน ซึ่งแคนจะ
เป็นการเป่า ส่วนพิณจะเป็นการบรรเลงด้วยการดีด ท้ามาจากธนู ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีท่ีมีสายขึงเป็นรูปคันธนูใช้ดีด
เล่น พิณ จะมีหลายชนิดแตกต่างตามท้องท่ี ในภาคอีสานของประเทศไทย และมีลักษณะคล้าย "ซึง" ของภาคเหนือ
หรอื มีรปู รา่ งคล้ายกีตาร์แตม่ ีขนาดเล็กกว่า จดั เปน็ เครอ่ื งดนตรีประเภทเคร่ืองสาย โดยท่วั ไปมี 3 สาย ในบางท้องถิ่น
อาจมี 2 หรือ 4 สาย

พิณอีสานจะมีเสียงกังวานสดใส สามารถบรรเลงเพลงได้ทั้งจังหวะอ่อนหวาน เศร้ารันทด และสนุกสนาน
คร้ืนเครง เข้าถึงอารมณ์แบบพื้นบ้าน พิณจึงเป็นเคร่ืองดนตรีช้ินเอกอีกชิ้นหน่ึงของคนอีสาน มักใช้เล่นกับวง
ซอ โปงลาง แคน หมอล้า กลองยาวและจะมีเคร่อื งดนตรีประกอบจงั หวะ เช่น กลอง กรับ ฉ่งิ ฉาบ โหวด

ทั้งน้ีภาคอีสานมีความหลากหลายด้านวัฒนธรรม ประเพณี แต่แคนและพิณถือเป็นเคร่ืองดนตรีหลัก
เพลงท่ีเลน่ ก็จะเป็นเพลงสนุกสนาน ร่าเรงิ เพ่อื กระตนุ้ ความรู้สึกให้กระปรก้ี ระเปร่าสู้กับสภาพอากาศที่ค่อนข้างแห้ง
แล้ง ซ่ึงเป็นกลุ่มวัฒนธรรมแถบอีสานเหนือเป็นส่วนใหญ่ ในสมัยก่อนไม่นิยมประสมวงหรือการบรรเลงด้วยกันจะมี
เฉพาะประเภทกลองยาวแลเคร่ืองดนตรีผู้ไทเท่านั้น ส่วนมากนิยมเล่นเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ เป็นเอกเทศหรือเล่นเดียว
ต่อมาภายหลังได้มีการประสมวงพิณ วงแคน วงโปงลาง ที่นิยมเล่นในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ส่วนวงดนตรีพ้ืนบ้าน
ทีเ่ ปน็ ของชาวบ้าน จะมนี อ้ ยมากที่พอมีอยบู่ ้างก็คือ วงเพชรพิณทองซึง่ น้ามาเลน่ ร่วมกับวงดนตรีลูกทุง่ จนเปน็ ท่ีนิยม
แพร่หลาย และแพร่มายังภาคเหนือในปัจจบุ ัน

เสียงพิณอีสาน ท่ีไพเราะ หวาน ซ่ึง สามารถดีเพลงเศร้า และตีให้มีความสนุกสนานคร้ืนเครงได้
ตามอารมณ์พื้นบ้าน ผู้ทร่ี ับฟงั จะมีอารมณ์ร่วม และพณิ อีสาน ทา้ จากไม้ทีม่ ีน้าหนักเบา คอื ไมข้ นุน ไม้ประดู่ จงึ เป็น
เหตุท้าให้การดีดพิณอีสานมีเสียงท่ีทุ้มกังวาน มีน้าหนักเบา ส้าหรับตัวพิณอีสาน ที่มีขนาดใหญ่และลึกจะมีเสียงดัง
กว่าตวั พณิ ท่ีมีขนาดเล็กและตื้น

ขน้ั ตอนการดดี พิณอสี าน
ผู้ดีดพิณอีสานสามารถนั่งหรือยืนดีดก็ได้ ท่านั่งควรวางตัวพิณไว้ขาขวาหรือขาซ้ายที่ถนัด สามารถน่ังได้
หลายแบบ เช่น น่ังขดั สมาธิ น่ังพับเพียบ ตามแต่ผู้ทดี่ ีดถนดั การกา้ มือซา้ ยท่ี คอพณิ ควรก้าอย่างหลวม เพื่อสามารถ
เคลอื่ นยา้ ยนว้ิ ไปตามคอพิณได้สะดวก โดยใช้หวั แม่มอื ซ้ายซา้ ย
วธิ กี ารบรรเลง
พิณอีสานต้องใช้สายผ้าหรือหนังผูกสายล้าตวั และปลายคันทวนแล้วเอาสายคล้องคอไวัให้ ตา้ แหน่งของพิณ
อยู่ในระดับราบ มือขวาถือท่ีดีดไว้ด้วยนิ้วชี้และหัวแม่มือ การดีดพิณไม่นิยมดีดรัวเหมือนดีดแมนโดลินส่วนมาก
ดีดหนักเบาสลับกันไปเป็น จังหวะ ถ้าบรรเลงจังหวะช้าหรือปานกลางมักนิยมดีดลงทางเดียวจังหวะเร็วมักดีดท้ัง
ขึ้นและลง สายพิณทีใ่ ช้เป็นหลักในการดา้ เนินท้านองมีสองสาย คอื สายเอกและสายทุ้ม
โอกาสทใ่ี ชบ้ รรเลงพิณอีสาน
1. ใชเ้ ปน็ เพือ่ นแกเ้ หงา ชาวบา้ นทีม่ คี วามช้านาญมกั หยิบพิณมาดดี ในยามว่าง
2. ใชเ้ ปน็ นันทนาการระหว่างเพอื่ นฝงู ตามชนบททีห่ ่างไกล นันทนาการของชาวบา้ นมักอาศัยดนตรีพ้นื เมือง
เปน็ พนื้ เพราะเป็นของทีม่ รี าคาถูกหรอื ไม่ต้องเสยี ค่าใช้จ่ายแต่อย่างไร
3. ใช้คบงันหรอื ฉลองงาน ไมว่ า่ ชาวบ้านรวมกล่กู ันท่ีใด ดนตรมี กั เข้าไปมีบทบาทเสมอ เสียงดนตรีพ้ืนเมืองมี
เสียงไมค่ ่อยดงั นกั จะใช้มมุ ใดมุมหนงึ่ ฟงั ดนตรใี หส้ นุกสนานก็ย่อมทา้ ได้
ชือ่ เพลงทใ่ี ชบ้ รรเลงหลักๆ
เพลงปู่ป่านหลาน เป็นแนวเพลงเศร้า เก่ียวกับการเล่าเรื่องราวการเดินทางไกลในทุ่งกุลา หรื มีความหมาย
อกี ประการหน่ึงวา่ คนอีสานจะท้านาอย่างไรในเนอื้ เพลงดว้ ย

ผทู้ ีถ่ อื ปฏบิ ัตมิ รดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ นายภานุเดช ทิสวนนอก
ที่อยู่ หมู่ 4 ต้าบลสันทรายงาม

อ้าเภอเทิง จงั หวัดเชียงราย ๕๗๑๖๐
หมายเลขโทรศพั ท์ 085 706 4114

63

ลำบเปด็ (อำหำรอสี ำน)

"ลาบเป็ด" เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านแต่ด้ังเดิมมาจากภาคอีสาน โดยตามประเพณีลงแขกเกี่ยวข้าว
เปน็ ประเพณีไทยอีกอยา่ งหนึง่ ของชาวนาไทย ซ่ึงชาวอีสานสว่ นใหญ่ จะชว่ ยงานกันคนละมือละไมใ้ ช้เวลาไมน่ าน
งานกส็ ้าเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดส้ มปรารถนา จงึ ไดท้ า้ ลาบเปด็ รบั ประทานร่วมกนั ตามญาติพี่นอ้ ง สกู่ ันกนิ ทั้งนสี้ ้าหรับอีก
ต้านานกล่าวว่า เกิดจากความนิยมเลี้ยงเป็ดไก่ ตามบ้านเรือน เพื่อกินไข่ เมื่อแม่เป็ดแก่ไม่ออกไข่แล้ว จึงน้ามา
เชือดทา้ ลาบเปด็ ซ่งึ มักจะมเี นอ้ื เหนยี ว หนังหนา กรุบกรอบ ปรุงรสจดั ดับกล่ินสาบเปด็ ด้วยเครอ่ื งลาบสมุนไพร
กลนิ่ หอม เป็นภมู ปิ ญั ญาท่ีท้าให้เป็ดแกก่ ลายเปน็ อาหารอร่อย

ลาบเป็ดนั้นเป็นเมนอู าหารอีสานท่ีมีรสชาติแซบ่ นวั และมีกล่ินเฉพาะของเป็ดท่ีแตกต่างจากหมแู ละไก่
นอกจากนี้เน้ือเปด็ ของท่อี ้าเภอเทิง ตา้ บลสนั ทรายงาม จะไมม่ กี ลนิ่ สาป เพราะจะเนน้ การนา้ เปด็ มาท้าเมนูลาบ
จึงต้องอาศัยรสจัดจ้านและกลิ่นของสมุนไพรเป็นตัวช่วย ท้าให้ลาบเป็ดเป็นอาหารอีสานของอา้ เภอเทงิ อีกหนงึ่
เมนูทอ่ี ร่อย และมคี วามหอมสมนุ ไพร

ท้ังนี้ ลาบเป็ดจะนิยมรับประสานกับผักสด ผักต้ม ผักลวก ผักแห้ง ผักดอง รวมถึงผลไม้บางประเภท
กส็ ามารถน้ามาแกลม้ ได้ ลาบเปด็ ของอ้าเภอเทงิ โดยนายสว่าง เรืองบญุ ก้านนั ตา้ บลสันมะเค็ด มกี ารเริ่มต้นจาก
ร้านเล็กๆ ธรรมดาๆ แต่ด้วยฝีมือมีรสชาติท่ีถูกใจ ท้าให้มีผู้คนช่ืนชอบอย่างมาก จนเกิดเป็นภูมิปัญญาของ
อ้าเภอเทงิ ดา้ นความรแู้ ละการปฏิบัตเิ ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละจักรวาล (อาหาร)

ลาบเปด็ ของอ้าเภอเทิง จะมีลักษณะเด่นโดยการน้าเป็ดเทศมาท้า เพราะเปด็ เทศ เปน็ เปด็ พื้นเมอื งพันธ์ุ
เน้ือที่เล้ียงง่าย เติบโตเร็วสามารถใช้อาหารและวตั ถุดิบที่มีในท้องถ่ินได้เป็นอย่างดีให้ผลตอบแทนในระยะเวลา
อันสนั้ เพราะถ้าเปน็ เปด็ อน่ื จะไมม่ คี วามอร่อย จงึ ตอ้ งเปน็ เป็ดเทศเทา่ นน้ั

ขั้นตอนการท้าลาบเป็ด
1.เริม่ จากการชา้ แหละเอาเนื้อเป็ดเทศออก เอากระดูกไว้ต้มน้าซุป แยกหนังออก เน้ือเอาห่ันซอยบางๆ
2.ต้มนา้ เปล่า ใสข่ ่า/ตะไคร้/ใบมะกรูด/รากผักชี ใส่เกลือ 2-3 ชอ้ นโตะ๊ นา้ เดือดกใ็ ส่ชน้ิ ส่วนเป็ดที่แยก
ไวล้ งไปต้ม หรี่ไฟลงต๋นุ ไปเร่ือย ๆ จะไดเ้ ป่อื ย เคร่ืองในพอสกุ กน็ ้ามาซอยบางๆไวใ้ ส่ในลาบ
3.หอมแดงซอยบางๆ แลว้ นา้ ไปเจยี วให้เหลอื งหอม พกั ไว้ ทอดใบมะกรูด พกั ไว้ หนงั เป็ดซอยชิน้ บางๆ
นา้ มาเจียวตอ่ ใหเ้ หลอื งกรอบ พักไว้
4. ได้เครื่องครบแล้ว ก็น้าเนื้อเป็ดที่สับไว้กับเครื่องในท่ีต้มหั่นไว้แล้ว ทุบกระเทียมใส่ 5-6กลีบ
แล้วน้าไปรวนใชไ้ ฟแรงปานกลาง ใส่น้าซปุ 1-2 ทัพพี คนๆให้เนอ้ื เปด็ พอสุก ไมต่ ้องให้สกุ มาก เพราะเน้อื จะแข็ง
5. ปรงุ รสด้วย นา้ ปลา,มะนาว อย่างละ 2-3 ช้อนโต๊ะ ใส่ผงนัว พริกป่นกบั ข้าวคั่ว ตามดว้ ยต้นหอมผกั ชี
โรยด้วย หอมเจยี วหอมๆและหนงั เปด็ ทอดกรอบๆ คนๆให้เขา้ กัน
ขน้ั ตอนการท้าน้าซุปลาบเปด็
1. น้ากระดกู เปด็ เทศ มาตม้ คร่ึงวัน 12 ชว่ั โมง
2. ลอกเอาเฉพาะหนังเปด็ มาต้ม โดยการต้มแยกระหวา่ งกระดกู และหนงั
3. จากน้นั น้าหนังท่ตี ้มแลว้ หนั เป็นช้นิ ๆ
4. น้ามารวมกบั น้าซุปที่ตม้ กระดูกเปด็ เทศ

ผ้ทู ถี่ อื ปฏิบตั มิ รดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชื่อ นายสว่าง เรอื งบุญ
วนั เดอื น ปเี กดิ 16 กันยายน 2509
ที่อยู่ 131 หมู่ 6 ต้าบลสันทรายงาม

อ้าเภอเทิง จังหวดั เชยี งราย ๕๗๑๖๐
หมายเลขโทรศพั ท์ 085 706 4114

ผำ้ ไหมจำกตัวไห6ม4

วงจรชวี ติ ของตัวไหม

วงจรชีวิตของตัวไหมเริ่มจากไข่ฟักเป็นตัวหนอนไหม
ในระยะเป็นหนอนไหมจะมีการลอกคราบ 4 ครั้ง พอไหมสุก

จะพ่นเส้นใยห่อหุ้มตัวเองแล้วตัวหนอนก็จะเข้าดักแด้อยู่ภายใน

รงั นน้ั เมื่ออายุครบดกั แด้ก็กลายเป็นตวั ผีเส้ือไหมเจาะรงั ออกมา
ผสมพันธ์ุและวางไข่ฟักเป็นหนอนต่อไปวนเวียนกันอยู่เช่นน้ี

(ตัวไหมในระยะที่เป็นดักแด้อยู่ในรังและระยะท่ีเป็นผีเส้ือไหม
จะไม่กนิ อาหารเลย

วงจรชวี ติ ของตวั ไหม

❖ ระยะไข่ 10-12 วนั

❖ ระยะตวั หนอน 19-25 วัน

❖ ระยะท้ารงั 2 วัน
❖ ระยะดกั แด้ 10-12 วัน

❖ รวมระยะเวลาจากไข่จนเปน็ ผีเส้ือประมาณ 41-51 วนั

ผ้าไหมไทย เป็นผ้าไหมซ่ึงมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่าง

จากผ้าไหมท่ัวไป คือมีแสงแวววาวเป็นมันเล่ือม เนื้อผ้าฟูไม่

เรียบ อ่อนนุ่ม มีน้าหนัก บางชนิดเป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจาก

ระดับคุณภาพซึ่งเกิดในกระบวนการผลิตแต่ก็ท้าให้ได้รับความ

นยิ มของคนบางกลุ่มเพราะดแู ลว้ มีความแปลกตา

การเตรียมการก่อนการเล้ียงไหมชาวบ้านจะต้องเตรียมการก่อนที่จะเริ่มต้นการเลี้ยงไหมในแต่ละรุ่น
อปุ กรณก์ ารเลย้ี งไหม มดี ังนี้

1. กระดง้ เลยี้ งไหม

2. มดี
3. เขยี ง

4. ตาข่ายถ่ายมูล
5. จอ่
6. ตะแกรงรอ่ น

7. ตะเกยี ง
8. ถังน้า

9. เข่งหรอื ตะกร้าเกบ็ ใบหมอ่ น
10. รองเท้าแตะ
11. สารโรยตวั ไหม

12. ปนู ขาว

การสาวไหม 65

1. การต้มรังไหม มีวัตถุประสงค์เพื่อท้าให้ sericin หรือ กาวไหมอ่อนตัวแล้วจะดึงเอาเส้นใยออกจาก

รังไหมได้ง่ายขึ้น เส้นใยสามารถคลายตัวออกอย่างเป็นระเบียบ และสางหาเง่ือนได้สะดวก น้าท่ีใช้ต้มรังไหม

ควรเป็นน้าสะอาด ไม่ขุ่น มีความเป็นกรด-ด่างปานกลาง เช่น น้าฝน น้าประปาท่ีใส่โอ่งเก็บไว้นาน ต้มให้ร้อน

แต่ไม่เดือด โดยสังเกตเห็นไอน้าที่ปากหม้อ และฟองอากาศเล็ก ๆ ลอยออกมาท่ัวปากหม้อ หรือใช้น้ิวจุ่มดู

รู้สึกว่าร้อน มีอุณหภูมิประมาณ 82-89 องศาเซลเซียส น้ารังไหมที่เตรียมไว้ลงต้มในหม้อ 2 ก้ามือใหญ่

(ประมาณ 120-150 รัง) ใช้ไม้คีบกดรังไหมให้จมน้าไปมา 4-5 คร้ัง นาน 1-2 นาที เรียกว่า การต้มรังไหม

จากนั้นยกไมค้ ีบเกลย่ี รังไหมขน้ึ ปมเสน้ ไหมจะหลุดจากรงั ไหมติดไมค้ ีบขนึ้ มา

2. การพันเกลียวเส้นไหม เม่ือเส้นไหมติดไม้คีบเกล่ียรังไหมขึ้นมา ใช้มือรวบเส้นไหมท่ีติดกับไม้คีบดึง

ข้นึ มา แล้วสอดเสน้ ไหมใส่รูตรงกลางพวงสาว ดงึ ข้นึ ไปพันกบั ลูกรอกของพวงสาว 1 รอบ และพนั เกลียวเสน้ ไหม

7-9 รอบ แลว้ ดึงเสน้ ไหมผา่ นพวงสาวไหมลงภาชนะท่เี ตรยี มไว้ และท้าการสาวไหม หรอื ดึงเสน้ ไหม จนเส้นไหม

เปลือกนอกหมด ภาชนะท่ีเตรียมไว้ใส่เส้นไหมโดยมีวัสดุที่มีน้าหนักพอประมาณทับไว้ เช่น เมล็ดนุ่น ข้าวสาร

เม็ดมะขาม เพ่ือช่วยให้เส้นไหมไมพ่ ันกันเวลากรอเส้นไหมไปท้าเขด็ หรอื ไจไหม

ผู้ท่ถี ือปฏบิ ัตมิ รดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม
ชอื่ นางจฑุ าทพิ หยงสตาร์

ท่อี ยู่ 34 หมู่ 12 ต้าบลเวียง
อ้าเภอเทงิ จังหวัดเชยี งราย ๕๗๑๖๐

หมายเลขโทรศพั ท์ 086 191 5552

66 เส่ือกก

การทอเส่ือมีมายาวนานต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ท้าอาชีพเกษตรกรรม
เมื่อว่างจากการท้าเกษตรกรรม ก็จะมีการประกอบอาชีพเสริม วิธีการทอเส่ือหรือในภาษาอีสานเรียกว่า
การต้่าสาด เพ่อื นา้ มาใชใ้ นชีวติ ประจา้ วันและสร้างรายได้ บางครัวเรอื นก็ท้าเป็นอาชีพหลักเพ่ือสร้างรายได้ให้แก่
ครอบครัว การทอเสอ่ื เปน็ ภมู ิปัญญาของคนในท้องถิ่น ท่นี า้ เอาตน้ กก ต้นไหล หรือต้นผอื มาสอย พ่งึ แดดใหแ้ ห้ง
แล้วนา้ ไปยอ้ มสตี ามท่ีตอ้ งการ จากนั้นนา้ ไปทอเปน็ ผนื ๆ เพอ่ื น้าไปใชง้ าน

ลกั ษณะของต้นกก
ต้นกกจะมีลกั ษณะเหมอื นหญ้า แต่กกจะมลี า้ ตน้ เป็น ทรงสามเหลยี่ มหรือสามมมุ นอกจะมีลกั ษณะเป็น
ฝอยๆ ลา้ ต้นจะไม่แตกก่งิ เหมือนพชื ชนิดอื่น ตน้ กกมกั จะเกิดขน้ึ ในท่ีชน้ื แฉะ ขึน้ ตามหนอง บงึ
ลกั ษณะของต้นไหล
ไหลเป็นไม้ล้มลุก มีลักษณะเป็นทรงกลม แตกกอ ล้าต้นเหนียว ใบแพออกเป็นแฉกตรง ไม่ห้อยรูปเหมือนกก
เปน็ ไม้ท่ชี อบแดดนยิ มปลูกในดินที่ชนื้ ส่วนมากชาวบ้านจะปลูกไว้ข้างบ้านของตัวเอง เวลาจะใชง้ านกจ็ ะสะดวก
ลกั ษณะของต้นผือ
ตน้ ผือจะมีลักษณะคล้ายต้นกกมาก จะมลี ักษณะเหมือนหญ้า ดอกจะมลี ักษณะเปน็ ฝอยๆ มีล้าตน้ ตัน
และเป็นทรงสามเหลี่ยมเหมือนกันกับต้นกกแต่เหลี่ยมจะมีความคมกว่าล้าต้นไม่แตกก่ิง มักเกิดตามท่ีชุ่มช้ืน
ข้นึ ตามหนอง บงึ หว้ ย
วิธกี ารทอเส่อื
ขัน้ ตอนที่ 1 การสอยตน้ กก
❖ ตดั ตน้ กกสด
❖ คัดเลือกตน้ กกท่มี ขี นาดเทา่ กนั ไว้ดว้ ยกัน
❖ น้าตน้ กกที่ขาดแลว้ มาซอยเป็นเส้นเล็กดว้ ยใช้มดี แหลมปลายคม
❖ นา้ เส้นกกทีส่ อยแล้วมาผึ่งดดให้แหง้
❖ พอตากเสร็จแลว้ ก็มดั เป็นมดั มัดแล้วรอการย้อมสี
ขน้ั ตอนที่ 2 การยอ้ มสี
❖ เลอื กซื้อสีสา้ หรับยอ้ มกกสีต่างๆ ทีม่ ีสสี นั สวยงาม เช่น สแี ดง สีชมพู สเี หลือง สีมว่ ง สีเขยี ว เปน็ ตน้
❖ กอ่ ไฟดว้ ยไฟท่ีใชต้ ้องสมา่้ เสมอ
❖ น้าปบ๊ี ใสน่ ้าพอประมาณท่วมเสน้ กกน้ามาต้ังบนเตารอให้นา้ เดือด พอน้าเดอื ดกน็ ้าสีท่ีเลอื กมาเทลง
❖ น้าเส้นกบที่ขัดเลือกแล้วลงยอมจนเพยี งพอ ที่จะใช้ในการทอ
❖ น้าเสน้ กกท่ยี ้อมสีแล้วลงล้างในนา้ เปลา่ แลว้ น้าไปตากแดดจนแหง้ พอแหง้ แล้วกน็ า้ มามัดรวมกนั
โดยแยกเปน็ สแี ต่ละสี
ขน้ั ตอนท่ี 3 วธิ ีการทอเสอื่
❖ กางโฮงสา้ หรับทอเสอื่
❖ นา้ เชอื กไนลอนส้าหรับถอดเส้ือมาโยงใสฟ่ ืมจนเสรจ็
❖ ฟมื ทใี่ ชต้ อ้ งมขี นาดเท่ากับเสน้ กก แตฟ่ มื แตล่ ะฟืม กอ็ าจจะใช้ทอลายไมเ่ หมือนกนั
❖ น้าเสน้ กกทีย่ อ้ มสีมาตากจนแหง้ น้ามาทอเสือ่
❖ เลือกสแี ละลายทจี่ ะทอ จากนั้นกเ็ ร่ิมทอจนไดเ้ ป็นแผ่นผนื
❖ เพราะทอเสรจ็ ก็ตดั แลว้ น้าไปตากแดดเพอื่ ให้สตี ดิ ทนนาน หลงั จากน้นั นา้ ไปเก็บไว้ในทีร่ ม่

ผทู้ ่ถี อื ปฏิบัตมิ รดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม
ช่ือ กลมุ่ ผา้ ไหม - เสอ่ื กกบ้านร่องริม
ทอี่ ยู่ 34 หมู่ 12 ต้าบลเวยี ง อา้ เภอเทงิ

จงั หวัดเชยี งราย ๕๗๑๖๐
หมายเลขโทรศัพท์ 086 191 5552

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ พ ญ า เ ม็ ง ร า ย

ชื่อเป็นสง่า คุ้มพญาเด่น
ร่มเย็นตาดควัน มิ่งขวัญปูล้าน

สภาวัฒนธรรมอำเภอพญเม็งราย

68

อำเภอพญำเม็งรำย

ประวัติควำมเปน็ มำ

อดีตพื้นที่อำเภอพญำเม็งรำยทั้งหมดอยู่ในเขตปกครองของอำเภอเทิง จังหวัดเชียงรำย ประกอบด้วย
เขตปกครอง 3 ตำบล คือ ตำบลไม้ยำ ตำบลแม่เปำ และตำบลแม่ตำ ด้วยเหตุทั้ง 3 ตำบล ตั้งห่ำงจำกอำเภอเทงิ
กำรคมนำคมไม่สะดวกยำกแก่กำรดูแลบริกำรประชำชน และมีพ้ืนท่ีกว้ำงขวำงถึง 620 ตำรำงกิโลเมตร ทำงรำชกำร
เล็งเห็นว่ำในอนำคตต่อไปพื้นที่ตรงน้ีน่ำจะเป็นศูนย์กลำงเชื่อมติดต่อกับอำเภอใกล้เคียงได้ และมีแนวโน้มจะ
เจริญรุ่งเรืองเป็นเมืองท่ีมีควำมสำคัญเมืองหนึ่ง จึงได้ขอดำเนินกำรจัดตั้ง “ก่ิงอำเภอ” เมื่อตกลงจะยกฐำนะพ้นื ที่
ตำบลแม่เปำ ตำบลแมต่ ำ และตำบลไมย้ ำ ขึน้ เป็นกิ่งอำเภอ และเป็นอำเภอต่อไปก็ตอ้ งต้ังช่ืออำเภอ แตไ่ ม่รูจ้ ะตง้ั ชื่อ
อำเภออะไรจึงจะเหมำะสมและเป็นชื่อกลำงๆ เมื่อได้ประชุมปรึกษำผู้นำตำบล หัวหน้ำหน่วยงำน หัวหน้ำส่วนรำชกำร
หลำยฝ่ำย มีควำมเหน็ รว่ มกนั วำ่ ควรใช้ชือ่ ว่ำ “พญาเมง็ ราย” ดว้ ยเหน็ วำ่ พ้นื ที่ทง้ั หมดเคยเปน็ บ้ำนเมืองแหล่งชุมชน
โบรำณมำแล้ว มิได้เป็นบ้ำนเมืองใหม่ ดงั ปรำกฏซำกโบรำณสถำนร่องคือเวยี ง (คเู มอื ง) อย่ทู ั่วไป หลกั ฐำนเหลำ่ นั้น
ปรำกฏให้เหน็ ต้ังแต่พ้ืนที่ตำบลไม้ยำข้นึ ไปจนถึงตำบลแม่เปำ และตำบลแม่ตำ ซำกวัดโบรำณที่ยงั เหลือให้เห็นอยำ่ งเดน่ ชัด
ได้แก่ พระธำตุปูล้ำน พระธำตุปูตุ๋ง วัดร้ำงอีกมำกมำยแสดงให้เห็นร่องรอยว่ำเคยเป็นชุมชนโบรำณที่มีผู้อยู่อำศัย
หนำแน่นและเจริญรุ่งเรืองมำก่อน นอกจำกนั้นยังได้รบั ทรำบคำเล่ำขำนสืบต่อกนั มำว่ำ บริเวณหนึ่งในหมู่บ้ำนสันปำ่ สกั
ตำบลแม่เปำ (ขณะนั้น) เป็น “คุ้มพญำเม็งรำย” บ้ำงก็เล่ำว่ำเป็น “ซุ้มตั้งไก่ป่ำ” ของพญำเม็งรำยผู้สร้ำงเมืองเชียงรำย
เมื่อสืบค้นตำนำนพงศำวดำรประวัติศำสตร์เกี่ยวกับอำณำจักรล้ำนนำและพระรำชประวัติพญำเม็งรำย (มังรำย)
ปฐมกษัตริย์รำชวงศ์มังรำยผู้สร้ำงเมืองเชียงรำย เชียงใหม่ และสถำปนำ “รำชอำณำจักรล้ำนนำ” ก็พบว่ำ
เมอ่ื พ.ศ.1811 พญำมังรำยได้ยกทพั ไปตีเมืองผำแดงเชียงของ (ปจั จบุ นั คอื อำเภอเชยี งของ) เมือ่ ตีไดแ้ ลว้ กแ็ ต่งต้ัง
เสนำปกครองแล้วกลับไปประทับที่เมืองฝำง ควำมในตำนำนเมืองเหนือปรำกฏเพียงเท่ำนี้ แต่เม่ือนำมำผนวกกับ
คำเล่ำขำนว่ำมี “ซุ้มต้ังไก่” หรือ “คุ้มพญำเม็งรำย” ในบริเวณบ้ำนสันป่ำสัก ตำบลแม่เปำ (ขณะน้ัน) จึงสันนิษฐำนว่ำ
คร้ังเมื่อพญำมังรำยยกทัพไปตีเมืองเชียงของน่ำจะใช้เส้นทำงเสด็จผ่ำนมำบริเวณน้ี จึงปรำกฏคำเล่ำขำนสืบมำ
ด้วยควำมภำคภูมิใจว่ำบริเวณตรงน้ีเคยมีพญำมังรำยมำประทับอยู่ แม้จะเป็นกำรประทับเพียงชั่วครำวก็ตำมที
แต่ด้วยบุญบำรมีของพระองค์ท่ำนก็ทำให้ไพร่เมือง (รำษฎร) ร่มเย็นเป็นสุขและภูมิใจหำท่ีสุดมิได้ จึงได้เล่ำขำน
สืบกันมำยำวนำนเป็นเวลำกว่ำ 700 ปี ท่ีประชุมจึงมีมติอัญเชิญพระนำม “พญำเม็งรำย” มำต้ังเป็นชื่อกง่ิ อำเภอ
เพื่อให้เป็นสิริมงคลแก่กิ่งอำเภอและประชำชนว่ำ “กิ่งอาเภอพญาเม็งราย” โดยได้รับกำรยกฐำนะเม่ือวันท่ี 5
พฤษภำคม 2524 โดยมีนำยนพพร ต้อนรับ เป็นปลัดอำเภอผู้เป็นหวั หน้ำก่ิงอำเภอเป็นคนแรก สถำนท่ีตั้งอำเภอ
และสว่ นรำชกำรตำ่ ง ๆ ตัง้ อย่ใู นหมบู่ ้ำนสันสะลีก ตำบลแม่เปำ เกอื บท้ังหมดในเวลำน้นั

ปัจจุบัน อำเภอพญำเม็งรำยได้รับกำรยกฐำนะขึ้นเป็นอ ำเภอ
เม่ือวันท่ี 13 สิงหำคม 2530 โดยมีนำยประยูร วงษ์พำนิช เป็นนำยอำเภอคน
แรก มีพ้ืนท่ีกำรปกครอง จำนวน 5 ตำบล คือ ตำบลไม้ยำ ตำบลแม่ตำ ตำบล
ตำดควัน (แยกออกจำกตำบลแม่ตำ) ตำบลแม่เปำ และตำบลเม็งรำย(แยกออก
จำกตำบลแม่เปำ) ประชำชนชำวอำเภอพญำเม็งรำยได้พร้อมใจกันสละทรัพย์
แรงกำย แรงใจในกำรสร้ำง “คุ้มพญำเม็งรำย” และ “พระบรมรูปพญำเม็งรำย
ประทบั น่ัง” และอญั เชญิ ไปประดิษฐำนในคุม้ ณ บ้ำนสันปำ่ สัก หมู่ 3 ตำบลเม็ง
รำย อำเภอพญำเม็งรำย จังหวัดเชียงรำย ไว้เป็นที่สักกำรบูชำและเป็นม่ิงขวัญ
แก่ชำวอำเภอพญำเม็งรำย ดังนั้น จึงมีคำขวัญว่ำ “ช่ือเป็นสง่า คุ้มพญาเด่น
ร่มเย็นตาดควัน ม่งิ ขวญั ปูล้าน” (อำจำรย์อนิ สม มลู ตะ๊ ผู้แต่ง)

คำขวญั อำเภอพญำเมง็ รำย

“ช่ือเปน็ สงา่ คมุ้ พญาเด่น รม่ เยน็ ตาดควนั มง่ิ ขวญั ปลู า้ น”

69

ลกั ษณะทำงกำยภำพ

อำเภอเมืองเชียงรำยตงั้ อยทู่ ำงตอนกลำงของจังหวดั มอี ำณำเขตติดตอ่ กบั อำเภอและจงั หวดั ข้ำงเคียง ดงั น้ี
- ทศิ เหนอื ติดต่อกับอำเภอเชียงของ
- ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับอำเภอขุนตำล
- ทิศใต้ ติดต่อกบั อำเภอเทิง
- ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั เวียงชัย และอำเภอเวียงเชยี งรุง้

แหลง่ เรียนรู้/แหล่งท่องเที่ยว

1. คุ้มพญาเม็งราย
ต้ังอยู่ท่ีบ้ำนสันป่ำสัก หมู่ 3 ตำบลเม็งรำย อำเภอพญำเม็งรำย จังหวัดเชียงรำย

อยู่ห่ำงจำกตัวอำเภอพญำเม็งรำย ประมำณ 4 กิโลเมตร เป็นท่ีสักกำระเคำรพ
นับถือของประชำชนอำเภอพญำเม็งรำยและอำเภอใกล้เคียง เป็นสถำนที่
ศักดิ์สิทธ์ิ เคำรพนับถือ และในปีมหำมงคลที่พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวทรงมี
พระชนมำยุครบ 80 พรรษำ ชำวอำเภอพญำเม็งรำยได้จัดทำจตุคำมรำมเทพ
รุ่น “ค้มุ พญำเม็งรำยมหำรำชำโชค 50” ขน้ึ เพอ่ื นำรำยไดม้ ำบรู ณะค้มุ พญำเมง็ รำย
เพ่ือให้สมพระเกียรติแลสวยงำม ให้เป็นสถำนที่ท่องเที่ยวและสถำนท่ียึดเหนี่ยวจิตใจพ่อแม่พ่ีน้องชำวอำเภ
อพญำเม็งรำย และไดม้ กี ำรสมโภชค้มุ พญำเม็งรำยหลังใหม่ เม่อื วันที่ 18 เมษำยน 2551

2. วัดพระธาตุปลู ้าน
ตัง้ อยู่ทบ่ี ำ้ นหว้ ยปูล้ำน หมู่ 14 ตำบลไมย้ ำ อำเภอพญำเม็งรำย อยู่หำ่ งจำกตัว
อำเภอประมำณ 8 กิโลเมตร ต้ังอยู่บนเนินเขำ เป็นท่ีสักกำระ เคำรพนับถือของ
ประชำชนบ้ำนห้วยก้ำงปลู ้ำน หมู่ 14 ตำบลไมย้ ำ และประชำชนชำวอำเภอพญำเม็งรำย
เป็นอย่ำงมำก เป็นสถำนที่ศักด์ิสิทธเ์ิ ป็นท่ีเคำรพนับถือ พระธำตุปูล้ำนเปน็ วัดเก่ำแก่
ท่ีมีองค์เจดีย์อำยุร่วม 700 ปี และมีสถำปัตยกรรมเก่ำแก่ให้ศึกษำ มีกำรบูรณะเม่ือปี
พ.ศ. 2549 - 2550 โดยครูบำพรชัย วรปัญโญ รว่ มด้วยพี่นอ้ งชำวอำเภอพญำเม็งรำย
3. วดั หมอกมงุ เมอื ง
ตัง้ อย่ทู บ่ี ำ้ นหว้ ยเด่อื หมู่ 1 ตำบลไม้ยำ อำเภอพญำเม็งรำย จังหวดั เชียงรำย เปน็ สถำนท่ี
บำเพ็ญศำสนกิจของพระสงฆ์และประชำชนชำวตำบลไม้ยำ โดยมีครูบำพรชัย วรปัญโญ
เปน็ เจ้ำอำวำส ภำยในอโุ บสถมีพระพุทธรปู ปำงไสยำสน์ ซึ่งมีลักษณะงดงำมประดษิ ฐำนอยู่

4. อ่างเกบ็ ห้วยก้าง
ตง้ั อยู่บำ้ นห้วยก้ำงรัฐ หมู่ 6 ตำบลไมย้ ำ อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวัดเชยี งรำย

เปน็ สถำนทีพ่ ักผ่อนหย่อนใจของตำบลไม้ยำ แวดลอ้ มไปดว้ ยป่ำไม้ที่อดุ มสมบูรณ์
บริเวณอ่ำงเก็บน้ำมีร้ำนค้ำ และร้ำนอำหำรไว้บริกำรสำหรับผู้มำท่องเที่ยว และ
ทีส่ ำคัญเปน็ แหลง่ กักเก็บนำ้ ไว้ใชใ้ นกำรทำกำรเกษตรของเกษตรกรตำบลไมย้ ำ
5. วนอทุ ยานนาตกตาดควนั
ต้ังอยู่ที่บ้ำนแม่ตำน้ำตก หมู่ 6 ตำบลตำดควัน อำเภอพญำเม็งรำย จังหวัด
เชียงรำย มีสภำพป่ำท่ีค่อนข้ำงสมบูรณ์ จัดเป็นวนอุทยำนน้ำตกตำดควันเม่ือปี
พ.ศ.2545 เป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและพักผ่อนหย่อนใจ นำ้ ตกตำดควันเกิดจำกลำห้วย
ท่ีไหลมำจำกอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงรำย ซ่ึงอยู่ทำงทิศตะวันตกผ่ำนบ้ำนเย้ำ
แม่ตำ ตำบลตำดควัน น้ำตกมีควำมสูงชัน และสวยงำม และในฤดูหนำวจะเกิด
ละอองน้ำมลี ักษณะคลำ้ ยหมอกควันสีขำวปกคลุม จงึ ไดช้ อื่ ว่ำ “น้ำตกตำดควนั ”

70

กำรเปำ่ แคนมง้

แคนม้ง หรือเก้งชนเผ่ำม้ง เป็นสมบัติล้ำค่ำที่สืบทอดกันมำ
ตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน แคนม้ง คือเครื่องดนตรีประเภทเป่ำ
ที่สำคัญในชีวิตจิตใจของชำวม้ง เป็นสมบัติแห่งวัฒนธรรมชนเผ่ำ
และมีควำมหมำยเหมือนเป็นสำยสัมพันธ์เช่ือมระหว่ำงมนุษย์และ
โลกแห่งจิตวิญญำณ ดังน้ันแม้จะมีกำรอพยพย้ำยถิ่นฐำนไปอยู่
ท่ีไหน แต่เสียงแคนม้ง ก็ยังคงดังขึ้นในชีวิตชุมชนและตำนำน
เกยี่ วกับแคนมง้ กไ็ ดร้ ับกำรเลำ่ ขำนให้แกช่ นรนุ่ หลงั

ชนเผ่ำม้ง เป็นคนที่รักดนตรี ชำวม้ง เรียกดนตรีชิ้นน้วี ่ำ “เก้ง” คนพ้ืนรำบเรียกกนั ว่ำ “แคน” แต่เดิมดนตรีที่
เรียกว่ำเก้ง ใช้ในกำรเป่ำเพ่ือส่งวิญญำณของผู้ตำย เม่ือได้ยินเพลงจำกแคน แสดงถึงมีกำรตำย มีกำรล่ันกลอง
ประกอบ เมอื่ มีกำรตำยชำวม้งต้องนำศพไปฝงั บนเขำ ผ้นู ำขบวนจะเดนิ เปำ่ แคนเพือ่ สง่ วิญญำณผ้ตู ำยใหไ้ ปสสู่ วรรค์

ปจั จุบนั กำรแสดงกำรเป่ำแคนม้ง ไดป้ รำกฏในงำนเทศกำลรื่นเรงิ ต่ำง ๆ
และประกอบกับท่ำรำที่มีควำมอ่อนช้อยสวยงำม โดยเรียกว่ำ“รำแคน”
ซ่ึงกำรรำแคนนนั้ ก็มหี ลำยท่ำและแต่ละท่ำจะส่ือถึงควำมหมำยที่แตกต่ำงกนั
เสียงแคนสำมำรถสะท้อนอำรมณ์ควำมรู้สึกต่ำงๆ ทั้งควำมรักระหวำ่ งมนุษย์
ควำมรักธรรมชำติ ควำมรักของคนในครอบครัว สะท้อนคำอวยพรปีใหม่
หรือคำเชื้อเชิญเพื่อนฝูงไปเที่ยวงำนเทศกำลปีใหม่ซ่ึงเป็นงำนประเพณี
ท่ีจัดเป็นประจำทกุ ปีของชำวชนเผ่ำม้ง
ชำวม้งถือว่ำ หำกเป็นผู้ชำยต้องรู้จักเป่ำแคนและรำแคนได้หลำกหลำยท่ำและต้องใช้ขำได้อย่ำงคล่องแคล่ว
ซ่ึงกำรรำแคนมีลักษณะแข็งแกร่งเหมือนกำรแสดงมวย แต่ก็ต้องมีควำมอ่อนช้อย กำรฝึกเป่ำแคนก็ไม่ง่ำยอยู่แลว้
และกำรเปำ่ และรำพร้อมกันยิง่ ยำกกว่ำหลำยเท่ำ ดังนัน้ จึงเป็นเอกลักษณข์ องกำรเป่ำแคนมง้ ที่หนมุ่ ชำวม้งต้องฝึก
เป่ำแคนรำแคนต้ังแต่เด็กเพ่ือที่จะสำมำรถเล่นได้ดีเมื่อเป็นหนุ่ม เป็นควำมเชื่อของชำวม้งว่ำผู้ชำยเผ่ำม้ง ถ้ำอยำก
ได้รบั กำรรบั รองวำ่ โตเป็นหนุ่มแล้วตอ้ งรูจ้ กั เป่ำแคน
สำหรับชนเผ่ำม้ง เสียงแคนเสมือนเสียงแห่งจิตใจท่ีสะท้อนคุณค่ำวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชนเผำ่ ตน
กำรรำแคนต่ำง ๆ ล้วนแต่สะท้อนลีลำเน้ือร้องที่สนุกรื่นเริงและมีควำมหมำยเป็นมงคลเพ่ืออวยพรให้ทุกคน
มีควำมสุขและมคี วำมผกู พนั ใกล้ชิดกันมำกข้นึ
แคนม้ง หรือ เก้ง เป็นเคร่ืองดนตรีช้ันสูงของกลุ่มชำติพันธ์ุม้ง เป็นเครื่องดนตรีที่อยู่ในตระกูลเคร่ืองลม
ประเภทที่มที อ่ เสียง ภำยในท่อมลี ิ้นทองเหลืองติดเข้ำไปกับตัวท่อ บรรเลงโดยวธิ กี ำรเป่ำเสยี งและดูดเสียง บทบำท
ของแคนม้ง ในสังคมวฒั นธรรมชำวมง้ ถกู นำมำใช้ ๒ ลกั ษณะคือ
กำรนำแคนม้งมำบรรเลงงำนศพ ซึ่งเช่ือวำ่ กำรบรรเลงเพลงม้ง เป็นเครื่องนำทำงดวงวิญำณของผู้ตำยไปหำ
บรรพบุรุษอีกภพหนึ่ง บทเพลงที่บรรเลงมีเนื้อหำควำมหมำยบอกเรื่องรำวให้ดวงวิญญำณรับรู้ สื่อสำรระหว่ำงโลกของ
มนษุ ย์กบั โลกวญิ ญำณ
กำรนำแคนม้งมำบรรเลงบทเพลงทั่วไป เช่น ช่วงปีใหม่ม้ง ซ่ึงมีเนื้อหำ และควำมหมำยเก่ียวกับวิถีชีวิต
ควำมเป็นอยู่ กำรเปรยี บเทียบเปรียบเปรย เช่น เพลงเก่ียวกบั สำวสองคนท่ไี มม่ ำหำกนั มคี วำมหมำย ๒ ลักษณะคอื
๑) ต่ืนมำตอนเช้ำๆ มีไก่ตัวผู้อยู่หน้ำบ้ำน ไก่ขันร้องเป็นภำษำมนษุ ย์ว่ำอยำกได้สำวสวยมำเป็นคู่ แต่สำวคน
น้ันไม่มำอยดู่ ว้ ย เรำได้แต่เฝ้ำมองหำอยำ่ งไรกไ็ ม่เจอ
๒) ไกต่ ัวหน่ึงนำกระด้งฝัดข้ำวมำฝัดหำดูว่ำมีสำวอยู่ไหม ฝัดไปเรื่อย ๆ ก็ไมเ่ จอสำว ไปหำทีไ่ หนกไ็ ม่เจอ จำกนน้ั
เดนิ เข้ำไปหำที่สวนกหุ ลำบ ระหว่ำงนัน้ ไกต่ ัวผ้นู ัน้ ก็โดนหนำมตำร้องเสยี งดังล่ันบำ้ น

71
ข้ันตอนและวิธีกำรเปำ่ แคนม้งในพิธศี พ
๑) ผู้ทำพิธีสวด เริ่มพิธีสวดช้ีนำวิญญำณผู้ตำย ณ จุดท่ีเคยฝังรกของผู้ตำย (หำกมีกำรฝังรกไวห้ ลำยแหง่ จะมี
กำรสวดทุกจุดที่เคยฝังรก) เมื่อสวดเสร็จจึงมีกำรเป่ำแคนม้ง และตีกลอง ซ่ึงบทเพลงใช้สำหรับงำนศพเท่ำน้ัน
กำรเป่ำแคนม้งให้ผู้เสียชีวิตไปแล้ว เป็นกำรเป่ำสื่อสำรกับผู้ตำยว่ำได้เสียชีวิตไปแล้ว และชี้ทำงแก่วิญญำณผู้ตำย
ใหท้ รำบวำ่ จะเดินทำงไปพบบรรพบรุ ุษทไ่ี หน เมื่อพบภัยศตั รจู ะต่อสู้อย่ำงไร กำรขำ้ มน้ำ ขำ้ มภเู ขำสงู จะทำอย่ำงไร
กำรไปเกดิ ใหม่ตอ้ งทำอยำ่ งไร
๒) ช่วงเวลำในพิธีศพ กอ่ นรบั ประทำนอำหำรทุกม้ือต้องเป่ำแคนมง้ ตีกลองพรอ้ มกับยงิ ปนื ๓ นดั และอกี เวลำหนึ่ง
ตอนเท่ียงคนื ใหป้ ฏิบตั ิเหมอื นกัน จนกว่ำจะจบพธิ ีศพ
๓) พิธีศพช่วงเวลำกลำงวัน ต้องเป่ำแคนม้ง เพื่อนำทำงวิญญำณผู้ตำยสู่ปรโลก ใช้บทเพลงนำทำงช่ือว่ำ “ช่องเก๋”
บทเพลงนี้ไม่เพียงเพอ่ื นำทำงวิญญำณเท่ำนัน้ ยงั เป็นกำรสร้ำงบรรยำกำศในงำนพธิ ี และทำให้ญำติพน่ี ้องผู้ตำยรู้สกึ
สบำยใจหมดกังวล ใหม้ ีควำมเชือ่ วำ่ วิญญำณจะไม่มีควำมทกุ ข์ ควำมยำกลำบำกต่อไปอีก
๔) พิธีศพช่วงเวลำกลำงคืน ควำมหมำยของบทเพลงจะส่ือสำร เชิญชวนแขกอยูเ่ ป็นเพื่อนตลอดทั้งคืน สร้ำงบรรยำกำศ
ใหค้ ึกคกั อวยพรแขกท่ีมำรว่ มงำนใหม้ คี วำมสุข
๕) พธิ ีฆำ่ วัว ในชว่ งตอนเยน็ กอ่ นวนั ฝัง บรรดำญำตหิ ำพน้ื ท่ฆี ำ่ ววั และนำวัวเทำ่ จำนวนลูกชำยของผตู้ ำย จะทำ
พธิ สี วดให้วัวเป็นผู้นำวิญญำณผู้ตำยไปส่สู วรรค์ แลว้ จึงบรรเลงเป่ำแคนม้ง และตกี ลอง เมอ่ื เสรจ็ พธิ ีจะร้ือหนงั กลอง
ท้งิ ไวบ้ ริเวณนั้น
ขอ้ หำ้ มของกำรเปำ่ แคนมง้
๑) บทเพลงในพิธีศพไม่นิยมนำมำเป่ำเลน่ ใชเ้ ปำ่ เฉพำะพธิ ีศพ
๒) เม่ือเปำ่ แคนม้ง ในพิธีศพต้องตกี ลองเสมอ ชำวมง้ เชือ่ ว่ำ
เสียงแคนเปรียบเสมอื นสิง่ คอยชน้ี ำทำงอยูข่ ำ้ งหนำ้ วิญญำณ
ผู้ตำย ส่วนกลองเสมือนเพื่อนท่ีมีพลงั คอยเดนิ ตำมอย่ขู ้ำงหลงั
๓) เพลงที่ใช้เป่ำในเวลำกลำงวันห้ำมใช้เป่ำในเวลำกลำงคืน
และเพลงทีใ่ ช้เป่ำในเวลำกลำงคนื ห้ำมใช้เป่ำในเวลำกลำงวัน

กำรแสดงเป่ำแคนม้ง ได้นำมำแสดงในงำนกำรจัดกิจรรมมรดก
ภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม ภำยใต้โครงกำรจัดทำฐำนข้อมูลด้ำนศำสนำ
วัฒนธรรม และจำรีตประเพณีท้องถ่ิน ประจำปี 2564 ในวันที่ 17
ธันวำคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้กำรพัฒนำระบบกำรดูแลผู้สูงอำยุ
โดยชุมชนท้องถิ่น เทศบำลตำบลป่ำตำล อำเภอขุนตำล จังหวัดเชียงรำย
แสดงโดย นำยอำณกร แซ่โซง้ อำยุ 15 ปี นักเรยี นโรงเรยี นแม่หลวงอุปถัมภ์
ไทยครี ี หมู่ 5 ตำบลแม่เปำ อำเภอพญำเมง็ รำย จังหวดั เชยี งรำย

ผูท้ ถี่ ือปฏิบัติมรดกภูมิปญั ญำทำงวัฒนธรรม
ช่อื นำยอำณกร แซโ่ ซ้ง
ท่อี ยู่ เลขที่ ๒๓๑ หมู่ 5 บำ้ นขุนหว้ ยแมเ่ ปำ

ตำบลแม่เปำ อำเภอพญำเมง็ รำย
จงั หวดั เชยี งรำย 572๙0
หมำยเลขโทรศัพท์ 093 708 3645

72

ตม้ ไก่สมุนไพรสตู รโบรำณชนเผ่ำม้ง

ในปัจจุบันกลุ่มชำติพันธุ์ม้งส่วนใหญ่ยังคงนิยม รับประทำน
อำหำรม้งเหมือนเช่นในอดีต ซ่ึงเป็นอำหำรท่ีมีรสชำติจืด โดยไม่นิยม
ใส่เครื่องปรุงอำหำรใด ๆ อีกท้ัง ชำวบ้ำนยังนิยมนำพืชผักและ

สั ต ว์ เ ลี้ ย ง ข อ ง ต น เ อ ง มำประกอบเป็ นอำหำรในชี วิ ตประจ ำวั น
โดยมีเมนูอำหำรประจำของ ชำวม้ง เช่น ฟักทองต้มจืด ผักขมต้มจืด
ไกต่ นุ๋ สมนุ ไพรสตู รม้ง ขำ้ วม้งแบบโบรำณท่ีทำจำกข้ำวโพด ผัด หรอื
ต้มผักพันธุ์เมืองหนำว หมูซีกรมควัน และข้ำวเหนียวปิ้งสูตรม้ง
เป็นตน้

ต้มไก่สมุนไพรสูตรโบรำณ เป็นอำหำรเพ่ือสุขภำพที่นิยมทำกินกันหลังจำกทำไร่ทำสวน เพรำะเช่ือกันว่ำเป็นยำแก้

ปวดกลำ้ มเนอื้ และทำนเฉพำะในกลุ่มชำตพิ นั ธ์ุม้ง โดยมีกำรรกั ษำภูมปิ ัญญำและสืบทอดองค์ควำมรจู้ ำกรุ่นหนงึ่ ไปสู่อีกรุ่น
หน่ึงอย่ำงต่อเนื่อง สรรพคุณหลัก คือ บำรุงร่ำงกำย บำรุงกำลัง บำรุงกล้ำมเนื้อและเส้นเอ็น บำรุงโลหิต บรรเทำอำกำร
ปวดเม่ือยเนื้อตัว ปวดหลังและปวดเอว ส่วนสรรพคุณรองลงมำ ได้แก่ ผู้หญิงที่เล้ียงลูกอ่อนจะช่วยในกำรขับนำ้ นมได้ดี
และมคี วำมเชอ่ื วำ่ หำกเจ็บปวดตรงไหนของรำ่ งกำยก็ใหท้ ำนตรงน้นั จะทำให้หำยจำกอำกำรเจ็บปวดได้
ต้มไก่สมุนไพรสูตรโบรำณชำวม้ง เป็นอำหำรท่ีประกอบด้วยพืชสมุนไพรท้องถิ่นชนดิ ต่ำง ๆ มำกกว่ำ 10 ชนิด
โดยมีพืชสมุนไพรที่สำคัญและขำดไม่ได้ 5 ชนิด ได้แก่ ตะไคร้ เย้ชวนดั่ว จิงจูไฉ่ ว่ำนท้องใบม่วง และว่ำนนำ้

เล็ก โดยพชื สมุนไพรแต่ละชนิดจะใส่ในปริมำณท่ีมำกนอ้ ยแตกตำ่ งกันไป ขน้ึ อย่กู บั ควำมช่ืนชอบในรสและกลิน่ ของ
ตัวพืชสมนุ ไพรนนั้ ๆ เชน่ ตะไคร้ 2 ต้น จงิ จไู ฉ่ 1 กำมอื เยช้ วนดั่ว 3 เป็นต้น
วัตถดุ บิ หลักท่ีสำคัญ
❖ ไก่กระดกู ดำ ❖ ตะไคร้ ❖ เย้ชวนดัว่ ❖ จงิ จไู ฉ่
❖ วำ่ นท้องใบมว่ ง ❖ วำ่ นน้ำเลก็ ❖ เกก็ ฮวยปำ่ ❖ ผกั แพวแดง
❖ ช่ัวเลยี ะ ❖ กำ้ มปูหลุด ❖ ชะซ้ง ❖ จเิ ตอเนง

❖ โสมคน ❖ ตเี ม ❖ ตีลอ่ ❖ ก้อทู

เครื่องปรุง เกลอื พริกไทยดำ และสมุนไพรตำมธรรมชำติ
วิธีทำ
1. เตรียมวัตถุดิบให้พร้อม (ไก่กระดูกดำ สมุนไพรต่ำง ๆ เกลือ พริกไทยดำ
และนำ้ สะอำด)
2. ต้ังนำ้ ใสต่ ะไครล้ งไป ตม้ ให้เดอื ดจำกน้นั ใส่ไกล่ งไปตม้ ต่อไปอีก 15 นำที

3. ใส่เกลือ และสมุนไพรต่ำง ๆ ต้มต่อไปอีกประมำณ 5 นำที แล้วยก
หม้อลง
4. นำพรกิ ไทยดำมำบดแลว้ ใสล่ งไป พร้อมรับประทำนได้

ผทู้ ถี่ ือปฏิบัติมรดกภมู ปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม
ช่อื นำงสำวปรำณี พทิ กั ษ์จิรเดช
ที่อยู่ ๑๑๗ หมู่ 11 ตำบลแม่เงิน อำเภอเชยี งแสน

จงั หวดั เชยี งรำย ๕๗๑๕๐
หมำยเลขโทรศพั ท์ 065 019 9679

73

กำรตดั เย็บเสื้อผ้ำ

กำรตัดเย็บผ้ำ เป็นงำนฝีมือดั้งเดิมท่ีมีกำรสืบทอดภูมิปัญญำด้ำนกำรตัดเยบ็
จำกปู่ย่ำซึ่งมีอำชีพตัดเย็บผ้ำที่เป็นผู้ที่มีควำมรคู้ วำมชำนำญด้ำนกำรตัดเย็บ
อย่ำงประณีต ต่อมำนำงธนำวดี จันทร์แก้ว ได้มีกำรเชิญชวนเพ่ือนบ้ำนเข้ำมำ
ฝึกกำรตัดเย็บ และได้สอนกำรตัดเย็บจนเกิดควำมชำนำญ จึงเกิดควำมรัก
ควำมสนใจในด้ำนน้ี และได้มีกำรรวมตัวกันจัดตั้งเป็นกลุ่มตัดเย็บเส้ือผ้ำ
บ้ำนแม่ตำตน้ โพธิ์ หมู่ 11 เพอ่ื ใหส้ มำชิกใชเ้ วลำวำ่ งใหเ้ กดิ ประโยชนจ์ ำกกำร
ประกอบอำชพี หลักมำทำอำชีพเสริมในกำรตัดเย็บเส้ือผ้ำ ซึ่งสำมำรถเปน็
อำชีพเสริมที่สร้ำงรำยได้แก่ครอบครัวท่ีม่ันคงได้ ตลอดจนเพื่อรวมกลุ่มสมำชิกใช้เวลำว่ำงให้เกิดประโยชน์หลังทำ
กำรเกษตร และเพ่ือเปน็ กำรสรำ้ งงำนสร้ำงอำชีพและสร้ำงรำยได้ใหก้ ับชุมชน/ท้องถ่ินไดเ้ ปน็ อยำ่ งดี

สิ่งสำคัญของผลิตภัณฑ์ คือ กำรเลือกลำยผ้ำ และกำรออกแบบลำยผ้ำตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ ท้ังใน
จังหวัดและต่ำงจังหวัด เช่น ลูกค้ำท่ีสั่งตัดเส้ือเป็นทีม ต้องกำรลำยผ้ำรูปไหนเป็นพเิ ศษ ทำงกลุ่มก็สำมำรถทำและ
ตกแต่งลำยผ้ำให้เป็นที่ต้องกำรของลูกค้ำได้ ภำยใต้กระบวนกำรตัดเย็บที่พิถีพิถัน ประณีต เส้นด้ำยต้องเหนียว
ผำ้ สไี ม่ซดี กระดมุ คงทน ผำ้ ซบั ในเหนียว และไมห่ ดเสยี ทรงเสยี รูป

ข้ันตอนกำรตัดเยบ็ เส้ือผ้ำ
1. การวัดตัว ใช้เชือกผกู เอวเพือ่ ใหร้ ้ตู ำแหน่งของเอว ยืนตวั ตรง
2. การเตรยี มผา้ กอ่ นตัด บำงครัง้ ผ้ำทซี่ ือ้ มำอำจถูกตดั หรอื ชำยผ้ำฉกี ทำให้เส้นดำ้ ยของเน้ือผ้ำเสียรูปทรง แกไ้ ขได้
โดยดึงมุมทกุ มุมของผ้ำให้เปน็ มุมฉำก
3. การสร้างแบบตัด จะต้องสร้ำงแบบตัดมำตรฐำน โดยใช้อุปกรณ์ได้แก่ กระดำษสร้ำงแบบ ดินสอดำ ยำงลบ
ไม้บรรทัด กรรไกร ดนิ สอสีน้ำเงินหรอื แดง
4. การตัดผ้าตามแบบ วำงแบบกระดำษลงบนผ้ำท่ีวำงบนโต๊ะเรียบ สำหรับผ้ำลำย ก่อนตัดควรดูให้แน่ใจก่อน
เพื่อเวลำที่ต่อลำยจะได้เนียนสนิท จำกนั้นใช้เข็มหมุดกลัดกระดำษให้ติดกับผ้ำแล้วเผ่ือเย็บโดยรอบด้วยกำรกด
ลูกกล้ิงลงบนกระดำษกดรอยไว้ทุกด้ำน ประมำณด้ำนละ 2 เซนติเมตร หรือ 1 นิ้ว และตัดผ้ำเป็นช้ิน ๆ ตำมแบบ
ท่กี ลดั ไว้
5. การทาเครื่องหมายบนผ้า มีอุปกรณ์สำคัญ คือ ลูกกล้ิง กระดำษกดรอย และชอล์กเขียนผ้ำ ทำเคร่ืองหมำย
ที่ต้องกำรให้ปรำกฏบนผ้ำส่วนใหญ่ ได้แก่ กลำงหน้ำและกลำงหลังของเส้ือ ตะเข็บต่ำง ๆ เกล็ดกระโปรง กำงเกง
หรือเส้อื รอยเผื่อเยบ็ ตำแหน่งตดิ กระเปำ๋ เปน็ ต้น ถ้ำมีจกั รเยบ็ ผำ้ กใ็ ห้เยบ็ กนั ล่ยุ ผ้ำแต่ละช้นิ ก่อน
6. การเนาผ้า เป็นกำรทำแนวเย็บผ้ำและยึดผ้ำแต่ละชิ้นให้ติดกันเพ่ือป้องกันกำรเล่ือนของตำแหน่งผ้ำเวลำเย็บ
ซึง่ เม่ือเยบ็ เสร็จก็จะเลำะด้ำยท่เี นำไว้แลว้ ออกไป
7. การเย็บประกอบรูปร่าง โดยใช้เข็มสอยกับด้ำย หรือใช้จักรเย็บผ้ำ รวมถึงกำรติดกระดุม เย็บรังดุม ติดตะขอ ซิป
และสอยเกบ็ ริม

ผู้ทีถ่ อื ปฏิบตั ิมรดกภมู ิปญั ญำทำงวัฒนธรรม
ชือ่ นำงธนำวดี จนั ทรแ์ กว้
ท่ีอยู่ 29 หมู่ 11 ตำบลแมต่ ำ อำเภอพญำเมง็ รำย

จังหวัดเชียงรำย 572๙0
หมำยเลขโทรศัพท์ 089 266 7231

คำขวัญอำเภอขุ นตาล

พระแสนแซ่คู่บ้าน
พระธาตุขุนตาลคู่เมือง
รอยพระบาทลือเลื่ อง

ขุนตาลเมืองคนดี

สภาวัฒนธรรมอำเภอขุนตาล

75

อำเภอขุนตาล

ประวัตอิ ำเภอขุนตาล

อำเภอขุนตาล มีประวตั ิความเป็นมายาวนานมีหลักฐานทางโบราณคดแี ละเอกสารตำนานตา่ งๆ
ระบวุ า่ เคยมกี ล่มุ ชนมาตง้ั รกรากตั้งแต่สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ในบรเิ วณมอ่ นกองหิน หรอื บริเวรม่อนศิลา
อาสน์ บา้ นพระเนตร และบริเวณลำหว้ ยตา้ ตำบลตา้ จากน้นั ชุมชนชนเผ่าก่อนประวัติศาสตร์ซ่ึงน่าจะเป็น
ชนเผา่ ลวั ะ ได้อพยพไปอย่ยู งั บริเวณอนื่ ๆ ทีอ่ ุดมสมบรู ณ์กว่า

ในสมยั ต่อมามีชุมชนไทยวน คนเมืองทีน่ บั ถอื พทุ ธศาสนาเข้ามาตั้งรกรากในบริเวณหนองอีก่ ิว้
บา้ นพระเนตร และบรเิ วณปา่ ใกล้กับวดั อภัยภมิ ุข (ตา้ หลวง) ในปัจจุบัน มหี ลักฐานคอื จารกึ วดั พระเนตร ท่จี ารกึ
ใน พ.ศ. 2046 และจารกึ ฐานพระเจ้าแสนแซ่ วดั อภยั ภิมุข ทจี่ ารกึ เม่อื พ.ศ. 2059 แสดงใหเ้ ห็นว่ามีชุมชน
คนเมืองที่นับถือพุทธศาสนาเป็นปึกแผนมานานไม่ต่ำกว่า 500 ปี หลังจากนั้นบ้านเมืองในบริเวณนี้
นา่ จะประสบกับโรคอหวิ าหรอื ไม่ก็ภัยจากสงครามจงึ ร้างไปอีกคำรบหนึ่ง

ต่อมาหลังจากที่กองทัพล้านนาขับไล่พม่าพ้นเมืองเชียงแสน ดินแดนอำเภอขุนตาล
เรมิ่ มีประชาชนจากเมอื งต่าง ๆ ในลา้ นนา อาทิ เมอื งน่าน เมืองแพร่ เมืองลำปาง อพยพมาตงั้ บ้านเรือนอีกครัง้
ในยุคตน้ กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ในการอพยพมาครั้งนีบ้ ริเวณบ้านต้า บ้านป่าบง บ้านน้ำแพร่ และบ้านยางฮอม
นา่ จะเปน็ ชมุ ชนแรกๆ ตอ่ มาก็ขยายออกเป็นหลายๆ หมู่บ้าน นอกจากคนเมืองแล้ว ยังมีชาวไทยองอพยพ
มาจากเมอื งลำพนู มาอาศัยในหมบู่ ้านปา่ ตาล ชาวไทยองถอื เปน็ ไทลอ้ื กลุม่ หนง่ึ ตง้ั ชอ่ื หมู่บ้านตามช่ือเดิมในลำพนู
คือ บา้ นป่าตาล ตอ่ มามกี ารสรา้ งพระธาตุขนุ ตาล จงึ ใชช้ ่ือวา่ อำเภอขุนตาลในท่ีสดุ ชาวไทล้ืออีกกลุ่มอพยพ
มาจากแคว้นสิบสองปันนาผ่านประเทศลาว เข้าเมืองน่านแล้วอพยพต่อมาทีเ่ มืองเชียงคำ จังหวัดพะเยา
เพอ่ื เสาะหาทีท่ ำกินท่อี ุดมสมบรู ณ์ จากนัน้ จึงอพยพมาอยู่ท่บี า้ นหว้ ยหลวง

นอกจากกลุ่มคนไท อันประกอบด้วย
ไทยวน ไทลื้อ แล้วยังมีชาวไทยภูเขา 2 เผา่ ที่อพยพเข้ามา
เป็นกลุ่มหลังสุดคือ ชาวเย้า (เมี่ยน) และชาวแม้ว (ม้ง)
ที่อพยพมาตั้งบ้านเรือนในช่วงสงครามระหว่างพรรค
คอมมิวนิสต์ (พ.ค.ท.) และรัฐบาลไทย ซึ่งต่อมาชาวมง้
บางสว่ นไดเ้ ข้าร่วมกบั พ.ค.ท. ตอ่ สชู้ ิงอำนาจรฐั กับรัฐบาล
และต่อมาได้กลับใจเข้าร่วมเป็นผู้ พัฒ นาชาติไ ท ย ใ น
ปี พ.ศ. 2525 หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ 9 ทรงประทับรอย
พระบาทลงบนดอยพญาพิภกั ด์ิ - เทอื กเขาดอยยาวผาหมน่
สงครามจึงยุติ ชาวอำเภอขนุ ตาลจึงอยสู่ ุขสงบตงั้ แตน่ ้ันเปน็ ตน้ มา

อำเภอขุนตาลจัดตงั้ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมือ่ วนั ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2535 โดย
แบง่ พน้ื ที่ปกครองออกจากอำเภอเทิง ต้ังเป็นก่ิงอำเภอขุนตาล และไดร้ ับการยกฐานะเป็นอำเภอขุนตาล เม่ือปี
พ.ศ. 2539 มีผลบงั คับใช้ตงั้ แตว่ ันท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2539

ช่ือ “ขุนตาล” ที่นำมาต้งั เป็นชือ่ ของอำเภอขุนตาลนั้นได้มาจากหลกั ฐานทีป่ รากฏชัดแจ้งในปัจจุบัน
ว่า “ขุนตาล” นั้นน่าจะมาจากชื่อของพระธาตุขุนตาลอันเป็นปูชนียสถานอนั ศักดิ์สทิ ธิ์ เป็นที่เคารพของ
ประชาชนในบริเวณนี้ และทุกๆ ปใี นวนั มาฆบูชาจะมีการสรงน้ำและจัดกิจกรรมเปน็ พุทธบูชาในชว่ งเทศกาล
ต่างๆ

76

แผนท่อี ำเภอขนุ ตาลโดยสังเขป
คำขวญั อำเภอขุนตาล

“ พระแสนแซค่ ่บู ้าน พระธาตุขุนตาลคู่เมอื ง รอยพระบาทลือเลื่อง ขุนตาลเมอื งคนดี ”
ลกั ษณะทางกายภาพ

1. สภาพทั่วไป
อาณาเขตติดต่อ
▪ ทศิ เหนอื ติดต่อกับ ตำบลหว้ ยซอ้ และตำบลบุญเรือง อำเภอเชยี งของ
▪ ทิศใต้ ติดตอ่ กบั ตำบลเวยี ง และตำบลสนั ทรายงาม อำเภอเทงิ
▪ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ ตำบลปอ อำเภอเวียงแกน่ และตำบลตบั เตา่ อำเภอเทงิ
▪ ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ ตำบลสันทรายงาม อำเภอเทิง ตำบลเม็งราย และตำบล
แมต่ ๋ำ อำเภอพญาเม็งราย
เนอ้ื ที่

พน้ื ทที่ ั้งหมด 255.5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 159,687.60 ไร่ มีพื้นทีเ่ ปน็ ลำดับท่ี 17 ของ
จังหวัดเชยี งราย

77

2. สภาพภมู ปิ ระเทศ

ลักษณะพนื้ ท่โี ดยท่วั ไปสว่ นใหญเ่ ปน็ ทร่ี าบเชิงเขาจากทศิ เหนือถึงทศิ ใต้ มีลำน้ำอิงไหลโดย
ทัว่ ไปเป็นบริเวณทร่ี าบเชงิ เขามีลักษณะพ้ืนท่ีลาดเอยี งจากแนวเทือกเขาดอยยาว ด้านทศิ ตะวันออกไปทาง
ทศิ ตะวันตกจรดถงึ แมน่ ้ำอิง พน้ื ทโี่ ดยรวมเป็นแนวยาวตามเทอื กเขาดอยยาว ขนานไปกบั เส้นทางหลวงแผ่นดนิ
หลายเลข 1020 สภาพพ้ืนทีแ่ บง่ ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ พ้ืนทภ่ี เู ขา สว่ นใหญ่อยทู่ างทศิ เหนอื ทศิ ตะวันออก
และทางทิศตะวนั ตกของอำเภอ พน้ื ท่รี าบลมุ่ นำ้ และที่ราบเชงิ เขา กระจายอยูท่ ่วั ไประหว่างหบุ เขาที่ทอดตัว
ตามแนวลำนำ้ ได้แก่ ท่รี าบลมุ่ แม่น้ำสายตา่ ง ๆ ซึง่ เปน็ พืน้ ที่ทีม่ ีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสำหรบั การเพาะปลูก
ทำการเกษตร

3. ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ลักษณะภมู ิอากาศเป็นแบบรอ้ นชืน้ มี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน เริม่ ตง้ั แต่กลางเดือนกมุ ภาพันธ์ ถงึ

กลางเดือนพฤษภาคม อุณหภูมเิ ฉล่ีย 28 องศาเซลเซยี ส ฤดูฝน เร่มิ ตงั้ แตก่ ลางเดอื นพฤษภาคม ถงึ กลางเดอื น
กมุ ภาพนั ธ์ อณุ หภมู เิ ฉลยี่ 10 องศาเซลเซยี ส ปริมาณน้ำฝนตกมากท่สี ดุ ในชว่ งเดอื นสงิ หาคม ฝนตกนอ้ ยที่สุด
ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ และฤดหู นาว

ขอ้ มลู แหง่ เรียนรู้
แหล่งทอ่ งเทยี่ ว

ค้มุ พญาเม็งราย

เปน็ ทีส่ ักการะเคารพนับถือของประชาชนอำเภอพญาเม็งราย
และอำเภอใกล้เคียงเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิ เคารพนับถือ และในปี
มหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระชนมายุครบ
80 พรรษา ชาวบ้านอำเภอพญาเมง็ รายได้จดั ทำจตุคามรามเทพรุ่น
“คุ้มพญาเม็งรายมหาราชาโชค 50” ขึ้นเพื่อนำรายได้มาบูรณะ
คุ้มพญาเม็งรายเพื่อให้สมพระเกียรตแิ ละสวยงาม ให้เป็นสถานท่ี
ทอ่ งเทีย่ ว และสถานที่ยึดเหน่ยี วจติ ใจชาวอำเภอพญาเมง็ ราย และไดม้ ี
การสมโภชค้มุ พญาเม็งรายหลังใหม่ เมื่อวันท่ี 18 เมษายน 2551

วัดพระธาตปุ ลู า้ น

เป็นทสี่ ักการะ เคารพนบั ถือของประชาชนบา้ นหว้ ยกา้ ง
ปูล้าน และประชาชนชาวอำเภอพญาเม็งรายเป็นอย่างมาก
เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่เคารพนับถอื พระธาตุปูล้านเป็น
วัดเก่าแก่ท่ีมีองคเ์ จดีย์อายุร่วม 700 ปี และมีสถาปัตยกรรม
เก่าแก่ให้ศึกษา มีการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2549 - 2550
โดยครบู าพรชยั วรปัญโญ รว่ มด้วยพน่ี อ้ งชาวอำเภอพญาเม็งราย

78
วดั หมอกมุงเมอื ง

ตงั้ อยทู่ ี่บา้ นหว้ ยเด่อื หมู่ 1 ตำบลไม้ยา อำเภอพญาเม็งราย
จังหวัดเชียงราย เป็นสถานที่บำเพ็ญศาสนกิจของพระสงฆ์
และประชาชนชาวตำบลไม้ยา โดยมีครูบาพรชัย วรปัญโญ เป็น
เจ้าอาวาส ภายในอุโบสถมีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ซึ่งมีลักษณะ
งดงามประดษิ ฐานอยู่

อ่างเก็บห้วยก้าง

เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของตำบลไม้ยา รายล้อม
ไปด้วยป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ บริเวณอ่างเก็บน้ำมีร้านค้า และ
ร้านอาหารไว้บริการสำหรับผู้มาท่องเที่ยว และที่สำคัญเป็น
แ ห ล ่ ง ก ั ก เก ็ บ น ้ ำไว ้ใ ช้ ใน ก าร ทำก าร เก ษตร ขอ ง เก ษตรกร
ตำบลไมย้ า

วนอทุ ยานน้ำตกตาดควนั

มีสภาพป่าท่คี อ่ นขา้ งสมบูรณ์ จดั เป็นวนอุทยานน้ำตกตาด
ควันเมือ่ ปี พ.ศ.2545 เป็นแหล่งท่องเทีย่ วและพักผอ่ นหย่อนใจ
น้ำตกตาดควันเกิดจากลำห้วยที่ไหลมาจากอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
จังหวัดเชยี งราย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกผ่านบ้านเย้าแม่ตำ๋ ตำบล
ตาดควัน น้ำตกมีความสูงชัน และสวยงาม และในฤดูหนาวจะเกดิ
ละอองน้ำมลี ักษณะคล้ายหมอกควนั สขี าวปกคลมุ จงึ ไดช้ ่ือว่า “น้ำตก
ตาดควนั ”

อ่างเกบ็ นำ้ ตำบลตาดควนั

มเี นื้อทป่ี ระมาณ 698 ไร่ สามารถบรรจนุ ำ้ ได้ 6.7 ลา้ น
ลูกบาศกเ์ มตร อา่ งเก็บนำ้ ตาดควนั เกิดจากการไหลรวมตัวของ
ลำห้วยตาดควันและลำน้ำแม่ต๋ำ ซึ่งหล่อเลี้ยงผู้คนในตำบล
ตาดควัน และตำบลใกล้เคียง มีจุดชมวิวและมีแพสำราญ
ซงึ่ ได้รบั งบประมาณจากโครงการอยู่ดมี ีสุข ไวบ้ รกิ ารเพือ่ ล่องชม
ทศั นียภาพอา่ งเก็บน้ำ ชมพชื สวนทางการเกษตรของชาวตำบล
ตาดควนั และวถิ ีชีวติ ของชาวบา้ นในการหาปลาเพอื่ ยงั ชีพ

79

การขับซอ เปน็ การขบั ขาน หรือ การร้องรอ้ ยกรอง

ที่เป็นภาษาคำเมืองหรือภาษาถิ่นเหนือมีฉันทะลักษณ์เฉพ า ะ
จัดเป็นศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านของล้านนาที่เปน็ ภูมิปัญญาทาง
ภาษา ทไ่ี ด้สรา้ งสรรคไ์ วอ้ ย่างงดงามและทรงคุณคา่ แฝงดว้ ยคตธิ รรม
คำสอน แสดงให้เห็นถงึ ความสัมพันธ์ของมนษุ ยก์ บั มนษุ ย์ ธรรมชาติ
และส่งิ ที่อยู่เหนือธรรมชาติไว้อย่างชดั เจน สะท้อนใหเ้ หน็ เอกลักษณ์
ทางวัฒนธรรมที่สำคัญ มีความสัมพันธ์กับวิถีความเป็นอยู่ของ
ชาวลา้ นนาในดา้ นต่างๆ

การซอของแต่ละท้องถ่นิ มเี ครือ่ งดนตรปี ระกอบและท่วงทำนองท่แี ตกตา่ งกนั และซอโต้ตอบ
ระหวา่ งช่างซอชายและช่างซอหญิง ภาษาถน่ิ เรียกวา่ “ค่ถู ้อง” มที ้ังการซอตามบทและปฏภิ าณไหวพริบของ
ช่างซอ โดยนำเอาข้อมลู หรอื เหตกุ ารณ์ต่างๆ มาพรรณนาโวหาร ซ่ึงแฝงดว้ ยคติธรรมและคตโิ ลกตามลักษณะ
ของฉนั ทะลักษณข์ องแต่ละทำนองซอ

ซอเป็นเพลงพื้นบา้ นท่เี ปน็ ภมู ิปญั ญาสืบทอดมาจากบรรพบรุ ษุ ถงึ ชัว่ ลกู ช่ัวหลานจนถึงทกุ วันนี้
เปน็ ศิลปะทใี่ ห้ความบนั เทงิ เพ่ิมความมชี วี ติ ชีวาให้กบั งานกุศลหรืองานรืน่ เริงทวั่ ไป ซอจึงเป็นศิลปะพ้ืนบ้าน
คู่กับลา้ นนา ไม่ว่าจะเป็น หมอลำ ลำตัด เพลงอีแซว เพลงฉ่อย เพลงบอก หรือซอ ต่างก็เป็นการขับร้อง
ที่ใช้ภาษาถ่ินที่สะทอ้ นถงึ ศิลปะการแสดงพ้ืนบา้ นของแตล่ ะภาคที่มคี วามโดดเด่นในการรอ้ งด้นกลอนสด
โดยไมม่ กี ารเตรยี มหรอื แต่งเน้อื ร้องไวล้ ่วงหนา้ ศลิ ปินต้องมีความชำนาญ ความเชย่ี วชาญจงึ สามารถด้นกลอน
สดๆ ไดแ้ ละตอ้ งมกี ารฝึกฝนดว้ ยความวิรยิ ะอุตสาหะ

นายศราวุฒิ เตมีศักด์ิ หรือ ครูดน เป็นผู้มคี วามรู้
ความเชีย่ วชาญด้านซอพื้นเมือง ทั้งการประพันธ์บทซอและ
การขับซอทุกทำนอง ด้วยน้ำเสียงที่มีพลังไพเราะ และมี
ปฏิภาณไหวพรบิ ดี สามารถประพันธ์ซอ ท่ีมเี นอ้ื หา เกี่ยวกับ
คตธิ รรม คณุ ธรรม ขอ้ คดิ และแนวปฏิบตั ิ ดว้ ยความมุ่งม่ันที่
จะสืบสานการขบั ซอพืน้ เมือง จงึ ได้ถา่ ยทอดความรแู้ ก่นักเรยี น
โรงเรียนเทศบาลป่าตาลและผู้สนใจ ซึ่งได้ทงั้ สาระและความ
บนั เทิงท่ีสามารถนำไปปรบั ใชก้ บั ชีวิตประจำวันได้ ผลงานเป็น
ท่ปี ระจกั ษ์และยอมรบั ในพืน้ ท่อี ำเภอขุนตาล

การขับซอน้นั มอี ยู่ ๒ ลกั ษณะซึ่งแบง่ ตามเครื่อง
ดนตรที ี่ใช้ในการบรรเลงประกอบ โดยแตล่ ะลกั ษณะ
นัน้ จะมีวิธีการและขัน้ ตอนดังน้ี

๑. ซอซึง เรียกอีกอย่างว่า ซอเข้าซึง นิยมให้
ช่างซอเป็นหัวหน้าคณะ มีต้นแบบหรือกำเนิดที่
จังหวัดน่าน จึงเรียกอีกอย่างว่า ซอน่าน แต่นิยมซอ
ในเขตจังหวดั แพร่ น่าน พะเยา ปัจจบุ นั ซอนา่ น เปน็ ท่ี
นิยมทว่ั ไป ชา่ งซอขบั ซอช้ากว่าซอเชียงใหม่ มที ำนอง
ล่องน่าน ดาดแพร่ ลบั แล โดยไมต่ ้องใช้ทำนองอ่ืนเป็น
ทำนองเชือ่ ม

80
๒. ซอปี่ เป็นการซอท่ีใช้เคร่ืองดนตรปี ี่จุมเป็นหลกั ซอปี่จึงเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าซอเข้าปี่
นิยมให้ช่างซอหญิงเป็นหัวหน้าคณะ มีต้นแบบหรือกำเนิดทีจ่ ังหวัดเชียงใหม่ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งวา่
ซอเชียงใหม่ นิยมซอในจังหวดั เชยี งใหม่ ลำพนู ลำปาง เชยี งราย แพร่ และแมฮ่ อ่ งสอน ในการขบั ซอขบั ซอเร็ว
บางคร้ังฟังไม่ค่อยทัน มซี อทำนองต้ังเชียงใหม่ ละมา้ ย เชยี งแสน จะปุ ออ่ื พม่า (เชียงใหม่) เสเลเมา (เงี้ยว)
พระลอ เป็นต้น การเปล่ยี นทำนองและการใชท้ ำนองคอ่ นข้างเคร่งครัด

ผู้ทถี่ ือปฏิบัติมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ชอื่ นายศราวุฒิ เตมีศกั ดิ์
ที่อยู่ โรงเรียนเทศบาลตำบลปา่ ตาล
หมายเลขโทรศพั ท์ 080-1280126

81

กลุม่ ทอผา้ บา้ นท่งุ ศรีเกิด

หมู่บ้านทุ่งศรี เป็นอีกหมู่บ้านหนึ่งที่มีการสืบทอด
ภูมิปัญญาด้านการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษ โดยเดิมทีเป็น
การทอผ้าฝ้ายที่ทำเองทุกกระบวนการ ตั้งแต่ปลูกต้นฝ้าย
จนกระทั่งทอ แต่ในยุคสมัยในปัจจุบันไม่มีที่ดินสำหรับปลูก
ต้นฝ้าย เน่ืองจากไปเป็นบา้ นเรอื นและท่นี า เสียส่วนใหญ่จงึ มีการ
ทอผ้า โดยซื้อฝ้ายจากผู้จำหน่ายมาใชแ้ ทน ชาวบ้านส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพทำนา หรือเกษตรในยามที่ว่างจากการทำนา
ชาวบ้านจะรวมตัวกันหาอาชีพเสริมเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้
ใหก้ บั ครอบครวั

ด้วยเหตนุ ้ี นางณฐมน จนั รยิ า ซง่ึ มีความรูค้ วามสามารถ
ดา้ นการทอผ้าจึงได้ชกั ชวนชาวบา้ นท่ีมคี วามสนใจตรงกนั ตั้งกลุ่ม
ทอผ้าขน้ึ มาและมีผูเ้ ข้าร่วมเป็นสมาชกิ 13 คน ทำใหม้ กี ลุม่ ทอผ้า
ของหมู่บ้านเกิดข้ึน จนถงึ ปัจจุบนั

ลักษณะเดน่ ท่ีเปน็ อัตลกั ษณ์

ซิ่นมดั กา่ น เอกลักษณเ์ ฉพาะตัวของบา้ นทงุ่ ศรีเกดิ คอื ผา้ ท่มี ลี วดลายของการมัดย้อมจาก
เส้นฝ้ายธรรมชาตแิ ล้วนำมาผ่านการย้อมสธี รรมชาติ ผ้าซิน่ มัดก่านมกั จะสะท้อนวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของ
คนในชุมชน ที่แฝงไปดว้ ยคติ ความเชอ่ื ในด้านต่างๆ ปจั จุบนั มกี ารพัฒนาแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์ ทเ่ี สรมิ รายได้
ใหแ้ ก่ชุมชนด้วย ปัจจุบนั ได้นำมาปรับปรงุ ใหม้ รี ูปแบบและลกั ษณะทแ่ี ตกต่างออกไปจากของเดิม โดยคิดนำ
ลายมุกมาผสมผสานกนั อย่างลงตวั มคี วามสวยงาม และมีความโดดเดน่ เปน็ เอกลกั ษณข์ องชุมชน

ขน้ั ตอน/วิธีการ

1. นำฝา้ ยมาแชน่ ้ำข้าวแป้ง 1 ชัว่ โมง
2. นำมาผึ่งแดด
3. นำมากวัก
4. ดงึ เส้นให้ยาวประมาณ 100 เมตร
5. ต่อกับพืมทที่ อ
6. นำมาทอเปน็ ผ้าตามลวดลายทต่ี ้องการ

ผู้ที่ถือปฏบิ ตั ิมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม

ชอื่ แมบ่ วั เรยี ว อโนราช

ที่อยู่ เลขที่ 181 หมู่ที่ 3 บา้ นทุ่งศรเี กดิ ตำบลยางฮอม

อำเภอขุนตาล จงั หวดั เชียงราย

หมายเลขโทรศพั ท์ 084 – 3655997

82

การทำเทยี น ลดเคราะห์ สบื ชะตา รับโชค

เปน็ พธิ กี รรมที่ชาวบ้านทางเหนอื ของประเทศไทย เช่ือกนั ว่าเม่อื ไดม้ กี ารทำพิธกี ารบูชาเทียน
น้ีแล้ว จะชว่ ยปอ้ งกันและปัดเปา่ ความโชคร้ายและเคราะหร์ ้ายตา่ งๆ ทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ กับตนเองให้รอดพ้นจาก
ภัยอันตรายต่างๆ และทำใหม้ ีโชคลาภและอายุยืนยาว ความเชื่อในเรื่องการบูชาเทียนนี้ไม่ได้มีเฉพาะ
ชาวล้านนาทางภาคเหนือเท่าน้ัน แตย่ ังมีอกี หลายภาค หลายประเทศที่มีความเชื่อแบบเดยี วกนั แต่ในพิธีการ
ทำเทยี นน้นั อาจคล้ายคลงึ กันหรอื แตกตา่ งกันออกไป ซง่ึ เป็นสงิ่ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จกั ค้นุ เคยเปน็ อยา่ งดี

เทียนท่จี ะใชใ้ นการพธิ บี ูชาเทียนนี้ แบง่ ออกได้ 3 ประเภทใหญๆ่ ดงั นี้
1. การบชู าเทียนสะเดาเคราะห์ ใช้จุดเพื่อปดั เป่าสิ่งชั่วร้าย

และภยั อนั ตรายท่ีจะเกดิ ขึ้นออกไปจากตนเอง
2. การบชู าเทยี นสบื ชะตา ใช้จดุ เพื่อต่ออายุตนเอง ให้มีอายุ

ยนื ยาวและมสี ขุ ภาพรา่ งกายทแ่ี ข็งแรงไมป่ ว่ ยไข้
3. การบูชาเทยี นรับโชค ให้จดุ เพื่อเป็นการเสรมิ ดวงชะตาตาม

ราศี ทางด้านโชคลาภใหม้ ีโชค มีลาภแก่ตนเอง ถูกหวย
รวยทรพั ย์ ไดข้ ายท่ดี นิ ทส่ี วน ที่นา ทบ่ี า้ น เปน็ ตน้

การบูชาเทียนเปน็ พิธกี รรมทางศาสนาของชาวลา้ นนาไทย ซง่ึ มคี ตคิ วามเชื่อของชาวลา้ นนา
หรอื ชาวบ้านทางภาคเหนอื ของประเทศไทยว่า เปน็ สิง่ ที่ทำกนั มาตง้ั แต่สมยั อดีตจนถงึ ปจั จุบัน ซึ่งเช่ือกันว่า
การกระทำเชน่ น้ี จะทำให้เกดิ แต่งสง่ิ ทด่ี ีๆ ข้นึ กับชีวิตของตวั เอง และตามความตอ้ งการของผู้ทำ

ผทู้ ีถ่ ือปฏบิ ัติมมรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ พระอาจารยว์ เิ ศษสิษฏ์ จารปุ ณุ ณวํโส
ทอ่ี ยู่ 239หมู่ 7 ตำบลต้า อำเภอขนุ ตาล จงั หวัด
เชยี งราย
หมายเลขโทรศัพท์ 062-0041372

83

ฟอ้ นพ้นื บา้ น “ม่ิงขวญั คีรีศรีขนุ ตาล”

การฟอ้ นมงิ่ ขวัญครี ศี รีขุนตาลเป็นการฟอ้ นทีเ่ ป็นเอกลักษณ์
ของอำเภอขนุ ตาล ซ่งึ เป็นการเล่าถงึ ประวัตอิ ำเภอขนุ ตาลตามคำขวัญ
คอื “พระแสนแซค่ ู่บา้ น พระธาตขุ นุ ตาลคเู่ มอื ง รอยพระบาทลือเล่ือง
ขุนตาลเมืองคนดี” ในรูปแบบค่าว และลีลาฟ้อนแบบทางเหนือ
ประกอบเพลงซึ่งเปน็ ลลี าการฟอ้ นท่สี วยงามแบบล้านนา

มีการแต่งกายตามวฒั นธรรมพ้นื บา้ นของอำเภอขนุ ตาล เป็น
ลิขสิทธิ์ผลงานทางวิชาการของอาจารย์รัชนีกรณ์ เหล่าภักดี และ
ลขิ สทิ ธขิ์ องนักเรียนโรงเรียนผสู้ ูงวัยเทศบาลตำบลปา่ ตาล ทั้งยังเป็น
ผลงานทีส่ ร้างช่อื เสียงใหอ้ ำเภอขนุ ตาล จะใช้การฟ้อนชุดน้อี ีกชุดหนึ่ง
เปน็ ชุดฟ้อนพ้ืนบ้านเพอ่ื ต้อนรับผมู้ าเยือนอำเภอขนุ ตาล
การสบื สาน สร้างสรรค์ และพัฒนาตอ่ ยอด
โรงเรยี นผสู้ ูงวยั เทศบาลตำบลปา่ ตาล อำเภอขุนตาล เป็นต้นแบบ สบื สาน สบื ทอด แกอ่ นุชน
รนุ่ ตอ่ รุ่น คอื เดก็ นักเรียน กลมุ่ พัฒนาสตรแี มบ่ ้าน ที่เป็นศิลปะวันธรรมการฟ้อนพ้ืนบ้านล้านนาทางเหนือ
และสร้างจิตสำนึกให้กลุ่มต่างๆ ให้มีต่อวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยสอดแทรกการแสดงแบบล้านนาท้องถน่ิ
ในงานตา่ งๆ ของชมุ ชน
ให้โอกาสผู้ท่ีสนใจได้มโี อกาสในการสัมผัส ฝกึ ซ้อมการฟอ้ นมง่ิ ขวญั ครี ีศรขี นุ ตาล อกี ทง้ั จดั เวที
ใหท้ กุ กลุม่ มีโอกาสแสดงออกระดับอำเภอถึงวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นท่ีมีอยู่ นอกจากน้ี อำเภอขันตาลยงั ได้ประสาน
เทศบาลตำบลป่าตาล ส่งเสริมการฟอ้ นครี ศี รีขนุ ตาล ให้เป็นนวัตกรรมการออกกำลงั กายเพอ่ื สุขภาพประจำ
ตำบล โดยมีการประชาสมั พันธ์ผ่านสื่อทางวิทยกุ ระจายเสียงทีข่ ้าพเจา้ ทำหน้าทีน่ ักจัดการายวิทยุชมุ ชน
เพอ่ื คนทอ้ งถ่นิ ตำบลป่าตาล ผ่านสอื่ Application Line ผา่ นกลมุ่ ต่างๆ เพอื่ ให้เกิดการซึมซับอย่างต่อเน่ือง
และสืบทอดตอ่ ไป

ผทู้ ถี่ ือปฏบิ ตั ิมรดกภมู ิปัญญาทางวัฒนธรรม
ช่อื นางศรีวรรณา ร้ทู ำนอง
ทีอ่ ยู่ 28 หมทู่ ี่ 10 ตำบลป่าตาล อำเภอขุนตาล

จงั หวัดเชยี งราย 57340
หมายเลขโทรศพั ท์ 087-175-8685

84

สมุนไพรหมอสนั่น

พ่อสนั่น กิตตศิ กั ดิ์เจริญ เป็นผู้มีความรู้เรือ่ งสมุนไพร
และภูมิปัญญาในการรกั ษาโรค ได้บริหารจัดการพืน้ ที่รอบๆ
บรเิ วณบ้านของตนเอง โดยไดน้ ำพืชสมนุ ไพรหลากหลายชนิดมา
ขยายพันธ์ุเพ่อื นำไปผลิตเปน็ ยาสมุนไพรต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2549
สมนุ ไพรหมอสน่ัน เป็นภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นดา้ นสมุนไพรที่ได้รับ
การยอมรับ โดยพ่อหมอสนั่นได้รับรางวัลและเกียรติบัตร
มากมาย
สมุนไพรหมอสนน่ั มีผลิตภณั ฑ์มากมายหลากหลาย อาทิเช่น
1. นำ้ มนั ไพลสด
สรรพคณุ : ใชท้ านวดบรรเทาอาการปวดตามร่างกาย เคลด็ ขัดยอก เสน้ เอน็ ตึง
แก้เส้นเอน็ พกิ าร ฟกชำ้ ปวดบวมตามขอ้
สว่ นประกอบสำคญั : ไพลสด,ขมน้ิ ชนั ,หญา้ เอน็ ยืด,กระดูกไกด่ ำและสมนุ ไพรอ่ืนๆ

2. สมุนไพรดองเหลา้
สรรพคณุ : ช่วยบรรเทาอาหารปวดหลัง ปวดเอว ช่วยใหเ้ จรญิ อาหาร
บำรงุ ร่างกาย
ส่วนประกอบสำคัญ : ฮอ่ สะพายควาย และสมุนไพรอ่นื ๆ

3. ยาหมอ่ งไพลสด
สรรพคุณ : บรรเทาเคลด็ ขดั ยอก แก้ปวดเมื่อย วิงเวียนศรษี ะ
สว่ นประกอบสำคญั : ไพลสด

4. ลกู ประคบสมนุ ไพร
สว่ นประกอบสำคัญ : ไพล, ผิวมะกรูด, ขมิน้ , ใบส้มป่อย, ตะใคร้บ้าน,
ใบมะขาม, พมิ เสน, การบูร, เกลอื แกง

ผทู้ ่ถี อื ปฏบิ ตั ิมรดกภูมปิ ัญญาทางวฒั นธรรม
ชือ่ นายสนัน่ กิตติศกั ดเิ์ จรญิ
ท่ีอยู่ บา้ นเลขที่ 14 หมูท่ ี่ 15 ตำบลยางฮอม

อำเภอขนุ ตาล จงั หวดั เชียงราย
หมายเลขโทรศพั ท์ -

คำ ข วั ญ อำ เ ภ อ เ ชี ย ง ข อ ง

หลวงพ่อเพชรคู่เมือง
ลือเลื่ องปลาบึกหาดไคร้

แหล่งผ้าทอน้ำไหล
ประตูใหม่อินโดจีน

สภาวัฒนธรรมอำเภอเชียงของ

86

อำเภอเชียงของ

ประวตั ิควำมเป็นมำ

เชียงของเคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยหิรัญนครเงินยาง (เชียงแสน) ช่ือในภาษาบาลีคือ "ขรราช" ต่อมามีฐานะ
เป็นเมืองช่ือ "เมืองเชียงของ" ขึ้นอยู่ในความปกครองของเมืองน่าน โดยกษัตริย์น่านได้ต้ังให้เจ้าอริยวงศ์เป็น
เจ้าเมืองเชียงของ เมื่อปี พ.ศ. 1805 และปกครองเมืองเชียงของ สืบต่อมาจนถึงเจ้าเมืองคนสุดท้าย คือ
พญาจิตวงษ์วรยศรังษี ปี พ.ศ. 2453 (รศ.129) และให้มีฐานะเป็นอาเภอขึ้นกับจังหวดั เชียงรายมาจนถึงปัจจุบนั
โดยแตง่ ต้ังพญาอริยวงษ์ (นอ้ ย จติ ตางกรู ) เปน็ นายอาเภอคนแรกของอาเภอเชียงของ จังหวดั เชียงราย ในปี พ.ศ.2457
นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน อาเภอเชียงของ มีนายอาเภอคนท่ี 26 คือ นายทัศนัย สุธาพจน์ ซึ่งดารงตาแหน่ง
จนถึงปัจจุบนั

วันท่ี 24 กมุ ภาพันธ์ 2471 ต้ังตาบลท่าข้าม แยกออกจากตาบลมว่ งยาย
วันที่ 23 มกราคม 2481 ต้งั และเปลีย่ นแปลงเขตตาบลในอาเภอเชียงของ (1,2,3,4)
(1) รวมตาบลในเวียง และตาบลหว้ ยเมง็ แลว้ จัดต้งั เป็น ตาบลเวียง
(2) รวมตาบลท่าขา้ ม และตาบลมว่ งยาย แล้วจดั ต้ังเป็น ตาบลมว่ งยาย
(3) รวมตาบลบุญเรือง และตาบลต้นปล้อง แลว้ จดั ตงั้ เป็น ตาบลบุญเรือง
(4) ยบุ ตาบลในเวียง ตาบลต้นปลอ้ ง ตาบลท่าขา้ ม ตาบลห้วยเม็ง และตาบลบุญเรือง (เก่า)
วนั ที่ 10 มถิ ุนายน 2490 ต้ังตาบลครึ่ง แยกออกจากตาบลบญุ เรอื ง
วนั ท่ี 28 พฤศจกิ ายน 2499 จดั ตงั้ สขุ าภิบาลเวยี งเชยี งของ ในทอ้ งทีบ่ างสว่ นของตาบลเวียง
วนั ท่ี 23 กนั ยายน 2523 ตั้งตาบลศรีดอนชัย แยกออกจากตาบลสถาน
วันท่ี 27 มกราคม 2524 เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลเวียงเชียงของ เพ่ือความเหมาะสมในการบริหาร
กิจการและการทะนุบารุงท้องถ่ิน
วันท่ี 30 มนี าคม 2525 ตงั้ ตาบลหล่ายงาว แยกออกจากตาบลม่วงยาย
วันท่ี 9 เมษายน 2530 ได้แยกพ้ืนท่ีตาบลม่วงยาย ตาบลปอ และตาบลหล่ายงาว จากอาเภอเชียงของ
ไปตง้ั เป็นกิง่ อำเภอเวยี งแกน่ ขนึ้ กบั อาเภอเชียงของ
วันที่ 21 ตลุ าคม 2531 ตง้ั ตาบลท่าขา้ ม แยกออกจากตาบลปอ
วนั ที่ 24 มกราคม 2532 เปดิ จุดผ่านแดนที่ดา้ นอาเภอเชียงของ จังหวดั เชียงราย - ห้วยทราย สาธารณรัฐ
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว
วนั ท่ี 12 กันยายน 2533 ตง้ั ตาบลรมิ โขง แยกออกจากตาบลเวียง
วนั ท่ี 9 เมษายน 2536 จดั ตั้งสุขาภบิ าลบุญเรือง ในทอ้ งที่บางสว่ นของตาบลบุญเรอื ง
วันที่ 8 สงิ หาคม 2538 ยกฐานะจากกงิ่ อาเภอเวียงแกน่ อาเภอเชยี งของ เปน็ อาเภอเวยี งแก่น
วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลเวียงเชียงของ และสุขาภิบาลบุญเรือง เป็นเทศบาล
ตาบลเวยี งเชยี งของ และเทศบาลตาบลบุญเรือง ตามลาดบั

วนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2547 ยุบสภาตาบลบุญเรอื ง รวมกับ เทศบาลตาบลบญุ เรอื ง

วันท่ี 19 เมษายน 2555 เปล่ยี นแปลงชื่อหมู่ที่ 23 บ้านกาสลองคา ตาบลหว้ ยซ้อ เปน็ "บ้านแกน่ สะลองคา"

87
แผนที่อำเภอเชยี งของ

คำขวัญอำเภอเวียงชยั แผนทอ่ี าเภอเชยี งของ

หลวงพอ่ เพชรคู่เมอื ง ลือเลือ่ งปลาบึกหาดไคร้
แหลง่ ผา้ ทอนา้ ไหล ประตูใหมอ่ นิ โดจีน

ลักษณะทำงกำยภำพ

1. สภำพทว่ั ไป
ตำแหนง่ ทตี่ ้งั

อาเภอเชียงของ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของอาเภอเมืองเชียงราย ห่างจากอาเภอ

เมืองเชยี งราย 103 กิโลเมตร ทีว่ ่าการอาเภอเชียงของ ต้งั อยู่ หมู่ 12 ถนนสายกลางตาบลเวียง อาเภอเชียงของ

จังหวัดเชยี งราย มีจานวนเนอ้ื ทปี่ ระมาณ 10 ไร่ เปน็ ที่ดนิ สาธารณะประโยชน์ มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดังนี้

อำณำเขตตดิ ตอ่ ตดิ ตอ่ กับ แขวงบ่อแกว้ (ประเทศลาว)
- ทิศเหนือ
- ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั แขวงบ่อแก้ว (ประเทศลาว) และอาเภอเวียงแก่น

- ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับอาเภอเวยี งแก่น อาเภอขุนตาล อาเภอพญาเม็งราย และอาเภอเวียงเชียงรุ้ง
- ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับอาเภอดอยหลวงและอาเภอเชียงแสน
ระยะทางหา่ งจากตัวจงั หวดั เชยี งรายประมาณ 103 กโิ ลเมตร

88

๒. สภำพภูมปิ ระเทศ
สภาพท่ัวไปลักษณะภูมิประเทศพื้นท่ีราบ สลับกับเทือกเขา มีพ้ืนท่ีด้านทิศตะวันออกบางส่วนติดกับ
แมน่ ้าโขง ซึง่ ฝ่งั ตรงข้ามคอื เมอื งห้วยทราย แขวงบอ่ แก้ว สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว มปี ระชากรอาศยั
อยูใ่ นพ้ืนทห่ี ลายเช้อื ชาติ เช่น ไตลอื้ ขมุ ชาวมเู ซอ แมว้ เย้า โดยกลุ่มไทล้อื โดยมากจะอาศัยอยู่ท่ี บา้ นหว้ ยเมง็ และ
บ้านศรีดอนชัย อพยพมาจากทาง สิบสองปันนา ทางตอนใต้ของประเทศจีนปัจจุบันยึดอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก
เคยทาสวนสม้ กันจนมีช่ือเสียงโดง่ ดงั แต่ปัจจุบันด้วยโรคภัยเยอะชาวบ้านเลยเลิกทาสวนส้มไปหลายราย หนั ไปทาไร่
ข้าวโพดเหมือนกับชาวบ้านใกล้เคียงแทน เชื้อชาติขมุตั้งอยู่ท่ีบ้านห้วยกอกเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ท่ีมีประชากรไมม่ าก
นัก ประชากรในอาเภอเชียงของโดยส่วนมากทาอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทานา ไร่ข้าวโพด สวนส้ม สวนลิ้นจ่ี
สวนสม้ โอ และพืชผักตา่ ง ๆ เป็นต้น

แหลง่ เรยี นรู้/แหลง่ ท่องเทย่ี ว

๑. พิพธิ ภัณฑป์ ลำน้ำจดื และภำพวำดสำมมติ ิ
ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหาดไคร้ หมู่ 7 ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งของ
จังหวัดเชียงราย เปน็ สถานที่แสดงอความเรียมพนั ธุ์ปลาต่าง ๆ
รวมไปถึงการจัดแสดงภาพเก่าแก่ในอดีต และภาพ 3 มิติ
พร้อมกบั ชมธรรมชาติ และวิถชี ีวติ ชายแดนไทย - สปป.ลาว

๒. ศำลเจำ้ พอ่ พญำแกว้
ต้ังอยู่ท่ีบ้านสบสม หมู่ ๓ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัด
เชยี งราย ตามประวัตกิ ล่าวว่า พญาแกว้ ได้เป็นผู้นาราษฎร จานวนหน่ึง
อพยพมาจากสิบสองปันนา ล่องเรือมาตามลาแม่น้าโขง แล้วมาข้ึนฝั่ง
และสรา้ งบ้านแปงเมอื งอยู่บริเวณหมบู่ ้านสบสมในปัจจบุ ันน้ี ซง่ึ การอพยพ
มานั้นเม่ือประมาณ ๓๐๐ กว่าปีมาแล้ว ซ่ึงสมัยน้ันยังเป็นเมืองร้าง
อยู่ต่อมาชาวอาเภอเชียงของได้สร้างศาลเจ้าพ่อพญาแก้วข้ึนมา
เมือ่ วันท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๑๒ จงึ ไดจ้ ดั งานประเพณีไหวศ้ าลเจ้าทกุ ๆ ปี
๓. ท่ำผำถำ่ น
ต้ังอยู่ริมแม่น้าโขงในเมืองเชียงของ ตาบลเวียง อาเภอ
เชียงของ ซ่ึงเป็นจุดชมวิวแม่น้าโขงที่มีลักษณะเป็นลานกว้าง
มโี ขดหนิ เรยี งราย นักทอ่ งเทย่ี วที่มาชมวิวรมิ แม่น้าสามารถเดิน
จากทา่ ผาถ่านไปตามเส้นทางคนเดนิ และจกั รยานเลยี บแม่นา้ โขง
มรี ะยะประมาณ 1 กิโลเมตร

๔. กำดกองแกว้
ตงั้ อยู่บนถนนสายกลางตัง้ แต่หน้าวดั หลวงไชยสถาน
จนถึงหน้าวัดพระแก้ว ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย โดยเปิดตลาดทุกวันเสาร์ต้ังแต่เวลา
15.00 - 21.00 น. เป็นศูนย์กลางค้าขายชายแดนสาคัญ
ของเชียงของในอดีตมาถึงปัจจุบันว่าพันปี ถนนสาย
เรื่องราววิถีชีวิต และบรรยากาศของผู้คนชายแดนเมือง
เชียงของ การจัดกิจกรรมย้อนยุคขึ้นเพื่อแสดงอัตลักษณ์
และสร้างตลาดขายสินค้าของคนท้องถ่ินให้เศรษฐกิจ
หมนุ เวียน

๕. ทำ่ จบั ปลำบึกบ้ำนหำดไคร้ 89

ต้ังอยู่ที่เขตเทศบาลตาบลเวียง บ้านหาดไคร้ หมู่ 7

ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งของ จังหวัดเชยี งราย เปน็ แหล่งท่ีมี

ชื่อเสียงทางด้านการจับปลาบึกทุกปี ช่วงระหว่างเดือน

เมษายน – พฤษภาคม ซ่งึ เป็นชว่ งที่ปลาบกึ จะวา่ ยข้นึ เหนือ

เพื่อไปวางไข่ ก่อนการจับปลาบึก จะมีพิธีบวงสรวง

เจา้ พอ่ ปลาบึก ทาพธิ ีในวนั ที่ 18 เมษายนของทุกปี

๖. อำ่ งเกบ็ น้ำหว้ ยชำ้ ง/วนอทุ ยำนแห่งชำติห้วยน้ำช้ำง

ตั้งอยู่ท่ีวนอุทยานแห่งชาติ บ้านแฟน ตาบลสถาน

อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เป็นอ่างเก็บน้าที่มี

ทิวทัศน์สวยงาม เป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของราษฎร

ในทอ้ งถ่นิ

๗. สะพำนข้ำมแม่นำ้ โขงแหง่ ที่ 4
ตั้งอยู่ที่หาดบ้านดอนมหาวัน หมู่ 9 ตาบลเวียง

อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย กับบ้านดอน เมืองห้วย
ทราย แขวงบ่อแก้ว สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน

ลาว เป็นสะพานข้ามแม่น้าโขงเช่ือมต่อระหว่างประเทศไทย
กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระยะทาง
2.48 กโิ ลเมตร รปู แบบสะพานเปน็ คอนกรีตรปู กล่อง

๘. วดั เทพนิมิตสุดเขตสยำม
ต้งั อย่ตู าบลเวียง อาเภอเชยี งของ จงั หวัดเชียงราย

เป็นจดุ ชมวิวฝง่ั ไทยท่ีมที วิ ทัศนส์ วยงามระหว่างประเทศ
ไทย – สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

๙. สวนธำรณะปลำบกึ เจ็ดสี

ตั้งอยู่ที่บ้านหัวเวียง หมู่ ๑ ตาบล อาเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย เป็นสถานที่พักผ่อน ออกกาลังกายของ

ชาวอาเภอเชียงของ และเปน็ จุดชมววิ สองฝง่ั ไทย-ลาว
๑๐. น้ำตกหว้ ยเม็ง
ต้ังอยทู่ ่ีบ้านห้วยเมง็ หมู่ 6 ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ

จังหวัดเชียงราย เป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม มีความ
หลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ของชนเผ่าต่าง ๆ

ที่มีเอกลักษณ์ของกลุ่มชนเผ่าของตนเอง ชนเผ่าต่าง ๆ
แยกเปน็ ม้ง ชาวเขาเผา่ มง้ บา้ นทงุ่ นาน้อย บา้ นท่งุ พัฒนา

๑๑. พระธำตุเขำเขียว 90

ตงั้ อยทู่ บี่ า้ นครงึ่ เหนือ ตาบลครงึ่ อาเภอเชยี งของ จงั หวัดเชยี งราย

โดยสร้างประมาณเมือ่ ปี พ.ศ. 2410 โดยพระขาขนุ แสนหมวกเหล็ก

๑๒. พิพิธภณั ฑล์ อื้ ลำยคำ
ต้งั อยู่ทบ่ี า้ นศรีมงคล หมู่ 14

ตาบลศรดี อนชัย อาเภอเชียงของ
จังหวัดเชยี งราย โดยมคี ุณสุริยา วงคช์ ยั ลกู หลานไทล้อื รนุ่ ปจั จบุ นั ท่ี
จดั สรา้ งพภิ ณั ฑห์ ลังนข้ี น้ึ มา เพ่ือเกบ็ รกั ษาผ้าทอไทลื้อ

๑๓. บำ้ นไทลอื้ 100 ปี (ไทยลื้อ เฮือนเออื้ ยคำ)

ตั้งอยู่ท่ีบ้านศรีดอนชัย หมู่ 15 ตาบลศรีดอนชัย อาเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงราย เป็นช่ือของเรือนท่ีพี่สหัสชายา นุช
เทยี น ทายาทรุน่ ทสี่ องเป็นเจ้าของเรอื น ต้งั อย่ถู นนสายหลกั เทงิ -

เชียงของ แสดงประวัติของการอพยพของครัวเรือนในสมัย
สงครามโลกครั้งทส่ี อง

๑๔. วดั พระเจ้ำเข้ำกำด
ต้ังอยู่ท่ีบ้านหลวง ตาบลคร่ึง อาเภอเชียงของ จังหวัด
เชยี งรายเปน็ สถานท่ีหล่อ และเก็บพระพทุ ธรปู สมัยเชียงแสน

โดยฝีมอื ของคนในทอ้ งถนิ่

๑๕. วนอทุ ยำนห้วยนำ้ ช้ำง
บา้ นแฟน หมู่ 5 ตาบลสถาน อาเภอเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย

อยู่ในพ้ืนท่ีเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าน้าม้าและป่าน้าช้างประกาศ
จัดต้ังเป็นวนอุทยานห้วยน้าช้าง เนื้อท่ี 14,866 ไร่ ตามประกาศ

กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า
๑๖. วัดพระธำตุแมย่ ำมอ่ น
ตั้งอยู่ท่ีบ้านปากอิงใต้ หมู่ 2 ตาบลศรีดอนชัย อาเภอเชียงของ

จังหวัดเชียงรายสถานที่แห่งนีเ้ ดิมเป็นวัดเก่าของประชาชนสองฝัง่
โขงไทย-สปป.ลาว มีความเชื่อเร่ืองพญานาคเล่าต่อกันมาว่า

ห่างจากวัดฯไปเพียง 300 เมตร ชาวบ้านเคยพบเห็นพญานาค
เล้ือยข้ึนมาจากแม่น้าโขงเม่ือ 16 ปีท่ีผ่านมา แล้วหยุดขวางถนน
รถสัญจรผ่านไปมาต้องจอดรอให้กลับลงแม่นา้ ต่อมาจึงได้ตั้งศาล

เจ้านาคราชให้สถิตย์ เพื่อให้ผู้คนผ่านไปมาได้ลงกราบไหว้ขอพร
และบวงสรวงเป็นประจา ส่วนใหญ่ใช้วัดแม่ย่าม่อนเป็นสถานที่

บวงสรวงเพอื่ ประกอบพิธี

91

ฟอ้ นจกไก

“ฟ้อนจกไก” เกิดข้ึนมาจาก นางจาเนียร ศักดิ์เรืองฤทธิ์

ข้าราชการครูบานาญ ได้ทาการศึกษาค้นคว้า และออกแบบการแสดง

ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนในพื้นที่ ให้มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ

ชุมชนอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เดิมประชาชนในพ้ืนที่จะมี

วิถีชีวิตผูกพันกับแม่นา้ โขงในการหาไก (สาหร่ายในแมน่ ้าโขง) มาทา

เป็นอาหารรับประทานในครัวเรือน และขายในท้องตลาดอาเภอเชียงของ อาเภอเชียงของเป็นอาเภอที่มีช่ือเสียง

“ไก (สาหร่ายในแม่น้าโขง)” ท่ีมีวิธีการทาอาหารไก (สาหร่ายในแม่น้าโขง) ในรูปแบบแห้งและมีความสะอาดน่ารับประทาน

ครูจาเนียร ศักดิ์เรืองฤทธิ์ จึงมีแนวคิดประดิษฐ์ท่าราให้สอดคล้องกับวิธีการเก็บไก (สาหร่ายในแม่น้าโขง) ของบุคคล

ในทอ้ งถ่ินข้ึนทีจ่ ะนาวิธขี องการหาไก (สาหรา่ ยในแมน่ า้ โขง) เป็นท่าฟ้อนทปี่ ระดษิ ฐ์คิดคน้ ทาจากวิธีการเก็บไก (สาหร่าย

ในแมน่ ้าโขง) ตามขัน้ ตอนโดยผสมผสานกับทา่ แม่บทของนาฏศิลป์ ในท่าต่าง ๆ มาประกอบเปน็ การแสดงศิลปวฒั นธรรม

การแสดงของชาวเชียงของท่ีมีเอกลักษณ์ เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยผสมผสานกับวิถีชีวิตการประกอบ

อาชีพ และถ่ายทอดความรู้เทคนคิ การเกบ็ ไก (สาหรา่ ยในแมน่ ้าโขง) ในชุมชนของชาวอาเภอเชียงของ

ทำ่ จกไก (เก็บไก) เป็นการแสดงศิลปวัฒนธรรม
การแสดงของตาบลเวียง อาเภอ

เชียงของ จังหวัดเชียงราย ที่มี

เอกลักษณ์วิ ธี ของการหาไก

(สาหรา่ ยในแม่น้าโขง) เปน็ ท่าฟอ้ น

ทีป่ ระดิษฐ์คิดคน้ ทาจากวธิ ีการเก็บไก (สาหร่ายในแม่น้าโขง) ตามข้ันตอน โดยผสมผสาน

กับท่าแม่บทของนาฏศิลป์ ในท่าต่าง ๆ มาประกอบเป็นการแสดงศิลปวัฒนธรรม

การแสดงของชาวเชียงของ

ทั้งน้ี ได้มีการปลูกฝังเยาวชนในโรงเรียนประถมและมัธยมพนื้ ที่อาเภอเชียงของ
โดยสง่ เสรมิ การเรียนรู้ภาควิชานาฏศิลป์ในโรงเรียน ใหน้ ักเรยี นได้แสดงออก

และเห็นคณุ ค่าและความสาคญั ของการประกอบอาชพี โดยใชก้ ารแสดงเป็น
ส่ือ ท้ังยังเป็นการส่งเสริมเผยแพร่อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมทางภาคเหนือ
สามารถนาไปใช้เป็นการแสดงในโอกาสต่าง ๆ ได้

ผูท้ ่ีถอื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปญั ญาทางวฒั นธรรม
ชอื่ นางจาเนยี ร ศักดเ์ิ รอื งฤทธ์ิ
ท่อี ยู่ 171 หมู่ 7 ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งของ

จังหวัดเชยี งราย ๕๗๑๔๐
หมายเลขโทรศัพท์ 084 489 9109/082 234 3132

92

สวดเบิก

การสวดเบิกเป็นการสวดประเภทหน่ึงของชาวล้านนา
สวดเพื่อเบิกพระเนตรพระพุทธรูปที่สร้างข้ึนใหม่ สวดในงานพิธี
สมโภชพระพุทธรูป ทางล้านนาเรียกว่า การอบรมพระเจ้า เปิด
ไขตาพระเจ้า การสวดเบิกเป็นการสวดประสานเสียงแบบ
พื้นเมืองของพระภกิ ษุและสามเณร โดยพระภิกษุเป็นเสียงกลาง
(เสียงต่า) สามเณรเปน็ เป็น เสียงหน้อย (เสยี งสูง) การสวดเบกิ

"สวดเบิกลา้ นนา" นบั เป็นมนตเ์ มืองเหนอื อย่างหนึง่ ซ่งึ เชือ่ วา่ การเทศธรรมคาเมอื งน้ี ใชบ้ ทสวดธรรมพิธีปัดเป่า
ส่ิงช่ัวร้าย ตามความเช่ือของชาวล้านนาที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ประเพณีการเข้าเบิกเป็นประเพณีท่ีเก่าแก่
ปัจจุบันทากันน้อยมากและมักไม่ได้ทาทุกปี โดยประเพณีน้ีทาเพ่ือป้องกันเหตุรา้ ยที่จะเกิดข้ึนในหมู่บ้าน เช่น โรค
ระบาด แต่ถ้าเกดิ เหตุรา้ ยไปแลว้ จะไม่ทาพธิ นี ้ี การทาพิธีคนในหมูบ่ ้านจะรว่ มกนั กาหนดวันและสถานที่ ตอ้ งนมิ นต์
พระสงฆ์ไว้ล่วงหน้าหลายวัน เพ่ือพระสงฆจ์ ะได้ฝึกซ้อมการสวดเบิกซึ่งคาสวดแต่เก่าเดิมนัน้ สืบทอดกนั มาแบบมขุ
ปาฐะ จึงจาเปน็ ต้องอาศัยเวลาในการฝกึ ฝน ทง้ั น้ีการสวดเบกิ ไดแ้ ปรเปลีย่ นไปตามยุคสมัย ในปัจจบุ นั การสวดเบิก
ไมไ่ ดเ้ กิดขึ้นบนการตอ่ รองระหว่าง สงฆก์ ับชาวบ้าน แตข่ ยับข้นึ ไปเปน็ การต่อรองระหว่างส่วนกลางกบั คณะสงฆ์ จะ
เห็นได้จากการปรากฏการสวดเบิกในพิธีสมโภชใหญ่ต่าง ๆ และถือได้ว่าเป็นการรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาสาย
มหายานโดยบทสวดจะกล่าวถงึ พระพทุ ธเจ้า ต้ังแต่ประสตู ิ ตรสั รู้ และปรินพิ พาน แต่ส่งิ ทส่ี าคญั ท่ีสุดในบทสวด คอื
เรื่อง “พระพทุ ธเจ้าชนะมาร”

การเข้าเบิกในอดีตนั้น จะกระทากันบริเวณทางแยกเข้าหมู่บ้าน
โดยพิธีจะเริ่มในตอนหัวค่า ชาวบ้านจะนาน้าส้มป่อย ขม้ิน ดอกไม้ธูปเทียน
ทราย มาร่วมพิธี เม่ือถึงเวลาที่สงฆ์มายังบริเวณพิธีโดยไม่จากัดว่าก่ีรูป
ชาวบ้านนาดอกไม้ธูปเทียนมารวมกันในท่ีจัดไว้บูชาพระรัตนตรัย รับศีล
สวดเบิก เม่ือเสร็จพิธีชาวบ้านจะนาทรายและน้าส้มป่อย ขม้ินท่ีนามาร่วม
ในพิธีซัดสาดให้ท่ัวหมู่บ้าน เพื่อเป็นการขับไล่สิ่งช่ัวร้ายและให้เกิดศิริมงคล
แก่บ้านตน สิ่งท่ีน่าสังเกตคือการสวดเบิกในแต่ละจังหวัดของล้านนาน้ัน จะกระทาในวาระโอกาสที่ต่างกัน
อาทิ แพร่ทาในช่วงหลังปีใหม่เมือง แต่ไม่ใช่ว่าจะกระทาเป็นกิจทุกปี ลาปางทาในช่วงย่ีเป็ง แพร่จัดพิธีสวดเบิก
4 มุมเมือง เพ่ือสืบชะตาเมือง เม่ือวันท่ี 18 เมษายน 2558 ท่ีผ่านมาและในปีถัดมาเมืองแพร่ก็สมโภชใหญ่
1188 ปี ก็เสมอื นหน่งึ วา่ ได้ทาการตอ่ ชะตา สะเดาะเคราะห์เมืองเตรยี มย่างเขา้ สู่ศักราชใหม่ ในลาปางทบี่ ้านไหล่หิน
อาเภอเกาะคา ก็มีการ “สวดเบิก” ซ่ึงเป็นการสวดทานองของพระสงฆ์ที่ใช้สวดในการสมโภชพระพุทธรูปและ
เป็นการสวดเบิกในประเพณีย่ีเป็ง ซ่ึงมักจะสวดจนถึงรุ่งเช้าของวันใหม่ เพ่ือสร้างความเป็นสิริมงคลให้กับตนเอง
และครอบครัว และเม่ือพิธีการสวดเบิกจบในวารสุดท้ายชาวบ้านท่ีมานั่งฟัง จะแย่งกันดึงด้ายสายสิญจน์ที่ผูกโยง
กับอาสนะสวดเบกิ กลับบ้าน เพอ่ื นาไปผกู ข้อมือให้แก่ลูกหลานท่ีอยู่ทางบ้าน หรอื นาไปผกู รถหรอื นาติดตัวไปในที่ต่าง ๆ

ผูท้ ี่ถือปฏิบัติมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม
ชอ่ื นายธนกลู ธนะวงศ์
ท่ีอยู่ 1 หมู่ 11 ถนน ตาบลห้วยซอ้

อาเภอเชยี งของ จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๔๐
หมายเลขโทรศพั ท์ 053-194604

93

ภำพเกำ่ เล่ำเรื่อง

ภาพเก่าเล่าเรื่องเชียงของ มีประวัติยาวนานมามากกว่าพันปี จึงมี
การได้มาคุยกันของชาวเชียงของว่าควรมีการจัดทาภาพท่ีเล่าเป็น
โครงการที่จับต้องได้ เกี่ยวข้องกับประเพณีที่มีอยู่แล้วของเชียงของ
จะได้ไม่สูญหาย เพราะบ้านทุกหลัง ทุกครัวเรือนจะมีภาพเก่าอยู่แล้ว
และภาพบางภาพสามารถส่ืออะไรได้มากมายในภาพ ๆ เดียวได้ และเป็น
ภาพที่สามารถเผยแพร่ให้คนส่วนใหญ่ได้รับรู้เก่ียวกับภาพเก่าเล่าเร่ือง
ของเมอื งเชียงของ

การจัดทาภาพเก่าเล่าเร่ืองเชียงของน้ันมีคณะกรรมการและคนนอก อาทิชาวบ้านเมืองเชียงของได้เข้ามารว่ มมอื
กันจัดทา เร่ิมต้นจากในตัวเมืองเชียงของ ชาวบ้านจะมีการบอกเล่าสู่กันฟัง ทาให้คนรุ่นใหม่ ๆ ได้รับรู้ อาทิ พ่อใ
จมรี ูปของพอ่ คา เมือ่ พอ่ คาเสยี เนือ่ งจากมรี ูปภาพเก่า ๆ ท่ีเคยถา่ ยพอ่ คาทีเ่ สียไปลูกชายของพอ่ ใจจึงได้เห็นรูปคุณปู่
ทาให้ได้รวู้ า่ คนไหนคือปู่

ภาพเก่าเล่าเร่ืองปรากฏให้ได้เห็น ถึงแม้จะเป็นภาพเก่า ๆ
ขาวดาแต่ก็คือการเล่าเร่ืองของอดตี กาลทส่ี ามารถใช้ภาพจริงเป็นส่ือ
ให้ได้เรียนรู้ เร่อื งราวไดอ้ ยา่ งชดั เจนและกบั ขอ้ ความใต้ภาพย่งิ ทาให้
ได้รับอรรถรสของการดูภาพเก่าเหล่าน้ีแล้วทาให้ระลึกถึงอดีตได้
ร้ือฟ้ืนความทรงจาท่ีผ่านมาและสามารถหยิบนาไปเล่าต่อให้ลูกหลาน
ครอบครัวและเพ่ือน ๆ ได้รับฟังกันอย่างมีความสุขทั้งท่ีก่อนหน้าน้ี
อาจลืมเลือนไปบ้างแล้ว ภาพเหล่าน้ีจึงเป็นภาพท่ีมีมากมา ย
หลากหลายความทรงจาทีเ่ กิดขึน้ ท่ีเชียงของและยังมอี ีกหลากหลาย
รูปภาพที่ข้อมูลใต้ภาพไม่สมบูรณ์ จึงได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล
เหล่านเ้ี พื่อให้ออกสู่สายตาทกุ คนตอ่ ไป

แนวคดิ ในการอนรุ ักษ์ภาพเก่าเลา่ เรอ่ื งเชยี งของ
❖ ถา่ ยทอดความเป็นเมืองเก่าใหส้ อดคลอ้ งกบั มิตกิ ารทอ่ งเที่ยว
เชงิ วัฒนธรรมอย่างหยงั่ ยนื
❖ เข้าไปสง่ เสริมใหช้ มุ ชนบ้านสบสมห้วยไครต้ ่อยอดการพัฒนา
เมอื งเกา่ ไดร้ ะดบั หนง่ึ
❖ เปิดกาดกองเกา่ ใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวไดเ้ ขา้ มาสมั ผัสวิถิีชวี ิต และ
อาหารพน้ื ถิน่ ของชาวเชียงของ

ผู้ทีถ่ อื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปัญญาทางวฒั นธรรม
ชอ่ื นายธนั วา เหลีย่ มพันธ์ุ
ทีอ่ ยู่ ๗๘๙ หมู่ ๑ ตาบลเวยี ง อาเภอเชียงของ

จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๔๐
หมายเลขโทรศพั ท์ 084 615 5490

94

ขนมพืน้ ถ่นิ

ในอดีตจงั หวดั เชียงราย เปน็ สว่ นหน่งึ ของอาณาจักรล้านนา ชว่ งที่อาณาจักรล้านนามคี วามเจริญรุ่งเรืองอานาจ

ได้แผ่ขยายอาณาเขตไปยงั ประเทศเพื่อนบา้ น เช่น พมา่ ลาว ดังนนั้ จึงมีผ้คู นจากดินแดนต่าง ๆ อพยพเขา้ มาตง้ั ถ่นิ ฐาน

ทาให้ได้รับวฒั นธรรมที่หลากหลายจากชนชาติต่าง ๆ รวมไปถึงวัฒนธรรมด้านอาหาร ซึ่งมิได้มีแค่เพยี งอาหารคาว

เท่านัน้ แตภ่ าคเหนือยงั มอี าหารหวาน “ขนม” หรือภาษาเหนอื ท่ีเรยี กว่า “เขา้ หนม” อีกหลากหลายเช่นกนั

ขนมปำด นน้ั มมี านานมากกวา่ 60 ปี เป็นขนมที่ทาขึน้ เพ่อื นาไปทาบญุ ทวี่ ัดเทศกาลสงกรานต์หรอื ปใี หม่เมือง

และเลี้ยงแขกท่ีมาเท่ียวบ้านตอนสงกรานต์ ส่วนอีกงานคือ งาน ปอยหรืองานบวช (บวชลูกแก้ว อุปสมบทพระ)

โดย 1 ปี มีเพียง 1 ครั้งเท่าน้ัน ก็จะมีการทาขนมปาดเป็นงานร่วมสามัคคีของชนในกลุ่มเรียกว่า วันกินขนมปาด

จะทาก่อนงาน 1 วัน เป็นขนมพ้ืนบ้านของชาวล้านนา บางพื้นท่ีกล่าวกันว่าเป็นขนมของชาวไทล้ือที่อาศัยอยตู่ าม

ทอ้ งถ่ินต่าง ๆ ของภาคเหนอื เนื่องดว้ ยประเพณี งานบวช งานบญุ ของชาวไทล้ือสมัยโบราณ มักนยิ มทาขนมปาด

ซึ่งเป็นขนมลักษณะ คล้ายกับขนมชั้น แต่จะนิ่มกว่า ซึ่งเป็นขนมท่ีนิยมของชาวไทล้ือ แต่ขนมปาดเก็บรักษาได้

ไม่นาน แค่ 2 วัน ก็เน่าเสีย กระทะแรกสาหรับผู้ทาร่วมกันกิน กระทะท่ีสองไว้ทาบุญเลี้ยงแขก กระทะที่สามห่อ

แจกแขกในงาน เคร่ืองปรุงหรอื ส่วนผสมของขนมปาดนน้ั ประกอบดว้ ยข้าวเจ้า น้าอ้อย มะพรา้ วทนึ ทึก สว่ นวธิ ีทา

นั้นมีขน้ั ตอนไมม่ ากนัก แต่ต้องอาศัยเวลาในการทาเป็นอย่างมาก เร่มิ จากนาขา้ วสารมาเค่ียวกับน้าออ้ ย ในกระทะ

ใบบัว (ใหญ)่ ใหผ้ ้ชู าย 2 คน ใช้พายคน กนั ทิ้งไว้เย็นแล้วตัดเป็นคา ๆ ใสก่ ระทงใบตองโรยด้วยมะพรา้ วทึนทกึ ขดู หยาบ ๆ

ขน้ั ตอนและวธิ ีกำรทำขนมปำด

เครอ่ื งปรุง/สว่ นผสม

๑. แปว้ ขา้ วจ้าว ๑ กโิ ลกรมั ๓. มะพรา้ วขูดผสมเกลือเล็กนอ้ ย

๒. น้าปนู ใส ครึ่งถ้วยตวง ๔. นา้ ออ้ ยประมาณ ๑๐ ก้อน

ขน้ั ตอนและวิธีทำ

๑. ร่อนแปง้ เพ่อื เอาเศษผงออกแลว้ นาไปผสมกับน้าอ้อยหรอื น้าตาลปบี๊

๒. ใสน่ า้ และคนจนแป้งละลายเข้ากับน้าตาล

๓. ใชผ้ ้าขาวบางกรองเศษผงออกเทใสกระทะทองเหลือง

๔. กวนด้วยไฟกลางจนแป้งสุกร่อนและเทใส่ถาดท้ิงไว้ให้เย็นแล้วตัดขนดเป็นชิ้นส่ีเหล่ียมหรือสามเหล่ียม

ตามใจชอบ จากนัน้ โรยหน้าดว้ ยมะพร้าวขดู ผสมเกลอื เพือ่ เพมิ่ ความสวยงาม และรสชาติ

ขนมตม้ แดง เป็นขนมเกา่ แก่เชน่ เดยี วกบั ขนมต้มขาว สมัยกรงุ สโุ ขทยั ใช้ในพิธบี วงสรวงสังเวยคูก่ ับขนมต้มขาว
มีส่วนประกอบของแป้งน้าตาลและมะพร้าว เป็นหลักมีลักษณะเป็นแผ่นแบนไมม่ ีไส้ คลุกกับ มะพร้าวและนา้ ตาล
ที่เค่ียวจนเหนียวเป็นสีแดงของ น้าตาลปี๊บ มีความหวานนอกสลบั กบั ขนมตม้ ขาวจึง เรยี กขนมต้มแดงขนมต้มขาว

เป็นขนมเก่าแก่สมัย กรุงสุโขทัยใช้ในพิธีบวงสรวงสังเวยหรือใส่ในบายศรีไหว้ครู ขนมต้มมีส่วนประกอบของแป้ง
นา้ ตาล มะพร้าว เปน็ หลกั มีลกั ษณะเป็นแปง้ ลกู กลม ๆขา้ งในมไี สท้ าด้วย มะพร้าวเค่ียวกับนา้ ตาล ต้มให้สกุ โรยด้วย
มะพร้าวขูด สีขาว มคี วามหวานขา้ งใน จงึ เรยี กขนมตม้ ขาว

ขัน้ ตอนและวธิ ีกำรทำขนมตม้ แดง

เครือ่ งปรงุ /ส่วนผสม

1. แป้งขา้ วเหนยี ว 1 กิโลกรัม

2. นา้ 4 ถ้วย

3. มะพรา้ วทึนทึก 3 ลูก

4. นา้ ตาลปี๊บ 1 1/2 กิโลกรมั

ข้ันตอนและวิธีทำ 95

1. ขดู มะพร้าวทึนทกึ เป็นเส้นฝอย

2. กวนน้าตาลปบี๊ ผสมนา้ 1 ถ้วย ใหล้ ะลาย ใสม่ ะพร้าวทเ่ี ตรยี มไว้ลงกวนประมาณ 30 นาที (เกือบเหนยี ว)

3. นวดแป้งข้าวเหนยี วใหเ้ ข้ากนั โดยคอ่ ย ๆ เติมนา้ ทีละน้อยจนแปง้ เนียนเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั

4. ปน้ั แป้งเป็นชนิ้ กลมแบน ตม้ ในนา้ เดือด จนตัวแปง้ ลอยข้ึนเหนอื น้า จึงตักออกมาลา้ งน้าแล้วตักใส่มะพร้าว
ที่กวนไว้แล้ว คนให้เข้ากับเนอ้ื มะพร้าวกวน

ขนมมันสำปะหลัง เป็นขนมที่พบได้ทั่วไปทั้งภาคกลางและภาคเหนือ โดยทางเหนือเรียกขมมันต้าง ส่วนผสม
หลกั เป็นมนั สาปะหลังโม่ละเอยี ด นาไปผสมกบั นา้ ตาลและเกลอื นง่ึ ใหส้ กุ

ขั้นตอนและวิธกี ำรทำขนมมันสำปะหลงั
เครื่องปรงุ /สว่ นผสม

1. มันสาปะหลงั ขูดเสน้ 400 กรัม (หน่ึงใช้พันธ์ุ 5 นาที)
2. นา้ ตาล 110 กรมั (เป็นรสหวานที่หนึ่งชอบกินนะคะ ใครชอบหวานจัดเพิม่ ได้ถงึ 180 กรัม)

3. เกลอื 1/4 ช้อนชา
4. มะพรา้ วทึนทกึ ขูดเส้น 1/4 ถ้วย
5. แป้งมนั 1-2 ชอ้ นโต๊ะ (ไมใ่ สก่ ไ็ ด)้

6. น้าเปลา่ หรอื กะทิ 1/2 – 3/4 ถ้วย
7. มะพรา้ วทนึ ทึกขดู เสน้ สาหรับคลุกขนมเมอ่ื อบเสรจ็ ประมาณ 1 ถว้ ย

ขนั้ ตอนและวิธีทำ
1. เตรียมมันขูดด้วยการล้างทาความสะอาดมัน ปอกเปลือก ห่ันเป็นท่อนๆ ผ่ากลางเอาแกนกลางเล็กๆ
ออกไปแลว้ ขูด ขูดใหเ้ ปน็ เส้นเลก็ ๆ หน่งึ ขดู กับทีข่ ูดชีส มนั เรดิ มาก สนกุ มาก ชอบๆ

2. มันขดู + นา้ ตาล+เกลือ + แป้ง (ถา้ ใส่ )ในอ่างผสม ใชม้ อื นวดจนน้าตาลละลาย
3. เตมิ นา้ เปลา่ (หรอื กะท)ิ ตอนแรกเทลงไปซกั 1/2 ถ้วยกอ่ น ใช้ช้อน

4. เทใส่ถาด น่งึ 15 นาทหี รอื จนสุก พอสุกยกจากเตา พกั ให้เยน็
5. นงึ่ มะพร้าวขดู ท่ีจะใช้คลกุ ขนมมนั ต่อประมาณ 5 นาที น่ึงครบแล้วเทใสถ่ าด โรยเกลือ
6. เมือ่ ขนมเย็นแล้วใชม้ ดี ตดั เปน็ ชิ้นๆ ขนาดและรูปรา่ งตามชอบ นาไปคลุกมะพรา้ วขูดใส่จาน

ผู้ที่ถอื ปฏิบตั ิมรดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ชือ่ นางระวริ รณ ทองสังข์

ทอี่ ยู่ 89/1 หมทู่ ่ี 16 ตาบลสถาน อาเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย ๕๗@%๐

หมายเลขโทรศัพท์ 081 595 3366

96

จกั สำนหวำย

บา้ นหลวง ตาบลครงึ่ อาเภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย คือ ชมุ ชนแหง่

หน่ึงท่ีมีป่าหวายมากกว่า 600 ไร่อยู่ใกล้ๆกับหมู่บ้าน จึงมีอาชีพ

ตัดหวายควบคู่กับกลุ่มจักสาน หวายในหมู่บ้านหลวง ท่ีมีมานานกวา่ 30 ปี

กลุ่มจักสานหวายบ้านหลวง เป็นการรวมตัวของคนในชุมชน มามากกว่า

30 ปีแล้วและยังอนุรักษ์การจักสานหวายแบบภูมิปัญญาด้ังเดิมสืบทอด

ต่อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน หวายที่ได้แต่ละขนาด ก็เหมาะกับช้ินงาน

แต่ละชนิดต่างกัน เช่นทาโคลงจะต้องมีการดัดตามรูปโคลงของผลิตภัณฑ์

แต่ละชนิด ส่วนงานจักสานท่ีต้องใช้ "ตอก" จาเป็นต้องใช้ความชานาญความสามารถ ความอดทนของผู้เฒ่าผู้แก่

ท่ีมีประสบการณ์มาช้านาน จึงได้งานที่ประณีตและสวยงาม และด้วยงานที่มีคุณภาพแข็งแรง จึงมีช่ือเสียงและ

เปน็ ทน่ี ิยมชมชอบจากการบอกตอ่ ๆ กนั

“หวาย” คือ พืชเศรษฐกิจในสมยั กอ่ นและมมี ากมายตามทอ้ งถน่ิ และหาไดง้ ่ายในต่างจงั หวัดเป็นพืชไม้เลื้อย

ที่มีอยู่ท่ัวทุกภาคของประเทศไทย คนไทยรู้จักกันอยา่ งดีในฐานะที่หวายเป็นพชื สารพดั ประโยชน์ โดยเฉพาะอย่าง

ยิง่ เก่ยี วกับการทาเฟอรน์ เิ จอรต์ ่าง ๆ เนื่องจากหวายมีความเหนยี วและคงทนอย่างดีเยี่ยม นอกจากน้ีแลว้ "หวาย" ก็

ยังสามารถนามาตะกรา้ เก้าอ้ี โต๊ะ และประโยชนใ์ ช้สอยในครัวเรือน

ปัจจุบันจึงเป็นอาชีพหนึ่งซึ่งสร้างรายได้ให้กับชุมชนจากการจักสานหวาย ผลิตภัณฑ์สาหรับเอาไปใช้ใน

ชีวิตประจาวันได้จริง ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะหวาย เก้าอี้หวาย กล่องสาหรับใช้ทิชชู่ หรือตะกร้าสาหรับไปจับจ่ายตลาด
และผลิตภณั ฑ์อ่นื ๆ อีกมากมาย
ขั้นตอนและวิธีกำรทำ

1. เริ่มจากเก็บต้นหวายขนาดพอเหมาะ ลาต้นใหญ่ประมาณหัวแม่มือ ส่วนกลาง ปลายของหวายตัดท้ิง

เมอ่ื ตัดแล้วจะต้องไปดึงตรงสว่ นปลาย เมอื่ ได้หวายตามต้องการแลว้ จากน้ันตัดเป็นท่อน ๆ

2. ออกแบบรปู ทรง

3. ทาฐานตารปู แบบ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ❖ ฆ้อนตีตะปู (ขนาดเล็ก)
4. ข้นึ ลกู กรงเปน็ ชัน้ ๆ ❖ หวายหางหนู (เส้นเลก็ )
6. พันขอบบน ❖ แป้นเจาะรู (ทาจากเหล็ก)
7. จูงนางปากขอบ ❖ หวายน้า (เสน้ ใหญ)่ ❖ มีดตอก
8. ตงึ วงจับหรือมอื จบั ❖ ไม้เจลย (ไม้ข้ึนตามริมน้า) ❖ ลกู กรง
9. พันงวงจบั หรอื มอื จบั ❖ เหล็กปลายแหลม
❖ หวายใหญ่
10. ตกแต่งใหส้ วยงาม ❖ เพนกเปรยี บ
❖ ตะปเู ข็ม

ผ้ทู ถ่ี ือปฏิบตั ิมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม
ชอ่ื นายประพัฒน์ แกว้ ตา
ท่อี ยู่ 145 หมทู่ ่ี 4 ถนน ตาบลครง่ึ อาเภอเชยี งของ

จงั หวดั เชยี งราย ๕๗๑๔๐
หมายเลขโทรศัพท์ 084 489 9109/082 234 3132

97

เลน่ โกงกำง/ซิกโกง๋ เก๋ง

การละเล่นของไทย เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมพ้ืนบ้านเท่า ๆ กันกับเป็น
การสะท้อนวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อของคนในท้องถ่ินนั้น ๆ มาต้ังแต่อดีต
ถึงปัจจุบัน และเนื่องจากเป็นการ “เล่น” ซึ่งผู้ใหญ่บางคนอาจไม่เห็นคุณค่า
นอกจากเห็นว่าเป็นแค่เพียงความสนุกสนานของเด็ก ๆ หนาซ้าการละเล่น
บางอย่างยงั เห็นว่าเป็นอนั ตราย และเป็นการบ่มเพาะนสิ ัยการพนันอีก เชน่ ทอยกอง
หวา่ หากจะมอง เลน่ โกงกาง วิเคราะห์กันอย่างจริงจงั แลว้ คณุ คา่ ของการละเล่น
ของไทยเราน้ีมีนับเอนกอนันต์ ประโยชน์ทางกาย ฝึกความสังเกต ไหวพริบ และ
การใช้เชาวนป์ ัญญา ฝกึ ความอดทน คุณคา่ ทางวรรณศิลป์
ในชีวิตประจาวันของชนเผ่าอิ้วเมี่ยน การละเล่นท่ีแสดงออกถึงความรื่นเรงิ ตามประเพณี และเทศกาลต่าง ๆ
กล่าวได้ว่าในปัจจุบันแทบจะไม่มีโดยส้ินเชิง โดยเฉพาะการละเล่นในวัยผู้ใหญ่หรือวัยหนุ่มสาว ส่วนการละเล่น
ของเด็ก ๆ มีเพียงไม่ก่ีอย่าง เช่น การเล่นไล่จับกัน ซึ่งเล่นรวมกันทั้งเด็กชายและหญิง การเล่นลูกข่าง การเดินไม้
โกงกาง ชนเผ่าอ้ิวเม่ียนไม่มีการละเล่นตามประเพณีประจาเทศกาลที่มีรูปแบบชัดเจน โดยเฉพาะการละเล่นของ
ชนเผ่าอ้ิวเมี่ยน มักเป็นการละเล่นท่ีอาศัยเล่นในโอกาสของงานพิธีกรรมต่าง ๆ และก็มักจะเป็นพิธีแต่งงานกับ
วันปใี หมเ่ ทา่ นั้น ทส่ี ามารถแสดงการละเลน่ ไดอ้ ย่างสนุกสนานเต็มที่
วธิ ีกำรประดษิ ฐ์
๑. เอาไมไ้ ผ่ ทอ่ นปลายของไมร้ วก หรือไม้ซาง ตดั ใหส้ งู ประมาณ ๒-๒.๕ เมตร
๒. ใช้มีดตัดเจาะกิ่งไผ่ท่ีเป็นปมอยู่ข้อตาไผ่ออกให้หมด แต่ต้องเหลือไว้ตรงข้อ
แรกของไม้ไผ่ให้เป็นปมอยู่ เหลาขอ้ อน่ื ๆ ใหเ้ รียบเพอื่ สะดวกในการจบั ถอื
๓. หาปล้องไม้ไผ่ท่ีใหญ่กว่า ๒ ท่อนแรก ตัดให้เหลือข้อปล้องไว้ด้านหน่ึงยาว
ประมาณ๑๕-๓๐ เซนติเมตร จานวน ๒ ท่อน เจาะรู ๒ ด้าน เสร็จแล้วนาไปสวมเข้า
กบั ไม้ ๒ ท่อนแรก โดยให้ไม้ทส่ี วมนนั้ ไปคา้ งติดอยู่กบั ขอ้ ตาไผ่ทเ่ี หลอื ไว้ แล้วใช้ผา้ พัน
ตรงไม้ ๒ ทอ่ นประกบกันให้แน่น
ไม้โกงกาง/ซิกโก๋งเกง๋ ไม้โกงกางทามาจากไมไ้ ผ่ ซ่ึงจะมีความสูงประมาณ 2 เมตร ตรงขาเหยียบจะสงู ขึน้ มา
จากพ้ืนประมาณ 50 ซม. หรือจะสูงกว่านี้ก็ได้ แล้วแต่ความต้องการของแต่ละคน ซึ่งเป็นการละเล่นท่ีถือว่า
สนุกสนานมากในวยั เดก็ สามารถเลน่ ได้ทกุ ฤดูกาล วิธกี ารเลน่ คือ ขึ้นไปเหยยี บแล้วก็วิ่งแขง่ กัน
วิธีกำรเล่น
ใช้มอื ถือไมโ้ กง๋ เก๋งตั้งขึ้นใหต้ รง แล้วคอ่ ยก้าวเท้าใดเทา้ หน่ึง ขึน้
เหยียบบนไม้โก๋งเก๋งซ่ึงส่วนใหญ่จะใช้เท้าซ้ายขึ้นก่อน แล้วก้าวเท้า
ขวาตามต้ังตวั ให้สมดุลแลว้ คอ่ ย ๆ ก้าวเท้าใดเทา้ หนึ่งออกไป ถ้าล้ม
กข็ ้นึ ใหมเ่ ดินใหมจ่ นคลอ่ ง

ผู้ท่ถี อื ปฏิบัติมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม
ชือ่ นายธันวา เหลย่ี มพนั ธุ์
ท่อี ยู่ ๗๘๙ หมู่ ๑ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ

จงั หวดั เชียงราย ๕๗๑๔๐
หมายเลขโทรศัพท์ 084 615 5490


Click to View FlipBook Version