The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2022-01-20 02:21:59

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

ฐานข้อมูลด้านศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น ประจำปี ๒๕๖๔

198

แกงหำงหวำย
"หวำย" เป็นพืชไม้เล้ือยท่ีมีอยู่ทั่วทุกภำคของประเทศไทย ซ่ึงเป็นท่ีนิยม
ในกำรนำมำทำเปน็ เฟอร์นิเจอร์ เนอ่ื งจำกหวำยมคี วำมเหนยี ว และคงทนอย่ำงดเี ยี่ยม
นอกจำกนี้แล้ว "หวำย" ยังถูกนำมำเป็นวัตถุดิบในกำรทำเมนอู ำหำร โดยเฉพำะ
แกนอ่อนของตน้ หวำย ซ่ึงมลี กั ษณะคล้ำยกันกับยอดอ่อนของมะพร้ำวหรือปลีตำล
หวำยมีคุณค่ำทำงโภชนำกำรที่ดีต่อร่ำงกำยพอสมควร ในลูกหวำยอุดม
ไปดว้ ยแคลเซียม และวติ ำมินซี ใน 100 กรัม ใหพ้ ลงั งำนถงึ 79 แคลอรี คำรโ์ บไฮเดรต
18.6 กรัม หน่อหวำยมีโปรตีนและเส้นใย รสขมของหวำยมีสรรพคุณทำงยำ แก้โรค
ท้องร่วง หน่อหวำยมีธำตุสังกะสีในปริมำณสูง ช่วยให้ไม่เครียดง่ำย ช่วยให้เด็ก
เจริญเติบโตได้ดี อีกท้ังยังช่วยไม่ให้สมรรถภำพทำงเพศเสื่อม นอกจำกนี้ยังช่วยแก้ไอ
บำรุงน้ำดี แกร้ ้อนใน และกระหำยน้ำ
อำเภอดอยหลวง มีต้นหวำยขึ้นอยู่ตำมป่ำเป็นจำนวนมำก เน่ืองจำก
ควำมเหมำะสมของสภำพดินท่ีทำให้หวำยสำมำรถเจริญเติบโตและ
แพร่ขยำยพันธุ์ได้ดี ปัจจุบันมีกำรนำหวำยมำเพำะปลูกเพ่ือขำยในเชิงธุรกิจ
โดยหวำยของอำเภอดอยหลวงเป็นหวำยพันธ์ุหนำมขำว ซึ่งเป็นหวำยที่มี
คุณภำพดี นอกจำกจะนำมำทำเป็นเฟอร์นเิ จอร์แล้ว ชำวบ้ำนยังนยิ มนำมำ
ทำเมนู “แกงหำงหวำย” โดยมักจะนำมำแกงกับหมูย่ำงทำให้แกงมีควำม
หอมและเนื้อหมมู ีควำมน่มุ เพ่อื รสชำติของแกงใหก้ ลมกลอ่ ม และไมเ่ หมอื น
แกงหำงหวำยในพน้ื ทีอ่ น่ื ท่ีนยิ มใส่กระดูกหมูหรือเนอื้ สัตว์ประเภทอืน่
สว่ นประกอบ
หำงหวำย (ต้นหวำยออ่ น) / หมยู ่ำงหรือกระดกู หมยู ำ่ ง / เหด็ ลม / ผักแค / ผักชะอม / ผกั ชีฝรง่ั / จะค่ำน /
เกลือ / กระเทยี ม / ตะไคร้หน่ั / เม็ดผักชี / ขำ่ / กะปิ และน้ำปลำร้ำนิดหนอ่ ย
ขั้นตอนกำรทำ
1. เริ่มจำกเกบ็ ต้นหวำยขนำดพอเหมำะ ลำต้นใหญป่ ระมำณหัวแม่มือ ใหญ่กวำ่ นี้จะแข็งเกิน
เล็กกว่ำนีร้ สชำติฝำด จำกนั้นปอกเปลอื กแชน่ ำ้ ท้งิ ไว้
2. เตรยี มพรกิ แกง โดยโขลกกระเทียม ตะไคร้ เม็ดผกั ชี ข่ำ กะปิ และนำ้ ปลำร้ำใหล้ ะเอียด
ใส่เกลอื เลก็ นอ้ ย
3. ตั้งกระทะใส่น้ำมันพืชเล็กน้อย นำเครื่องแกงที่โขลกไว้ลงผัดพอให้มีกล่ินหอม นำเนื้อหมูย่ำง
หรอื กระดกู หมู ลงขลกุ กบั เครื่องแกงผดั รวมกันพอสุกและหอม เติมนำ้ เปล่ำลงไปให้ท่วม
4. พอนำ้ เดือดใสห่ วำยอ่อนลงไป โดยให้ใส่ลำต้นหวำยกอ่ น ประมำณ 5 นำทีพอต้นหวำยเกือบ
สุก ให้ใส่ยอดหวำยตำมลงไป ตำมด้วยเห็ดลม จะค่ำน ผักแค ผักชะอม ต้ังไฟท้ิงไว้สักครู่ ปรุงรส
ตำมชอบ จำกน้ันใสผ่ ักชฝี รงั่ โรยหนำ้ ยกเสิรฟ์
เคล็ดลับ
❖ ผักท่ีใส่ในแกงหำงหวำย ต้องเป็นผักไม่มีกลิ่นฉุน เด๋ียวเสีย ผทู้ ่ีถอื ปฏิบตั ิมรดกภูมปิ ญั ญำทำงวัฒนธรรม
รสชำติหวำย และสำมำรถใสผ่ ักทีช่ อบไดต้ ำมฤดูกำล ชอ่ื นำงบุษรำรัตน์ คีรแี กว้

❖ แกงหำงหวำยท่ีอร่อยจะต้องใช้หำงหวำยท่ีสด โดยตัดมำแล้ว ทีอ่ ยู่ ๖๐ หมู่ ๒ บ้ำนป่ำเลำ ตำบลหนองป่ำก่อ
แกงวนั ตอ่ วนั จะทำใหห้ วำยไมข่ มจนเกินไป รสชำตอิ ร่อย อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชยี งรำย ๕๗๑๑๐

❖ ยอดหวำยทเ่ี ก็บมำอย่ำลำ้ งน้ำ ใหล้ ำ้ งเฉพำะตน้ หวำยเท่ำนนั้ หมำยเลขโทรศพั ท์ 080 131 2446
จะทำใหห้ วำยมีรสชำตดิ ี

199

ผ้ำทอกะเหรี่ยง
ชำวกะเหร่ียง บ้ำนห้วยสัก และบ้ำนป่ำซำงงำม ตำบลหนองป่ำก่อ อพยพมำจำก
อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน ควำมเช่ือในเรื่องทอผ้ำมีมำตั้งแต่อดีตว่ำ ผู้หญิงทุกคนจะตอ้ ง
ทอผ้ำเป็น ผู้สูงอำยุจึงให้ควำมสำคัญต่อวัฒนธรรมกำรทอผ้ำ และถ่ำยทอดภูมิปัญญำ
แก่บุตรสำวที่มีอำยุ ๑๒ - ๑๕ ปี โดยเร่ิมจำกแบบง่ำย ๆ ฝึกฝนจนมีควำมชำนำญและ
สำมำรถออกแบบลวดลำยได้ด้วยตนเอง ชำวกะเหร่ียงปลูกฝ้ำย และยอ้ มดำ้ ยด้วยสธี รรมชำติ
จำกพันธ์ุไม้ เช่น เปลือกไม้สัก เปลือกปอแดง ขม้ิน ต้นครำม ผลมะเกลือ ผ้ำที่ทอส่วนใหญ่
เป็นเคร่อื งนงุ่ ห่ม และของใช้ มีกำรประดับลวดลำยบนลำยผ้ำ ซ่ึงสำมำรถบง่ บอกถึงสถำนะ
ทำงสงั คมของผู้สวมใส่ได้อกี ด้วย เช่น เสือ้ ของหญงิ ที่แต่งงำนแล้ว จะมี ๒ แบบ แบบที่ ๑ ทอลำยท้งั ตวั และแบบที่ ๒ ทอเป็น
ผ้ำพ้ืนท้ังผืนมักจะมีพื้นสีดำหรือสีน้ำเงิน แล้วทอดอกหรือปักลวดลำยด้วยด้ำย หรือไหมพรมสีชมพูเข้มหรือสีแดง
หรอื ใช้เมด็ เดอื ยหนิ ปักระหวำ่ งด้ำยสตี ำ่ ง ๆ
วัสดุ - อปุ กรณ์
1. แผ่นคำดหลัง (อย่ำกุงไผย่) 2. ไมพ้ นั ผ้ำ (เค่อไถ่ย) 3. ไม้กระทบ (เน่ยบะ) 4. ไม้แยกด้ำย (กงคู)๊
5. ไมไ้ บ่หรอื วำ้ บัง 6. ทะคู่เถงิ 7. เส่ยถึง 8. ลุงทุ้ย 9. คองญ่ำยฆอ่ ง 10. ฝ้ำย

ขน้ั ตอนกำรทอผำ้
1. กำรเตรยี มเครือ่ งทอผ้ำ

1.1 กำรปนั่ ดำ้ ย อปุ กรณ์ในกำรปัน่ ดำ้ ยผำ้ ทอกะเหรย่ี ง ประกอบด้วย หลอดกรอดำ้ ย และเครอื่ งมือกรอด้ำย หลอดกรอดำ้ ย
1.2 กำรกรอด้ำยขวำง ด้ำยขวำงเป็นด้ำยที่สอดเข้ำไประหว่ำงด้ำยยืน ทำให้เกิดลวดลำยต่ำง ๆ เรียกว่ำ ลุงทุ้ย
ใชด้ ำ้ ยพันกบั ไม้ ขนำดยำวประมำณ 1 ฟุต เสน้ ผ่ำศนู ย์กลำงประมำณ 1 เซนติเมตร
1.3 ตงั้ ไม้เคร่อื งทอกเ่ี อว หลังจำกปั่นดำ้ ยเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ กน็ ำด้ำยมำขึน้ ด้ำย
1.4 กำรข้ึนด้ำย หรือกำรข้ึนเคร่ืองทอกี่เอว เป็นกำรนำเอำเส้นด้ำยมำเรียงต่อกันอย่ำงมีระเบียบตำมแนวนอน
โดยพันรอบกบั ส่วนประกอบของเครื่องทอ และก่อนที่จะมีกำรขน้ึ ด้ำยจะต้องมีกำรเตรียมเส้นด้ำยดว้ ยกำรปั่นด้ำย
กำรตัง้ เคร่อื งทอ กำรเรียงเส้นดำ้ ย กำรเปลี่ยนไม้เป็นเคร่อื งทอ
2. กำรทอผ้ำ มีขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
2.1 เรม่ิ ตน้ คลอ้ งด้ำยลงที่หลักท่ี 1 สำวเส้นดำ้ ยผ่ำนหลกั ที่ 2,3,4,5,6,7 นำไปคลอ้ งทหี่ ลกั ที่ 8 และสำวมำคลอ้ งท่หี ลกั ท่ี 1
2.2 ดงึ ดำ้ ยท้ังหมดให้ตึงเสมอกัน นำมำพนั รอบหลกั ที่ 2
2.3 ดึงด้ำยให้ตึงเสมอกันพำดผ่ำนด้ำนหน้ำของไม้หลักที่ 3 ถึงไม้หลักที่ 4 เป็นจุดแยกด้ำยโดยใช้ด้ำยสีขำว
อีกกลุ่มหน่ึงเป็นเส้นด้ำยตะกอสอดเข้ำไประหว่ำงเส้นด้ำยเป็น 2 ส่วนเท่ำ ๆ กัน ส่วนที่ไม่ได้คล้องกับตะกอแยก
เสน้ ด้ำยผำ่ นหลังหลักท่ี 4 และส่วนทค่ี ลอ้ งตะกอ ดึงเสน้ ดำ้ ยผ่ำนด้ำนหน้ำหลักท่ี 4
2.4 รวบดำ้ ยทงั้ สองสว่ นเขำ้ ดว้ ยกนั ให้ตงึ พำดผำ่ นหลักท่ี 5,6 พนั ออ้ มหลักท่ี 7
2.5 ดงึ ดำ้ ยท้ังหมดใหต้ ึงพรอ้ มอ้อมหลกั ที่ 8 และสำวให้ตงึ ดงึ กลับมำเริ่มตน้ ที่หลกั ที่ 1 ใหม่
2.6 สอดไม้ท้ังหมดออกจำกเครื่องทอ และนำไม้ไบ่ 1 อัน สอดเข้ำไปแทนไม้ใส่ตะกอท่ี 1 นำไม้ไบ่ 2 อันเข้ำ
สอดเปลีย่ นไม้ใส่ตะกอท่ี 2 และไม้ใสต่ ะกอที่ 3 ซึ่งตอ้ งใช้ชว่ ยแยกด้ำยเวลำทอแกะดอก สว่ นไมไ้ บท่ ่ี 2 ใส่กระบอกไม้ไผ่แทน 1
อัน ผทู้ ถี่ อื ปฏิบตั ิมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรม

ช่ือ นำงอุสนำ ปวนทำ
ทอ่ี ยู่ 41 หมู่ 2 บ้ำนปำ่ ซำงงำม ตำบลหนองป่ำกอ่

อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชยี งรำย 57110
หมำยเลขโทรศพั ท์ 082 384 3772

ฐานข้อมูลองค์ความรู้มรดกภูมิปญั ญาทางวัฒนธรรม
ดา้ นศาสนาวัฒนธรรม และจารตี ประเพณที อ้ งถ่นิ

ประจาปี ๒๕๖๔

จัดพมิ พโ์ ดย สภาวฒั นธรรมจังหวดั เชียงราย กระทรวงวฒั นธรรม
พิมพ์ครั้งท่ี 1 พ.ศ. 256๕

จำนวน ๕0 เลม่
คณะทำงำน

๑. นางสลกั จฤฎด์ิ ตยิ ะไพรชั ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงราย

๒. นายวงั นอรตั น์ รองประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชียงราย คนที่ ๑

๓. นายธนั วา เหลี่ยมพันธุ์ รองประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชียงราย คนท่ี ๒

๔. นางรชั ฏ์พันธ์ุ รัชนีวงศ์ รองประธานสภาวัฒนธรรมจังหวดั เชียงราย คนท่ี ๓

๕. นายณรงค์ เจนใจ รองประธานสภาวัฒนธรรมจงั หวดั เชียงราย คนท่ี ๔

๖. คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจังหวดั เชียงรายทกุ ทา่ น จานวน ๔๑ ท่าน

๗. นกั วชิ าการวฒั นธรรมผปู้ ระสานงานอาเภอทกุ อาเภอ

๘. นางเบญ็ จมาส บุญเทพ นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการพิเศษ

๙. นางเพยี รโสม ปาสาทงั นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการ

๑๐. นางสาวธัญวรัตม์ วรรณสอน นกั วิชาการวฒั นธรรม

๑๑. นางสาวฐิฒิกา วงศ์มา เจา้ หนา้ ทมี่ รดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม

บรรณำธกิ ำรและผูเ้ รียบเรยี ง จันทรศ์ ลิ ป์ วัฒนธรรมจงั หวัดเชยี งราย
1. นายพิสันต์ เลขานุการสภาวฒั นธรรมจงั หวัดเชียงราย

2. นางเบ็ญจมาส บุญเทพ นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการพิเศษ
3. นางเพยี รโสม ปาสาทงั นักวิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
๔. นางสาวธัญวรัตม์ วรรณสอน นักวิชาการวฒั นธรรม

๕. นางสาวฐิฒกิ า วงศ์มา เจา้ หนา้ ที่มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรม

ออกแบบและจดั พิมพ์
ร้านเป็นต่อ
โทร. 096 232 3949

FACEBOOK : สนง. วัฒนธรรม จังหวัดเชียงราย
โทร. ๐๕๓-๑๕๐-๑๖๙

โทรสาร ๐๕๓-๑๕๐-๑๗๐
โดย...สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย

โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version