The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของเทศบาลเมืองยโสธร ประจำปีงบประมาณ 2564มีรายเซ็น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ar Rai Var Khunmolee, 2022-05-10 21:38:29

1 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของเทศบาลเมืองยโสธร ประจำปีงบประมาณ 2564มีรายเซ็น

1 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในของเทศบาลเมืองยโสธร ประจำปีงบประมาณ 2564มีรายเซ็น

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 

คาํ นาํ

ด้วยพระราชบัญญัตวิ ินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 79 กาํ หนดใหห้ น่วยงาน
ของรัฐ จดั ใหม้ ีการตรวจสอบภายใน การควบคมุ ภายใน และการบริหารจัดการความเส่ียง โดยใหถ้ อื ปฏิบตั ิ
ตามมาตรฐานและหลกั เกณฑท์ ่กี ระทรวงการคลังกําหนดในการควบคมุ ภายใน ใหเ้ กดิ ประสิทธิผลเปน็ ไปดว้ ยความ
เรียบร้อย ถูกตอ้ งและเกิดประโยชน์สูงสดุ ในการบรหิ ารจัดการ ตามมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏบิ ัติการควบคุมภายใน
สําหรบั หนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ขอ้ 8 กาํ หนดใหค้ ณะกรรมการจัดทํารายงานการประเมินผลการควบคุม
ภายในระดบั หนว่ ยงานของรัฐ และข้อ 9 วรรค 4 กําหนดให้คณะกรรมการของหนว่ ยงานของรัฐ กรณีเทศบาลเมอื ง
เทศบาลนคร และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เสนอรายงานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในระดับหน่วยงานของรฐั
ตามขอ้ 8 ต่อหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั เพื่อพจิ ารณาลงนามและจดั ส่งใหส้ าํ นกั งานส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ินจงั หวดั
ภายใน 90 วนั นับแตว่ นั สน้ิ ปงี บประมาณ

โดยในการประเมินและผลการควบคมุ ภายในขององค์กรหรือหนว่ ยงานของรัฐใหถ้ ือปฏบิ ตั ิตามมาตรฐาน
และหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนดโดยให้แสดงขอ้ มูล สรุปภารกจิ และวตั ถปุ ระสงค์การดําเนินงานทสี่ ําคญั
ขอ้ มลู เก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ ม การควบคุมความเสย่ี งทสี่ าํ คญั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั กจิ กรรมผู้รับผิดชอบประเมนิ การควบคุม
ภายในและวิธีการตดิ ตามประเมนิ ผล ซ่งึ ตามแนวทางในการควบคุมถอื เปน็ ปัจจยั ทสี่ ําคญั ท่ีจะชว่ ยใหก้ ารดาํ เนินงาน
ตามภารกิจมปี ระสทิ ธิผล ประสทิ ธิภาพ ประหยดั และชว่ ยกันลดความเสยี่ งจากการผดิ พลาด ความเสียหาย
ความสนิ้ เปลอื งความสูญเปลา่ ของการใชท้ รัพย์สิน หรือการกระทําอนั เปน็ การทจุ ริตอนั จะทาํ ให้การดาํ เนินงาน
ของหนว่ ยงานของรฐั บรรลผุ ลสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย และการกาํ กบั ดูแลทด่ี ี

หนว่ ยตรวจสอบภายใน
เทศบาลเมืองยโสธร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 

สารบัญ

คํานาํ หน้า
หนงั สอื รับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 1) 1
แบบรายงานการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน (แบบ ปค. 4) 6
แบบรายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน (แบบ ปค. 5) 28
แบบรายงานการสอบทานการประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในของผ้ตู รวจสอบภายใน (แบบ ปค. 6) 127
225

 
 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

หนงั สือรบั รองการประเมินผล
การควบคุมภายในระดบั หนว่ ยงานของรัฐ

แบบ ปค. 1

หน้า 5 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. ๑

หนังสือรบั รองการประเมินผลการควบคมุ ภายใน
(ระดบั หนว่ ยงานของรฐั )

เรยี น ทอ้ งถ่นิ จงั หวดั ยโสธร

เทศบาลเมอื งยโสธร ไดป้ ระเมินผลการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงาน สําหรบั ปีส้นิ สดุ วันท่ี
30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2563 ดว้ ยวิธีการท่ีหน่วยงานกําหนดซึง่ เปน็ ไปตามหลักเกณฑก์ ระทรวงการคลัง
ว่าด้วยมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏิบตั กิ ารควบคุมภายในสาํ หรับหน่วยงานของรฐั พ.ศ. 2561 โดยมวี ตั ถุประสงค์
เพ่ือให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ภารกิจของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านการ
ดําเนินงานท่ีมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ด้านการรายงานท่ีเกี่ยวกับการเงิน และไม่ใช่การเงินท่ีเชื่อถือได้ทันเวลา
และโปร่งใส รวมทั้งด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คับที่เกี่ยวข้องกบั การดําเนนิ งาน

จากผลการประเมินดังกล่าว เทศบาลเมืองยโสธรเห็นว่า การควบคุมภายในของหน่วยงานมีความ
เพียงพอ ปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์
ปฏบิ ัติการควบคุมภายในสาํ หรับหนว่ ยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ภายใตก้ ารกาํ กบั ดูแลของนายกเทศมนตรเี มืองยโสธร

อย่างไรกด็ ี มคี วามเสี่ยงและได้กําหนดปรับปรุงการควบคุมภายใน ในปีงบประมาณหรือปีปฏิทินถัดไป
สรุปไดด้ ังนี้

1. สํานกั ปลัดเทศบาล

มคี วามเส่ียง 6 กจิ กรรม ดงั นี้
กิจกรรมท่ี 1 ดา้ นอาํ นวยการ
การรบั เร่ืองร้องเรยี น ตรวจสอบแก้ไขปญั หาร้องเรียน
1. ความเสี่ยงที่มีอยตู่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๑ ดาํ เนนิ การตดิ ตามเร่ืองร้องเรยี นเป็นไปดว้ ยความลา่ ช้า เนอื่ งจากข้อจํากดั ดา้ นเวลาและการ
ประสานงาน

1.2 ขาดการตดิ ตามผลการตรวจสอบเร่ืองรอ้ งเรียน
1.3 ยังมขี อ้ ผิดพลาดของงานที่ตอ้ งมีการแกไ้ ข
๒. การปรบั ปรุงควบคุมภายใน
๒.๑ มกี ารจดั ทําทะเบียนรับ – ส่ง เร่อื งร้องเรียนเพือ่ ดําเนินการ
2.2 มกี ารวางแผนการปฏิบัติงานไวล้ ่วงหน้า
2.3 เพม่ิ ความเขม้ ขน้ ในการตรวจทานงาน เพ่อื ลดขอ้ ผดิ พลาดของงาน
2.4 ตดิ ตามผลการตรวจสอบเรอ่ื งรอ้ งเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามระยะเวลา เร่งรัด ประสานหน่วยงานอื่น
ท่ีเกย่ี วขอ้ งในการเขา้ ตรวจสอบเร่อื งรอ้ งเรียน

กิจกรรมท่ี 2 ด้านบริหารงานทว่ั ไป
1. ความเสย่ี งทม่ี ีอยทู่ ีต่ อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 ขาดความรคู้ วามเขา้ ใจ ในระเบยี บ กฎ และแนวทางปฏบิ ัตทิ ่ีถกู ตอ้ ง
1.2 ขาดทกั ษะ เนอื่ งจากปจั จบุ ันมกี ารับ-สง่ หนงั สือผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์

หน้า 6

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 เขา้ รบั การฝกึ อบรม เพ่อื เพิ่มทักษะความรู้งานดา้ นการจัดซอ้ื จัดจ้าง
2.2 ใหเ้ จ้าหน้าที่ผู้ปฏบิ ัตงิ านด้านงานธุรการ อบรม ฝกึ ทกั ษะด้านงานธุรการ

กจิ กรรมท่ี 3 ด้านกิจการสภา
1. ความเสย่ี งทีม่ ีอย่ทู ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 สมาชกิ สภาเทศบาลได้รบั เอกสารการประชมุ ล่าช้า
1.2 ฝ่ายกจิ การสภาที่เปน็ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการสง่ เอกสารประกอบระเบยี บวาระ
การประชมุ ลา่ ชา้
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 จัดเตรยี มเอกสารการประชมุ บางส่วนท่ีสามารถทาํ ได้ไว้ลว่ งหน้า เพ่อื ใหพ้ ้นระยะเวลา
ตามระเบยี บท่ีกาํ หนด
2.2 ตดิ ตามเอกสารจาก กอง/ฝ่าย ทเี่ กยี่ วขอ้ งอย่างต่อเนอ่ื ง

กจิ กรรมท่ี 4 ด้านส่งเสรมิ กจิ การขนส่ง
1. ความเสี่ยงทมี่ ีอยทู่ ต่ี อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 อาคาร สถานที่ เกดิ การชาํ รดุ เน่ืองจากมีการใช้งานอย่างสมาํ่ เสมอกอ่ ให้เกดิ การชํารุด
1.2 มบี ุคลากรไม่เพียงพอขาดความรวดเรว็ ในการปฏบิ ัติงาน
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 มีการปรับปรุง/ซ่อมแซมในสว่ นทชี่ ํารดุ ทรุดโทรม ใหม้ สี ภาพพร้อมใช้งานได้สมํา่ เสมอและ
มปี ระสิทธภิ าพ
2..2 ผบู้ รหิ ารไดด้ าํ เนินการดแู ลซอ่ มแซม/ปรบั ปรุง อาคาร สถานที่กรณที ่มี ีการชํารุด
2.3 จัดใหม้ ีการติดตามและประเมนิ ผลอยา่ งต่อเน่ือง
2.4 ขออัตรากําลังพนักงานเทศบาลสามญั เพ่ือการกาํ กับดูแลอยา่ งทั่วถึง

กจิ กรรมท่ี 5 ด้านงานทะเบยี นราษฎร
1. ความเสยี่ งทมี่ ีอยตู่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 ประชาชนผ้มู าขอรบั บรกิ ารไม่มีเอกสารครบถว้ น
๒. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

2.1 จัดเจา้ หน้าที่ใหค้ ําแนะนาํ และปรกึ ษาถงึ ขั้นตอนและวิธีปฏบิ ตั ิงาน

กิจกรรมที่ 6 ดา้ นฝา่ ยป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
งานป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั
1. ความเสี่ยงท่มี ีอยตู่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๑ เจ้าหน้าท่ขี าดความเชีย่ วชาญ และไม่เพียงพอต่อการปฏบิ ัตงิ าน
๑.๒ อปุ กรณเ์ คร่ืองมือ เคร่ืองใช้ ไม่เพยี งพอต่อการปฏบิ ัติงาน
๒. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
๒.๑ การจดั ทาํ แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
๒.๒ การฝึกอบรมเจ้าหนา้ ท่ที ี่ปฏบิ ัตงิ านประจาํ ปี
๒.๓ ขอรับการสนบั สนุนเครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ จากหน่วยงานอนื่

หน้า 7 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
1. ความเส่ยี งท่มี ีอยตู่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

๑.๑ บุคลากรในเทศบาลไม่ตระหนกั ถึงภัยทเี่ กดิ จาดอคั คภี ัย
๑.๒ เทศบาลยงั ไม่มีแผนรองรบั เมอ่ื เกิดอคั คภี ัย
๑.๓ เทศบาลไม่มีงบประมาณในการป้องกนั และระงบั อัคคภี ัย
๒. การปรบั ปรงุ ควบคมุ ภายใน
๒.๑ ตดิ ตงั้ ถงั นํ้ายาดบั เพลิงเคมเี พมิ่ ขึ้นในอาคาร
๒.๒ ใหม้ กี ารฝกึ ซอ้ มแผนประจาํ ทกุ ปี
๒.๓ ใหโ้ รงเรยี นแทรกเนื้อหาเกย่ี วกบั อคั คภี ยั ในการเรียนการสอน
๒.๔ ใหท้ างโรงเรียนต้ังงบประมาณในการฝึกซ้อมดบั เพลงิ
๒.๕ ใหท้ างโรงเรยี นร่วมกบั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจัดทาํ แผนปอ้ งกันและระงับ
อัคคภี ัยภายในแตล่ ะโรงเรยี น

การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาอุทกภัยภายในเขตเทศบาล
๑. ความเสี่ยงทม่ี อี ย่ตู ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

๑.๑ เป็นพ้นื ทรี่ องรับนาํ้ จากพ้ืนท่อี ื่นๆ
๑.๒ พนื้ ทีเ่ ป็นลมุ่ ตา่ํ เกดิ ปญั หา
๒. การปรับปรงุ การควบคมุ ภายใน
๒.๑ ปรบั พืน้ ท่ีใหส้ ูงกว่ารมิ ตลิง่
๒.๒ การจัดการเก่ียวกบั ทอี่ ยู่อาศยั ให้เหมาะสมกบั พนื้ ท่นี ้ําท่วม

งานรกั ษาความสงบ
๑. ความเสย่ี งที่มีอยู่ต้องกําหนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๑ กรณที ี่มกี ารขดั แย้งก่อนที่จะมกี ารรอ้ งเรยี นมกั จะไมไ่ ดร้ ับความรว่ มมอื จากคู่กรณี
๒. การปรับปรุงการควบคุมภายใน

๒.๑ การทําความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ผู้ทเี่ กยี่ วขอ้ งให้รับทราบและเขา้ ใจในปญั หา
๒.๒ การประชมุ ผ้ทู ีเ่ ก่ยี วขอ้ งเพ่ือหาแนวทางแกไ้ ขปัญหารว่ มกนั

งานเทศกิจ
ฝ่ายป้องกนั และรกั ษาความสงบ สาํ นกั ปลดั เทศบาล
๑. ความเสย่ี งท่มี ีอยู่ตอ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๑ ผู้ประกอบการจาํ หนา่ ยสนิ ค้าส่วนใหญไ่ มใ่ หค้ วามสําคญั กบั การจดั ระเบียบ ตลาดสดให้มี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและไม่ใหค้ วามรว่ มมือทําให้มีการโต้เถยี งกับเจา้ หน้าทใ่ี นบางคร้ัง

๑.๒ ตลาดสดมีขนาดใหญ่ และมผี ้ปู ระกอบการจําหนา่ ยสินค้าจํานวนมากเจ้าหนา้ ที่ดูแลไมท่ ่วั ถึง
๒. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๒.๑ เพ่มิ การเข้มงวดในการจัดระเบยี บตลาดสดให้มากขนึ้
๒.๒ เพ่ิมความถ่ใี นการออกตรวจความเป็นระเบยี บในตลาด
๒.๓ ประชาสมั พันธ์ให้ผู้ประกอบการค้าในตลาดสดใหเ้ ห็นความสาํ คัญของการจัดระเบียบและให้
ความร่วมมือกบั เจา้ หนา้ ท่ี

หน้า 8

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

การตรวจสอบความเปน็ ระเบียบภายในเขตเทศบาลเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการรักษา
ความสะอาดความเปน็ ระเบยี บของบา้ นเมอื ง

1. ความเสี่ยงท่ีมอี ยตู่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
๑.๑ ประชาชนส่วนใหญย่ งั ไม่ให้ความสาํ คญั เกี่ยวกบั การรักษาความสะอาดและความเปน็ ระเบยี บ

เรยี บรอ้ ยของบ้านเมือง โดยรวมคิดว่าเปน็ เรอื่ งเลก็ ๆ นอ้ ยๆ
๒. การปรบั ปรุงควบคมุ ภายใน
๒.๑ การประชาสัมพนั ธใ์ ห้ประชาชนเขา้ ใจ และใหค้ วามรว่ มมือในการ

รกั ษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรียบรอ้ ยของบา้ นเมอื ง

2. กองยุทธศาสตรแ์ ละงบประมาณ

มีความเส่ยี ง 5 กิจกรรม ดังนี้
กจิ กรรมที่ 1 ด้านการนําแผนพฒั นาท้องถิ่นไปปฏบิ ตั ิ
1. ความเสี่ยงทมี่ อี ยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 การดาํ เนนิ งานโครงการตามแผนพัฒนาปฏบิ ตั ไิ ดน้ อ้ ยไมบ่ รรลผุ ลตามท่วี างแผนไว้ จากการ
วางเป้าหมายและตัวช้วี ัดโครงการยังไมช่ ดั เจนระเบยี บและหนงั สือส่ังการมกี ารเปลี่ยนแปลงบอ่ ย

2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 นาํ เทคนคิ ที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดทาํ แผนพัฒนาเทศบาลและศกึ ษาระเบยี บอยา่ งละเอียด
2.2 ซกั ซ้อมวิธกี ารจดั ทําโครงการพัฒนาเพ่ือบรรจใุ นแผนพัฒนาท้องถ่ินใหส้ ่วนราชการต่าง ๆ

ไดร้ ับทราบ
2.3 เจ้าหนา้ ทศ่ี ึกษาระเบียบอย่างรอบคอบ
2.4 จัดทาํ คมู่ อื การจัดทําแผนพฒั นาท้องถ่ิน

กิจกรรมท่ี 2 ด้านการจดั ทาํ เทศบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาํ ปี
1. ความเสีย่ งทม่ี ีอยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 การตง้ั งบประมาณรายจา่ ยในบางหมวดบางประเภทไมเ่ พียงพอแก่การเบกิ จา่ ยจากการไมม่ ี
การวิเคราะห์และวางแผนการใช้จา่ ยเงนิ ตามความจาํ เป็นเรง่ ด่วน

2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 ปรับปรุงวิธีการจดั ทํางบประมาณโดยใชฐ้ านข้อมูลเดมิ ทใ่ี ช้จ่ายจรงิ และสํารวจแนวโน้มการใช้

จ่ายในอนาคตเพ่อื นําข้อมลู มาวิเคราะหจ์ ัดทาํ เทศบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยตอ่ ไป
กิจกรรมที่ 3 ดา้ นการดาํ เนนิ งานกฎหมายและคดี
1. ความเส่ยี งทมี่ อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
1.1 กฎหมายแต่ละฉบับมีขน้ั ตอนการปฏิบตั ิท่ีแตกต่างกันเจ้าหน้าทีผ่ ู้ปฏบิ ตั ิจาํ เปน็ ต้องศกึ ษา

กฎหมายแต่ละฉบบั อย่างละเอียดเพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตามข้นั ตอน หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ
ที่กฎหมายแตล่ ะฉบับกําหนด

หน้า 9 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 การพัฒนาทักษะการปฏบิ ัติงานศกึ ษากฎหมายและระเบยี บทต่ี ้องใช้ในการปฏิบัติงานเปน็ ราย

กรณี

กิจกรรมที่ 4 ด้านการบรหิ ารงานท่วั ไป
1. ความเสีย่ งท่ีมีอยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 เอกสารค้นหายากจากการจัดเกบ็ เอกสารไม่เป็นหมวดหมูต่ ามแฟ้มเอกสารทแ่ี ยกประเภทไว้
1.2 บุคลากรไมเ่ พียงพอเนอื่ งจากขาดเจ้าหน้าทผี่ ู้รบั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั งิ านธุรการโดยตรง
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 จัดทาํ แฟ้มเอกสารแยกเปน็ หมวดหมู่ชัดเจน
2.2 จดั ให้มีเจา้ หน้าทรี่ ับผิดชอบดูแลงานธุรการและหัวหน้างานกาํ ชับการปฏิบัตงิ าน

กจิ กรรมที่ 5 ดา้ นการประชาสมั พนั ธ์
1. ความเสี่ยงที่มีอยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 ขาดเจ้าหน้าทีท่ ่เี ชยี่ วชาญดา้ นงานประชาสัมพันธจ์ ากการไมม่ เี จ้าหนา้ ท่ที ท่ี ํางานตรงตาํ แหน่ง
2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

2.1 กําหนดใหม้ ีเจา้ หน้าท่ีผรู้ บั ผิดชอบงานประชาสมั พันธ์ในภาพรวมของเทศบาล ฯ พร้อมท้ัง
ส่งเสริมใหม้ กี ารฝกึ อบรม ฯ อย่างต่อเน่ือง

2.2 จดั ใหม้ ีการประชมุ คณะทาํ งานงานประชาสมั พันธ์ปัญหาและหาขอ้ แกไ้ ขอยา่ ง
นอ้ ยเดอื นละ 1 คร้ัง

3. กองชา่ ง

มีความเสีย่ ง 3 กิจกรรม ดงั นี้
กจิ กรรมท่ี 1 ด้านงานบรหิ ารท่ัวไป
1. ความเส่ยี งทีม่ อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 งานธรุ การ
1.1.1 ยังไม่มีเจ้าหน้าที่เฉพาะงานทีร่ ับผิดชอบ เนอื่ งจากมกี ารโอนย้ายของเจ้าหนา้ ท่แี ละ

ดว้ ยปริมาณงานทีเ่ พม่ิ มากขนึ้ ทําให้เกดิ ปญั หาทางด้านจัดการพมิ พ์เอกสาร การตรวจทานเอกสารทถ่ี กู ต้องตาม
ระเบียบ

1.1.2 ยงั มกี ารพมิ พ์หนังสือผดิ /ตกหลน่
1.1.3 ยงั ขาดความรูค้ วามเข้าใจในงานแตล่ ะฝ่ายทต่ี ้องใชร้ ะเบียบกฎหมายในการพิมพ์
หนังสือ
1.2 งานดา้ นการเงนิ และบญั ชี
1.2.1 ยงั ไมม่ เี จ้าหน้าทีเ่ ฉพาะงานที่รบั ผิดชอบและงานท่เี พม่ิ มากขึน้ ทาํ ให้การตรวจทาน
เอกสาร หลกั ฐานประกอบท่ถี กู ตอ้ งตามระเบียบ จงึ เกดิ ความลา่ ช้า
1.3 งานด้านจดั หาพสั ดุ
1.3.1 ยังไมม่ เี จ้าหน้าท่ีเฉพาะงานท่ีรับผดิ ชอบและงานทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ ทาํ ให้การตรวจทาน
เอกสาร หลักฐานประกอบทีถ่ ูกตอ้ งตามระเบียบและเกิดความลา่ ชา้

หน้า 10

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 สรรหาบุคลากรทมี่ คี วามรู้ความเชยี่ วชาญทางด้านการปฏบิ ตั งิ านธุรการ
๒.2 จดั ให้มกี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งโดยหัวหน้างานกอ่ นนาํ เสนอ
๒.3 ส่งบคุ ลากรฝกึ อบรมตามหลักสูตรเฉพาะตาํ แหนง่ เพอ่ื เปน็ การเพ่ิมพูนความรู้ ความสามารถ

และทักษะในการปฏิบัตงิ าน
๒.4 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ีใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ กบั ระเบียบการปฏิบัติ
๒.5 จัดทําแฟม้ ระเบียบ กฎหมาย หรือคาํ สัง่ ต่าง ๆ ไว้เพื่อใหเ้ จ้าหนา้ ทส่ี ามารถเปดิ ดไู ด้ง่ายกรณี

มีขอ้ สงสัย

กจิ กรรมท่ี 2 ด้านงานไฟฟา้ ถนน
1. ความเสย่ี งท่มี อี ยทู่ ตี่ ้องกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

๑.1 งานไฟฟา้ ยังขาดประสิทธภิ าพและขาดความชํานาญในการปฏิบตั งิ าน
๑.2 บุคลากรทม่ี คี วามรูค้ วามสามารถในการปฏิบัติงานไฟฟ้ามีไมเ่ พยี งพอ
๑.3 ขาดความชาํ นาญในด้านไฟฟ้า
๑.4 ยังไม่เขา้ ใจ กฎหมาย ระเบียบ หรอื หนงั สอื ส่งั การแบบใหมใ่ นการปฏิบตั งิ านที่เกยี่ วกับงาน
ไฟฟา้ เปน็ ต้น
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
๒.๑ สรรหาบุคลากรทม่ี ีความร้คู วามเชีย่ วชาญด้านไฟฟ้า
๒.๒ สรรหาบคุ ลากรท่มี ีคณุ วุฒปิ ระกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช. , ปวส.) ช่างไฟฟ้า
๒.๓ พฒั นาบคุ ลากรในดา้ นการไฟฟ้า
๒.๔ ส่งบคุ ลากรฝกึ อบรมตามหลกั สตู รเฉพาะตาํ แหน่งเพ่ือเป็นการเพ่ิมพนู ความรคู้ วามสามารถ
และทักษะในการปฏิบัติงาน

กิจกรรมท่ี 3 ด้านงานควบคุมงานก่อสร้าง
1. ความเสยี่ งทม่ี ีอยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

๑.๑ มกี ารควบคุมงานไมท่ ว่ั ถงึ เนอื่ งจากมีโครงการหลายโครงการเปน็ จํานวนมากและตอ่ เน่ือง
ทําใหก้ ารดาํ เนนิ งานเกดิ ความลา่ ช้า

๑.๒ เนื่องจากไม่มผี ูร้ ับผดิ ชอบโดยตรงและขาดบคุ ลากรทีเ่ ชีย่ วชาญทางดา้ นน้บี างครั้งทาํ ให้
การปฏบิ ตั งิ านเกดิ ขอ้ ผิดพลาด เน่ืองจากยงั ไมม่ คี วามเข้าใจในด้านกฎหมาย ระเบียบ และข้อสั่งการทเี่ กย่ี วขอ้ งในการ
ปฏิบตั ิ เช่น พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ร.บ.ผงั เมอื ง พ.ร.บ.โรงงานจึงก่อให้เกิด ปัญหาความลา่ ชา้

๑.๓ เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ านมีไม่เพยี งพอ
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

2.๑ ให้เจา้ หน้าที่ท่ีมีคาํ ส่งั มอบหมายใหร้ บั ผิดชอบงาน ควบคุมการกอ่ สร้างจะต้องตรวจสอบ
ผรู้ ับจ้างให้ปฏิบตั ิงานตามแบบมาตรฐานท่กี าํ หนดไว้

๒.2 การขออนุญาตกอ่ สร้างตามระเบยี บ กฎหมาย กาํ หนด และราคามาตรฐานกาํ หนดราคา
ของทะเบียนพาณชิ ยจ์ งั หวดั

2.3 จดั หาบคุ ลากรมาดาํ รงตาํ แหนง่ ตามแผนกรอบอตั รากําลงั ๓ ปี

หน้า 11 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

4. กองชา่ งสขุ าภบิ าล

มคี วามเสย่ี ง 3 กิจกรรม ดังน้ี
กจิ กรรมท่ี 1 ด้านการจดั การคณุ ภาพนาํ้
งานบาํ บดั น้าํ เสีย
1. ความเส่ียงทมี่ ีอยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 การดาํ เนินงานยงั มีความลา่ ชา้ เน่อื งจากปริมาณงานท่ีมากกว่าจาํ นวนบุคลากรทีม่ อี ยู่อย่าง
จาํ กดั

1.2 การดําเนนิ งานท่ีเกี่ยวขอ้ งกับประชาชนยอ่ มเกดิ ปัญหาเน่ืองจากความตอ้ งการทไี่ ม่ตรงกัน
ของประชาชน

1.3 ผปู้ ฏิบตั งิ านมีความเสี่ยงในการเกดิ อุบัติเหตเุ นือ่ งจากสภาพหนา้ งานท่ีตอ้ งปฏิบตั ิงานบน
ท้องถนน

2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 การเพ่มิ จํานวนบคุ ลากรในการปฏบิ ัตงิ าน
2.2 การจัดหาเคร่อื งมอื ทีป่ ้องกนั อนั ตรายที่อาจเกดิ จากการปฏบิ ตั งิ าน
2.3 การวางแผนการปฏิบัติงานลว่ งหนา้

กิจกรรมท่ี 2 ดา้ นการจดั การคณุ ภาพนํ้า
งานกําจดั ขยะมลู ฝอยและสง่ิ ปฏกิ ลู
1. ความเสย่ี งท่มี อี ยทู่ ตี่ ้องกําหนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 การจดั เก็บค่าธรรมเนียมการกําจัดขยะมลู ฝอยและสิ่งปฏกิ ลู
1.2 การชําระค่าธรรมเนยี มท่ลี า่ ชา้
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 การพฒั นาศักยภาพของเจา้ หนา้ ท่ีให้มีความรู้ความเขา้ ใจในการจดั เก็บคา่ ธรรมเนียมการกําจดั
ขยะมลู ฝอย
2.2 กาํ หนดระยะเวลาทต่ี ้องชาํ ระค่าธรรมเนยี ม ฯ ใหช้ ัดเจน

กจิ กรรมท่ี 3 ดา้ นงานธรุ การ
งานธุรการ
1. ความเส่ียงท่มี อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 การพมิ พเ์ อกสารและหนังสือราชการยงั มีผดิ และตกหล่น
1.2 เจา้ หนา้ ท่ียงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจในเรือ่ งงานสารบรรณท่ีถูกตอ้ ง
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 การส่งบุคลากรเขา้ รบั การฝกึ อบรมเพ่ือเพ่ิมความรูแ้ ละทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน
2.2 การตรวจสอบความถูกตอ้ งของเอกสารหรอื หนงั สอื ก่อนการนําเสนอ

หน้า 12

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

5. กองการศึกษา

มคี วามเสย่ี ง 6 กจิ กรรม ดงั นี้
กจิ กรรมที่ 1 ด้านการจดั หาพัสดุ
1. ความเสี่ยงที่มอี ยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 ขาดบุคลากรสนับสนนุ การทาํ งาน เนอ่ื งจากปริมาณงานเพิม่ ขน้ึ ทาํ ใหก้ ารตรวจทานเอกสาร
หลักฐานประกอบเป็นไปดว้ ยความล่าชา้

1.2 เจา้ หนา้ ที่ยงั ขาดความรเู้ กี่ยวกับระเบียบ กฎหมายการจดั หาพัสดุท่ีมกี ารเปล่ียนแปลง
ตามนโยบายต่าง ๆ ในปัจจุบนั

1.3 เครื่องมอื เครอ่ื งใช้ อปุ กรณ์สาํ นักงานไมเ่ พียงพอต่อปฏบิ ัติงาน
2. การปรบั ปรุงควบคมุ ภายใน

2.1 นาํ เข้าทปี่ ระชุมคณะกรรมการแผนอตั รากําลัง 3 ปี ในการขออนมุ ัติกาํ หนดตําแหน่งพนกั งาน
จา้ งสนับสนุนการทํางานด้านพสั ดุ เพื่อเพม่ิ ประสิทธิภาพการปฏบิ ัติงาน

2.2 ส่งบคุ ลากรเข้ารับการอบรม พฒั นาความรเู้ กยี่ วกบั ระเบยี บ กฎหมายใหม่ ๆ อย่เู สมอ
2.3 จัดหาเคร่อื งมอื อุปกรณ์ เทคโนโลยใี หเ้ พียงพอต่อการปฏบิ ัติงาน เช่น เคร่อื งถา่ ยสําเนา
เอกสาร เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ระบบประมวลผลสงู
2.4 เจ้าหน้าที่ทรี่ ับผดิ ชอบ แจง้ ผูค้ ้าให้กาํ หนดสง่ อาหารเสริม (นม) ใหท้ ันตามกาํ หนด
2.5 แตง่ ต้ังคณะกรรมการตรวจสอบคณุ ภาพอาหารเสริม (นม) และอาหารกลางวันใหเ้ ปน็ ไปตาม
ประกาศของสถานศึกษา

กจิ กรรมที่ 2 ดา้ นการเงนิ และบญั ชี
1. ความเสีย่ งที่มีอยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 ขาดบคุ ลากรสนบั สนุนการทาํ งาน เนือ่ งจากปรมิ าณงานเพ่ิมข้ึน ทําใหก้ ารตรวจทานเอกสาร
หลักฐานประกอบ เป็นไปด้วยความลา่ ช้า

1.2 เจ้าหน้าทค่ี นเดียวดาํ เนินงานตั้งแตต่ ้นจนจบกระบวนการไม่สอดคลอ้ งกับปรมิ าณงานที่มมี ากข้นึ
1.3 เครอื่ งมือเครือ่ งใช้ อปุ กรณ์สาํ นักงานไมเ่ พียงพอต่อปฏบิ ตั ิงาน
2. การปรบั ปรุงควบคมุ ภายใน
2.1 นาํ เขา้ ทปี่ ระชุมคณะกรรมการแผนอตั รากําลัง 3 ปี ในการขออนุมัตกิ ําหนดตาํ แหน่ง
พนักงานจ้างสนบั สนนุ การทาํ งานดา้ นการเงินและบัญชี ตลอดจนด้านพสั ดุ
2.2 ส่งบคุ ลากรเขา้ รับการอบรม พัฒนาความร้เู กย่ี วกบั ระเบยี บ กฎหมายใหม่ ๆ อยู่เสมอ
2.3 จัดหาเครื่องมอื อปุ กรณ์ เทคโนโลยใี ห้เพยี งพอต่อการปฏบิ ัตงิ าน เช่น เครือ่ งถา่ ยสาํ เนาเอกสาร
เคร่อื งคอมพิวเตอร์ระบบประมวลผลสงู

กิจกรรมท่ี 3 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
1. ความเสีย่ งทีม่ อี ยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 ขาดบคุ ลากรครู ซ่ึงจาํ เป็นต้องขอรับจัดสรรอัตราบรรจุแตง่ ตัง้ จากกรม ฯ เพมิ่ เติม
1.2 งบประมาณในการพฒั นามจี ํานวนจาํ กดั
1.3 บุคลากรไมไ่ ดร้ บั การอบรมครบตามหลักสตู รเฉพาะตาํ แหน่งของกรม ฯ

หน้า 13 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1.4 อาคารเรียนของศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กยงั ไมส่ ามารถเปิดดาํ เนินการได้เน่อื งจากอยรู่ ะหว่าง
ปรับปรงุ พ้นื ทเี่ พอ่ื รองรับการบรกิ าร

2. การปรบั ปรงุ ควบคมุ ภายใน
2.1 สรรหาบคุ ลากร ตามกรอบอัตรากําลังท่วี ่าง และเป็นไปตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็

ปฐมวยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 อาทิ เช่น เจา้ พนกั งานการเงนิ และบัญชี เจ้าพนักงานพสั ดุ ภายในสถานศึกษา
โดยเป็นบคุ ลากรฝา่ ยสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน

2.2 นาํ เข้าทป่ี ระชมุ เทศบาลเมืองยโสธรเพ่ือซักซ้อมเกย่ี วกับการจดั ทาํ งบประมาณด้านการศกึ ษา
งบประมาณดา้ นการพัฒนาศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ ในการปรบั ปรุงให้ได้มาตรฐาน ตลอดจนกาํ หนดแผนพฒั นาการศกึ ษา
ส่ปี ีบรรจกุ จิ กรรม/งาน/โครงการเกยี่ วกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั ในทุก ๆ ด้าน

2.3 จดั ส่งบุคลากรทย่ี ังไมไ่ ด้รับการฝกึ อบรมตามหลกั สูตรเฉพาะตาํ แหน่งใหไ้ ด้รับการอบรม
เพอ่ื พัฒนาความรู้เพ่ิมประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน

กจิ กรรมท่ี 4 ดา้ นงานประเพณแี ละวฒั นธรรมท้องถน่ิ
1. ความเสย่ี งท่มี ีอยทู่ ตี่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 ความไมช่ ดั เจนของระเบียบการใชจ้ า่ ยเงินเก่ียวกับการสง่ เสรมิ ประเพณวี ัฒนธรรม
1.2 การเบกิ จา่ ยเงินอุดหนุนชุมชนในการจัดงานประเพณีทอ้ งถิน่
1.3 บคุ ลากรไม่เพยี งพอในการปฏิบัตงิ าน
2. การปรบั ปรงุ ควบคุมภายใน
2.1 จัดให้มีการประชุมช้แี จงและใหค้ วามรู้กบั คณะกรรมการทไ่ี ด้รับเงนิ อุดหนุนในการจัดงาน
ประเพณที ราบ เกย่ี วกับการใชจ้ า่ ยเงนิ อดุ หนุนสง่ เสรมิ ประเพณีต่าง ๆ
2.2 สรรหาบคุ ลากรตามกรอบอตั รากาํ ลัง 3 ปี ทวี่ ่าง
2.3 แตง่ ต้ังคณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน

กิจกรรมที่ 5 ด้านการศกึ ษาและการศกึ ษาไมก่ าํ หนดระดบั
1. ความเส่ยี งท่ีมีอยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 การตรวจสอบและรายงานนักเรียนซ้ําซอ้ น ของสถานศึกษาในสังกัด
1.2 การจัดทําทะเบียนเด็กนกั เรียน พบวา่ ระบบขอ้ มลู ยังเป็นระบบปิด ซ่ึงไม่เช่ือมโยงข้อมูล
กับหนว่ ยสถานศึกษาอ่นื ทาํ ให้ยากตอ่ การตรวจสอบความซ้าํ ซ้อนของนกั เรียน
1.3 ในการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษาใชเ้ กณฑ์จาํ นวนนักเรียน ซ่งึ ไดข้ อรบั จดั สรร
งบประมาณจากสํานักงบประมาณ
1.4 อาคารอุทยานการเรียนรู้ ซึง่ ได้รับถ่ายโอนมาเม่อื ปี 2545 ไม่มกี ารใชง้ านตามปกติ
อยู่ระหว่างการปรับปรุงภารกิจเพอ่ื ให้สอดคล้องกับสภาวะปัจจบุ นั
1.5 ไมม่ ีเจา้ หน้าที่ผู้ดูแลรบั ผิดชอบหลกั เป็นผูด้ ูแลอาคารสถานท่ี ไมม่ อี าํ นาจหนา้ ทใ่ี นการบรหิ าร
จัดการภายใน
1.6 การสรรหาอตั รากาํ ลงั พนกั งานจ้าง (วา่ ง) ตําแหน่ง ผ้ชู ว่ ยครสู อนเดก็ ดอ้ ยโอกาส เนื่องจาก
ไมม่ ีผผู้ า่ นการสรรหา จาํ เป็นตอ้ งดําเนนิ การสรรหาให้เปน็ ไปตามอํานาจหน้าท่ี วตั ถปุ ระสงค์และภารกจิ ต่อไป
2. การปรบั ปรุงควบคมุ ภายใน
2.1 ประสานสาํ นกั ปลดั เทศบาลเมืองยโสธร ในการสรรหาผู้มาดํารงตําแหน่งท่ีวา่ ง

หน้า 14

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2.2 จดั ส่งบคุ ลากรภายในกองการศึกษา ใหพ้ ฒั นาความรู้ และความสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ

2.3 จดั สง่ บุคลากรภายในกองให้พัฒนาความรู้ และสามารถปฏิบัตงิ านด้านบุคลากรทางการศกึ ษา
และจดั ประชุมเพิม่ ความรู้ผปู้ ฏบิ ตั ิงานดา้ นบุคคล

2.4 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหท้ ันสมยั เหมาะสมกับภารกจิ และโครงสรา้ งการ
บรหิ ารงานในปัจจบุ ันลดขนั้ ตอนการทาํ งาน

2.5 กําชับใหเ้ จา้ หน้าที่ของสถานศกึ ษา บนั ทึกขอ้ มูลในระบบฐานขอ้ มลู นักเรยี นให้เปน็ ปจั จุบนั
และตรวจสอบได้

2.6 จัดหาโปรแกรม เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาระบบฐานข้อมลู ใหส้ ามารถเช่ือมโยง สบื คน้ ในระดับ
สถานศกึ ษาและกองการศกึ ษา

กจิ กรรมท่ี 6 ด้านการกฬี า
1. ความเส่ียงท่ีมอี ยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 ความไม่ชดั เจนของระเบียบการใช้จ่ายเงินเกี่ยวกบั การสง่ เสริมกีฬา นันทนาการ ตลอดจน
ประเพณวี ัฒนธรรม

1.2 บคุ ลากรไม่เพียงพอและขาดความชํานาญในการปฏบิ ัติงาน
2. การปรบั ปรุงควบคุมภายใน

2.1 จดั ให้มกี ารประชุมชีแ้ จงและใหค้ วามรู้กบั คณะกรรมการทไี่ ดร้ ับเงนิ อดุ หนนุ ในการจัดงาน
นันทนาการ เกี่ยวกับการใชจ้ า่ ยเงนิ อดุ หนนุ สง่ เสรมิ กจิ กรรมนนั ทนาการตา่ ง ๆ

2.2 แต่งตั้งคณะกรรมการตดิ ตามและประเมินผลการดาํ เนนิ งาน
2.3 สง่ บุคลากรเข้ารบั การอบรมใหไ้ ด้รบั การพัฒนาความรคู้ วามสามารถเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการ
ปฏบิ ัตงิ าน

6. กองคลงั

มีความเสยี่ ง 3 กิจกรรม ดังน้ี
กจิ กรรมท่ี 1 ดา้ นจดั เกบ็ รายได้
1. ความเส่ยี งทมี่ อี ยทู่ ตี่ ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 การจัดเกบ็ รายได้บางประเภทไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย
1.2 บุคลากรไมเ่ พยี งพอ
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ทร่ี ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานด้วยความรอบคอบระมดั ระวงั และออกสาํ รวจข้อมูล
ให้เป็นปัจจุบัน
2.2 ขอกาํ หนดกรอบอตั รากําลังเจ้าหนา้ ที่จัดเก็บรายได้เพมิ่

กิจกรรมท่ี 2 ดา้ นการเงินและบญั ชี
1. ความเสี่ยงที่มอี ยทู่ ตี่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 บุคลากรไม่เพียงพอ
1.2 เจา้ หนา้ ทีข่ าดประสบการณค์ วามรู้ความเข้าใจในการบนั ทกึ บญั ชี

หน้า 15 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 ขอกรอบอัตรากาํ ลงั เพมิ่
2.2 ส่งเจา้ หน้าที่อบรมเพ่มิ พนู ความรูอ้ ย่างสมํ่าเสมอ

กิจกรรมท่ี 3 ดา้ นงานพสั ดแุ ละทรพั ยส์ นิ
1. ความเส่ียงทมี่ อี ยทู่ ตี่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 การจัดซอื้ จัดจา้ งไม่เป็นไปตามแผน
1.2 บนั ทกึ ทะเบยี นคุมพัสดุ ครภุ ัณฑ์ไม่ถกู ต้องและไม่เป็นปจั จบุ ัน
1.3 ครุภัณฑ์เสื่อมสภาพไม่มีการตัดจาํ หนา่ ย ไม่ดาํ เนินการตามระเบยี บ
1.4 บุคลากรไม่เพียงพอ
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 ประชุมติดตามผลและเร่งรัดการจดั ซอ้ื จดั จา้ งให้เปน็ ไปตามแผน
2.2 กําชับเจา้ หนา้ ทีพ่ สั ดุตรวจสอบเอกสารตา่ งๆ ให้เปน็ ไปด้วยความรอบคอบถูกต้องครบถว้ น
และเปน็ ปัจจุบนั
2.3 เรง่ รดั ใหเ้ จ้าหนา้ ที่พัสดุตรวจสอบครภุ ณั ฑ์เส่อื มสภาพ ตดั จําหน่ายและขายทอดตลาด
ตามระเบียบพัสดุ
2.4 ขอกรอบอตั รากําลังเพิ่ม

7. กองสวัสดิการสงั คม

ความเส่ยี ง 3 กจิ กรรม ดงั น้ี
กิจกรรมที่ 1 ดา้ นงานสงั คมสงเคราะห์ การจา่ ยเบย้ี ยงั ชพี ผสู้ งู อายุ ผพู้ กิ ารและผปู้ ว่ ยเอดส์
1. ความเส่ยี งท่มี อี ยทู่ ตี่ ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

ผไู้ ด้รบั เบยี้ ยงั ชีพส่วนหน่งึ ประมาณ 147 ราย แจ้งความประสงค์รบั เงินสดดว้ ยตนเอง หรอื รบั เงิน
สดโดยบคุ คลทไ่ี ดร้ ับมอบอาํ นาจตามสิทธิ โดยไมต่ ้องการโอนเงนิ เขา้ บัญชเี งินฝากธนาคาร ซ่งึ อาจก่อใหเ้ กดิ ความ
ผดิ พลาดในการจ่ายเงนิ สด ในกรณที ีม่ ีการมอบอํานาจใหผ้ อู้ นื่ มารบั เงินแทน

๒. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 เพม่ิ การประชาสมั พนั ธ์ทุกช่องทางใหป้ ระชาชนในพ้ืนทไ่ี ดร้ บั ทราบอยา่ งเขม้ ขน้
2.2 ประสานงานกบั ผู้นําชุมชนเป็นประจําสมํ่าเสมอ
2.3 เจ้าหนา้ ท่ผี ้รู บั ผิดชอบตรวจสอบการทํางานตรวจทานรายการอยา่ งเครง่ ครัดและเขม้ งวด
2.4 ประสานงานเรื่องการหกั เงินการก้ยู ืมเงนิ จากสถาบันการเงินชุมชน เทศบาลเมอื งยโสธร

อยา่ งละเอยี ดรอบคอบ

กจิ กรรมท่ี 2 ดา้ นงานพฒั นาชุมชน โครงการสนบั สนนุ การจดั ทาํ แผนชุมชน
1. ความเสี่ยงที่มีอยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

ประชาชนแตล่ ะชมุ ชนเขา้ รว่ มการประชมุ ประชาคมยงั คงมจี าํ นวนไม่มากนักเม่ือเปรยี บเทียบกบั
สัดสว่ นของประชากร/ครัวเรือนท้งั หมด

หน้า 16

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 มีการประชุมช้ีแจงผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ ทลี่ งไปยงั ชมชนใหป้ ระชาชนในชุมชนตระหนกั ถึง

ความสาํ คญั ของการมีสว่ นรว่ มในการวางแผนพัฒนาชุมชนของตนเอง
2.2 สร้างแรงจูงใจในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมประชาคม เช่น การจับสลากรางวลั ให้แกผ่ เู้ ขา้ ร่วม

กจิ กรรมเปน็ ตน้

กิจกรรมท่ี 3 ด้านงานธรุ การ งานตามหนังสอื สั่งการทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
1. ความเสี่ยงที่มอี ยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

หนงั สือส่ังการเร่งดว่ นไมส่ ามารถรายงานผลได้ทันตามระยะเวลาที่กําหนด บางคร้งั หนังสอื
มาเรง่ ดว่ นผู้บังคับบญั ชาเรง่ ติดตามการดําเนินงานตามหนังสอื ท่ีสง่ั การใหท้ นั กําหนด

๒. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
จดั ลาํ ดับความสาํ คัญเรง่ ด่วนของงานและดําเนนิ การให้แลว้ เสรจ็ ตามเง่ือนเวลา

8. กองสาธารณสขุ และสงิ่ แวดลอ้ ม

ความเสีย่ ง 2 กิจกรรม ดงั นี้
กจิ กรรมที่ 1 ดา้ นบรหิ ารงานสาธารณสขุ
1. ความเสีย่ งทีม่ อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๑ ฝา่ ยบรหิ ารงานสาธารณสขุ
๑.๑.๑ งานสขุ าภบิ าลและอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม
(๑) ขาดการมสี ว่ นร่วมของประชาชน ปริมาณขยะทเี่ พ่ิมขนึ้ มีการท้งิ ขยะกองรวมกนั ไว้

ในท่ีสาธารณะ
(๒) ความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัย / อาชวี อนามัยและความปลอดภยั ในการทํางาน

ของพนกั งานภาคสนาม
๑.๑.๒ งานธุรการ
(๑) ยังมีการพิมพห์ นงั สอื ราชการผดิ /ตกหล่นและไมเ่ ปน็ ไปตามระเบียบสาํ นกั นายก

รัฐมนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2562 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2548
(2) ยงั มกี ารออกใบอนญุ าตประกอบกจิ การบางประเภท ผิดพลาด/ล่าชา้ อยู่
(3) ผูป้ ระกอบการมกี ารประกอบกจิ การโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าตหรอื เปิดประกอบกิจการ

แล้ว จึงมาขออนุญาตภายหลัง
(4) ผูป้ ระกอบการไมม่ าบอกยกเลิกการประกอบกจิ การทําใหฐ้ านขอ้ มลู ไมเ่ ป็นปัจจบุ ัน
(5) บคุ ลากรยังขาดความเข้าใจเกย่ี วกับการขออนญุ าตประกอบกิจการต่าง ๆ

ตามพระราชบัญญตั กิ ารสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕
๑.๑.๓ งานการเงนิ และบญั ชี
(๑) ยังมีการจดั เก็บคา่ ธรรมเนยี มการออกใบอนญุ าตประเภทตา่ ง ๆ ไม่ถกู ตอ้ ง
(2) ผปู้ ระกอบการมกี ารค้างชาํ ระธรรมเนียมใบอนุญาตเป็นจาํ นวนมาก
(3) กรณที ี่ไมม่ าต่อใบอนญุ าต/หรอื มาตอ่ ล่าช้า ไม่มีการเรียกเกบ็ ค่าปรบั ตามที่

เทศญตั ตกิ ําหนดไว้

หน้า 17 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

(4) จะเกบ็ ไมค่ รอบคลมุ จาํ นวนครวั เรอื นทใ่ี หบ้ รกิ าร
(5) การจัดเกบ็ ไมเ่ ป็นไปตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด
(6) อัตราค่าธรรมเนียมการจดั เก็บไม่เหมาะสมกบั สภาเศรษฐกิจปัจจบุ นั
(7) ไม่นาํ ลกู หนี้ค้างจ่ายมาตั้งเปน็ ลกู หนี้ ณ วันสิ้นปีงบประมาณ
๒. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
๒.๑ ฝ่ายบรหิ ารงานสาธารณสขุ
๒.๑.๑ งานสขุ าภบิ าลและและอนามยั สิ่งแวดล้อม
(๑) จัดทาํ โครงการเพอ่ื ป้องกันและแก้ไขปญั หาขยะมลู ฝอย
(๒) ประสาน/องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รอบนอกที่นําขยะมาท้งิ ในเขตเทศบาลเมืองยโสธร
เพอื่ หามาตรการแกไ้ ขปญั หารว่ มกัน
(๓) จดั ทํามาตรการเพ่อื ใช้ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาการกําจดั ขยะมูลฝอย
(๔) อบรมใหค้ วามร/ู้ จัดหาเครอื่ งมือ/อปุ กรณป์ อ้ งกนั ตนเอง ตามหลกั อาชวี อนามยั
เพอื่ ความปลอดภยั ในการทาํ งาน และวางแผนการทาํ งานก่อนลงปฏิบตั ิจริง
๒.๑.๒ งานธรุ การ
(๑) จัดใหม้ กี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ ง โดยหวั หนา้ งาน / หวั หนา้ ฝา่ ย กอ่ นนาํ เสนอ
(2) ฝกึ อบรมตามหลกั สตู รเฉพาะตําแหน่งของแต่ละบคุ คล เพื่อเปน็ การเพ่ิมพนู ความรู้
ความสามารถ และทกั ษะในการปฏิบัติงานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๓) พัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ใี ห้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ กบั ระเบียบการจดั เกบ็
(๔) จดั ทําคู่มอื การปฏบิ ัติงานในกองสาธารณสขุ และสิง่ แวดล้อม
(๕) จดั แฟ้มระเบียบ กฎหมาย ตามเทศบัญญตั ิต่างๆ ซ่งึ เจ้าหน้าท่ีสามารถเปิดดไู ดง้ ่าย
กรณีมีขอ้ สงสยั
๒.๑.๓ งานการเงนิ และบญั ชี
จดั ให้มรี ายงานทางการเงนิ เป็นประจําทกุ วนั และปฏบิ ตั ติ ามระเบียบการจา่ ยเงนิ การรบั เงนิ
การฝากเงินและอนื่ ๆทีเ่ กย่ี วขอ้ ง โดยมีเจ้าหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบ จดั ทํารายงานให้เปน็ ปัจจบุ นั ถูกต้อง ครบถว้ น
และมีผ้กู ํากบั ดแู ลควบคมุ อย่างต่อเนอ่ื ง

กจิ กรรมที่ 2 ดา้ นบรกิ ารสาธารณสขุ
1. ความเสีย่ งทม่ี ีอยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

๑.๒ ฝ่ายบรกิ ารสาธารณสุข
๑.๒.๑ งานสตั วแพทย์
โรงฆ่าสัตวข์ องเทศบาลยังไมไ่ ด้มาตรฐานตามเกณฑ์และต้งั อยู่ในแหลง่ ชมุ ชน
๑.๒.๒ งานศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ
(๑) ประชาชนยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในการปอ้ งกนั /ควบคุมการติดต่อของโรค

ตลอดจนยงั ขาดความตระหนักในการควบคมุ ปอ้ งกันในครอบครวั และชุมชน
(๒) อาสาสมคั รสาธารณสขุ แกนนาํ สขุ ภาพชมุ ชน ยงั ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในการ

สรุปผลการดําเนนิ งาน หลงั จากได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนจากเทศบาลเมอื งยโสธรในแตล่ ะโครงการ/กิจกรรม

หน้า 18

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
๒.๒.๑ งานสตั วแพทย์
เพ่มิ การพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าทผ่ี ปู้ ฏบิ ัตงิ านในเรือ่ ง Sterile Technique
๒.๒.๒ งานศูนยบ์ รกิ ารสาธารณสขุ
(๑) มกี ารประชาสมั พันธก์ ารป้องกัน/ควบคุมการระบาดของโรคติดต่ออย่างตอ่ เนอื่ ง
(๒) พัฒนาศักยภาพ เจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ ดา้ นการควบคมุ ป้องกันโรค
(๓) แนะนาํ /ให้ความรู้ ในการดําเนนิ งาน/และการสง่ สรปุ ผลการดําเนินงานในแตล่ ะ

กจิ กรรมของการพัฒนางานด้านสาธารณสุขมูลฐานชุมชนรวมถึงเงินอุดหนุนสําหรบั การดาํ เนินงานตามแนวทาง
โครงการพระราชดาํ ริดา้ นสาธารณสขุ

9. กองการเจา้ หน้าที่

ความเสย่ี ง 3 กจิ กรรม ดังน้ี
กจิ กรรมท่ี 1 ด้านการสรรหา บรรจุ และแตง่ ตัง้
1. ความเสย่ี งท่มี ีอยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 กิจกรรมการสรรหา บรรจุ และแตง่ ตงั้
1.1.1 บทบาท อาํ นาจหน้าทขี่ องเทศบาล เปลยี่ นแปลงตามบรบิ ทชุมชนเมือง

อตั ราการเกิดของประชากร ทาํ ใหก้ ารกระทบต่ออตั รากําลัง ได้แก่ อตั ราสว่ นนกั เรยี นตอ่ ครูสายผู้สอนและ
สายบริหารสถานศกึ ษาจาํ เป็นต้องปรบั ปรงุ กรอบอัตรากาํ ลงั และปรับเกลยี่ ตาํ แหนง่ ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศ ระเบียบ
ขอ้ บงั คบั

1.1.2 การวางแผนดา้ นอตั รากาํ ลังเกีย่ วกบั การสรรหา บรรจุและแต่งตง้ั บุคลากร
ในหนว่ ยงานไมเ่ หมาะสมหรอื ไมส่ อดคล้องกบั นโยบายการบรหิ าร

1.1.3 กรอบอัตราวา่ ง ซ่งึ รอการบรรจแุ ตง่ ต้งั ไม่เปน็ ไปตามแผนสรรหา เนื่องจากใชว้ ิธี
รายงานให้กรมสง่ เสริมการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดําเนินการสรรหาแทน ประเภทรายงานให้ กสถ. ดาํ เนินการแทน
แต่ยงั มไิ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั ตามกรอบอัตรากาํ ลังทวี่ ่าง ระหว่างรอทาํ ให้ตอ้ งมอบหมายบคุ ลากรดา้ นอน่ื ปฏบิ ัตงิ านแทน
อาจทําใหม้ ีความผดิ พลาดเกดิ ขึ้นได้จากการขาดความรู้ความเขา้ ใจ และความชาํ นาญเฉพาะด้าน

2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 กิจกรรมการสรรหา บรรจุ และแตง่ ตัง้
ดําเนนิ งานสรรหาตาํ แหนง่ ทว่ี ่างตามกรอบอตั รากําลงั ต่อไปเพื่อใหม้ ีผู้ปฏิบตั งิ านทีม่ า

รับผดิ ชอบงานตามตําแหน่งหนา้ ที่ ใหผ้ ทู้ ่ีได้รับมอบหมายปฏบิ ัติหนา้ ที่ด้วยความระมัดระวัง ศกึ ษาหาความรู้เพม่ิ เตมิ
หรอื จัดอบรมให้ความรู้ /ส่งเขา้ รบั การฝกึ อบรม

กิจกรรมที่ 2 ด้านพฒั นาบคุ ลากร
1. ความเสี่ยงท่มี อี ยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 กิจกรรมการพฒั นาบคุ ลากร
1.1.1 บคุ ลากรไม่ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งทว่ั ถึง
1.1.2 งบประมาณด้านการพฒั นาบคุ ลากรมีอยู่อยา่ งจํากดั
1.1.3 สถานการณ์แพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา่ (Covid-19) ทําใหไ้ ม่สามารถจดั

อบรมหรอื ส่งบุคลากรเขา้ รว่ มการอบรม/ประชมุ /สมั มนาได้ตามกาํ หนด

หน้า 19 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.2 กจิ กรรมการพฒั นาบคุ ลากร
2.2.1 จดั ใหม้ กี ารทบทวนแผนการพฒั นาบุคลากรใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการและ

มาตรฐานกําหนดตําแหนง่ เพื่อให้เกิดประโยชนอ์ ย่างสูงสุด
2.2.2 จัดใหม้ กี ารจัดทาํ ฐานข้อมลู ประวัติขอ้ มลู บคุ ลากร และประวัตกิ ารไดร้ บั การ

ฝึกอบรมในหนว่ ยงานใหท้ ันสมัยอยเู่ สมอ
2.2.3 กาํ หนดเปา้ หมาย หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารพัฒนาบุคลากรในหน่วยงานใหช้ ัดเจน
2.2.4 จดั ใหม้ รี ะบบการสับเปลี่ยนหมนุ เวียนบคุ ลากรในหน่วยงานเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้

การปฏบิ ตั งิ านในหลาย ๆ ด้าน
2.2.5 จดั ใหม้ ีระบบการวดั หรอื ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน

กิจกรรมที่ 3 การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร
1. ความเสี่ยงท่ีมอี ยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 กจิ กรรมการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร
1.1.1 การจดั ส่งแบบประเมินฯ ลา่ ชา้ ทําใหร้ วบรวมเอกสารตา่ ง ๆ ไมไ่ ดร้ บั

ตรวจสอบอย่างละเอยี ด มีจาํ นวนเอกสารผิดพลาดต้องแก้ไขอยู่บอ่ ยคร้งั
1.1.2 ผ้ทู าํ การประเมนิ และผู้รบั การประเมนิ จัดทาํ เอกสารไม่ตรงกบั มาตรฐาน

กําหนดตําแหน่ง
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 กิจกรรมการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร
2.1.1 กําหนดระยะเวลาในการรวบรวมเอกสารแบบประเมินฯ และมผี ้ชู ้แี จง

หลักเกณฑก์ ารประเมินต่าง ๆ ให้ทราบ
2.1.2 จดั ให้มกี ารรับฟงั และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ จากผูเ้ ก่ยี วขอ้ งทุกฝ่าย
2.1.3 จดั ประชุมชีแ้ จงหลกั เกณฑก์ ารประเมิน เอกสารประกอบการประเมนิ และ

หลกั ฐานตา่ งๆ ให้แกผ่ ู้ประเมนิ และผรู้ บั การประเมินทราบ

10. หน่วยตรวจสอบภายใน

ความเสี่ยง 1 กิจกรรม ดงั นี้
กิจกรรมดา้ นภารกิจของหน่วยตรวจสอบภายใน
1. ความเสยี่ งทม่ี ีอยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 ด้วยสถานการณ์ที่มกี ารระบาดของโรคติดต่อ (โควดิ - 19) กรมสง่ เสริมการปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ จึงไดเ้ ลื่อนการฝึกอบรมออกไป

1.2 เครื่องพมิ พ์ท่ใี ชง้ านร่วมกันภายในหนว่ ยตรวจสอบภายในอาจเกิดการชาํ รดุ เสยี หาย
เพิ่มจากการใช้งานท่ีมากขึ้น

1.3 การรายงานผลการปฏิบตั ติ ามของหน่วยรบั ตรวจบางหนว่ ยงานยังมีความล่าชา้
1.4 กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบงั คับ หนงั สอื ส่ังการทีเ่ กย่ี วขอ้ ง มกี ารเปล่ียนแปลง
อยู่เสมอ

หน้า 20

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 นักวชิ าการตรวจสอบภายในเข้ารบั การฝึกอบรมเฉพาะตําแหนง่ และหลกั สูตร

ที่เกยี่ วขอ้ งและจาํ เป็นต่อการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบจากหนว่ ยงานทก่ี รมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ กาํ หนด
2.2 บาํ รุงรกั ษาครภุ ณั ฑใ์ หอ้ ยูใ่ นสภาพที่ดีและพรอ้ มใชง้ าน
2.3 ตดิ ตามและกําชบั ใหห้ นว่ ยรบั ตรวจดําเนินการแก้ไขในส่วนทม่ี ขี อ้ บกพรอ่ ง
2.4 ศกึ ษาและปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ หนงั สอื ส่งั การทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

เพ่ือใช้ประกอบการปฏบิ ตั ิงาน

11. โรงเรยี นเทศบาล 1 สขุ วทิ ยากรตั้งตรงจิตร 15 

ความเสี่ยง 4 กิจกรรม ดงั นี้
กิจกรรมท่ี 1 ด้านบรหิ ารวชิ าการ
1. ความเสย่ี งท่ีมีอยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนยังไมส่ อดคลอ้ งกับหลักสตู ร
1.2 การวดั และประเมนิ ผลยงั ไมต่ รงกับมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 สรา้ งความเข้าใจให้ครอู อกแบบแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ ห้
เชื่อมโยงและสัมพนั ธก์ บั มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ช้ีวัดและวิธกี ารวัดผลประเมินผล
2.2 การใชก้ ารเรยี นการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในการแกป้ ัญหาครสู อน
ไม่ตรงสาขาวชิ าเอก

กิจกรรมท่ี 2 ด้านบรหิ ารงานประมาณ
1. ความเสยี่ งทม่ี ีอยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการช้า
1.2 บุคลากรยงั ไมช่ ดั เจนในระเบียบการปฏบิ ตั ทิ ่ีวา่ ด้วยการเงิน
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 ส่งบุคลากรท่รี บั ผิดชอบเขา้ รับการอบรม
2.2 จัดทําแผนงบประมาณประจําปี
2.3 จดั ทําบญั ชีควบคุมการรับ –จา่ ยเงินทกุ ครัง้ และเปน็ ปัจจบุ นั
2.4 รายงานเงินงบประมาณที่ไดร้ ับการจดั สรร / การจ่ายต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา

โรงเรียน

กจิ กรรมที่ 3 ดา้ นบรหิ ารงานบคุ คล
1. ความเส่ียงทีม่ ีอยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการช้า
1.2 บคุ ลากรยงั ไมช่ ดั เจนในระเบียบการปฏบิ ตั ิ
2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

หน้า 21 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2.1 จดั ทาํ รายละเอียดการควบคมุ การปฏิบตั ทิ ีช่ ดั เจนเป็นภาคเรยี น/ปี การศึกษา-จัดทาํ
บนั ทกึ ขอ้ มลู ครเู ปน็ รายบุคคล / ปี การศกึ ษา

2.2 ส่งเขา้ รับการอบรมตามสมคั รใจพรอ้ มรายงานผลเม่อื ส้นิ ภารกจิ

กจิ กรรมท่ี 4 ดา้ นบรหิ ารทวั่ ไป
1. ความเสยี่ งท่มี ีอยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

1.1 อาคารมกี ่อสร้างมาเป็นเวลายาวนาน
1.2 ระบบไฟฟ้าในตัวอาคารบางหลงั ไมม่ ีมาตรฐานพอ
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 โรงเรียนได้รับงบประมาณในการปรงุ ซอ่ มแซมจากทางราชการและไดร้ บั การชว่ ยเหลอื
จากองคก์ รท้องถนิ่ และชุมชนมาชว่ ยเหลอื บ้าง
2.2 โรงเรียนไดด้ าํ เนินการจัดทําโครงการแตง่ ต้ังคณะกรรมการควบคุมตรวจสอบดแู ล
การใช้ จัดทําปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานมีคาํ ส่ังแตง่ ตง้ั ผูร้ ับผิดชอบงาน, เวรยามรักษาการณ์และของบประมาณสนบั สนุนในการ
ปรับปรุงอาคารสถานท่ี เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ

12. โรงเรียนเทศบาล 2 สามัคควี ฒั นา

ความเส่ียง 4 กจิ กรรม ดงั นี้
กจิ กรรมที่ 1 ด้านงานบรหิ ารวิชาการ
1. ความเสยี่ งทมี่ ีอยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนร้ยู งั ไมห่ ลากหลาย
1.2 ความพร้อมในการใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นการสอน
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 สรา้ งความเขา้ ใจให้ครอู อกแบบแผนการจดั การเรียนรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ที่หลากหลายและเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สําคญั
2.2 อบรม แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การนําเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การสอนของครใู ห้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ปจั จุบนั
2.3 การจัดครูเขา้ สอนในรายวชิ าหลักครูสอนตรงวชิ าเอก ส่วนรายวิชาอื่นๆ จดั ตาม
ความสามารถและความถนัดของครู

กฎหมาย กิจกรรมท่ี 2 ดา้ นงานบรหิ ารงานประมาณ
1. ความเส่ียงที่มอี ยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการช้า
1.2 ระเบียบ/กฎหมายมกี ารแก้ไขเปล่ียนแปลง
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 สง่ บุคลากรท่รี ับผิดชอบเข้ารบั การอบรมทกุ ครั้งทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงระเบียบ/

2.2 จดั ทําแผนงบประมาณประจําปี

หน้า 22

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2.3 จัดทําบญั ชีควบคุมการรบั –จา่ ยเงนิ ทกุ คร้งั และเปน็ ปจั จบุ นั
2.4 รายงานเงินงบประมาณที่ไดร้ ับการจัดสรร / การจา่ ยต่อคณะกรรมการสถานศึกษา

กิจกรรมที่ 3 ดา้ นงานบรหิ ารงานบคุ คล
1. ความเส่ียงท่มี อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการชา้
1.2 บุคลากรยงั ไมช่ ัดเจนในรายละเอียดระเบยี บการปฏิบัตบิ างกรณี
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 จดั ทาํ รายละเอยี ดการควบคุมการปฏิบัตทิ ช่ี ัดเจนเป็นภาคเรยี น/ปีการศกึ ษา
2.2 จัดทําบนั ทึกข้อมูลครูเปน็ รายบคุ คล/ปีการศกึ ษา
2.3 สง่ เข้ารบั การอบรมตามความสมคั รใจพร้อมรายงานผลเมือ่ สน้ิ ภารกจิ

กจิ กรรมที่ 4 ด้านงานบรหิ ารทัว่ ไป
1. ความเสี่ยงทม่ี อี ยทู่ ตี่ ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 อาคารมกี อ่ สร้างมาเปน็ เวลายาวนาน
1.2 ระบบไฟฟ้าในตวั อาคารบางหลงั ไมม่ ีมาตรฐานพอ
2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 โรงเรยี นได้รบั งบประมาณในการปรงุ ซอ่ มแซมจากทางราชการและไดร้ ับการช่วยเหลือ
จากองคก์ รทอ้ งถน่ิ
2.2 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการควบคมุ ตรวจสอบดูแลการใช้ จดั ทําปฏิทินปฏิบัติงานมีคําสั่ง
แต่งตัง้ ผู้รบั ผิดชอบงาน, เวรยามรักษาการณ์และของบประมาณสนับสนนุ ในการปรับปรุงอาคารสถานท่ี เพือ่ ใหเ้ กดิ
ประโยชนส์ ูงสุด

13. โรงเรียนเทศบาล 3 หา้ ธนั วาคม 

ความเส่ียง 6 กิจกรรม ดังน้ี
กิจกรรมท่ี 1 ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ
1. ความเสยี่ งท่มี ีอยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 การนิเทศไม่ต่อเน่ืองความเส่ยี งยังคงอยู่
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

2.1 จัดใหม้ กี ารประชมุ วางแผนกําหนดเปา้ หมายและวธิ กี ารดาํ เนนิ งานร่วมกนั โดยใช้
กระบวนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC)

2.2 จดั รปู แบบในการนเิ ทศการศึกษาให้มหี ลากหลายวธิ ใี นสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เพ่ือใหเ้ ข้ากับสถานการณท์ เี่ กดิ ขึน้ เช่น

2.3 การนิเทศจากคลปิ วดี ีโอในรปู แบบ On-Demand
2.4 จัดทําปฏทิ ินการนิเทศให้ชัดเจน

กจิ กรรมที่ 2 ดา้ นการบรหิ ารงานบคุ ลากรงานส่งเสริมและพฒั นาบคุ ลากร
1. ความเสย่ี งที่มีอยทู่ ตี่ อ้ งกําหนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 บุคลากรบางส่วนขาดความตระหนกั กับการสมัครเขา้ รว่ มอบรมแบบออนไลน์

หน้า 23 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1.2 ส่วนกลางไม่จัดการอบรม/สัมมนาใหก้ ับบคุ ลากร
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

2.1 สนบั สนนุ ให้บคุ ลากรเข้าร่วมอบรม/สมั มนา ตามโอกาส
2.2 จัดอบรม/สมั มนา ในหนว่ ยงาน

กิจกรรมที่ 3 ด้านการบรหิ ารงานธรุ การ การเงินและพสั ดุ งานบญั ชี
1. ความเสี่ยงท่มี อี ยทู่ ต่ี อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 การบนั ทกึ ข้อมูลยังไมส่ มบูรณ์
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

2.1 มกี ารนเิ ทศกํากับตดิ ตามจากฝ่ายบริหาร
2.2 จัดเวลาใหบ้ ุคลากรทาํ งานเพมิ่ ขึน้

กิจกรรมท่ี 4 ด้านการบรหิ ารงานกจิ การนักเรยี นงานแนะแนว
1. ความเส่ียงทีม่ อี ยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 ยังมนี กั เรียนทย่ี ากจนยังไมไ่ ดร้ บั การดูแลอยา่ งสม่าํ เสมอ
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

2.1 ให้ครูประจาํ ชน้ั เอาใจใสน่ ักเรยี นมากขึน้
2.2 ทาํ ปฏทิ นิ การดําเนนิ การให้ชดั เจน
2.3 ติดตามขา่ วสารจาก LINE CCT THAILAND

กจิ กรรมท่ี 5 ดา้ นการบรหิ ารงานความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรียนกบั ชมุ ชนงานบรกิ าร
ชุมชน

1. ความเสี่ยงทม่ี อี ยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
1.1 ครูและผปู้ กครองบางส่วนยังขาดทักษะในการใช้เทคโนโลยเี พ่อื การสือ่ สาร

2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน
2.1 จัดให้มกี ารกาํ กบั ตดิ ตามนักเรยี นทีม่ ฐี านะยากจนใหไ้ ดร้ บั ทุนเสมอภาคเพ่มิ ขน้ึ

กิจกรรมท่ี ๖ การบรหิ ารงานอาคารสถานทงี่ านปรบั ปรงุ งานซ่อมบาํ รุง
1. ความเสีย่ งท่มี ีอยทู่ ต่ี ้องกําหนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 ความเสย่ี งอย่ใู นระดับตา่ํ เนอ่ื งจากมกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขภายในเวลาท่ีกาํ หนด
2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน

2.1 กอ่ สรา้ งหลงั คาเชือ่ มตอ่ ทางเดนิ อนบุ าล 3 กบั อนบุ าล 2
2.2 การซอ่ มแซมหอ้ งนํ้าห้องสว้ ม อาคารอนบุ าล ๓ และหลังตึกบรหิ าร
2.3 การซอ่ มแซมหลังคาและรางนาํ้ อนุบาล ๓

หน้า 24

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

14. ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ เทศบาลเมอื งยโสธร

ความเสี่ยง 4 กจิ กรรม ดงั น้ี
กจิ กรรมที่ 1 ดา้ นงานบรหิ ารวชิ าการพฒั นาหลักสูตร
1. ความเสย่ี งที่มอี ยทู่ ต่ี อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรยู้ งั ไมห่ ลากหลาย
2. การปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

2.1 สร้างความเข้าใจใหค้ รอู อกแบบแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูแ้ ละจัดกจิ กรรม
การเรียนร้ทู ห่ี ลากหลายและเน้นผเู้ รียนเปน็ สําคญั

กฎหมาย กจิ กรรมท่ี 2 ด้านงานบรหิ ารวชิ าการพฒั นาหลกั สตู รงานบริหารงานประมาณ
1. ความเส่ยี งท่ีมีอยทู่ ต่ี อ้ งกําหนดปรบั ปรุงการควบคมุ ภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการช้า
1.2 ระเบียบ/กฎหมายมีการแกไ้ ขเปลยี่ นแปลง
2. การปรบั ปรุงการควบคุมภายใน
2.1 สง่ บคุ ลากรที่รับผดิ ชอบเข้ารับการอบรมทกุ คร้งั ทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงระเบยี บ/

2.2 จัดทาํ แผนงบประมาณประจําปี
2.3 จัดทําบญั ชคี วบคมุ การรับ – จา่ ยเงนิ ทกุ คร้งั และเปน็ ปจั จบุ นั
2.4 รายงานเงินงบประมาณที่ไดร้ บั การจดั สรร / การจ่ายต่อคณะกรรมการบริหารศนู ย์

กจิ กรรมที่ 3 ด้านงานบริหารงานบคุ คลและงานพัฒนาบุคลากร
1. ความเสยี่ งท่มี อี ยทู่ ตี่ อ้ งกาํ หนดปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน

1.1 งบประมาณจากทางราชการชา้
1.2 บุคลากรยังไม่ชดั เจนในรายละเอยี ดระเบยี บการปฏิบัตบิ างกรณี
2. การปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน
2.1 จดั ทาํ รายละเอียดการควบคุมการปฏิบัตทิ ชี่ ดั เจนเป็นภาคเรียน/ปี การศึกษา
2.2 จดั ทําบนั ทกึ ขอ้ มูลครเู ป็นรายบุคคล / ปี การศกึ ษา
2.3 สง่ เข้ารบั การอบรมตามความสมคั รใจพรอ้ มรายงานผลเม่ือส้ินภารกิจ

กิจกรรมที่ 4 ดา้ นงานบรหิ ารงานทวั่ ไป
1. ความเสย่ี งทมี่ อี ยทู่ ต่ี ้องกาํ หนดปรบั ปรุงการควบคุมภายใน

1.1 อาคารมีความชํารุดตามสภาพการใช้งานนาน
1.2 ระบบไฟฟา้ ในตวั อาคารบางห้องไม่มมี าตรฐานพอ
2. การปรบั ปรงุ การควบคมุ ภายใน
2.1 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กฯได้รบั งบประมาณในการปรุงซอ่ มแซมจากทางราชการและไดร้ ับ
การช่วยเหลือจากองค์กรทอ้ งถ่ิน

หน้า 25 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2.2 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการควบคุมตรวจสอบดูแลการใช้ จดั ทาํ ปฏิทนิ ปฏบิ ตั ิงานมคี าํ สั่ง
แต่งต้งั ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน, เวรยามรกั ษาการและของบประมาณสนบั สนุนในการปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี เพ่ือให้เกิด
ประโยชนส์ งู สดุ

ลายมอื ช่อื

 

หน้า 26

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานการประเมินองค์ประกอบ
ของการควบคมุ ภายใน

แบบ ปค.4

หน้า 27 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชอื่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนินงานสิน้ สุดวนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรปุ

1. สาํ นกั ปลัดเทศบาล

ฝา่ ยอาํ นวยการ

1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม

สภาพแวดล้อมการควบคุมเป็นปัจจยั

พื้นฐานในการดาํ เนนิ งานท่สี ่งผลใหม้ ีการ

นําการควบคุมภายในมาปฏบิ ัตทิ ั่วทง้ั หนว่ ยงาน

ของรฐั ทง้ั น้ผี กู้ าํ กบั ดแู ลและฝ่ายบริหารจะตอ้ ง

สร้างบรรยากาศใหท้ กุ ระดบั ตระหนกั ถงึ ความ

สาํ คัญของการควบคุมภายใน รวมทัง้ การ

ดาํ เนนิ งานทค่ี าดหวังของผ้กู ํากับดูแลและฝา่ ย

บริหาร ทง้ั นี้ สภาพแวดล้อมการควบคุมดงั กลา่ ว

เป็นพ้ืนฐานสาํ คัญทส่ี ง่ ผลกระทบต่อองค์ประกอบ

ของการควบคมุ ภายในอน่ื ๆ สภาพแวดล้อมการ

ควบคมุ ประกอบดว้ ย 5 หลกั การ ดงั น้ี
1.1 การยึดมั่นในคุณคา่ ของความซ่อื ตรงและ 1.1 ผู้บริหารให้ความสําคัญกบั การมีความซอ่ื สัตย์
และจริยธรรม บริหารงานตามหลกั ธรรมาภบิ าลโปร่งใส
จรยิ ธรรม
ตรวจสอบได้ บคุ ลากรยึดม่ันในความซ่ือสตั ยส์ ุจริต

มีคณุ ธรรมและจริยธรรม

1.2 ผกู้ ํากบั ดแู ลมคี วามเป็นอิสระจากฝา่ ย 1.2 มีหน่วยตรวจสอบภายในท่เี ปน็ อิสระไมข่ ึ้นกบั ฝา่ ย
บริหารและมีหนา้ ทก่ี ํากบั ดแู ลใหม้ กี ารพัฒนา บริหาร ที่คอยสอบทานระบบควบคุมภายในได้อย่างอิสระ
ปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน รวมถึงการดําเนนิ การ
เกี่ยวกับการควบคุมภายใน

1.3 ผูบ้ รหิ ารจดั ใหม้ ีโครงสรา้ งองค์กร 1.3 มีการกาํ หนดโครงสรา้ งสว่ นราชการภายในชดั เจน
สายการบังคบั บัญชา อาํ นาจหนา้ ท่แี ละความ มกี ารกําหนดหนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบไว้เป็นลายลกั ษณ์
รับผดิ ชอบทเี่ หมาะสมในการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ อกั ษรอยา่ งชดั เจน และมกี ารแจง้ เวยี นการมอบหมายหน้าท่ี
ของหน่วยงาน ภายใต้การกาํ กับดูแลของผกู้ าํ กบั ความรับผิดชอบให้ทราบโดยทั่วกนั

หน้า 28

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชอื่ หนว่ ยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนินงานส้นิ สุดวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมนิ /ข้อสรปุ

1.4 การแสดงให้เห็นถงึ ความมงุ่ มั่นสรา้ ง 1.4 มกี ารส่งเสรมิ ให้พฒั นาบคุ ลากรทกุ ระดบั ในองคก์ ร
แรงจูงใจ พัฒนาและรักษาบุคลากรที่มคี วามรู้ โดยสง่ บุคลากรเขา้ รับการอบรมอย่างต่อเนื่อง
ความสามารถสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ อง
หน่วยงาน

1.5 การกําหนดให้บุคลากรมหี นา้ ทีแ่ ละ 1.5 มีการจดั ทาํ คําสง่ั มอบหมายงานใหก้ ับบุคลากร
ความรับผิดชอบต่อผลการปฏบิ ัตงิ าน (KPI อย่างเหมาะสม และชัดเจน พรอ้ มทั้งแจ้งให้บุคลากรรับทราบ
ขอ้ ตกลงฯ) ตามระบบการควบคมุ ภายใน และถือปฏบิ ตั ิ มกี ารควบคมุ กาํ กับดแู ลการปฏิบตั ิงานใน
เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของหนว่ ยงาน หนว่ ยงานให้เป็นไปตามระบบการควบคมุ ภายในทีก่ าํ หนด
อย่างต่อเน่ือง

2. การประเมินความเสีย่ ง
การประเมินความเส่ยี งเปน็ กระบวนการ

ที่ดาํ เนินการอยา่ งต่อเนือ่ งและเป็นประจํา
เพ่ือระบแุ ละวเิ คราะห์ความเสี่ยงท่มี ผี ลกระทบ
ตอ่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องหนว่ ยงานของรัฐ
รวมถงึ กาํ หนดวธิ กี ารจัดการความเสีย่ งนน้ั
ฝ่ายบริหารควรคาํ นึงถงึ การเปล่ยี นแปลง
ของสภาพแวดลอ้ มภายนอกและภารกจิ ภายใน
ท้ังหมดทมี่ ีผลตอ่ การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของ
หน่วยงานของรฐั การประเมินความเส่ยี ง
ประกอบด้วย 4 หลกั การ ดงั น้ี

2.1 การระบวุ ัตถปุ ระสงค์การควบคมุ ภายใน 2.1 การกําหนดวัตถุประสงค์ทกุ กจิ กรรมที่ดาํ เนินการ
ของการปฏิบัติงานใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายทศิ ทางการดําเนินงานอยา่ งชัดเจน สอดคลอ้ ง
ขององคก์ รไว้อย่างชดั เจนและเพยี งพอท่ีจะ กับภารกจิ ของหนว่ ยงาน มีการสื่อสารให้บคุ ลากรทราบและ
สามารถระบแุ ละประเมนิ ความเสยี่ งที่เก่ยี วข้องกับ เข้าใจตรงกนั ใหก้ ารยอมรับโดยคํานึงถงึ ความเหมาะสมตาม
วตั ถุประสงค์ ภารกจิ ของหนว่ ยงานและวัดผลได้

หน้า 29 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่ือหน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานส้ินสดุ วนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

2.2 การระบคุ วามเส่ยี งทีม่ ีผลตอ่ การบรรลุ 2.2 มีส่วนรว่ มในการระบุและประเมินความเสี่ยง
วัตถปุ ระสงค์การควบคมุ ภายในอยา่ งครอบคลมุ ท่อี าจเกิดขนึ้ ท้ังจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
ทัง้ หนว่ ยงาน และวเิ คราะห์ความเสยี่ งเพอ่ื กาํ หนด โดยกาํ หนดเกณฑใ์ นการพิจารณาและจัดลําดับความเสี่ยง
วิธีการจัดการความเสี่ยงนน้ั ผลกระทบของความเส่ยี งและความถ่ที จี่ ะเกดิ หรือโอกาส
ท่จี ะเกิดความเสี่ยงจากการวเิ คราะห์ความเสยี่ งดงั กลา่ ว

2.3 การพจิ ารณาโอกาสท่ีอาจเกิดการทจุ รติ 2.3 มปี ระเมนิ ระดบั ความสาํ คัญหรือผลกระทบ

เพ่อื ประกอบการประเมินความเสี่ยงที่สง่ ผลตอ่ การ ของความเสย่ี งและความถีท่ ่จี ะเกดิ หรอื โอกาสทจี่ ะเกดิ ความ

บรรลวุ ตั ถุประสงค์ เส่ียงหรือโอกาสท่ีจะเกดิ ความเส่ียงที่อาจเกิดขึน้ การพจิ ารณา

ความเส่ยี งของกิจกรรมทมี่ ีโอกาสจะเกดิ การทจุ ริต

2.4 การระบุและประเมนิ การเปล่ียนแปลง 2.4 มกี ารระบคุ วามเส่ยี งท่ีส่งผลตอ่ การปฏบิ ัติงานท่มี ี
ทีอ่ าจมผี ลกระทบอย่างมีนัยสาํ คญั ต่อระบบการ ความสาํ คญั ต่อการดาํ เนนิ งานทเ่ี กดิ จากการเปลีย่ นแปลง
ควบคมุ ภายใน เพื่อกาํ หนดวิธีการควบคมุ เพอ่ื ปอ้ งกันหรือลดความเสยี่ งได้
แจ้งเวยี นให้บุคลกรทราบและนําไปปฏิบตั ิ

3. กจิ กรรมการควบคุม
กิจกรรมการควบคุมเปน็ การปฏบิ ตั ิทกี่ าํ หนด

ไว้ในนโยบายและกระบวนการดําเนนิ งาน เพ่ือให้
มั่นใจว่าการปฏิบัตติ ามการสั่งการของฝา่ ยบริการ
จะลดหรอื ควบคมุ ความเส่ียงใหส้ ามารถบรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ กิจกรรมการควบคุมควรได้รับการ
นําไปปฏิบตั ทิ ั่วทกุ ระดบั ของหนว่ ยงานของรฐั
ในกระบวนการปฏบิ ตั งิ านขั้นตอนการดาํ เนินงาน
ตา่ งๆ รวมถงึ การนาํ เทคโนโลยมี าใชใ้ นการ
ดําเนินงาน กจิ กรรมควบคุม ประกอบด้วย
3 หลักการ

หน้า 30

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชือ่ หนว่ ยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนนิ งานส้ินสดุ วนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรปุ

3.1 การระบุและพัฒนากิจกรรมการ 3.1 มีวธิ กี ารปฏบิ ตั ิงานท่ีชัดเจนโดยมกี ารติดตาม

ควบคมุ เพื่อลดความเสีย่ งในการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตรวจสอบ เพื่อประชมุ ปรึกษาหารอื ใหเ้ ขา้ ใจในการลด

ให้อยู่ในระดบั ทย่ี อมรบั ได้ ความเสี่ยงตามวตั ถุประสงค์ของการควบคุมให้อยใู่ นระดบั

ทยี่ อมรบั ไดแ้ ละใหท้ กุ กจิ กรรมดาํ เนนิ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

3.2 การระบุและพัฒนากจิ กรรมการ 3.2 มีการใชเ้ ทคโนโลยแี ละระบบอนิ เทอรเ์ นต็
ควบคมุ ทัว่ ไปดา้ นเทคโนโลยเี พ่ือสนบั สนนุ มาเป็นตัวชว่ ยพฒั นาโดยเฉพาะกจิ กรรมทเ่ี กีย่ วกบั การรบั เรื่อง
การบรรลุวัตถปุ ระสงค์ ร้องเรยี นรอ้ งทุกข์

3.3 การจดั ใหม้ ีกจิ กรรมการควบคมุ 3.3 มวี ธิ ีการหรือกิจกรรมทที่ าํ ให้เกิดการควบคมุ ทดี่ ี
โดยกําหนดไวใ้ นนโยบาย ประกอบดว้ ยผลสําเร็จ โดยใช้นโยบายผู้บริหาร ระเบยี บ หนงั สอื สง่ั การเป็นแนวทาง
ทค่ี าดหวังและขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื นํา ในการควบคมุ มกี ารกาํ หนดหน้าทีแ่ ละความรับชอบไว้
นโยบายไปสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ เปน็ หลักฐานลายลกั ษณอ์ ักษรอยา่ งชัดเจนและมกี ารแจ้ง
เวยี นการมอบหมายหน้าท่ีความรบั ผดิ ชอบให้ทราบโดยทวั่ กนั

4. สารสนเทศและการสอื่ สาร
สารสนเทศเปน็ ส่ิงจําเปน็ สําหรบั หนว่ ยงาน

ของรัฐท่จี ะชว่ ยใหม้ กี ารดําเนนิ การตามการควบคมุ
ภายในทกี่ าํ หนด เพ่อื สนบั สนนุ ใหบ้ รรลวุ ตั ถุ
ประสงค์ของหนว่ ยงานของรัฐ การสอ่ื สารเกิดข้ึนได้
ท้งั จากภายในและภายนอกและเป็นช่องทาง
เพ่อื ใหท้ ราบถึงสารสนเทศทสี่ าํ คัญในการควบคุม
การดาํ เนนิ งานของหน่วยงานของรฐั การสอ่ื สาร
จะช่วยใหบ้ คุ ลากรในหนว่ ยงาน มคี วามเขา้ ใจ
ถงึ ความรบั ผดิ ชอบและความสําคญั ของการควบคุม
ภายในทมี่ ตี ่อการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ สารสนเทศ
และการสื่อสารประกอบด้วย 3 หลกั การ ดังน้ี

หน้า 31 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชือ่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสน้ิ สดุ วนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

4.1 การจัดทาํ หรอื จัดหาและใชส้ ารสนเทศ 4.1 มกี ารจัดทาํ ข้อมลู จดั เกบ็ ข้อมลู ในระบบสารสนเทศ

ที่เกย่ี วข้องและมีคุณภาพ เพ่ือสนบั สนุนใหม้ ีการ ในการติดต่อสือ่ สารทัง้ หน่วยงานภายในและภายนอกอยา่ ง

ปฏิบตั ิตามการควบคมุ ภายในท่ีกําหนด เพยี งพอเหมาะสมเช่ือถอื ได้ เพ่ือความสะดวกในการ

ปฏิบัติงานและทนั ตอ่ เหตุการณ์

4.2 การส่อื สารภายในเก่ียวกบั สารสนเทศ 4.2 รวบรวมกฎหมาย ระเบยี บ และหนังสือสง่ั การ
รวมถงึ วัตถปุ ระสงค์และความรับผดิ ชอบทม่ี ตี อ่ การ ทเ่ี ก่ียวข้องและนําขอ้ มลู ลงเว็บไซต์ เพื่อใช้เป็นแหล่งขอ้ มูล
ควบคุมภายในซ่ึงมคี วามจาํ เปน็ ในการสนับสนนุ ในการคน้ คว้าและมกี ารกระจายขอ้ มูลภายในองคก์ รผ่าน
ให้มกี ารปฏบิ ัติตามการควบคุมภายในท่ีกําหนด สือ่ กลางที่หลากหลาย

4.3 มีการสอื่ สารกับบคุ คลภายนอก 4.3 มกี ารบรกิ ารต่าง ๆ เชน่ ให้บรกิ ารปรกึ ษาแนะนาํ
เก่ียวกับเร่ืองที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัตติ าม และการใช้ระบบสารสนเทศในการติดตอ่ สื่อสารอยา่ ง
การควบคมุ ภายในทก่ี าํ หนด เหมาะสมเขา้ ถงึ และทันตอ่ เหตกุ ารณ์

5. กิจกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล
กิจกรรมการติดตามผลเปน็ การประเมนิ ผล

ระหวา่ งการปฏิบัตงิ าน การประเมนิ ผลเปน็ ราย
ครงั้ หรอื เป็นการประเมนิ ทงั้ สองวธิ รี ว่ มกนั เพือ่ ให้
เกดิ ความมนั่ ใจว่าได้มกี ารปฏบิ ัตติ ามหลักการในแต่
ละองคป์ ระกอบของการควบคุมภายในท้งั 5
องค์ประกอบ กรณีท่ผี ลการประเมนิ การควบคุม
ภายใน จะก่อให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ หนว่ ยงาน
ของรัฐ ให้รายงานตอ่ ฝ่ายบริหารและผ้กู าํ กบั ดแู ล
อย่างทันเวลากิจกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล
ประกอบด้วย 2 หลักการ ดังนี้

5.1 การระบุ พฒั นา และดาํ เนินการ 5.1 มีการติดตามการปฏบิ ตั ิตามระบบการควบคมุ
ประเมินผลระหว่างการปฏบิ ัตงิ านและหรือการ ภายในอย่างต่อเนอื่ งและสมาํ่ เสมอ เพอื่ ใหม้ ีความมัน่ ใจ
ประเมินผลเปน็ รายครงั้ ตามทกี่ ําหนด เพอ่ื ให้เกดิ ว่าระบบการควบคมุ ภายใน มีความเพยี งพอเหมาะสมหรอื
ความม่นั ใจวา่ ได้มีการปฏิบตั ิตามองค์ประกอบของ ตอ้ งดาํ เนินการปรบั ปรงุ แก้ไข
การควบคมุ ภายใน

หน้า 32

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชือ่ หนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานสิ้นสุดวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมนิ /ขอ้ สรปุ

5.2 การประเมนิ ผลและสือ่ สารขอ้ บกพรอ่ ง 5.2 มีการติดตามการปฏบิ ตั ติ ามระบบการควบคมุ
หรอื จดุ ออ่ นของการควบคุมภายในอย่างทันเวลา ภายในตามแนวทางการจัดวางระบบการควบคมุ ภายใน
ต่อฝา่ ยบริหารและผกู้ าํ กับดแู ล เพื่อใหร้ ับผดิ ชอบ ภายใตห้ ลักเกณฑ์กระทรวงการคลงั กาํ หนด เพอื่ ให้มน่ั ใจวา่
สามารถสั่งการแกไ้ ขได้อยา่ งเหมาะสม ระบบการควบคุมภายในมคี วามเพยี งพอเหมาะสมหรอื ตอ้ ง
ดาํ เนินการปรับปรงุ แก้ไข มกี ารสรุปรายงานผลการเนนิ งาน
เสนอผบู้ ริหารทราบเป็นประจาํ ทุกกิจกรรม

ผลการประเมนิ โดยรวม

ฝา่ ยอาํ นวยการ มีโครงสร้างการควบคุมภายในครบ 5 องคป์ ระกอบ พบว่า
1. มสี ภาพแวดลอ้ มการควบคุมของหนว่ ยงานในภาพรวมเหมาะสมและมีสว่ นทาํ ให้การควบคุมภายใน
มีประสทิ ธผิ ลและมปี ระสิทธิผลและเพียงพอที่จะทาํ ให้การปฏิบตั ิงานประสบผลสําเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์
2. วิธกี ารทใี่ ชใ้ นการประเมินความเสย่ี งมคี วามเหมาะสม มีการพจิ ารณาความเสีย่ งทีส่ อดคล้องเช่ือมโยง
โดยคาํ นึงถงึ สภาพแวดลอ้ มภายนอกและปจั จยั ภายในตลอดจนโอกาสที่จะเกดิ การทุจรติ
3. กิจกรรมการควบคมุ สามารถนําไปปฏิบัติได้ตามทว่ี างไว้ แตบ่ างกจิ กรรมก็ยงั มจี ุดออ่ น เน่ืองจากมีผล
กระทบจากปัจจัยภายนอกและบุคลากรไม่ได้ปฏิบัตติ ามกิจกรรมควบคุมอย่างเคร่งครัด
4. การใชส้ ารสนเทศและสือ่ สารของฝ่ายปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั มีความเหมาะสมกับการใชง้ าน
ในกจิ กรรมการควบคมุ ภายใน
5. มีการติดตามประเมนิ ผลควบคมุ ภายในที่เหมาะสม ภายใต้หลกั เกณฑ์และแนวทางท่กี ระทรวงการคลงั
วา่ ด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑก์ ารควบคุมภายในสาํ หรบั หน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2561
อย่างไรกต็ ามมีบางกจิ กรรมท่ตี อ้ งปรบั ปรงุ กระบวนการควบคมุ เพอ่ื ใหก้ ารปฏิบตั ิงานมีประสทิ ธภิ าพและ
ประสิทธผิ ลยิ่งข้ึน จงึ ไดก้ าํ หนดวิธีการและแผนการปรับปรงุ การควบคุมภายในทเ่ี หมาะสมไวแ้ ล้ว

หน้า 33 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชือ่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสิ้นสุดวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

ฝา่ ยบรหิ ารงานทวั่ ไป ผลการประเมิน
1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม - ฝา่ ยบริหารงานท่วั ไป สํานกั ปลัดเทศบาล ไดว้ เิ คราะห์
สภาพแวดล้อมภายใน ประเมินระบบการควบคมุ ภายในตามภารกจิ งานประจาํ
โดยได้วเิ คราะห์ประเมนิ ตามองคป์ ระกอบมาตรฐานการ
กิจกรรมดา้ นงานธุรการ ควบคุมภายในตามระเบยี บคณะกรรมการการตรวจเงิน
- เปน็ ความเส่ยี งจากสภาพแวดลอ้ มภายใน แผ่นดนิ ว่าด้วยการกาํ หนดมาตรฐานการควบคมุ ภายใน
คอื ขาดความร้แู ละทกั ษะในการปฏิบัติงานด้าน พ.ศ.2544 พบว่ากิจกรรมทม่ี ีความเส่ยี งอยู่ คอื คาํ สง่ั
งานธรุ การและการจัดซอ้ื จดั จา้ งและงานดา้ น และประกาศไมต่ ดิ ทสี่ มุดใหค้ รบทกุ เรื่อง
ธรุ การ ซง่ึ อาจทําให้เกดิ ความลา่ ชา้

2. การประเมินความเส่ียง ขอ้ สรุป
กจิ กรรมดา้ นงานจัดซือ้ จัดจ้างและงาน ผลการประเมนิ จากการวเิ คราะห์ พบวา่ เพ่ือลดความ
เสยี่ งท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ต้องดาํ เนนิ การจดั ทําแผนการปรบั ปรุง
ธุรการ การควบคุมภายใน โดยไดก้ าํ หนดแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข
- ปัญหา กฎ ระเบยี บ และแนวทางการ ไวเ้ รยี บร้อยแล้วตามแบบ ปค. 5 ต่อไป

ปฏบิ ัตงิ านด้านการจดั ซือ้ จัดจา้ ง เปลี่ยนแปลง
- ปัญหางานด้านธรุ การ เน่อื งจากมกี าร

ปรบั การรับ-สง่ หนังสือเป็นระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนกิ ส์

3. กิจกรรมการควบคุม
กจิ กรรมดา้ นงานจัดซ้อื จดั จ้างและงาน

ธรุ การ
- เจ้าหนา้ ท่เี ขา้ รับการฝกึ อบรม เพ่อื เพ่ิม

ทักษะในการปฏบิ ัติงานและติดตามและให้
คาํ แนะนําอย่างตอ่ เน่อื งในส่วนทไ่ี มส่ มบรู ณ์

4. สารสนเทศและการสื่อสาร
กิจกรรมด้านการจัดซื้อจดั จ้างและงานดา้ น

ธรุ การ

หน้า 34

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่ือหนว่ ยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสิ้นสุดวนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรปุ

- การเขา้ ระบบจดั ซอ้ื จดั จา้ งดว้ ยระบบ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพ่อื ให้การจดั ซ้ือจดั จ้าง
มีประสทิ ธภิ าพ

- นาํ ระบบการรบั -สง่ หนังสือ ดว้ ยระบบ
อิเลก็ ทรอนิกสม์ าใชใ้ นการรบั -สง่ หนงั สือราชการ
เพอ่ื ใหก้ ารตดิ ตอ่ ส่ือสารสะดวกยง่ิ ข้นึ

5 การตดิ ตามประเมินผล
กิจกรรมด้านการจัดซ้อื จัดจ้างและงานดา้ น

ธุรการ
- มกี ารตดิ ตาม กํากับดแู ลการปฏบิ ตั ิงาน

แต่ละกิจกรรมอย่างสมาํ่ เสมอและต่อเนอ่ื ง
มกี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน
ที่มขี ้อบกพร่องอยูต่ ลอดเวลา

ผลการประเมนิ โดยรวม

ฝา่ ยบรหิ ารงานท่ัวไป เน่อื งจากการวิเคราะห์พบว่ากิจกรรมท่ตี อ้ งบริหารความเสีย่ งอยู่ คอื กิจกรรมดา้ นงาน
สารบรรณซงึ่ ยงั ไม่บรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องการควบคมุ จึงมีความจาํ เป็นตอ้ งกาํ หนดแผนงานในการปรับปรุงเพื่อติดตาม
ต่อไป

หน้า 35 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชือ่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานสนิ้ สดุ วนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

ฝ่ายกจิ การสภา

1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม

สภาพแวดล้อมการควบคุมเป็นปจั จัยพื้นฐาน

ในการดําเนินงานทีส่ ง่ ผลใหม้ กี ารนําการควบคมุ ภายใน

มาปฏิบตั ทิ ่วั ท้ังหนว่ ยงานของรัฐ ท้ังน้ผี ู้กํากบั ดูแลและ

ฝา่ ยบรหิ ารจะต้องสร้างบรรยากาศให้ทกุ ระดับตระหนัก

ถึงความสําคัญของการควบคุมภายใน รวมทงั้ การ

ดําเนนิ งาน ท่คี าดหวงั ของผู้กาํ กบั ดแู ลและฝา่ ยบริหาร

ทัง้ นี้ สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ ดังกลา่ วเปน็ พื้นฐานสาํ คัญ

ที่สง่ ผลกระทบตอ่ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายในอน่ื ๆ

สภาพแวดลอ้ มการควบคมุ ประกอบด้วย 5 หลกั การ

ดงั น้ี

1.1 การยดึ มนั่ ในคุณคา่ ของความซอื่ ตรงและ 1.1 มีการกําหนดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สาํ หรบั สมาชิก

จรยิ ธรรม สภาเทศบาลทจี่ ะต้องถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานจรยิ ธรรม

ขององค์กรตามท่ีกาํ หนด

1.2 ผู้กาํ กบั ดูแลมีความเปน็ อิสระจากฝา่ ยบริหาร 1.2 ไมใ่ ชส้ ถานะหรือตําแหน่งการเป็นสมาชิกสภา
และมีหนา้ ท่กี าํ กบั ดแู ลใหม้ ีการพฒั นา ปรบั ปรงุ การ เทศบาล เข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงการบรรจุ แตง่ ตัง้
ควบคุมภายใน รวมถงึ การดาํ เนินการเกย่ี วกับการควบคมุ โอน ยา้ ย เลอ่ื นตําแหน่งและเลือ่ นขั้นเงนิ เดือนของ
ภายใน ข้าราชการสว่ นท้องถิน่ ซึ่งมตี ําแหน่งหรือเงนิ เดอื นประจํา
หรือใหบ้ ุคคลดงั กลา่ วพน้ จากตําแหนง่

1.3 ผู้บรหิ ารจัดให้มโี ครงสรา้ งองคก์ ร สายการ 1.3 มีการจัดลําดับสายการบังคบั บญั ชาของฝา่ ยกิจการ
บงั คับบญั ชา อํานาจหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบที่เหมาะสม สภาตามลําดบั
ในการบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องหนว่ ยงาน ภายใต้การกํากับ
ดูแลของผ้กู าํ กบั ดแู ล

หน้า 36

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสิ้นสดุ วนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมนิ /ขอ้ สรปุ

1.4 การแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมน่ั สรา้ งแรงจงู ใจ 1.4 มคี วามมุง่ ม่นั พฒั นาใหส้ มาชิกสภาเทศบาล

พัฒนาและรักษาบคุ ลากรทม่ี คี วามร้คู วามสามารถ โดยสนบั สนนุ ใหเ้ ข้ารับการอบรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง

สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องหนว่ ยงาน

1.5 การกําหนดให้บคุ ลากรมหี น้าทีแ่ ละความ 1.5 กําหนดให้บคุ ลากรมหี น้าทีร่ บั ผิดชอบ
รบั ผดิ ชอบต่อผลการปฏิบัตงิ าน (KPI ขอ้ ตกลงฯ) ในการควบคมุ ความเสีย่ ง เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์
ตามระบบการควบคมุ ภายใน เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ ของหนว่ ยงาน
ของหนว่ ยงาน

2. การประเมนิ ความเสย่ี ง
การประเมนิ ความเส่ยี งเป็นกระบวนการทดี่ าํ เนินการ

อย่างต่อเนื่องและเป็นประจํา เพอ่ื ระบุและวเิ คราะหค์ วาม
เสี่ยง ท่ีมีผลกระทบตอ่ การบรรลุวัตถุประสงค์ของหนว่ ยงาน
ของรฐั รวมถงึ กาํ หนดวิธกี ารจดั การความเสยี่ งนน้ั ฝา่ ย
บริหารควรคาํ นงึ ถงึ การเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม
ภายนอกและภารกจิ ภายในท้ังหมดที่มีผลตอ่ การบรรลุ
วัตถปุ ระสงคข์ องหนว่ ยงานของรฐั การประเมินความเส่ียง
ประกอบดว้ ย 4 หลักการ ดงั นี้

2.1 การระบวุ ัตถุประสงคก์ ารควบคุมภายในของการ 2.1 การกําหนดกจิ กรรมการควบคมุ ตาม
ปฏิบตั ิงานใหส้ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ขององคก์ รไว้ วัตถุประสงค์ และผลการประเมินความเสีย่ ง
อย่างชดั เจนและเพยี งพอทจ่ี ะสามารถระบุและประเมนิ เพ่ือดาํ เนินการให้บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ ององคก์ ร
ความเสยี่ ง ที่เก่ียวขอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์

2.2 การระบคุ วามเสย่ี งทีม่ ีผลตอ่ การบรรลวุ ตั ถุ 2.2 มีการระบคุ วามเสยี่ งทสี่ ่งผลใหก้ าร
ประสงค์การควบคุมภายในอยา่ งครอบคลุมทง้ั หน่วยงาน ดาํ เนินงานไม่สัมฤทธิผ์ ลและไม่เป็นไปตาม
และวเิ คราะห์ความเสี่ยงเพื่อกําหนดวิธกี ารจดั การ ยุทธศาสตรท์ ีต่ งั้ ไว้
ความเสี่ยงน้ัน

2.3 การพจิ ารณาโอกาสทีอ่ าจเกิดการทจุ รติ 2.3 มกี ารพิจารณาความเสย่ี งของกิจกรรม
เพือ่ ประกอบการประเมินความเสย่ี งทีส่ ่งผลตอ่ การบรรลุ ทมี่ ีโอกาสจะเกิดการทุจรติ
วตั ถุประสงค์

หน้า 37 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนินงานสน้ิ สุดวนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมนิ /ข้อสรปุ

2.4 การระบแุ ละประเมนิ การเปลีย่ นแปลงทอี่ าจมี 2.4 มีการระบคุ วามเส่ียงทส่ี ง่ ผลตอ่ การปฏบิ ัตงิ าน
ผลกระทบอยา่ งมีนยั สําคัญตอ่ ระบบการควบคุมภายใน
ที่มคี วามสาํ คญั ตอ่ การดําเนินงานทเ่ี กดิ จากการ
เปล่ยี นแปลง

3. กจิ กรรมการควบคุม

กจิ กรรมการควบคุมเป็นการปฏิบัติทก่ี าํ หนดไว้

ในนโยบายและกระบวนการดาํ เนนิ งาน เพื่อให้ม่นั ใจว่า

การปฏิบตั ิตามการส่ังการของฝ่ายบริการจะลดหรอื ควบคุม

ความเสย่ี งใหส้ ามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ กจิ กรรมการ

ควบคุมควรได้รับการนําไปปฏบิ ัติทวั่ ทกุ ระดับของหน่วยงาน

ของรัฐ ในกระบวนการปฏิบัตงิ านข้ันตอนการดําเนนิ งาน

ต่างๆ รวมถงึ การนําเทคโนโลยีมาใชใ้ นการดําเนนิ งาน

กิจกรรมควบคมุ ประกอบดว้ ย 3 หลักการ

3.1 การระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุม 3.1 มวี ธิ กี ารปฏิบัตงิ านที่ชัดเจนโดยมีการ

เพอื่ ลดความเสย่ี งในการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ใหอ้ ยู่ในระดบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ เพือ่ ให้ทกุ กจิ กรรมดําเนินไป

ทย่ี อมรับได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3.2 การระบุและพัฒนากจิ กรรมการควบคุมทว่ั ไป 3.2 มกี ารใชเ้ ทคโนโลยแี ละระบบอินเทอร์เน็ต

ด้านเทคโนโลยี เพือ่ สนับสนนุ การบรรลวุ ตั ถุประสงค์ มาเป็นตัวชว่ ยพฒั นาโดยเฉพาะกิจกรรมทเ่ี กี่ยวกับ

ข้อมลู สารสนเทศ

3.3 การจัดใหม้ กี จิ กรรมการควบคุมโดยกาํ หนดไวใ้ น 3.3 มีวิธีการหรอื กจิ กรรมทท่ี าํ ใหเ้ กดิ การ

นโยบาย ประกอบดว้ ยผลสําเรจ็ ที่คาดหวงั และข้ันตอนการ ควบคมุ ทดี่ ีโดยใช้นโยบายผบู้ รหิ าร ระเบยี บ หนังสือ

ปฏิบัติงาน เพื่อนํานโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ัติจรงิ ส่ังการเปน็ แนวทางในการควบคมุ

หน้า 38

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชอื่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานสิ้นสุดวนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

4. สารสนเทศและการสอ่ื สาร
สารสนเทศเปน็ สง่ิ จาํ เป็นสาํ หรบั หนว่ ยงานของรฐั ท่ี

จะช่วยใหม้ กี ารดําเนนิ การตามการควบคมุ ภายในทก่ี ําหนด
เพือ่ สนับสนุนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานของรฐั
การสื่อสารเกิดขนึ้ ได้ทั้งจากภายในและภายนอกและเป็น
ช่องทางเพ่ือให้ทราบถึงสารสนเทศที่สาํ คญั ในการควบคมุ
การดําเนนิ งานของหน่วยงานของรัฐ การส่ือสารจะช่วยให้
บุคลากรในหนว่ ยงานมคี วามเข้าใจถงึ ความรบั ผิดชอบและ
ความสําคัญของการควบคุมภายในทมี่ ีตอ่ การบรรลุ
วตั ถุประสงค์ สารสนเทศและการสอื่ สารประกอบด้วย
3 หลกั การ ดงั นี้

4.1 การจดั ทําหรือจดั หาและใชส้ ารสนเทศ 4.1 มกี ารจดั ทาํ ข้อมูลสารสนเทศทเ่ี กย่ี วกับการ

ท่เี กีย่ วข้องและมคี ุณภาพ เพือ่ สนบั สนุนให้มีการปฏิบตั ติ าม ปฏิบัตงิ าน การจัดเกบ็ ข้อมูลในระบบสาร สนเทศ

การควบคมุ ภายในที่กําหนด เพอื่ ความสะดวกในการปฏิบัตงิ าน

4.2 การส่ือสารภายในเกย่ี วกับสารสนเทศ รวมถึง 4.2 มกี ารกระจายขอ้ มลู ข่าวสารตา่ ง ๆ
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละความรับผดิ ชอบทีม่ ีต่อการควบคมุ ภายใน ภายในองคก์ รผ่านสื่อกลางทหี่ ลากหลาย
ซ่ึงมคี วามจําเปน็ ในการสนับสนุนให้มีการปฏบิ ัติตามการ
ควบคุมภายในท่ีกําหนด

4.3 มีการสื่อสารกบั บคุ คลภายนอกเก่ียวกับเร่อื งที่มี 4.3 มีการกระจายขอ้ มลู ข่าวสารต่างๆ
ผลกระทบต่อการปฏบิ ตั ิตามการควบคุมภายในท่ีกําหนด ภายนอกองคก์ ร ผ่านสื่อกลางท่หี ลากหลาย

หน้า 39 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชื่อหน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสิ้นสุดวนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

5. กิจกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล
กจิ กรรมการตดิ ตามผลเปน็ การประเมนิ ผลระหวา่ ง

การปฏิบตั งิ าน การประเมนิ ผลเป็นรายครง้ั หรือเป็นการ
ประเมินทัง้ สองวิธีรว่ มกนั เพื่อใหเ้ กดิ ความม่นั ใจวา่ ไดม้ กี าร
ปฏิบัติตามหลกั การในแต่ละองคป์ ระกอบของการควบคุม
ภายในท้งั 5 องคป์ ระกอบ กรณีทผ่ี ลการประเมินการ
ควบคมุ ภายใน จะกอ่ ให้เกิดความเสียหายตอ่ หนว่ ยงานของ
รฐั ใหร้ ายงานตอ่ ฝา่ ยบริหาร และผกู้ าํ กับดแู ลอย่างทนั เวลา
กจิ กรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล ประกอบด้วย 2 หลักการ
ดังนี้

5.1 การระบุ พฒั นา และดาํ เนินการประเมินผล 5.1 มีการติดตามการปฏิบตั ติ ามระบบการ
ระหวา่ งการปฏิบตั งิ านและหรือการประเมินผลเป็นรายคร้งั ควบคุมภายในอยา่ งตอ่ เนื่องและสม่ําเสมอ เพื่อใหม้ ี
ตามท่กี าํ หนด เพอื่ ใหเ้ กดิ ความมนั่ ใจว่าได้มกี ารปฏบิ ตั ติ าม ความมัน่ ใจวา่ ระบบการควบคุมภายใน มคี วาม
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน เพียงพอเหมาะสมหรือต้องดําเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ข

5.2 การประเมนิ ผลและสือ่ สารขอ้ บกพร่อง หรือ 5.2 มีการตดิ ตามการปฏิบตั ติ ามระบบการ
จดุ อ่อนของการควบคมุ ภายในอยา่ งทนั เวลาต่อฝ่ายบริหาร ควบคุมภายในตามแนวทางการจดั วางระบบการ
และผกู้ าํ กบั ดูแล เพอื่ ให้ผู้รบั ผดิ ชอบสามารถส่ังการแก้ไข ควบคมุ ภายในภายใตห้ ลกั เกณฑ์กระทรวงการคลัง
ไดอ้ ย่างเหมาะสม กาํ หนด

ผลการประเมนิ โดยรวม
ฝา่ ยกิจการสภา มโี ครงสรา้ งการควบคมุ ภายในครบ 5 องคป์ ระกอบ มีประสิทธผิ ลและเพียงพอทจ่ี ะทาํ ให้

การปฏบิ ตั งิ านประสบผลสําเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ อย่างไรก็ตามมบี างกิจกรรมทตี่ อ้ งปรับปรุงกระบวนการควบคมุ
เพอ่ื ให้การปฏบิ ัตงิ านมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลยิง่ ขึ้น จึงได้กําหนดวิธกี ารและแผนการปรบั ปรงุ การควบคุม
ภายในท่ีเหมาะสมไว้แลว้

หน้า 40

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชอื่ หน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนินงานส้นิ สดุ วนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมนิ /ขอ้ สรปุ

ฝา่ ยสง่ เสริมกิจการขนสง่

1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม

1.1.ผบู้ รหิ ารไดก้ าํ หนดนโยบายการบริหาร สภาพแวดลอ้ มการควบคุมภายในโดยภาพรวม

ความเสีย่ งทีช่ ดั เจนมีการจัดโครงสรา้ งองคก์ รทีเ่ หมาะสม เหมาะสมเปน็ ไปตามภารกิจหลักเกณฑ์ทกี่ ําหนด

เพ่อื ให้บคุ ลากรรบั ทราบ มีการจดั ทาํ คําส่งั มอบหมาย

หน้าที่และผูร้ บั ผิดชอบ มีแผนการดําเนนิ การมกี ารกาํ หนด

เป้าหมายอยา่ งชดั เจน โดยผ้บู รหิ ารไดใ้ หค้ วามสาํ คญั กบั

ความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ และจรยิ ธรรม มกี ารบริหารจัด

การท่ีดเี พือ่ ให้บรรลวุ ัตถุประสงคข์ องหน่วยงาน

2. การประเมนิ ความเส่ียง

2.1. มีการกาํ หนดวัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย บคุ ลากรด้านการปฏิบตั ิงานมนี อ้ ย ทาํ ดา้ นรอบ

ระดบั กิจกรรมสอดคลอ้ งเช่ือมโยงกันในการจัดการบริหาร ด้านทาํ ใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านด้อยประสทิ ธิภาพ

ความเส่ยี งใหบ้ รรลุเป้าหมายและมีการจัดสรรทรัพยากร

ในกจิ กรรมทีด่ าํ เนินการอยา่ งเหมาะสม ควรมีการกําหนดอตั รากาํ ลงั คนเพมิ่ โดยเฉพาะการ

2.2. ผบู้ ริหารให้ความสําคัญกบั การวิเคราะห์ การบริหารงานทว่ั ไป

ปัจจยั ภายใน ภายนอก นอกจากนี้ยงั มีกลไกทช่ี ้ีให้เห็นถึง

ความเสยี่ งทเ่ี กดิ จากการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว

3. กิจกรรมการควบคมุ มอบหมายหน้าทค่ี วามรับผิดชอบงานอย่างชัดเจน
3.1 .ฝ่ายสง่ เสริมกจิ การขนส่ง ไดด้ ําเนนิ การ เพื่อให้ประชาชนผู้มาใช้บรกิ ารมีความพึงพอใจและ
ความถูกตอ้ งของการบรกิ าร
ตามแผนการบริหารความเส่ียง จากระดับ สํานกั ฝา่ ย
โดยมกี ารกําหนดกจิ กรรม แนวทางหรือมาตรการจดั การ
ความเส่ียงในแต่ละด้าน รวมถงึ กาํ หนดผรู้ ับผิดชอบอย่าง
ชดั เจนเพื่อไม่ใหเ้ หตกุ ารณเ์ สีย่ งนัน้ ๆ มผี ลกระทบตอ่ การ
ดําเนนิ งานตามภารกิจ

หน้า 41 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชอ่ื หนว่ ยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานส้ินสดุ วนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมนิ /ข้อสรปุ

4. สาระสนเทศและการส่อื สาร

4.1 .มีระบบขอ้ มูลสาระสนเทศทเี่ กีย่ วกบั การ มีระบบสารสนเทศเก่ียวกับการประชาสัมพันธ์

ปฏบิ ัติงานการดาํ เนินการตามภารกจิ ในความรบั ผิดชอบ และบริการขอ้ มลู การเดนิ ทางทเ่ี ปน็ ปจั จุบันและ

ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินทใี่ ช้ในการดาํ เนินกจิ กรรม เหมาะสม

เพื่อให้การปฏิบัติหนา้ ทท่ี ั่วถงึ และมคี ุณภาพความถกู ต้อง

ของการบริการ

5 .กจิ กรรมการตดิ ตามผล มกี ารติดตามประเมนิ ผลการควบคมุ ภายในและ
5.1.มกี ารประชมุ เพ่ือติดตามผลในระหว่างการปฏิบตั ิ ประเมินคุณภาพการปฏบิ ตั ิงานเพอื่ ติดตามการ
อย่างตอ่ เนื่องและสมาํ่ เสมอ  ปฏิบตั งิ านอยา่ งตอ่ เน่ือง

ผลการประเมนิ โดยรวม
ฝา่ ยสง่ เสรมิ กิจการขนสง่ เน่ืองจากการวเิ คราะห์พบว่ากิจกรรมทต่ี อ้ งบรหิ ารความเส่ยี งอยู่ คือ อาคาร สถานที่

เกิดการชาํ รุด เนือ่ งจากมีการใช้งานอย่างสม่ําเสมอกอ่ ใหเ้ กดิ การชํารุดและมบี ุคลากรไมเ่ พยี งพอขาดความรวดเร็ว
ในการปฏบิ ตั ิงานซ่ึงยังไมบ่ รรลุวตั ถุประสงคข์ องการควบคมุ จงึ มคี วามจาํ เป็นตอ้ งกําหนดแผนงานในการปรบั ปรุงเพ่ือ
ติดตามตอ่ ไป

หน้า 42

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนนิ งานสน้ิ สุดวนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

ฝา่ ยปกครอง

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

สภาพแวดลอ้ มการควบคุมเป็นปัจจยั พ้นื ฐาน

ในการดําเนินงานที่ส่งผลให้มกี ารนําการควบคุมภายใน

มาปฏิบัติทัว่ ทงั้ หนว่ ยงานของรฐั ทัง้ น้ผี ู้กาํ กบั ดแู ลและฝา่ ย

บรหิ ารจะตอ้ งสรา้ งบรรยากาศให้ทกุ ระดบั ตระหนกั ถงึ

ความสําคัญของการควบคมุ ภายใน รวมท้ังการดําเนนิ งาน

ที่คาดหวังของผูก้ าํ กบั ดูแลและฝ่ายบรหิ าร ทั้งน้ี

สภาพแวดล้อมการควบคมุ ดงั กลา่ วเปน็ พื้นฐานสําคญั

ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน

อ่นื ๆสภาพแวดลอ้ มการควบคุมประกอบด้วย 5 หลกั การ

ดังนี้

1.1 การยดึ มน่ั ในคณุ ค่าของความซือ่ ตรงและ 1.1 บุคลากรยึดม่นั ในความซ่อื สัตย์สจุ ริต

จรยิ ธรรม มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

1.2 ผู้กํากบั ดแู ลมีความเปน็ อิสระจากฝา่ ยบรหิ าร 1.2 ผู้บริหารมีทศั นคตทิ ่ีดีและสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิ

และมีหน้าทก่ี าํ กบั ดแู ลใหม้ กี ารพัฒนาปรับปรงุ การควบคุม หน้าท่ีมีความมงุ่ ม่นั ท่ีจะใช้การบรหิ ารแบบมงุ่ ผล

ภายใน รวมถึงการดําเนินการเกี่ยวกับการควบคมุ ภายใน สมั ฤทธขิ์ องงาน มกี ารติดตามการปฏิบัติทม่ี อบหมาย

อยา่ งจรงิ จงั และมกี ารบคุมดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ เพ่ือให้

การปฏิบตั ิงานเป็นไปตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมาย

ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

1.3 ผบู้ รหิ ารจัดใหม้ โี ครงสรา้ งองคก์ ร สายการ

บงั คับบญั ชา อํานาจหน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบท่ี 1.3 มีการจดั โครงสร้างสายการบงั คบั บญั ชา อาํ นาจ

เหมาะสมในการบรรลุวตั ถุประสงคข์ องหน่วยงาน ภายใต้ หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบท่เี หมาะสม
การกํากบั ดแู ลของผกู้ ํากบั ดูแล

หน้า 43 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ชื่อหนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดําเนนิ งานสิน้ สุดวนั ท่ี 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรปุ

1.4 การแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความมงุ่ มัน่ สร้างแรงจงู ใจ 1.4 มีการส่งเสริมให้บุคลากรได้รบั ความรู้ พฒั นา

พัฒนาและรักษาบุคลากรท่ีมคี วามรู้ความสามารถ ทกั ษะ ความสามารถของบุคลากร และมีการ

สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ของหน่วยงาน ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านอย่างชดั เจน

1.5 การกาํ หนดให้บุคลากรมหี นา้ ท่ีและความ 1.5 มีการจัดทาํ คําส่ังมอบหมายงานใหก้ บั บคุ ลากร
รบั ผิดชอบตอ่ ผลการปฏบิ ตั งิ าน (KPI ข้อตกลงฯ) ตาม อยา่ งเหมาะสม และชัดเจน พรอ้ มทั้งแจ้งให้บคุ ลากร
ระบบการควบคุมภายใน เพ่อื ให้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของ รับทราบและ ถอื ปฏบิ ตั ิ ส่งเสรมิ ให้บุคลากรพฒั นา
หนว่ ยงาน ตนเองอย่างต่อเน่ือง และเปิดโอกาสให้ไดร้ บั การ
อบรมอย่างสมํ่าเสมอ มีการควบคมุ กาํ กับดูแลการ
2. การประเมนิ ความเสยี่ ง ปฏบิ ัติงานในหนว่ ยงานใหเ้ ป็นไปตามระบบการ
การประเมนิ ความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่ดําเนนิ การ ควบคุมภายในที่กาํ หนดอยา่ งตอ่ เน่ืองและสมา่ํ เสมอ

อย่างตอ่ เนื่องและเป็นประจาํ เพ่อื ระบแุ ละวิเคราะห์
ความเส่ียงทีม่ ผี ลกระทบต่อการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ของ
หนว่ ยงานของรัฐ รวมถึงกาํ หนดวธิ ีการจัดการความเสย่ี ง
นนั้ ฝา่ ยบริหารควรคาํ นึงถึงการเปล่ยี นแปลงของ
สภาพแวดลอ้ มภายนอกและภารกิจภายในทั้งหมดท่มี ผี ล
ตอ่ การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องหน่วยงานของรฐั
การประเมินความเสี่ยง ประกอบดว้ ย 4 หลกั การ ดงั น้ี

2.1 การระบุวัตถปุ ระสงค์การควบคมุ ภายใน 2.1 มีการกําหนดวัตถุประสงคท์ ุกกิจกรรมท่ี
ของการปฏิบัติงานให้สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ อง ดําเนนิ การและ เปา้ หมายทศิ ทางการดําเนินงานอยา่ ง
องคก์ รไว้อยา่ งชัดเจนและเพียงพอทจี่ ะสามารถระบุ ชัดเจน สอดคล้องกบั ภารกิจของหน่วยงาน มกี าร
และประเมินความเสีย่ งทีเ่ กี่ยวข้องกบั วตั ถุประสงค์ ส่อื สารใหบ้ คุ ลากรทราบและเขา้ ใจตรงกัน บุคลากรทกุ
คนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมสี ่วนรว่ มในการกําหนดวตั ถุประสงค์
ระดบั กิจกรรม และให้การยอมรับโดยคํานงึ ถงึ ความ
เหมาะสมตามภารกจิ ของหน่วยงานและวัดผลได้

หน้า 44

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หน่วยรับตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดําเนนิ งานส้ินสดุ วนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

2.2 การระบคุ วามเสี่ยงทม่ี ผี ลตอ่ การบรรลุ 2.2 ผทู้ ีเ่ กยี่ วข้องทกุ ระดบั ของหนว่ ยงานมีสว่ นรว่ มใน
วตั ถปุ ระสงค์การควบคุมภายในอยา่ งครอบคลุมท้ัง การระบุและประเมินความเส่ยี งทีอ่ าจเกิดขน้ึ ทง้ั จากปั
หน่วยงาน และวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งเพอ่ื กําหนดวธิ ี จจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก โดยกําหนดเกณฑใ์ น
การจดั การความเสย่ี งนนั้ การพิจารณาและจดั ลําดับความเสีย่ ง ผลกระทบของ
ความเส่ียงและความถท่ี จี่ ะเกดิ หรือโอกาสทจี่ ะเกิด
ความเส่ียงจากการวเิ คราะห์ความเสยี่ งดังกล่าว

2.3 การพิจารณาโอกาสทีอ่ าจเกิดการทุจริต เพอ่ื 2.3 มีการวิเคราะหแ์ ละประเมินระดบั ความสําคัญ
ประกอบการประเมนิ ความเสี่ยงท่สี ่งผลตอ่ การบรรลุ หรือผลกระทบของความเสี่ยง และความถท่ี จ่ี ะเกดิ
วตั ถุประสงค์ หรือโอกาสท่ีจะเกิดความเส่ียงหรอื โอกาสที่จะเกดิ
ความเสีย่ ง

3. กิจกรรมการควบคุม
กจิ กรรมการควบคุมเป็นการปฏิบตั ิท่ีกําหนดไว้ใน

นโยบายและกระบวนการดาํ เนินงาน เพ่ือให้มนั่ ใจวา่ การ
ปฏบิ ัตติ ามการสง่ั การของฝ่ายบริการจะลดหรอื ควบคมุ
ความเสีย่ งให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ กจิ กรรมการ
ควบคมุ ควรไดร้ ับการนาํ ไปปฏิบตั ทิ ว่ั ทกุ ระดับของ
หนว่ ยงานของรฐั ในกระบวนการปฏิบตั ิงานขั้นตอนการ
ดาํ เนินงานต่างๆ รวมถงึ การนาํ เทคโนโลยีมาใช้ในการ
ดาํ เนินงาน กจิ กรรมควบคุม ประกอบด้วย 3 หลกั การ

3.1 การระบแุ ละพัฒนากิจกรรมการควบคุม 3.1 บุคลากรมีสว่ นร่วมในการกาํ หนดกิจกรรมการ
เพอื่ ลดความเส่ยี งในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ให้อยู่ในระดบั ควบคมุ ภายในตาม วตั ถปุ ระสงค์และประชุม
ทยี่ อมรบั ได้ ปรกึ ษาหารอื ใหเ้ ขา้ ใจในการลดความเสี่ยงตามวตั ถุ
ประสงคข์ องการควบคุมให้อยู่ในระดับทีย่ อมรับได้

หน้า 45 

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หนว่ ยรบั ตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมินองคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานส้นิ สุดวนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมนิ /ขอ้ สรปุ

3.2 การระบแุ ละพัฒนากิจกรรมการควบคุม 3.2 กจิ กรรมการบริการดา้ นทะเบยี นราษฎร
ทั่วไปด้านเทคโนโลยเี พ่ือสนับสนนุ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

3.3 การจัดให้มีกิจกรรมการควบคมุ โดยกาํ หนดไว้ 3.3 มกี ารกําหนดหนา้ ที่และความรับผิดชอบไว้

ในนโยบาย ประกอบด้วยผลสําเร็จทคี่ าดหวังและข้ันตอน เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรอยา่ งชัดเจน และมีการแจง้ เวยี น

การปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื นาํ นโยบายไปสู่การปฏบิ ัตจิ ริง การมอบหมายหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบให้ทราบโดยทวั่ กัน

4. สารสนเทศและการส่อื สาร
สารสนเทศเปน็ สง่ิ จาํ เปน็ สําหรับหนว่ ยงานของรัฐที่

จะชว่ ยให้มีการดําเนินการตามการควบคุมภายในท่ี
กาํ หนด เพ่ือสนับสนนุ ใหบ้ รรลุวัตถุประสงคข์ องหน่วยงาน
ของรฐั การสือ่ สารเกดิ ขน้ึ ไดท้ ั้งจากภายในและภายนอก
และเปน็ ช่องทางเพอ่ื ให้ทราบถงึ สารสนเทศท่สี าํ คัญในการ
ควบคมุ การดาํ เนนิ งานของหน่วยงานของรัฐ การสอื่ สาร
จะชว่ ยใหบ้ คุ ลากรในหนว่ ยงานมีความเขา้ ใจถงึ ความ
รบั ผดิ ชอบและความสําคญั ของการควบคมุ ภายในที่มตี อ่
การบรรลุวตั ถุประสงค์ สารสนเทศและการส่อื สาร
ประกอบด้วย 3 หลักการ ดงั นี้

4.1 การจดั ทําหรอื จัดหาและใชส้ ารสนเทศท่ี 4.1 มกี ารใช้ระบบสารสนเทศในการติดต่อสอ่ื สารท้งั

เก่ยี วขอ้ งและมีคณุ ภาพ เพือ่ สนบั สนนุ ใหม้ กี ารปฏบิ ัติตาม หน่วยงานภายในและภายนอกอย่างเพยี งพอเหมาะสม

การควบคุมภายในทก่ี ําหนด เช่ือถือได้ และทันตอ่ เหตุการณ์

หน้า 46

 

รายงานการประเมินผลการควบคมุ ภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่อื หนว่ ยรับตรวจ เทศบาลเมืองยโสธร
รายงานผลการประเมนิ องคป์ ระกอบของการควบคมุ ภายใน
สําหรบั ระยะเวลาดําเนินงานสนิ้ สดุ วนั ท่ี 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ขอ้ สรปุ

4.2 การสื่อสารภายในเกีย่ วกับสารสนเทศ รวมถึง 4.2 รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือ สง่ั การท่ี
วตั ถุประสงค์และความรับผดิ ชอบท่ีมตี อ่ การควบคมุ เกี่ยวข้องและนําข้อมลู ลงเว็บไซต์ www.
ภายในซึ่งมคี วามจาํ เปน็ ในการสนบั สนนุ ใหม้ ีการปฏิบัติ yasocity.com เพื่อใช้เปน็ แหล่งข้อมูลในการค้นคว้า
ตามการควบคุมภายในที่กําหนด

4.3 มกี ารสือ่ สารกับบุคคลภายนอกเก่ียวกับเรื่องท่ี 4.3 จดั ให้มกี ารบรกิ ารตา่ ง ๆ เช่น ใหบ้ รกิ าร
มีผลกระทบต่อการปฏิบัตติ ามการควบคุมภายในทีก่ ําหนด ปรกึ ษาแนะนาํ และการใชร้ ะบบสารสนเทศในการตดิ ต่

อสื่อสารอย่างเหมาะสม เขา้ ถงึ และทนั ตอ่ เหตุการณ

5. กิจกรรมการตดิ ตามประเมนิ ผล
กจิ กรรมการตดิ ตามผลเปน็ การประเมินผลระหวา่ ง

การปฏบิ ตั ิงาน การประเมนิ ผลเป็นรายคร้งั หรือเปน็ การ
ประเมินทั้งสองวธิ ีรว่ มกนั เพ่ือใหเ้ กิดความมน่ั ใจวา่ ไดม้ ี
การปฏบิ ตั ิตามหลักการในแตล่ ะองค์ประกอบของการ
ควบคุมภายในทั้ง 5 องค์ประกอบ กรณที ผ่ี ลการประเมิน
การควบคมุ ภายใน จะก่อให้เกิดความเสยี หายต่อ
หน่วยงานของรัฐ ให้รายงานต่อฝ่ายบริหาร และผกู้ ํากับ
ดูแลอย่างทันเวลากจิ กรรมการตดิ ตามประเมินผล
ประกอบดว้ ย 2 หลักการ ดงั นี้

หน้า 47 

 

รายงานการประเมินผลการควบคุมภายใน เทศบาลเมืองยโสธร ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แบบ ปค. 4

ช่ือหน่วยรบั ตรวจ เทศบาลเมอื งยโสธร
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน
สาํ หรบั ระยะเวลาดาํ เนินงานสนิ้ สุดวนั ที่ 30 เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564

องค์ประกอบของการควบคมุ ภายใน ผลการประเมนิ /ข้อสรุป

5.1 การระบุ พฒั นา และดําเนินการประเมนิ ผล 5.1 มีการติดตามผลในระหวา่ งการปฏิบตั ิงานอยา่ งต่
ระหว่างการปฏบิ ตั งิ านและหรือการประเมินผลเป็นราย อเน่ืองและสมาํ่ เสมอและรายงานให้ผบู้ รหิ ารทราบเป็
คร้งั ตามท่กี ําหนด เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าไดม้ กี ารปฏบิ ตั ิ นลายลกั ษณอ์ กั ษร กรณผี ลการดาํ เนินงาน
ตามองคป์ ระกอบของการควบคุมภายใน ไมเ่ ป็นไปตามแผน มกี ารดําเนนิ การแก้ไขทนั กาล

5.2 การประเมนิ ผลและสอ่ื สารข้อบกพร่องหรือ 5.2 มีการตดิ ตามประเมินผลการดาํ เนนิ การ

จุดออ่ นของการควบคุมภายในอย่างทนั เวลาตอ่ ฝา่ ย ตามกิจกรรมทม่ี คี วามเสย่ี งทกุ งวด 3 เดือน เพอื่ ให้มี

บริหารและผกู้ าํ กับดแู ล เพอื่ ให้ผูร้ บั ผดิ ชอบสามารถสง่ั การ ความม่ันใจวา่ ระบบการควบคุมภายในมีความเพยี งพอ

แก้ไขได้อยา่ งเหมาะสม เหมาะสมหรอื ตอ้ งดําเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ข

มีการสรุปรายงานผลการดาํ เนนิ งานเสนอผู้บริหารทราบ

เปน็ ประจาํ ทุกกจิ กรรม

ผลการประเมนิ โดยรวม
ฝ่ายปกครอง สํานกั ปลดั เทศบาล มีโครงสรา้ งการควบคุมภายในครบ 5 องคป์ ระกอบ มีประสทิ ธผิ ล

และเพยี งพอที่จะทําใหก้ ารปฏิบตั ิงานประสบผลสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค์ อยา่ งไรกต็ ามมบี างกจิ กรรมที่ต้องปรับปรงุ
กระบวนการควบคมุ เพ่ือใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านมีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลย่ิงขน้ึ จึงได้กําหนดวธิ กี ารและแผนการ
ปรับปรุงการควบคุมภายในท่ีเหมาะสมไว้แลว้

หน้า 48

 


Click to View FlipBook Version