The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by man Wee, 2022-10-17 08:10:12

ดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-แมนมิตร อาจหาญ

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

วตั ถุประสงค์การ ข้อทดสอบ
เรียนรู้

การประเมิน 5. “เราต้องยอมรบั การเปลีย่ นแปลง แตก่ ารปรบั ตัวไม่ไดเ้ ป็นเพยี งแค่การยอมรับการเป

ทา่ นคิดวา่ ถูกหรือไม่ เพราะเหตใุ ด

ก. ถกู เพราะการมองโลกในแงด่ เี ปน็ จดุ เร่มิ ต้นของการปรับตวั

ข. ถูก เพราะทกั ษะการปรับตัวเปน็ ทงั้ ทศั นคตแิ ละการกระทำ*

ค. ไม่ถกู เพราะแค่ร้จู กั ยอมรบั กเ็ ทา่ กบั ว่ามที กั ษะการปรบั ตัวแลว้

ง. ไม่ถูก เพราะตอ้ งเข้าใจนวัตกรรมอยา่ งแทจ้ ริง และนำหนา้ ความทนั สมยั ดว้ ย

การสรา้ งสรรค์ 6. การกระทำของบุคคลในข้อใดไมเ่ ป็นไปตามนิยามของทกั ษะการปรบั ตวั

ก. ปรีดาปรับเปลีย่ นตนเองต่อเงอ่ื นไขทีท่ า้ ทายและสถานการณใ์ หม่ ๆ

ข. สุวัฒน์เปลย่ี นแปลงตนเองใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดล้อม

ค. ณวัฒน์เปลีย่ นแปลงตวั เองเมื่ออยากเปลีย่ น*

ง. ปราณรี ับรอู้ ารมณ์ของตนเองและผอู้ ืน่

วตั ถุประสงค์การเรยี นร้เู กยี่ วกับความสำคญั ของทักษะการปรับตัว

ความจำ 7. ข้อใดไมใ่ ชว่ ตั ถปุ ระสงคส์ ำคญั ของการพัฒนาทกั ษะปรบั ตวั

ก. เพือ่ เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปรับตวั เพอ่ื การจัดการการเปลีย่ นแปลงอย่างมปี ระส

ข. เพื่อชว่ ยให้มชี วี ติ ยืนยาวและทำให้เกดิ การเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง*

ค. เพื่อนำไปปรบั ใชใ้ นสถานท่ีทำงานไดอ้ ย่างหลากหลาย

ง. เพ่อื ทำใหเ้ ปน็ ผู้ท่มี คี วามสุขและพงึ พอใจกบั ชวี ติ

ความเขา้ ใจ 8. ข้อใดสรปุ ความสำคญั ของทกั ษะการปรบั ตวั ท่ีมตี ่อครไู ด้ถกู ต้องทีส่ ุด

ก. การปรบั ตวั ชว่ ยให้ครูทุม่ เทในการทำงาน

ข. การปรับตวั ช่วยใหค้ รูไมร่ ู้สกึ แย่ ๆ ตอ่ การทำงาน

ค. การปรับตัวชว่ ยให้ครมู คี วามเปน็ อยทู่ ี่ดขี ึ้นในการอยรู่ ว่ มกับองคก์ ร

ง. การปรับตวั เปน็ เรอื่ งสำคญั ตอ่ ครู ในการรับมอื กบั การเปลยี่ นแปลงจากการทำงาน

การประยกุ ต์ 9. เมื่อเกดิ ความรสู้ กึ อยากหลีกหนีจากการทำงานเราควรทำอย่างไร

ก. ยอมรบั ใหเ้ ป็นไปตามความรู้สึก

ข. เกบ็ ความร้สู ึกไว้ในใจ ไม่เปิดเผย

ค. ติดตอ่ เพ่ือน เพอื่ ช่วยกนั ออกไปทนั ที

ง. พยายามปรบั ตวั เองใหเ้ ข้ากับการเปลยี่ นแปลง*

ความเหน็ ของ 276
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรับปรุงแกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ปลยี่ นแปลง” คำกล่าวน้ี

สิทธิภาพ
นและการสอนของครู*

วัตถุประสงค์การ ข้อทดสอบ
เรียนรู้

การวเิ คราะห์ 10. “เมอ่ื ไรกต็ ามทเ่ี ราลม้ การลุกขน้ึ ใหม่ไมใ่ ชเ่ รือ่ งยาก” จากขอ้ ความข้างตน้ สอ่ื ถึงกา

ก. ทกั ษะการช้นี ำตนเอง

ข. ทกั ษะเชิงนวตั กรรม

ค. ทกั ษะการปรบั ตัว*

ง. ทกั ษะความรว่ มมอื

การประเมิน 11. ทำไมตอ้ งมกี ารเรยี นรทู้ กั ษะการปรบั ตวั

ก. เพ่อื จัดระเบยี บให้ตวั เองและสังคม

ข. เพือ่ ให้ทันต่อยุคสมยั ทเี่ ปล่ียนแปลง

ค. เพื่อให้เกดิ ความเสมอภาคในสงั คม

ง. เพือ่ ปรบั ตัวให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของการเปล่ยี นแปลง*

การสรา้ งสรรค์ 12. “การปรบั ตวั ไมใ่ ช่ส่ิงที่ทำให้ทกุ คนมีความสขุ ” ทา่ นคิดว่าข้อความขา้ งตน้ จรงิ หรอื ไ

ก. ไม่จริง เพราะการปรับตวั ทำใหเ้ รากา้ วพน้ ความทกุ ข์

ข. ไมจ่ รงิ เพราะการปรับตัวจะนำทกุ คนสู่ความสุขในชีวติ

ค. จรงิ เพราะนอกเสยี จากว่าเริ่มต้นอยากท่จี ะเปลย่ี นแปลง*

ง. จริง เพราะบางคนไม่ชอบการเปลย่ี นแปลง

วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั คณุ ลักษณะของทักษะการปรบั ตัว

ความจำ 13. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ ลักษณะของทักษะการปรับตวั ท่ีดี

ก. ความยดื หยุน่ ดา้ นสตปิ ญั ญา ความเปดิ กวา้ ง ความคดิ สร้างสรรค*์

ข. ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงไดด้ ี

ค. ไมก่ ลัวความลม้ เหลว

ง. ความใครร่ ู้

ความเขา้ ใจ 14. ข้อใดไมใ่ ชล่ กั ษณะของทกั ษะการปรบั ตวั

ก. ใฝ่รู้ เปดิ ใจ ยอมรับ ปรบั ตวั ร้จู ักตนเอง

ข. พรอ้ มพสิ จู นโ์ ดยไมก่ ลวั ความลม้ เหลว มไี หวพริบอยกู่ บั ปัจจบุ ัน

ค. ไม่เปน็ คนครำ่ ครวญเมอื่ ลม้ เหลวและไม่โทษคนอนื่ แตจ่ ะพดู กับตัวเองในเชงิ บวก

ง. ยอมรบั การเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ดว้ ยความใจเย็นและม่ันใจและเตรยี มวธิ ีการแก้ป

ทางเลือก*

ความเห็นของ 277
ผูท้ รงคณุ วุฒิ
ข้อเสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
+1 0 -1

ารมีทักษะใด

ไม่ เพราะเหตุใด

ปัญหาไว้อีกหนึ่ง

วัตถุประสงคก์ าร ข้อทดสอบ
เรียนรู้

การประยกุ ต์ 15. บุคคลใดปฏิบตั ติ นไมส่ อดคลอ้ งตามหลักการมลี กั ษณะของผู้มที กั ษะการปรบั ตวั

ก. กลั ยาเปน็ คนใฝ่ร้แู ละรู้จกั ตนเอง

ข. ศภุ ชยั เปดิ ใจ ยอมรบั การเปลย่ี นแปลง

ค. ปราณปี รบั ตัวให้เขา้ กบั การเปลย่ี นแปลง

ง. ปรชี าพูดกบั ตัวเองทง้ั ในเชิงบวกและเชิงลบ*

การวิเคราะห์ 16. การกระทำของบุคคลในขอ้ ใดไมแ่ สดงถงึ ลักษณะหรือคุณลกั ษณะของคนท่ีมขี องทกั

ก. ครแู อนเปิดใจยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี นแลว้ สอดแทรกเนอื้ ห

ข. ครูฟ้าใช้หนังสอื เรยี นหนึ่งเล่มในการจดั การเรียนการสอนใหก้ ับผ้เู รยี นตลอดปกี าร

ค. ครูขวัญวางแผนออกแบบการเรยี นการสอนด้วยสือ่ การเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย เพอ่ื ป

สถานการณ์

ง. ครูจ๋ิวอนุญาตใหน้ ักเรยี นใชโ้ ทรศัพทใ์ นระหว่างเรียน เพอื่ เปน็ สอื่ ในการเรียนการส

จดั การเรียนรู้

การประเมิน 17. จากขอ้ ความวา่ “ผนู้ ำทปี่ รบั ตัวได้จะมคี วามคิดที่ยืดหยุน่ ” ใครปฏิบัติตนเพอ่ื พัฒน

นอ้ ยทสี่ ดุ

ก. ดาวทบทวนความยดื หย่นุ ทางอารมณ์ของตนเอง

ข. รุ้งตงั้ คำถามกับรูปแบบการคิดของตนเอง

ค. นิดผ่อนคลายความคิดของตนเอง*

ง. เดอื นฝกึ ตนเองให้เป็นคนขส้ี งสัย

การสร้างสรรค์ 18. ท่านคดิ วา่ พฤตกิ รรมของบคุ คลใดแสดงใหเ้ ห็นวา่ เปน็ ผูล้ กั ษณะของผู้นำท่มี กี ารปรบั

ก. เด่นพดู กับตวั เอง*

ข. ดอนเปน็ คนขส้ี งสยั

ค. โดง่ วางแผนการลว่ งหนา้

ง. แดนมีความคิดทีย่ ดื หยุ่น

วัตถุประสงค์การเรยี นร้เู กยี่ วกับแนวการพฒั นาของทกั ษะการปรับตวั

ความจำ 19. แนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั มลี ักษณะตามขอ้ ใด

ก. ยึดตดิ กับแผนหรอื วธิ กี ารที่มีเพยี งหนงึ่ เดยี ว

ข. ใหล้ องอยู่ในสถาณการณไ์ ม่ทแ่ี ตกตา่ งกนั

ความเห็นของ 278
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

กษะการปรับตัว
หาท่ผี เู้ รยี นสนใจ
รศกึ ษา*
ปรับประยุกต์ใชต้ าม

สอน และตอ่ ยอดการ

นาการคดิ แบบยืดหยนุ่ ได้

บตัวนอ้ ยทสี่ ดุ

วัตถปุ ระสงค์การ ขอ้ ทดสอบ
เรียนรู้
ค. ใชช้ ีวิตให้เป็นไปตามปกติ
ความเขา้ ใจ ง. เป็นผู้ปรบั ตัวตง้ั แตเ่ นนิ่ ๆ*
20. ข้อใดสรุปแนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตัวได้ถกู ต้องทส่ี ดุ
การประยกุ ต์ ก. ทำใจให้สงบ เรียนรทู้ ีจ่ ะยอมรับการเปลี่ยนแปลงและสับเปล่ียนตารางเวลาของตวั
การวิเคราะห์
การประเมนิ ไมค่ าดคดิ *
ข. เป็นอาสาสมัครสำหรับบทบาทท่ีต้องใชค้ วามยืดหยุ่นมากเป็นพิเศษเพือ่ การเตบิ โต
การสร้างสรรค์ ค. หาคนท่ีเราช่ืนชอบในดา้ นการมคี วามสามารถในการปรับตวั สงู และเรยี นร้จู ากพวก
ง. ใชช้ ีวติ ให้เปน็ ไปตามธรรมชาติ
21. ใครสามารถนำความรเู้ ก่ียวกับแนวทางการพฒั นาทักษะการปรับตวั ไปประยุกต์ใช
ก. ใบหมอ่ นเข้าใจความสำคัญและสรา้ งเครือขา่ ยสนับสนนุ
ข. ใบชาด่ืมด่ำกบั สภาพแวดลอ้ มและสถาณการณใ์ หม่ ๆ
ค. ใบหยกไม่ยึดตดิ กบั แผนหรือวิธกี ารทม่ี เี พยี งหน่ึงเดียว
ง. ใบเตยเขา้ ใจปฏิกิรยิ าของตนเองในการตอบสนองการเปลยี่ นแปลงและใฝร่ ้อู ยเู่ สม
22. การกระทำของบคุ คลในขอ้ ใดใด ไม่จดั ว่าเป็นการพัฒนาทักษะการปรับตวั
ก. อารมี องหาส่งิ ดี ๆ ในสถาณการณ์คับขนั
ข. ณชิ ากลา้ ทีจ่ ะทำผดิ พลาดซ้ำ ๆ*
ค. สาโรจนเ์ รยี นรจู้ ากผอู้ น่ื
ง. สมศักด์ฝิ ึกเป็นคนต้งั คำถาม
23. การท่ีเราดำเนินชวี ติ แบบ “ฉีกกฎเดมิ ๆ เริ่มต้นวนั ของเราด้วยความแตกตา่ ง ไมป่ ฏ
ปรับตวั ตั้งแต่เน่นิ ๆ จะสามารถพฒั นาทกั ษะการปรับตัวไดจ้ รงิ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด
ก. ได้ เพราะการปรบั ตัวไม่ใช่เรื่องยาก
ข. ได้ เพราะการปรบั ตวั ตัง้ แต่เนนิ่ ๆ นน่ั คือการพัฒนาทกั ษะการปรับตัว
ค. ไมไ่ ด้ เพราะแนวทางการพฒั นานัน้ มหี ลกั การและแนวทางท่ีมากมายซบั ซ้อน
ง. ไม่ได้ เพราะการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั ไม่จำเป็นต้องมหี ลกั การอะไรมากมาย
24. บุคคลใดนำหลกั การแนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั ไปประยกุ ตใ์ ช้ไมถ่ กู ต้อง
ก. ครเู ย็นสอนหนงั สอื ไม่ได้ตามทีต่ ามแผนเนอ่ื งจากมงี านแทรกเขา้ มาและยอมรับวา่

เปลี่ยนแปลง

ความเหน็ ของ 279
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

วเองที่อาจเกิดขนึ้ อย่าง

ตตอ่ ไป
กเขา

ชไ้ ด้เหมาะสมทสี่ ดุ

มอ*

ฏเิ สธตนเอง และเปน็ ผู้

าทุกอยา่ งย่อมมกี าร

วัตถุประสงค์การ ขอ้ ทดสอบ
เรียนรู้

ข. ครูเพญ็ เรยี นรู้ทจี่ ะปรบั ตัวในการสอนออนไลน์เม่อื เกิดการแพรร่ ะบาดของโรคโคว

ค. ครยู ุพาตอ่ ยอดสรา้ งสรรคจ์ ากทกั ษะเดิม ๆ จากรายวชิ าภาษาไทย โดยการสอดแท

ง. ครูโสภาเสยี สละเวลาในบางโอกาสเพอื่ สอนพเิ ศษใหเ้ ด็กท่ีเรยี นไม่ทันเพ่ือนในช้ัน*

วัตถุประสงค์การเรียนรู้เก่ยี วกบั ขั้นตอนการพฒั นาของทกั ษะการปรบั ตัว

ความจำ 25. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ขัน้ ตอนการพฒั นาทกั ษะการปรับตวั ได้ถูกตอ้ งทส่ี ดุ

ก. สร้างแรงจงู ใจใหม่ ๆ สงั เกตและเรียนรู้ ถามคำถาม เตรียมทางเลอื กในการแก้ปญั

ถูก*

ข. ปรับปรุงวธิ ีการรบั มอื

ค. เปิดใจรบั การเปลีย่ นแปลง

ง. มองภาพรวม

ความเข้าใจ 26. ขน้ั ตอนแรกของการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั คอื ข้นั ตอนใด

ก. การปรับตวั

ข. ทดลอง

ค. การยอมรับ*

ง. การเปลี่ยนแปลง

การประยกุ ต์ 27. พฤติกรรมของบุคคลใดไมเ่ ป็นไปตามขัน้ ตอนการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั

ก. กงิ่ เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ เสมอจึงสามารถควบคุมสถานการณ์และแกป้

ข. กานตร์ บั ฟังมุมมองทห่ี ลากหลายในการบริหารงานแตเ่ ชือ่ วา่ มุมมองของตวั เองดีท

ค. แก้วสร้างแรงจูงใจใหม่ ๆ และเตรียมทางเลอื กในการแกป้ ญั หาไวเ้ สมอ

ง. ก้อยใจเยน็ และมั่นใจเมอ่ื เกดิ การเปล่ียนแปลงในการทำงาน

การวเิ คราะห์ 28. จากสถานการณโ์ ลกเปลยี่ นแปลงมากขึน้ ในทุกมติ ิ ขอ้ ใดคือองค์ประกอบสำคญั ของ

สามารถนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเสรมิ สร้างทักษะการปรบั ตัวได้

ก. ไมโ่ ทษตวั เองและคนอนื่

ข. เรยี นรทู้ ่ีจะรบั รแู้ ละยอมรับการเปลยี่ นแปลง*

ค. คิดการใหญ่

ง. ใจเย็น

ความเห็นของ 280
ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
+1 0 -1

วิด-19
ทรกทักษะการปรบั ตวั
*

ญหา และกล้าลองผิดลอง

ปญั หาได้
ท่ีสดุ *

งข้ันตอนการพัฒนาที่

วตั ถปุ ระสงคก์ าร ข้อทดสอบ
เรียนรู้

การประเมนิ 29. การพฒั นาการเสรมิ สร้างทักษะการปรับตวั 4 ข้ันตอนได้แก่ การมองเหน็ เปน็ เจ้าข

มือทำ สามารถช่วยเสรมิ สร้างทักษะการปรับตวั ทีด่ ีข้นึ ในตัวเองและคนรอบขา้ งได้ จาก

วา่ จรงิ หรือไมเ่ พราะเหตใุ ด

ก. จริง เพราะลำดบั ขน้ั ตอนเริ่มต้นจากความเขา้ ใจจนถงึ ลงมอื ทำชดั เจน*

ข. จรงิ เพราะทกั ษะการปรบั ตัวเปน็ ทกั ษะท่ีสำคัญที่สุดในสังคมปัจจุบัน

ค. ไมจ่ ริง เพราะขนั้ ตอนยงั ไมค่ รอบคลมุ เพื่อเสรมิ สรา้ งทกั ษะการปรบั ตัว

ง. ไม่จริง เพราะทักษะการปรับตัวเปน็ ทกั ษะเฉพาะตนไม่สามารถเสรมิ สรา้ งให้คนอ่นื

การสร้างสรรค์ 30. หากจะใช้ข้นั ตอนการพฒั นาทักษะการปรับตวั เพอื่ พฒั นานกั ศกึ ษาในการเสริมสร้า

อาจารย์ควรทำอย่างไร

ก. ถามคำถามทแ่ี ตกตา่ ง ยอมรบั มมุ มองทหี่ ลากหลาย มองภาพรวมใหเ้ ปน็ และทดล

ข. ศกึ ษาแนวทางการสอนจากวดี ีโอยูทูบ (Youtube)

ค. มคี วามรคู้ วามสามารถเฉพาะทางให้มากขึน้

ง. กำหนดนโยบายการผูบ้ ริหารใหช้ ัดเจน

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้เก่ยี วกบั การประเมนิ ผลของทกั ษะการปรบั ตวั

ความจำ 31. ขอ้ ใดคือความสำคญั ในการประเมนิ ความสำเรจ็ การพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั

ก. การมีความสามารถในการปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั การเปล่ยี นแปลงทุกสภาพการณ*์

ข. การประเมินทกั ษะการรสู้ ารสนเทศตามมาตรฐานเทคโนโลยีการศกึ ษา

ค. การสร้างความชัดเจนด้านภาวะผู้นำท่มี ีไม่สามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นได้

ง. การมภี าวะผูน้ ำที่มที กั ษะการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น

ความเขา้ ใจ 32. แบบประเมินผลสำเร็จทกั ษะการปรบั ตวั ควรมีองคป์ ระกอบท่ีสำคัญอย่างไร

ก. การรบั รู้การเปล่ียนแปลง ดา้ นสงั คม อารมณ์ สง่ิ สนบั สนนุ และครอบครัว*

ข. การปรับแก้ไข ด้านความสัมพนั ธแ์ ละด้านการเรียนรู้

ค. การปรับแกไ้ ข ด้านความเครยี ดจากการทำงาน

ง. การปรบั แกไ้ ข ดา้ นวัฒนธรรม

การประยกุ ต์ 33. “คณุ ปรบั ตัวอย่างไรกับการเปล่ียนแปลงท่ีคณุ ไม่สามารถควบคมุ ได้” ข้อใดตอบคำ

สำเรจ็ ของการพฒั นาทกั ษะการปรับตวั ได้เหมาะสมท่ีสุด

ก. ฉันยอมรบั และปรับตวั ใหเ้ ข้ากบั การเปลย่ี นแปลงในทุกสภาพแวดล้อม*

ความเหน็ ของ 281
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ้ ขภาษา
+1 0 -1

ของ แกไ้ ขปญั หาและลง
กขอ้ ความขา้ งตน้ ทา่ นคิด

นได้
างทกั ษะการปรบั ตวั

ลองเรียนรู*้

ำถามการประเมนิ ผล

วัตถุประสงค์การ ข้อทดสอบ
เรียนรู้
ข. ฉนั เขา้ รับการอบรมพฒั นาความสามารถในการปรบั ตัว
การวิเคราะห์ ค. ฉนั เปลี่ยนแปลงตวั เองเมอ่ื อยากเปลย่ี น
ง. ฉนั เขา้ ใจวา่ ทกุ อย่างมีการเปลีย่ นแปลง
การประเมนิ 34. ขอ้ ใดอธิบายถูกตอ้ งเกี่ยวกับการประเมนิ ผลสำเร็จจากการพัฒนาทกั ษะการปรับตัว
ก. เป็นแบบสอบถามเพื่อการค้นหา ค้นคว้าข้อมูล วเิ คราะห์ และใช้ข้อมลู
การสรา้ งสรรค์ ข. เปน็ แบบสอบถามเพ่ือใช้ในการประเมนิ ทักษะการปรบั ตัว*
ค. เปน็ แบบสอบถามเพอ่ื ใช้ในการประเมนิ ทกั ษะความรว่ มมอื
ง. เปน็ แบบสอบถามเพอ่ื ใชใ้ นการประเมนิ ทกั ษะการปรับตัว
35. ในการที่ทา่ นจะประเมินการพฒั นาทกั ษะการปรับตัวให้แก่นกั ศกึ ษา เพอ่ื บง่ บอกถงึ
ปรับตัวดา้ นวัฒนธรรม ควรเลือกใช้คำถามเพือ่ การประเมนิ ข้อใดจงึ จะเหมาะสมทีส่ ุด
ก. ฉันทำงานอย่างหลากหลายกบั ผ้อู ื่นไดด้ *ี
ข. ฉันไม่ลำบากเลยเมอื่ ตารางงานของฉนั เต็มเกินไป
ค. ฉันเช่ือว่าการมคี วามยืดหยนุ่ ในการตดิ ต่อกบั ผู้อ่นื เปน็ สง่ิ สำคัญ
ง. ฉันกำลงั เรียนรทู้ กั ษะใหม่ ๆ ในโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนือ่ งเพือ่ เตรียมพร้อมทำงานในอ
36. เมอ่ื ท่านพบวา่ เพอ่ื นร่วมงานกำลังลำบากใจกับพฤตกิ รรมบางอยา่ งของทา่ นเอง ท่า
ก. เปดิ ใจพดู คยุ และปรบั เปล่ียนตนเองใหเ้ ข้ากับคนอ่นื *
ข. ไม่สนใจ ต่างคนตา่ งทำงานของตน
ค. ขอยา้ ยที่ทำงาน
ง. ทำเปน็ ไม่รไู้ มช่ ี้

ความเห็นของ 282
ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แก้ไขภาษา
+1 0 -1



งความสามารถในการ

อนาคต
านควรปฏิบตั อิ ยา่ งไร

283

ภาคผนวก ซ
แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารย์ทีเ่ ป็น Google Form

284

แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารย์ท่เี ปน็ Google Form

1. เขา้ ทำแบบทดสอบ โดยการคลกิ ลิงก์ https://forms.gle/ENGu8pvRD9KFbXxN6
หรือสแกน QR CODE

2. หน้าแบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องอาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว

285

3. อาจารย์กรอกข้อมูลส่วนตัว

4. อาจารย์ทำแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรูเ้ ก่ียวกบั นิยามของทักษะการปรับตวั

286

5. อาจารยท์ ำแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรเู้ ก่ยี วกับความสำคัญของทักษะการปรับตัว

6. อาจารยท์ ำแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรู้เกยี่ วกับคุณลักษณะของบุคคลท่ีมที ักษะการปรับตวั

287

7. อาจารยท์ ำแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรเู้ กี่ยวกับแนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว

8. อาจารย์ทำแบบทดสอบหน่วยการเรยี นรู้เกีย่ วกับข้ันตอนการพฒั นาทักษะการปรับตัว

288
9. อาจารยท์ ำแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้เก่ียวกับการประเมินผลของทักษะการปรับตัว

10. เมือ่ ทำแบบทดสอบเสรจ็ อาจารย์ผ้ทู ำแบบทดสอบจะไดร้ บั เกียรตบิ ัตรทางอเี มล์

289

ภาคผนวก ฌ
หนงั สือจากบัณฑติ วทิ ยาลยั ถึงมหาวิทยาลยั
เพ่อื ขออนุญาตทดลองใชแ้ บบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารยก์ บั อาจารย์ใน

วทิ ยาเขต

290

291

292

ภาคผนวก ญ
รายชอื่ และสถานภาพของผู้ทรงคุณวฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของ
ขอ้ คำถามกับวัตถปุ ระสงค์การพัฒนา ในแบบประเมินทักษะการปรบั ตวั ของ

นกั ศึกษา

293

รายช่ือและสถานภาพของผู้ทรงคุณวฒุ ิในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับ
วัตถุประสงค์การพัฒนา ในแบบประเมนิ ทกั ษะการปรบั ตัวของนักศึกษา

ชือ่ -สกุล คุณวุฒิ ตำแหน่ง-สถานท่ีทำงาน
พระมหาศภุ ชยั สุญาโณ ศษ.ม.(การวัดและประเมนิ ผล นกั วิชาการศึกษา โรงเรียนบาลี
การศึกษา) เตรียมอดุ มศกึ ษา คณะครุศาสตร์
อาจารย์ ดร.ศานติ ย์ ศษ.บ.(การสอนภาษาอังกฤษ) มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ศรคี ณุ ราชวทิ ยาลัย
ศษ.ม.(การวัดและประเมนิ ผล อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์
ดร.ธนพล อาจจุฬา การศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแกน่
ปร.ด.(หลักสูตรและการเรียนการ
ดร.สุทัศน์ เดชกญุ ชร สอน) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการ
ดร.ธนติ ปุน่ ประโคน ปร.ด.(การบริหารการศึกษา) โรงเรยี นตูมใหญว่ ิทยา จังหวัด
มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกลุ บุรรี ัมย์
อาจารย์ มหาวิทยาลยั นอรท์ กรงุ
ปร.ด.(การบรหิ ารการศึกษา) เทพ
มหาวิทยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นไพศาล
ปร.ด.(การบริหารการศึกษา) พทิ ยาคม จงั หวดั บุรีรัมย์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บุรีรัมย์

294

ภาคผนวก ฎ
หนงั สือของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพ่ือขอความร่วมมือจากผ้ทู รงคุณวุฒเิ พอื่
ตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คำถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาในแบบ

ประเมนิ ทักษะการปรบั ตวั ของนกั ศึกษา

295

296

ภาคผนวก ฏ
แบบตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คำถามกับวัตถปุ ระสงค์การพฒั นา

ในแบบประเมินทกั ษะการปรบั ตวั ของนกั ศึกษา

297

แบบตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงคก์ ารพฒั นา
ในแบบประเมนิ ทักษะการปรับตวั ของนักศึกษา

คำช้ีแจง
ในการทำวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการ

ปรับตัวของนักศึกษา“ ( Online Program to Develop Teachers to Enhance Students’
Adaptability Skills) โดยระเบียบวธิ วี ิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผ้วู ิจัยไดส้ รา้ ง
“แบบประเมนิ คณุ ลักษณะทเ่ี กิดขึ้นกับนักศึกษา” จากผลการศึกษาวรรณกรรมทีเ่ กย่ี วข้องกับลักษณะ
ที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว จากทัศนะของ Alessandra (2016), Boss (2015), Keating (2018),
Oscar (2014), University of Bradford (n.d.), และ Whitehall (2018) และเกี่ยวกับแนวคิดการ
ประเมินทักษะการปรับตัว จากทัศนะของ Kane (2019), Morgan (2011), Workable (n.d.),
University of Alberta (n.d.) และ Zorzie (2012) ได้แบบประเมินที่มีข้อคำถามตามนิยามศัพท์
เฉพาะทใ่ี ชใ้ นการวิจยั 6 ด้าน คอื ดา้ นการเรยี นรู้ ดา้ นการรบั รตู้ นเอง ดา้ นทศั นคติ ด้านความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล ดา้ นการแก้ปญั หาและการตัดสนิ ใจ และด้านความรู้เกย่ี วกับความสามารถพิเศษ

ผู้วิจัยใคร่ขอความกรุณาท่าน โปรดพิจารณาข้อคำถามในแบบสอบถามข้างล่าง แล้วทำ
เครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย

+ 1 หมายถงึ ขอ้ คำถามมีความสอดคลอ้ งกบั นิยามศัพท์เฉพาะในด้านนน้ั ๆ
0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จในความสอดคล้องกับนยิ ามศัพท์เฉพาะในดา้ นนน้ั ๆ
-1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มีความสอดคล้องกับนิยามศัพท์เฉพาะในดา้ นนั้น ๆ
ขณะเดียวกัน ใคร่ขอความกรุณาท่านโปรดใหข้ ้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ภาษาในข้อคำถาม
ทเ่ี ห็นวา่ ไม่เหมาะสม วา่ ควรปรับปรุงแกไ้ ขเปน็ อยา่ งไร

ขอขอบคุณ
นายแมนมิตร อาจหาญ
นักศกึ ษาปริญญาเอกสาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตอีสาน

นยิ ามศัพท์เฉพาะท่ใี ชใ้ นการวิจยั ลกั ษณะท่แี สดงถงึ ทกั ษะการป

ด้านการเรยี นรู้ หมายถงึ การบอกกบั ตวั เองวา่ ต้อง 1) ฉนั บอกกับตัวเองว่าตอ้ งเปน็ ผเู้ รยี น
เป็นผู้เรยี นรอู้ ยา่ งสมำ่ เสมอ สนุกกบั การเรยี นรู้
แนวทางใหมจ่ ากกิจกรรมของมหาวิทยาลยั มกั จะ 2) ฉนั สนกุ กบั การเรยี นรู้แนวทางใหม่จ
เรยี นรขู้ ้อมลู และทกั ษะใหม่ ๆ เพือ่ นำหนา้ เพือ่ นรว่ ม
ชั้น กำลังเรยี นร้ทู กั ษะใหม่ ๆ ในมหาวิทยาลัยอยา่ ง มหาวิทยาลยั
ตอ่ เนอ่ื งเพื่อเตรียมพรอ้ มทำงานในอนาคต สามารถ
จินตนาการสิ่งใหม่ ๆ จากความคดิ เดมิ ๆ ได้อยา่ ง 3) ฉนั มักจะเรยี นรขู้ ้อมลู และทกั ษะให
รวดรวดเรว็ และอา่ นตำราเรียนลว่ งหนา้ กอ่ นเรียน ร่วมชน้ั
ในชั้น
4) ฉนั กำลงั เรยี นร้ทู กั ษะใหม่ ๆ ในมห
ด้านการรบั รูต้ นเอง หมายถึง การมคี วาม ต่อเน่ืองเพ่ือเตรียมพรอ้ มทำงานใน
ภาคภมู ใิ จในตนเองและรู้สึกดีกบั ตวั เอง รวู้ า่ อะไร
สำคัญสำหรับตวั เองและใชค้ วามรปู้ ระกอบการ 5) ฉนั สามารถจนิ ตนาการความร้ใู หมท่
ตัดสินใจ มีวสิ ัยทศั นท์ มี่ ีความหมายและมี ได้อยา่ งรวดเร็ว
จดุ มุ่งหมายสำหรบั ชวี ิตของตน เขา้ ใจวา่ ชวี ิตจะมี
การเปลยี่ นแปลงและไมเ่ ปน็ ไปตามท่ฉี ันต้องการ 6) ฉันมกั อา่ นตำราเรยี นลว่ งหน้ากอ่ นเ
เมื่อสูญเสยี ความม่ันใจช่ัวคราว ฉันรวู้ ่าฉนั ตอ้ งทำ 7. ฉนั มีความภาคภมู ิใจในตนเองและร
อย่างไรเพ่อื ฟื้นฟคู วามมนั่ ใจ และสามารถแยกแยะ 8. ฉันรู้ว่าอะไรสำคญั สำหรับตัวเองแล
และบอกใหท้ ราบถึงจดุ ออ่ นของตนและแนวทางท่ี
ฉนั ทำงานกับคนรอบข้าง ประกอบการตดั สินใจ
9. ฉันมวี ิสยั ทศั นท์ ี่มคี วามหมายและมจี

ของตน
10. ฉันเขา้ ใจว่าชวี ติ จะมีการเปลีย่ นแป

ฉันตอ้ งการ
11. เมือ่ สูญเสยี ความมัน่ ใจชัว่ คราว ฉนั

เพ่อื ฟนื้ ฟูความมนั่ ใจ
12. ฉันสามารถแยกแยะและบอกใหท้ ร

และแนวทางท่ีฉันทำงานกับคนรอบ
13. ฉันใชช้ ีวิตในแงด่ ีตลอดเวลา

298

ปรบั ตัวท่ปี ระเมิน ความเห็นของผ้ทู รงคุณวุฒิ
+1 0 -1 ข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงการใชภ้ าษา
นร้อู ย่างสม่ำเสมอ
จากกจิ กรรมของ ปรบั สำนวนใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย

หม่ ๆ เพื่อนำหนา้ เพือ่ น

หาวทิ ยาลยั อย่าง
นอนาคต
ท่นี ำมาจากความร้เู ดมิ

เรม่ิ เรียน
รู้สกึ ดีกับตวั เอง
ละสามารถใชค้ วามรู้

จุดมุ่งหมายสำหรบั ชวี ติ

ปลงและไมเ่ ป็นไปตามท่ี

นร้วู ่าฉนั ต้องทำอยา่ งไร เรยี บเรียงใหม่ ควรเปน็ ประโยคบอกเลา่

ราบถงึ จุดอ่อนของตน
บข้าง

ปรบั สำนวนให้สละสลวย

นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ลกั ษณะท่ีแสดงถงึ ทกั ษะการป

ด้านทัศนคติ หมายถึง การดำเนนิ ชีวิตในแงด่ ี เช่ือว่า 14. ฉันเชื่อว่าตนเองมที างเลือกและตวั
ตนเองมีทางเลอื กและตวั เลือกเสมอแมใ้ น สถานการณท์ ี่ยากลำบาก
สถานการณท์ ี่ยากลำบาก มีอารมณ์ขนั และสามารถ
หาสงิ่ ทจี่ ะทำใหห้ ัวเราะแม้ในเวลาที่มีปัญหา เขา้ ใจว่า 15. ฉนั มอี ารมณ์ขนั และสามารถควบค
ประสบการณใ์ หม่ ๆ จะทำเตบิ โตและสนกุ กบั การ ปญั หา
เรียนรู้ ไม่เสียเวลากังวลกบั ส่งิ ทอ่ี ยู่นอกเหนอื การ
ควบคุมของตน และความลม้ เหลวให้โอกาสฉนั ใน 16. ฉนั เขา้ ใจวา่ ประสบการณใ์ หม่ ๆ จ
การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม สนกุ กับการเรยี นรู้
ด้านความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล หมายถงึ การเปิด
ใจกวา้ งในการติดตอ่ กบั ผู้อนื่ เชือ่ วา่ การมคี วาม 17. ฉันไม่เสียเวลากงั วลกบั สงิ่ ท่ีอยู่นอก
ยืดหยุ่นในการตดิ ต่อกับผอู้ ่ืนเป็นสง่ิ สำคัญ สามารถ 18. ความลม้ เหลวใหโ้ อกาสฉันในการส
อา่ นใจคนอน่ื และเขา้ ใจว่าเขารสู้ ึกอย่างไร
ตลอดเวลา ใชค้ วามเข้าใจผู้อืน่ ในการมีปฏสิ มั พนั ธ์ 19. ฉันเปดิ ใจกวา้ งในการติดต่อกับผู้อน่ื
ปรับพฤติกรรมของตนใหเ้ ขา้ กับคนอืน่ และยอมรบั 20. ฉันเช่ือวา่ การมีความยดื หยุ่นในการ
สมาชกิ ใหม่และรปู แบบการทำงานของทมี เสมอ
สำคญั
ดา้ นการแกป้ ญั หาและการตดั สนิ ใจ หมายถงึ การ 21. ฉันสามารถอ่านใจคนอ่ืนและเขา้ ใจ
เรยี นรู้วธิ ีการใหม่ ๆ ในการแกป้ ญั หาอยา่ งรวดเร็ว มี
ทางเลอื กทีห่ ลากหลายในการแก้ปญั หา สามารถจดั ตลอดเวลา
ระเบยี บสภาพแวดลอ้ มและจัดลำดบั ความสำคญั 22. ฉนั ใชค้ วามเข้าใจผอู้ นื่ ในการสรา้ งป
ของงานแมใ้ นเวลาทีเ่ ครียด สามารถเรยี นรู้กลยทุ ธ์ 23. ฉันปรับพฤตกิ รรมของตนให้เข้ากบั
24. ฉันยอมรบั สมาชกิ ใหมแ่ ละรปู แบบ
25. ฉนั เรยี นรูว้ ิธกี ารใหม่ ๆ ในการแกป้
26. ปกติฉนั มีทางเลือกทหี่ ลากหลายใน
27. ฉันสามารถจัดระเบียบสภาพแวดล

ความสำคญั ของงานได้แม้ในเวลาท
28. ฉันสามารถเรยี นรู้กลยทุ ธส์ ว่ นตวั เพ

เปลี่ยนแปลงเน่อื งจากความไม่แนน่

299

ปรับตัวทป่ี ระเมิน ความเหน็ ของผทู้ รงคุณวฒุ ิ
วเลือกเสมอแม้ใน +1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ การใชภ้ าษา

คุมอารมณ์ไดใ้ นเวลาทมี่ ี

จะทำใหฉ้ นั เติบโตและ

กเหนอื การควบคุมของตน
สร้างสรรคน์ วตั กรรม


รติดต่อกบั ผูอ้ ืน่ เป็นสงิ่

จวา่ เขารสู้ ึกอยา่ งไร ปรับสำนวนให้สละสลวย

ปฏสิ มั พันธ์
บคนอ่ืน
บการทำงานของทีมเสมอ
ปญั หาอยา่ งรวดเร็ว
นการแกป้ ัญหา
ล้อมและจัดลำดับ
ทเี่ ครยี ด
พอ่ื รบั มอื กับความ
นอนในการดำเนินชวี ติ

นยิ ามศัพท์เฉพาะทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ลกั ษณะที่แสดงถึงทกั ษะการป

สว่ นตัวเพอื่ รับมอื กับความเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก 29. เม่ือประสบความเครยี ดในดา้ นใดด
ความไมแ่ นน่ อนในการดำเนินชวี ิต เมอื่ ประสบ สามารถควบคุมอารมณก์ ับเรอื่ งนน้ั
ความเครยี ดในด้านใดด้านหนง่ึ ของชวี ติ ฉันสามารถ
ควบคมุ อารมณ์กับเร่อื งนัน้ ๆ ได้ และสามารถ 30. ฉนั สามารถคน้ หาและระดมทรพั ยา
คน้ หาและระดมทรพั ยากรทีจ่ ำเปน็ ในภาวะวกิ ฤต วกิ ฤตหรอื สถานการณใ์ หม่ ๆ ได้
หรอื สถานการณใ์ หม่ ๆ
ดา้ นความรเู้ ก่ียวกับความสามารถพเิ ศษ หมายถึง 31) ฉนั สามารถพูดได้อยา่ งชดั เจนถึงพร
การสามารถพดู ได้อยา่ งชดั เจนถงึ พรสวรรค์และ ความสามารถพเิ ศษของตน
ความสามารถพิเศษของตน ทกั ษะทีจ่ ำเป็นสำหรับ
อาชพี ของตนในอนาคต ร้วู า่ คนอืน่ ๆ ใน 32)ฉนั รู้ทกั ษะทจ่ี ำเป็นสำหรับอาชพี ขอ
มหาวิทยาลยั คาดหวงั อะไรจากฉัน รวู้ า่ ทกั ษะของ 33)ฉันรวู้ า่ คนอนื่ ๆ ในมหาวิทยาลัยคา
ตนเปน็ อยา่ งไร รวู้ า่ พฤติกรรมและทัศนคตใิ ด 34)ฉันรูว้ า่ ทักษะของตนเปน็ อยา่ งไร ใน
เหมาะสมในมหาวิทยาลยั และไม่เคยหยุดอยู่กบั
ความสำเร็จและคน้ หาความท้าทายต่อไปในเชงิ รกุ เพื่อนร่วมชัน้ และมหาวิทยาลัย
35)ฉันรู้วา่ พฤตกิ รรมและทัศนคตใิ ดเห
. 36) ฉนั ไม่เคยหยุดอยกู่ บั ความส

ทายตอ่ ไปในเชงิ รุก

ปรบั ตวั ทป่ี ระเมนิ 300

ด้านหนง่ึ ของชีวติ ฉัน ความเห็นของผ้ทู รงคณุ วุฒิ
น ๆ ได้ +1 0 -1 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ การใช้ภาษา
ากรท่ีจำเป็นในภาวะ

รสวรรค์และ เรยี บเรยี งใหม่ ควรเปน็ ประโยคบอกเล่า
เรียบเรยี งใหม่ ควรเปน็ ประโยคบอกเล่า
องตนในอนาคต
าดหวงั อะไรจากฉัน
นมมุ มองของอาจารย์

หมาะสมในมหาวทิ ยาลัย
สำเรจ็ และค้นหาความทา้

301

ภาคผนวก ฐ
แบบประเมนิ ทกั ษะการปรับตวั ของนกั ศกึ ษาท่เี ป็น Google Form

302

แบบประเมนิ ทักษะการปรับตวั ของนกั ศกึ ษาที่เปน็ Google Form

1. เขา้ ทำแบบประเมนิ ตนเองของนักศึกษา โดยการคลกิ ลงิ ก์
https://forms.gle/KPFkwXHQxjYefowXA หรอื สแกน QR CODE

2. ให้ทำแบบประเมินตนเอง กรอกขอ้ มูล

303

3. ระดบั คุณลักษณะที่แสดงถึงทกั ษะการปรับตัว
4. ใหท้ ำแบบประเมินทกั ษะ ดา้ นการเรยี นรู้

304

6. ใหท้ ำแบบประเมินทกั ษะ ดา้ นการรบั รู้ตนเอง

7. ให้ทำแบบประเมนิ ทักษะ ด้านทศั นคติ

305

8. ให้ทำแบบประเมินทักษะ ดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล

9. ให้ทำแบบประเมินทักษะ ดา้ นการแก้ปญั หาและการตดั สนิ ใจ

306

10. ให้ทำแบบประเมนิ ทักษะ ดา้ นความรเู้ ก่ียวกับความสามารถพเิ ศษ

12. แบบประเมนิ ตนเองของนักศึกษาเกย่ี วกบั การพฒั นาทักษะการปรบั ตวั เสรจ็ ส้นิ

307

ภาคผนวก ฑ
หนังสอื ของบัณฑติ วทิ ยาลยั เพ่ือขอความรว่ มมือจากสถานศกึ ษา
เพอ่ื การทดลองใชแ้ บบประเมนิ ทกั ษะการปรบั ตัวของนกั ศกึ ษา

308

309

ภาคผนวก ฒ
ผลการวิเคราะห์คา่ สมั ประสทิ ธสิ์ หสมั พันธ์ของความเชอ่ื มัน่ โดยใชว้ ิธีของ
ครอนบาค (Cronbach’s Method) ของแบบประเมนิ ทักษะการปรบั ตวั

ของนกั ศกึ ษา

310

ผลการวเิ คราะห์คา่ สัมประสิทธส์ิ หสัมพนั ธ์ของความเชื่อมน่ั โดยใชว้ ิธขี องครอนบาค
(Cronbach’s Method) ของแบบประเมนิ ทกั ษะการปรับตัวของนักศกึ ษา

Case Processing Summary

N%

Cases Valid 30 100

Excludeda 0 .0

Total 30 100

a. Listwise deletion based on all variables in

the procedure.

Reliability Statistics
Cronbach's

Alpha N of Items

.964 36

Item-Total Statistics

Corrected Item- Cronbach's

Scale Mean if Scale Variance Total Alpha if Item

Item Deleted if Item Deleted Correlation Deleted

ขอ้ 1 132.53 455.223 .629 .963

ขอ้ 2 132.60 445.766 .785 .962

ข้อ 3 132.27 455.582 .496 .964

ขอ้ 4 132.47 451.016 .660 .963

ขอ้ 5 132.23 449.771 .685 .963

ข้อ 6 132.37 451.964 .679 .963

ข้อ 7 132.40 458.662 .425 .964

ข้อ 8 132.00 458.345 .501 .964

ข้อ 9 132.43 449.909 .755 .962

ข้อ 10 132.13 452.326 .717 .962

ข้อ 11 132.73 460.547 .544 .963

ข้อ 12 132.20 454.510 .660 .963

ข้อ 13 132.23 445.495 .861 .962

ขอ้ 14 132.17 448.902 .797 .962

ขอ้ 15 131.77 477.909 .022 .965

ขอ้ 16 132.40 447.490 .828 .962

ขอ้ 17 132.37 442.723 .797 .962

ขอ้ 18 132.50 449.293 .799 .962

ข้อ 19 132.57 453.220 .683 .963

311

Item-Total Statistics

Corrected Item- Cronbach's

Scale Mean if Scale Variance Total Alpha if Item

Item Deleted if Item Deleted Correlation Deleted

ข้อ 20 132.30 457.734 .494 .964

ข้อ 21 132.60 448.179 .754 .962

ขอ้ 22 132.27 455.306 .683 .963

ข้อ 23 132.50 453.914 .525 .964

ขอ้ 24 132.50 445.362 .744 .962

ขอ้ 25 132.50 447.845 .767 .962

ข้อ 26 132.70 447.321 .722 .962

ข้อ 27 132.40 448.731 .759 .962

ขอ้ 28 132.23 443.564 .841 .962

ขอ้ 29 131.90 457.472 .522 .964

ข้อ 30 132.57 447.564 .713 .962

ข้อ 31 132.13 456.395 .635 .963

ข้อ 32 131.77 474.323 .134 .965

ขอ้ 33 132.23 455.289 .571 .963

ข้อ 34 131.77 477.909 .022 .965

ข้อ 35 132.40 447.490 .828 .962

ข้อ 36 132.37 442.723 .797 .962

1. ด้านการเรยี นรู้
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items

.796 6

2. ด้านการรบั รู้ตนเอง
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items

.764 6

3. ด้านทัศนคติ
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items

.857 6

312

4. ด้านความสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items
.827 6

5. ดา้ นการแกป้ ัญหาและการตดั สนิ ใจ
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items
.888 6

6. ด้านความรู้เกยี่ วกบั ความสามารถพิเศษ
Reliability Statistics

Cronbach's
Alpha N of Items
.739 6

313

ภาคผนวก ณ
หนงั สอื ของบณั ฑิตวทิ ยาลยั เพอ่ื ขอความร่วมมอื จากสถานศึกษาที่ใชอ้ าจารย์

เป็นกลุม่ ทดลอง

314

315

ภาคผนวก ด
รายชื่อและสถานภาพของอาจารย์ท่ีเป็นกลมุ่ ทดลอง


Click to View FlipBook Version