The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by man Wee, 2022-10-17 08:10:12

ดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-แมนมิตร อาจหาญ

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

87

ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า กรรมการสภาการศึกษามหามกุฏ
ราชวิทยาลัย สถาบันการศึกษาแห่งนี้ ได้เริ่มเปิดให้การอบรมศึกษาแก่ภิกษุสามเณร ตั้งแต่วันที่ 16
กนั ยายน พ.ศ. 2489 จนถึงปจั จบุ นั

2.4.2 ขอ้ มลู มหาวทิ ยาลยั
ตราสญั ลักษณป์ ระจำมหาวทิ ยาลัย

ภาพท่ี 2.3 ตราสัญลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั

พระมหามงกุฎ และ อุณาโลม
หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระผู้ทรงเป็นที่มาแห่งนาม
“มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ”
พระเกย้ี วประดษิ ฐานบนหมอนรอง
หมายถึง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระผู้พระราชทานพระ
บรมราชานุญาตใหจ้ ดั ต้งั “มหามกุฏราชวิทยาลัย”
หนังสือ
หมายถึง คัมภีร์และตำราทางพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาค้นคว้า และเผยแผ่
พระพุทธศาสนา
ปากกาปากไก่ ดนิ สอ และม้วนกระดาษ
หมาย ถึง อุปกรณ์ในการศึกษาเล่าเรียน การพิมพ์เผยแพร่คัมภีร์และการผลิตตำราทาง
พระพุทธศาสนา เพราะมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นทั้งสถาบันศึกษา และแหล่ง
ผลติ ตำรับตำราทางพระพทุ ธศาสนา
ชอ่ ดอกไมแ้ ยม้ กลีบ
หมายถึง ความเบ่งบานแห่งสติปญั ญา และวิทยาการในทางพระพุทธศาสนา และหมายถงึ
กติ ตศิ ัพทก์ ติ ติคณุ ทีฟ่ งุ้ ขจรไป ดจุ กล่นิ หอมแหง่ ดอกไม้
ธงชาตไิ ทย
หมายถึง อุดมการณ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่มุ่งพิทักษ์สถาบันหลักทั้ง 3
คอื ชาตไิ ทย พระพุทธศาสนา และพระมหากษตั ริย์

88

พานรองรบั หนงั สอื หรอื คัมภรี ์
หมายความว่า มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยเป็นสถาบันเพื่อความมั่นคง และ
แพรห่ ลายของพระพทุ ธศาสนา
วงรัศมี
หมายถึง แสงสว่างแห่งปัญญา วิสุทธิ สันติ และกรุณา ที่มหาวิทยามหามกุฏราชวิทยาลัย
มงุ่ สาดสอ่ งไปท่วั โลก
มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
หมายถึง มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั อันเป็นสถาบันการศึกษาทางพระพุทธศาสนา
ระดบั อดุ มศึกษา
ปณิธาน
มุ่งเน้นให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนว
พระพุทธศาสนา พฒั นากระบวนการดำรงชวี ติ ในสังคมด้วยศลี ธรรม ชนี้ ำและแกป้ ัญหาสงั คมด้วยหลัก
พุทธธรรมทงั้ ในระดับชาติและนานาชาติ
วสิ ัยทศั น์
“ร่วมพฒั นาพลเมืองโลก ด้วยการผสานแกน่ แท้ของพระพุทธศาสนาทมี่ ่ันคง ให้ดำรงอยู่ใน
ฐานะโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางปญั ญาของมนษุ ย์ในอนาคต”
พนั ธกจิ
การศึกษา วิจัย ส่งเสริมและให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณร
และคฤหัสถ์ รวมทัง้ การทำนุบำรุงศลิ ปวฒั นธรรม
นโยบาย
(1) ผลิตบัณฑิตทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนา ที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน ทั้งด้าน
ความรู้ ความประพฤติมสี าราณยี ธรรมและพรหมวหิ ารธรรม
(2) บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนอย่างกว้างขวาง และเป็นศูนย์กลางแห่งการ
แสวงหาความรู้วิชาการพระพุทธศาสนา
(3) แสวงหาองคค์ วามร้ใู หม่ ๆ ด้านวชิ าการพระพุทธศาสนา สงั คม และดา้ นศิลปวฒั นธรรม
(4) ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ สร้างภูมิคุ้มกันวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสม ดำรงความ
เป็นชาติไทยตามวถิ ปี ระเพณี และวฒั นธรรมทางพระพุทธศาสนา
(5) บริหารจัดการมหาวิทยาลัย ให้ทันสมัย มีความโปร่งใส เน้นประสิทธิผล มีระบบ
สวสั ดกิ ารทดี่ ี สอดคลอ้ งกับการเรยี นรู้ตามอัธยาศยั และการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต
วัตถปุ ระสงค์หลัก
1. ผลิตบัณฑิตที่เป็นคนดี มีความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวทางพระพุทธศาสนาทั้งใน
ระดบั ชาติและนานาชาติ มคี วามเปน็ ผู้นำและสร้างสังคมไทยให้เป็น “สงั คมแห่งภูมปิ ัญญา การเรียนรู้
และเปน็ ศูนย์กลางทางวชิ าการพระพทุ ธศาสนาเถรวาท”
2. พัฒนาองค์ความรู้ ผลิตผลงานวิจัย และวิชาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม บูรณาการ
ศิลปวัฒนธรรมเพื่อนำพาสังคมด้วยองค์ความรู้บนวิถีธรรมตามศาสตร์สาขาของตน อันจะเป็น
ประโยชนต์ ่อสงั คมโลกในทสี่ ุด

89

3. เผยแผ่ องค์ความรู้ ภูมิปัญญา ด้านพระพุทธศาสนาที่แท้จริง ให้แก่พลเมืองโลก สืบ
สาน ส่งต่อ โดยศาสนทายาทที่เข้มแข็ง แตกฉานในพระธรรมขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ให้
ดำรงทรงไวใ้ นฐานะสมบตั ิทล่ี ำ้ คา่ ของโลก

4. บรกิ ารวิชาการ บรกิ ารสงั คม ดว้ ยสรรพกำลัง และทกุ องคาพยพของพระพทุ ธศาสนาให้
เกิดผลสมั ฤทธิ์ทเี่ จริญวัฒนาสถาพร เป็นประจักษช์ ัดเจนตอ่ สงั คมไทยและสังคมโลก

5. สร้างพลวัตในการพัฒนามหาวิทยาลัยและเครือข่ายภาคีพุทธฯ ให้มีโครงสร้าง ระบบ
และกระบวนการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ เน้นการควบคุมกระบวนการสำคัญสู่ผลลัพธ์และ
ผลสัมฤทธ์ิท่ีมปี ระสิทธผิ ล ประสิทธภิ าพ คมุ้ คา่ และสมประโยชน์

อตั ลกั ษณ์
บัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักพระพุทธศาสนาและสามารถเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่สังคม
ในระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ
เอกลักษณ์
บรกิ ารวชิ าการพระพุทธศาสนาแกส่ งั คมในระดบั ชาติหรือนานาชาติ
การชนี้ ำ ปอ้ งกัน หรือ แก้ปัญหาของสงั คม 2 เร่อื ง
1. ภายในมหาวิทยาลยั จติ สาธารณะ หรอื จำสำนกึ ทางสังคม
2. ภายนอกมหาวิทยาลัย การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและแนวพระราชดำรัส
ต่าง ๆ ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาสังคม
ปรชั ญามหาวิทยาลัย
“ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการตามแนวพระพทุ ธศาสนา”
“Academic Excellence based on Buddhism”
ศาสนสุภาษิตประจำมหาวทิ ยาลัย
วชิ ฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโฺ ฐ เทวมานุเส
ผสู้ มบูรณด์ ้วยความรแู้ ละความประพฤติ เป็นผปู้ ระเสริฐในหมเู่ ทพและมนุษย์
สีประจำมหาวิทยาลยั
สีส้ม หมายถึง สีประจำพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวซึ่งตรงกับวันพฤหัสบดี อัน
เปน็ วันพระราชสมภพ
ตน้ ไมป้ ระจำมหาวิทยาลัย
ตน้ โพธิ์ ต้นไม้เป็นท่ีตรัสรขู้ ององคส์ มเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้
คตพิ จน์ประจำตวั นักศกึ ษา
ระเบยี บ สามคั คี บำเพญ็ ประโยชน์

90

2.4.3 โครงสรา้ งมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย

ภาพที่ 2.4 โครงสรา้ งมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั

91

รายชื่อผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ส่วนกลาง ข้อมูล ณ วันที่ 11
พฤษภาคม 2564

1. อธิการบดี พระเทพวชั รเมธี, ผศ.ดร. 1021
2. รองอธกิ ารบดี (ด้านบรหิ าร) พระมหาฉัตรชัย สุฉตตฺ ชโย, ผศ.ดร. 1024
3. รองอธิการบดี (ดา้ นวชิ าการ วจิ ัย และประกันคุณภาพ) พระมหามฆวินทร์ ปรุ สิ ตุ ฺตโม, ผศ.ดร.
4. รองอธกิ ารบดี (ด้านกจิ การคณะสงฆ์และอบรมพฒั นาจติ ) พระมงคลธรรมวธิ าน, ผศ.ดร. 1025
5. รองอธกิ ารบดี (ด้านกจิ การต่างประเทศ) พระเทพศากยวงศบ์ ณั ฑิต, ดร.
6. รองอธกิ ารบดี (ด้านกจิ การนกั ศกึ ษา) พระครูปลัดสุวัฑฒนพรหมจรยิ คุณ 1019
7. รองอธกิ ารบดี (ด้านบริหารทรพั ยากรบุคคล) นางสาวนงนารถ เพชรสม 1129
8. รองอธิการบดี (ดา้ นบริหารท่ัวไป) นายอนนั ต์ ทรพั ย์วารี
9. รองอธกิ ารบดี (ด้านงบประมาณ การเงนิ และบญั ช)ี นางฉววี รรณ อักษรสวาสด์ิ
10. ผู้ช่วยอธกิ ารบดี พระมหาเตชินท์ อนิ ฺทเตโช 1021
11. ผชู้ ่วยอธิการบดี ผศ.ดร.เสถียร วพิ รมหา 1020
12. ผชู้ ่วยอธิการบดี นายสมั ฤทธ์ิ เพชรแก้ว 1018
13. ผ้ชู ่วยอธิการบดี นายพริ ฬุ เพยี รล้ำเลิศ
14. ผ้ชู ่วยอธกิ ารบดี พันตำรวจเอกหญงิ สภุ าวดี แสงเดือนฉาย
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2563 โดยมีปัญหา
และอุปสรรคในการดำเนินงานในด้านหลักสูตรและการสอนทีไ่ ม่หลากหลายเมื่อเทียบกบั มหาวิทยาลัย
ทั่วไป เพราะเป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะด้าน กอปรกับมีการศึกษาทางเลือกที่หลากหลายขึ้น ทั้ง
การศึกษานอกระบบ การศึกษาออนไลน์ อีกทั้งอัตราการเกิดของประชากรลดลง มีผลทำให้นักศึกษา
เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยลดลง ส่วนทางกับการแข่งขันในระดบั อุดมศึกษาที่สงู ขึ้น และในสถานการณ์
ปัจจุบันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบกับการเรียนการสอนทุกระดับ
การศึกษา มหาวิทยาลัยต้องปรับเปลย่ี นการเรียนการสอนเพ่อื ใหส้ อนคลอ้ งกับสถานการณป์ จั จุบนั
จากข้อมลู ท่ีแสดงถึงบริบทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยดงั กล่าวข้างต้น ปัจจัยท่ี
ส่งผลให้สถานศึกษาประสบผลสำเร็จมีปัจจัยและองค์ประกอบหลาย ๆ อย่าง อันประกอบด้วย
ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการ
สอน ในการดำเนินการบริหารตามบริบทของมหาวิทยาลัย ได้ดำเนินการในด้านต่าง ๆ ในรอบปี
การศกึ ษาท่ีผา่ นมา โดยศึกษาผลการดำเนินงานประจำปี 2563 แล้วแก้ไขตามแนวทาง ดงั นี้
1. ด้านหลกั สตู รและการเรยี นการสอน

1.1 เปิดหลักสตู รการศึกษาระยะสั้นและระยะยาว สำหรับการพัฒนาวิชาชีพ เพื่อเป็น
ทางเลือกสำหรับกลุ่มผปู้ ระกอบ อาชพี แล้ว

1.2 เพื่อให้สอดคล้องกับการก้าวสู่สังคมผู้สูงวัย มหาวิทยาลัยกําลังพิจารณาเปิด
หลักสูตรการศึกษาที่รองรับผู้สูงวัย อาจเปิดเป็นหลักสูตรระยะสั้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของ
กำลงั คนในวัยทำงานและผู้สูงอายทุ ุกช่วงวยั ใหพ้ รอ้ มเขา้ สู่ศตวรรษที่ 21 ซ่งึ เปน็ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต
(Lifelong Learning) และ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์ผู้ประกอบการ เน้นการเพิ่มพูนทักษะ

92

[Reskill] และ การปรับปรุงทักษะ (Upskill] พร้อมรับใบประกาศนียบัตรรับรองความรู้หลังจบ
หลกั สตู ร

1.3 เปิดหลักสตู รอบรมบุคลกรท่ีอยู่ในวงการศาสนา ดว้ ยจุดเด่นของมหาวิทยาลัย จึงมี
การเรียนการสอนที่เน้นไปใน แนวพุทธศาสตร์ อาจจะพิจารณาเปิดหลักสูตรอบรมบุคลกรที่อยู่ใน
วงการศาสนา ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ บริหาร จัดการศาสนสถาน และศาสนวัตถุให้ถูกต้องกับ
กฎระเบียบ และมีความเหมาะสมตามแบบของพระธรรมวินัย เช่น หลักสูตรอบรมพระสังฆาธิการ
หลักสูตรอบรมไวยาวจั กร เป็นต้น

1.4 ปรับรูปแบบการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์ เพิ่มมาตรการการเรียนรู้ใน
หอ้ งเรยี น เพอื่ การเรยี นรูท้ ่ี สอดคล้องและเชอ่ื มโยงกับการเรยี นของนักศึกษา

2. ด้านการบรหิ ารจดั การ
2.1 ปรับส่วนลดค่าบํารุงการศึกษา 10% เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อน

ของ นักศึกษาและผ้ปู กครอง
2.2 มีการผ่อนชําระค่าเทอม แบ่งจ่ายเป็นรายงวด เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความ

เดือดรอ้ นของนกั ศกึ ษา
2.3 มีการมอบทุนการศึกษาเรียนฟรี สำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี ผลงาน

ความคิด สรา้ งสรรค์ หรอื เปน็ นกั ศกึ ษาที่ประพฤติปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
จากแนวทางดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงความจำเปน็ ท่ีมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยต้อง

พัฒนาทักษะต่าง ๆ ให้นักศึกษาควบคู่ไปด้วย โดยเฉพาะทักษะการปรับตัวที่เป็นทักษะที่สำคัญ และ
เปน็ ทุกสง่ิ ทกุ อย่างในปัจจบุ นั และอนาคต

2.5 บริบทของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน อำเภอเมือง
ขอนแก่น จงั หวดั ขอนแก่น : พืน้ ทีท่ ดลอง (Experimental Area) ในการวิจยั

2.5.1 ประวตั คิ วามเป็นมาโดยย่อ
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ตั้งอยู่ที่ 9/37 หมู่ 12 ต.ในเมือง อ.
เมือง จ.ขอนแกน่ รหัสไปรษณีย์ 40000 เมือ่ วันที่ 18 ธนั วาคม พ.ศ. 2533 สภามหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ
ราชวิทยาลัย ได้อนุมัติให้สถาปนา วิทยาเขตแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดขอนแก่น
ให้ชื่อว่าสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ณ วัดศรีจันทร์ (พระอารามหลวง)
อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่
ต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ภายหลัง มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จัดตั้งมหาวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย มีสถานะเป็นมหาวิทยาลยั ของรัฐ ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ โดยให้ชื่อ
ใหม่ว่า มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน และได้ย้ายไปอยู่ ณ บ้านโนนชัย ถนน
ราษฎร์คนึง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2542 โดยมี
วตั ถุประสงคใ์ นการสถาปนา ดงั น้ี คือ
1. เพ่อื เป็นสถานศกึ ษาด้านพระพุทธศาสนา
2. เพือ่ ใหเ้ ป็นสถานศึกษาวทิ ยาการอนั เปน็ ของชาตภิ มู ิและต่างประเทศ

93

3. เพื่อให้ศาสนทายาทได้เป็นกำลังในการจรรโลงพระพุทธศาสนาและเป็นศาสนทายาทท่ี

เหมาะสมกบั กาลสมยั

4. เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทางพระพุทธศาสนา และทำนุบำรุง

ศลิ ปวฒั นธรรม ประตมิ ากรรมทางพระพทุ ธศาสนา

ท้งั นี้ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการคณะหนึง่ เรียกวา่ คณะกรรมการประจำวิทยาเขต

อสี าน แบง่ สว่ นการบริหารงานออกเปน็ 3 สว่ นงาน คอื

1. สำนักงานวิทยาเขตอีสาน

2. ศนู ย์บริการวิชาการอสี าน

3. วิทยาลัยศาสนศาสตรอ์ สี าน

เริ่มเปิดให้การศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรต้ังแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2533 เปน็ ต้นมา และได้

เปิดรับนักศกึ ษา (บคุ คลทวั่ ไป) ในปกี ารศึกษา 2544 และเมอ่ื วันท่ี 4 มิถุนายน 2545 วิทยาเขตอีสาน

ได้ขยายห้องเรียนไปที่ วัดแสนสุข อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี และในปีการศึกษา 2549

ได้ขยายหอ้ งเรยี นอกี แหง่ หนึ่ง คือ วัดพิศาลรญั ญาวาส อำเภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลำภู

ปัจจุบัน (พ.ศ. 2563) มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีอายุได้ 31 ปี

(พ.ศ. 2533-2563) เปิดสอนตามหลกั สตู รสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ต้งั แต่ระดบั ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญา

เอก และมีสาขาวชิ าจำนวน 14 สาขาวิชา คือ

หลักสูตรระดับปริญญาตรีในปัจจุบัน เปิดสอน 9 สาขาวิชา 1. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

2. สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ 3. สาขาวิชาการปกครอง 4. สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ 5.

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 6. สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา 7. สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา

8. สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย 9. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ส่วนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาโท จำนวน 3 สาขาวิชา 1. สาขาวิชาการ

ปกครองท้องถิ่นตามแนวพุทธศาสตร์ 2. สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา 3. สาขาวิชาการบริหาร

การศึกษา ระดบั ปริญญาเอก จำนวน 2 สาขาวิชา 1. สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา 2. สาขาวชิ าวิจัย

พทุ ธศาสตร์และปรัชญา

2.5.2 โครงสรา้ งองคก์ รและโครงสร้างการบรหิ าร

การจัดรูปแบบการบริหารมหาวิทยาลัย เป็นการจัดตามความในมาตราที่เกี่ยวข้องใน

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2540 และเป็นการจัดตามรูปแบบของ

มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐตามความในมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช

วิทยาลัย พ.ศ. 2540 ที่กำหนดให้รัฐมนตรี (กระทรวงศึกษาธิการ) มีอำนาจและหน้าที่กำกับดูแล

โดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในมาตรา 6 คือ “มี

วัตถุประสงค์ให้การศึกษา วิจัย ส่งเสริม และให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนา แก่พระภิกษุ

สามเณรและคฤหัสถ์ รวมท้งั การทะนุบำรงุ ศลิ ปวฒั ธรรม”

การจัดโครงสร้างและระบบการบริหารมหาวทิ ยาลัย ในแตล่ ะหน่วยงานหรือองค์กรมีความ

สอดคล้องกบั พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย พ.ศ. 2540 ตามความในมาตรานั้น ๆ

โดยอาจจำแนกองค์กรหรือหนว่ ยงานหลกั ๆ ไดด้ ังน้ี

(1) สภามหาวทิ ยาลัย (2) สภาวชิ าการ

94

(3) สำนกั งานอธิการบดี (4) สำนักงานวิทยาเขต

(5) บณั ฑิตวทิ ยาลยั (6) คณะ

(7) สถาบัน (8) สำนัก

(9) ศนู ย์ (10) วทิ ยาลยั

2.5.3 รายช่ือผ้บู รหิ าร กรรมการบริหารวิทยาเขตอสี านชุดปัจจุบัน

1. พระครสู ธุ จี รยิ วัฒน์, ผศ.ดร. รองอธิการบดี

2. พระมหาวิศกั ด์ิ ชาตสุโภ ผอู้ ำนวยการสำนกั งานวิทยาเขตในวิทยาเขตอสี าน

3. พระมหาศภุ ชัย สภุ กจิ โฺ จ, ผศ.ดร. ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยศาสนศาสตรอ์ สี าน

4. พระครธู รรมาภิสมัย, ผศ.ดร. ผู้อำนวยการศนู ยบ์ ริการวิชาการอสี าน

5. ดร.เอกชาตรี สุขเสน ผู้ชว่ ยอธิการบดี

6. ผศ.ดร.วทิ ลู ทาชา กรรมการ

7. ผศ.ดร.ธนกร ชูสขุ เสริม กรรมการ

8. นายแสงอาทติ ย์ ไทยมติ ร กรรมการ

2.5.4 หลกั สตู รและจำนวนนักศึกษา

ตารางที่ 2.1 หลกั สตู รและจำนวนนกั ศึกษา

ลำดับ สาขาวิชา ปรญิ ญา ปริญญา ปรญิ ญา รวม
ตรี โท เอก ทงั้ หมด
1 สาขาวิชาการปกครอง 154 154
2 สาขาวชิ าสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ 77 77
3 สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ 49 49
4 สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 85 85
5 สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ 171 171
6 สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 90 90
7 สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา 63 63
8 สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา 26 26
9 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั 34 34
10 สาขาวิชาการปกครองทอ้ งถิน่ ตามแนวพทุ ธ 20 20

ศาสตร์ 18 18
11 สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา 43 45 88
12 สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา
13 สาขาวชิ าวจิ ัยพทุ ธศาสตรแ์ ละปรัชญา 20 20
895
รวม

95

2.5.5 อาจารย์และบุคลากร

ตารางที่ 2.2 อาจารยแ์ ละบคุ ลากร

จำนวนอาจารย์จำแนกตามคณุ วุฒแิ ละตำแหน่งทางวชิ าการ รวม

ลำดับที่ สาขาวชิ า ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก

อ ผศ. รศ. ศ. อ ผศ. รศ. ศ. อ ผศ. รศ. ศ. อ ผศ. รศ. ศ.

1 สาขาวชิ าการ 2 21 41
ปกครอง

2 สาขาวชิ าสังคม 1 31 41
สงเคราะหศ์ าสตร์

3 สาขาวิชารัฐ 426
ประศาสนศาสตร์

4 สาขาวชิ า 11 12 12 2
ภาษาองั กฤษ

5 สาขาวิชาการสอน 5 5
ภาษาองั กฤษ

6 สาขาวชิ าการสอน 2 21 41
ภาษาไทย

7 สาขาวิชาการสอน 5 5
สังคมศกึ ษา

8 สาขาวชิ าการสอน 6 6
พระพุทธศาสนา

9 สาขาวิชา 5 5
การศึกษาปฐมวัย

10 สาขาวชิ าการ

ปกครองท้องถิ่น 21 21
ตามแนวพทุ ธ

ศาสตร์

11 สาขาวชิ าพุทธ

ศาสนาและ 21 21

ปรชั ญา

12 สาขาวิชาการ 41 41
บรหิ ารการศกึ ษา

13 สาขาวิชาวจิ ัยพทุ ธ

ศาสตร์และ 3 13 1

ปรชั ญา

รวม 31 1 16 10 3 1 47 11 3 1

รวมทั้งหมด 32 30 62

ลำดับที่ หน่วยงาน จำนวนบคุ ลากรสายสนบั สนนุ จำแนกตามคุณวฒุ ิ รวม
ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก

1 สำนักงานวทิ ยาเขตอสี าน 3 3 17

2 วทิ ยาลยั ศาสนศาสตร์อสี าน 3 3

3 ศนู ย์บริการวิชาการอสี าน 2 13

รวม 8 3 2 13

96

การดำเนินงานบริหารจัดการการศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขต
อีสาน ปีการศึกษาที่ผ่านมาทางคณะได้ดำเนินการในทุก ๆ ด้าน แต่ผลตอบรับยังไม่เป็นที่น่าพอใจ
โดยเฉพาะในด้านกระบวนการเรียนรู้โดยยึดนักศึกษาเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ค้นพบด้วยตนเอง มีทักษะการปรับตวั และมคี วามสขุ ในเวลาเรยี น ท้งั นสี้ บื เน่อื งมาจากวทิ ยาเขตอีสาน
เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลาง
งบประมาณในการบริหารจัดการดา้ นต่าง ๆ ไม่เพียงพอ นักศึกษาบางส่วนขาดความพรอ้ มในหลาย ๆ
ด้าน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่เป็นที่น่าพอใจ ต้องส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมี
ความรู้ มที ักษะการเรยี นรแู้ ละทักษะทจี่ ำเปน็ ของโลกในศตวรรษท่ี 21 อยา่ งครบถ้วน พฒั นาผู้เรียนให้
มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ลั และพฒั นาระบบบริหารจดั การโดยใช้พ้นื ท่ีเป็นฐาน มีนวตั กรรมเปน็ กลไกหลักในการขับเคลื่อน
บนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทันสมัย และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หลักสูตรและ
กระบวนการจัดการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมและพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการ
เรียนรู้ที่เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การมีทักษะด้านการ
ปรับตัว จงึ มคี วามสำคัญอยา่ งย่งิ และเปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
การจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยและเพื่อนำไปพัฒนานักศึกษาใ ห้ทันยุคแห่งการ
เปลี่ยนแปลง และนักศึกษาเกิดทักษะการปรับตัวเพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ จึง
จัดทำวิจัยการพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัว ของ
นกั ศึกษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตอีสาน เพือ่ แก้ปญั หาในการพฒั นากระบวนการ
เรียนรู้ของผู้เรียนโดยการพัฒนาอาจารย์ นักศึกษา และส่งเสริมให้เกิดการคิด พัฒนารูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนเดิม ๆ มีความคิดริเริ่ม ระดมพลังทางความคิดในการสร้างสรรค์ชิ้นงานส่ง
อาจารย์ควบคู่กับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน รับทราบปัญหาและแนวทางแก้ไขของผู้เรียน
อยา่ งเป็นระบบ เพือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ แกผ่ ู้เรยี นต่อไป

2.6 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั

ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ วิจัยและพัฒนา (Research and Development :
R&D) เป็นนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวิจัย และพัฒนามีจุดมุ่งหมาย - เพื่อนำไปใช้พัฒนา
บุคลากรสู่การพัฒนาคณุ ภาพของงานท่ีมปี รากฏการณ์ หรือข้อมูลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่ามีความ
จำเป็นเกดิ ข้นึ เช่น เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ทีท่ ้าทายของหนว่ ยงาน หรือการ
เปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสูใ่ หม่ ท่บี ุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะใน
กระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ทางการบริหาร
การศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ (Knowledge) แล้ว
กระตุ้นให้พวกเขานำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิดพลัง (Power) ให้การ
ปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตามแนวคิด “Knowledge +
Action = Power” หรือตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do, Then Encourage
Them Do What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application” และด้วยแนวคิดที่ว่า
การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วข้องในบทที่ 2 ถือเปน็ จดุ เร่มิ ต้นทีส่ ำคญั ของการวิจัยและพัฒนา

97

เพราะจะทำให้ได้โปรแกรมออนไลนเ์ พื่อพฒั นาอาจารย์สกู่ ารเสริมสรา้ งทักษะการปรับตวั ของนักศึกษา
ที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาความรู้ของอาจารย์
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว มีคู่มือประกอบโครงการจำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการ
เรียนรู้เกย่ี วกับนยิ ามของทักษะการปรับตวั (2) คูม่ อื เพอื่ การเรียนรเู้ ก่ยี วกับความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ
การปรบั ตัว (6) ค่มู ือเพอื่ การเรียนรูเ้ ก่ียวกับการประเมินทักษะการปรบั ตัว และ 2) โครงการอาจารย์
นำความรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา มีคู่มือประกอบโครงการจำนวน 1 ชุด
คอื (1) คู่มอื เชิงปฏิบตั กิ ารเพอ่ื การพัฒนาทกั ษะการปรับตัวให้แกน่ ักศกึ ษา

ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการ แนวคิด
และทฤษฎีจากทัศนะของนักวิชาการหรือหนว่ ยงานท่ีจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาทกั ษะการปรับตัว
ของนักศึกษาใน 6 ประเด็น คอื

(1)นยิ ามของทักษะการปรบั ตวั ศกึ ษาจาก 9 แหลง่ คือ Esoft Skills Team (n.d.) Smith,
Sorokac & Widmaier (n.d.) Cleverism (n.d.) Prince (2012) Martin (2012) Reddy (n.d.) Half
(n.d.) Cjones Skills Weekly (n.d.) และ Oliver & Lievens (2014)

(2)ความสำคัญของทักษะการปรับตัว ศึกษาจาก 8 แหล่ง คือ Robert Half (n.d.) ERM
Academy (n.d.) Agrawal (2016) Ferguson (2011) Collie & Martin (2016) Thurlings, Evers
and Vermeulen (2015) The Conversation (2018) และ Reid (2018)

(3)ลักษณะหรอื คณุ ลักษณะที่แสดงทักษะการปรบั ตัว ศกึ ษาจาก 6 แหลง่ คอื Alessandra
(2016) Boss (2015) Keating (2018) Oscar (2014) University of Bradford (n.d.) แ ล ะ
Whitehall (2018)

(4)แนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว ศึกษาจาก 10 แหล่ง คือ Baker (2014) Ccl
(n.d.) Half (n.d.) Life Zemplified (n.d.) Oyster Connect (n.d.) Prince (2019) Quick Base
(2012) Reddy (n.d.) Williams (2017) และ Vanderbloemen (2013)

(5)ขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว ศึกษาจาก 5 แหล่ง คือ Berger & Johnston
(2015) David (2019) Indeed (n.d.) J-Pierre (2019) และ Newell (2016)

(6)การประเมินทักษะการปรับตัว ศึกษาจาก 5 แหล่ง คือ Kane (2019) Morgan (2011)
Workable (n.d.) University of Alberta (n.d.) และ Zorzie (2012)

จากทัศนะของนักวิชาการหรือหน่วยงานเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัวใน 6
ประเด็นดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยได้นำเอาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เป็นหลักการ / แนวคิด /
เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม มากำหนดเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นปัจจัยป้อนเข้า (Input) และนำเอา
ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาที่เป็นโมเดลขั้นตอน (Step Model) มากำหนดเป็นข้อเสนอแนะที่
เป็นกระบวนการ (Process) รวมทั้งนำเอาลักษณะหรือคุณลักษณะที่คาดหวังจากผลการพัฒนามา
กำหนดเป็นข้อเสนอแนะที่เป็นปัจจัยป้อนออก (Output) เพื่อแสดงให้เห็นถึงแนวคิดเชิงระบบ
(System Approach) ของข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายในเชิงวิชาการหรือทฤษฎี (Academic or
Theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของผู้วิจัย เป็น

98

ข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายที่คาดหวังว่าหลังจากโครงการพัฒนาอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองแล้ว
อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจะเลือกนำเอาทางเลือกที่แต่ละคนเห็นว่าเหมาะสม เป็นไปได้ เป็น
ประโยชน์ และสอดคล้องกับบริบทของตัวนักศึกษา กับระยะเวลา กับสถานที่ หรือกับระดับชั้นเรียน
อย่างทบทวนไปมาในข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายเหล่านี้ เพื่อเพิ่มโอกาสเลือกทางเลือกท่ี
หลากหลายมากข้ึน อยา่ งสม่ำเสมอและอย่างต่อเน่ือง ตลอดระยะเวลาของการนำความรู้ของครูสู่การ
พัฒนานักศึกษาเป็นกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย (Conceptual Framework) ในการวิจัยครั้งนี้ ดัง
แสดงในตารางท่ี 2.3

ตารางที่ 2.3 แนวคิดเชิงระบบของข้อเสนอทางเลือกที่หลากหลายในเชิงวิชาการหร
วรรณกรรมท่เี ก่ียวข้องของผวู้ จิ ยั : กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย

ขอ้ เสนอแนะท่เี ปน็ ปจั จยั ป้อนเขา้ (Input) ข้อเส
หลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธีการ / กิจกรรม / โ
ทางเลอื กทีห่ ลากหลายเพือ่ การพัฒนาทักษะการปรับตัว
Newell (
เว็บไซต์ของ Quick Base (2012) 1. มองเห
1. ฉีกกฎเดมิ ๆ (Quit Following the Rules) It. Acknow
2. คิดใหด้ หี ากจะปฏิเสธตนเอง (Think Twice about Saying No) 2. เปน็ เจา้
3. เริ่มตน้ วนั ของเราด้วยความแตกต่าง (Start Your Day Differently) Take Ow
4. เปน็ ผ้ปู รบั ตัวตัง้ แตเ่ นน่ิ ๆ (Be an Early Adopter) 3. แกไ้ ขป
เวบ็ ไซตข์ อง Vanderbloemen (2013) Develop
1. ใช้ชีวติ ให้เปน็ ไปตามธรรมชาติ (Be more Spontaneous) 4. ลงมือท
2. ทำใจให้สงบและยอมรบั การเปล่ยี นแปลงท่ีอาจเกดิ ขน้ึ อย่างไมค่ าดคิด (Be Execute t
Calm and Accepting When Unexpected Changes Happen) J-Pierre (
1. หยดุ คร
3. เรยี นรู้ท่จี ะสับเปล่ยี นตารางเวลาของตวั เองเมือ่ เกดิ การเปลี่ยนแปลง (Learn 2. ไม่มีคำ
and ‘Wro
How to Alter Your Schedule When Changes Happen) 3. ปรับปร
Mechanis
4. ให้หาคนท่ีเราชืน่ ชอบในดา้ นการมคี วามสามารถในการปรับตวั สงู และเรยี นรู้ 4. เปิดใจร
5. มีรายล
จากพวกเขา (Find Someone You Admire with High Adaptability and Alphabet
6. พดู กบั ต
Learn From Them) self-talk)

5. เปน็ อาสาสมคั รสำหรบั บทบาททตี่ ้องใช้ความยดื หยุ่นมากเป็นพเิ ศษเพื่อการ

เตบิ โตไปในทแ่ี หง่ นี้ (Volunteer in A Role That Requires Extra-Ordinary

Flexibility in order to Grow in this Area)

99
รือทฤษฎี (Academic or Theoretical Alternative Offerings) ที่ได้จากการศึกษา

สนอแนะที่เปน็ กระบวนการ (Process) ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ผลลัพธ์ (Output)
โมเดลขั้นตอนทางเลอื กที่หลากหลาย คณุ ลกั ษณะที่คาดหวัง

เพือ่ การพัฒนาทักษะการปรับตัว จากการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว

(2016) เวบ็ ไซตข์ อง University of Bradford
ห็น : จำเป็นต้องเข้าใจการเปลยี่ นแปลง (See (n.d.)
wledge change is Needed) 1. ความยดื หยุ่นดา้ นสตปิ ัญญา (Intellectual
าของ : เป็นเจ้าของสถานการณ์ (Own It. Flexibility)
wnership of the Situation) 2. ความเปิดกวา้ ง (Receptiveness)
ปัญหา : พฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร (Solve It. 3. ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creativity)
Whitehall (2018)
your Action Plan) 1. ความเต็มใจทจี่ ะพสิ จู น์ (A Willingness to
ทำ : ดำเนนิ การเปลีย่ นแปลง (Do It. Experiment)
the change)
2. ไม่กลวั ความลม้ เหลว (Unafraid of Failure)
(2019) 3. มไี หวพรบิ (Resourcefulness)
ร่ำครวญ (Stop whining) 4. ความสามารถในการมองเหน็ ภาพรวม
ำวา่ "ถกู " และ "ผดิ " (There’s no ‘Right’ (Able to See the Big Picture)
ong’) 5. การพดู คยุ กับตวั เองในเชิงบวก (Engaged
รงุ วิธีการรับมือ (Improve your coping in Positive Self-Talk)
sm) 6. ความใครร่ ู้ (Curiosity)
รับการเปลย่ี นแปลง (Be open to change) 7. อยกู่ บั ปจั จบุ ัน (Being Present)
ละเอยี ดทงั้ หมดของแผน (Have the whole
t for your Plan)
ตนเองในเชิงบวก (Engage in a Positive

ตารางที่ 2.3 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอแนะทเี่ ป็นปจั จยั ป้อนเขา้ (Input) ข้อเส
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม / โ
ทางเลอื กท่ีหลากหลายเพอ่ื การพฒั นาทักษะการปรับตัว
7. ยึดตดิ ก
Reddy (n.d.) natural In
1. รบั ฟังเพ่ือเข้าใจสถาณการณ์ (Tune in to Know The Situation) 8. คิดการ
2. ให้ลองอยใู่ นสถาณการณ์ทแ่ี ตกตา่ งกนั (Try Different Situations) 9. อยา่ โท
3. ฟังให้มากข้นึ (Listen More) yourself)
4. ฝึกความฉลาดทางอารมณ์ (Practice Emotional Intelligence) 10. เรียน
5. สำหรบั พนักงานทม่ี ีความยดื หยุ่นอยโู่ ดยธรรมชาตเิ ทา่ นั้น (Only For balance y
Naturally Flexible Employees) 11. อยา่ ห
6. สำหรับพนกั งานทมี่ ีระเบียบมาก (For Very Organized Employees) David (2
7. พจิ ารณาสถาณการณ์จากมุมมองท่ีกวา้ งกว่า (Consider The Bigger Picture) 1. สรา้ งแร
8. พิจารณามมุ มองท่หี ลากหลาย (Take Wide Variety Of Perspectives Into 2. สังเกต
Consideration) 3. ถามคำ
9. สรา้ งสมดลุ ชวี ติ (Create A Balanced Life) 4. เตรียม
10. เลิกรอคอยเวลาและสถาณการณ์ทเี่ หมาะสม (Just Stop Waiting for Right alternativ
Time and Situation) 5. ทำการ
ในเวบ็ ไซต์ของ Ccl.Com (n.d.) Transition
1. เปน็ ผใู้ ฝ่รู้ (Be Curious) 6. ใจเย็นแ
2. อย่ายดึ ตดิ กบั แผนหรือวธิ กี ารท่มี ีเพียงหน่ึงเดยี ว (Don’t get too Attached 7. เขา้ ถึงท
to A Single Plan or Strategy) 8. ต้งั เปา้ ห
3. สร้างเครอื ข่ายสนับสนนุ (Create Support Systems)

100

สนอแนะท่ีเป็นกระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะทเ่ี ป็นผลลัพธ์ (Output)
โมเดลข้ันตอนทางเลอื กที่หลากหลาย คุณลักษณะทีค่ าดหวัง

เพื่อการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั จากการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั
กับความชอบตามธรรมชาติ (Stick to your
nclinations) Boss (2015)
รใหญ่ (Think Big) 1. คนท่ีปรบั ตัวไดช้ อบพิสจู น์ (Adaptable
ทษตวั เองและคนอนื่ (Don’t blame People Experiment)
2. คนทป่ี รบั ตัวไดม้ กั เหน็ โอกาสในสถานการณ์
นรวู้ ิธีสรา้ งสมดุลให้กับชีวติ (Learn how to ที่คนอนื่ เหน็ ความลม้ เหลว (Adaptable
your Life) People See Opportunity where Others
หยดุ รอ (Stop Waiting) See Failure)
2019) 3. คนทป่ี รบั ตวั ไดเ้ ป็นผู้มไี หวพรบิ
รงจงู ใจใหม่ ๆ (Redefine your Motivation) (Adaptable People are Resourceful)
ตและเรียนรู้ (Observe and Learn) 4. คนทป่ี รบั ตัวได้คดิ การณล์ ว่ งหนา้
ำถาม (Ask Questions) (Adaptable People Think Ahead)
มทางเลอื กในการแกป้ ญั หา (Prepare 5. คนทป่ี รับตัวไดไ้ มเ่ ป็นคนครำ่ ครวญ
ve Solutions) (Adaptable People don't Whine)
รเปลยี่ นแปลงให้เป็นเรอื่ งง่าย ๆ (Make easy 6. คนที่ปรับตัวไดม้ ักพดู กับตวั เอง
ns) (Adaptable People Talk to Themselves)
และมัน่ ใจ (Stay Calm and Confident) 7. คนทป่ี รับตวั ไดไ้ ม่โทษคนอืน่ (Adaptable
ทักษะใหม่ ๆ (Acquire new Skills) People don't Blame)
หมายยอ่ ย ๆ (Set small Goals) 8. คนทปี่ รบั ตัวไดไ้ มต่ ้องการไดห้ น้า
(Adaptable People don’t Claim Fame)

ตารางท่ี 2.3 (ต่อ)

ขอ้ เสนอแนะที่เปน็ ปจั จัยปอ้ นเขา้ (Input) ขอ้ เส
หลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ กี าร / กจิ กรรม / โ
ทางเลอื กที่หลากหลายเพื่อการพฒั นาทักษะการปรับตวั
9. ค้นหาข
4. เข้าใจปฏกิ ริ ยิ าในการตอบสนองการเปลีย่ นแปลงของตนเอง (Understand 10. กลา้ ล
your own Reaction to Change) Mistakes)
5. ดมื่ ดำ่ กับสภาพแวดล้อมและสถาณการณใ์ หม่ ๆ (Immerse Yourself in new Berger &
Environments and Situations) 1. ถามคำ
Williams (2017) 2. ยอมรับ
1. เปน็ ผ้ทู ่ีเปดิ ใจ (Being Open-Minded) Perspecti
2. การขอความชว่ ยเหลอื (Asking for Help) 3. มองภา
3. การเปรยี บเทยี บขอ้ ดขี ้อเสยี (Measuring the Pros and Cons) 4. การทด
4. เปน็ ผหู้ าทางออกไดเ้ สมอ (Being Solution-Oriented) ในเว็บไซต
5. จดั ลำดับความสำคญั (Prioritizing what’s Important to You) 1. ตระหน
6. เปน็ ผูม้ คี วามยดื หยุ่น (Being Flexible) Aware of
ในเวบ็ ไซต์ของ Half (n.d.) 2. พัฒนา
1. เรยี นรจู้ ากผู้อ่นื (Learn from Others) growth M
2. มองหาสิ่งดี ๆ ในสถาณการณค์ ับขัน (Find the Silver Lining) 3. ตงั้ เป้าห
3. กล้าที่จะทำผดิ พลาด (Be willing to Make Mistakes) 4. ขอควา
4. ตงั้ คำถาม (Ask Questions) เรยี นร้ทู ่ีจะ
ในเวบ็ ไซตข์ อง Life Zemplified (n.d.)
1. ยอมรับ (Accepting) Ac
2. เรยี นรู้ (Learning)
3. มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ (Creating)

101

สนอแนะทีเ่ ปน็ กระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะท่เี ป็นผลลพั ธ์ (Output)

โมเดลขนั้ ตอนทางเลือกที่หลากหลาย คุณลกั ษณะทค่ี าดหวัง

เพอ่ื การพฒั นาทักษะการปรบั ตัว จากการพฒั นาทกั ษะการปรับตัว

ข้อดี (Find the Upside) 9. คนทปี่ รับตวั ไดม้ กั มคี วามใฝร่ ู้ (Adaptable

ลองผิดลองถกู (Be willing to Make People are Curious)

) 10. คนทป่ี รับตัวได้มกั จะปรับตัว (Adaptable

& Johnston (2015) People Adapt)

ำถามท่ีแตกตา่ ง (Ask different Questions) 11. คนทป่ี รับตัวได้มกั จะเป็นที่ยอมรับ

บมุมมองทีห่ ลากหลาย (Accept multiple (Adaptable People Stay Current)

ives) 12. คนทีป่ รบั ตวั ไดม้ กั จะมองเห็นระบบ

าพรวม (Consider the bigger Picture) (Adaptable People See Systems)

ดลองและเรยี นรู้ (Experiment and Learn) 13. คนทีป่ รับตวั ได้มักเป็นคนที่เปดิ ใจ

ต์ของ Indeed (n.d. ) (Adaptable People Open Their Minds)

นักถงึ การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม (Be 14. คนทป่ี รบั ตัวไดม้ ักรวู้ า่ ตนต้องการอะไร

f changes in your Environment) (Adaptable People Know What They

าความก้าวหนา้ ทางความคดิ (Develop a Stand for)

Mindset) Alessandra (2016)

หมายใหต้ วั เอง (Set Goals for yourself) 1. ความยดื หยุ่น (Flexibility)

ามคดิ เหน็ (Ask for Feedback) 2. วสิ ยั ทัศน์ (Vision)

ะรับรแู้ ละยอมรบั การเปล่ียนแปลง (Learn to 3. การเอาใจใส่ (Attentiveness)
cknowledge and Accept change)
4. ความสามารถเฉพาะตวั (Versatility)

5. การแกไ้ ขความผดิ พลาด (Self-Correction)

ตารางท่ี 2.3 (ตอ่ ) ข้อเส

ข้อเสนอแนะที่เปน็ ปจั จัยป้อนเขา้ (Input)
หลกั การ / แนวคิด / เทคนคิ / วธิ กี าร / กิจกรรม /
ทางเลือกท่ีหลากหลายเพอ่ื การพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัว
4. แนะนำ (Suggesting)
5. เป็นผู้เปดิ กว้าง Being Receptive)
6. เปน็ ธรรมชาติ (Being Spontaneous)
7. ลงมือทำ (Embracing)
8. เปลี่ยนแปลง (Altering)
9. อาสา (Volunteering)
Prince (2019)
1. มองหาโอกาสทจ่ี ะลองส่งิ ใหม่ ๆ เพ่อื ทำให้ตวั เองไดเ้ รยี นรู้ (Look for
opportunities to try new things that will keep you learning)
2. เปน็ ธรรมชาติของมนษุ ยท์ ี่จะตอ่ ต้านการเปลี่ยนแปลง แต่เราต้องลองสร้าง
ความสามารถในการปรับตวั และตอบสนองเชิงบวกต่อการเปลีย่ นแปลง
(Research suggests that people who are able to come up with
solutions to a problem are better able to cope with problems than
those who can’t)
3. การวิจัยแสดงใหเ้ หน็ ว่าคนที่สามารถหาวิธีแก้ปญั หาไดจ้ ะสามารถรับมือกบั
ปญั หาที่เขา้ มาไดม้ ากกวา่ (Research suggests that people who are able to
come up with solutions to a problem are better able to cope with
problems than those who can’t)

102

สนอแนะที่เป็นกระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะที่เปน็ ผลลัพธ์ (Output)
โมเดลขั้นตอนทางเลอื กท่ีหลากหลาย คณุ ลกั ษณะท่ีคาดหวงั

เพื่อการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั จากการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตัว

Oscar (2014)
1. เตรียมวธิ ีการแก้ปัญหาแบบอนื่ ๆ ไวเ้ สมอ
(Prepare alternative Solutions)
2. ยอมรับการเปล่ียนแปลงไดด้ ี (Make easy
Transitions)
3. ใจเยน็ และมคี วามมน่ั ใจ (Keep Calm
and Confident)

4. เพ่ิมทกั ษะใหม่ ๆ (Acquire New Skills)
5. มคี วามรทู้ หี่ ลากหลาย (Diversify Your
Knowledge)
Keating (2018)
1. ผนู้ ำที่ปรับตวั ไดจ้ ะมีความคดิ ที่ยืดหยุน่
(Adaptable Leaders Have Flexible Ways
of Thinking)

2. ผูน้ ำทป่ี รบั ตวั ได้จะมแี ผนการลว่ งหน้า
(Adaptable Leaders Plan Ahead)
ผ้นู ำทีม่ ีทกั ษะการปรับตัวนัน้ เป็นคนขี้สงสัย
(Adaptable Leaders Are Curious)

ตารางท่ี 2.3 (ต่อ) ข้อเส

ข้อเสนอแนะท่ีเปน็ ปจั จยั ป้อนเขา้ (Input)
หลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ ีการ / กิจกรรม /
ทางเลอื กที่หลากหลายเพอื่ การพัฒนาทักษะการปรบั ตวั
ในเว็บไซต์ของ Oyster Connect (n.d.)
1. ความยดื หยุน่ ทางปัญญา (Intellectual Flexibility)
2. มคี วามอ่อนไหว (Being Receptive)
3. มีความสรา้ งสรรค์ (Creativity)
4. มีพฤตกิ รรมการปรับตัว (Adapting Behavior)
Baker (2014)
1. ปรบั ทันทีหรอื จะรอจนจบคร่งึ แรก (Adjust As You Go Versus Waiting
Until Half-Time)
2. มองใหไ้ กลและวางแผนระยะสน้ั (Vision Long Term and Plan Short
Term)
3. รบั ความเสย่ี งและก้าวไปข้างหน้าโดยไม่ต้องมีข้อมลู ทั้งหมด (Take Some Risk
and move Forward without all The Data)
4. ลดพฤตกิ รรมไมโ่ ตต้ อบ (Minimize the Knee-Jerk Reactions)
5. ร้ตู วั ว่าเราอยูท่ ีจ่ ดุ ไหนของการเปลยี่ นแปลง (Know Where You are on The
Change Curve)
6. ใส่หน้ากากออกซเิ จนใหต้ วั เองก่อน (Put the Oxygen Mask on Yourself
First)
7. ปรบั ตัวให้สอดคล้องกับความเปล่ยี นแปลง (Get Aligned with the Change)

103

สนอแนะทเ่ี ปน็ กระบวนการ (Process) ข้อเสนอแนะทเ่ี ป็นผลลัพธ์ (Output)
โมเดลขั้นตอนทางเลือกที่หลากหลาย คุณลกั ษณะทคี่ าดหวัง

เพือ่ การพัฒนาทกั ษะการปรบั ตัว จากการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว

บทที่ 3
วิธีดำเนินการวจิ ัย

การวจิ ัยและพฒั นาโปรแกรมออนไลน์เพ่ือพฒั นาอาจารย์สกู่ ารเสริมสร้างทกั ษะการปรับตัว
ของนักศึกษา ครั้งนี้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ตาม
ทศั นะของวโิ รจน์ สารรตั นะ (2561) ทเี่ หน็ ว่า นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดยกระบวนการวจิ ัยและพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์หรือข้อมูลเชิง
ประจักษ์แสดงให้เหน็ ว่ามคี วามจำเปน็ เกิดขึ้น เชน่ เปน็ ผลสืบเน่ืองจากการกำหนดความคาดหวงั ใหม่ที่
ท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาด
ความรู้ความเขา้ ใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมหี ลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเปน็
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานำความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น ตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” หรือตามคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What
To Do, Then Encourage Them Do What They Know” ห ร ื อ “ Link To On-The-Job
Application” และด้วยแนวคิดที่ว่าการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่
สำคัญของการวิจัยและพัฒนา เพราะจะทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาเป็นโปรแกรมออนไลน์
(Online Program) ทม่ี อี งคป์ ระกอบสำคัญ คอื โครงการ (Project) และแต่ละโครงการมีองคป์ ระกอบ
ที่สำคัญคือ คู่มือเพื่อการเรียนรู้ หรือ คู่มือเพื่อการปฏบิ ัติ (Modules for learning or Modules for
Practice) ที่มลี กั ษณะเป็นแบบสำเรจ็ รปู เพื่อการศึกษาด้วยตนเอง (Self-Learning)

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการ
วิจัยของโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ที่
ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ (1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของอาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนา
ทักษะการปรับตัว มีคู่มือเพื่อการเรียนรู้ประกอบโครงการจำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ
การปรับตัว (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว (2) โครงการอาจารย์นำ
ผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา มีคู่มือเพื่อการปฏิบัติประกอบ
โครงการจำนวน 1 ชดุ คอื (1) คมู่ ือเชงิ ปฏบิ ัติการเพอื่ พฒั นานักศึกษา

โปรแกรมออนไลน์ดังกล่าว ผู้วิจัยได้สร้างเว็บไซต์ แล้วฝากลิงก์ไว้ที่เว็บไซต์ของ
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตอีสาน เพ่อื ให้ สะดวกต่อการเขา้ ถงึ คูม่ ือ คอื เวบ็ ไซต์ :

http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/Manmitr.pdf?fbclid=IwAR1HPJxfOY-ZOp_
Z5reno5E4vvrW0V_D9tA8oP4UX2gCCZ0uJjNd4_mDbu8

105

ดังนั้น วิธีดำเนินการวิจัยในบทที่ 3 จึงมีรายละเอียดขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาโปรแกรม
ออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนของ
การวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) เริ่มตั้งแต่การศึกษาวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ในลักษณะเป็น R1D1..R2D2..R3D3..RiDi มีขั้นตอนสุดท้ายเป็นการวิจัยเชิง
ทดลอง ดงั ภาพท่ี 3.1 และมีคำอธบิ ายรายละเอยี ดของแตล่ ะข้ันตอนดงั น้ี

การวจิ ัย (Research - R) การพฒั นา (Development - D)

R1 - การวจิ ัยเอกสาร (Documentary Research) D1 – พฒั นาเปน็ กรอบแนวคดิ การวิจัยและเป็นเนอ้ื หาเพื่อ
เพอื่ ศกึ ษาแนวคิดเชงิ ทฤษฎที ่เี กี่ยวข้องใบบทที่ 2 จจดั ดั ททําําเปเป็น็นคคู่มมู่ ืออื ปแรละะกแอบบบโคทรดงสกอาบรขปอรงะโกปอรบแคกูม่รมือ

R2 – การอภปิ รายกลมุ่ เปา้ หมาย (Focused Group D2 – ปรับปรุงแก้ไขในข้อบกพรอ่ งของคมู่ อื จากผลการ
Discussion) เพอ่ื ตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งของคมู่ อื และ อภปิ รายกลุ่มเป้าหมาย (Focused Group Discussion) ครงั้
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ครง้ั ท่ี 1 ที่ 1

R3 – การอภปิ รายกล่มุ เปา้ หมาย (Focused Group D3 – ปรบั ปรงุ แกไ้ ขในข้อบกพรอ่ งของคู่มือจากผลการ
Discussion) เพือ่ ตรวจสอบข้อบกพรอ่ งของค่มู ือและ อภปิ รายกลุ่มเป้าหมาย (Focused Group Discussion) ครง้ั
ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ ครง้ั ท่ี 2 ที่ 2

R4 – การทดสอบประสทิ ธภิ าพค่มู ือประกอบโครงการของ D4 – ทดสอบการบรรลุผลการทดลองใช้คมู่ ือประกอบ
โปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา โดยหลักการอบรม โครงการของโปรแกรมกบั กล่มุ เป้าหมายในการพฒั นา โดยใช้
ออนไลนด์ ว้ ยตนเอง (Online Self-Training) และจดั ใหม้ ีการ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90 และปรบั ปรงุ แก้ไขในขอ้ บกพร่องของ
ตรวจสอบข้อบกพร่องของคมู่ ือและขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ค่มู ือ รวมทัง้ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติมจากผลการตรวจสอบ

R5 - การวจิ ยั เอกสาร (Documentary Research) เพอ่ื ศึกษา D5 - สรา้ งและพัฒนาคุณภาพของแบบประเมนิ ผลสาํ เร็จจาก
ทศั นะต่อการประเมนิ ผลจากการพฒั นาเพอ่ื การสร้างแบบ การพฒั นา เปน็ แบบมาตรประมาณค่า (Rating Scale) 5
ประเมินผลสําเรจ็ จากการพฒั นา ระดับ

R6 – การวจิ ัยเชงิ ทดลองแบบมีกลมุ่ ทดลอง 1 กลมุ่ ทดสอบ D6 – ทดสอบการบรรลผุ ลการทดลองใช้คู่มอื ประกอบ
กอ่ นและหลงั (One Group Pretest-Posttest Design) เพ่ือ โครงการของโปรแกรมกับกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาท่ี
ทดสอบประสทิ ธภิ าพของคมู่ ือประกอบโครงการของโปรแกรม เกี่ยวข้อง โดยเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการทดลองโดยการ
กบั กลมุ่ เป้าหมายในการพฒั นาที่เกยี่ วข้อง และจัดให้มกี าร ทดสอบที (t-test) และปรบั ปรุงแก้ไขในขอ้ บกพร่องของคู่มือ
ตรวจสอบข้อบกพร่องของคมู่ อื และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม รวมท้ังข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ จากผลการตรวจสอบ

ภาพที่ 3.1 ข้นั ตอนของการวจิ ยั และพัฒนาในงานวิจยั

106

คำอธิบายในแตล่ ะขัน้ ตอน
3.1 ข้ันตอนท่ี 1 การจัดทำคู่มอื ประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการ
วิจัย ของโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ท่ี
ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการนั้น ผู้วิจัยได้นำกรอบแนวคิดเพื่อการวิจัยดังกล่าว มาเป็นแนวทาง
ในการจดั ทำคู่มือประกอบ ดังน้ี

3.1.1 โครงการพฒั นาเพอื่ การเรียนรู้ของอาจารยเ์ กี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว
ประกอบด้วย คู่มือเพื่อการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning Modules) เพราะงานวิจัยนี้ มีขั้นตอน
การวิจัยเชิงทดลองที่ต้องการทดสอบให้ทราบผลในความมีประสิทธิภาพของคู่มือที่จัดทำขึ้น ไม่ให้มี
อิทธิพลหรือมีการแทรกแซงหรือมีการสอดแทรกจากผู้วิจัยที่นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในคู่มือ อันจะ
ทำให้ผลจากการทดสอบความมีประสิทธิภาพของคู่มือมีความเบี่ยงเบนไป และหลังจากการพัฒนา
หากพบว่าคู่มือมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว ก็สามารถนำไปเผยแพร่ใช้กับกลุ่มประชากร
เป้าหมายในวงกว้างไดอ้ ย่างประหยัดและท่วั ถึง จำนวน 6 ชดุ คอื

(1) คู่มอื เพื่อการเรยี นรู้เกีย่ วกับนิยามของทักษะการปรับตัว
(2) คู่มือเพื่อการเรียนรเู้ กยี่ วกับความสำคญั ของทักษะการปรับตัว
(3) ค่มู ือเพอ่ื การเรยี นร้เู กย่ี วกับลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะการปรบั ตวั
(4) คู่มอื เพอื่ การเรียนรเู้ กย่ี วกับแนวการพฒั นาทกั ษะการปรับตวั
(5) คมู่ อื เพื่อการเรียนรเู้ กี่ยวกับขนั้ ตอนการพฒั นาทักษะการปรับตวั
(6) ค่มู ือเพื่อการเรยี นรูเ้ กี่ยวกับการประเมนิ ทักษะการปรับตัว
3.1.2 โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษา ประกอบด้วยคู่มือเพ่ือ
การปฏบิ ัติจำนวน 1 ชดุ คือ คู่มือเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื พัฒนาทักษะการปรับตัวของนักศึกษา
คู่มือประกอบโครงการ มีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพื่อการพัฒนาอาจารย์ด้วยวิธีการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) และนำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของความเป็นครู คือ
การพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษาในงานวิจัยนี้ เป็นคู่มือประกอบโครงการที่คำนึงถึง
จิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ (Adult Learning) ที่เห็นว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจัยนี้ คือ อาจารย์) การ
เรียนรูจ้ ะมุ่งไปที่ชีวิตประจำวนั (Life-centered) หรือเน้นที่งานหรือการแก้ปัญหา (Task-centered)
นั่นคือผู้ใหญ่จะยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรู้ของเขา หากเขาเชื่อและเห็นว่าการเรียนรู้นั้น ๆ
จะช่วยให้เขาทำงานได้ดขี ึ้นหรือช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันของเขา การจัดหลักสตู รเพือ่ การเรยี น
การสอน ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัยสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความ
เข้าใจ ทักษะซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย ( Wisdom Max Center
Company Limited, 2015) โดยมีองค์ประกอบของคู่มือดังนี้ ชื่อของคู่มือ คำแนะนำการใช้คู่มือ
วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ทีค่ าดหวังจากค่มู ือ เนอ้ื หาทนี่ ำเสนอในรปู แบบเพ่อื การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (แบ่ง
เน้ือหาเปน็ ชว่ ง ๆ แตล่ ะชว่ งมีกจิ กรรมใหท้ บทวน เชน่ การตงั้ คำถามให้ตอบ การใหร้ ะบขุ ้อสงั เกต การ
ให้ระบุคำแนะนำเพื่อการปรับปรุงแก้ไข เป็นต้น) แบบประเมินผลตนเอง และรายชื่อเอกสารอ้างอิง
สำหรับคู่มือประกอบโครงการที่สอง เน้นการสรุปแนวทางการพัฒนา ทั้งนี้กรอบแนวคิดในการจัดทำ
คูม่ ือประกอบโครงการทงั้ 2 โครงการ แสดงได้ดังภาพท่ี 3.2 ต่อไปนี้

107

ภาพที่ 3.2 กรอบแนวคดิ ในการจัดทำคู่มือเพอ่ื พัฒนาทักษะการปรบั ตัว

3.2 ข้นั ตอนท่ี 2 การตรวจสอบคุณภาพของค่มู อื และการปรับปรุงแก้ไข

ขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือทั้งสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ
การปรับตัว (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว ในโครงการพัฒนาความรู้
ของอาจารย์ผู้สอน และ (1) คูม่ อื เชงิ ปฏิบตั กิ ารเพื่อพัฒนาผู้เรยี น ในโครงการอาจารย์ผู้สอนนำความรู้
สู่การพฒั นานักศึกษา 2 ระยะดงั นี้

ระยะที่ 1 การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary
Field Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทัง้ 2 โครงการ โดยการอภิปราย
กลุม่ (Focused Group Discussion) โดย (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ท่ีสร้างข้ึนส่งคู่มือประกอบโครงการให้
กลุ่มเป้าหมาย คือ อาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร
จำนวน 10 ราย (ดรู ายชอ่ื ในภาคผนวก ก) ได้ศึกษาลว่ งหน้า 10 วัน (2) ผู้วิจยั ไปพบปะด้วยตัวเองกับ
กลุ่มเป้าหมาย (Face to Face) ในการอภิปรายกลุ่มเพื่อตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพื่อให้ได้

108

ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชนต์ ่อการปรับปรุงแก้ไขในเบ้ืองต้นก่อนนำไปตรวจสอบและปรับปรุงครั้ง
สำคัญในระยะท่ี 2

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดย
คำนึงถึงความถกู ต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะ
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ
4) อืน่ ๆ โดยใช้แบบตรวจสอบ

ระยะท่ี 2 การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field
Testing and Revision)

การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะที่ 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group
Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ (1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย คือ อาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้าน
ช้าง และวิทยาลัยเฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ จำนวน 15 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก ค) ได้ศึกษา
ลว่ งหนา้ 10 วนั (2) ผวู้ จิ ยั ไปพบปะด้วยตวั เองกับกลุ่มเปา้ หมาย (Face to Face) ในการอภปิ รายกลุ่ม
เพื่อตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขใน
เบื้องต้นก่อนนำไปใช้กับกลุ่มทดลองในภาคสนาม ซึ่งในการตรวจสอบ มีประเด็นการตรวจสอบ
เช่นเดียวกบั ระยะที่ 1 คือ 1) ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นเน้ือหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง
(Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ 2) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
ด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ 4) อื่น ๆ โดยใช้แบบ
ตรวจสอบชุดเดยี วกับชดุ ที่ใช้ในระยะท่ี 1

3.3 ข้นั ตอนท่ี 3 การสรา้ งเครือ่ งมือเพอื่ การทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดำเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการทั้ง 2 โครงการ จาก
ขนั้ ตอนที่ 2 ทำใหไ้ ด้โปรแกรมออนไลนเ์ พื่อพัฒนาอาจารยส์ ูก่ ารเสรมิ สร้างทักษะการปรบั ตัวของศึกษา
ที่มีความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ แต่อย่างไรก็ตาม ใน
ขั้นตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มทดลองนนั้ (ขัน้ ตอนที่ 4) ตอ้ งมีเครื่องมือเพื่อใช้ในการ
ประเมนิ ประสิทธภิ าพของการใช้คู่มือในโครงการท้ังสอง ดงั น้นั ผู้วจิ ยั จึงไดส้ ร้างเครื่องมือขึ้น เพ่ือใช้ใน
ข้ันตอนการทดลองในภาคสนาม ดงั น้ี

3.3.1 เครื่องมือท่ีใช้
-แบบตรวจสอบคุณภาพของคู่มือเพื่อการปรับปรุงแก้ไข 2 ช่วงเวลา คือ “หลังการ
พัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของอาจารย์” และ “หลังอาจารย์นำผลการเรียนรู้สูก่ ารพัฒนานกั ศกึ ษา” มี
ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปดิ (Open-ended Questionnaire) เพื่อใช้ในการระดมสมอง
ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง มีประเด็นการตรวจสอบเช่นเดียวกับที่ใช้ในการตรวจสอบภาคสนาม
ระยะท่ี 1 และระยะท่ี 2 ดังกลา่ วขา้ งตน้ ดงั นี้

109

แบบตรวจสอบคุณภาพของคูม่ ือเพ่อื การปรับปรงุ แกไ้ ข

ประเด็นในการตรวจสอบ ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การ
ปรับปรงุ แกไ้ ข

1) เนอื้ หาท่ีนำเสนอในคมู่ ือชดุ น้ี โดยคำนึงถงึ ความถูกต้อง (Accuracy) และ

ความเปน็ ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้

2) การใชส้ ำนวนภาษาและการเรยี บเรียงแนวคิด งา่ ยตอ่ ความเข้าใจ

3) รปู แบบการนำเสนอเน้ือหาจูงใจใหอ้ ยากอ่าน อยากทำความเข้าใจในเน้ือหา

และนำไปปฏิบตั ิ

4) อื่น ๆ

-แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ประเมินประสิทธิภาพของ

คู่มือประกอบโครงการที่ 1 หลังการพัฒนาอาจารย์ผู้สอน จำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้

เกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการ

ปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้

เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ

การปรับตัว (6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว ว่าสามารถใช้พัฒนาให้

อาจารย์ผู้สอนที่เปน็ กล่มุ ทดลองมีความรูห้ ลังการพฒั นาเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ที่กำหนด

หรือไม่ และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

หรอื ไม่

-แบบประเมินทักษะการปรับตัวของนักศึกษา มีจุดมุ่งหมายเพือ่ ใช้ประเมินประสิทธิภาพ

ของการนำความรู้สู่การปฏิบัติของอาจารย์ผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลอง ว่าสามารถนำความรู้ไปสู่การ

พฒั นาผู้เรียนให้เกิดผลการพัฒนาตามท่ีคาดหวงั หลังการพฒั นาสงู กวา่ ก่อนการพฒั นาอยา่ งมีนัยสำคัญ

ทางสถิติหรอื ไม่

3.3.2 การตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือ

เครื่องมือชุดที่ 1 คือ แบบตรวจสอบเพื่อการปรับปรุงแก้ไขคู่มือที่ใช้ในการวิจัย “หลังการ

พัฒนาอาจารย์ผู้สอน” และชุดที่ 2 คือ แบบตรวจสอบเพื่อการปรับปรุงแก้ไขคู่มือที่ใช้ในการวิจัย

“หลงั อาจารยผ์ สู้ อนนำความรู้ความเข้าใจสู่การพัฒนานักศึกษา” ไม่นำไปตรวจสอบคุณภาพ เพราะมี

ประเด็นการตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องเพื่อการปรับปรุงแก้ไขที่ชัดเจน จึงมีเครื่องมือที่จะนำไป

ตรวจสอบคณุ ภาพ 2 ชดุ ดังนี้

1) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ มีลักษณะเป็นแบบปรนัย มี 4 ตัวเลือก มี

จุดมุ่งหมายเพื่อใช้ทดสอบความรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการวิจัยในภาคสนามตาม

โครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมคี วามรู้ตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมีผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรู้

หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ โดยแบบทดสอบนี้ผู้วิจัยสร้าง

ขึ้นตามเนื้อหาของคู่มือประกอบโครงการที่ 1 ประกอบด้วย นิยาม ความสำคัญ ลักษณะ แนวการ

พัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา และการประเมินผลการพัฒนา โดยลักษณะของข้อทดสอบได้ยึดถือ

ขอบเขตด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ

สมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมใน

ขอบเขตนีอ้ อกเป็น 6 ระดับเรียงจากพฤติกรรมท่สี ลับซบั ซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทกั ษะการคิดขั้น

110

ต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจำ ( Remembering) ความเข้าใจ
(Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating)
และการสร้างสรรค์ (creating)

แบบทดสอบทีส่ ร้างขึ้นนำไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เพื่อให้ได้
เครื่องมือวัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัดหรือตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด (Polit & Beck, 2012)
ตามทศั นะของ Chaichanawirote and Vantum (2017) ทำไดโ้ ดยการพิจารณาความสอดคลอ้ งของ
ข้อคำถามกบั นิยามเชิงปฏิบัติการและทฤษฎีของสิ่งทต่ี ้องการวัด โดยผู้วจิ ยั นำเครอื่ งมือวิจัยที่ร่างไว้ให้
ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ต้องการวัด จำนวน 3-5 คน พิจารณาว่าข้อคำถามมีความ
สอดคล้องกับนิยามเชิงปฏิบัติการหรือไม่และให้คะแนนตามวิธีการคำนวณค่าความตรงซึ่งมีหลายวิธี
เช่น ดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ดชั นีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content Validity Index) ดชั นคี วามตรงตามเนื้อหา
ทั้งฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale) และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง
(ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคล้องของข้อ
คำถามกับวัตถุประสงค์ (IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ซึ่งจากการศึกษา พบว่า
พัฒนาขึ้นโดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อ
คำถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Turner and Carlson (2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหา
ค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามและวัตถุประสงค์ที่ปรับแก้ (The adjusted Index of Item-
Objective Congruence) ข้ึน เปน็ การหาความสอดคล้องของ 1 ข้อคำถามกับชุดของวตั ถุประสงค์

ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับ
วัตถุประสงค์ตามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อคำถามในแบบประเมินที่ใช้ใน
งานวิจัยนี้ มุ่งการวดั ทกั ษะการคิดขั้นต่ำกวา่ ไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่าในลักษณะ 1 ข้อคำถาม ต่อ
1 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คือ วัตถุประสงค์เกี่ยวกับความจำ (Remembering) ความเข้าใจ
(Understanding) การประยุกตใ์ ช้ (Applying) การวเิ คราะห์ (Analyzing) การประเมนิ (Evaluating)
และการสร้างสรรค์ (creating) ในสิ่งที่ต้องการวัด คือ นิยาม ความสำคัญ ลักษณะ แนวการพัฒนา
ขน้ั ตอนการพฒั นา และการประเมนิ ผลการพฒั นา

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความ
เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและประเมินผลการศึกษา จำนวน 5 ราย
(ดรู ายช่ือในภาคผนวก จ) โดยให้ทำเคร่ืองหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง
ข้อคำถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มี
ความสอดคลอ้ ง ผลทไ่ี ดร้ บั จากการตรวจสอบของผ้เู ชี่ยวชาญ นำมาวเิ คราะหห์ าค่า IOC จากสตู ร

R

IOC = N
เมือ่ IOC แทนดชั นีความสอดคลอ้ ง
R แทนผลรวมของคะแนนความคิดเห็นจากผเู้ ช่ียวชาญ
N แทนจำนวนผเู้ ชยี่ วชาญ
โดยที่ +1 แน่ใจวา่ สอดคล้อง

111

0 ไมแ่ นใ่ จวา่ สอดคล้อง
-1 แนใ่ จวา่ ไมส่ อดคล้อง
โดยกำหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคำถามนั้นมี
ความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)
หลังจากนั้น จะนำไปทดลองใช้ (Try-out) กับอาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด และวิทยาเขตล้านนา รวมจำนวน 30 ราย ผลการทดลองใช้แบบทดสอบ
ดงั กล่าว นำมาวเิ คราะห์หาคา่ สถติ เิ พื่อตรวจสอบคณุ ภาพของข้อสอบรายข้อและของแบบทดสอบดังนี้
1) คุณภาพของข้อสอบรายข้อ ใช้เกณฑ์ค่าความยากง่าย (Difficulty) ใช้สัญลักษณ์ (p)
และคา่ อำนาจจำแนก (Discrimination) ใช้สญั ลักษณ์ ( r ) พิจารณาร่วมกนั ดงั น้ี
-ระดับความยากง่าย (p) หมายถึง สัดส่วนของจำนวนผู้ที่ตอบข้อสอบได้ถูกต้องต่อจำนวน
ผู้ที่ตอบข้อสอบทั้งหมด หรือหมายถึงจำนวนร้อยละของผู้ตอบข้อสอบนั้น ๆ ถูก เช่น ค่า p
= 0.30 แสดงว่าจำนวนผู้ตอบ 100 คน มีผู้ที่ตอบข้อนั้น ๆ ถูก 30 คน ค่าความยากง่ายจะมีค่า
ระหว่าง 0 ถึง 1.00 ใช้สตู รดังนี้ คือ ความยากง่าย (p) = จำนวนผตู้ อบถูก (n) / จำนวนผ้เู ขา้ สอบ (N))
ในการพิจารณาค่าความยากง่ายน้ัน ถ้าข้อสอบมีค่าความยากง่ายสูง เช่น p = 0.95 แสดง
ว่า มีผู้ตอบถูกจำนวนมาก จึงถือว่าเป็นข้อสอบที่ง่าย แต่ในทางกลับกัน ถ้าข้อสอบมีผู้ตอบถูกน้อย
เช่น p = 0.15 แสดงว่า เป็นข้อสอบที่ยาก ข้อสอบที่ดีจะมีระดับความยากง่าย เท่ากับ 0.5 ซึ่งจะทำ
ให้เกิดค่าอำนาจการจำแนกสูงสุดและมีความเท่ียงสงู อย่างไรก็ตามในการสอบวัดความรูผ้ ลการเรยี น
โดยทั่วไป มักนิยมให้มีข้อสอบที่มีระดับความยากง่ายในระดับต่าง ๆ ปะปนกันไป โดยจัดให้มีข้อสอบ
มีค่าความยากง่ายพอเหมาะ ( p มีค่าใกล้เคียง 0.5 ) เป็นส่วนใหญ่ รวมทั้งให้มีข้อสอบที่คอ่ นข้างยาก
และคอ่ นขา้ งง่ายอีกจำนวนหนึ่ง แตถ่ า้ เปน็ การสอบแขง่ ขันเพื่อคัดเลือกผู้ที่มีความรู้ความสามารถควร
มีสัดส่วนของข้อสอบที่ยากสูงขึ้น ทั้งนี้ ข้อสอบที่ดีควรมีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20-0.80 ใน
ข้อสอบประเภท 4 ตัวเลือก ส่วนข้อสอบประเภทถูก-ผิด ค่าความยากง่าย ควรอยู่
ระหว่าง 0.60 - 0.95 โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบรายข้อ ดังตารางท่ี
3.1 (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543 และ เยาวดี รางชัยกุล วบิ ูลย์ศรี, 2552)

ตารางท่ี 3.1 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ ความยากง่าย ( p ) ของข้อสอบ

คา่ ความยากง่าย ( p ) แปลความ การพจิ ารณา

0.00 - 0.19 ยากมาก ควรปรบั ปรุงหรือตัดท้ิง
0.20 - 0.39 คอ่ นขา้ งยาก พอใชไ้ ด้
0.40 - 0.60 ยากงา่ ยปานกลาง ใชไ้ ด้
0.61 - 0.80 คอ่ นข้างง่าย พอใชไ้ ด้
0.81 - 1.00 ง่ายมาก ควรปรบั ปรงุ หรือตัดท้ิง

-อำนาจจำแนก ( r ) หมายถึง ความสามารถของข้อสอบในการจำแนกหรือแยกให้เห็น
ความแตกต่างระหว่างผู้สอบที่มีผลสัมฤทธิ์ต่างกัน เพื่อที่จะใช้พยากรณ์หรือบ่งชี้ความแตกต่างท่ี
เห็นชัดในด้านความสามารถ เช่น จำแนกคนเก่งกับคนอ่อนจากกันได้ โดยถือว่าคนเก่งควรทำข้อสอบ

112

ข้อนั้นได้ ส่วนผู้ที่อ่อนไม่ควรทำข้อสอบข้อนั้นได้ อำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ จะมีค่าตั้งแต่
- 1 ถึง + 1 คา่ อำนาจจำแนกทดี่ ี ควรมคี า่ ตงั้ แต่ 0.2 ขน้ึ ไป กรณที ่คี ่าอำนาจจำแนก ( r ) ตดิ ลบ แสดง
วา่ ข้อสอบขอ้ นั้นจำแนกกลับ คนเก่งทำไมไ่ ด้ แต่คนออ่ นทำได้ ถอื วา่ เป็นขอ้ สอบท่ีไม่ดคี วรตดั ท้ิง (นภา
พร สิงหทตั , ม.ป.ป.) มีสตู รในการคำนวณ ดังนี้

r = RH – RL
N/2
r = คา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบข้อหน่งึ ๆ
RH = จำนวนผตู้ อบในกล่มุ สงู (เก่ง) ทต่ี อบขอ้ น้นั
RL = จำนวนผตู้ อบในกลมุ่ ต่ำ (อ่อน) ทต่ี อบข้อน้ันถูก
N = จำนวนผ้ตู อบทงั้ หมดในกลุม่ สงู และกลุ่มต่ำ
มเี กณฑ์การการพิจารณาค่าอำนาจจำแนก ( r ) ของขอ้ สอบรายข้อดงั ตาราง 3.2

ตารางท่ี 3.2 เกณฑก์ ารพิจารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ

อำนาจจำแนก ( r ) การพิจารณา
0.60-1.00 อำนาจจำแนกดมี าก
0.40-0.59 อำนาจจำแนกดี
0.20-0.39 อำนาจจำแนกพอใช้
0.10-0.19 อำนาจจำแนกตำ่ (ควรปรบั ปรุงหรอื ตดั ท้งิ )
-1.00-0.09 อำนาจจำแนกต่ำมาก (ควรปรับปรุงหรือตดั ท้ิง)

2) คุณภาพของแบบทดสอบ พิจารณาจากเกณฑ์ความเชื่อมั่นและความยากง่ายของ

แบบทดสอบดังน้ี

-ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (Reliability) หมายถึง ความคงที่ในการวัด กล่าวคือ ไม่
ว่าจะวัดกีค่ ร้ัง ๆ ก็ตามจะได้ผลคงที่เสมอ อุปมาเหมือนตาช่ังที่สามารถบอกน้ำหนักของวตั ถุก้อนหนึง่

เท่าเดิม ไม่ว่าจะเอาวตั ถุก้อนนั้นมาชัง่ กี่คร้ังก็ตาม ตาชั่งนั้นกจ็ ะมีความเชือ่ มั่นสูง โดยค่าความเชื่อมัน่

ของแบบทดสอบใด ๆ มีค่าอยู่ระหวา่ ง .00 ถึง 1.00 ยิ่งมีค่าใกล้ 1.00 เท่าใดก็ยิง่ มคี วามเช่ือม่ันสงู ข้ึน
เท่านั้น ในงานวิจัยนี้ ใช้วิธีของ Kuder-Richardson เนื่องจากแบบทดสอบที่ใช้มกี ารใหค้ ะแนนแต่ละ

ข้อเปน็ แบบ 0, 1 คอื ตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบผดิ ให้ 0 คะแนน โดยอาศัยการวัดหรือการสอบเพียง

ครง้ั เดยี ว วธิ กี ารคำนวณมสี องแบบ (Hopkins & Stanley, 1983; Aiken, 1985)
(1) ใชส้ ูตร KR-20 ในกรณีมกี ารวเิ คราะห์หาค่าความยากรายข้อไวแ้ ลว้ ดงั น้ี
rtt = [k/(k-1)] [1 - (ผลรวม pq)/S2]
เมือ่ k คือ จำนวนข้อ
p คอื ค่าความยากของแต่ละขอ้

q=1-p
S2 คอื ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับที่ได้จากการทดสอบ

113

(2) ใช้สูตร KR-21 ในกรณีที่ข้อสอบทุกข้อมีค่าความยาก (Item Difficulty) เท่า ๆ กัน
หรือใช้คะแนนเฉลย่ี ของแบบทดสอบ ดังน้ี

rtt = [ k/(k-1)] [ 1 - MX (k - MX)/kS2]
เมื่อ MX คอื คะแนนเฉล่ยี รวมทง้ั ฉบบั และสัญลักษณ์อ่ืนเหมอื น KR - 20
ในงานวิจัยนี้ เนื่องจากมีการวิเคราะห์หาค่าความยากรายข้อ จึงใช้สูตร KR-20 เพื่อหาค่า
ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ซึ่งมีเกณฑ์การแปลผลความเชื่อมั่น ดังนี้ 0.00-0.20 มีความเชื่อมั่นต่ำ
มาก/ไม่มีเลย 0.21-0.40 มีความเชื่อมั่นต่ำ 0.41-0.70 มีความเชื่อมั่นปานกลาง และ 0.71-1.00 มี
ความเชื่อมั่นสูง (Naiyatip Teerapuk, n.d.) แต่อย่างไรก็ตาม ในการพิจารณาคุณภาพของ
แบบทดสอบที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้เกณฑ์ตามที่ UCLA: Statistical Consulting Group (2016)
กำหนด คือ หากแบบทดสอบมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่มี
ความเช่ือม่นั สูง
-ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมดเป็นเกณฑ์ หาก
คะแนนเฉลย่ี อย่รู ะหว่างร้อยละ 30-50 ของคะแนนเตม็ ถือว่าเปน็ แบบทดสอบท่ีมีความยากเหมาะสม
หากคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่า 30 เท่าใด ถือว่าเป็นแบบทดสอบที่ยากขึ้นเท่านั้น และหากคะแนนเฉลี่ยสูง
กว่า 50 เท่าใด ถือวา่ เปน็ แบบทดสอบทง่ี า่ ยข้ึนเทา่ นั้น
การประเมินตามแนวคดิ เกณฑม์ าตรฐาน 90/90
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ ที่ได้รับการพัฒนาจนมีคุณภาพตามเกณฑ์ใน
ประเด็นต่าง ๆ ดังกล่าว จะถูกนำไปใช้ทดสอบผลการเรียนรู้หลังจากการดำเนินงานในโครงการที่ 1
วา่ บรรลุผลตามเกณฑม์ าตรฐาน 90/90 หรอื ไม่
การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของ
บทเรยี นสำเร็จรปู หรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed Materials หรือ Programmed Textbook
หรือ Programmed Lesson) ซง่ึ เป็นส่ือที่มีเปา้ หมายหลักเพ่ือให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสำคัญ
หลักจิตวิทยาสำคัญที่เป็นฐานคิดความเชื่อของสื่อชนิดนี้คือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ ( Mastery
Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพียงพอจัดวิธีการเรียนที่
เหมาะสมกับผู้เรยี นกส็ ามารถที่จะทำใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรียนร้ไู ด้ตามวตั ถุประสงค์ของการเรยี นได้
โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจัยนี้ หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้วัด
ความมีประสิทธิภาพของคู่มือต่อการเสริมสร้างความรู้ในโครงการพัฒนาความรู้ให้กับอาจารย์สอนท่ี
เป็นกลุ่มทดลอง โดย 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทั้งกลุ่มที่ได้จากการวัด
ด้วยแบบทดสอบวดั ความรอบร้หู ลังจากเรียนจากบทเรยี นทส่ี รา้ งข้นึ จบลง 90 ตวั หลัง หมายถงึ รอ้ ยละ
ของจำนวนผู้เรยี นที่สามารถทำแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรียนจากบทเรียนที่สร้างข้ึนจบลง)
โดยสามารถทำแบบทดสอบไดผ้ ่านตามเกณฑว์ ตั ถปุ ระสงค์ทุกวตั ถุประสงค์ (มนตรี แยม้ กสกิ ร, 2551)
ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตามทัศนะ
ของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นำเสนอ
แนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นัน่ คือ 90 ตัวแรก เป็นคะแนนเฉล่ียของท้ัง
กลุ่ม ซึ่งหมายถึงทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นำคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่ม

114

จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนทั้งหมด ได้รับ
ผลสมั ฤทธต์ิ ามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรยี นโปรแกรมน้ัน (เปร่อื ง กมุ ุท, 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสิกร, 2551)

ตามทศั นะของ มนตรี แยม้ กสกิ ร (2551) สูตรทีใ่ ช้ในการคำนวณ 90 ตวั แรก = {(Σ X /N)

X 100)}/R โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน Σ X
หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการทดสอบหลังเรียน N
หมายถึง จำนวนผู้เรียนทั้งหมดที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการคำนวณประสิทธิภาพครั้งนี้ R หมายถึง
จำนวนคะแนนเต็ม ของแบบทดสอบหลังเรียน สูตรที่ใช้ในการคำนวณ 90 ตัวหลัง = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ Y
หมายถึง จำนวนผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ N หมายถึง จำนวนผู้เรียน
ทั้งหมดทใ่ี ช้เป็นกลุ่มตวั อยา่ งในการคำนวณประสิทธภิ าพคร้งั น้ี

1) แบบประเมินทักษะการปรับตัวของนกั ศึกษา มีลกั ษณะเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณ
ค่า (rating scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากผล
การศกึ ษาคุณลักษณะของบุคคลท่มี ีทักษะการปรับตวั จากทัศนะของ University of Bradford (n.d.),
Whitehall (2018), Boss (2015), Oscar (2014), Keating (2018) และ Alessandra (2016) และ
จากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะการปรับตัวจากทัศนะของ Kane (2019), Morgan
(2011), Workable (n.d.), University of Alberta (n.d.), และ Zorzie (2012) เป็นแบบประเมิน
ออนไลนด์ ว้ ย Google Form ไดก้ ำหนดใหม้ กี ารดำเนินการเพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพ ดงั น้ี

2.1 การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยดัชนีความ
สอดคลอ้ งของข้อคำถามกับวตั ถปุ ระสงค์ (Index of Item - Objective Congruence: IOC) เปน็ การ
ประเมินความสอดคล้องตามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton เพราะแบบประเมินทักษะการ
ปรับตัวของนักศึกษาที่ใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการหาความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การ
พัฒนาทักษะการปรับตัว ในแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการเรียนรู้ มีข้อคำถาม 6 ข้อ 2) ด้านการรับรู้
ตนเอง มีข้อคำถาม 6 ขอ้ 3) ด้านทศั นคติ มีข้อคำถาม 6 ข้อ 4) ด้านความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล มีข้อ
คำถาม 6 ข้อ 5) ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ มีข้อคำถาม 6 ข้อ และ6) ด้านความรู้เกี่ยวกับ
ความสามารถพิเศษ มีข้อคำถาม 6 ข้อ รวมทั้งฉบับมีข้อคำถาม 36 ข้อ ทั้งน้ีวัตถุประสงค์การพัฒนา
ทักษะการปรับตัว มีนิยามศัพท์เฉพาะที่เป็นผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องที่แสดงให้เห็นถงึ
วัตถปุ ระสงคใ์ นการพัฒนาทักษะการปรับตัว โดยภาพรวมและรายด้าน ดงั น้ี

-ด้านการเรียนรู้ หมายถึง การบอกกับตัวเองว่าต้องเป็นผู้เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ สนุกกับ
การเรียนรูแ้ นวทางใหมจ่ ากกิจกรรมของมหาวทิ ยาลัย มักจะเรียนรู้ข้อมลู และทักษะใหม่ ๆ เพื่อนำหน้า
เพื่อนร่วมชั้น กำลังเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ในมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมพร้อมทำงานใน
อนาคต สามารถจินตนาการสิ่งใหม่ ๆ จากความคิดเดิม ๆ ได้อย่างรวดรวดเร็ว และอ่านตำราเรียน
ลว่ งหน้าก่อนเรียนในชัน้

-ดา้ นการรบั รู้ตนเอง หมายถึง การมีความภาคภมู ใิ จในตนเองและรู้สกึ ดีกบั ตัวเอง รู้ว่าอะไร
สำคัญสำหรับตัวเองและใช้ความรู้ประกอบการตัดสินใจ มีวิสัยทัศน์ที่มีความหมายและมีจุดมุ่งหมาย
สำหรับชีวิตของตน เข้าใจว่าชีวิตจะมีการเปลี่ยนแปลงและไม่เป็นไปตามที่ฉันต้องการ เมื่อสูญเสีย

115

ความมั่นใจชั่วคราว ฉันรู้ว่าฉันต้องทำอย่างไรเพื่อฟื้นฟูความมั่นใจ และสามารถแยกแยะและบอกให้
ทราบถงึ จดุ อ่อนของตนและแนวทางท่ีฉันทำงานกับคนรอบข้าง

-ด้านทัศนคติ หมายถึง การดำเนินชีวิตในแง่ดี เชื่อว่าตนเองมีทางเลือกและตัวเลือกเสมอ
แม้ในสถานการณ์ทยี่ ากลำบาก มอี ารมณข์ ัน และสามารถหาส่งิ ทจ่ี ะทำให้หวั เราะแม้ในเวลาท่ีมีปัญหา
เข้าใจว่าประสบการณ์ใหม่ ๆ จะทำเติบโตและสนุกกับการเรียนรู้ ไม่เสียเวลากังวลกับสิ่งที่อยู่
นอกเหนือการควบคุมของตน และความลม้ เหลวให้โอกาสฉันในการสร้างสรรคน์ วัตกรรม

-ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล หมายถึง การเปิดใจกว้างในการติดต่อกับผู้อื่น เชื่อว่า
การมีความยืดหยุ่นในการติดต่อกับผู้อื่นเป็นสิ่งสำคัญ สามารถอ่านใจคนอื่นและเข้าใจว่าเขารู้สึก
อย่างไรตลอดเวลา ใชค้ วามเข้าใจผู้อ่ืนในการมปี ฏสิ ัมพันธ์ ปรับพฤติกรรมของตนให้เข้ากับคนอื่น และ
ยอมรับสมาชิกใหมแ่ ละรูปแบบการทำงานของทีมเสมอ

-ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ หมายถึง การเรียนรู้วิธีการใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหา
อย่างรวดเร็ว มีทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหา สามารถจัดระเบียบสภาพแวดล้อมและ
จัดลำดับความสำคัญของงานแม้ในเวลาที่เครียด สามารถเรียนรู้กลยุทธ์ส่วนตัวเพื่อรับมือกับความ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากความไม่แน่นอนในการดำเนินชีวิต เมื่อประสบความเครียดในด้านใดด้านหน่ึง
ของชีวติ ฉันสามารถควบคุมอารมณ์กับเรือ่ งนนั้ ๆ ได้ และสามารถคน้ หาและระดมทรัพยากรที่จำเป็น
ในภาวะวิกฤตหรือสถานการณ์ใหม่ ๆ

-ด้านความรูเ้ ก่ยี วกบั ความสามารถพิเศษ การสามารถพูดได้อย่างชัดเจนถึงพรสวรรค์และ
ความสามารถพิเศษของตน ทักษะที่จำเป็นสำหรับอาชีพของตนในอนาคต รู้ว่าคนอื่น ๆ ใน
มหาวิทยาลัยคาดหวังอะไรจากฉัน รู้ว่าทักษะของตนเป็นอย่างไร รู้ว่าพฤติกรรมและทัศนคติใด
เหมาะสมในมหาวิทยาลยั และไมเ่ คยหยุดอยู่กบั ความสำเรจ็ และค้นหาความทา้ ทายตอ่ ไปในเชิงรุก

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะการ
ปรับตัว ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและ
ประเมนิ ผล จำนวน 5 ราย (ดรู ายชอ่ื ในภาคผนวก ญ) โดยใหท้ ำเครื่องหมาย  ลงในชอ่ ง +1 หรือ 0
หรือ -1 โดย + 1 หมายถงึ ขอ้ คำถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -
1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นำมา
วิเคราะห์หาค่า IOC จากสตู รดงั กล่าว โดยกำหนดเกณฑค์ ่า IOC ทร่ี ะดบั เทา่ กับหรือมากกวา่ 0.50 จึง
จะถือว่าขอ้ คำถามนัน้ มคี วามสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017)

2.2 การทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมินคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักศึกษา มี
จุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม เป็นการหาความสอดคล้อง
ภายในเพือ่ อธบิ ายว่าข้อคำถามแต่ละข้อในข้อคำถามชดุ หนึ่งนั้นเป็นเรื่องเดียวกันหรือทิศทางเดยี วกัน

ในกรณีที่ข้อคำถามเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า นิยมใช้สัมประสิทธ์ิแอลฟา (∝- Coefficient)
เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม หรืออาจหาความเชื่อมั่นด้วยการสอบซ้ำก็ได้ถ้าต้องการ
แสดงว่าใช้วัดกี่ครั้งก็ให้ผลคงที่ แต่ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ
ความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient of Reliability) โดยใช้วิธีของครอนบาค (Cronbach’s Method)
โดยกำหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นที่ยอมรับได้ คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70
(UCLA: Statistical Consulting Group, 2016) โดยนำแบบประเมินคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับ

116

นักศึกษาที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอด็
และวิทยาเขตลา้ นนา รวมจำนวน 30 ราย

3.4 ข้นั ตอนท่ี 4 การทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผวู้ จิ ัยใชแ้ บบแผนการวิจัยข้ันพื้นฐาน (Pre Experimental
Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา (One Group Pretest-
Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการทดลอง คืออาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย จำนวน 5 คน สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 5 คน และ
สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา จำนวน 5 คน รวม 15 คน เป็นกลุ่มทดลอง (Experimental Group)
มีนกั ศึกษาทเ่ี ปน็ เป้าหมายในการพัฒนาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชาการสอนภาษาไทย จำนวน 90 คน
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ จำนวน 171 คน และสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา จำนวน 63 คน
รวม 324 คน ระยะเวลาดำเนินการทดลองในภาคสนาม คือ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดย
แบง่ ระยะของการทดลองออกเป็น 2 ระยะ ดงั นี้

ระยะที่ 1 การทดลองตามโครงการที่ 1 : โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของอาจารย์
เป็นระยะของ “การพัฒนาตนเองของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองตามโครงการที่ 1” โดยการเรียนรู้
ด้วยตนเอง (Self-Learning) จำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะการ
ปรับตัว (2) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะ
การปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว (6) คู่มือเพื่อการ
เรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว ดำเนินการโดยการแนะนำคู่มือทั้ง 6 ชุด ที่ได้อัปโหลด
ลงเว็บไซตเ์ รียบร้อยแล้ว มีข้ันตอนการดำเนนิ การดงั น้ี

ตารางที่ 3.3 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของอาจารย์

กจิ กรรม ระยะเวลา

1. เตรียมการ และทดสอบผลการเรยี นรขู้ องอาจารย์ก่อนการพฒั นา (Pre test) 1-2 วนั

พบปะเพ่ือช้ีแจงการดำเนนิ งานวิจยั ในระยะท่ี 1 ให้กับอาจารย์ท่เี ปน็ กลมุ่ ทดลอง และ

ทำการทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารยโ์ ดยใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ ถือเป็นการ

ทดสอบก่อนการพฒั นา (Pre test)

2. พัฒนาอาจารย์โดยหลกั การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Self-Learning) ใชค้ ู่มือ 1 เดอื น

ประกอบโครงการทพ่ี ัฒนาขนึ้ โดยเข้าไปดาวนโ์ หลดได้ท่ีเว็บไซตข์ องมหาวทิ ยาลยั ให้

การเรียนรู้เปน็ ไปโดยปราศจากการแทรกแซงจากผู้วิจัยหรอื บคุ คลอ่นื

117

ตารางท่ี 3.3 (ต่อ)

กจิ กรรม ระยะเวลา

3. อาจารย์สอนตรวจสอบเพอื่ หาข้อบกพรอ่ งของค่มู ือ และ ทดสอบอาจารย์หลงั 1-2 วัน

การพฒั นา (Post test)

-อาจารย์สอนท่เี ป็นกลมุ่ ทดลองรว่ มกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพ่ือให้

ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงแกไ้ ขคมู่ ือในโครงการท้ัง 2 โครงการ

-ใช้แบบทดสอบผลการเรยี นรู้กับอาจารย์ทีเ่ ป็นกล่มุ ทดลอง เพือ่ ให้ทราบผลการ

เรียนรู้ว่าเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และเพอ่ื เปรียบเทยี บผลการ

เรียนรู้ของอาจารยห์ ลังการพัฒนาสงู กวา่ กอ่ นการพฒั นาอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิ

หรอื ไม่ ถอื เปน็ การทดสอบหลังการพฒั นา (Post test)

4. เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนร้ขู องอาจารย์หลงั การพฒั นากบั เกณฑ์ 1-2 วัน

มาตรฐาน 90/90 และเปรียบเทียบผลการเรยี นร้กู อ่ นและหลังการพัฒนา

วิเคราะห์คะแนนจากการทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารย์ โดยเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์

มาตรฐาน 90/90 และวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บผลการเรยี นรู้ของอาจารย์หลังการพฒั นา

สงู กวา่ กอ่ นการพัฒนาอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติ โดยใช้ค่าสถติ ทิ ดสอบที (t-test) เพ่ือ

ทดสอบสมมติฐานการวจิ ยั วา่ คู่มือประกอบโครงการมปี ระสิทธิภาพหรือไม่

ระยะท่ี 2 การทดลองตามโครงการท่ี 2 : โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นักศึกษา เป็นระยะของการ “นำผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองตาม
โครงการที่ 2” โดยในการปฏิบตั ิน้ัน เป็นการกำหนดให้อาจารยท์ ี่เป็นกลุ่มทดลองรว่ มกันนำความรู้ที่
ได้จากการพัฒนาตนเองจากคู่มือตามโครงการที่ 1 ไปใช้พัฒนานักศึกษาให้เกิดผลการพัฒนาตามท่ี
คาดหวงั มขี นั้ ตอนการดำเนนิ งานดงั นี้

ตารางที่ 3.4 แสดงกจิ กรรมและระยะเวลาในโครงการอาจารย์นำผลการเรียนรสู้ ่กู ารพัฒนานักศกึ ษา

กจิ กรรม ระยะเวลา
1-2 วัน
1. เตรียมการ และ ประเมินทกั ษะการปรับตวั ของนกั ศึกษาก่อนการพฒั นา (Pre-
Test)

-ชแ้ี จงการดำเนนิ งานวิจยั ในระยะที่ 2 ให้กบั อาจารยท์ ่ีเป็นกลุ่มทดลอง
-ใช้แบบประเมินทกั ษะการปรับตัวกบั นกั ศึกษาท่ีเป็นกลมุ่ เป้าหมายในการพัฒนา
โดยใชแ้ บบประเมนิ ทผี่ ู้วจิ ยั สร้างข้ึน ถือเปน็ การทดสอบก่อนการพัฒนา (Pre-Test)

118

ตารางที่ 3.4 (ต่อ)

กิจกรรม ระยะเวลา

2. อาจารย์ทีเ่ ปน็ กลุ่มทดลองนำผลการเรียนรูส้ ่กู ารพัฒนานักศึกษา โดย 2 เดอื น

ดำเนนิ การตามคำชีแ้ จงในค่มู ือเชิงปฏบิ ตั ิการในโครงการที่ 2 ใหก้ ารปฏบิ ัติเปน็ ไปโดย

ปราศจากการแทรกแซงจากผู้วิจยั หรือบุคคลอ่ืน

3. อาจารยท์ เ่ี ป็นกลุม่ ทดลองตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องของคู่มอื และ ประเมิน 1-2 วนั

ทกั ษะการปรับตัวของนกั ศึกษาหลังการพัฒนา (Post-Test)

-อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อการปรับปรุงแก้ไข

คูม่ อื ในโครงการที่ 2

-ใช้แบบประเมินทักษะการปรับตัวกับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา

ถือเป็นการทดสอบหลังการพฒั นา (Post-Test)

เปรยี บเทยี บผลการประเมินทักษะการปรับตวั ของนักศกึ ษากอ่ นและหลังการ 1-2 วัน

พฒั นา วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บคะแนนจากการประเมนิ ทักษะการปรบั ตัวของผูเ้ รียนที่

ทำการประเมนิ ก่อนและหลังการพัฒนาในระยะที่ 2 โดยใช้ค่าสถิติทดสอบที (t-test)

เพอื่ ประเมินวา่ ผลการดำเนินการระยะท่ี 2 ไดส้ ่งผลให้นกั ศึกษามีทักษะที่คาดหวงั หลงั

การพฒั นาสงู กวา่ ก่อนการพัฒนาอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติหรอื ไม่

การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของอาจารย์ตามโครงการที่ 1 และผล
การประเมนิ ผลการพฒั นานักศึกษาตามโครงการที่ 2

ใช้การทดสอบที (t-test) ซึ่งเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิดหนึ่งที่นักวิจัยนิยมใช้
การทดสอบ โดยวธิ ีการนี้ใชใ้ นกรณขี อ้ มลู มีจำนวนน้อย (n < 30) ผ้ทู ่ีคน้ พบการแจกแจงของ t มีชอื่ ว่า
W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มนั้น จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิติที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่าง
กลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน ข้อมูลที่รวบรวมได้อยู่ในระดับอันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้
สถิติการทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t-test for Independent Samples 2) การใช้ t-test แบบไม่
เปน็ อิสระจากกนั (Dependent) เป็นสถติ ทิ ีใ่ ชเ้ ปรียบเทยี บค่าเฉลี่ยระหวา่ งกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีไม่
เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t-test for
Dependent Samples ซึ่งมกั พบในการวิจัยเชงิ ทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหวา่ งก่อนทดลอง
กับหลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมที่ไดจ้ ากการจบั คูค่ ุณลกั ษณะ
ท่เี ท่าเทียมกัน (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวจิ ยั น้ี ใช้ t-test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เนื่องจากเป็นการวิจัยเชิง
ทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น ดังนี้
1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตัวอย่างเปน็ กลุม่ ตัวอย่างแบบสุม่ ไดจ้ ากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่

119

ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี,
ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดิเรก ศรีสโุ ข, 2551) มีสตู รในการคำนวณ ดงั น้ี

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถึง ผลรวมของความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนก่อนและหลงั การพัฒนา
∑D2 หมายถงึ ผลรวมความแตกต่างของคะแนนก่อนและหลงั การพัฒนายกกำลังสอง
N หมายถึง จำนวนกลมุ่ ทดลองที่ไดร้ บั การพฒั นาท้ังหมด

3.5 ข้ันตอนที่ 5 การเขียนรายงานผลการวิจยั และการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย

เขียนและนำเสนอรายงานผลการวิจัยในรูปแบบอิงแนวคิดเชิงวิพากษ์ ( Critical
Approach) แสดงหลักฐานประกอบทั้งข้อมูล สถิติ และเอกสาร ที่ผู้ร่วมโปรแกรมและผู้เกี่ยวข้องได้
รว่ มกนั ปฏบิ ัติ ใช้วธิ กี ารสกัดความรู้และประสบการณจ์ ากการสะท้อนผล พร้อมทงั้ บันทึกรายละเอียด
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน เพื่อเป็น
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโปรแกรมและเพื่อให้การปฏิบตั ิงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ดังนั้นการนำเสนอ
ผลการวิจัยจึงมีลักษณะเป็นการพรรณนาหรือบรรยายเชิงวิพากษ์ประกอบกับค่าสถิติที่เกี่ยวข้อง ใน
หัวขอ้ ตา่ ง ๆ ดังนี้

หัวขอ้ ท่ี 1 ผลการจดั ทำคมู่ ือประกอบโครงการ
หวั ข้อที่ 2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพคมู่ อื และการปรับปรงุ แก้ไข
หวั ข้อที่ 3 ผลการสร้างเคร่ืองมอื เพ่ือการพัฒนาในภาคสนาม
หัวข้อท่ี 4 ผลการพัฒนาในภาคสนาม
สำหรับการเผยแพร่ผลงานวิจัย ผู้วิจัยดำเนินการโดยการตีพิมพ์ในวารสารตามเงื่อนไขการ
สำเรจ็ การศึกษา และหากมีโอกาสจะนำเสนอผลงานวจิ ัยในการสัมมนาวิชาการ และการจัดพิมพ์คู่มือ
ที่ใช้ในการวิจัยเพอ่ื การเผยแพร่

3.6 แผนดำเนนิ การวิจยั โดยภาพรวม

ตารางที่ 3.5 แผนดำเนินการวิจยั โดยภาพรวม

กิจกรรม ระยะเวลา
ภาคเรียนที่ 1
1. จัดทำคมู่ อื ประกอบโครงการ 2 เดอื น
2. ตรวจสอบคุณภาพคู่มือและการปรบั ปรงุ แก้ไข 1 เดือน
3. สรา้ งเคร่อื งมือเพื่อการพัฒนาในภาคสนาม 1 เดอื น

120

ตารางที่ 3.5 (ต่อ)

กจิ กรรม ระยะเวลา
1 เดอื น
ภาคเรียนท่ี 2 2-3 เดอื น
1. การพัฒนาในภาคสนามระยะที่ 1 โครงการพัฒนาเพื่อการเรยี นรขู้ อง
อาจารย์
2. การพัฒนาในภาคสนามระยะที่ 2 โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การ
พฒั นาผ้เู รยี น

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการ
ป ร ั บ ต ั ว ข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษ า ( Online Program to Develop Teachers to Enhance Students’
Adaptability Skills) นี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ตามแนวคิด “Knowledge
+ Action = Power” ทป่ี ระกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คอื 1) โครงการพฒั นาเพื่อการเรียนรู้ของ
อาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว 2) โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้าง
ทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา โดยมีคู่มือประกอบแต่ละโครงการ (2) เพื่อประเมินความมี
ประสิทธิภาพของโปรแกรมออนไลน์จากผลการวิจัยเชิงทดลองในภาคสนาม 2 ระยะ คือ การพัฒนา
อาจารย์ และอาจารยพ์ ัฒนานกั ศึกษา และ (3) เพอ่ื ระดมสมองของอาจารย์ทเี่ ป็นกลมุ่ ทดลองให้ทราบ
ถึงข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแก้ไขโปรแกรมออนไลน์ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การวิจัยดังกล่าว
ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้คือ (1) การจัดทำคู่มือประกอบโครงการ (2) การ
ตรวจสอบคุณภาพคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข (3) การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการทดลองใน
ภาคสนาม (4) การทดลองในภาคสนาม แล้วนำผลการดำเนินการวิจัยแต่ละขั้นตอนมาเขียนรายงาน
การวจิ ัย ดังน้ี

4.1 ขน้ั ตอนที่ 1 ผลการจัดทำคมู่ ือประกอบโครงการ

ผลจากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในบทที่ 2 ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดเพื่อการ
วิจัยของโปรแกรมอบรมออนไลน์ด้วยตนเอง โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้าง
ทักษะการปรับตัวของนักศึกษาท่ีประกอบด้วย 2 โครงการ คือ 1) โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของ
อาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว และ 2) โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การ
เสริมสร้างทักษะการปรบั ตัวให้แก่นกั ศึกษา แตล่ ะโครงการมีคูม่ อื ประกอบดว้ ยผลการดำเนินงาน ดงั นี้

4.1.1 ผลการจัดทำคู่มือประกอบโครงการที่ 1 คือ โครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้ของ
อาจารย์เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการปรับตัว ประกอบด้วยคู่มือเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-
Learning) จำนวน 6 ชดุ คือ

4.1.1.1 คมู่ อื เพ่ือการเรียนรเู้ ก่ียวกบั นิยามของทักษะการปรบั ตวั
4.1.1.2 คู่มอื เพ่ือการเรียนรเู้ กีย่ วกบั ความสำคญั ของทักษะการปรบั ตวั
4.1.1.3 คมู่ อื เพอ่ื การเรียนรูเ้ กี่ยวกับลักษณะทแ่ี สดงถงึ ทกั ษะการปรับตวั
4.1.1.4 คมู่ อื เพอื่ การเรียนรู้เก่ยี วกบั แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั
4.1.1.5 คูม่ ือเพื่อการเรียนรูเ้ กย่ี วกับข้ันตอนการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั
4.1.1.6 คู่มือเพ่อื การเรียนรู้เก่ยี วกบั การประเมินทักษะการปรับตวั
คูม่ อื แต่ละชุดมีลักษณะเป็นชุดของข้อมูลเพ่ือการพฒั นาอาจารย์ทเ่ี ป็นกลุ่มทดลองด้วยการ
เรียนร้ดู ้วยตนเอง (Self-learning) เปน็ ค่มู อื ประกอบโครงการท่ีคำนึงถึงจิตวทิ ยาการเรียนรู้ของผู้ใหญ่

122

(Adult Learning) ท่เี หน็ ว่าผู้ใหญ่ (ในงานวิจยั นี้ คือ อาจารย์ทเ่ี ปน็ กลุ่มทดลอง) การเรียนรู้จะมุ่งไปท่ี
ชีวติ ประจำวนั (Life-Centered) หรอื เน้นทงี่ านหรือการแก้ปัญหา (Task-Centered) นั่นคือผู้ใหญ่จะ
ยอมรับและสนใจกิจกรรมการเรียนรู้ของเขา หากเขาเชื่อและเห็นว่าการเรียนรู้นั้น ๆ จะช่วยให้เขา
ทำงานได้ดีขึ้นหรือช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันของเขา การจัดหลักสูตรเพื่อการเรียนการสอน
ผู้ใหญ่จึงควรจะอาศัยสถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวของเขา และเป็นการเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ
ซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงของเขาด้วย (Wisdom Max Center Company Limited,
2015) โดยมีองค์ประกอบของคู่มือดังนี้ ชื่อของคู่มือ คำแนะนำการใช้คู่มือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ท่ี
คาดหวังจากคู่มือ เนื้อหาที่นำเสนอในรูปแบบเพื่อการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (Self-learning) (แบ่งเนื้อหา
เป็นชว่ ง ๆ แตล่ ะชว่ งมีกจิ กรรมให้ทบทวน เช่น การตั้งคำถามใหต้ อบ การให้ระบุข้อสังเกต การให้ระบุ
คำแนะนำเพื่อการปรับปรุงแก้ไข เป็นตน้ ) แบบประเมนิ ผลตนเอง และรายช่อื เอกสารอ้างองิ

สำหรบั เน้อื หาในคู่มือแตล่ ะชุด เป็นผลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้องในบท
ท่ี 2 ดังน้ี

1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ Esoft Skills
Team (n.d.) Smith, Sorokac & Widmaier (n.d.) Cleverism (n.d.) Prince (2 0 1 2 ) Martin
(2012) Reddy (n.d.) Half (n.d.) Cjones Skills Weekly (n.d.) และ Oliver & Lievens (2014)

2) คู่มอื เพือ่ การเรียนรเู้ ก่ยี วกบั ความสำคัญของทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ Robert
Half (n.d.) ERM Academy (n.d.) Agrawal (2016) Ferguson (2011) Collie & Martin (2016)
Thurlings, Evers and Vermeulen (2015) The Conversation (2018) และ Reid (2018)

3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ
Alessandra (2016) Boss (2015) Keating (2018) Oscar (2014) University of Bradford (n.d.)
และ Whitehall (2018)

4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ Baker
(2014) Ccl (n.d.) Half (n.d.) Life Zemplified (n.d.) Oyster Connect (n.d.) Prince (2019)
Quick Base (2012) Reddy (n.d.) Williams (2017) และ Vanderbloemen (2013)

5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ
Berger & Johnston (2015) David (2019) Indeed (n.d.) J-Pierre (2019) และ Newell (2016)

6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว แสดงทัศนะของ Kane
(2019) Morgan (2011) Workable (n.d.) University of Alberta (n.d.) และ Zorzie (2012)

123

ภาพที่ 4.1 แสดงปกของโปรแกรมออนไลน์และปกของคู่มือประกอบโครงการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้
ของอาจารย์เก่ียวกับการพัฒนาทักษะการปรับตวั
4.1.1 ผลการจัดทำคู่มือประกอบโครงการที่ 2 โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้ส่กู าร

เสรมิ สรา้ งทักษะการปรับตัวให้แกน่ กั ศกึ ษา ประกอบด้วยคู่มือเพ่ือการปฏบิ ัตจิ ำนวน 1 ชุด คือ คู่มือ
เชงิ ปฏบิ ตั ิการเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียน ค่มู ือนเี้ น้นการสรปุ เน้ือหาเก่ียวกับลักษณะหรือคณุ ลักษณะที่คาดหวัง
จากการพัฒนา แนวทางการพัฒนา และขั้นตอนการพัฒนา และในตอนท้ายของคู่มือ มีแบบประเมิน
ตนเอง (Self-Assessment) สำหรบั อาจารย์ใชใ้ นการประเมินตนเองดังน้ี 1) มกี ารนำเอาแนวทางการ
พัฒนาที่นำเสนอไว้ในคู่มือไปสู่การปฏิบัติมากน้อยเพียงใด 6 ระดับ คือ จากระดับไม่ได้นำไปปฏิบัติ
เลย ไปถึงการนำไปปฏิบัติในระดับ 1 - 2 - 3 - 4 - 5 ซึ่งระดับ 5 หมายถึงระดับการนำไปปฏบิ ัติมาก
ที่สุด 2) มีการกำหนดขั้นตอนการพัฒนาเป็นแบบนำแนวคิดของใครไปปฏิบัติโดยตรง หรือได้บูรณา
การแนวคิดของใครไปปฏิบัติบ้าง มีขั้นตอนที่บูรณาการใหม่เป็นอย่างไร และ 3) มีความเห็นจาก
อาจารย์ในลกั ษณะทเ่ี ปน็ การสะท้อนผลจากการปฏบิ ัติ อะไรบ้าง ดังนี้ 1) โปรดระบุถงึ ปัจจัยทีส่ ง่ ผลใน
ทางบวกต่อการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานที่มีประสิทธิผลแก่นักศึกษาของท่าน 2) โปรดระบุถึง
ปัญหาหรอื อปุ สรรคต่อการปฏิบตั ิงานในครั้งนข้ี องท่าน 3) โปรดระบุวธิ ีการที่ทา่ นนำมาใช้ในการแก้ไข
ปัญหาหรืออุปสรรค 4) โปรดระบุ บทเรียนสำคัญที่ท่านได้รับจากการปฏิบัติงานในครั้งนี้ และ
5) โปรดระบุข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะความเป็นทีมงานที่มีประสิทธิผลนักศึกษา ที่สำคัญที่
ท่านเห็นว่าจะทำให้การพฒั นาทักษะนใี้ ห้เกิดขนึ้ กบั นักศึกษาอยา่ งไดผ้ ลดี

โปรดดูรายละเอียดของคู่มือประกอบใน 2 โครงการดังกล่าวจากที่นำเสนอไว้ในบทที่ 5
ของงานวิจัยนี้ และดไู ดจ้ ากเว็บไซต์ :
http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/Manmitr.pdf?fbclid=IwAR1HPJxfOY-
ZOp_Z5reno5E4vvrW0V_D9tA8oP4UX2gCCZ0uJjNd4_mDbu8 ดังภาพแสดงปกของคู่มือ
ประกอบโครงการอาจารยน์ ำความรสู้ ่กู ารเสรมิ สรา้ งทักษะการปรบั ตวั ใหแ้ กน่ ักศึกษาในภาพที่ 4.2

124

ภาพท่ี 4.2 แสดงปกของคู่มือประกอบโครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การเสริมสร้างทักษะการ
ปรับตัวใหแ้ ก่นกั ศกึ ษา

4.2 ขน้ั ตอนท่ี 2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคมู่ ือและการปรบั ปรุงแกไ้ ข

ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือทั้งสองโครงการ คือ (1) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับ
นิยามของทกั ษะการปรบั ตัว (2) คู่มอื เพื่อการเรียนรูเ้ ก่ียวกับความสำคัญของทักษะการปรับตัว (3) คู่มือ
เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับแนวการ
พัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว และ
(6) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการประเมินทักษะการปรับตัว ในโครงการพัฒนาความรู้ของอาจารย์
และ (1) คู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้เรียน ในโครงการอาจารย์นำความรู้สู่การพัฒนานักศึกษา 2
ระยะ มดี งั น้ี

4.2.1 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไขระยะท่ี 1
การตรวจสอบภาคสนามเบื้องต้นและการปรับปรุงแก้ไข (Preliminary Field Checking
and Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ โดยการอภิปราย
กลมุ่ (Focused Group Discussion) รปู แบบออนไลน์ (Line Group) โดยผูว้ จิ ยั ใชเ้ ว็บไซต์ที่สร้างขึ้น
ส่งคู่มือประกอบโครงการให้กลุ่มเป้าหมายได้แก่ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วทิ ยาลัยศาสนศาสตร์ยโสธร จำนวน 10 ราย (ดรู ายชื่อในภาคผนวก ก) วันท่ี 9 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ.
2564 ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขใน
เบ้อื งตน้ กอ่ นนำไปตรวจสอบและปรบั ปรุงครงั้ สำคญั ในระยะที่ 2 ดงั ภาพประกอบ

125

ภาพที่ 4.3 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ มหาวิทยลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั วิทยาลัยศาสนศาสตรย์ โสธร

ในการตรวจสอบ มีประเด็นดังนี้ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดย
คำนึงถึงความถกู ต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ 2) ข้อเสนอแนะ
เพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ
4) อ่นื ๆ มีผลการตรวจสอบดงั นี้

1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี

-เนื้อหาที่นำเสนอในคู่มือชุดนี้ ต้องการทราบถึงความถูกต้องของเนื้อหาทางวิชาการและ
คนอ่านเข้าใจหรือไม่ อย่างไร เป็นส่วนใหญ่ควรเพิ่ม wording ที่สะท้อนเป็นคำถามที่บง่ บอกถึงความ
เปน็ ประโยชน์ในการนำไปใช้เพิม่ เติม

2) การปรับปรงุ แก้ไขดา้ นภาษา มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
-การใช้สำนวนอยู่ในระดับปานกลาง ควรมี wording ที่สื่อให้ได้ความหมายและกระชับ
เพิ่มขน้ึ เพราะหากยาวไปจะทำใหผ้ ูอ้ า่ นเบื่อง่ายและเราจะไม่ไดข้ ้อมูลในเชิงลึกเทา่ ท่ีควร
3) การปรับปรุงแก้ไขดา้ นรปู แบบการนำเสนอ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั นี้
-การนำเสนอรูปแบบของเนือ้ หาเรยี บง่ายแบบธรรมดา ควรมี wording บางอยา่ งแทรกเข้า
มาเพอ่ื กระตุ้นใหผ้ อู้ ่านสนใจอยากอ่านเพ่ิมมากขึ้น
4) อืน่ ๆ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้
-ควรกระชับข้อมูลให้ง่ายต่อการเข้าใจของผู้อา่ นเพม่ิ เตมิ

126

จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ ของคณะอาจารย์
มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยศาสนศาสตรย์ โสธร ผู้วิจยั ได้นำข้อเสนอแนะมาปรับปรงุ
ในคู่มือดังนี้ ด้านการปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ ผู้วิจัยได้ปรับปรุงในส่วนของเนื้อหาความถูกต้อง มีการเรียบเรียง
เนื้อหาให้มีความกระชับและเน้นการเป็นประโยชน์ในการนำไปใช้มากยิ่งขึ้น ด้านการปรับปรุงแก้ไข
ด้านภาษา ผู้วิจัยได้มีการเรียบเรียงสำนวนการแปลภาษาให้เข้าเข้าใจง่ายและกระชับยิ่งขึ้น ด้านการ
ปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ ผู้วิจัยได้ปรับปรุงรูปแบบการนำเสนอให้น่าสนใจ ใช้ภาพ
สัญลักษณ์ เพื่อดึงดูดความสนใจและปรบั ข้อความเน้นคำให้อ่านได้ชัดเจนมากขึ้น และตรวจสอบการ
สะกดคำ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้แก้ไขตามคำแนะนำในคู่มือเรียบร้อยแล้ว เพื่อนำไปตรวจสอบในระยะที่ 2
ต่อไป

4.2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มอื และการปรบั ปรงุ แกไ้ ขระยะท่ี 2
การตรวจสอบภาคสนามครั้งสำคัญและการปรับปรุงแก้ไข (Main Field Testing And
Revision) เป็นการตรวจสอบคุณภาพของ “คู่มือ” ในโครงการทั้ง 2 โครงการ ภายหลังที่ผ่านการ
ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขในระยะที่ 1 แล้ว ด้วยวิธีการอภิปรายกลุ่ม (Focused Group
Discussion) โดยวิธีการเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ 1) ผู้วิจัยใช้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นส่งคู่มือประกอบ
โครงการให้กลุ่มเป้าหมายคืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
จำนวน 8 ราย ในวันที่ 19 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกยี รติกาฬสินธ์ุ จำนวน 7 ราย ในวันที่ 5 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564
รวมจำนวน 15 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก ค) ได้ศึกษาล่วงหน้า 10 วัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะที่จะ
เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ไขในเบื้องต้นก่อนนำไปใช้กับกลุ่มทดลองในภาคสนาม ซึ่งในการ
ตรวจสอบ มีประเด็นการตรวจสอบเช่นเดียวกับระยะที่ 1 คือ 1) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
ด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้
2) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านภาษา 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบ
การนำเสนอ 4) อ่นื ๆ โดยใชแ้ บบตรวจสอบชดุ เดียวกับชดุ ทีใ่ ช้ในระยะท่ี 1 ผลการตรวจสอบในแต่ละ
ประเดน็ มขี อ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงและแก้ไขในแตล่ ะดา้ น ดังนี้
1) การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็น
ประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้
-ควรมีการตรวจสอบเนื้อหาในคู่มือบางส่วนว่าข้อมูลที่นำมาใช้การนำเสนอข้อมูลนั้นมี
ประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้หรือไมอ่ ยา่ งไร
2) การปรบั ปรุงแก้ไขดา้ นภาษา มขี อ้ เสนอแนะ ดงั นี้
-ควรจะปรับปรุงสำนวนภาษาแปล และเรียบเรียงข้อความให้อ่านเข้าใจง่ายและกระชับ
มากขึ้น ควรใช้ให้คำแปลให้เหมือนกันทุกคำ และมีคำที่พิมพ์ตกหล่น ควรตรวจสอบตัวสะกด สระ
วรรณยุกต์ ให้ถูกตอ้ ง
3) การปรบั ปรงุ แก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
-ควรตกแต่งรูปภาพปกคมู่ อื ใหด้ ึงดูดและนา่ สนใจ ใชข้ นาดตวั อกั ษรทใี่ หญ่ขน้ึ เพือ่ ใหเ้ ห็นได้
ชดั เจน

127

4) อนื่ ๆ ไม่มขี อ้ เสนอแนะ

ภาพที่ 4.4 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วทิ ยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลิมพระเกยี รติกาฬสนิ ธุ์

ภาพที่ 4.5 การตรวจสอบคุณภาพของคู่มือและการปรับปรุงแก้ไข ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านช้าง

128

จากข้อเสนอแนะการปรับปรุงผลการตรวจสอบคุณภาพของคู่มือ ของคณะอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลมิ พระเกียรตกิ าฬสินธุ์ ผู้วิจยั ได้นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงในคู่มือดังนี้ ด้าน
การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์
(Utility) ต่อการนำไปใช้ ผู้วิจัยได้ปรับปรุงในส่วนของเนื้อหาความถูกต้อง มีการตรวจสอบเน้ือหาใน
คู่มือบางส่วนว่าข้อมูลที่นำมาใช้การนำเสนอข้อมูลนั้นมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ ด้านการปรับปรุง
แก้ไขด้านภาษา ผู้วิจัยได้มีการปรับปรุงสำนวนภาษาแปล และเรียบเรียงข้อความให้อ่านเข้าใจง่าย
และกระชับมากขึ้น แก้ไขการใช้คำที่แต่งต่างกัน และตรวจสอบคำ สระ วรรณยุกต์ ให้ถูกต้อง ด้าน
การปรับปรุงแก้ไขด้านรูปแบบการนำเสนอ ผู้วิจัยได้ตกแต่งรูปภาพปกคู่มือให้ดึงดูดและน่าสนใจ ใช้
ขนาดตัวอักษรที่ใหญ่ขึ้น เพื่อให้เห็นได้ชดั เจน ทั้งนี้ผู้วจิ ัยได้แก้ไขตามคำแนะนำในคู่มือเรียบร้อยแลว้
เพื่อนำไปใชต้ รวจสอบคุณภาพของเครื่องมือกับกลุ่มทดลองตอ่ ไป

4.3 ขั้นตอนท่ี 3 ผลการสรา้ งเครอื่ งมอื เพอ่ื การทดลองในภาคสนาม

ผลจากการดำเนินการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการทั้ง 2 โครงการ จาก
ขั้นตอนที่ 2 ทำให้ได้โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของ
นักศึกษา ที่มีความถูกต้อง (Accuracy) และความเป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ แต่อย่างไร
ก็ตาม ในขั้นตอนการทดลองใช้คู่มือในภาคสนามกับกลุ่มเป้าหมายนั้น (ขั้นตอนที่ 4) ต้องมีเครื่องมือ
เพอ่ื ใช้ในการประเมินประสิทธภิ าพของการใช้คู่มือในโครงการท้ังสอง ดังนนั้ ผ้วู ิจยั จึงได้สร้างเคร่ืองมือ
ขนึ้ เพ่ือใช้ในขั้นตอนการทดลองในภาคสนาม ดังน้ี

4.3.1 ผลการสร้างเคร่ืองมอื
4.3.1.1 แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบ

ปรนัย มี 4 ตัวเลือก มีจุดมุง่ หมายเพือ่ ใช้ทดสอบความรู้ของอาจารยท์ ี่เป็นกลุ่มทดลองหลงั การวิจัยใน
ภาคสนามตามโครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ และมี
ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ โดย
แบบทดสอบนี้ผู้วิจัยสร้างขึ้นตามเนื้อหาของคู่มือประกอบโครงการที่ 1 ประกอบด้วย นิยาม
ความสำคัญ ลกั ษณะ แนวการพฒั นา ขัน้ ตอนการพัฒนา และการประเมินผลการพัฒนา โดยลักษณะ
ของข้อทดสอบได้ยึดถือขอบเขตด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายทาง
การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ Benjamin S. Bloom
โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเปน็ 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่สี ลบั ซับซ้อนน้อยไปหามาก
หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจำ (Remembering)
ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน
(Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดูเครื่องมอื ในภาคผนวก ซ

4.3.1.2 แบบประเมินทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเป็น
แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อย
ที่สุด ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากผลการศึกษาคุณลักษณะของบุคคลที่มีทักษะการปรับตัว จากทัศนะของ
Alessandra (2016) Boss (2015) Keating (2018) Oscar (2014) University of Bradford (n.d.)

129

และ Whitehall (2018) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะการปรับตัวจากทัศนะของ
Kane (2019) Morgan (2011) Workable (n.d.) University of Alberta (n.d.) และ Zorzie (2012)
เปน็ แบบประเมินออนไลนด์ ว้ ย Google Form ดเู คร่ืองมือในภาคผนวก ฐ

4.3.2 ผลการตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมอื
4.3.2.1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์

แบบทดสอบมีลักษณะเป็นข้อสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 36 ข้อ เป็นข้อสอบออนไลน์พร้อม
ตรวจคำตอบด้วย Google Form มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้ทดสอบความรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง
“ก่อนและหลัง” การวิจัยในภาคสนามตามโครงการที่ 1 ว่ากลุ่มทดลองมีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 หรือไม่ และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรูห้ ลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทาง
สถติ หิ รือไม่ โดยมกี ารนำไปตรวจสอบความมคี ุณภาพของแบบทดสอบดงั น้ี

4.3.2.1.1 การตรวจสอบความตรงเชิงเนอ้ื หา (Content Validity)
ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่า เพื่อให้ได้เครื่องมือวัดได้ตรงกับสิ่งที่ต้องการวัดหรือตรงกับ
วัตถุประสงค์ที่ต้องการวัด (Polit & Beck, 2012) ตามทัศนะของ Chaichanawirote and Vantum
(2017) ทำไดโ้ ดยการพจิ ารณาความสอดคล้องของข้อคำถามกบั นิยามเชิงปฏิบัติการและทฤษฎีของสิ่ง
ที่ต้องการวัด โดยผู้วิจัยนำเครื่องมือวิจัยที่ร่างไว้ให้ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ต้องการวัด
จำนวน 3-5 คน พิจารณาวา่ ข้อคำถามมีความสอดคล้องกับนิยามเชงิ ปฏิบัติการหรือไม่และให้คะแนน
ตามวิธีการคำนวณค่าความตรงซึง่ มหี ลายวิธี เช่น ดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์
(IOC: Indexes of Item-Objective Congruence) ดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI: Content
Validity Index) ดัชนีความตรงตามเนื้อหาทั้งฉบับ (S-CVI: Content Validity Index for Scale)
และค่าเฉลี่ยของสัดส่วนความสอดคล้อง (ACP: Average Congruency Percentage) ในงานวิจัยน้ี
ผู้วิจัยใช้ดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (IOC: Indexes of Item-Objective
Congruence) ซง่ึ จากการศึกษา พบวา่ พฒั นาข้ึนโดย Rovinelli and Hambleton (1977) เป็นการ
ประเมินความสอดคล้องระหว่าง 1 ข้อคำถามกับ 1 วัตถุประสงค์ แต่ในระยะต่อมา Carlson (2000
cited in Turner & Carlson, 2003) ได้พัฒนาแนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถาม
และวัตถุประสงค์ที่ปรับใหม่ (The adjusted Index of Item-Objective Congruence) เป็นการหา
ความสอดคล้องของ 1 ข้อสอบกับชดุ ของวตั ถุประสงค์
ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับ
วัตถุประสงค์ตามทัศนะของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อสอบในแบบประเมินที่ใช้ใน
งานวิจัยน้ี มุ่งการวัดทักษะการคิดขั้นต่ำกวา่ ไปหาทกั ษะการคิดข้ันสูงกว่าในลกั ษณะ 1 ข้อสอบ ต่อ 1
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คือ วัตถุประสงค์เกี่ยวกับความจำ (Remembering) ความเข้าใจ
(Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์ (Analyzing) การประเมนิ (Evaluating)
และการสร้างสรรค์ (Creating) ในสิ่งที่ต้องการวัด คือ นิยาม ความสำคัญ ลักษณะ แนวการพัฒนา
ขั้นตอนการพัฒนา และการประเมินผลการพัฒนา โดยในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบ
กับวัตถุประสงค์ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านหลักสูตรและการสอน และ/หรือ การวัดและ
ประเมินผลการศึกษา จำนวน 5 ราย (ดูรายชื่อในภาคผนวก จ) โดยให้ทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง
+1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อสอบมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความ

130

สอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มีความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของ
ผู้เชย่ี วชาญ นำมาวเิ คราะห์หาค่า IOC ตามสตู รที่กำหนดในบทที่ 3 โดยกำหนดเกณฑค์ ่า IOC ที่ระดับ
เท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อสอบนั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
(Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดังมีผลการตรวจสอบของผเู้ ชยี่ วชาญแสดงในตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (Index of
Item - Objective Congruence: IOC) ในแบบทดสอบผลการเรยี นร้ขู องอาจารย์

ข้อ ผลการให้คะแนนของผเู้ ช่ยี วชาญ คา่ ดชั นีความ ผลการ
1 2345 สอดคลอ้ ง (IOC) ประเมิน

คูม่ ือชดุ ท่ี 1 ค่มู อื เพื่อการเรียนรเู้ กย่ี วกับนิยามของทกั ษะการปรับตัว ใช้ได้
ใชไ้ ด้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
2 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
3 +1 +1 +1 +1 +1 1.00
ใชไ้ ด้
4 +1 0 +1 +1 0 0.60 ใชไ้ ด้
ใช้ได้
5 +1 0 +1 +1 +1 0.80 ใช้ได้
ใช้ได้
6 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใช้ได้

คมู่ อื ชุดท่ี 2 คมู่ ือเพื่อการเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ความสำคัญของทกั ษะการปรับตวั ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
7 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
8 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 1.00
ใช้ได้
10 +1 0 +1 +1 0 0.60 ใช้ได้
ใชไ้ ด้
11 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
12 0 0 +1 +1 +1 0.60 ใช้ได้

ค่มู ือชดุ ที่ 3 คมู่ อื เพื่อการเรยี นรูเ้ กย่ี วกับลักษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะการปรับตัว

13 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

14 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

15 +1 +1 +1 +1 0 0.80

16 +1 +1 +1 +1 0 0.80

17 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

18 +1 +1 +1 +1 0 0.80

คมู่ ือชุดท่ี 4 คู่มือเพื่อการเรยี นรู้เก่ียวกับแนวการพัฒนาของทกั ษะการปรบั ตวั

19 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

20 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

21 +1 +1 +1 +1 0 0.80

22 +1 +1 +1 +1 0 0.80

23 +1 +1 +1 0 +1 0.80

24 +1 +1 +1 0 +1 0.80

131

ตารางท่ี 4.1 (ต่อ)

ขอ้ ผลการใหค้ ะแนนของผเู้ ชี่ยวชาญ คา่ ดชั นีความ ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมิน

คูม่ ือชุดท่ี 5 คู่มือเพอ่ื การเรียนรู้เกย่ี วกับขน้ั ตอนการพฒั นาของทกั ษะการปรับตวั ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
25 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
26 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
27 +1 +1 +1 +1 0 0.80
ใชไ้ ด้
28 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใช้ได้
ใชไ้ ด้
29 +1 +1 +1 0 +1 0.80 ใช้ได้
ใช้ได้
30 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใชไ้ ด้

คู่มอื ชุดที่ 6 คมู่ อื เพ่อื การเรียนรเู้ ก่ยี วกับการประเมนิ ผลของทกั ษะการปรับตัว

31 +1 +1 +1 +1 0 0.80

32 +1 0 +1 +1 +1 0.80

33 +1 +1 +1 +1 0 0.80

34 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

35 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

36 +1 +1 +1 +1 0 0.80

จากตารางที่ 4.1 เห็นได้ว่าผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกับวัตถุประสงค์
การเรียนรู้ในแบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องอาจารย์ พบว่า แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ซ่งึ
มี 6 วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ แตล่ ะวัตถุประสงค์การเรียนรู้มขี ้อสอบ 6 ขอ้ รวมข้อสอบทัง้ ฉบับ 36 ข้อ
มีค่า IOC สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 แสดงว่า
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
สามารถนำไปใชไ้ ดต้ รงกบั วตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ้องการวดั ได้

4.3.2.1.2 การตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ สอบรายข้อและแบบทดสอบ
โดยนำแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ไปทดลองใช้ (Try-out) กับอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตรอ้ ยเอด็ และวิทยาเขตล้านนา รวมจำนวน 30 ราย เพ่ือ
วิเคราะห์หาค่าความยากงา่ ย การกระจาย ความเชื่อมั่น ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ และค่าสัมประสิทธ์ิ
ความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของ Kuder-Richardson ในแบบทดสอบ คะแนนจากผลการทดลองใช้
แบบทดสอบดังกลา่ ว ดังแสดงในตารางท่ี 4.2


Click to View FlipBook Version