The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by man Wee, 2022-10-17 08:10:12

ดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-แมนมิตร อาจหาญ

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

177

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตาม
ทศั นะของ Martin วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. Reddy ผู้เชี่ยวชาญด้านการสรรหาบุคลากร กล่าวถึงนิยามของทักษะการปรับตัวว่า
ธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงหรือการสร้างการปรบั เปล่ียนในตัวเองเพ่ือให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม
ใหม่ สำหรับวัฒนธรรมในที่ทำงานหมายความว่า บุคคลจะต้องเปิดรับแนวคิดใหม่หรือการ
เปลี่ยนแปลง ต้องสามารถทำงานได้อย่างอิสระ หรือ เป็นทีม หรือ ทำงานที่ไม่ได้มีไว้สำหรับบุคคล
เดียวเท่านัน้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว
ตามทัศนะของ Reddy ว่าอยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. Robert Half เว็บไซต์ที่เชี่ยวชาญด้านการสรรหาบุคลากรที่เชื่อมโยงนายจ้างกับ
คนหางานที่มีทักษะสูง กล่าวถึงนิยามของทักษะการปรับตัวว่า มีคนหรือองค์กรที่ประสบความสำเร็จ
นอ้ ยมากท่ีไปถงึ ตามทฝ่ี ันโดยทำสิ่งเดียวซ้ำ ๆ ในความเป็นจรงิ ผูน้ ำท่ียิง่ ใหญ่แสวงหาการเปลี่ยนแปลง
และดำเนินการอย่างจริงจัง เข้าใจนวัตกรรมอย่างแท้จริง และ นำหน้าความทันสมัย คุณต้องยอมรับ
การเปลี่ยนแปลง แต่การปรับตัวไม่ได้เป็นเพียงแค่การยอมรับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น ทักษะการ
ปรับตัว (Adaptability Skills) หมายถึง การเปน็ คนมองโลกในแง่ดีตลอดเวลาและแสดงความยืดหยุ่น
เป็นพิเศษ ทักษะการปรับตัวสามารถมีได้ทั้งในทัศนคติและการกระทำและไม่มีใครสามารถอยู่ได้โดย
ปราศจากผอู้ น่ื

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตวั
ตามทศั นะของ Robert Half วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. Cjones Skills.weekly เว็บไซต์ท่ีเชี่ยวชาญเกี่ยวกับทกั ษะการปรบั ตัว กล่าวถึงนิยาม
ของทักษะการปรบั ตัววา่ ความยดื หยนุ่ คอื ความสามารถในการรับหน้าทแี่ ละงานใหม่โดยไมต่ ้องแจ้งให้

178

ทราบล่วงหนา้ การปรบั ตัว (Adaptability) เกย่ี วขอ้ งกับความสามารถในการเปลย่ี นแผนหรอื ความคิด
ขึ้นอยกู่ ับแผนงานและสถานการณ์

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตวั
ตามทศั นะของ Cjones Skills.weekly วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

9. Oliver & Lievens เขียนบทความเกี่ยวกับการปรับตัว กล่าวว่าถึงนิยามของทักษะ
การปรับตัววา่ ความพอดีทางดา้ นพฤติกรรมความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ความคิดและอารมณ์ของแต่
ละบุคคลในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามความต้องการและสถา นการณ์
ของการมีปฏิสัมพันธ์ คำนิยามนี้เน้นห้าองค์ประกอบหลักของคำจำกัดความของการปรับตัวระหว่าง
บคุ คลของเรา 1. การปรับตัวระหวา่ งบุคคลเป็นโครงสร้างท่ีใช้งานได้ 2. การปรับตวั ระหว่างบุคคลนั้น
มหี ลายมติ ิ 3. การปรบั ตวั ระหวา่ งบุคคลเกิดขนึ้ ภายในการปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล 4. ความต้องการ
ตามสถานการณ์สามารถกำหนดแนวคิดโดยเป้าหมายที่พวกเขามุ่งมั่น 5. การปรับตัวระหว่างบุคคล
เป็นตวั ชี้วดั ของความเหมาะสม

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตาม
ทศั นะของ Oliver & Lievens ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10. Collie & Martin อาจารย์ประจำ University of New South Wales กล่าวถึง
นิยามของทักษะกสรปรับตัวว่า คุณลักษณะที่สำคัญของการสอนเกี่ยวข้องกับความแปลกใหม่ การ
เปลี่ยนแปลงและความไม่แน่นอนในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการตอบสนองต่อการ
เปล่ียนแปลงนไ้ี ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเรียกวา่ การปรบั ตัว

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจนิยามของทักษะการปรับตวั ตาม
ทศั นะของ Collie & Martin ว่าอยา่ งไร ?

179

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบประเมนิ ตนเอง
โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของท่านอีกคร้งั จากแบบประเมนิ ผลตนเองน้ี

1) ท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Esoft Skills Team ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไมช่ ัดเจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อีกคร้งั แลว้ ตอบคำถามในใจว่า Esoft Skills
Team กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะการปรบั ตัว ว่าอย่างไร?

2) ท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Smith, Sorokac, & Widmaier
ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Smith,
Sorokac, & Widmaier กลา่ วถึงนยิ ามของทักษะการปรบั ตัว ว่าอย่างไร?

3) ท่านเขา้ ใจนิยามของทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Cleverism ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Cleverism
กล่าวถงึ นิยามของทกั ษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?

4) ท่านเข้าใจนิยามของทกั ษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Prince ชัดเจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Prince
กลา่ วถงึ นิยามของทกั ษะการปรับตวั ว่าอย่างไร?

5) ทา่ นเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตวั ตามทัศนะของ Martin ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Martin
กลา่ วถึงนิยามของทกั ษะการปรับตัว วา่ อยา่ งไร?

6) ทา่ นเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Reddy ชัดเจนดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Reddy
กล่าวถึงนิยามของทักษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?

7) ท่านเขา้ ใจนิยามของทกั ษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Robert Half ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Robert
Half กลา่ วถึงนยิ ามของทกั ษะการปรับตัว วา่ อยา่ งไร?

180

8) ท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Cjones Skills.Weekly ชัดเจนดี
แลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Cjones
Skills.Weekly กล่าวถึงนยิ ามของทกั ษะการปรบั ตัว วา่ อยา่ งไร?

9) ท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Oliver & Lievens ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Oliver &
Lievens กล่าวถึงนยิ ามของทักษะการปรบั ตัว ว่าอย่างไร?

10) ท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Collie, & Martin ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Collie, &
Martin กล่าวถงึ นยิ ามของทกั ษะการปรับตวั ว่าอย่างไร?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบับท่ีเป็นภาษาองั กฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เว็บไซตข์ องแต่ละแหล่งได้ ดงั น้ี
1. Esoft Skills Team : https://esoftskills.com/10-soft-skills-you-need-adaptability-and-

flexibility-7/
2. Smith, Sorokac, & Widmaier : https://sites.google.com/site/21stcenturyskills21/skill-1
3. Cleverism : https://www.cleverism.com/skills-and-tools/adaptability-skills/
4. Prince : https://www.trainingzone.co.uk/community/blogs/emma-sue-prince-

unimenta/adaptability-a-key-skill-we-must-develop-in-ourselves-and
5. Martin :

https://www.researchgate.net/publication/281156244_Adaptability_and_Learning
6. Reddy : https://content.wisestep.com/importance-adaptability-flexibility-workplace/
7. Robert Half : https://www.roberthalf.co.nz/career-advice/career-

development/adaptability-skills
8. Cjones Skills.Weekly : https://cjonesskills.weebly.com/flexablity--adaptability.html
9. Oliver & Lievens : https://users.ugent.be/~flievens/Oliver.pdf
10. Collie, & Martin :

https://www.researchgate.net/publication/299592012_Adaptability_An_Important_Cap
acity_for_Effective_Teachers

181

เอกสารอ้างองิ
Cjones Skills.Weekly (n.d.). Flexibility and adaptability. Retrieved June 14, 2019, from

https://bit.ly/2XXDRZl.
Cleverism. (n.d.). Adaptability skills. Retrieved June 14, 2019, from

https://bit.ly/2XFc9Bc.
Collie, R.J, & Martin, A.J. (2016). Adaptability: An important capacity for effective

teachers. Retrieved June 14, 2019, from https://bit.ly/2xLKi31.
ESoft Skills Team. (n.d.). Adaptability & flexibility. Retrieved June 14, 2019, from

https://bit.ly/2Lkwo0e.
Martin, A.J. (2012). Adaptability and learning. Retrieved June 14, 2019, from

https://bit.ly/2JylDWb.
Oliver, T., & Lievens, F. (2014). Conceptualizing and assessing interpersonal

adaptability: towards a functional framework. Retrieved June 14, 2019, from
https://bit.ly/32pS8gF.
Prince, E.S. (2012). Adaptability – a key skill we must develop in ourselves and in
others. Retrieved June 14, 2019, from https://bit.ly/2XKp5pu.
Reddy, C. (n.d.). Define adaptability. Retrieved June 14, 2019, from
https://bit.ly/2ytwIB3
Robert Half. (n.d.). Adaptability skills. Retrieved June 14, 2019, from
https://bit.ly/2xOnKym
Smith, A., Sorokac, K. & Widmaier, C. (n.d.). Flexibility and adaptability. Retrieved
June 14, 2019, from https://bit.ly/2JK3400.

182

5.2 คู่มอื ชุดท่ี 2 ทัศนะเกย่ี วกบั ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตัว

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศกึ ษาคู่มือชุดนี้แลว้ ท่านมพี ัฒนาการด้านพทุ ธิพสิ ยั (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุ
ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตวั ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรยี งความสำคัญของทกั ษะการปรับตวั ได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
ความสำคัญของทักษะการปรบั ตัวได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลความสำคัญของ
ทักษะการปรบั ตวั ได้

5. วัดผล เปรยี บเทยี บ ตคี า่ ลงความเห็น วิจารณ์ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตวั ได้
6. รวบรวม ออกแบบ จดั ระเบยี บ สรา้ ง ประดษิ ฐ์ หรือวางหลกั การความสำคญั ของทักษะ
การปรบั ตัวได้
โดยมีทัศนะเกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการปรับตัวของแหลง่ อ้างอิงทางวิชาการต่าง ๆ
ดังน้ี
1) ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Robert Half
2) ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตัว ตามทัศนะของ ERM Academy
3) ความสำคัญของทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Agrawal
4) ความสำคัญของทกั ษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Ferguson
5) ความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Collie & Martin
6) ความสำคญั ของทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ The Conversation
7) ความสำคญั ของทกั ษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Reid

คำช้แี จง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมา

กล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กลา่ วถึงความสำคัญวา่ อยา่ งไร

2. หลงั จากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะแล้ว โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของท่านอีก
ครั้งจากแบบประเมินผลตนเองในตอนท้ายของคมู่ ือ

183

3. เนื้อหาเกี่ยวกับความสำคัญของทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอยี ดของทัศนะเหล่านั้น ซง่ึ ตน้ ฉบับเปน็ บทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสืบค้นตอ่ ได้จาก
เวบ็ ไซต์ท่รี ะบุไวใ้ นแหลง่ อ้างอิงนน้ั ๆ

ทัศนะเกย่ี วกับความสำคญั ของทกั ษะการปรับตวั
1. Robert Half เว็บไซต์ที่เชี่ยวชาญด้านการสรรหาบุคลากรที่เชื่อมโยงนายจ้างกับ

คนหางานที่มที ักษะสงู กลา่ วถึงความสำคญั ของทกั ษะการปรบั ตวั วา่ เปน็ ทกั ษะทีส่ ำคญั มาก เน่อื งจาก
เป็นทักษะที่ไม่ตายตัว สามารถนำไปปรับใช้ในสถานที่ทำงานได้ในหลายแบบ มีข้อดี 3 ประการจาก
การทีม่ ที ักษะการปรบั ตัวท่ดี ีเย่ียม

1) เราสามารถรับมอื กบั ความท้าทายได้ดยี ิ่งข้นึ (You’ll Embrace Challenges Better)
2) เราจะกลายเป็นผ้นู ำท่ดี ยี งิ่ กว่า (You’ll Become a Better Leader)
3) เราจะมคี วามเกีย่ วขอ้ งเสมอ (You’ll Always be Relevant)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว
ตามทศั นะของ Robert Half ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

2. ERM Academy ศนู ยก์ ลางการเรยี นรูร้ ะดบั โลกสำหรับมืออาชีพด้านการบริหารความ
เส่ยี งองคก์ ร กลา่ วถงึ ความสำคญั ของทักษะการปรบั ตวั วา่ มีข้อดมี ากมายหากเราเป็นคนท่ยี ืดหยุ่นและ
ปรับตัวเก่ง ถ้าหากเราใช้ชีวิตไปสู่จุดที่รู้สึกว่าการปรับตัวเป็นเรื่องจำเป็น อยากให้รู้ไว้ว่าเราจะได้
ประโยชน์อกี มากมาย มันอาจเป็นเรอื่ งยากในตอนแรก แตข่ อให้อดทนและฝกึ ฝนแล้วจะปรับตัวไดเ้ อง

1) คุณค่าในที่ทำงานจะมากข้ึน (Your Value will Increase at Your Workplace)
2) การปรับตัวเป็นทักษะที่ผู้นำทุกคนควรมี (Adaptability is a Skill Every Leader

Must Have)
3) การมีความสามารถในการปรับตัวจะทำให้เป็นผู้ที่มีความสุขและพึงพอใจกับชีวิต

(Adaptability Creates more Happiness and Overall Life Satisfaction)
4) ทำให้สามารถก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงในอาชีพได้อย่างราบรื่น (Makes it Possible

for You to Smoothly Go Through Career Changes)
5) เมื่อไรก็ตามที่เราล้ม การลุกขึ้นใหม่ไม่ใช่เรื่องยาก (Whenever Life Knocks You

Down, Bouncing Back will Become Easy)

184

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัว ตามทศั นะของ ERM Academy วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………............................................................................................................................. ................

3. Agrawal ผกู้ ่อตง้ั Verma Media ซึ่งเป็นหนว่ ยงานการตลาดทเ่ี นน้ เทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
ใหม่เช่น blockchain และ AI กล่าวถึงความสำคัญของทักษะการปรับตัวว่า การปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพทเ่ี ปลยี่ นแปลงเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินชีวติ และธุรกิจของเราดว้ ย ธรุ กิจมีการเปล่ียนแปลง
ตลอดเวลาและเราจะต้องพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงนั้น หากไม่มีทักษะความสามารถในการปรับตัว
เลย เราก็จะพบว่าตัวเองกำลังตกที่นั่งลำบาก แนวทางต่อไปนี้จะช่วยให้ตระหนักถึงข้อดีของการเป็น
คนมคี วามสามารถในการปรบั ตวั ไดม้ ากข้ึน

1) ได้รบั การยอมรับมากข้ึน (Get more Recognition)
2) ไมว่ ติ กกังวล (Don’t Panic)
3) เราจะเตบิ โตขนึ้ (You Will Grow)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัว ตามทัศนะของ Agrawal วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

4. Ferguson ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาค่านิยม กล่าวถึงความสำคัญของทักษะการ
ปรับตัวว่า การเปลี่ยนแปลงไม่ใช่สิง่ ท่ีทำใหท้ ุกคนมคี วามสุข นอกเสียจากวา่ พวกเขาเริ่มต้นอยากทีจ่ ะ
เปลี่ยนแปลง พวกเราทุกคนเกิดมาพร้อมความสามารถในการปรับตัว ลองพิจารณาตนเองในวัยเดก็ ดู
ว่าเราผ่านมาได้อย่างไร ทำไมจึงเป็นเรื่องยากสำหรับผู้คนที่ต้องปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง
องค์กร? เราไม่เคยชอบเลยเวลาที่นายจ้างประกาศว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อโบสถ์และชุมชนของ
เราแจ้งว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง หรือแม้แต่การเปลี่ยนแปลงในครอบครัวที่ส่งผลต่อเราไม่ว่าจะเป็น
การเกดิ การเสียชีวิต การแตง่ งาน หรอื เม่อื ลกู ๆ เขา้ เรียนมหาลัย

องค์กรที่มีความสามารถในการปรบั ตวั ฝังอยูใ่ นดีเอ็นเอจะสามารถตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณ์
ที่ไม่คาดคิดและแก้ไขให้ดีขึ้นได้ในระยะยาว องค์กรเหล่านั้นเข้าใจถึงข้อดีของความสามารถในการ
ปรับตัว การเพิ่มความสามารถในการปรับตัวให้เป็นคุณค่าหลักอย่างชัดเจนหรืออย่างเป็นนัยก็ล้วน
แล้วแต่เป็นส่วนสำคัญในการช่วยพัฒนาองค์กรอยา่ งยัง่ ยืนในระยะยาว

ประโยชน์ของการปรับตัวช่วยให้มีชีวิตยืนยาวที่ดี ส่งเสริมนวัตกรรม และผลักดันให้เกิด
การเรียนรู้ตลอดชีวิต และความสามารถในการปรับตัวนั้นต่างไปจากคุณค่าอื่น ๆ ก็คือเป็นคุณค่าท่ี

185

สามารถวัดระดับได้ชัดเจน หากประโยชน์เหล่านี้สะท้อนตัวเราและองค์กรแล้วล่ะก็ ก็ควรเพิ่มทักษะ
ความสามารถในการปรับตวั ใส่ในรายการคณุ คา่ หลักของเราด้วย

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรับตวั ตามทศั นะของ Fergusonวา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………............................................................................................................................. ................

5. Collie & Martin อาจารย์ประจำ University of New South Wales กล่าวถึง
ความสำคญั ของทักษะการปรับตัวว่า ความสามารถในการปรับตัว คอื ความสามารถทส่ี ำคญั สำหรับครู
ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถในการปรับตัวคืออะไร? ชีวิตของคนเราถูกกำหนดจากการ
เปลี่ยนแปลง ความใหม่ และความไม่แน่นอน ซึ่งคนเราก็ได้มีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา
และอารมณ์ในช่วงเวลาต่าง ๆ ของชีวิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลานี้ยังเกี่ยวข้องกับหลาย
ช่วงเวลาสำคัญในชีวิต เช่น การไปโรงเรียน การแต่งงาน หรือการมีบุตร และยังเกี่ยวข้องกับการ
ดำเนินชีวิตประจำวันใน “ทุก ๆ วัน” อีกด้วย ตัวอย่างเช่นการเจ็บป่วย การเปลี่ยนหน้าที่การงาน
หรือแม้แต่เหตุการณ์รถเสีย ความสามารถในการตอบโต้และตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพต่อ
สถานการณเ์ หล่านเี้ ปน็ ทร่ี ู้จักกันว่าการปรับตวั

เหตุใดการปรับตัวจึงสำคัญต่อครู? เรายืนยันว่าการปรับตัวนั้นมีความเกี่ยวข้องอย่างมาก
กับครูเนื่องจากงานสอนนั้นเกี่ยวข้องกับการตอบสนองและการจัดการการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ตลอดเวลา ประสิทธิภาพในการปรับตัวเพื่อการจัดการการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่ง
สำคัญสำหรบั ครทู ี่ทั้งต้องทำการสอนในห้องเรยี น ทำงานในห้องพักครู และอนื่ ๆ เราได้ยกตัวอย่างไว้
ดา้ นล่าง

1. ครูควรตอบสนองต่อความต้องการของนักเรียนที่มีความแตกต่างและเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลาโดยการปรับปรุงบทเรียน การปรับปรุงใช้กิจกรรมที่แตกต่างกันสำหรับนักเรียนแต่ละคน
หรือหาแหล่งความรใู้ หม่ ๆ มาไวอ้ ธบิ ายประเดน็ สำคัญใหน้ กั เรียนเขา้ ใจไดด้ ยี ่งิ ขึน้

2. ในการสอนในห้องเรียน ครูต้องมีการปรับตัวเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเผชิญ
เหตุการณ์ไมป่ กติที่อาจเกิดขึน้ ได้เสมอเมื่ออยู่ในหอ้ งเรียน สิ่งที่ตอ้ งทำคือควบคุมอารมณ์ เช่นอารมณ์
แหง่ ความผิดหวงั โกรธ สนกุ สนาน ต้องมีความอดทน รวมถึงมองหาทางเลือกในการแกป้ ัญหา

3. ครูควรมีความสามารถในการสื่อสาร โต้ตอบกับเพื่อนร่วมงานภายใต้เงื่อนไขท่ี
เปลี่ยนแปลง ตัวอย่างเช่น เมื่อเกิดการเปล่ียนแปลงในงานท่ีทำอยู่ พวกเขาต้องการทรัพยากรเพิ่มข้ึน
ในการสอนสงิ่ ท่ีแตกตา่ งออกไป บางทคี รูอาจตอ้ งการสง่ิ ทช่ี ่วยในการสรา้ งความทา้ ทายให้กบั นกั เรียน

4. เมื่อครูได้รับบทบาทใหม่ หรือแม้กระทั่งโรงเรียนใหม่ ครูก็จะต้องปรับตัวกับเพื่อน
ร่วมงานใหม่ ลำดับความสำคัญในการทำงานก็จะต้องเปลี่ยนใหม่ หลักเกณฑ์ใหม่ และเพื่อนร่วมงาน
ชุดใหม่ และแนน่ อนส่ิงท่ตี อ้ งเจอกค็ ืออุปกรณ์ในการทำการสอนแบบใหม่ท่ีอยู่ในหอ้ งเรียน

186

5. การเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่ในโรงเรียนก็คือการเปลี่ยนแปลงเวลาทำงาน ซึ่งเกิดขึ้นอยู่
บ่อย ๆ เป็นประจำในโรงเรียน บางครั้งการเปลี่ยนตารางเวลาสอนเกิดขึ้นในนาทีสุดท้ายก่อนที่ครู
จะตอ้ งเขา้ สอนเลยด้วยซำ้

6. ครูจะต้องเตรียมพร้อมสำหรับการหยุดการสอนกลางคันด้วย รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
ตารางเวลาในการสอน หรือการลดความเข้มข้นของเนื้อหาระหว่างการสอนหากสถานการณ์ใน
ห้องเรียนมีความเครง่ เครยี ดเกนิ ไป

7. สุดท้ายนี้ ครูต้องทำการเรียนรู้ด้วยตัวเองในฐานะมืออาชีพคนหนึ่ง เช่นการมองหา
ความรู้เกี่ยวกับการสอนใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง สิ่งหนึ่งที่ครูต้องปรับตัวคือการเปลี่ยนแปลงทั้งด้าน
โปรแกรมการสอนและการเปลีย่ นแปลงนโยบายของฝา่ ยบรหิ าร

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรบั ตวั ตามทัศนะของ Collie & Martinวา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………......................................................................................................................... ....................

6. The Conversation เว็บไซต์ที่สร้างจากความร่วมมือทางวิชาการของออสเตรเลีย
และนิวซีแลนด์กล่าวถึงความสำคัญของทักษะการปรับตัวว่า ทักษะการปรับตัวเป็นสิ่งพื้นฐานที่ครู
จำเป็นต้องมี เพราะทักษะนี้มีบทบาทสำคัญในการช่วยให้ครูจัดการงานที่อยู่ตรงหน้าได้ดี ในงานวิจยั
ก่อนหน้า เราพบว่ามีความสอดคล้องกันของทักษะการปรับตัวต่อการทำงานของครู เราพบว่าครูที่มี
การปรับตัวดีกวา่ มแี นวโนม้ จะปฏบิ ตั ิงานไดด้ ีกว่า

ในงานวิจัยยังได้ทดลองต่อด้วยการหาความเชื่อมโยงระหว่างความสำเร็จของนักเรียนด้วย
ผลการวิจัยพบว่าครูที่มีการปรับตัวที่ดี มีชีวิตที่ดีกว่า และนั่นส่งผลต่อเนื่องไปยังนักเรียน ทำให้
นกั เรียนมผี ลการเรียนทด่ี ีกวา่ ด้วย และสง่ิ เหลา่ น้ีคอื สถานการณท์ ี่ครตู อ้ งเจอ เพ่ือใชท้ กั ษะการปรับตวั

1. ครูตอ้ งพบเจอกบั นกั เรียนหลากหลายรูปแบบ ซ่งึ ครูตอ้ งตอบสนองต่อนกั เรยี นตา่ งกัน
2. พบกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดในห้องเรียน หรือมีการเปลี่ยนแปลงตารางเวลา ครูเองก็

ตอ้ งมีการจัดการกบั เร่ืองน้ี
3. ครูตอ้ งมปี ฏสิ มั พันธก์ ับเพื่อนรว่ มงานใหม่ นักเรยี นใหม่ ครอบครวั ใหม่
4. การตอ้ งใสค่ วามร้ใู หม่หรอื วิธีการสอนใหมเ่ ขา้ ไปในการสอนจริง
สถานการณ์เหล่านี้ต้องการให้ครเู ป็นผ้ปู รับตัวเข้าหา เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการสอน
การปรับตัวอาจรวมไปถึงการเว้นช่วงของการเรียนบางช่วง เพื่อให้นักเรียนได้ปรับตัวเข้ากับบทเรียน
ลดความรู้สึกท้อแท้ในเวลาที่การสอนไม่เป็นไปตามแผน การปรับตัวเพื่อทำงานใดงานหนึ่งร่วมกับ
เพอื่ นร่วมงานใหม่ นั่นกส็ ามารถเรียกว่าทักษะการปรบั ตัว
ทักษะการปรับตัวเป็นทักษะที่สำคัญสำหรับครู เนื่องจากงานด้านการสอนมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา งานวจิ ยั เราแสดงให้เหน็ วา่ ทักษะการปรับตวั ช่วยให้ครูลดความรู้สึกอยาก

187

หลีกหนีจากการทำงาน และทำให้ครูมีความทุ่มเทและผูกพันกับงานมากยิ่งขึ้น ดังนั้นทักษะการ
ปรับตวั จงึ เปน็ ปจั จัยทสี่ ำคัญปัจจัยหน่ึงหากผู้บรหิ ารคิดจะพฒั นาหรอื ให้การสนับสนนุ แก่ครู เพื่อให้ครู
มคี วามเปน็ อยทู่ ี่ดแี ละผกู พันกับองค์กร

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรบั ตวั ตามทัศนะของ The Conversationวา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………............................................................................................................................. ................

7. Reid เขียนบทความวิจัยเก่ียวการศึกษา กล่าวถึงความสำคัญของทกั ษะการปรับตัวว่า
การศึกษาแสดงให้เห็นว่าการปรับตัวเป็นเรื่องสำคัญต่อครู เพื่อให้ครูสามารถรับมือกับการ
เปลี่ยนแปลงในการทำงานและการสอนของครูด้วย นักวิจัยกล่าวว่า “งานวิจัยของพวกเราแสดงให้
เห็นว่าการปรบั ตัวของครชู ว่ ยให้ครูไม่รสู้ กึ แย่ ๆ ต่อการทำงาน ลดความไม่ทุ่มเทในการทำงาน สุดท้าย
แล้ว เราสนับสนุนให้ฝ่ายบริหารพยายามสนับสนุนครูให้มีทักษะการปรับตัว นั่นช่วยให้ครูมีความ
เปน็ อยทู่ ด่ี ีขนึ้ เพอื่ รักษาครูใหอ้ ยกู่ บั องคก์ รได้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการ
ปรับตวั ตามทศั นะของ Reid วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………………………………………………………………………..

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Robert Half ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Robert
Half กล่าวถึงความสำคญั ของทกั ษะการปรบั ตัว วา่ อยา่ งไร?
2) ท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ ERM Academy ชัดเจนดี
แล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า ERM
Academy กล่าวถงึ ความสำคัญของทกั ษะการปรบั ตัว ว่าอยา่ งไร?

188

3) ทา่ นเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Agrawal ชดั เจนดแี ลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี คร้ัง แลว้ ตอบคำถามในใจว่า AJ Agrawal
กลา่ วถึงความสำคัญของทกั ษะการปรับตัววา่ อย่างไร?

4) ท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Ferguson ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Ferguson
กล่าวถงึ ความสำคัญของทกั ษะการปรับตวั วา่ อย่างไร?

5) ท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Collie & Martin ชัดเจนดี
แลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Collie &
Martin กลา่ วถึงความสำคัญของทักษะการปรับตวั ว่าอย่างไร?

6) ท่านเข้าใจความสำคัญของทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ The Conversation ชัดเจน
ดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า The
Conversation กลา่ วถงึ ความสำคัญของทักษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?

7) ทา่ นเขา้ ใจความสำคญั ของทักษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Reid ชัดเจนดีแลว้ หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Reid
กล่าวถึงความสำคญั ของทักษะการปรับตวั ว่าอย่างไร?

หมายเหตุ
หากตอ้ งการศกึ ษารายละเอียดของแตล่ ะทัศนะจากตน้ ฉบบั ท่ีเปน็ ภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดังน้ี
1. Robert Half : https://www.roberthalf.co.nz/career-advice/career-

development/adaptability-skills
2. ERM Academy : https://www2.erm-academy.org/publication/risk-management-

article/why-adaptability-important-important-helping-you-manage-change/
3. Agrawal : https://www.entrepreneur.com/article/271303
4. Ferguson : https://www.fergusonvalues.com/about/
5. Collie & Martin : https://www.entrepreneur.com/article/271303
6. The Conversation : https://theconversation.com/being-able-to-adapt-in-the-

classroom-improves-teachers-well-being-95788

189

7. Reid : https://www.theeducatoronline.com/k12/news/how-adaptability-improves-
teachers-wellbeing/249789

เอกสารอา้ งอิง
Agrawal, AJ. (2016). Success is the biggest benefit of being adaptable. Retrieved June

17, 2019, from https://bit.ly/28PIzxV
Collie, R.J., & Martin, A.J. (2016). Adaptability: An important capacity for effective

teachers. Retrieved June 17, 2019, from https://bit.ly/28PIzxV
ERM Academy. (n.d.). Why adaptability is important in helping you manage change.

Retrieved June 17, 2019, from https://bit.ly/2LW0g2Q
Ferguson, R. (2011). What are the benefits of adaptability?. Retrieved June 17, 2019,

from https://bit.ly/2Z7pZZI
Reid, J. (2018). How adaptability improves teachers' well-being. Retrieved June 17,

2019, from https://bit.ly/2MdERCj
Robert Half. (n.d.). Adaptability skills and why you need it. Retrieved June 17, 2019,

from https://bit.ly/2xOnKym
The Conversation. (2018). Being able to adapt in the classroom improves teachers’

well-being. Retrieved June 17, 2019, from https://bit.ly/2rqDl3G

190

5.3 คมู่ อื ชดุ ที่ 3 ทศั นะเกยี่ วกับลกั ษณะท่ีแสดงถงึ ทกั ษะการปรบั ตวั

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้
หลงั จากการศกึ ษาคู่มือชุดนี้แลว้ ทา่ นมพี ฒั นาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยกุ ตใ์ ช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1. บอกคุณสมบัติ จบั คู่ เขียนลำดบั อธิบาย บรรยาย ขีดเสน้ ใต้ จำแนก หรือระบุลักษณะ
ที่แสดงถงึ ทักษะการปรับตวั ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรยี งลักษณะทีแ่ สดงถงึ ทักษะการปรบั ตวั ได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
ลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัวได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลลักษณะที่แสดงถงึ
ทักษะการปรบั ตัวได้

5. วดั ผล เปรียบเทยี บ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการปรบั ตัวได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการลักษณะที่แสดงถึง
ทกั ษะการปรับตวั ได้
โดยมีทัศนะเกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัวของแหล่งอ้างอิงทางวิชาการต่าง ๆ
ดงั นี้
1) ลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ University of Bradford
2) ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Whitehall
3) ลักษณะทแ่ี สดงถงึ ทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Boss
4) ลักษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Alessandra
5) ลกั ษณะท่ีแสดงถงึ ทักษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Oscar
6) ลักษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Keating

191

คำชแ้ี จง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมา

กล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กล่าวถงึ ลกั ษณะหรือคณุ ลักษณะว่าอยา่ งไร

2. หลงั จากการศึกษาเนื้อหาแตล่ ะทัศนะแลว้ โปรดทบทวนความรู้ความเข้าใจของท่านอีก
ครัง้ จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนทา้ ยของค่มู ือ

3. เนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทศั นะเหลา่ น้นั ซึ่งต้นฉบับเป็นบทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นตอ่ ได้จาก
เว็บไซต์ที่ระบไุ วใ้ นแหล่งอา้ งองิ นั้น ๆ

ทศั นะเกยี่ วกับลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะการปรบั ตัว
1. University of Bradford Reid เว็บไซต์มหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญด้านวิชาการและ

อุตสาหกรรมที่กําลังสรา้ งอนาคต กล่าวถึงลักษณะที่แสดงถึงทกั ษะการปรับตัวว่า เมื่อพูดถึงเรื่องของ
การปรับตวั และความยืดหย่นุ ผู้สรรหาพนกั งานใหมอ่ าจมองหาผทู้ ี่มลี ักษณะดงั ต่อไปน้ี

1) ความยดื หยุ่นด้านสติปญั ญา (Intellectual flexibility)
2) ความเปิดกวา้ ง (Receptiveness)
3) ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการ
ปรับตัว ตามทัศนะของ University of Bradford Reid ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

2. Whitehall โค้ชมืออาชีพเกี่ยวกับจิตวิทยาเชิงบวกและผู้ฝึกสอนที่เชี่ยวชาญในด้าน
คณุ ภาพชวี ิตและประสิทธิภาพในที่ทำงาน กล่าวถงึ ลกั ษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัวว่า ทักษะการ
ปรับตัวนั้นมีแนวโน้มที่ช่วยให้มีความอดทนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งหมายถึงความไม่แน่นอนนั้นจะไม่ส่งผล
กระทบต่อคุณภาพชีวิตโดยภาพรวมเท่าใดนัก คนที่สามารถปรับตัวได้มักมีแนวโน้มที่จะเป็นคนที่มี
ความสุขและมีความพงึ พอใจมากกว่าผู้อืน่ เนื่องจากพวกเขาไม่ต้องดน้ิ รนหรือต้องพยายามต่อต้านเมื่อ
สิ่งตา่ ง ๆ เปล่ียนแปลง

จะปรับตัวได้อยา่ งไร? น่คี ือ 7 ลักษณะทว่ั ไปของคนทีม่ ที กั ษะการปรับตัวสูง
1) ความเต็มใจทจี่ ะพิสจู น์ (A willingness to experiment)
2) ไม่กลัวความลม้ เหลว (Unafraid of failure)
3) ไหวพรบิ (Resourcefulness)

192

4) ความสามารถในการมองเห็นภาพรวม (Able to see the big picture)
5) การพูดกับตวั เองในเชิงบวก (Engaged in positive self-talk)
6) ความใครร่ ู้ (Curiosity)
7) อยกู่ บั ปัจจุบนั (Being present)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทักษะการปรับตัว
ตามทศั นะของ Whitehall ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

3. Boss โค้ชเกยี่ วกับการปรับตัว กล่าวถึงลกั ษณะที่แสดงถงึ ทกั ษะการปรบั ตวั ว่า ในฐานะ
การเปน็ โคช้ ดา้ นการปรับตัว สงิ่ หนึ่งทมี่ กั จะเหน็ จากทุกคนก็คือการที่คนเราไมเ่ ต็มใจท่ีจะเปล่ียนแปลง
ปรับตัวเข้ากับสิ่งใหม่เพียงเพราะว่ามันมีความ “ใหม่” และความไม่เต็มใจนี้มักเกิดจากปัจจัยหลาย
ประการ เช่น ขาดการรู้จักตนเอง/สถานการณ์ การสื่อสารที่ไร้ประสทิ ธิภาพ การตัดสินใจที่ไม่ชัดเจน
อัตตา และการขาดความรับผิดชอบ ดังนั้น “คนที่ปรับตัวได้” นั้นเป็นอย่างไร ให้สังเกตลักษณะ
ดังตอ่ ไปน้ี

1) คนทปี่ รบั ตวั ไดช้ อบพสิ ูจน์ (Adaptable people experiment)
2) คนที่ปรับตัวได้มักเห็นโอกาสในสถาณการณ์ที่คนอื่นเห็นความล้มเหลว (Adaptable

people see opportunity where others see failure)
3) คนทีป่ รับตวั ได้เปน็ ผมู้ ีไหวพริบ (Adaptable people are resourceful)
4) คนที่ปรับตัวได้คดิ การณล์ ่วงหนา้ (Adaptable people think ahead)
5) คนที่ปรบั ตวั ได้ไมเ่ ปน็ คนครำ่ ครวญ (Adaptable people don't whine)
6) คนทป่ี รับตัวได้มกั พดู กบั ตวั เอง (Adaptable people talk to themselves)
7) คนทป่ี รับตวั ไดไ้ มโ่ ทษคนอ่นื (Adaptable people don't blame)
8) คนทป่ี รับตัวไดไ้ มต่ ้องการได้หนา้ (Adaptable people don’t claim fame)
9) คนทปี่ รับตวั ได้มกั มีความใฝ่รู้ (Adaptable people are curious)
10) คนที่ปรบั ตวั ได้มักจะปรบั ตัว (Adaptable people adapt)
11) คนท่ีปรบั ตัวไดม้ กั จะยอมรบั (Adaptable people stay current)
12) คนที่ปรับตัวไดม้ กั จะมองเห็นระบบ (Adaptable people see systems)
13) คนทปี่ รบั ตวั ไดม้ กั เป็นคนท่ีเปดิ ใจ (Adaptable people open their minds)
14) คนที่ปรับตัวได้มักรู้ว่าตนต้องการอะไร (Adaptable people know what they

stand for)

193

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการ
ปรบั ตวั ตามทัศนะของ Boss ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

4. Alessandra ผู้ริเริ่มรูปแบบการประเมินตามพฤติกรรม The Platinum Rule และ
ผูเ้ ขียน Collaborative Selling และ The NEW Art of Managing People กล่าวถงึ ลกั ษณะท่แี สดง
ถึงทกั ษะการปรับตวั ไว้ว่า

สูตรสำเร็จของการพัฒนาความสามารถในการปรับตัวประการแรก: ความยืดหยุ่ น
(Flexibility) ประกอบด้วยคุณลักษณะ 5 ประการ ได้แก่ ความมั่นใจ ความอดทน ความเห็นใจ การ
มองโลกในแงด่ ี และการเคารพซึ่งกนั และกัน

สูตรสำเร็จของการพัฒนาความสามารถในการปรับตัวอีกประการหนึ่ง : ความอัจฉริยะ
(Versatility) ลักษณะนิสัยห้าแบบทีท่ ำให้มีการปรับตัวไดด้ ี คือ ความยืดหยุ่น, วิสัยทศั น์, ความเอาใจ
ใส่, ความสามารถสว่ นตัว และ การแกไ้ ขนสิ ัยตนเอง

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถงึ ทักษะการปรับตัว
ตามทัศนะของ Alessandra วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

5. Oscar ผู้เชี่ยวชาญด้านไลฟ์สไตล์และอาชีพ กล่าวถึงลักษณะที่แสดงถึงทักษะการ
ปรับตัวไว้ ดงั นี้

1) เตรียมวิธกี ารแกป้ ญั หาแบบอ่ืน ๆ ไวเ้ สมอ (Prepare alternative solutions)
2) ยอมรบั การเปล่ียนแปลงได้ดี (Make easy transitions)
3) ใจเย็น และมีความมนั่ ใจ (Keep calm and confident)
4) เพิ่มทกั ษะใหม่ ๆ (Acquire new skills)
5) มีความรู้ทหี่ ลากหลาย (Diversify your knowledge)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว
ตามทัศนะของ Oscar วา่ อย่างไร ?

194

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

6. Keating ผอู้ ํานวยการอาวุโสของกลยทุ ธ์ GP ทสี่ นบั สนุนศูนย์การเรียนร้ขู อง General
Motors กลา่ วถงึ ลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะการปรบั ตวั ว่า การเปลี่ยนแปลงเปน็ ส่ิงทหี่ ลกี เลีย่ งไมไ่ ด้ ผ้นู ำ
องค์กรทั่วโลกพบเจอกับการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรและมีความซับซ้อน ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมใหม่
งานใหม่ ตลาดใหม่ หรือคู่แข่งหน้าใหม่ ความก้าวหน้าในตำแหน่งของผู้นำนัน้ ต้องการความสามารถ
ในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ใหม่ ผู้นำที่ปรับตัวเก่งจะมองเห็นอุปสรรคเป็นโอกาสและ
เตรียมพร้อมกับการแก้ไขปัญหา ต่อไปนี้เราจะแนะนำเคล็ดลับสามข้อของผู้นำที่ปรับตัวเก่ง สิ่งนี้จะ
ช่วยใหผ้ ้นู ำสามารถปรบั ตวั ไดห้ ากเกิดการเปลยี่ นแปลงข้นึ

1. ผู้นำที่ปรบั ตวั ได้จะมีความคิดท่ียืดหยุ่น (Adaptable Leaders Have Flexible Ways
of Thinking) กจิ กรรมบางอยา่ งชว่ ยพัฒนาการคิดแบบยืดหยุ่น ดังน้ี

1) ตัง้ คำถามกบั รูปแบบการคดิ ของตนเอง (Question your thought patterns)
2) ผอ่ นคลายกบั ความคดิ ของตนเอง (Relax your mind)
3) ตรวจสอบความยืดหยุน่ ทางอารมณ์ (Examine your emotional flexibility)
2. ผนู้ ำท่ปี รบั ตัวไดจ้ ะมีแผนการล่วงหนา้ (Adaptable Leaders Plan Ahead)
1) การวางแผนทำให้เกดิ การโฟกัส (Planning creates focus)
2) การวางแผนทำให้เกิดการประเมินความเสี่ยงและโอกาส (Planning helps to

assess risks and opportunities)
3) “แผนนั้นไร้ประโยชน์ แต่การวางแผนนั้นคือทุกสิ่ง” - ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

(ประธานาธบิ ดี)
3. ผู้นำที่มีทักษะการปรับตัวนั้นเป็นคนขี้สงสัย (Adaptable Leaders Are Curious)
กจิ กรรมทแี่ นะนำสำหรบั การพฒั นาด้านการสร้างความอยากรู้อยากเห็นแกผ่ ู้นำ

1) ถามคำถาม ฟัง และสำรวจ (Ask questions, listen, and observe)
2) พยายามสอบถาม (Be inquisitive)
3) คิดอยา่ งสร้างสรรค์ (Think creatively)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการ
ปรบั ตัว ตามทศั นะของ Keating วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

195

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ University of Bradford
ชดั เจนดแี ลว้ หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า University
of Bradford กลา่ วถงึ ลกั ษณะท่แี สดงถงึ ทักษะการปรบั ตวั ว่าอยา่ งไร?
2) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Whitehall ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Whitehall
กลา่ วถงึ ลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทักษะการปรับตัว ว่าอย่างไร?
3) ทา่ นเข้าใจลกั ษณะท่แี สดงถึงทักษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Boss ชดั เจนดแี ล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Boss
กล่าวถึงลกั ษณะท่ีแสดงถึงทักษะการปรับตัว วา่ อย่างไร?
4) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Alessandra ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไมช่ ดั เจนดพี อ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี คร้ัง แล้วตอบคำถามในใจว่า Alessandra
กลา่ วถงึ ลกั ษณะทแี่ สดงถงึ ทกั ษะการปรับตัว วา่ อย่างไร?
5) ท่านเข้าใจลกั ษณะทแ่ี สดงถงึ ทกั ษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Oscar ชัดเจนดีแลว้ หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Oscar
กล่าวถึงลกั ษณะทแี่ สดงถึงทักษะการปรับตัว ว่าอย่างไร?
6) ท่านเข้าใจลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Keating ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Keating
กล่าวถึงลกั ษณะทแ่ี สดงถึงทกั ษะการปรับตวั ว่าอยา่ งไร?

หมายเหตุ
หากต้องการศกึ ษารายละเอียดของแตล่ ะทศั นะจากต้นฉบับท่ีเป็นภาษาองั กฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซตข์ องแต่ละแหล่งได้ ดงั น้ี
1. University of Bradford : https://www.bradford.ac.uk/careers/develop-

skills/adapt-flex/
2. Whitehall : https://transformandthrive.co.uk/blog/7-adaptability-skills/

196

3. Boss : https://www.forbes.com/sites/jeffboss/2015/09/03/14-signs-of-an-
adaptable-person/?sh=2d20403816ea

4. Alessandra : https://www.success.com/do-you-have-adaptability/
5. Oscar : https://www.careeraddict.com/demonstrate-adaptability-on-the-job
6. Keating : https://www.td.org/insights/3-traits-of-adaptable-leaders

เอกสารอา้ งอิง
Alessandra, T. (2016). The first half of the high-adaptability formula: flexibility.

Retrieved June 30, 2019, from https://bit.ly/2YERPzq
Boss, J. (2015). 14 Signs of an adaptable person. Retrieved June 27, 2019, from

https://bit.ly/2Ovwjto
Keating, K. (2018). 3 Traits of adaptable leaders. Retrieved June 30, 2019, from

https://bit.ly/2V26mn8
Oscar, T. (2014). How to demonstrate adaptability on the job. Retrieved June 30,

2019, from https://bit.ly/2ZmSFy9
University of Bradford. (n.d.). What makes a person adaptable/flexible?. Retrieved

June 30, 2019, from https://bit.ly/2YCTrG2
Whitehall, L. (2018). 7 Signs you’re an adaptable person. Retrieved June 30, 2019,

from https://bit.ly/2Kha5WD

197

5.4 คมู่ อื ชุดท่ี 4 ทศั นะเก่ยี วกับแนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรับตัว

วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
หลังจากการศกึ ษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมพี ฒั นาการด้านพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) ซึ่ง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยกุ ต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดังน้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุแนว
ทางการพฒั นาของทกั ษะการปรบั ตวั ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงแนวทางการพัฒนาของทักษะการปรบั ตวั ได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
แนวทางการพฒั นาของทักษะการปรบั ตัวได้

4. แยกแยะ จดั ประเภท จำแนกใหเ้ ห็นความแตกตา่ ง หรือบอกเหตผุ ลแนวทางการพัฒนา
ของทักษะการปรับตวั ได้

5. วัดผล เปรียบเทยี บ ตคี ่า ลงความเห็น วิจารณ์แนวทางการพัฒนาของทักษะการปรบั ตัวได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการแนวทางการพัฒนา
ของทกั ษะการปรับตัวได้
โดยมีทศั นะเกี่ยวกับแนวการพัฒนาของทักษะการปรับตัวของแหล่งอ้างอิงทางวชิ าการต่าง ๆ
ดังนี้
1) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Quick Base
2) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Vanderbloemen
3) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Reddy
4) แนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Ccl.Com
5) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Williams
6) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Robert Half
7) แนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Life Zemplified
8) แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Prince
9) แนวทางการพฒั นาทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Oyster Connect
10) แนวทางการพฒั นาทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Baker
คำชี้แจง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมา
กล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กล่าวถงึ แนวทางการพัฒนาว่าอยา่ งไร

198

2. หลงั จากการศึกษาเน้ือหาแต่ละทัศนะแลว้ โปรดทบทวนความร้คู วามเข้าใจของท่านอีก
ครัง้ จากแบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของคมู่ ือ

3. เนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอียดของทศั นะเหลา่ นน้ั ซึ่งต้นฉบับเปน็ บทความภาษาองั กฤษ ทา่ นสามารถจะสบื ค้นต่อได้จาก
เวบ็ ไซต์ท่รี ะบไุ ว้ในแหลง่ อา้ งอิงนน้ั ๆ

ทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตัว
1. Quick Base แพลตฟอร์มการพัฒนาแอปพลิเคชันที่รวมทีมธุรกิจและ IT เข้าด้วยกัน

กลา่ วถึงแนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว ดงั น้ี
1) ฉกี กฎเดมิ ๆ (Quit Following the Rules)
2) คิดใหด้ ีหากจะปฏเิ สธตนเอง (Think twice about Saying No)
3) เริม่ ต้นวนั ของเราดว้ ยความแตกตา่ ง (Start your Day Differently)
4) เปน็ ผู้ปรบั ตวั ต้งั แตเ่ นนิ่ ๆ (Be an Early Adopter)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการ
ปรับตัว ตามทัศนะของ Quick Base ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

2. Vanderbloemen เวบ็ ไซตเ์ ก่ียวกบั การจา้ งงาน กลา่ วถงึ แนวทางการพัฒนาทกั ษะ
การปรบั ตวั ดงั น้ี

1) ใช้ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปตามธรรมชาติ (Be more Spontaneous)
2) ทำใจให้สงบและยอมรับการเปลีย่ นแปลงท่ีอาจเกิดขึ้นอยา่ งไม่คาดคิด (Be Calm

and Accepting When Unexpected Changes Happen)
3) เรียนรู้ทจ่ี ะสับเปลย่ี นตารางเวลาของตวั เองเมื่อเกิดการเปล่ียนแปลง (Learn How

to Alter Your Schedule When Changes Happen)
4) ให้หาคนทีเ่ ราชน่ื ชอบในด้านการมีความสามารถในการปรับตัวสูงและเรียนรู้จากพวก

เขา (Find Someone You Admire with High Adaptability and Learn From
Them)
5) เป็นอาสาสมคั รสำหรับบทบาททต่ี อ้ งใช้ความยืดหยนุ่ มากเป็นพเิ ศษเพ่ือการเตบิ โตไป
ในทีแ่ ห่งน้ี (Volunteer in a role that requires extra-ordinary flexibility in
order to grow in this area)

199

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทักษะการ
ปรับตวั ตามทศั นะของ Vanderbloemen ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

3. Reddy ผเู้ ช่ียวชาญภายใน BPO ระหว่างประเทศและการสรรหาบคุ ลากร ได้กลา่ วถึง
แนวทางการพฒั นาทักษะการปรับตวั ว่า

1) รับฟงั เพือ่ เขา้ ใจสถาณการณ์ (Tune In To Know The Situation)
2) ให้ลองอยใู่ นสถาณการณ์ท่แี ตกตา่ งกัน (Try Different Situations)
3) ฟงั ใหม้ ากขึ้น (Listen More)
4) ฝึกความฉลาดทางอารมณ์ (Practice Emotional Intelligence)
5) สำหรับพนักงานที่มีความยืดหยุ่นอยู่โดยธรรมชาติเท่านั้น (Only For Naturally

Flexible Employees)
6) สำหรบั พนกั งานทม่ี รี ะเบยี บมาก (For Very Organized Employees)
7) พจิ ารณาสถาณการณ์จากมมุ มองที่กว้างกวา่ (Consider The Bigger Picture)
8) พิจารณามุมมองที่หลากหลาย (Take Wide Variety Of Perspectives Into

Consideration)
9) สรา้ งสมดุลชีวิต (Create A Balanced Life)
10) เลิกรอคอยเวลาและสถาณการณ์ที่เหมาะสม (Just Stop Waiting For Right

Time And Situation)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาทกั ษะการ
ปรับตวั ตามทศั นะของ Reddy วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

4. Ccl เวบ็ ไซตศ์ นู ย์กลางความเป็นผนู้ ําดา้ นการสร้างสรรค์ได้กลา่ วถึงแนวทางการพัฒนา
ทักษะการปรบั ตวั ไว้ดงั นี้ ในฐานะผู้นำ เราไม่ได้มหี น้าที่เพียงแค่รบั มือกบั การเปลยี่ นแปลงเท่านั้น แต่
ยังต้องเปน็ ผนู้ ำในการเปลย่ี นแปลงอกี ดว้ ย ใหล้ องนำ 5 เคล็ดลับดงั ต่อไปน้ีไปใช้ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั การ
เปล่ยี นแปลงและนำพาทีมให้ผา่ นการเปลย่ี นแปลงไปได้

1) เป็นผู้ใฝ่รู้ (Be Curious)

200

2) อย่ายึดติดกับแผนหรือวิธีการที่มีเพียงหนึ่งเดียว (Don’t get too Attached to A
Single Plan or Strategy)

3) สรา้ งเครอื ข่ายสนบั สนุน (Create Support Systems)
4) เข้าใจปฏิกิริยาในการตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของตนเอง (Understand your

own reaction to change)
5) ดื่มด่ำกับสภาพแวดล้อมและสถาณการณ์ใหม่ ๆ (Immerse yourself in new

environments and situations)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทกั ษะการ
ปรับตัว ตามทศั นะของ Ccl วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………............................................................................................................. ................................

5. Williams นักกลยุทธ์นักการตลาด และนักเขียนด้านการเงิน Creator of The
Budgette ไดก้ ล่าวถึงแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัวไวว้ ่า ความสามารถในการปรบั ตัวเป็นหนึ่ง
ในทักษะการทำงานหลักที่หลายบริษัทต้องการในศตวรรษที่ 21 เราสามารถมองหาโอกาสใน
ชีวิตประจำวนั เพ่ือฝึกฝนทักษะง่าย ๆ เพียงไม่กี่ข้อ ซึง่ จะช่วยใหพ้ ัฒนาความสามารถในการปรับตัวได้
ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) เปน็ ผู้ทเ่ี ปิดใจ (Being Open-Minded)
2) การขอความช่วยเหลอื (Asking for Help)
3) การเปรยี บเทียบข้อดีข้อเสีย (Measuring the Pros and Cons)
4) เป็นผู้หาทางออกไดเ้ สมอ (Being Solution-Oriented)
5) จัดลำดับความสำคัญ (Prioritizing what’s Important to You)
6) เป็นผู้มคี วามยืดหยุ่น (Being Flexible)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการ
ปรบั ตัว ตามทัศนะของ Williams วา่ อย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

201

6. Robert Half เว็บไซต์ที่เชี่ยวชาญด้านการสรรหาบุคลากรที่เชื่อมโยงนายจ้างกับ
คนหางานที่มีทักษะสูง ได้กล่าวถึง แนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัวว่า อยากรู้ไหมว่าจะปรับตัว
ให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร? การปรับตัวคือทักษะหนึ่งที่ต้องอาศัยการฝึกฝนและความ
รับผิดชอบ แต่มันก็ไม่ได้ยากเกินความสามารถของพนักงานทุกคนในทกุ อุตสาหกรรม หากอยากที่จะ
กา้ วสูบ่ ทบาทผ้นู ำในองค์กร เราจะต้องพจิ ารณาทักษะการปรับตัวด้านอารมณ์ (Soft Skills) ท่ีจำเป็น
น่คี ือวธิ ีการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัว

1) เรียนร้จู ากผอู้ นื่ (Learn from Others)
2) มองหาสง่ิ ดี ๆ ในสถาณการณ์คับขนั (Find the Silver Lining)
3) กล้าทจ่ี ะทำผดิ พลาด (Be willing to Make Mistakes
4) ตง้ั คำถาม (Ask Questions)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทกั ษะการ
ปรบั ตัว ตามทัศนะของ Robert Half วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

7. Life Zemplified เว็บไซต์เกี่ยวกับการใช้ชีวิตที่มีสุขภาพดี มั่งคั่งและเรียบง่าย ได้
กลา่ วถงึ แนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตัวว่า ในการพัฒนาความยืดหย่นุ และความสามารถของเรา
นนั้ สามารถทำไดด้ งั น้ี

1) ยอมรับ (Accepting)
2) เรยี นรู้ (Learning)
3) มคี วามคดิ สร้างสรรค์ (Creating)
4) แนะนำ (Suggesting)
5) เปน็ ผเู้ ปิดกว้าง Being Receptive)
6) เป็นธรรมชาติ (Being Spontaneous)
7) ลงมอื ทำ (Embracing)
8) เปล่ียนแปลง (Altering)
9) อาสา (Volunteering)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทกั ษะการ
ปรบั ตัว ตามทัศนะของ Life Zemplified ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

202

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

8. Prince ผู้เขียน “7 ทักษะสำหรับอนาคต (7Skills for the Future)” ผู้เชี่ยวชาญใน
การเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ ได้กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัวว่า วิธีที่ดีที่สุดในการ
พัฒนาความสามารถด้านการปรับตัวหรือพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ ที่สำคัญ คือการฝึกฝน
เหตุการณ์ ‘การเดิมพันต่ำ’ (Low Stake) ในทุกวัน เราเชื่อว่าวิธีการทีด่ ีที่สุดในการพัฒนาทักษะการ
ปรับตัวและการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมนัน้ เรมิ่ ตน้ ได้ง่าย ๆ จากกจิ กรรมท่ี “ความเส่ียงต่ำ” แต่ปฏิบัติ
ซ้ำ ๆ กันทุกวัน ลองสร้างความสามารถในการปรับตัว เพื่อการตอบสนองเชิงบวกต่อสถานการณ์
วิธีการคือสร้างการเปลี่ยนแปลงในตัวเราทุก ๆ ครั้งที่พบกับความเปลี่ยนแปลง ทดลองเปลี่ยนแปลง
เรื่องง่าย ๆ ในชีวิต เช่นการเปลี่ยนเส้นทางการเดินทางไปทำงาน ลองตอบ “ตกลง” กับสิ่งที่เคย
ปฏิเสธมาตลอด สิ่งเหล่านี้เป็นสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่มีความเสี่ยงต่ำ ซึ่งจะนำไปสู่
สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูงกว่าในอนาคต ซ่ึงน่ันจะสร้างการเปลี่ยนแปลงได้มากข้ึน น่คี อื แนวทางอื่น ๆ
ทีส่ ามารถนำไปปรับใช้ได้

1) มองหาโอกาสท่ีจะลองส่งิ ใหม่ ๆ เพื่อทำใหต้ ัวเองได้เรียนรู้
2) เมื่อพื้นที่ปลอดภัยขยายใหญ่ขึ้น ให้พยายามขยายพื้นที่นี้ต่อไปโดยทำแบบเดิมไป

เรอ่ื ย ๆ
3) เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่จะต่อต้านการเปลี่ยนแปลง แต่เราต้องลองสร้าง

ความสามารถในการปรับตัว และตอบสนองเชิงบวกต่อการเปลี่ยนแปลง โดยการ
สรา้ งพฤติกรรมการปรบั ตัวเม่ือพบเจอกบั การเปลย่ี นแปลงในครั้งถดั ไป
4) การวิจัยแสดงให้เห็นว่าคนที่สามารถหาวิธีแก้ปัญหาได้จะสามารถรับมือกับปัญหาท่ี
เข้ามาได้มากกว่า

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทักษะการ
ปรบั ตัว ตามทัศนะของ Prince ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

9. Oyster Connect เว็บไซต์เกี่ยวกับการฝึกงาน ได้กล่าวถึงแนวการพัฒนาทักษะการ
ปรับตัวว่า ใจเย็นและสงบในเวลาที่เผชิญกับความยากลำบาก ยืนหยัดต่อสู้ในสถานการณ์ความ
ยากลำบาก รับความท้าทายในช่วงสั้น ๆ นั้น บอกกับความท้าทายว่า “เข้ามาเลย” รับมือกับการ
เปลีย่ นแปลงของขัน้ ตอนการทำงาน แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ตอบกลับความพ่ายแพด้ ว้ ยทัศนคติเชิงบวก
เปิดใจใหก้ ว้าง มองภาพใหญ่ ทักษะเหลา่ นี้แหละคือทกุ สิ่งทุกอย่าง เรามีโอกาศในการเรียนรู้เร่ืองพวก
นี้มากมาย ทั้งในมหาวิทยาลัยและในชีวิตจริง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยพัฒนาความคิด ทัศนคติท่ีดีต่อการ

203

เปลีย่ นแปลง ลองมองดสู ถานการณท์ ี่เหมาะสมทีจ่ ะใช้ทักษะเหลา่ นี้ และลองประเมินดูว่าเราสามารถ
ทำได้ดแี ค่ไหน

1) ความยืดหยุ่นทางปญั ญา (Intellectual Flexibility)
2) มีความออ่ นไหว (Being Receptive)
3) มคี วามสรา้ งสรรค์ (Creativity)
4) มีพฤติกรรมการปรบั ตวั (Adapting Behavior)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจวา่ ท่านเข้าใจแนวทางการพฒั นาทักษะการ
ปรับตวั ตามทัศนะของ Oyster Connect ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………....................................................................................................................... ......................

10. Baker ที่ปรึกษาด้านความเป็นผู้นําและโค้ชที่ช่วยให้ผู้นําทีมและองค์กรปรับตัวให้มี
ประสทิ ธภิ าพและมีส่วนร่วมมากข้นึ ได้กลา่ วถึงแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัวว่า นีค่ อื เจ็ดวิธีการ
สำหรบั การพฒั นาและแสดงทักษะการปรับตวั ซง่ึ จะชว่ ยเหลือองค์กรใหส้ ามารถปรบั ตวั ได้

1) ปรับทันทีหรือจะรอจนจบครึ่งแรก (Adjust As You Go Versus Waiting Until
Half-Time)

2) มองให้ไกลและวางแผนระยะสั้น (Vision Long Term and Plan Short Term)
3) รบั ความเสยี่ งและก้าวไปขา้ งหนา้ โดยไม่ต้องมีข้อมลู ทั้งหมด (Take Some Risk and

move Forward without all The Data)
4) ลดพฤตกิ รรมไม่โตต้ อบ (Minimize the Knee-Jerk reactions)
5) รู้ตัวว่าเราอยู่ที่จุดไหนของการเปลี่ยนแปลง (Know Where You are on The

Change Curve)
6) ใส่หน้ากากออกซิเจนให้ตวั เองก่อน (Put the Oxygen Mask on Yourself First)
7) ปรบั ตวั ใหส้ อดคล้องกับความเปลยี่ นแปลง (Get Aligned with the Change)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทกั ษะการ
ปรับตัว ตามทัศนะของ Bakerว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………....................................................................................................................... ......................

204

แบบประเมินตนเอง
1) ท่านเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Quick Base ชดั เจนดแี ล้ว
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไมช่ ดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อกี คร้ัง แล้วตอบคำถามในใจว่า Quick Base
กลา่ วถึงแนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรับตัว ว่าอย่างไร?
2) ทา่ นเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Vanderbloemen ชดั เจน
ดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า
Vanderbloemen กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั ว่าอยา่ งไร?
3) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Reddy ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Reddy
กลา่ วถงึ แนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?
4) ท่านเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Ccl ชัดเจนดีแล้วหรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยงั ไม่ชดั เจนดีพอ โปรดกลบั ไปศึกษาใหม่อีกคร้ัง แลว้ ตอบคำถามในใจวา่ Ccl กลา่ วถึง
แนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ว่าอยา่ งไร?
5) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Williams ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ัดเจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Williams
กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั ว่าอย่างไร?
6) ทา่ นเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Robert Half ชดั เจนดี

แลว้ หรือไม่

[ ] ชดั เจนดีแลว้ [ ] ยงั ไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Robert
Half กล่าวถึงแนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรับตวั วา่ อยา่ งไร?
7) ทา่ นเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตวั ตามทัศนะของ Life Zemplified ชดั เจน

ดแี ลว้ หรือไม่

[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Life
Zemplified กล่าวถงึ แนวทางการพัฒนาทกั ษะการปรับตวั วา่ อย่างไร?

205

8) ท่านเขา้ ใจแนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Prince ชดั เจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Prince
กล่าวถึงแนวทางการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว ว่าอยา่ งไร?

9) ทา่ นเขา้ ใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Oyster Connect ชัดเจน
ดแี ล้วหรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดแี ล้ว [ ] ยงั ไมช่ ัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Oyster
Connect กลา่ วถึงแนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัว ว่าอย่างไร?

10) ท่านเข้าใจแนวทางการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Baker ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดีแล้ว [ ] ยงั ไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Baker
กล่าวถงึ แนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัว ว่าอย่างไร?

หมายเหตุ
หากตอ้ งการศกึ ษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากตน้ ฉบบั ที่เป็นภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซตข์ องแตล่ ะแหล่งได้ ดงั น้ี
1. Quickbase : https://www.quickbase.com/blog/being-an-adaptable-leader-is-a-

new-requirement
2. Vanderbloemen : https://www.sunlife.ca/en/tools-and-resources/health-and-

wellness/mental-wellness/6-ways-adaptability-can-help-you-succeed/
3. Reddy : https://content.wisestep.com/importance-adaptability-flexibility-

workplace/
4. Ccl : https://www.ccl.org/articles/leading-effectively-articles/adaptability-1-idea-3-

facts-5-tips/
5. Williams : https://www.sunlife.ca/en/tools-and-resources/health-and-

wellness/mental-wellness/6-ways-adaptability-can-help-you-succeed/
6. Robert Half : https://www.roberthalf.co.nz/career-advice/career-

development/adaptability-skills
7. Life Zemplified : https://lifezemplified.com/adaptability-increases-wellbeing/
8. Prince : https://www.trainingzone.co.uk/deliver/coaching/personal-development-

how-to-increase-your-adaptability
9. Oyster Connect : http://oysterconnect.com/

206

10. Baker : https://www.people-results.com/7-tips-build-leadership-adaptability/

เอกสารอ้างองิ
Baker, J. (2014). Seven tips to build your leadership adaptability. Retrieved August 7,

2019, from https://bit.ly/2MN1FsF
Ccl (n.d.). How to adapt to change: 5 Tips. Retrieved August 7, 2019, from

https://bit.ly/2GRMqKh
Robert Half (n.d.). How to develop your adaptability skills. Retrieved August 7, 2019,

from https://bit.ly/2xOnKym
Life Zemplified. (n.d.). Adaptability increases well-being. Retrieved August 7, 2019,

from https://bit.ly/2xSXRNO
Oyster Connect. (n.d.). How to develop adaptability - One of the top 10 21st century

skills for graduates. Retrieved August 7, 2019, from https://bit.ly/2M78Lc7
Prince, E. S. (2019). Personal development: how to increase your adaptability.

Retrieved August 7, 2019, from https://bit.ly/2PjeYQB
Quickbase. (2012). Tips for developing an adaptability mindset. Retrieved August 7,

2019, from https://bit.ly/2MO2ZM3
Reddy, C. (n.d.). Tips to develop adaptability and flexibility skills. Retrieved August 7,

2019, from https://bit.ly/2ytwIB3
Williams, R. S. (2017). 6 ways adaptability can help you succeed. Retrieved August 7,

2019, from https://bit.ly/2ZHKywc
Vanderbloemen. (2013). Here are some tips to help you grow in your adaptability.

Retrieved August 7, 2019, from https://bit.ly/2Kyf19J

207

5.5 คู่มือชุดที่ 5 ทัศนะเกยี่ วกับข้นั ตอนการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
หลงั จากการศกึ ษาคู่มือชดุ น้ีแลว้ ท่านมพี ฒั นาการด้านพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain) ซ่ึง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดงั น้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุขั้นตอน
การพัฒนาของทกั ษะการปรบั ตัวได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรียงข้ันตอนการพฒั นาของทกั ษะการปรับตัวได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
ขัน้ ตอนการพฒั นาของทักษะการปรบั ตวั ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลข้ันตอนการพัฒนา
ของทกั ษะการปรับตวั ได้

5. วัดผล เปรยี บเทยี บ ตีคา่ ลงความเห็น วจิ ารณ์ขนั้ ตอนการพัฒนาของทักษะการปรับตัวได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบยี บ สร้าง ประดษิ ฐ์ หรือวางหลักการขั้นตอนการพัฒนาของ
ทักษะการปรับตวั ได้
โดยมีทัศนะเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัวของแหล่งอ้างอิงทางวิชาการต่าง ๆ
ดังน้ี
1) ขน้ั ตอนการพฒั นาทกั ษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Newell
2) ขัน้ ตอนการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ J-Pierre
3) ข้นั ตอนการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ David
4) ขน้ั ตอนการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Berger & Johnston
5) ข้นั ตอนการพัฒนาทักษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Indeed
คำชี้แจง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมา
กล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขา
กลา่ วถึงขน้ั ตอนการพฒั นาวา่ อยา่ งไร
2. หลงั จากการศกึ ษาเนื้อหาแต่ละทัศนะแลว้ โปรดทบทวนความรคู้ วามเขา้ ใจของท่านอีก
คร้งั จากแบบประเมนิ ผลตนเองในตอนท้ายของคู่มือ
3. เนื้อหาเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละ
ทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา

208

รายละเอยี ดของทศั นะเหล่านน้ั ซ่งึ ต้นฉบบั เปน็ บทความภาษาอังกฤษ ทา่ นสามารถจะสบื คน้ ตอ่ ได้จาก
เว็บไซต์ทีร่ ะบไุ วใ้ นแหลง่ อา้ งอิงน้นั ๆ

ทัศนะเกีย่ วกับข้ันตอนการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั
1. Newell ผอู้ ํานวยการ Partners in Leadership กล่าวถงึ 4 ข้ันตอนในการพฒั นา AQ

และสร้างการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นว่า แบบจำลอง 4 ขั้นตอนประกอบด้วย มองเห็น, เป็นเจ้าของ,
แกไ้ ขปัญหาและลงมือทำ 4 ขน้ั ตอนเหล่าน้ีสามารถช่วยสรา้ ง AQ ทด่ี ขี นึ้ ในตวั เองและคนรอบข้างได้

1) มองเห็น : จำเป็นต้องเข้าใจการเปลี่ยนแปลง (See It. Acknowledge change is
Needed)

2) เปน็ เจา้ ของ : เปน็ เจา้ ของสถานการณ์ (Own It. Take Ownership of the
Situation)

3) แก้ไขปัญหา : พัฒนาแผนปฏิบัตกิ าร (Solve It. Develop your Action Plan)
4) ลงมือทำ : ดำเนนิ การเปลี่ยนแปลง (Do It. Execute the change)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าทา่ นเขา้ ใจขน้ั ตอนการพฒั นาทักษะการ
ปรบั ตวั ตามทศั นะของ Newell ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

2. J-Pierre ซีอีโอและผู้ก่อตั้ง Entrepreneurboy กล่าวถึงวิธีการปรับตัว 11 ขั้นตอน
ง่าย ๆ ไม่ว่าจะเกี่ยวข้องกับงาน ครอบครัว ความสัมพันธ์หรือชีวิตโดยท่ัวไป การเปลี่ยนแปลงจะต้อง
เกิดขึ้น และเพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นได้เราต้องปรับตัวได้ ต้องสามารถ
เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและยอมรับสิ่งที่เป็นอยู่ หากกำลังมีปัญหาในการเปลี่ยนแปลงอย่างเลี่ยง
ไม่ได้ น้คี ือเคลด็ ลับบางประการในการเปลีย่ นแปลงท่ีสามารถลองทำไดโ้ ดยภาพรวม

1) หยุดคร่ำครวญ (Stop whining)
2) ไม่มีคำวา่ “ถูก” และ “ผิด” (There’s no ‘Right’ and ‘Wrong’)
3) ปรบั ปรุงวิธกี ารรบั มือ (Improve your coping Mechanism)
4) เปดิ ใจรบั การเปล่ียนแปลง (Be open to change)
5) มรี ายละเอียดทง้ั หมดของแผน (Have the whole Alphabet for your Plan)
6) พดู คุยกับตนเองในเชิงบวก (Engage in a Positive self-talk)
7) ยดึ ติดกบั ความชอบตามธรรมชาติ (Stick to your natural Inclinations)
8) คดิ การใหญ่ (Think Big)
9) อย่าโทษตัวเองและคนอ่ืน (Don’t blame yourself)
10) เรยี นร้วู ธิ สี ร้างสมดลุ ใหก้ บั ชีวติ (Learn how to balance your Life)

209

11) อย่าหยดุ รอ (Stop Waiting)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจขนั้ ตอนการพัฒนาทกั ษะการ
ปรับตวั ตามทศั นะของ Newell ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

3. David ผู้เชี่ยวชาญด้านไลฟ์สไตล์และอาชีพ กล่าวแสดงให้เห็นถึงวิธีการปรับตัวใน
สถานที่ทำงานว่า บริษัท เทคโนโลยี เช่น Microsoft และ Apple ได้สร้างอาณาจักรจากนวัตกรรม
และการปรับตัวที่มั่นคง จากนั้นเราส่วนใหญ่ต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับงาน
ของเราทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ พนักงานงานยุคใหม่ต้องเรียนรู้และพัฒนาซอฟต์แวร์ แอพ อุปกรณ์
และเครอ่ื งจักรใหม่ ๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง สง่ิ นแี้ ละองค์ประกอบอื่น ๆ จากการเปล่ียนแปลงในโลกทหี่ มนุ ไป
อย่างรวดเร็ว หมายความว่านายจ้างเต็มใจที่จะจ้างและส่งเสริมพนักงานที่แสดงให้เห็นถึง
ความสามารถในการปรับตวั ท่ดี เี ยย่ี มในทที่ ำงาน

1) สรา้ งแรงจงู ใจใหม่ ๆ (Redefine your Motivation)
2) สงั เกตและเรยี นรู้ (Observe and Learn)
3) ถามคำถาม (Ask Questions)
4) เตรียมทางเลอื กในการแก้ปัญหา (Prepare alternative Solutions)
5) ทำการเปลีย่ นแปลงให้เป็นเร่ืองง่าย ๆ (Make easy Transitions)
6) ใจเยน็ และมัน่ ใจ (Stay Calm and Confident)
7) เขา้ ถึงทกั ษะใหม่ ๆ (Acquire new Skills)
8) ตง้ั เป้าหมายย่อย ๆ (Set small Goals)
9) ค้นหาข้อดี (Find the Upside)
10) กลา้ ลองผิดลองถูก (Be willing to Make Mistakes)

โปรดทบทวนตัวเอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเขา้ ใจขัน้ ตอนการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั
ตามทัศนะของ David ว่าอย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

4. Berger & Johnston นักเขียนเกี่ยวกับความเป็นผู้นํา กล่าวถึง 4 ขั้นตอนสู่การ
ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้มากขึ้นเมื่อเผชิญกับความซับซ้อนและการเปลี่ยนแปลง การ
เปลีย่ นความคดิ เปน็ วิธีเดยี วที่จะไม่เพียงแต่รับมือ แตย่ งั ทำให้การเดนิ ทางสนุกและประสบความสำเร็จ
มากขน้ึ ดว้ ย คำแนะนำ 4 ประการในการเร่มิ ต้นมีดงั น้ี

210

1) ถามคำถามที่แตกต่าง (Ask different Questions)
2) ยอมรบั มุมมองทีห่ ลากหลาย (Accept multiple Perspectives)
3) มองภาพรวม (Consider the bigger Picture)
4) การทดลองและเรียนรู้ (Experiment and Learn)

โปรดทบทวนตวั เอง แล้วตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจข้นั ตอนการพัฒนาทกั ษะการ
ปรับตัว ตามทศั นะของ Berger วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….………………................................................................................................................ ...........

5. Indeed เว็บไซต์เกี่ยวกับการจัดหางาน กล่าวถึงวิธีการพัฒนาทักษะการปรับตัวว่า
การปรับตัวได้และเปิดรับการเปลี่ยนแปลงอาจไม่ใช่เรื่องง่ายเสมอไป อย่างไรก็ตามอาจพิจารณา
ข้ันตอนตอ่ ไปนเี้ พ่อื ชว่ ยพัฒนาและปรบั ปรงุ ทักษะการปรบั ตวั :

1) ตระหนกั ถึงการเปล่ยี นแปลงในสภาพแวดล้อม (Be Aware of changes in your
Environment)

2) พัฒนาความก้าวหนา้ ทางความคดิ (Develop a growth Mindset)
3) ตง้ั เป้าหมายให้ตวั เอง (Set Goals for yourself)
4) ขอความคดิ เห็น (Ask for Feedback)
5) เรยี นรู้ท่จี ะรบั รแู้ ละยอมรับการเปลย่ี นแปลง (Learn to Acknowledge and

Accept change)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าทา่ นเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาทักษะการ
ปรบั ตวั ตามทศั นะของ Indeed วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

แบบประเมนิ ตนเอง
1) ท่านเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Newell ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชดั เจนดแี ล้ว [ ] ยังไม่ชัดเจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Newell
กล่าวถงึ ขัน้ ตอนการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?

211

2) ท่านเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ J-Pierre ชัดเจนดีแล้ว
หรอื ไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า J-Pierre
กลา่ วถึงข้นั ตอนการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั วา่ อย่างไร?

3) ท่านเขา้ ใจข้ันตอนการพฒั นาทกั ษะการปรับตัว ตามทศั นะของ David ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชดั เจนดแี ลว้ [ ] ยังไม่ชดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า David
กลา่ วถงึ ขนั้ ตอนการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ว่าอย่างไร?

4) ท่านเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Berger & Johnston
ชดั เจนดีแล้วหรือไม่
[ ] ชัดเจนดีแลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดีพอ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Berger &
Johnston กลา่ วถึงขัน้ ตอนการพฒั นาทักษะการปรับตัว ว่าอย่างไร?

5) ท่านเข้าใจขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทัศนะของ Indeed ชัดเจนดีแล้ว
หรือไม่
[ ] ชัดเจนดแี ลว้ [ ] ยังไมช่ ดั เจนดพี อ
หากยังไม่ชัดเจนดีพอ โปรดกลับไปศึกษาใหม่อีกครั้ง แล้วตอบคำถามในใจว่า Indeed
กล่าวถึงขัน้ ตอนการพฒั นาทักษะการปรับตวั วา่ อย่างไร?

หมายเหตุ
หากต้องการศึกษารายละเอียดของแต่ละทัศนะจากต้นฉบบั ที่เปน็ ภาษาอังกฤษ โปรด “Ctrl & Click”
เวบ็ ไซต์ของแตล่ ะแหลง่ ได้ ดงั นี้
1. Newell : https://www.inc.com/partners-in-leadership/4-steps-to-develop-your-aq-

and-make-change-happen.html
2. J-Pierre : https://www.dumblittleman.com/how-to-be-adaptable/
3. David : https://www.careeraddict.com/demonstrate-adaptability-on-the-job
4. Berger & Johnston : https://www.fastcompany.com/3043294/4-steps-to-

becoming-more-adaptable-to-change
5. Indeed : https://www.indeed.com/career-advice/career-

development/adaptability-skills

เอกสารอา้ งองิ
Berger, J.G. & Johnston, K. (2015). 4 Steps to becoming more adaptable to change.

Retrieved August 27, 2020, from https://bit.ly/3hzfIyL

212

David, V. (2019). How to demonstrate adaptability in the workplace. Retrieved
August 27, 2020, from https://bit.ly/2YHeIRP

indeed. (n.d.). How to improve adaptability skills. Retrieved August 28, 2020, from
https://indeedhi.re/2QwCFGU

J-Pierre, J. (2019). How to be adaptable in 11 simple steps. Retrieved August 26,
2020, from https://bit.ly/3huq9Uk

Newell, M. (2016). 4 Steps to develop your AQ and make change happen. Retrieved
August 27, 2020, from https://bit.ly/3htl7ax

213

5.6 คมู่ ือชุดที่ 6 ทศั นะเกย่ี วกับการประเมินทกั ษะการปรับตัว

วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
หลังจากการศกึ ษาคู่มือชดุ น้ีแลว้ ทา่ นมพี ฒั นาการดา้ นพุทธิพสิ ยั (Cognitive Domain) ซึ่ง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมที่
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเขา้ ใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวเิ คราะห์
(Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสรา้ งสรรค์ (Creating) ดงั น้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุการ
ประเมนิ ผลสำเรจ็ จากการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตัวได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียงการประเมินผลสำเร็จจากการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
การประเมินผลสำเรจ็ จากการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลการประเมินผล
สำเร็จจากการพัฒนาทกั ษะการปรับตัวได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์การประเมินผลสำเร็จจากการพัฒนา
ทักษะการปรบั ตัวได้

6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการการประเมินผลสำเร็จ
จากการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั ได้

โดยมีทัศนะเกี่ยวกับการประเมินผลสำเร็จจากการพัฒนาทักษะการปรับตัวของแหล่ง
อา้ งองิ ทางวชิ าการต่าง ๆ ดงั น้ี

1) การประเมินผลสำเรจ็ จากการพฒั นาทกั ษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Kane
2) การประเมินผลสำเร็จจากการพฒั นาทักษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Morgan
3) การประเมนิ ผลสำเร็จจากการพัฒนาทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Workable
4) การประเมนิ ผลสำเรจ็ จากการพฒั นาทักษะการปรับตวั ตามทัศนะของ University of

Alberta
5) การประเมนิ ผลสำเร็จจากการพัฒนาทกั ษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Zorzie

214

คำชแี้ จง
1. โปรดศกึ ษาเน้ือหาเกีย่ วกับการประเมนิ ผลสำเรจ็ จากการพัฒนาทักษะการปรบั ตัว จาก

ทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับ
ตัวเองได้ว่า เขาใหก้ ารประเมนิ ผลสำเรจ็ จากการพฒั นาว่าอย่างไร

2. หลังจากการศกึ ษาเนื้อหาแตล่ ะทศั นะแล้ว โปรดทบทวนความร้คู วามเขา้ ใจของท่านอีก
คร้งั จากแบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของค่มู ือ

3. เนื้อหาเกี่ยวกับการประเมินผลสำเร็จจากการพัฒนาทักษะการปรับตัว จากทัศนะท่ี
นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมีแหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังแบบประเมินผลตนเอง หาก
ทา่ นต้องการศกึ ษารายละเอยี ดของทัศนะเหลา่ นั้น ซ่งึ ตน้ ฉบับเปน็ บทความภาษาอังกฤษ ท่านสามารถ
จะสืบคน้ ต่อไดจ้ ากเวบ็ ไซตท์ ่รี ะบุไว้ในแหลง่ อ้างอิงนน้ั ๆ

ทศั นะเกยี่ วกับการประเมนิ ทักษะการปรับตัว
1. Kane เป็นประธาน Agenda Group และเจ้าของธุรกิจให้คำปรึกษาที่นําเสนอการ

วางแผนธุรกิจเชิงกลยุทธ์การพัฒนาการตลาด การวิจัยการประชาสัมพันธ์การสร้างโอกาสในการขาย
และการสนับสนุนการขาย ได้นำเสนอการประเมินเพื่อวัดทักษะการปรับตัว โดยแบบสอบถามชื่อ
How Adaptable Are You? Take this Adaptability Quotient (AQ) Test and Find Out (เ ร า
จะปรับตวั ไดอ้ ย่างไร ทำการทดสอบความสามารถในการปรบั ตัว (AQ) และหาคำตอบ) ซึ่งความฉลาด
ทางการปรบั ตัว (AQ) เป็นความฉลาดทางอารมณแ์ บบใหม่ (EQ) เป็นทกั ษะท่สี ำคัญอย่างยิ่งท่ีจะสร้าง
ความแตกต่างระหว่างความเป็นเลิศและการหายไปจากสถานที่ทำงาน การวัดความสามารถในการ
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็วจึงเป็นขั้นตอนแรกที่จำเป็นในการจัดการ
กบั โลกธุรกิจในปัจจุบัน โดยการประเมินเพ่อื วัดทักษะการปรับตวั มีข้อคำถามของแบบสอบถามดังนี้

แบบทดสอบการประเมินอย่างรวดเร็วเพื่อวัดทักษะการปรับตัว (Here’s a Quick
Assessment to Determine your Adaptability Skills)

1) ฉันคิดถึงวิธีการใหม่และแนวทางที่แตกต่างที่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ (I Think
about New and Different Ways I Can Accomplish my Goals)

2) ฉันทา้ ทายตวั เองโดยใช้คำถามในส่งิ ท่ีฉนั คิดวา่ "รู้" (I Challenge myself to Question
what I Presume to “Know.”)

3) ฉันสามารถเปล่ียนแปลงโดยมีการร้องเรยี นนอ้ ยทีส่ ดุ (I am Able to Shift Gears with
Minimal Complaint)

4) ค่านิยมหลักของฉันชัดเจนต่อฉันและเพื่อนร่วมงาน / สมาชิก (My Core Values are
Clear to me and to my Colleagues/Members)

5) ฉันสามารถจินตนาการสิ่งใหม่ ๆ จากความคิดเดิม ๆ ได้อย่างรวดรวดเร็ว (I Can
Readily Imagine new uses for Old Ideas)

6) นิสัยของฉันคือการขอความช่วยเหลือและรับความช่วยเหลือ (My Habit is to Reach
for help and Acknowledge the Assistance)

7) ฉันชอบที่จะทดลองคิดสงิ่ ใหม่ ๆ (I like to Experiment with New Ideas)

215

8) ฉันไม่เคยหยุดอยู่กับชัยชนะของฉันและค้นหาความท้าทายต่อไปในเชิงรุก (I never
Fall in Love with my Wins and Proactively Seek out the Next Challenge)

9) ความล้มเหลวให้โอกาสฉันในการสร้างสรรค์นวัตกรรม (My Failures present
Opportunities for Innovation)

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแบบประเมินผลสำเร็จจากการ
พฒั นาทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Kane ว่าอยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

2. Morgan นักพูดและนักเขียนเกี่ยวกับการหางานและกลยุทธ์อาชีพ ได้นำเสนอการ
ประเมนิ การปรับตัวเพื่อช่วยให้ระบสุ าขาวชิ าที่อาจต้องพจิ ารณาเม่ือก้าวไปข้างหน้าในการหางานและ
อาชพี เพราะในการเปล่ียนแปลงไม่มีอะไรแน่นอน โดยใชแ้ บบสอบถามการทดสอบการปรับตัว (Test
your Adaptability) ซึ่งมีขอ้ คำถามของแบบสอบถามดังน้ี

ตอนท่ี 1 การรับรตู้ นเอง (Self-Awareness)
1) ฉันสามารถพูดได้อย่างชัดเจนถึงพรสวรรค์และความสามารถพิเศษของฉัน (I can

Articulate my Special Abilities, Talents and Skills)
2) เมื่อฉันสูญเสียความมั่นใจชั่วคราว ฉันรู้ว่าฉันต้องทำอย่างไรเพื่อฟื้นฟูความมั่นใจ ( I

know what I have to do to Regain my Confidence when I Temporarily Lose
it)
3) ฉันมีความภาคภูมิใจในตนเองและรู้สึกดีกับตัวเอง (I have a Strong Sense of Self-
Esteem and Generally Feel Good about Myself)
4) ฉันสามารถแยกแยะและบอกให้ทราบถึงจุดอ่อนของฉันและแนวทางทีฉ่ นั ทำงานกับคน
รอบข้าง (I can Identify and Communicate my Weaknesses and the Ways
that I work with or around them)
5) ฉันมีวิสัยทัศน์ที่มีความหมายและมีจุดมุ่งหมายสำหรับชีวิตของฉัน (I have a Vision
for my Life that gives it Meaning and Purpose)
6) ฉันรู้ว่าอะไรสำคัญสำหรับฉันและใช้ความรู้นี้ในการตัดสินใจ ( I know what is
Important to me and use this Knowledge in Making Decisions)
ตอนที่ 2 การจัดการแบบมืออาชีพและแบบส่วนตัว (Professional and Personal
Management)
1) ฉันรับผิดชอบการจัดการอาชีพของฉัน (I take Responsibility for Managing my
Career)

216

2) ฉันมองเห็นวิธีที่จะทำให้อาชีพของฉันเหมาะสมกับภาพรวมที่ใหญ่ขึ้นสำหรับแผนชีวิต
ข อ ง ฉ ั น ( I can see how my Career Fits into the bigger Picture of my Life
Plans)

3) ฉันมีแผนการทางการเงินส่วนตัวซ่ึงฉันประเมินอย่างสม่ำเสมอตามสถานการณ์ปัจจุบัน
ของฉัน (I have a Personal Financial Plan which I Evaluate Regularly Based
on my current Situation)

4) ฉนั มีแผนสำรองเปน็ ตวั เลือกที่สองหากแผนแรกของฉันไม่ได้ผล (I have Contingency
Plans, a Second Option if my First doesn’t Work Out)

5) ฉันประเมินจุดแข็งและจุดอ่อนของฉนั กำหนดแนวทางการเติบโตและกำหนดเป้าหมาย
ระยะสั้นและระยะยาวสำหรับอาชีพของฉัน ( I Assess my Strengths and
Weaknesses, Outline Ways to Grow, and Establish Short and Long Range
Goals for my Career)

6) ฉันสามารถทำการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกองค์กรของฉัน (I
can Market myself Effectively, Both Inside and Outside my Organization)

ตอนที่ 3 การแกป้ ญั หาและการตัดสนิ ใจ (Problem Solving and Decision Making)
1) ฉันสามารถเรียนรู้กลยุทธ์ส่วนตัวเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการ

เปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิต (I have Emerged Stronger and have Learned
Personal Strategies to Deal with Change because of the Changes in my
Life)
2) ฉันสามารถจัดระเบียบสภาพแวดล้อมและจัดลำดับความสำคัญของงานแม้ในเวลาที่
เครยี ด (I can Organize my Surroundings and Prioritize Tasks, even in Stressful
Times)
3) ฉันสามารถค้นหาและระดมทรัพยากรที่จำเป็นในภาวะวิกฤตหรือสถานการณ์ใหม่ ๆ (I
can find and mobilize Necessary Resources in a Crisis or new Situation)
4) ปกติฉันมีทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปัญหา (I can usually think of Several
Alternatives to solving a Problem)
5) เมื่อประสบความเครียดในด้านใดด้านหนึ่งของชวี ติ ฉันสามารถควบคุมอารมณ์กับเรือ่ ง
น ั ้ น ๆ ไ ด ้ ( When Experiencing Stress in one Area of Life, I can Contain it
within that Area)
ตอนท่ี 4 ทศั นคติ (Attitude)
1) ฉันเชื่อว่าฉันมีทางเลือกและตัวเลือกเสมอแม้ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก (I Believe
that I Always have Options and choices, even in Difficult Situations)
2) โดยท่วั ไปฉนั ดำเนินชีวิตในแง่ดี (I generally Approach Life as an Optimist)
3) ฉันมีอารมณ์ขัน ฉันสามารถหาสิ่งที่จะทำให้หัวเราะแม้ในเวลาที่มีปัญหา (I have a
Sense of Humor. I can find things to Laugh about even in Dark Times)

217

4) ฉันเข้าใจว่าย่อมมีการเติบโตในประสบการณ์ใหม่ ๆ และสนุกกับการเรียนรู้จากส่ิง
เ ห ล ่ า น ั ้ น ( I understand there is Growth in new Experiences and Enjoy
Learning from them)

5) ฉนั เข้าใจว่าชีวติ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงและไม่เป็นไปตามท่ฉี นั ตอ้ งการ (I Expect Life to
have ups and downs and not Always go as I would like it to)

6) ฉันไม่เสียเวลากังวลกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของฉัน (I don’t spend Time
Worrying about things that are out of my Control)

ตอนที่ 5 ความรู้ ความสามารถพิเศษ (Knowledge of Competencies)
1) ฉันบอกกับตัวเองวา่ ต้องเป็นผู้เรียนรู้อยา่ งสม่ำเสมอ (I would describe myself as a

Continuous Learner)
2) ฉันใช้เวลาในการศึกษาความรู้และทักษะให้ทันสมัยอยู่เสมอ (I regularly Spend

Time Keeping my Knowledge and Skills Current)
3) ฉันรู้ทักษะที่จำเป็นสำหรับอาชีพของฉันในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า (I know the Skills that

will be Required in my Profession in the next Several Years)
4) ฉันรู้ว่าคนอื่น ๆ ในองค์กรของฉันคาดหวังอะไรจากฉัน (I know what others in my

organization expect of me)
5) ในมุมมองของหัวหน้า เพื่อนร่วมงานและองค์กร ฉันรู้ว่าทักษะของฉันเป็นอย่างไร (I

know how my current Skills are Viewed by my Boss, Peers and
Organization)
6) ฉันรู้ว่าพฤติกรรมและทัศนคติใดจะได้รับการตอบแทนในองค์กรของฉัน (I know
which Behaviors and Attitudes are Rewarded in my Organization)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจว่าท่านเขา้ ใจแบบประเมินผลสำเร็จจากการ
พฒั นาทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Morgan วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

3. Workable เว็บไซต์เกี่ยวกับการจัดหางาน ได้นำเสนอการใช้คำถามสัมภาษณ์การ
ปรับตัว (Adaptability Interview Questions) เพื่อตอบสนองการเปล่ียนแปลงและความต้องการ
ใหม่ ๆ ขององค์กร องค์กรที่ดีจะมีพนักงานที่ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมตลาด
และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว พนักงานที่มีทักษะในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในทา้ ยที่สุดจะช่วย
ใหอ้ งค์กรเติบโต โดยพนกั งานเหลา่ น้ี

1) ระงับอารมณภ์ ายใต้ความกดดัน (Stay Calm under Pressure)

218

2) ลองใช้เครื่องมือและเทคนิคใหม่ ๆ เพื่อปรับปรุงการทำงานของตนเอง (Try Out new
Tools and Techniques to Improve their Work)

3) หาวิธีแก้ไขอย่างรวดเร็วเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น (Quickly come up with Solutions,
when Problems Arise)

4) ยอมรับสมาชิกใหม่และรูปแบบการทำงานของทีม (Accept new Team Members
and Working Styles)

1. คำถามต่อไปน้ีจะช่วยประเมินวา่ ผู้สมัครเป็นอย่างไร (The Following Questions
will help you Evaluate how Candidates)

1) จดั การกบั เง่ือนไขทีค่ าดเดาไม่ได้ (Deal with Unpredictable Conditions)
2) ปรบั ให้เขา้ กบั สถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลง (Adjust to Changing Circumstances)
3) ช่วยเพื่อนร่วมงานให้ยอมรับการเปลี่ยนแปลง (Help their Coworkers Embrace
Change)
4) รบั ภาระงานใหม่ ๆ (Take on new Tasks)
2. ตัวอย่างของคำถามสัมภาษณ์การปรับตัว ( Examples of Adaptability
Interview Questions)
1) คุณปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงที่คุณไม่สามารถควบคุมได้อย่างไร (How do you

adjust to Changes you have no Control Over?)
2) หากเพื่อนร่วมงานของคุณมีทัศนคติแบบ“ นี่คือวิธีที่เราทำ” ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ

คุณจะพยายามโน้มน้าวให้พวกเขาทำตามวิธีการทำงานที่แตกต่างและมี
ประสทิ ธิภาพมากขนึ้ ไดอ้ ยา่ งไร (If your Coworkers had a “This is how we do
it” Attitude to Learning Something new, how would you try to Convince
them to follow a Different, more Effective Method of Working?)
3) อะไรคือความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่คุณเผชิญเมื่อเริ่มงานใหม่ (What are the
biggest Challenges you’re Facing when Starting a new Job?)
4) คุณทำงานโครงการของลูกค้ามาระยะหน่ึงแลว้ เมื่อผู้จัดการของคุณแจ้งใหค้ ุณทราบ
ว่าข้อกำหนดของโครงการมีการเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน คุณจะทำอย่างไร (You
have been Working on a Client’s Project for a while, when your Manager
informs you that the Project’s Requirements Changed Suddenly. What
would you do?)
5) คุณจะปรับตารางเวลาของคุณอย่างไรเมื่อผู้จัดการขอให้คุณจัดทำรายงานภายใน
หนึ่งชั่วโมง คุณจะแน่ใจได้อย่างไรว่าคุณไม่ตกอยู่ในภารกิจประจำ (How do you
Re-Adjust your Schedule when your Manager Asks you to Prepare a
Report within an hour? How do you Make Sure you don’t Fall Behind
your Regular Tasks?)

219

6) อธิบายเวลาที่คุณได้รับมอบหมายงานใหม่ (เช่นเนื่องจากการปรับปรุงงานหรือการ
เลื่อนตำแหน่ง) คุณปรับตัวอย่างไร (Describe a time you were Assigned new
Tasks (e.g. due to Job Enrichment or Promotion.) How did you Adapt?)

7) ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคลคนใหม่จัดให้มีการตรวจสอบประสิทธิภาพอย่างเป็น
ทางการทุกไตรมาสสำหรับพนักงานทุกคน คุณจะเตรียมตัวและทีมอย่างไรถ้าคุณ
คุ้นเคยกับการประชุมที่ไม่เป็นทางการเท่านั้น ( The new HR Manager
Implements Formal, quarterly Performance Reviews for all Employees.
How would you Prepare yourself and your Team, if you were used to
having only Informal Meetings?)

8) บอกเกี่ยวกับเวลาที่คุณต้องเรียนรู้วิธีใช้เครื่องมือใหม่ในที่ทำงาน คุณใช้เวลานาน
เทา่ ใดในการทำความเขา้ ใจคุณสมบตั ิน้ัน ๆ ในแตล่ ะวนั ? (Tell me about a Time
you had to Learn how to use a new Tool at Work. How long did it take
you to Understand its Features use it daily?)

3. วิธีประเมินทักษะการปรับตัวของผู้สมัคร (How to Evaluate Candidates’
Adaptability Skills)

1) กระบวนการการสร้างความคุ้นเคยพนักงานต้องปรับตัวให้เข้ากับสมาชิกใหม่ในทีม
และรูปแบบการทำงานที่แตกต่างกัน ผู้สมัครที่อธิบายได้อย่างรวดเร็วในการดำรง
ตำแหน่งในอดีตมีแนวโน้มที่จะประสบความสำเร็จในบทบาทใหม่ของพวกเขา
( The Onboarding Process Requires Employees to adjust to new Team
Members and Different Working Styles. Candidates who describe how
quickly they’ve Onboarded in past Positions are likely to be Successful
in their new Role)

2) สำหรับผูส้ มัครที่กำลังพิจารณาการเปล่ียนแปลงท่ีสำคญั ในอาชีพให้ถามว่าอะไรเป็น
แรงผลักดันให้พวกเขาก้าวไปข้างหน้าและมั่นใจว่าพวกเขามีขั้นตอนและงานที่ไม่
คนุ้ เคย (For Candidates who are Considering a Significant Career Change,
ask what drives them to make that move and how Confident they are
with Unfamiliar Procedures and Tasks)

3) จับตาดูคนที่พิจารณาสถานการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดก่อนตัดสินใจ ผู้สมัครเหล่านี้มี
แนวโน้มที่จะปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ที่ไม่ได้วางแผนไว้ (Keep an Eye out for
People who Consider all Possible Scenarios before making a Decision.
These Candidates are more likely to adjust to Unplanned
Circumstances)

4) สำหรับตำแหน่งระดับอาวุโสให้มองหาผู้สมัครที่เห็นคุณค่าของความยืดหยุ่นเปิดรับ
แนวคิดใหม่และมีทักษะการจัดการการเปลี่ยนแปลงที่มั่นคง (For Senior-Level
Positions, look for Candidates who Value Flexibility, are open to new
Ideas and have Solid Change Management Skills)

220

5) หากตำแหน่งนั้นต้องการการมีส่วนร่วมในหลายโครงการและการทำงานร่วมกันกับ
ทีม / แผนกต่าง ๆ ให้เลือกผู้สมัครที่ชื่นชอบการทำงานรายวันมากกว่างานประจำ
( If the Position Requires Participating in Multiple Projects and
collaboration with various teams/departments, opt for candidates who
Prefer Mixing up their daily Tasks Instead of a Routine)

4. ขอ้ สงั เกต (Red Flags)
1) ผทู้ ไี่ มใ่ จกว้าง (They’re not open-Minded) คนทย่ี ึดตดิ กับส่ิงท่ีพวกเขารู้แล้วและ
ไม่เต็มใจที่จะลองใช้ทางออกที่ไม่ใช่แบบเดิมมีโอกาสน้อยที่จะปรับตัวเข้ากับการ
เปลี่ยนแปลงได้ดี (People who Stick to what they Already Know and are
Reluctant to try Non-Traditional Solutions are Less likely to adapt well
to Change)
2) ผู้ที่กลัวความไม่รู้ (They’re scared of the Unknown) หากสภาพแวดล้อมของ
บริษัทของคุณเป็นไปอย่างรวดเร็วและพนักงานจำเป็นต้องทำงานหลายอย่างนอก
ขอบเขตความรับผดิ ชอบของพวกเขาใหม้ องหาผ้สู มัครที่ไม่กลัวความเส่ยี งและเรียนรู้
ท ั ก ษ ะ ใ ห ม ่ ๆ ( If your Company’s Environment is Fast-Paced and
Employees need to take on Multiple Tasks beyond their Scope of
Responsibilities, look for Candidates who Aren’t Afraid of Taking Risks
and Learning new Skills)
3) ผู้ที่ไม่ใช่ทีมที่ดี (They’re not good Team Players) การปรับตัวยังหมายถึงการ
ปรับรูปแบบการทำงานของคุณเพื่อประโยชน์ของทีม เลือกผู้สมัครที่เห็นคุณค่าของ
การทำงานร่วมกันและความยืดหยุ่น (Being Adaptable also Means adjusting
your Working Style for the Team’s Sake. Opt for Candidates who
Value Collaboration and Flexibility)
4) ผู้ที่ประหม่า (They’re Nervous) ผู้สมัครที่ไม่สงบนิ่งภายใต้การเปลี่ยนแปลงอย่าง
ฉับพลันอาจไม่สามารถหาวิธีแก้ปัญหาที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสำหรับปัญหาท่ี
ไ ม ่ ค า ด ค ิ ด ( Candidates who can’t Stay Calm under Sudden Changes
Mightn’t be able to find quick and Effective Solutions to unexpected
Issues)
5) ผู้ที่เป็นเชิงลบ (They’re negative) ผู้สมัครที่ตำหนิผู้อื่นและไม่พอใจเมื่อพวกเขา
ต้องปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงมีโอกาสน้อยที่จะยอมรับสถานการณ์ใหม่
( Candidates who blame others and are grumpy when they have to
adapt to a Change are Less Likely to Accept new Circumstances)

221

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจแบบประเมินผลสำเร็จจากการ
พฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Workable วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.………………...................................................................................................................... .......................

4. University of Alberta มหาวทิ ยาลยั ชน้ั นําของแคนาดาและเป็นหนึง่ ใน 150 อันดบั
แรกของโลก ได้นำเสนอวิธีการประเมินความสามารถในการแสดงให้เห็นถึงการปรับตัวและความ
ยดื หยนุ่ (Competency Assessment for Demonstrating Adaptability and Flexibility) เส้นทาง
การปรับตัวที่แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวและความยืดหยุ่นมุ่งเน้นไปที่การช่วยให้ผู้เรียนจัดการและ
เจริญเติบโตในท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ผู้เรียนจะสำรวจว่าการเปลี่ยนแปลงมีลักษณะอย่างไร
เข้าใจอารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงและเรียนรู้วิธีการปรับตัวและเป็นที่หนึ่งในที่ทำงาน เพื่อให้
เจา้ หน้าทฝ่ี า่ ยสนับสนุนยอมรบั ว่ามคี วามสามารถในเส้นทางนห้ี วั หนา้ งานของพวกเขาจะต้องรับรองใน
ความสามารถในการแสดงทักษะที่เกีย่ วข้องกับความสามารถนี้ ผู้บังคับบัญชาสามารถใชก้ ารประเมิน
ความสามารถนี้โดยไมค่ ำนงึ ถึงการฝึกอบรมใด ๆ พนักงานไม่จำเปน็ ต้องเข้ารว่ มการประชมุ แบบตัวต่อ
ตัวตามความสามารถเว้นแต่พวกเขาต้องการปรับปรุงการเรียนรู้ในด้านเหล่านี้และพัฒนาทักษะของ
พวกเขา การสง่ แบบประเมินเปน็ แบบสมัครใจ วิธกี ารประเมินความสามารถในการแสดงให้เหน็ ถึงการ
ปรับตวั และความยืดหย่นุ ดังนี้

1) ตวั เลือกมาตรฐานประสิทธภิ าพ (Performance Standards Options)
(1) สามารถปฏิบัติทักษะนี้ได้อย่างน่าพอใจและสามารถนำผู้อื่นปฏิบัติได้ (The

Individual can perform this Skill Satisfactorily and can lead others in Performing it)
(2) สามารถปฏิบัติทักษะนี้ได้อย่างน่าพอใจด้วยความคิดริเริ่มและการปรับตัว

แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ (The Individual can perform this Skill Satisfactorily with Initiative
and adaptability to Special Problem Situations)

(3) สามารถปฏิบัติทักษะนี้ได้อย่างน่าพอใจด้วยความเร็วและคุณภาพที่ยอมรับได้
( The Individual can perform this Skill Satisfactorily with more than Acceptable Speed
and Quality)

(4) สามารถปฏิบตั ิทักษะน้ีได้อย่างน่าพอใจโดยไมต่ ้องขอความช่วยเหลือและ / หรือ
การนิเทศ (The Individual can perform this Skill Satisfactorily without Assistance and/or
Supervision)

(5) สามารถปฏิบัติทักษะนี้ได้อย่างน่าพอใจ แต่ต้องการความช่วยเหลือและ / หรือ
การกำกับดูแลเป็นระยะ (The Individual can perform this Skill Satisfactorily but Requires
Periodic Assistance and/or Supervision)

(6) สามารถปฏิบัติการได้ (The Individual can perform)

222

2) องค์ประกอบความสามารถ : พัฒนาความสามารถในการปรับให้เข้ากับการ
เปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมการทำงาน (Competency Element: Develop ability to
adapt to Change in the Work Environment)

(1) สำรวจวิธีใหม่และแนวทางที่แตกต่างในการทำงานให้สำเร็จหรือภารกิจและ
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับงาน (Exploring new and different Ways of accomplishing your
Work or the Tasks and Processes Involved in your Work Tasks)

(2) การมุ่งเน้นไปที่เป้าหมายของแต่ละบุคคลและการทำงานเป็นทีม: การใช้
กระบวนการคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการของคุณในการ
แก้ปัญหาที่ท้าทาย (Keeping a Focus on Individual and Team Work Goals : Using Creative
and Critical Thinking Processes to Alter your Approach to Solve Challenges at Work)

(3) พยายามคิดเชิงบวกเมื่อเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ในที่ทำงานปรับตัวเข้ากับ
วธิ ีการใหม่ผา่ นมุมมองและการกระทำสง่ิ ตา่ ง ๆ (Making an Effort to Apply a Positive mind set
when Faced with new Situations at Work, Adapting to new Ways of Seeing and Doing
Things)

(4) การใช้ความฉลาดทางอารมณ์ในการยอมรับ มีเหตุผล รู้จักควบคุมอารมณ์ของ
ตนเองและคนอื่น ๆ ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง ( Applying Emotional Intelligence to
Recognize, Validate, Harness and Stream your own and Others’ feelings as they Arise
in Change)

(5) ค้นหาและเรียนรู้กระบวนการใหม่ ๆ ซึ่งเป็นทักษะและกระบวนการที่เกิดขึ้นใน
ส ถ า น ท ี ่ ท ำ ง า น ( Searching for and learning new Procedures, Skills and Processes as
Change Occurs in the Workplace)

(6) ตรวจสอบข้อสรุปและการตดั สินของคุณเองเพ่ือแยกสมมตฐิ านและอคติของคณุ
ออกจากข้อเท็จจริงที่อยู่ในมือ (Examining your Own Inferences and Judgments in order to
Separate your Assumptions And Biases from the Facts at Hand)

(7) การใช้ความคิดอยากรู้อยากเห็นเชิงตรรกะ – ถามคำถามและตรวจสอบตัวเลือก
และการตัดสินใจ (Applying Logical Inquisitive Thinking - Asking Questions and Validating
Ones Answers, Choices and Decisions)

(8) การใช้ทักษะและเทคนิคการคิดอย่างสร้างสรรค์เพื่อคิดค้น / ปรับปรุงโครงการ
และงานต่าง ๆ (Using Creative Thinking Skills and Techniques to Innovate / Renovate
Processes, Projects and Tasks)

(9) ค้นหาวิธีการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างมี
ประสิทธิภาพในที่ทำงาน (Seeking out Ways to Learn more about Effectively Introducing
Change in the Workplace)

(10) การใช้ความคิดสร้างสรรค์และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในการสำรวจ
ทางเลือกเข้าสู่สมมติฐานและตรวจสอบความถูกต้องของความเชื่อ (Using Creative and Critical

223

Thinking Skills to explore Alternatives, Challenge Assumptions, and Examine Accuracy
of Beliefs)

(11) การใชท้ กั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณในการแยกแยะปญั หา / หวั ขอ้ ออกเป็น
สว่ น ๆ ตรวจสอบมมุ มองทีห่ ลากหลาย การตง้ั คำถามตั้งสมมติฐานทางเลือกและสรุปข้อสรุปท่ีชัดเจน
( Using Critical Thinking Skills To Break Down the Problem/Subject into parts, detect
multiple Views, Question Evidence, Hypothesize Alternatives and Come to Sound
Conclusions)

3) คำแนะนำ (Recommendation)
เพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับตัวและความยืดหยุ่นเพิ่มเติม ควรวางแผนที่จะ
ยกระดบั การศกึ ษาเพื่อเปดิ รบั ประสบการณ์ต่อไปน้ี
คุณต้องการให้หัวหน้างานของคุณเป็นที่รู้จักในด้านความสามารถของคุณอย่างไร ?
(How would you like to be recognized by your Supervisor for your Competency?)
1) จัดระเบียบความฉลาดทางอารมณ์ การวางแผนกระบวนการทางธุรกิจหรือ

ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์สำหรับทีมของคุณ (Organize an Emotional Intelligence,
Business Process Mapping or change Strategy Session for your Team)
2) เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการกระบวนการทางธุรกิจ (Attend a Business
Process Mapping (BPM) Workshop)
3) อื่น ๆ : สิ่งที่เกี่ยวข้องกับความสามารถนี้ที่คุณต้องการทำเพื่อเฉลิมฉลองการเรียนรู้
ของคุณ? (Other: Something related to this Competency that you would
like to do to Celebrate your Learning?)

โปรดทบทวนตวั เอง แลว้ ตอบในใจวา่ ทา่ นเข้าใจแบบประเมินผลสำเรจ็ จากการ
พัฒนาทักษะการปรับตวั ตามทัศนะของ University of Alberta วา่ อย่างไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
.……………….............................................................................................................................................

5. Zorzie นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ได้นำเสนอการทดสอบรูปแบบการปรับตัวของ
แต่ละบุคคล (Test a Model of Individual Adaptability) ในดุษฎีนิพนธ์ที่มีชื่อว่า Individual
Adaptability: Testing a Model of Its Development and Outcomes (การปรับตัวของแต่ละ
บุคคล: การทดสอบรูปแบบของการพัฒนาและผลลัพธ์) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอและ
ทดสอบรูปแบบการปรับตัวของแต่ละบุคคลในรูปแบบปัจจุบัน ที่มีผลต่อผลลัพธ์ของงานและ
ประสิทธิภาพตามบริบทของอารมณ์ และประสิทธิภาพในการปรับตัว โปรดตอบคำถามเพื่ออธิบาย
ตัวเองอย่างที่คุณเป็นอยู่ตอนนี้ไม่ใช่อย่างที่คุณปรารถนาจะเป็นในอนาคต โปรดอ่านแต่ละข้อความ
อยา่ งละเอยี ดและกรอกขอ้ มลู ใหส้ อดคล้องกนั

224

ตอนที่ 1 การปรับแก้ไข (The I-Adapt, Modified)
1. ด้านวฒั นธรรม (Cultural)

1) ฉันสนุกกับการเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมอื่นที่ไม่ใช่ของตัวเอง (I enjoy learning
about Cultures other than my own)

2) ฉันทำงานอยา่ งหลากหลายกับผู้อนื่ ได้ดี (I work well with Diverse Others)
3) สิ่งสำคัญสำหรับฉันคือฉันต้องเคารพวัฒนธรรมของผู้อื่น (It is Important to me

that I Respect others’ Culture)
4) ฉันสนุกกับความหลากหลายและประสบการณ์การเรียนรู้ที่มาจากการทำงานกับ

ผู้คนที่มีภูมิหลังต่างกัน (I enjoy the Variety and Learning Experiences that
come from Working with People of Different Backgrounds)
5) ฉันรู้สึกสุขใจในการโต้ตอบกับผู้อื่นที่มีค่านิยมและประเพณีต่างกัน ( I feel
Comfortable Interacting with others who have Different Values And
Customs)
2. ดา้ นความเครียดจากการทำงาน (Work Stress)
1) ฉนั มักจะตอบสนองต่อข่าวที่เครยี ด (I usually Over-React to Stressful News)
2) ฉันรู้สึกไม่พร้อมที่จะรับมือกับความเครียดมากเกินไป (I feel Unequipped to
deal with too much Stress)
3) ฉันไม่ลำบากเลยเมื่อตารางของฉันเต็มเกินไป (I am easily Rattled when my
schedule is too Full)
4) ฉันมักจะเครียดเมื่อฉันมีภาระงานมาก (I am usually Stressed when I have a
Large Workload)
5) ฉันมักจะร้องหรือฉุนเฉียวเมื่อฉันเครียดมาก (I often cry or get Angry when I
am under a Great Deal of Stress)
3. ด้านความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล (Interpersonal)
1) ฉันเชื่อว่าการมีความยืดหยุ่นในการติดต่อกับผู้อื่นเป็นสิ่งสำคัญ (I believe it is
Important to be Flexible in Dealing with others)
2) โดยปกติฉันจะสามารถอ่านใจคนอื่นและเข้าใจว่าพวกเขารู้สึกอย่างไรตลอดเวลา (I
tend to be able to read others and understand how they are feeling at
any Particular Moment)
3) ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งของฉันช่วยให้ฉันทำงานกับผู้อื่นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (My
Insight helps me to Work Effectively with others)
4) ฉันเป็นคนใจกว้างในการตดิ ตอ่ กับผู้อื่น (I am Open-Minded Person in Dealing
with others)
5) ฉันเข้าใจผู้อื่นและใช้เข้าใจนั้นในการมีปฏิสัมพันธ์ (I am perceptive of others
and use that Knowledge in Interactions)
6) ฉันพยายามยืดหยุ่นในการติดต่อกับผู้อื่น (I try to be Flexible in Dealing with
others)

225

7) ฉันปรับพฤติกรรมของฉันให้เข้ากับคนอื่น (I adapt my Behavior to get along
with others)

4. ดา้ นการเรยี นรู้ (Learning)
1) ฉันมีหน้าที่ในการรับทักษะใหม่ ๆ (I take Responsibility for Acquiring new
Skills)
2) ฉันสนุกกับการเรียนรู้แนวทางใหม่ในภารกิจหรือปัญหาในโรงเรียน (I enjoy
learning new Approaches for tasks or Problems in School)
3) ฉันดำเนินการเพื่อปรับปรุงการขาดประสิทธิภาพของโรงเรียน (I take action to
Improve School Performance Deficiencies)
4) ฉันมักจะเรียนรู้ข้อมูลและทักษะใหม่ ๆ เพื่อนำหน้าเพื่อนร่วมชั้น (I often learn
new Information and Skills to Stay Ahead of my Classmates)
5) ฉันเรียนรู้วิธีการใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว (I quickly learn new
Methods to Solve Problems)
6) ฉันกำลังเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมพร้อมทำงานใน
อนาคต (I am continually learning new Skills in School in Preparation for
my Future Job)
7) ฉันอ่านตำราเรียนล่วงหน้าก่อนเรียนในชั้น (I read ahead in textbooks for
classes I take)

5. ดา้ นความลงั เล (Uncertainty)
1) ฉันต้องการสิ่งที่ "ชัดเจนตรงไปตรงมา" (I need for things to be “Black and
White”)
2) ฉันรู้สึกหงุดหงิดเม่ือเผชิญส่ิงที่คาดเดาไม่ได้ (I become frustrated when things
are Unpredictable)
3) ฉันสามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ไม่มีข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด (I am
able to make Effective Decisions without all Relevant Information)
4) ปกติฉันจะทำงานได้ดีที่สุดในสถานการณ์และสภาพแวดล้อมที่มั่นคง (I tend to
perform best in Stable Situations and Environments)
5) เมื่อมีอะไรบางอย่างที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นฉันก็พร้อมปรับเปลี่ยนในการตอบสนอง
( When something Unexpected Happens, I readily Change Gears in
Response)
6) ฉันสามารถปรับให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (I can adapt to Changing
Situations)
7) ฉันทำงานได้ดีในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน ( I perform well in Uncertain
Situations)
8) ฉันตอบสนองต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงได้อย่างง่ายดาย (I easily respond to
changing Conditions)

226

9) ฉันสามารถปรับแผนการของฉันให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข (I can adjust
my Plans to Changing Conditions)

ตอนที่ 2 การรับรกู้ ารเปล่ียนแปลง (Perceived Changes)
1. ด้านเก่ยี วกบั สถาบนั การศึกษา (Academic)

1) งานมอบหมายในวิทยาลัยนั้นแตกต่างจากงานมอบหมายท่ีโรงเรียนมัธยมของฉัน
มาก (Assignments in College are much Different than Assignments were
at my High School)

2) ฉันรู้สึกพร้อมเต็มที่สำหรับงานวิทยาลัยเพราะงานในโรงเรียนมัธยม (I feel well-
prepared for College Work because of my Work in High School)

3) การสอบเข้าเรียนในวิทยาลัยนน้ั มรี ูปแบบท่ีแตกตา่ งจากการสอบระดับมัธยมของฉัน
( The Exams I have taken in College thus far follow a different format
than my High School Exams typically did)

4) ฉันรู้สึกว่าฉันมีความรับผิดชอบต่อความสำเร็จด้านการศึกษาของตัวเองมากกว่าใน
โ ร ง เ ร ี ย น ม ั ธ ย ม ( I feel like I am much more Responsible for my own
Academic Success than I was in High School)

5) อาจารย์ในวิทยาลัยสอนด้วยรูปแบบที่แตกต่างจากครูมัธยม (Professors in
College Teach with a much Different Style than High School Teachers)

6) ฉันมีความสัมพันธแ์ บบ 1 ต่อ 1 กับครใู นโรงเรียนมธั ยมมากกว่าท่เี รียนในวทิ ยาลัย (I
had more 1-on-1 Relationships with my High School Teachers than I do
in College)

7) พ่อแม่อนุญาตให้ฉันข้ามชั้นเรียนในโรงเรียนมัธยมได้ถ้าต้องการ (My Parents
allowed me to skip some Classes in High School if I wanted to)

8) กิจกรรมนอกหลักสูตรที่ฉันเข้าร่วมในโรงเรียนมัธยมต่างจากหลักสูตรในวิทยาลัย
มาก (The Extracurricular Activities in which I Participated in High School
Conflicted with Coursework more than they do in College)

9) ชั้นเรียนมัธยมของฉันมักมีนักเรียนน้อยกว่าหลักสูตรวิทยาลัย (My High School
Classes typically had much smaller Numbers of Students than College
Courses)

10) ดเู หมือนวา่ วิทยาลัยจะมีความสามารถในเชิงวิชาการมากกว่าโรงเรยี นมัธยมของฉัน
( College Seems more Academically Competitive than my High School
was)

2. ด้านสังคม (Social)
1) มีที่ร่วมพบปะชุมนุมกันหลายแห่งที่ตรงกับความสนใจของฉนั ในวิทยาลัยมากกว่าใน
โรงเรยี นมัธยม (There are more Clubs that fit my Interests in College than
there were in High School)
2) การหาเพื่อนในวิทยาลัยยากกว่าตอนเรียนมัธยม (It is more Difficult to find
Friends in College than it was in High School)


Click to View FlipBook Version