The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by man Wee, 2022-10-17 08:10:12

ดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์-แมนมิตร อาจหาญ

แมนมิตร-อาจหาญ-ดุษฎีนิพนธ์-สมบูรณ์

ตารางที่ 4.2 คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจ
เชอื่ มั่น ค่าอำนาจจำแนกรายขอ้ และค่าสัมประสิทธ์ิความเชอ่ื มั่นด้วยวธิ

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรูน้ ิยาม วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
ความสำคญั ลักษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คน วัด 6 ระดบั ความจำถึง
ท่ี สรา้ งสรรค์ วดั 6 ระดบั ความจำถงึ วัด 6 ระดบั ความจำถงึ
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์

123456123456123456

1 101111111111110111

2 111111111101011110

3 111111111101011110

4 111111111101011110

5 111111111101010110

6 100011101111101011

7 111110011010111101

8 111110011010111101

9 110011100111101011

10 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 0 1 0 1

11 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1

12 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1

13 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1

14 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0

15 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 0 0 1 1

16 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 1

17 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 1 1 0 0

18 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0

19 0 0 1 1 0 0 0 1 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0

132

จารย์กับกลุ่มตวั อย่างจำนวน 30 ราย เพื่อวิเคราะห์ความยากง่าย การกระจาย ความ
ธกี ารของ Kuder-Richardson

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้แนว วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
การพฒั นา ขน้ั ตอนการพฒั นา การประเมินผล

วดั 6 ระดบั ความจำถงึ วัด 6 ระดบั ความจำถงึ วัด 6 ระดบั ความจำถงึ รวม
สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456 123456 123456

111111 111111 1 1 1 1 1 1 34
101111 011111 0 1 1 0 1 1 29
101111 011111 0 1 1 0 1 1 29
101111 011111 0 1 1 0 1 1 29
101111 011111 0 1 1 0 1 1 28
010011 101111 1 1 1 1 1 1 26
111100 110101 1 1 0 1 1 0 25
111100 110101 1 1 0 1 1 0 25
010011 101111 1 0 1 1 1 1 25
111100 110101 1 1 0 1 1 0 24
010011 101110 1 0 1 1 1 1 24
010011 101011 1 0 1 1 1 1 24
010011 101111 1 0 1 1 1 1 24
101111 011010 0 1 1 0 0 1 23
010011 101110 1 0 1 1 1 1 23
010011 100110 1 0 1 1 1 1 22
101100 010011 0 0 0 0 0 0 12
101100 011001 0 0 0 0 0 0 11
101100 010000 0 0 0 0 0 0 10

ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรนู้ ยิ าม วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้
ความสำคญั ลกั ษณะ/คณุ ลกั ษณะ
คน วัด 6 ระดบั ความจำถงึ
ที่ สร้างสรรค์ วดั 6 ระดบั ความจำถงึ วัด 6 ระดบั ความจำถงึ
สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456123456123456

20 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0

21 0 0 1 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0

22 1 1 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1

23 1 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0

24 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1

25 1 1 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0

26 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 1 0 0 0 0 0

27 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0

28 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

29 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

30 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 18 14 14 15 18 14 14 15 13 14 13 14 13 15 13 15 14 13

เก่ง 14 12 9 9 14 12 12 9 10 12 10 12 10 9 10 9 12 10

อ่อน 4 2 5 6 4 2 2 6 3 2 3 2 3 6 3 6 2 3

p 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

60 47 47 50 60 47 47 50 43 47 43 47 43 50 43 50 47 43

r 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

67 67 27 20 67 67 67 20 47 67 47 67 47 20 47 20 67 47

N (จำนวนกลุ่มตวั อยา่ ง) =30, n (จำนวนข้อสอบ) = 36

หมายเหตุ เลข 1 หมายถึงทำถกู , เลข 0 หมายถึงทำผดิ

133

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้แนว วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ วัตถุประสงค์การเรียนรู้

การพฒั นา ข้ันตอนการพัฒนา การประเมินผล

วดั 6 ระดบั ความจำถึง วดั 6 ระดบั ความจำถึง วดั 6 ระดบั ความจำถงึ รวม

สรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456123456123456

1 0 1 10 0 0 1 0 0 0 0 0 00 0 0 09

1 0 1 10 0 0 1 0 0 0 0 0 00 0 0 09

0 1 0 00 0 0 0 0 0 0 0 1 10 1 0 08

0 0 1 00 0 0 0 0 1 0 0 0 00 0 1 08

0 1 0 00 0 1 0 0 0 0 0 1 00 1 0 07

0 0 0 00 0 0 0 0 1 0 0 0 10 0 1 07

0 0 0 00 0 0 0 0 0 0 0 0 00 0 0 06

0 0 0 00 0 0 0 0 0 0 1 0 00 0 1 16

0 0 0 00 0 0 1 1 1 1 1 1 00 0 0 06

0 0 0 11 1 1 0 0 0 0 0 0 00 0 0 15

0 0 0 00 0 0 0 1 0 0 0 0 11 0 1 05

14 13 15 15 14 14 13 15 15 17 15 16 14 13 14 13 19 15

9 10 9 9 12 12 10 9 12 13 12 12 10 10 12 10 14 12

536622363434432353

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

47 43 50 50 47 47 43 50 50 57 50 53 47 43 47 43 63 50

0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0. 0.

27 47 20 20 67 67 47 20 60 60 60 53 40 47 67 47 60 60

ข้อ = 17.43, S.D. = 9.57, S2 = 88.45, r =0.925

134

คะแนนจากการทดลองใช้ (Try-Out) แบบทดสอบผลการเรียนรูข้ องอาจารย์กับอาจารย์ที่
เปน็ กลมุ่ ตัวอย่างจำนวน 30 ราย ไดน้ ำมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย การกระจาย ความเชื่อม่ัน ค่า
อำนาจจำแนกรายข้อ และค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของ Kuder-Richardson ต่อไปน้ี
ตามลำดบั

-คุณภาพของข้อสอบรายข้อ การพิจารณาคุณภาพของข้อสอบรายข้อใช้เกณฑ์ความยาก
งา่ ยของข้อสอบ (p) และคา่ อำนาจจำแนก ( r ) รว่ มกนั ซง่ึ คำอธบิ ายถึงความหมายของความยากง่าย
ของข้อสอบ (p) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) รวมทั้งสูตรในการคำนวณได้กล่าวไว้ในบทที่ 3 มีเกณฑ์
การพจิ ารณาคา่ ความยากง่าย (p) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) ของข้อสอบ ดังแสดงในตาราง 4.3 และ
4.4 ตามลำดบั ดงั นี้

ตารางที่ 4.3 เกณฑก์ ารพจิ ารณาค่าความยากง่าย (p) ของข้อสอบ

ความยากงา่ ย (p) แปลความ การพิจารณา

0.00-0.19 ยากมาก ควรปรับปรุงหรอื ตดั ท้ิง
0.20-0.39 คอ่ นข้างยาก พอใช้ได้
0.40-0.60 ยากง่ายปานกลาง ใช้ได้
0.61-0.80 ค่อนข้างง่าย พอใช้ได้
0.81-1.00 งา่ ยมาก ควรปรับปรงุ หรอื ตดั ทิ้ง

ตารางที่ 4.4 เกณฑก์ ารพจิ ารณาคา่ อำนาจจำแนก ( r ) ของขอ้ สอบ

อำนาจจำแนก ( r ) การพจิ ารณา
0.60-1.00 อำนาจจำแนกดีมาก
0.40-0.59 อำนาจจำแนกดี
0.20-0.39 อำนาจจำแนกพอใช้
0.10-0.19 อำนาจจำแนกต่ำ (ควรปรบั ปรุงหรอื ตดั ทง้ิ )
-1.00-0.09 อำนาจจำแนกตำ่ มาก (ควรปรับปรุงหรือตดั ท้งิ )

จากเกณฑ์ค่าความยากของข้อสอบ (p) ในตารางที่ 4.3 พิจารณาว่า ข้อสอบที่มีค่าความ
ยากงา่ ย ( p ) ระหว่าง 0.20-0.80 เป็นขอ้ สอบท่ีใชไ้ ด้ และจากเกณฑ์ค่าอำนาจจำแนก ( r ) ในตาราง
ที่ 4.4 พิจารณาว่าข้อสอบที่มีค่าอำนาจจำแนก ( r ) ตั้งแต่ 0.20-1.00 เป็นข้อสอบท่ีใช้ได้ ซึ่งจากการ
ตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบรายข้อในงานวิจัยน้ี ผลการหาค่าความยากง่าย ( p ) และค่าอำนาจ
จำแนก (r) พบว่าขอ้ สอบมคี ณุ ภาพท่ีได้ใชท้ ้งั 36 ขอ้ ดังแสดงในตารางที่ 4.5

135

ตารางที่ 4.5 แสดงค่าความยากง่าย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) และผลการพิจารณาคุณภาพของ
ขอ้ สอบรายขอ้

ข้อสอบ ค่าความยากงา่ ย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) ผลการพจิ ารณาขอ้ สอบ

ขอ้ 1 0.60 0.67 ใช้ได้
ข้อ 2 0.47 0.67 ใช้ได้
ข้อ 3 0.47 0.27 ใชไ้ ด้
ข้อ 4 0.50 0.20 ใช้ได้
ขอ้ 5 0.60 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 6 0.47 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 7 0.47 0.67 ใช้ได้
ขอ้ 8 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 9 0.43 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 10 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ขอ้ 11 0.43 0.47 ใชไ้ ด้
ขอ้ 12 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 13 0.43 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 14 0.50 0.20 ใช้ได้
ข้อ 15 0.43 0.47 ใช้ได้
ข้อ 16 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 17 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 18 0.43 0.47 ใช้ได้
ข้อ 19 0.47 0.27 ใชไ้ ด้
ข้อ 20 0.43 0.47 ใชไ้ ด้
ข้อ 21 0.50 0.20 ใช้ได้
ข้อ 22 0.50 0.20 ใชไ้ ด้
ข้อ 23 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 24 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 25 0.43 0.47 ใช้ได้
ขอ้ 26 0.50 0.20 ใช้ได้
ขอ้ 27 0.50 0.60 ใช้ได้
ข้อ 28 0.57 0.60 ใชไ้ ด้
ขอ้ 29 0.50 0.60 ใชไ้ ด้
ข้อ 30 0.53 0.53 ใช้ได้
ข้อ 31 0.47 0.40 ใชไ้ ด้
ข้อ 32 0.43 0.47 ใช้ได้

136

ตารางท่ี 4.5 (ตอ่ )

ขอ้ สอบ คา่ ความยากง่าย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) ผลการพิจารณาขอ้ สอบ

ขอ้ 33 0.47 0.67 ใชไ้ ด้
ข้อ 34 0.43 0.47 ใช้ได้
ขอ้ 35 0.63 0.60 ใช้ได้
ขอ้ 36 0.50 0.60 ใช้ได้

-ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ใช้วิธีของ Kuder-Richardson ในการวิเคราะห์
ข้อมูล เนื่องจากเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย มีการให้คะแนนแต่ละข้อเป็นแบบ 0, 1 คือตอบถูกให้ 1
คะแนน ตอบผิด ให้ 0 คะแนน และมีการวัดหรือการสอบเพียงคร้ังเดยี ว รวมทั้งมีการวิเคราะห์หาคา่
ความยากรายข้อไว้แล้ว โดยใช้สูตร KR-20 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงในตารางที่ 4.2 พบว่า ค่า
สมั ประสิทธ์ิของ KR-20 มคี ่าเท่ากบั 0.925 ซ่ึงมคี า่ สูงกว่าเกณฑ์ทกี่ ำหนด คอื เท่ากบั หรอื สูงกว่า 0.70
จึงแสดงว่าแบบทดสอบน้ีมีคุณภาพสามารถนำไปใช้ได้อยา่ งมีความเช่อื ม่ัน

-ความยากง่ายของแบบทดสอบ ใช้คะแนนเฉล่ียของกลุ่มตวั อย่างทัง้ หมดเป็นเกณฑ์ หาก
คะแนนเฉลี่ยอยูร่ ะหวา่ งร้อยละ 30-50 ของคะแนนเต็ม ถอื ว่าเป็นแบบทดสอบที่มีความยากเหมาะสม
ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงในตารางที่ 4.2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเท่ากับ
17.43 คิดเป็นร้อยละ 48.42 ของคะแนนเต็ม ซึ่งแสดงว่า แบบทดสอบทั้งฉบับมีค่าความยากง่ายอยู่
ในระดับเหมาะสม

4.3.2.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินทักษะการปรับตัวของนักศึกษา
แบบประเมินมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก
ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากผลการศึกษาคุณลักษณะของบุคคลที่มีทักษะการ
ปรับตัว จากทัศนะของ University of Bradford (n.d.), Whitehall (2018), Boss (2015), Oscar
(2014), Keating (2018) และ Alessandra (2016) และจากผลการศึกษาแนวคิดการประเมินทักษะ
การปรับตัวจากทัศนะของ Kane (2019), Morgan (2011), Workable (n.d.), University of
Alberta (n.d.), และ Zorzie (2012) เป็นแบบประเมินออนไลน์ด้วย Google Form มีผลการ
ตรวจสอบคณุ ภาพ ดงั น้ี

4.3.2.2.1 ผลการตรวจสอบความตรงเชงิ เนื้อหา (Content Validity)
โดยใช้แนวคิดการหาค่าดัชนีความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ตามทัศนะ
ของ Rovinelli and Hambleton เพราะข้อสอบในแบบประเมินที่ใช้ในงานวิจัยนี้ มุ่งการหาความ
สอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการปรับตัวในแต่ละด้าน คือ 1) ด้านการ
เรยี นรู้ มีข้อคำถาม 6 ขอ้ 2) ดา้ นการรับรู้ตนเอง มีข้อคำถาม 6 ขอ้ 3) ดา้ นทัศนคติ มีข้อคำถาม 6 ข้อ
4) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีข้อคำถาม 6 ข้อ 5) ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ มีข้อ
คำถาม 6 ข้อ และ 6) ด้านความรู้เกี่ยวกับความสามารถพิเศษ มีข้อคำถาม 6 ข้อ รวมทั้งฉบับมีข้อ
คำถาม 36 ข้อ ทั้งนี้วัตถุประสงค์การพัฒนาทักษะการปรับตัว มีนิยามศัพท์เฉพาะที่เป็นผลจาก

137

การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องที่แสดงให้เห็นถึงวัตถุประสงค์ในการพัฒนาทักษะการปรับตัว โดย
ภาพรวมและรายด้าน ดงั นี้

-ด้านการเรียนรู้ หมายถึง การบอกกับตัวเองว่าต้องเป็นผู้เรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ สนุกกับ
การเรียนรู้แนวทางใหม่จากกิจกรรมของมหาวิทยาลัย มักจะเรียนรู้ข้อมูลและทักษะใหม่ ๆ เพื่อ
นำหน้าเพื่อนร่วมชั้น กำลังเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ในมหาวิทยาลัยอยา่ งตอ่ เนื่องเพื่อเตรียมพร้อมทำงาน
ในอนาคต สามารถจินตนาการสิ่งใหม่ ๆ จากความคิดเดิม ๆ ได้อย่างรวดรวดเร็ว และอ่านตำราเรยี น
ล่วงหนา้ ก่อนเรียนในช้ัน

-ด้านการรับรู้ตนเอง หมายถึง การมีความภาคภูมิใจในตนเองและรู้สึกดีกับตัวเอง รู้ว่า
อะไรสำคัญสำหรับตัวเองและใช้ความรู้ประกอบการตัดสินใจ มีวิสัยทัศน์ที่มีความหมายและมี
จดุ มงุ่ หมายสำหรบั ชีวติ ของตน เข้าใจว่าชวี ติ จะมกี ารเปลย่ี นแปลงและไมเ่ ปน็ ไปตามทฉี่ นั ตอ้ งการ เมื่อ
สูญเสียความมั่นใจชั่วคราว ฉันรู้ว่าฉันต้องทำอย่างไรเพื่อฟื้นฟูความมั่นใจ และสามารถแยกแยะและ
บอกให้ทราบถงึ จุดอ่อนของตนและแนวทางท่ีฉันทำงานกบั คนรอบขา้ ง

-ด้านทัศนคติ (Attitude) หมายถึง การดำเนินชีวิตในแง่ดี เชื่อว่าตนเองมีทางเลือกและ
ตัวเลือกเสมอแม้ในสถานการณ์ทีย่ ากลำบาก มีอารมณ์ขัน และสามารถหาสิ่งที่จะทำให้หวั เราะแม้ใน
เวลาที่มปี ัญหา เข้าใจว่าประสบการณใ์ หม่ ๆ จะทำเตบิ โตและสนุกกับการเรียนรู้ ไม่เสียเวลากังวลกับ
ส่งิ ทีอ่ ยู่นอกเหนอื การควบคุมของตน และความลม้ เหลวให้โอกาสฉันในการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม

-ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal) หมายถึง การเปิดใจกว้างในการ
ตดิ ต่อกบั ผู้อื่น เชื่อว่าการมีความยืดหยุ่นในการติดต่อกับผู้อื่นเป็นสิ่งสำคัญ สามารถอ่านใจคนอ่ืนและ
เข้าใจว่าเขารู้สึกอย่างไรตลอดเวลา ใช้ความเข้าใจผู้อื่นในการมีปฏิสัมพันธ์ ปรับพฤติกรรมของตนให้
เข้ากับคนอ่ืน และยอมรบั สมาชกิ ใหม่และรูปแบบการทำงานของทีมเสมอ

-ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making)
หมายถึง การเรียนรู้วิธีการใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว มีทางเลือกที่หลากหลายในการ
แก้ปัญหา สามารถจัดระเบียบสภาพแวดล้อมและจัดลำดับความสำคัญของงานแม้ในเวลาที่เครียด
สามารถเรียนรูก้ ลยุทธ์ส่วนตัวเพื่อรับมือกับความเปลีย่ นแปลงเนื่องจากความไม่แน่นอนในการดำเนนิ
ชีวิต เมื่อประสบความเครียดในด้านใดด้านหนึ่งของชีวิต ฉันสามารถควบคุมอารมณ์กับเรื่องนัน้ ๆ ได้
และสามารถคน้ หาและระดมทรพั ยากรทจ่ี ำเป็นในภาวะวกิ ฤตหรือสถานการณใ์ หม่ ๆ

-ด้านความรู้เกี่ยวกับความสามารถพิเศษ (Knowledge of Special Abilities)
หมายถึง การสามารถพูดได้อย่างชัดเจนถึงพรสวรรค์และความสามารถพิเศษของตน ทักษะที่จำเป็น
สำหรับอาชีพของตนในอนาคต รู้ว่าคนอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยคาดหวังอะไรจากฉัน รู้ว่าทักษะของตน
เปน็ อย่างไร รู้วา่ พฤติกรรมและทศั นคติใดเหมาะสมในมหาวทิ ยาลัย และไมเ่ คยหยดุ อยู่กับความสำเร็จ
และคน้ หาความท้าทายตอ่ ไปในเชิงรกุ

ในการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ใช้ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความ
เชีย่ วชาญด้านการบรหิ ารการศึกษา และ / หรือ ด้านการวัดและประเมนิ ผล จำนวน 5 ราย (ดูรายช่ือ
ในภาคผนวก ญ) โดยให้ทำเครื่องหมาย  ลงในช่อง +1 หรือ 0 หรือ -1 โดย + 1 หมายถึง ข้อ
คำถามมีความสอดคล้อง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง และ -1 หมายถึง ข้อคำถามไม่มี
ความสอดคล้อง ผลที่ได้รับจากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ นำมาวิเคราะห์หาค่า IOC จากสูตรท่ี

138

กำหนดในบทที่ 3 โดยกำหนดเกณฑ์ค่า IOC ที่ระดับเท่ากับหรือมากกว่า 0.50 จึงจะถือว่าข้อคำถาม
นั้นมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (Chaichanawirote & Vantum, 2017) ดังแสดงผลการ
ตรวจสอบในตารางท่ี 4.6

ตารางที่ 4.6 ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับวัตถุประสงค์การพัฒนาในแบบ
ประเมนิ ทักษะการปรับตัวของนักศึกษา

ข้อ ผลการใหค้ ะแนนของผเู้ ชีย่ วชาญ ค่าดชั นีความ ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมิน

ค่มู ือชดุ ที่ 1 คมู่ ือเพื่อการเรียนรู้เกีย่ วกบั นิยามของทกั ษะการปรับตวั ใช้ได้
ใชไ้ ด้
1 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
2 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใชไ้ ด้
3 +1 +1 +1 +1 +1 1.00
ใชไ้ ด้
4 +1 0 +1 +1 0 0.60 ใช้ได้
ใช้ได้
5 +1 0 +1 +1 +1 0.80 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
6 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใชไ้ ด้

คู่มือชดุ ที่ 2 คมู่ ือเพือ่ การเรียนร้เู กี่ยวกบั ความสำคญั ของทกั ษะการปรบั ตวั ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
7 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใช้ได้
8 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
9 +1 +1 +1 +1 +1 1.00
ใชไ้ ด้
10 +1 0 +1 +1 0 0.60 ใช้ได้
ใชไ้ ด้
11 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
12 0 0 +1 +1 +1 0.60 ใช้ได้

คมู่ ือชุดที่ 3 คู่มอื เพอ่ื การเรียนรู้เกย่ี วกับลกั ษณะทแ่ี สดงถงึ ทักษะการปรับตวั

13 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

14 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

15 +1 +1 +1 +1 0 0.80

16 +1 +1 +1 +1 0 0.80

17 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

18 +1 +1 +1 +1 0 0.80

คู่มือชดุ ท่ี 4 ค่มู อื เพอื่ การเรียนรเู้ กยี่ วกบั แนวการพัฒนาของทกั ษะการปรบั ตวั

19 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

20 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

21 +1 +1 +1 +1 0 0.80

22 +1 +1 +1 +1 0 0.80

23 +1 +1 +1 0 +1 0.80

24 +1 +1 +1 0 +1 0.80

139

ตารางที่ 4.6 (ตอ่ )

ข้อ ผลการให้คะแนนของผู้เชยี่ วชาญ ค่าดัชนคี วาม ผลการ
1 2345 สอดคล้อง (IOC) ประเมนิ

คมู่ ือชุดท่ี 5 ค่มู อื เพื่อการเรียนรเู้ กยี่ วกบั ขนั้ ตอนการพฒั นาของทกั ษะการปรบั ตวั ใช้ได้
ใช้ได้
25 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใชไ้ ด้
ใชไ้ ด้
26 +1 +1 +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
ใช้ได้
27 +1 +1 +1 +1 0 0.80
ใช้ได้
28 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใช้ได้
ใช้ได้
29 +1 +1 +1 0 +1 0.80 ใช้ได้
ใชไ้ ด้
30 +1 +1 +1 +1 0 0.80 ใช้ได้

คูม่ ือชุดที่ 6 ค่มู อื เพ่อื การเรียนรเู้ กยี่ วกบั การประเมนิ ทกั ษะการปรับตวั

31 +1 +1 +1 +1 0 0.80

32 +1 0 +1 +1 +1 0.80

33 +1 +1 +1 +1 0 0.80

34 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

35 +1 +1 +1 +1 +1 1.00

36 +1 +1 +1 +1 0 0.80

จากตารางท่ี 4.6 เห็นไดว้ า่ ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกบั วัตถุประสงค์
การพฒั นาทักษะการปรับตวั ของนักศึกษา พบวา่ ขอ้ คำถามในแต่ละด้านและท้งั ฉบับมีค่า IOC สงู กว่า
เกณฑ์ที่กำหนด 0.50 ทุกข้อ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.80 ถึง 1.00 แสดงว่า แบบประเมินทักษะ
การปรับตวั ของนกั ศึกษาท่ีใชใ้ นงานวจิ ยั นม้ี ีความตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) สามารถนำไปใช้
ได้ตรงกับวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี อ้ งการวัดได้

4.3.2.2.2 ผลการตรวจสอบความเชอ่ื ม่ัน (Reliability)
โดยการทดลองใช้ (Try-out) แบบประเมินผลการพัฒนานักศึกษาเพื่อหาค่าความ
เชือ่ มั่น (Reliability) กบั นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตรอ้ ยเอ็ด จำนวน 30
ราย เพื่อนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ไปวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่น (Alpha
Coefficient of Reliability) โดยใช้วิธีของครอนบาค (Cronbach) โดยกำหนดเกณฑ์ค่าสัมประสิทธ์ิ
แอลฟาของความเชื่อมั่นที่ยอมรับได้ คือ เท่ากับหรือสูงกว่า 0.70 (UCLA: Statistical Consulting
Group, 2016) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏดังตารางที่ 4.7 (ดูผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม
คอมพวิ เตอรใ์ นภาคผนวก ฒ)

140

ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามจำแนกเป็น
รายดา้ นและโดยรวม

แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิแ์ อลฟ่าของความเช่ือม่ัน

1. ด้านการเรียนรู้ 0.796
2. ดา้ นการรับรตู้ นเอง 0.764
3. ด้านทศั นคติ 0.857
4. ดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล 0.827
5. ด้านการแกป้ ัญหาและการตดั สนิ ใจ 0.888
6. ด้านความรู้เกย่ี วกับความสามารถพิเศษ 0.739
0.964
โดยรวมทั้งฉบับ

จากตารางที่ 4.7 เห็นได้ว่า ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามท้ัง
ฉบับมีคา่ เท่ากบั 0.964 เมอ่ื วเิ คราะหเ์ ป็นรายด้าน พบวา่ ดา้ นการเรียนรู้ มคี า่ เทา่ กับ 0.796 ด้านการ
รับรตู้ นเอง มคี ่าเทา่ กบั 0.764 ดา้ นทัศนคติ มคี ่าเท่ากบั 0.857 ด้านความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคล มีค่า
เท่ากับ 0.827 ด้านการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ มีค่าเท่ากับ 0.888 และด้านความรู้เกี่ยวกับ
ความสามารถพเิ ศษ มีค่าเท่ากับ 0.739 ซงึ่ ค่าสมั ประสิทธแิ์ อลฟาของความเชอ่ื มั่นดังกล่าวมีค่าสูงกว่า
เกณฑท์ ่ีกำหนด คือ เท่ากบั หรอื สูงกว่า 0.70 จงึ แสดงวา่ แบบประเมนิ ทักษะการปรับตัวของนักศึกษา
น้ีมคี ณุ ภาพสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีความเช่ือมัน่

4.4 ขน้ั ตอนท่ี 4 ผลการทดลองในภาคสนาม (Trial)

การทดลองในภาคสนาม (Trial) ผ้วู จิ ัยใชแ้ บบแผนการวจิ ยั ขั้นพนื้ ฐาน (Pre Experimental
Research) มีกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม มีการทดสอบก่อนและหลังการพัฒนา (One Group Pretest-
Posttest Design) กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาที่ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) คือ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน จำนวน 15 ราย มี
นักศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา จำนวน 324 ราย ดำเนินการพัฒนาในภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2564 มีผลการพัฒนาในภาคสนาม ดังนี้

ระยะท่ี 1 ผลการพัฒนาตามโครงการท่ี 1 : โครงการพฒั นาเพ่ือการเรียนรขู้ องอาจารย์
เป็นระยะของการพัฒนาตนเองของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองตามโครงการพัฒนาความรู้
อาจารย์ โดยการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) จากคู่มือจำนวน 6 ชุด คือ (1) คู่มือเพื่อการ
เรยี นรเู้ ก่ียวกบั นิยามของทักษะการปรับตวั (2) ค่มู ือเพ่ือการเรียนรเู้ ก่ียวกบั ความสำคญั ของทักษะการ
ปรับตัว (3) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะที่แสดงถึงทักษะการปรับตัว (4) คู่มือเพื่อการเรียนรู้
เกี่ยวกับแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัว (5) คู่มือเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาทักษะ
การปรับตวั (6) คูม่ อื เพ่อื การเรียนรู้เก่ียวกับการประเมินทักษะการปรบั ตัว ดำเนินการโดยการแนะนำ
คู่มอื ทง้ั 6 ชุด ที่ไดอ้ ปั โหลดลงเว็บไซตเ์ รียบรอ้ ยแลว้ มผี ลการดำเนนิ งานตามข้ันตอนตา่ ง ๆ ดังนี้

141
4.4.1 ผลการเตรียมการ
ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่วิจัยที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยนำหนังสือ
ขอความอนเุ คราะหจ์ ากมหาวทิ ยาลัยถึงท่านรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยา
เขตอีสาน ในวนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2564 เพื่อชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ของการวิจยั และขอความอนุเคราะห์
มหาวิทยาลัยเป็นพื้นที่วิจัย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จากนั้นผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ชี้แจง
รายละเอยี ดกับคณาจารย์ทีเ่ ป็นกลุ่มทดลองดว้ ยตัวเองกับกลมุ่ เป้าหมาย (Face to Face) ในวันที่ 20
พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมหลวงปู่บุญเพ็ง กปฺปโก มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยา
เขตอีสาน เมื่อกลุ่มทดลองภาคสนามเข้าใจรายละเอียดแนวทางในการปฏิบัติแล้ว ผู้วิจัยจึงส่งลิงก์
แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์กลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ในรูปแบบออนไลน์
(Google Form) ผ่านกลุ่มไลน์ที่สร้างขึ้น เพื่อใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารและติดตาม
ประสานงานตลอดการวจิ ยั ในครั้งน้ี ดงั ภาพที่ 4.6

ภาพที่ 4.6 การประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการวิจัย และการทำแบบทดสอบของอาจารย์ที่เป็น
กลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา (Pre-test) ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต
อสี าน
4.4.2 ผลการใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองก่อนการพัฒนา

(Pre-test)
จากการให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ทำแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของ

อาจารยจ์ ำนวน 36 ขอ้ “ก่อน” การพฒั นาโดยหลกั การเรยี นรดู้ ้วยตนเองจากคูม่ ือท่ีผวู้ ิจยั จดั ทำข้ึน ซึ่ง
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ได้คะแนนจากการ
ทดสอบ 442 คะแนน ซึ่งคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) ได้เท่ากับ 29.47 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) เทา่ กับ 2.20 จากคะแนนเตม็ 36 คะแนน ดังตารางที่ 4.8

ตารางที่ 4.8 ผลการทดสอบผลการเรยี นร้ขู องอาจารยท์ ี่เป็นกลุ่มทดลองก่อนการพฒั น

กลมุ่ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้นิยาม วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรลู้ ักษณะ/
ทดลองคน ความสำคญั คณุ ลกั ษณะ
วดั 6 ระดบั ความจำถึง สรา้ งสรรค์
ที่ วดั 6 ระดับ ความจำถึง วดั 6 ระดับ ความจำถึง
123456 สร้างสรรค์ สร้างสรรค์
1 101010
2 101011 123456 123456
3 010101
4 111101 111101 110101
5 111101 110111 111111
6 010111 111110 111111
7 101010 111011 011111
8 101010 111011 011111
9 111111 101110 111111
10 101111 110111 110111
11 101010 111101 110101
12 010111 111011 111111
13 101011 110101 111101
14 010101 110111 110111
15 111111 101110 111111
110111 111111
111110 111111
111011 111111

หมายเหตุ เลข 1 หมายถึงทำถกู , เลข 0 หมายถงึ ทำผดิ

142

นา (Pre-test)

วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้แนวการ วัตถุประสงค์การเรียนร้ขู นั้ ตอนการ วัตถุประสงค์การเรียนรู้

พัฒนา พฒั นา การประเมนิ ผล

วดั 6 ระดบั ความจำถงึ วัด 6 ระดับ ความจำถึง วดั 6 ระดับ ความจำถงึ รวม

สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์

123456123456123456

0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 27

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 33

1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 30

1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 1 1 0 1 28

1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 30

1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 29

0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 27

0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 27

1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 32

1 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 28

0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 27

1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 29

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 33

1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 30

1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 32

คะแนนรวมทุกคน 442

คะแนนเฉลีย่ 29.47

S.D. 2.20

143
4.4.3 ผลการพฒั นาอาจารย์โดยหลักการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning)
จากการนำคู่มือประกอบโครงการวิจัยทั้ง 6 ชุด ที่ผู้วิจัยได้จัดทำขึ้น อัปโหลดลงไว้ใน
เว็บไซต์:http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/Manmitr.pdf?fbclid=IwAR1H
PJxfOY-ZOp_Z5reno5E4vvrW0V_D9tA8oP4UX2gCCZ0uJjNd4_mDbu8 และส่งเข้าในกลุ่ม
ไลน์ (Group line) ที่สร้างขึ้นให้กลุ่มทดลอง คือ อาจารย์กลุ่มทดลองมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วทิ ยาลยั วทิ ยาเขตอสี าน ไดด้ าวน์โหลดคมู่ อื วจิ ัยทัง้ 6 ชดุ ไปศกึ ษา ระยะเวลา 1 เดอื น ดังภาพท่ี 4.7

ภาพที่ 4.7 อาจารยท์ เ่ี ป็นกลมุ่ ทดลองศกึ ษาคมู่ อื ประกอบโครงการทัง้ สองโครงการโดยหลกั การเรียนรู้
ดว้ ยตนเอง (Self-Learning)
4.4.4 ผลการตรวจสอบเพ่ือหาขอ้ บกพรอ่ งของคมู่ ือหลังการพัฒนาอาจารย์
ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ ในวันที่ 20 ธันวาคม 2564 ตรวจสอบเพื่อหาข้อบกพร่องของคู่มือและ

ทดสอบอาจารย์หลังการพัฒนาอาจารย์ผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองร่วมกันตรวจสอบหาข้อบกพร่องเพื่อ
การปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการที่ 1 ซง่ึ ได้อัปโหลดไว้ในเว็บไซต์ สว่ นข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
แก้ไขให้ส่งกลับทาง Group Line ใช้แบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์กับอาจารย์ผู้สอนที่เป็น
กลุ่มทดลอง เพื่อให้ทราบผลการเรียนรู้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 หรือไม่ เป็นข้อสอบ
ออนไลน์พร้อมตรวจคำตอบด้วย Google Form ดังนี้

144

4.4.4.1 การปรบั ปรุงแก้ไขด้านเนอ้ื หา โดยคำนงึ ถึงความถูกต้อง (Accuracy) และ
ความเปน็ ประโยชน์ (Utility) ตอ่ การนำไปใช้ มีข้อเสนอแนะ ดังนี้

-ควรจะปรับเนื้อหาให้กระชับ เน้ือหาเขา้ ใจง่าย ครอบคลุม และทนั สมัยเพื่อให้เน้ือหาดี
มสี าระ มีกระบวนการแนวคิดตา่ ง ๆ ทสี่ ามารถนำมาปรับใชไ้ ดใ้ นชีวิตประจำวัน

-มกี ารสะกดคำผดิ เล็กนอ้ ย ควรตรวจสอบการให้ละเอียดให้ถูกต้องตามหลักวชิ าการ
4.4.4.2 การปรบั ปรุงแกไ้ ขดา้ นภาษา มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
-บางข้อความใช้คำที่วิชาการมากเกินไปทำให้อ่านไม่ค่อยเข้าใจ ต้องอ่านซ้ำอีกรอบ
เน่อื งจากเป็นเน้อื หาทแี่ ปลมาจากภาษาองั กฤษ
-เนื้อหาเป็นสำนวนภาษาที่แปลมาจากภาษาอังกฤษ ควรมีท้ังคำศัพท์ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษด้วยในเน้ือหาโดยเฉพาะคำศัพท์วิชาการเฉพาะที่คอ่ นข้างยาก ถ้าหากมีคำแปลข้าง ๆ ก็
ช่วยทำให้ผู้ศึกษา ศกึ ษาได้เขา้ ใจไดง้ ่าย
-ควรใช้คำใหต้ รงกันและเหมอื นกนั ทั้งหมดในทุกคู่มือ
-ตรวจสอบการสะกดคำ และด้านเนื้อหาให้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและหลัก
วชิ าการ
4.4.4.3 การปรับปรงุ แกไ้ ขดา้ นรปู แบบการนำเสนอ มีขอ้ เสนอแนะ ดังน้ี
-รูปแบบการนำเสนอควรให้หลากหลายไม่ซ้ำเดิมในแต่ละคู่มือ ควรเพ่ิมสีสันให้สวยงาม
ให้ดึงดูดผู้อ่านด้วยภาพกราฟิก การ์ตูน ถ้าเพิ่มการตกแต่งหัวขอ้ ข้อความให้โดดเดน่ จะน่าสนใจและ
ดึงดูดผูอ้ ่านเพิ่มมากขึน้
-รูปแบบในการนำเสนอดี มีกิจกรรมถามเพื่อทบทวนความรู้ความเขา้ ใจ เพื่อให้ผู้ศึกษา
ได้กระตุ้นความคดิ แต่ควรเพ่มิ สอ่ื รปู ภาพต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายน่าสนใจ
4.4.4.4 อน่ื ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้
-ตวั หนงั สอื ขนาดเลก็ ไป ควรเน้นคำ หัวข้อ ให้โดดเด่นชัดเจน ใช้สีสันตกแตง่ เพิม่ เติม
4.4.5 ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการพัฒนา
(Posttest)
จากการให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ทำแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของ
อาจารยจ์ ำนวน 36 ข้อ “หลัง” การพัฒนาโดยหลกั การเรยี นรดู้ ้วยตนเองจากคู่มือทีผ่ ูว้ จิ ยั จัดทำขึน้ ซึ่ง
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ได้คะแนนจากการ
ทดสอบ 502 คะแนน ซึ่งคำนวณค่าเฉลี่ย (Mean) ได้เท่ากับ 33.47 คะแนน และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 1.13 จากคะแนนเตม็ 36 คะแนน ดงั ตารางที่ 4.9

ตารางที่ 4.9 ผลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องอาจารย์ท่เี ป็นกลุ่มทดลองหลังการพฒั น

กลุ่ม วัตถุประสงค์การเรยี นรนู้ ิยาม วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรยี นร้ลู กั ษณะ/
ทด ความสำคัญ คณุ ลักษณะ

ลอง วัด 6 ระดบั ความจำถึง สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดับ ความจำถงึ สรา้ งสรรค์ วัด 6 ระดบั ความจำถงึ สรา้ งสรรค์

คนท่ี 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

1 111110111111111111

2 111111111110111111

3 111111111111111111

4 111011111111011111

5 111111111111111110

6 011101111011111111

7 111111111111111101

8 111111111111111111

9 111111101011111111

10 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1

11 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 1 1 1

12 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1

14 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

15 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1

หมายเหตุ เลข 1 หมายถงึ ทำถูก, เลข 0 หมายถงึ ทำผดิ

145

นา (Posttest)

วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรแู้ นวการ วัตถปุ ระสงค์การเรียนรูข้ น้ั ตอนการ วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ รวม
พัฒนา พฒั นา การประเมนิ ผล
34
วดั 6 ระดับ ความจำถงึ สร้างสรรค์ วดั 6 ระดับ ความจำถึง สร้างสรรค์ วดั 6 ระดับ ความจำถงึ สร้างสรรค์ 35
35
123456 123456 123456 33
34
111101 111111 111111 32
111111 111111 111111 32
011111 111111 111111 35
111111 111111 111011 34
111111 111011 111111 32
101111 111111 111111 33
111110 111111 111100 32
111111 111110 111111 34
111111 111111 111111 34
011111 011111 111111 33
101111 111111 111111
110111 111111 111111 502
111011 111111 111111 33.47
111111 111111 101111 1.13
111111 110101 111111

คะแนนรวมทุกคน
คะแนนเฉล่ยี
S.D.

146

4.6 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่ม
ทดลองก่อนและหลังการพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)

การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและหลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที
(t-test) ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามหลักการทางวิชาการ ถือเป็นเทคนิคการทดสอบสมมติฐานชนิด
หนึ่งที่นักวิจัยนิยมใช้การทดสอบ โดยวิธีการนี้ใช้ในกรณีขอ้ มูลมีจำนวนน้อย (n < 30) ผู้ที่ค้นพบการ
แจกแจงของ t มีชื่อว่า W.S. Gosset ในการใช้การทดสอบทีกรณีกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มนั้น จำแนก
ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การใช้ t-test แบบเป็นอิสระจากกัน (Independent) เป็นสถิติที่ใช้
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเป็นอิสระจากกัน ข้อมูลที่รวบรวมได้อยู่ในระดบั
อันตรภาคหรืออัตราส่วน ใช้สถิติการทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t - test for Independent
Samples 2) การใช้ t-test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เป็นสถิติที่ใช้เปรียบเทียบ
ค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระจากกัน และกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว ใช้สถิติการ
ทดสอบค่า t มีชื่อเฉพาะว่า t-test for Dependent Samples ซึ่งมักพบในการวิจัยเชิงทดลองท่ี
ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลองหรือเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่มทดลอง
และกลมุ่ ควบคมุ ท่ีได้จากการจับคู่คณุ ลักษณะทีเ่ ทา่ เทียมกัน (Thesis Thailand, 2020)

ในงานวิจัยนี้ ใช้ t-test แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) เนื่องจากเป็นการวิจัย
เชิงทดลองที่ต้องการเปรียบเทียบผลระหว่างก่อนทดลองกับหลังทดลอง โดยมีข้อตกลงเบื้องต้น
ดังนี้ 1) ข้อมูลอยู่ในมาตรอันตรภาค (Interval Scale) หรือมาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 2) กลุ่ม
ตัวอย่างเปน็ กลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มไดจ้ ากประชากรที่มีการแจกแจงแบบปกติ 3) ค่าของตัวแปรตามแต่
ละหน่วยเป็นอิสระต่อกัน และ 4) ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร (ศิริชัย กาญจนวาสี ,
ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ และ ดเิ รก ศรสี ุโข, 2551) มสี ตู รในการคำนวณ ดังน้ี

t = ……. ∑D………

N∑D2 – (∑D)2
N-1

∑D หมายถงึ ผลรวมของความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนและหลงั การพัฒนา

∑D2 หมายถึง ผลรวมความแตกตา่ งของคะแนนก่อนและหลงั การพฒั นายกกำลงั สอง

N หมายถึง จำนวนกลมุ่ ทดลองท่ีได้รบั การพัฒนาท้ังหมด

จากการให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 15 คน ทำแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของ
อาจารย์ “ก่อน” การพัฒนา (Pre-test) ได้คะแนนจากการทดสอบ 442 คะแนน ซึ่งคำนวณค่าเฉลี่ย
ไดเ้ ทา่ กับ 29.47 คะแนนจากคะแนนเตม็ 36 คะแนน และจากการทดสอบ “หลงั ” การพฒั นา (Post-
test) พบว่า อาจารยท์ ำคะแนนได้โดยรวม เทา่ กบั 502 คะแนน มีค่าเฉลยี่ เท่ากบั 33.47 จากคะแนน
เต็ม 36 คะแนน ซึ่งเมื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่าง
คะแนน “ก่อน” และ “หลัง” การพัฒนา โดยการทดสอบค่าที (t-test) ตามสูตรดังกล่าวข้างบน
พบว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้คะแนนจากการทดสอบ “หลัง” การพัฒนาสูงกว่า “ก่อน” การ
พัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในตารางที่ 4.10 แสดง
ให้เห็นว่า โปรแกรมออนไลน์ที่ประกอบด้วย 2 โครงการ แต่ละโครงการมีคู่มือประกอบนั้น มี

147

ประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปใช้เพื่อพัฒนาอาจารยใ์ ห้เกิดการเรียนรู้เพื่อนำผลการเรียนรูไ้ ปพัฒนา
ต่อเนื่องกับนักศึกษาต่อไปได้ และสามารถที่จะนำไปเผยแพร่ให้ประชากรที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการ
พัฒนา คือ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยสังกัดมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัยทุกวิทยาเขตทั่วประเทศ
ได้นำไปใช้ไดอ้ ย่างมผี ลการวจิ ัยรับรอง

ตารางที่ 4.10 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ระหวา่ งคะแนน “ก่อน” และ “หลงั ” การพฒั นา

การทดสอบ จำนวนกลมุ่ ตวั อยา่ ง ค่าเฉลย่ี SD. t

ก่อน 15 29.47 2.20 7.483*

หลงั 15 33.47 1.13

* p < 0.05

4.7 ผลการวิเคราะห์ผลการทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองหลัง

การพฒั นา (Posttest) เปรยี บเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐาน 90/90

ดังกล่าวในบทที่ 3 ว่าตามทัศนะทางวิชาการ การประเมินตามแนวคิดเกณฑ์มาตรฐาน
90/90 เป็นการบอกค่าประสิทธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูปหรือบทเรียนโปรแกรม (Programmed
Materials หรือ Programmed Textbook หรือ Programmed Lesson) ซึ่งเป็นสื่อที่มีเป้าหมาย
หลักเพื่อให้ผู้เรียนใช้เรียนด้วยตนเองเป็นสำคัญ หลักจิตวิทยาสำคัญที่เป็นฐานคิดความเชื่อของสื่อ
ชนิดนี้คือทฤษฎีการเรียนแบบรอบรู้ (Mastery Learning) ซึ่งมีความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถ
เรียนรู้ได้ หากจัดเวลาเพยี งพอจัดวิธีการเรียนทเี่ หมาะสมกบั ผู้เรียนก็สามารถทีจ่ ะทำใหผ้ ู้เรียนสามารถ
เรียนร้ไู ด้ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรียนได้

โดยเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) ในงานวิจัยนี้ หมายถึง เกณฑ์ท่ีใช้วัด
ความมปี ระสิทธิภาพของคูม่ ือต่อการเสริมสร้างความรูใ้ นโครงการพฒั นาความรู้ให้กับอาจารย์ผู้สอนที่
เปน็ กลุม่ ทดลอง โดย 90 ตวั แรก หมายถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนทัง้ กลุ่มที่ได้จากการวัด
ด้วยแบบทดสอบวัดความรอบรู้หลังจากเรียนจากบทเรียนที่สร้างขึ้นจบลง 90 ตัวหลัง หมายถึง
ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบ (วัดความรอบรู้หลังการเรยี นจากบทเรียนที่สร้าง
ขึ้นจบลง) โดยสามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านตามเกณฑ์วัตถุประสงค์ทุกวัตถุประสงค์ (มนตรี
แย้มกสกิ ร, 2551)

ทั้งนี้ ความหมายนี้แตกต่างจากความหมายของเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ดั้งเดิมตามทัศนะ
ของ เปรื่อง กุมุท (2519) ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้นำเสนอ
แนวคดิ เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 คนแรก (ในประเทศไทย) นนั่ คือ 90 ตวั แรก เป็นคะแนนเฉลี่ยของทั้ง
กลุ่ม ซึ่งหมายถึงทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนนเสร็จ นำคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุก
คะแนนแล้วหาค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ ค่าร้อยละเฉลี่ยของกลุ่ม
จะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวที่สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของผู้เรียนทั้งหมด ได้รับ

148

ผลสัมฤทธต์ิ ามความมุ่งหมายแต่ละข้อ และทุกข้อของบทเรียนโปรแกรมน้ัน (เปรื่อง กุมทุ , 2519 อ้าง
ถงึ ใน มนตรี แย้มกสิกร, 2551)

ตามทศั นะของ มนตรี แย้มกสกิ ร (2551)
สตู รทใี่ ช้ในการคำนวณ 90 ตวั แรก
90 ตวั แรก = {(Σ X /N) X 100)}/R
โดย 90 ตัวแรก หมายถึง จำนวนรอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียของการทดสอบหลังเรียน
Σ X หมายถึง คะแนนรวมของผลการทดสอบที่ผู้เรียนแต่ละคน ทำได้ถูกต้องจากการ
ทดสอบหลงั เรยี น
N หมายถงึ จำนวนผเู้ รยี นทงั้ หมดที่ใช้เปน็ กลุม่ ตวั อย่างในการคำนวณประสทิ ธภิ าพครง้ั นี้
R หมายถึง จำนวนคะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน
สตู รทีใ่ ช้ในการคำนวณ 90 ตัวหลงั
90 ตวั หลงั = (Y x 100)/ N
โดย 90 ตัวหลัง หมายถึง จำนวนร้อยละของผู้เรียนที่สามารถทำแบบทดสอบผ่านทุก
วตั ถปุ ระสงค์
Y หมายถงึ จำนวนผเู้ รยี นทีส่ ามารถทำแบบทดสอบผา่ นทุกวัตถปุ ระสงค์
N หมายถึง จำนวนผูเ้ รียนทั้งหมดท่ีใช้เปน็ กลุม่ ตัวอย่างในการคำนวณประสิทธภิ าพครั้งนี้
ผลจากการทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุม่ ทดลองหลังการพฒั นา (Posttest)
จากการดำเนนิ งานในโครงการที่ 1 โดยใช้แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารยท์ ่ีมีลักษณะเป็นแบบ
ปรนัย ที่มีตัวเลือก 4 ตัวเลือก จำนวน 36 ข้อ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ปรากฏผลการวิเคราะห์
ข้อมูลดังตารางท่ี 4.11

ตารางที่ 4.11 ผลการวเิ คราะหผ์ ลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารยต์ ามเกณฑม์ า

กลมุ่ ทดลอง วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้
คนที่ นยิ าม
ความสำคัญ ลักษณะ/คณุ ลักษณะ
1 คะแนน ผล
2 คะแนน ผล คะแนน ผล
3 5ผ
4 6ผ 6ผ 6ผ
5 6ผ
6 5ผ 5ผ 6ผ
7 6ผ
8 4ม 6ผ 6ผ
9 6ผ
10 6ผ 6ผ 5ผ
11 6ผ
12 5ผ 6ผ 5ผ
13 6ผ
14 4ม 5ผ 6ผ
15 6ผ
รวม 6ผ 6ผ 5ผ
เฉลี่ย 6ผ
90 แรก 83 13 6ผ 6ผ
90 หลงั 5.53
92.22 4ม 6ผ

86.67 6ผ 5ผ

5ผ 5ผ

5ผ 6ผ

5ผ 6ผ

5ผ 6ผ

5ผ 6ผ

81 14 85 15

5.40 5.67

90.00 94.44

93.33 100.00

หมายเหตุ

1) เกณฑก์ ารผา่ นแต่ละวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ ต้องตอบถูกไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ขอ้ จากข้อสอบ 6 ขอ้ ซึ่งเทา่ ก
2) ผล หมายถึง ผลการสอบผ่าน (ผ) หรอื ไม่ผ่านเกณฑ์ (ม) ของแตล่ ะวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ จำนวนผ

149

าตรฐาน 90/90

วตั ถุประสงค์การเรียนรู้แนว วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรขู้ ั้นตอน วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ การ

การพฒั นา การพัฒนา ประเมินผล รวม

คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ผล 34
35
5ผ 6ผ 6ผ 35
33
6ผ 6ผ 6ผ 34
32
5ผ 6ผ 6ผ 32
35
6ผ 6ผ 5ผ 34
32
6ผ 5ผ 6ผ 33
32
5ผ 6ผ 6ผ 34
34
5ผ 6ผ 4ม 33
502
6ผ 5ผ 6ผ 33.47
92.96
6ผ 6ผ 6ผ 94.44

5ผ 5ผ 6ผ

5ผ 6ผ 6ผ

5ผ 6ผ 6ผ

5ผ 6ผ 6ผ

6ผ 6ผ 5ผ

6ผ 4ม 6ผ

82 15 85 14 86 14

5.47 5.67 5.73

91.11 94.44 95.56

100.00 93.33 93.33

กับร้อยละ 83.33 ของคะแนนเต็มของแต่ละวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้
ผูท้ ีส่ อบผา่ นแตล่ ะวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้น้จี ะใชใ้ นการคำนวณตามเกณฑ์ร้อยละ 90 ตวั หลงั

150

4.7.1 ผลการทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารยเ์ ปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90
ตัวแรก

ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง
จำนวน 15 คนหลังการพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่มีข้อสอบ 36
ขอ้ เพือ่ เปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตวั แรกซ่ึงหมายถึงจำนวนรอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ของการ
ทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.47 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิด
เป็นร้อยละแล้วได้ 92.96 ซึ่งมีค่าร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 แสดงว่า การเสนอ
เนื้อหาในคู่มือประกอบโครงการทุกชุดมีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปใช้พัฒนาอาจารย์ให้เกิดการ
เรียนรู้ได้ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด

4.7.2 ผลการทดสอบผลการเรยี นรขู้ องอาจารยเ์ ปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน 90
ตัวหลัง

ผลจากการวเิ คราะหข์ ้อมลู จากการทดสอบผลการเรียนรู้ของอาจารย์ที่เปน็ กลมุ่ ทดลองหลัง
การพัฒนา (Posttest) จากแบบทดสอบผลการเรยี นรูข้ องอาจารย์ ซง่ึ มี 6 วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ แต่
ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้มีข้อสอบ 6 ข้อ รวมข้อสอบทั้งฉบับ 36 ข้อ เกณฑ์การผ่านแต่ละ
วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ ตอ้ งตอบถกู ไม่น้อยกว่า 5 ขอ้ จากข้อสอบ 6 ข้อ ซึ่งเท่ากับรอ้ ยละ 83.33 ของ
คะแนนเต็มของแต่ละวัตถุประสงค์การเรียนรู้ เพื่อใช้ในการคำนวณเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง ซึ่ง
หมายถึงร้อยละของจำนวนอาจารย์ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์ จากจำนวน
อาจารย์ทั้งหมด 15 คน พบว่า มีอาจารย์ร้อยละ 94.44 ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุก
วัตถุประสงค์ ซึ่งมีค่าร้อยละที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 แสดงว่า การเสนอเนื้อหาในคู่มือ
ประกอบโครงการทุกชุดมีประสิทธิภาพที่สามารถนำไปใช้พัฒนาอาจารย์ให้เกิดการเรียนรู้ได้ตาม
เกณฑ์ทีก่ ำหนด

ระยะที่ 2 ผลการพัฒนาตามโครงการที่ 2 : โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การ

พฒั นานกั ศึกษา

เปน็ ระยะของการนำผลการเรียนรู้สู่การปฏิบัติของอาจารย์ท่ีเป็นกลุ่มทดลองตามโครงการ

ผู้สอนนำความรสู้ กู่ ารพัฒนาผเู้ รยี น โดยในการปฏบิ ตั นิ นั้ เป็นการกำหนดให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง

ร่วมกันนำความรู้ที่ได้จากการพฒั นาตนเองจากคู่มือตามโครงการที่ 1 ไปใช้พัฒนานักศึกษาให้เกิดผล

การพัฒนาตามทีค่ าดหวัง มีผลการดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังน้ี

1) การช้แี จงระเบยี บวิธีวิจัยให้กับอาจารย์ท่เี ป็นกลมุ่ ทดลอง
ผู้วิจัยลงพื้นที่จริง ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยการลงพื้นท่ี
พบปะกับอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง ในวันที่ 26 ธันวาคม 2564 (ดังภาพที่ 4.8) เพื่อแนะนำ ชี้แนะ
วิธีการประสานงานต่าง ๆ แนะนำการส่งงานผ่าน Group Line และแนะนำเว็บไซต์ เพื่อเข้าไปดาวน์
โหลดเอกสารตา่ ง ๆ โดยท่ผี รู้ ว่ มวจิ ัยให้อิสระแกก่ ล่มุ ทดลอง จะไม่เขา้ ไปยุ่งเก่ียว หลังจากถอดบทเรยี น
อาจารย์นำความรู้ที่ได้จากโครงการที่ 1 ไปพัฒนานักศึกษาให้เกิดผลการพัฒนาตามที่คาดหวัง ใน
ระยะเวลา 2 เดือน ซึ่งอาจารย์กลุ่มทดลองจะเริ่มดำเนินการพัฒนานักศึกษาตามโครงการที่ 2 ตั้งแต่
วันท่ี 26 ธนั วาคม 2564 ถงึ วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ 2565

151

ภาพที่ 4.8 การประชมุ ชี้แจงระเบียบวธิ ีวจิ ยั ให้กบั อาจารย์ทเี่ ปน็ กลุม่ ทดลอง

2) การประเมินทกั ษะการปรับตวั ของนักศกึ ษาท่ีเป็นกลุ่มทดลองกอ่ นการพัฒนา (Pre-
test)

จากการใช้แบบประเมินทักษะการปรับตัวกับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลอง “ก่อน” การ
พัฒนา (Pre-test) จำนวน 324 คน โดยใช้แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่
5 ระดับที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ดงั ตารางท่ี 4.12

ตารางที่ 4.12 ค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมนิ ทักษะการปรบั ตัวของนกั ศึกษาก่อนการพฒั นา (Pretest)

รายการลักษณะของทกั ษะการปรับตัวทป่ี ระเมนิ ผลการประเมิน
S.D.
การเรยี นรู้ (Learning)
1) ฉันบอกกับตวั เองวา่ ต้องเปน็ ผเู้ รียนรูอ้ ย่างสม่ำเสมอ 3.62 1.11
2) ฉนั สนกุ กบั การเรียนรูแ้ นวทางใหมจ่ ากกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั 3.54 1.10
3) ฉนั มกั จะเรยี นรูข้ ้อมลู และทักษะใหม่ ๆ เพือ่ นำหนา้ เพอ่ื นรว่ มชน้ั 3.56 1.07
4) ฉนั กำลังเรียนรูท้ ักษะใหม่ ๆ ในมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนือ่ งเพื่อเตรยี มพร้อมทำงานใน 3.62 1.10

อนาคต 3.59 1.04
3.58 1.06
5) ฉนั สามารถจนิ ตนาการส่ิงใหม่ ๆ จากความคดิ เดิม ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดรวดเรว็
6) ฉนั อ่านตำราเรียนล่วงหน้าก่อนเรยี นในชนั้ 3.52 1.13
การรับรตู้ นเอง (Self-Awareness) 3.51 1.11
7) ฉันมคี วามภาคภูมใิ จในตนเองและรู้สึกดกี บั ตัวเอง 3.59 1.11
8) ฉนั ร้วู า่ อะไรสำคญั สำหรับตัวเองและใชค้ วามรปู้ ระกอบการตดั สินใจ 3.64 1.08
9) ฉันมีวสิ ัยทศั น์ท่ีมคี วามหมายและมจี ดุ มงุ่ หมายสำหรบั ชีวิตของตน
10) ฉนั เขา้ ใจว่าชวี ติ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงและไมเ่ ป็นไปตามท่ีฉันต้องการ

152

ตารางท่ี 4.12 (ตอ่ )

รายการลักษณะของทกั ษะการปรับตวั ทปี่ ระเมนิ ผลการประเมนิ
S.D.
11) เมือ่ สูญเสยี ความมั่นใจชว่ั คราว ฉนั รู้ว่าฉันต้องทำอย่างไรเพ่ือฟื้นฟูความม่นั ใจ
12) ฉันสามารถแยกแยะและบอกใหท้ ราบถงึ จดุ อ่อนของตนและแนวทางทฉ่ี นั ทำงานกับ 3.56 1.08
3.53 1.05
คนรอบข้าง
3.69 1.07
ทศั นคติ (Attitude) 3.60 1.08
13) โดยทั่วไปฉันดำเนนิ ชีวิตในแง่ดี 3.51 1.09
14) ฉนั เช่อื วา่ ตนเองมีทางเลอื กและตัวเลือกเสมอแม้ในสถานการณท์ ีย่ ากลำบาก 3.60 1.10
15) ฉันมีอารมณ์ขัน และสามารถหาสง่ิ ทีจ่ ะทำให้หวั เราะแมใ้ นเวลาทม่ี ปี ญั หา 3.58 1.05
16) ฉันเข้าใจว่าประสบการณ์ใหม่ ๆ จะทำเตบิ โตและสนกุ กบั การเรียนรู้ 3.62 1.11
17) ฉันไม่เสยี เวลากังวลกับสง่ิ ทีอ่ ยนู่ อกเหนอื การควบคุมของตน
18) ความล้มเหลวใหโ้ อกาสฉันในการสร้างสรรค์นวตั กรรม 3.73 1.09
ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal) 3.59 1.05
19) ฉันเปดิ ใจกว้างในการติดตอ่ กับผ้อู น่ื 3.60 1.08
20) ฉันเชื่อวา่ การมีความยืดหยนุ่ ในการติดตอ่ กบั ผู้อน่ื เป็นสงิ่ สำคญั 3.56 1.08
21) โดยปกติฉนั จะสามารถอา่ นใจคนอน่ื และเข้าใจวา่ เขารูส้ กึ อยา่ งไรตลอดเวลา 3.72 1.07
22) ฉนั ใช้ความเข้าใจผอู้ ื่นในการมีปฏสิ มั พันธ์ 3.54 1.06
23) ฉันปรับพฤติกรรมของตนใหเ้ ข้ากบั คนอ่นื
24) ฉันยอมรับสมาชิกใหม่และรปู แบบการทำงานของทมี เสมอ 3.60 1.07
3.53 1.02
การแกป้ ัญหาและการตดั สนิ ใจ 3.59 1.11

25) ฉันเรียนรู้วธิ กี ารใหม่ ๆ ในการแกป้ ัญหาอย่างรวดเรว็ 3.67 1.08
26) ปกตินกั ศึกษามีทางเลือกที่หลากหลายในการแก้ปญั หา
27) ฉันสามารถจัดระเบียบสภาพแวดลอ้ มและจดั ลำดับความสำคัญของงานแม้ใน 3.44 1.14

เวลาท่ีเครยี ด 3.79 1.06

28) ฉันสามารถเรยี นรกู้ ลยุทธส์ ่วนตัวเพ่อื รบั มอื กบั ความเปลยี่ นแปลงเนอื่ งจาก 3.54 1.11
3.61 1.11
ความไม่แนน่ อนในการดำเนินชวี ติ 3.67 1.08

29) เมื่อประสบความเครยี ดในดา้ นใดดา้ นหน่งึ ของชีวิต ฉันสามารถควบคุมอารมณ์

กบั เร่อื งนน้ั ๆ ได้

30) ฉนั สามารถคน้ หาและระดมทรัพยากรที่จำเป็นในภาวะวกิ ฤตหรอื สถานการณ์

ใหม่ ๆ
ความรเู้ ก่ยี วกบั ความสามารถพิเศษ

31) ฉนั สามารถพูดได้อย่างชดั เจนถึงพรสวรรค์และความสามารถพเิ ศษของตน
32) ฉันรทู้ กั ษะที่จำเป็นสำหรับอาชีพของตนในอนาคต
33) ฉนั รวู้ ่าคนอื่น ๆ ในมหาวิทยาลยั คาดหวงั อะไรจากฉัน

153

ตารางท่ี 4.12 (ต่อ)

รายการลกั ษณะของทักษะการปรับตัวทป่ี ระเมนิ ผลการประเมนิ
S.D.
34) ในมุมมองของอาจารย์ เพอ่ื นรว่ มชั้นและมหาวิทยาลยั ฉันรวู้ ่าทกั ษะของตน
3.61 1.07
เป็นอย่างไร
3.55 1.05
35) ฉนั รวู้ ่าพฤตกิ รรมและทศั นคติใดเหมาะสมในมหาวิทยาลัย 3.56 1.09
36) ฉนั ไม่เคยหยุดอยกู่ บั ความสำเรจ็ และคน้ หาความทา้ ทายต่อไปในเชงิ รกุ
3.59 0.27
โดยรวม

จากตารางที่ 4.12 เห็นได้ว่า นักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองได้รับการประเมินทักษะการ
ปรับตัวก่อนที่อาจารย์ผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองจะนำความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Pre-test) มีค่าเฉลี่ย
(Mean) โดยรวมเท่ากบั 3.59 และมีค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กับ 0.27

3) อาจารย์ท่ีเปน็ กลมุ่ ทดลองนำผลการเรียนร้สู ู่การพฒั นาผูเ้ รียน
(1) ขน้ั ตอนและกจิ กรรมการดำเนินงาน
หลังจากที่มีการแนะนำให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้ศึกษาคู่มือประกอบโครงการทั้ง

สองโครงการโดยหลักการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Self-Learning) เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ท่ีสามารถจะนำผล
การเรียนรู้ไปสู่การพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

อาจารย์ผู้เป็นกลุ่มทดลองมีขั้นตอนและกิจกรรมการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 2 เดือน คือ ตั้งแต่
วนั ท่ี 26 ธนั วาคม 2564 ถึงวนั ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 ดงั นี้

-มีการประชุมวางแผนปรึกษากับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยทั้งผู้บริหาร
มหาวิทยาลยั และคณะอาจารย์กลุ่มทดลอง

-วางแผนเพ่อื ระดมความคิด ในการนำความรูห้ ลังจากที่ศึกษาคมู่ ือจากผูว้ ิจยั เขียนข้ึนมา
ว่าจะนำไปปรบั ใชอ้ ยา่ งไร

-เตรียมสถานที่ ห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทดสอบ
ระบบอินเตอร์เน็ตให้พร้อมใช้งาน เพื่อให้อาจารย์ที่เป็นกลมุ่ ทดลอง และนกั ศึกษาสามารถเข้าสู่ระบบ
รับ - ส่ง ข้อมูลไดส้ ะดวก รวดเรว็

-หลงั จากอาจารยผ์ ้สู อนดำเนินการศึกษาคู่มือวจิ ยั แล้ว โดยใชเ้ วลาวา่ งศกึ ษา เพอ่ื ไม่
กระทบกับการจัดการเรียนการสอน และการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี

-อาจารย์ผู้สอนระดมสมองหาข้อพกพร่องของคู่มือโดยการแบบถอดบทเรียน เพื่อการ
ปรับปรุงแก้ไขคู่มือในโครงการที่ 2 หลังการพัฒนาในภาคสนามระยะที่ 2 โดยทางอาจารย์ได้กรอก
ข้อมูลเป็นรายบุคคลผ่านทาง Google Form

-เมื่อศึกษาจนครบทุกท่านตามกรอบระยะเวลาที่ผู้วิจัยแนะนำ ผู้วิจัยประชุมอาจารย์ท่ี
เป็นกลุ่มทดลอง อีกครั้ง เพื่อระดมความคิดหาข้อสรุปร่วมกันหลังจากที่ทุกคนศึกษามาแล้ว ว่ามีข้อ
พกพร่องอะไรที่จะต้องแก้ไขปรับปรุงใหเ้ ปน็ แนวทางเดยี วกนั

-นำแบบประเมินตนเองของผู้เรียน เป็นแบบประเมินค่า 5 ระดับ เพื่อตรวจสอบผูเ้ รยี น
ก่อนการพัฒนา เพื่อทราบข้อมูลก่อนการพัฒนาเบื้องต้นจะมีผลอย่างไร ตามกระบวนการที่ผู้วิจัยได้
แนะนำ

154

-หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอนนำความรู้ทั้งหมดที่ได้จากการศึกษาคู่มือ ไปปรับใช้ในการ
จัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาผู้เรียน ตามกระบวนการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับการปรับตัว มีการ
บันทึกภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน มกี ารบนั ทกึ กระบวนการพัฒนาตวั เองของผเู้ รียนซ่ึงผู้วิจัยจะไป
ร่วมสังเกตการณ์ อาจารย์ผู้สอนจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการตลอดระยะเวลา 2 เดือน (ดังภาพที่
4.9)

-หลังจากเสร็จกระบวนการทั้งหมดจากการนำความรู้ไปพฒั นานักศึกษา เพอื่ ให้รู้ถึงการ
เปลีย่ นแปลงของนกั ศึกษา อาจารยม์ กี ารประเมนิ นักศกึ ษา โดยใช้แบบประเมินตนเองของผู้เรียน เป็น
แบบประเมินค่า 5 ระดับ โดยใช้แบบสอบถามชุดเดิม ใน Google Form ก็จะได้ข้อมูลจากแบบ
ประเมนิ มาคำนวณคา่ ตา่ ง ๆ

-เปน็ การเสรจ็ สนิ้ ในกระบวนการนำความรู้ส่กู ารพัฒนาผูเ้ รยี น

155

ภาพท่ี 4.9 อาจารยท์ เี่ ป็นกลุ่มทดลองนำผลการเรียนรูส้ ู่การพัฒนานักศึกษา

(2) การนำขอ้ เสนอทางเลอื กท่ีเปน็ หลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วธิ ีการ / กิจกรรม
ไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตวั ให้แกน่ ักศึกษา

ในตอนท้ายของคู่มือประกอบโครงการที่สอง คือ โครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่
การพัฒนานักศึกษา ผู้วิจัยได้จัดทำแบบประเมินตนเอง (Self-Assessment) โดย Google Form ไว้
เพื่อให้อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้ใช้ประเมินตนเองว่า หลังจากการนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนา
นักศึกษาตลอดระยะเวลา 2 เดือนที่ผ่านมา ได้นำเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ /
กิจกรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษาในระดับใด จากตัวเลือก 6 ระดับ คือ 0
หมายถึง ไม่ได้นำไปปฏิบัติเลย ตัวเลือก 1-5 หมายถึง นำไปปฏิบัติน้อยที่สุดถึงมากที่สุด ดังมีผลการ
ประเมินตนเองในตารางท่ี 4.13

ตารางที่ 4.13 ผลการประเมนิ ตนเองของอาจารยท์ ี่เป็นกลุ่มทดลองในการนำข้อเสนอทางเลือกท่ีเป็น
หลักการ / แนวคดิ / เทคนิค / วิธกี าร / กจิ กรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตัว
ใหแ้ ก่นักศกึ ษา

ข้อเสนอหลกั การ / แนวคดิ / เทคนคิ / วธิ กี าร / กิจกรรม คา่ ความถี่แสดงระดับการนำไปปฏิบัติ
เพอื่ การนำไปปฏบิ ตั ิ 012345

การพัฒนาทักษะการปรบั ตวั 4 11
ทศั นะของ Quick Base (2012)
1. ฉีกกฎเดมิ ๆ (Quit Following the Rules)

156

ตารางท่ี 4.13 (ต่อ)

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม ค่าความถีแ่ สดงระดับการนำไปปฏบิ ตั ิ
เพอ่ื การนำไปปฏิบตั ิ 012345

2. คดิ ให้ดหี ากจะปฏิเสธตนเอง (Think Twice about Saying 2544
No) 573
3. เร่มิ ตน้ วันของเราด้วยความแตกต่าง (Start Your Day 168
Differently) 249
4. เปน็ ผปู้ รับตวั ตั้งแตเ่ น่นิ ๆ (Be an Early Adopter) 267
ทัศนะของ Vanderbloemen (2013)
1. ใช้ชีวติ ให้เป็นไปตามธรรมชาติ (Be more Spontaneous) 438
2. ทำใจใหส้ งบและยอมรับการเปลีย่ นแปลงท่อี าจเกดิ ข้ึนอย่างไม่
คาดคดิ (Be Calm and Accepting When Unexpected 1239
Changes Happen)
3. เรียนร้ทู จี่ ะสับเปลีย่ นตารางเวลาของตัวเองเม่ือเกดิ การ 564
เปลยี่ นแปลง (Learn How to Alter Your Schedule When
Changes Happen) 753
4. ให้หาคนท่ีเราชน่ื ชอบในดา้ นการมคี วามสามารถในการปรบั ตัว 852
สงู และเรยี นรูจ้ ากพวกเขา (Find Someone You Admire with 2247
High Adaptability and Learn From Them) 483
5. เป็นอาสาสมคั รสำหรบั บทบาทท่ตี ้องใชค้ วามยืดหยุน่ มากเปน็ 1463
พิเศษเพือ่ การเตบิ โตไปในที่แหง่ น้ี (Volunteer in A Role That 10 3 2
Requires Extra-Ordinary Flexibility in order to Grow in 2139
this Area)
ทัศนะของ Reddy (n.d.) 5 10
1. รบั ฟงั เพ่อื เขา้ ใจสถาณการณ์ (Tune in to Know The
Situation)
2. ให้ลองอยใู่ นสถาณการณท์ ี่แตกตา่ งกัน (Try Different
Situations)
3. ฟงั ใหม้ ากขึน้ (Listen More)
4. ฝกึ ความฉลาดทางอารมณ์ (Practice Emotional
Intelligence)
5. สำหรบั พนกั งานท่ีมคี วามยดื หย่นุ อยูโ่ ดยธรรมชาติเทา่ นนั้
(Only For Naturally Flexible Employees)
6. สำหรับพนักงานที่มีระเบียบมาก (For Very Organized
Employees)
7. พจิ ารณาสถาณการณ์จากมมุ มองทก่ี ว้างกว่า (Consider The
Bigger Picture)
8. พิจารณามมุ มองทหี่ ลากหลาย (Take Wide Variety of
Perspectives Into Consideration)

157

ตารางที่ 4.13 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธีการ / กจิ กรรม ค่าความถแี่ สดงระดบั การนำไปปฏิบตั ิ
เพอื่ การนำไปปฏิบัติ 012345

9. สร้างสมดุลชีวิต (Create A Balanced Life) 546
10. เลิกรอคอยเวลาและสถาณการณ์ทีเ่ หมาะสม (Just Stop 834
Waiting for Right Time and Situation)
ทัศนะของ Ccl.Com (n.d.) 69
1. เปน็ ผใู้ ฝ่รู้ (Be Curious) 78
2. อยา่ ยดึ ติดกับแผนหรือวิธีการที่มเี พียงหนึ่งเดยี ว (Don’t get
too Attached to A Single Plan or Strategy) 492
3. สรา้ งเครือขา่ ยสนบั สนนุ (Create Support Systems) 2652
4. เขา้ ใจปฏิกริ ิยาในการตอบสนองการเปล่ียนแปลงของตนเอง
(Understand your own Reaction to Change) 69
5. ดื่มด่ำกับสภาพแวดล้อมและสถาณการณ์ใหม่ ๆ (Immerse
Yourself in new Environments and Situations) 357
ทศั นะของ Williams (2017) 348
1. เป็นผทู้ ีเ่ ปดิ ใจ (Being Open-Minded) 672
2. การขอความช่วยเหลอื (Asking for Help)
3. การเปรียบเทยี บข้อดีข้อเสยี (Measuring the Pros and 258
Cons) 168
4. เป็นผูห้ าทางออกได้เสมอ (Being Solution-Oriented)
5. จัดลำดบั ความสำคญั (Prioritizing what’s Important to 2 13
You)
6. เป็นผู้มคี วามยดื หยุ่น (Being Flexible) 2 13
ทัศนะของ Half (n.d.) 5 10
1. เรียนรูจ้ ากผ้อู น่ื (Learn from Others) 186
2. มองหาสิ่งดี ๆ ในสถาณการณค์ บั ขนั (Find the Silver Lining) 78
3. กลา้ ทีจ่ ะทำผิดพลาด (Be willing to Make Mistakes)
4. ตงั้ คำถาม (Ask Questions) 2229
ทัศนะของ Life Zemplified (n.d.) 3 12
1. ยอมรับ (Accepting) 5 10
2. เรียนรู้ (Learning)
3. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creating) 1239
4. แนะนำ (Suggesting) 4 11
5. เปน็ ผู้เปดิ กว้าง Being Receptive)
6. เปน็ ธรรมชาติ (Being Spontaneous) 348
7. ลงมือทำ (Embracing) 2 13
8. เปลี่ยนแปลง (Altering)
9. อาสา (Volunteering) 1149
4 11

158

ตารางท่ี 4.13 (ตอ่ )

ขอ้ เสนอหลกั การ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธกี าร / กจิ กรรม ค่าความถแี่ สดงระดบั การนำไปปฏบิ ัติ
เพ่ือการนำไปปฏิบัติ 012345

ทศั นะของ Prince (2019) 357
1. มองหาโอกาสทจี่ ะลองส่ิงใหม่ ๆ เพอื่ ทำให้ตัวเองไดเ้ รียนรู้
(Look for opportunities to try new things that will keep 249
you learning)
2. เปน็ ธรรมชาตขิ องมนุษย์ทจ่ี ะตอ่ ตา้ นการเปลยี่ นแปลง แต่เรา 339
ต้องลองสร้างความสามารถในการปรับตัว และตอบสนองเชงิ บวก
ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (Research suggests that people who 1455
are able to come up with solutions to a problem are 1545
better able to cope with problems than those who
can’t) 348
3. การวจิ ัยแสดงใหเ้ ห็นว่าคนทีส่ ามารถหาวิธแี ก้ปญั หาได้จะ 357
สามารถรบั มอื กับปญั หาท่เี ขา้ มาได้มากกวา่ (Research suggests 2364
that people who are able to come up with solutions to 1266
a problem are better able to cope with problems than 447
those who can’t)
ทศั นะของ Oyster Connect (n.d.) 375
1. ความยืดหยนุ่ ทางปัญญา (Intellectual Flexibility) 537
2. มคี วามออ่ นไหว (Being Receptive) 1356
3. มคี วามสรา้ งสรรค์ (Creativity)
4. มพี ฤตกิ รรมการปรบั ตัว (Adapting Behavior) 1 14
ทัศนะของ Baker (2014)
1. ปรบั ทันทหี รอื จะรอจนจบครึง่ แรก (Adjust As You Go
Versus Waiting Until Half-Time)
2. มองใหไ้ กลและวางแผนระยะสน้ั (Vision Long Term and
Plan Short Term)
3. รับความเสย่ี งและก้าวไปขา้ งหนา้ โดยไมต่ อ้ งมขี อ้ มลู ท้งั หมด
(Take Some Risk and move Forward without all The
Data)
4. ลดพฤติกรรมไม่โตต้ อบ (Minimize the Knee-Jerk
Reactions)
5. รู้ตัวว่าเราอย่ทู ี่จดุ ไหนของการเปลย่ี นแปลง (Know Where
You are on The Change Curve)
6. ใส่หน้ากากออกซเิ จนให้ตัวเองกอ่ น (Put the Oxygen Mask
on Yourself First)
7. ปรับตัวให้สอดคลอ้ งกับความเปลีย่ นแปลง (Get Aligned with
the Change)

159

จากตารางที่ 4.13 เห็นได้ว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้นำเอาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
หลกั การ / แนวคดิ / เทคนิค / วธิ ีการ / กจิ กรรมไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา
มีลักษณะที่สังเกตได้ว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้นำเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ /
กิจกรรมไปใชใ้ นการพฒั นาทักษะการปรับตัวใหแ้ ก่นกั ศึกษาทุกข้อเสนอทางเลือกในระดับปานกลางถึง
ระดับมากที่สุด (หมายเลข 3-5) มีเพียงเล็กน้อยที่นำเอาไปใช้ในการพัฒนาระดับน้อย (หมายเลข 2)
และมีข้อสังเกตว่าข้อเสนอที่มีการนำเอาไปใช้ในการพัฒนาระดับมากที่สุด (หมายเลข 5) 10 อันดับ
แรก คอื 1) ปรับตัวให้สอดคลอ้ งกบั ความเปลีย่ นแปลง (Get Aligned with the Change) 2) ยอมรับ
(Accepting) 3) เป็นผู้มีความยืดหยุ่น (Being Flexible) 4) เรียนรู้จากผู้อื่น (Learn from Others)
5) ลงมือทำ (Embracing) 6) เรียนรู้ (Learning) 7) ฉีกกฎเดิม ๆ (Quit Following the Rules)
8) อาสา (Volunteering) 9) เป็นผู้เปิดกว้าง Being Receptive) 10) พิจารณามุมมองที่หลากหลาย
(Take Wide Variety Of Perspectives Into Consideration) ตามลำดบั

(3) การนำข้อเสนอทางเลือกที่เป็นขั้นตอนการพัฒนาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการ
ปรับตวั ใหแ้ ก่นักศกึ ษา

นอกจากให้อาจารยท์ ีเ่ ปน็ กลุม่ ทดลองประเมินตนเองว่า หลังจากการนำผลการเรียนรู้สู่
การพฒั นานกั ศึกษาตลอดระยะเวลา 2 เดอื นทีผ่ ่านมาได้นำเอาหลักการ / แนวคิด / เทคนคิ / วิธีการ
/ กิจกรรมไปใช้ในการพฒั นาทักษะการปรบั ตวั ให้แก่นักศกึ ษาในระดับใดแล้ว ยงั ให้อาจารย์ท่ีเป็นกลุ่ม
ทดลองได้ประเมนิ ตนเองวา่ ไดน้ ำเอาขอ้ เสนอทางเลือกทเ่ี ป็นข้ันตอนการพัฒนาจากทัศนะใดไปปฏิบัติ
หรอื ได้นำเอาแแนวคิดท่ีไดร้ ับจากทัศนะของแต่ละแหล่งไปประยุกต์ใช้เป็นแนวปฏบิ ัติของท่านเอง ดัง
มผี ลการประเมินตนเองในตารางท่ี 4.14

ตารางท่ี 4.14 ผลการประเมนิ ตนเองของอาจารย์ท่ีเป็นกลมุ่ ทดลองในการนำข้อเสนอทางเลือกท่ีเป็น
ข้ันตอนการพฒั นาไปใช้ในการพฒั นาทักษะการปรบั ตัวให้แก่นักศึกษา

ขอ้ เสนอทางเลือกท่ีเปน็ ขน้ั ตอนการพัฒนา ความถี่ในการ
นำไปปฏิบตั ิ

ทัศนะของ Newell (2016) มี 4 ขั้นตอน คือ

1. มองเห็น : จำเปน็ ตอ้ งเข้าใจการเปลีย่ นแปลง (See It. Acknowledge change is Needed)

2. เป็นเจ้าของ : เปน็ เจา้ ของสถานการณ์ (Own It. Take Ownership of the Situation) 2

3. แก้ไขปัญหา : พฒั นาแผนปฏบิ ตั ิการ (Solve It. Develop your Action Plan)

4. ลงมอื ทำ : ดำเนินการเปลย่ี นแปลง (Do It. Execute the change)

ทศั นะของ J-Pierre (2019) มี 11 ขน้ั ตอน คือ

1. หยดุ คร่ำครวญ (Stop whining)

2. ไมม่ คี ำวา่ “ถูก” และ “ผดิ ” (There’s no ‘Right’ and ‘Wrong’) 3
3. ปรับปรงุ วธิ กี ารรบั มือ (Improve your coping Mechanism)

4. เปดิ ใจรับการเปลย่ี นแปลง (Be open to change)

5. มีรายละเอียดทงั้ หมดของแผน (Have the whole Alphabet for your Plan)

160

ตารางท่ี 4.14 (ต่อ)

ข้อเสนอทางเลอื กทเ่ี ปน็ ขนั้ ตอนการพัฒนา ความถใ่ี นการ
นำไปปฏบิ ัติ

6. พดู กบั ตนเองในเชิงบวก (Engage in a Positive self-talk)

7. ยดึ ติดกบั ความชอบตามธรรมชาติ (Stick to your natural Inclinations)

8. คดิ การใหญ่ (Think Big)

9. อย่าโทษตวั เองและคนอนื่ (Don’t blame yourself)

10. เรียนรูว้ ิธสี รา้ งสมดุลใหก้ บั ชวี ิต (Learn how to balance your Life)

อยา่ หยุดรอ (Stop Waiting)

ทัศนะของ David (2019) มี 10 ขนั้ ตอน คือ

1. สรา้ งแรงจูงใจใหม่ ๆ (Redefine your Motivation)

2. สงั เกตและเรยี นรู้ (Observe and Learn)

3. ถามคำถาม (Ask Questions)

4. เตรยี มทางเลือกในการแกป้ ัญหา (Prepare alternative Solutions)

5. ทำการเปลยี่ นแปลงให้เป็นเรื่องง่าย ๆ (Make easy Transitions) 4

6. ใจเยน็ และมน่ั ใจ (Stay Calm and Confident)

7. เขา้ ถงึ ทักษะใหม่ ๆ (Acquire new Skills)

8. ต้งั เปา้ หมายย่อย ๆ (Set small Goals)

9. ค้นหาข้อดี (Find the Upside)

10. กลา้ ลองผดิ ลองถกู (Be willing to Make Mistakes)

ทศั นะของ Berger & Johnston (2015) มี 4 ขน้ั ตอน คือ

1. ถามคำถามทีแ่ ตกตา่ ง (Ask different Questions)

2. ยอมรบั มุมมองที่หลากหลาย (Accept multiple Perspectives) 3

3. มองภาพรวม (Consider the bigger Picture)

4. การทดลองและเรยี นรู้ (Experiment and Learn)

ทัศนะของ Indeed (n.d.) มี 5 ขั้นตอน คือ

1. ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อม ( Be Aware of changes in your

Environment)

2. พฒั นาความกา้ วหนา้ ทางความคดิ (Develop a growth Mindset) 3
3. ต้งั เป้าหมายให้ตัวเอง (Set Goals for yourself)

4. ขอความคิดเหน็ (Ask for Feedback)

5. เรียนรู้ที่จะรับรู้และยอมรับการเปลี่ยนแปลง (Learn to Acknowledge and Accept

change)

จากตารางที่ 4.14 เห็นได้ว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้นำเอาข้อเสนอทางเลือกที่เป็น
ขั้นตอนในการพัฒนาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา มีลักษณะที่สังเกตได้ว่า
อาจารย์ท่ีเปน็ กลุ่มทดลองไดน้ ำเอาโมเดลขั้นตอนจากทัศนะของทุกแหล่งไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนา
ของตนเอง ทัศนะละ 1 หรือ 2 ราย แสดงให้เห็นว่า อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองต่างมีทัศนะต่อโมเดล
การพัฒนาอย่างเป็นอิสระของตนเอง แต่ก็มีข้อสังเกตว่า ไม่มีอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองรา ยใดที่ได้

161

นำเอาแนวคดิ จากหลายทัศนะไปปรับหรือประยุกต์ใชเ้ ป็นของตนเองข้ึนมาใหม่ ซึง่ อาจเน่ืองจากว่าแต่
ละทัศนะนั้นมีแนวคิดที่แตกต่างกัน ไม่อาจนำมาประยุกต์ใชร้ ว่ มกันได้ หรืออาจเนื่องจากว่าอาจารย์ท่ี
เป็นกลุ่มทดลองเห็นว่ามีความสะดวกที่จะเลือกใช้ทัศนะใดทัศนะหนึ่งมากกว่าที่จะต้องนำมา
ประยกุ ตใ์ ช้จากหลายทัศนะ

ในแบบประเมินตนเองของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองดังกลา่ ว นอกจากการประเมินถึงการ
นำข้อเสนอทางเลือกที่เป็นหลักการ / แนวคิด / เทคนิค / วิธีการ / กิจกรรม และขั้นตอนการพัฒนา
ไปใช้ในการพัฒนาทักษะการปรับตัวให้กับนักศึกษแล้ว ยังได้สอบถามความเห็นในประเด็นต่าง ๆ ใน
ลักษระเปน็ การสะท้อนผล (Reflection) จากการปฏิบตั ิดว้ ย ดังนี้

(4) ความเห็นของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลในทางบวกต่อ
การพัฒนาทกั ษะปรบั ตวั แกน่ กั ศึกษา มดี งั น้ี

-ความรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั ทกั ษะการปรบั ตวั
-ทกั ษะการยืดหยนุ่
-การยอมรบั การเปล่ยี นแปลง
-การเปดิ ใจรับการเปลี่ยนแปลง
-การกล้าลองผดิ ลองถกู
(5) ความเห็นของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับปัญหาหรืออุปสรรคต่อการ
ปฏิบตั ิงาน มีดงั น้ี
-อาจารย์ขาดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ทักษะการปรบั ตวั
-อาจารย์ขาดทกั ษะการความกล้าทจ่ี ะเปลี่ยนแปลง
-อาจารย์ไมเ่ ปิดใจรับการเปลยี่ นแปลง
(6) ความเห็นของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับวิธีการที่ท่านนำมาใช้ในการ
แกไ้ ขปัญหาหรอื อุปสรรค มีดังน้ี
-อาจารย์ต้องมีความรู้และความสนใจในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่าง ๆ
เกีย่ วกบั ทกั ษะการปรับตวั
-สรา้ งแรงจูงใจให้ยอมรบั เรยี นรแู้ ละปรบั ตวั ต่อการเปลีย่ นแปลง
-ปรับทศั นะคติ แนวคดิ เกี่ยวกับการเรยี นรทู้ ักษะการปรบั ตวั
(7) ความเห็นของอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองเกี่ยวกับบทเรียนสำคัญที่ได้รับจากการ
ปฏบิ ตั ิงาน มีดังนี้
-ทักษะการปรับตวั เป็นทักษะท่สี ำคญั และจำเป็นในการเรยี นรู้ในยุคปจั จุบนั
-ทักษะ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับตัว เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาทักษะการ
ปรับตัวใหแ้ ก่นกั ศกึ ษา

(8) ข้อเสนอแนะแนวการพัฒนาทักษะการปรับตัวที่สำคัญที่เห็นว่าจะทำให้การ
พฒั นาทกั ษะนี้ใหเ้ กดิ ขึ้นกบั นักศึกษาอยา่ งได้ผลดี มีดังน้ี

-ต้องมกี ารศกึ ษาข้อมลู ความรเู้ ก่ยี วกบั ทกั ษะการปรับตัวให้ถกู ตอ้ ง
-ปรับเปล่ยี นแนวคิด ให้ความสำคญั เกยี่ วกับทักษะการปรับตวั วา่ เป็นทักษะท่ีสำคัญและ
จำเปน็ ตอ่ การพฒั นาการเรียนรูแ้ ละการดำเนินชีวิต

162

-อาจารย์ต้องมีความสนใจอยู่ตลอดเวลา ให้ความสำคัญและฝึกการพัฒนาทักษะการ
ปรับตวั ใหแ้ ก่นกั ศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง

4) ผลการตรวจสอบเพอ่ื หาข้อบกพรอ่ งของคู่มือหลังการพฒั นาเสรจ็ สิ้นลง
หลังจากสิ้นสุดการนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะการปรับตัว ให้แก่นักศึกษา แล้ว
อาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลองได้ร่วมกันอภิปรายถึงข้อบกพร่อมของคู่มือแต่ละชุดเพื่อการปรับปรุงแก้ไข
ดังนี้

4.1 การปรับปรุงแก้ไขด้านเนื้อหา โดยคำนึงถึงความถูกต้อง (Accuracy) และความ
เป็นประโยชน์ (Utility) ต่อการนำไปใช้ มีขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

-โดยรวมคู่มือทั้ง 6 ชุดมีเนื้อหาที่มีสาระ และมีแนวคิดกระบวนการต่าง ๆ ที่ทันสมัย
เพราะทกั ษะการปรบั ตัวเปน็ ทักษะทีจ่ ำเป็นอยา่ งย่ิงในยุคปจั จุบนั โดยรวมเนอ้ื หาเป็นประโยชน์ต่อการ
นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้

-มีการนำแหล่งข้อมูลความรู้จากนกั วิชาการต่างประเทศมานำเสนอได้ดีมาก มีประเด็น
ให้คิด มีคำถามและข้อเสนอแนะในแต่ละเรื่อง แต่เนื้อหาในบางคู่มือมีเนื้อหามากเกินไป ควรเรียบ
เรียงใหมใ่ ห้สมบรู ณ์ ใหก้ ระชับ ครอบคลมุ และใหอ้ า่ นเขา้ ใจงา่ ยมากขึ้น

-ทง้ั 6 ค่มู อื มีการนำเสนอเรื่องแต่ละเร่ืองที่แตกต่างกนั ไมว่ ่าจะเปน็ นิยาม ลกั ษณะ หรือ
แนวทางการพฒั นา ของทักษะการปรับตัวถือวา่ โดยรวมดมี ากทางคณะมีข้อแนะนำว่าควรมีการจัดทำ
ให้เป็นรูปเล่มที่สวยงาม เรียบเรียงเนื้อหาให้กระชับและปรับปรุงแก้ไขในบางประเด็นที่ค่อนข้างมาก
หรือเสริมเพิ่มเติมในบางส่วนที่ยังขาดให้สมบูรณ์ ทำเป็นคู่มือให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมในห้องสมุด
เวบ็ ไซต์ และนำเสนอคู่มอื น้ไี ปสูส่ ถาบันการการศึกษาอ่ืน ๆ ต่อไป

4.2 การปรับปรุงแกไ้ ขดา้ นภาษา มขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
-ด้านภาษาที่ใช้ในคู่มือ เนื่องจากเป็นเนื้อหาวิชาการที่แปลมาจากบทความ หลัก
วิชาการจากต่างประเทศ การใช้สำนวนภาษาเมื่อแปลความถ้าเป็นคำศัพท์วิชาการเฉพาะ ควรมีการ
กำกับข้อความต้นฉบับไว้ด้านข้างทุกคำ ซงึ่ ทางคณะผรู้ ่วมได้ศึกษาคู่มือแลว้ เหน็ วา่ สำนวนท่ีใช้แปลได้
ชัดเจน สละสลวย ถือว่าอา่ นแล้วเข้าใจไดง้ ่าย แต่มีบางประโยคหรอื บางคำท่ยี ังแปลผิด ทางคณะได้ทำ
ให้เปน็ ตัวหนังสือสแี ดง เพ่อื ให้นำไปแก้ไข โดยรวมแลว้ ใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกับระดบั ความรูแ้ ละทักษะ
การปรับตวั ของบุคคลทัว่ ไป
4.3 การปรับปรงุ แกไ้ ขด้านรูปแบบการนำเสนอ มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี
-โดยรวมคมู่ ือท้งั 6 ชดุ นั้นมีรปู แบบการนำเสนอในรปู แบบของกิจกรรมถามเพ่ือทบทวน

ความรู้ความเขา้ ใจ เพอื่ ให้ได้กระตนุ้ ความคิด และการมสี ่วนร่วม (Participatory Activity) เหมอื นกัน

ทัง้ 6 ค่มู อื ขอ้ เสนอแนะใหใ้ ช้รูปแบบการนำเสนอท่ีหลากหลาย การตกแต่งหวั ขอ้ ขอ้ ความให้โดดเด่น

มีความน่าสนใจ มีสีสันสวยงาม ควรเพิ่มสื่อ รูปภาพต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายจะทำให้งานวิจัย

นา่ สนใจมากขึน้ และดึงดดู ผอู้ ่านเพมิ่ ขน้ึ

4.4 อื่น ๆ มีข้อเสนอแนะ ดังน้ี
-คู่มือทั้ง 6 ชุด คณะอาจารย์ที่เป็นกลุ่มทดลอง ได้นำไปศึกษาแล้ว เห็นว่ามีประโยชน์
มากในยุคปัจจุบันนี้ ทักษะการปรับตัวสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ของ
อาจารย์และนักศึกษา ควรนำไปปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ถูกต้องทั้งด้านเนื้อหา ด้านภาษาเพิ่มเติม

163

และนำเสนอผ่านโซเชียล หรือระบบออนไลน์ต่าง ๆ หรือจัดทำเป็นรูปเล่มให้สวยงามแล้วตีพิมพ์ให้
หอ้ งสมุด หรอื เผยแพร่ให้แก่นักศกึ ษาจะเปน็ ประโยชนอ์ ย่างมาก

5) การประเมินทักษะการปรับตัวของนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองหลังการพัฒนา
(Posttest)

จากการประเมินผลการพัฒนานกั ศึกษากับนักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลอง “หลัง” การพัฒนา
(Posttest) จำนวน 324 คน โดยใช้แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5
ระดับที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) ดังตารางท่ี 4.15

ตารางที่ 4.15 ค่าเฉลี่ย (Mean: ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
จากผลการประเมินทักษะการปรับตัวของนกั ศกึ ษาหลังการพัฒนา (Posttest)

รายการลกั ษณะของทกั ษะการปรับตัวที่ประเมิน ผลการประเมนิ
S.D.
การเรยี นรู้ (Learning)
1) ฉนั บอกกับตัวเองวา่ ตอ้ งเป็นผ้เู รยี นรอู้ ย่างสม่ำเสมอ 4.14 0.79
2) ฉนั สนกุ กบั การเรียนร้แู นวทางใหมจ่ ากกิจกรรมของมหาวทิ ยาลยั 4.12 0.80
3) ฉันมกั จะเรียนร้ขู ้อมลู และทกั ษะใหม่ ๆ เพื่อนำหนา้ เพ่ือนร่วมชน้ั 4.06 0.82
4) ฉันกำลังเรยี นรูท้ กั ษะใหม่ ๆ ในมหาวทิ ยาลัยอยา่ งต่อเน่ืองเพ่ือเตรยี มพร้อมทำงานใน 4.08 0.79

อนาคต 4.02 0.80
5) ฉนั สามารถจินตนาการสง่ิ ใหม่ ๆ จากความคิดเดิม ๆ ได้อยา่ งรวดรวดเรว็ 4.06 0.77
6) ฉันอา่ นตำราเรียนล่วงหนา้ กอ่ นเรยี นในชน้ั
การรบั ร้ตู นเอง (Self-Awareness) 4.03 0.78
7) ฉันมีความภาคภมู ิใจในตนเองและรู้สึกดกี ับตัวเอง 4.05 0.75
8) ฉันร้วู ่าอะไรสำคญั สำหรบั ตัวเองและใชค้ วามรปู้ ระกอบการตัดสนิ ใจ 4.00 0.80
9) ฉันมีวสิ ยั ทัศนท์ ม่ี คี วามหมายและมีจดุ มุ่งหมายสำหรบั ชวี ิตของตน 4.12 0.77
10) ฉนั เข้าใจวา่ ชีวิตจะมกี ารเปล่ยี นแปลงและไม่เปน็ ไปตามท่ีฉนั ตอ้ งการ 4.12 0.79
11) เมอื่ สญู เสยี ความมั่นใจชว่ั คราว ฉันรวู้ า่ ฉันตอ้ งทำอยา่ งไรเพื่อฟนื้ ฟูความมั่นใจ 4.05 0.81
12) ฉนั สามารถแยกแยะและบอกให้ทราบถึงจดุ ออ่ นของตนและแนวทางทีฉ่ นั ทำงานกบั
4.09 0.80
คนรอบขา้ ง 4.05 0.82
ทัศนคติ (Attitude) 4.10 0.79
13) โดยท่ัวไปฉนั ดำเนนิ ชวี ติ ในแง่ดี 4.10 0.82
14) ฉนั เช่อื ว่าตนเองมที างเลอื กและตัวเลือกเสมอแมใ้ นสถานการณ์ทีย่ ากลำบาก 4.10 0.82
15) ฉันมอี ารมณข์ นั และสามารถหาสงิ่ ท่จี ะทำให้หวั เราะแมใ้ นเวลาท่มี ปี ญั หา 4.11 0.80
16) ฉนั เข้าใจวา่ ประสบการณ์ใหม่ ๆ จะทำเตบิ โตและสนกุ กบั การเรยี นรู้
17) ฉนั ไมเ่ สียเวลากงั วลกบั สงิ่ ท่ีอยู่นอกเหนอื การควบคุมของตน 4.13 0.76
18) ความล้มเหลวใหโ้ อกาสฉนั ในการสร้างสรรค์นวตั กรรม 4.03 0.79
ความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คล (Interpersonal)
19) ฉนั เปิดใจกวา้ งในการติดต่อกับผอู้ น่ื
20) ฉนั เช่ือว่าการมีความยืดหยุน่ ในการตดิ ตอ่ กับผอู้ ืน่ เป็นสิง่ สำคญั

164

ตารางที่ 4.15 (ต่อ)

รายการลกั ษณะของทักษะการปรับตวั ทป่ี ระเมิน ผลการประเมนิ
S.D.
21) โดยปกตฉิ ันจะสามารถอ่านใจคนอน่ื และเข้าใจวา่ เขารสู้ ึกอยา่ งไรตลอดเวลา
22) ฉนั ใช้ความเขา้ ใจผ้อู ื่นในการมีปฏสิ มั พนั ธ์ 4.18 0.80
23) ฉนั ปรับพฤติกรรมของตนใหเ้ ขา้ กบั คนอืน่ 4.02 0.80
24) ฉันยอมรับสมาชิกใหมแ่ ละรปู แบบการทำงานของทีมเสมอ 4.06 0.79
การแกป้ ัญหาและการตัดสินใจ 4.05 0.77
25) ฉันเรียนรู้วิธีการใหม่ ๆ ในการแกป้ ัญหาอยา่ งรวดเรว็
26) ปกตินกั ศึกษามที างเลอื กทีห่ ลากหลายในการแก้ปญั หา 4.06 0.81
27) ฉันสามารถจัดระเบยี บสภาพแวดล้อมและจัดลำดับความสำคญั ของงานแม้ใน 4.11 0.77
4.04 0.79
เวลาทเ่ี ครยี ด
28) ฉนั สามารถเรยี นรกู้ ลยทุ ธส์ ่วนตัวเพอื่ รับมือกับความเปล่ียนแปลงเนอื่ งจากความ 4.08 0.76

ไม่แน่นอนในการดำเนนิ ชีวติ 4.07 0.80
29) เมอื่ ประสบความเครยี ดในดา้ นใดด้านหนง่ึ ของชีวติ ฉันสามารถควบคมุ อารมณ์
4.12 0.80
กับเรอ่ื งน้นั ๆ ได้
30) ฉันสามารถค้นหาและระดมทรพั ยากรท่ีจำเปน็ ในภาวะวิกฤตหรอื สถานการณ์ 4.12 0.78
4.10 0.79
ใหม่ ๆ 4.13 0.79
ความรเู้ กย่ี วกับความสามารถพเิ ศษ 4.09 0.79
31) ฉันสามารถพูดไดอ้ ยา่ งชดั เจนถึงพรสวรรคแ์ ละความสามารถพเิ ศษของตน
32) ฉันรทู้ กั ษะทจ่ี ำเปน็ สำหรบั อาชพี ของตนในอนาคต 4.16 0.81
33) ฉนั รู้วา่ คนอื่น ๆ ในมหาวิทยาลยั คาดหวงั อะไรจากฉัน 4.04 0.79
34) ในมมุ มองของอาจารย์ เพอื่ นร่วมช้ันและมหาวิทยาลยั ฉนั รู้วา่ ทักษะของตนเป็น 4.08 0.24

อย่างไร
35) ฉนั รู้วา่ พฤตกิ รรมและทัศนคตใิ ดเหมาะสมในมหาวทิ ยาลัย
36) ฉันไม่เคยหยดุ อยกู่ บั ความสำเรจ็ และค้นหาความท้าทายต่อไปในเชิงรกุ

โดยรวม

จากตารางที่ 4.15 เหน็ ไดว้ ่า นกั ศึกษาที่เปน็ กลมุ่ ทดลองได้รบั การประเมินผลหลังที่อาจารย์
ผู้สอนที่เป็นกลุ่มทดลองได้นำความรู้สู่การพัฒนาผู้เรียน (Posttest) มีค่าเฉลี่ย (Mean) โดยรวม
เท่ากบั 4.08 และมีค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เท่ากับ 0.24

6) ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบผลการประเมนิ ทักษะการปรับตัวของนักศึกษาก่อนและ
หลงั การพฒั นาโดยใชก้ ารทดสอบที (t-test)

จากผลการประเมินทักษะการปรับตัวของนักศึกษา “ก่อน”การพัฒนามีค่าเฉลี่ย (Mean)
โดยรวมเท่ากบั 3.59 และมีค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เทา่ กับ 0.27 และจาก
ผลการประเมิน “หลัง” การพัฒนามีค่าเฉลี่ย (Mean) โดยรวมเท่ากับ 4.08 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation) เท่ากับ 0.24 เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการประเมินก่อนและ

165

หลังการพัฒนาโดยใช้การทดสอบที (t-test) แบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent) ปรากฏผลการ
วิเคราะห์ขอ้ มลู ในตารางที่ 4.16

ตารางที่ 4.16 ผลการทดสอบค่าที (t-test) เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ระหวา่ งคะแนน “ก่อน” และ “หลงั ” การพัฒนา

การทดสอบ จำนวนกลุ่มทดลอง 3.59 S.D. t
กอ่ น 324 4.08 0.27 42.830*
หลัง 324
0.24
* p < 0.05

จากตารางที่ 4.16 เห็นได้ว่า นักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ
หลงั การพฒั นาสงู กว่าก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิที่ระดบั 0.05 แสดงใหเ้ หน็ ว่า โปรแกรม
ออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นที่
ประกอบด้วย 2 โครงการ คอื โครงการพฒั นาเพ่ือการเรียนรู้ของอาจารย์ และโครงการอาจารย์นำผล
การเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษา โดยโครงการแรกมีคู่มือประกอบ 6 ชุด โครงการที่สองมีคู่มือ
ประกอบ 1 ชุดนั้น มีประสิทธิภาพที่สามารถจะนำไปใช้เพื่อพัฒนาอาจารย์ให้เกิดการเรียนรู้ และ
อาจารย์สามารถนำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษาที่เป็นกลุ่มทดลองให้เกิดทักษะการปรับตัวได้
อยา่ งมผี ลทดสอบทางการวิจัยรองรบั และแสดงให้เห็นวา่ โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การ
เสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นดังกล่าว สามารถนำไปเผยแพร่เพื่อให้
กลุ่มประชากรที่เป็นเป้าหมายดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อขอบเขตการวิจัยในบทที่ 1 ได้นำไปใช้ประโยชน์
อยา่ งแพร่หลาย คือ มหาวทิ ยาลยั สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ทกุ วิทยาเขต/วิทยาลัยท่ัว
ประเทศ

สรุป

ตามแนวคิดของระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D) ตาม
ทศั นะของวิโรจน์ สารรตั นะ (2561) ท่เี ห็นว่า นวัตกรรมทีพ่ ฒั นาข้ึนโดยกระบวนการวิจัยและพัฒนามี
จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปใช้พัฒนาบุคลากรสู่การพัฒนาคุณภาพของงานที่มีปรากฏการณ์ หรือข้อมูลเชิง
ประจกั ษ์แสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามจำเป็นเกดิ ขึ้น เช่น เปน็ ผลสืบเนอ่ื งจากการกำหนดความคาดหวังใหม่ที่
ท้าทายของหน่วยงาน หรือการเปลี่ยนแปลงในกระบวนทัศน์การทำงานจากเก่าสู่ใหม่ที่บุคลากรขาด
ความรู้ความเขา้ ใจและทักษะในกระบวนทัศน์ใหม่ และในปัจจุบันมีหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่ถือเป็น
นวัตกรรมใหม่ทางการบริหารการศึกษาเกิดขึ้นมากมาย ที่คาดหวังว่าหากบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ (Knowledge) แล้วกระตุ้นให้พวกเขานำ - ความรู้เหล่านี้สู่การปฏิบัติ (Action) ก็จะก่อให้เกิด
พลัง (Power) ให้การปฏิบัติงานในหน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นตาม
แนวคิด “Knowledge + Action = Power” ดังคำกล่าวที่ว่า “Make Them Know What To Do,
Then Encourage Them Do What They Know” หรือ “Link To On-The-Job Application”
และตามแนวคิดการพัฒนาวิชาชีพครู (Teacher Professional Development) ที่จะต้องคำนึงถึง

166

ความมีประโยชน์ต่อนักเรียนซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) (Gusky, 2000; Hoy &
Miskel, 2001) หรืออีกนัยหนึ่งคือ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรยี นเป็นเปา้ หมายสูงสุดของกิจกรรมใด ๆ ของ
การพัฒนาวิชาชีพครู (Student achievement should be the ultimate goal of any teacher
professional development activities.) (Kampen, 2019)

จากลักษณะสำคัญของการวิจัยและพัฒนาดังกล่าว ผู้วิจัยเชื่อว่าในการวิจัยครั้งนี้จะช่วย
พัฒนานวัตกรรมเพื่อการอบรมตนเองแบบออนไลน์ในยุคสังคมดิจิทัลให้เกิดการเรียนรู้และการนำไป
ปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน ซ่งึ ในยคุ สมัยดจิ ทิ ลั ในปจั จบุ นั มคี วามสำคญั จำเป็นมากและเป็น
เรื่องใหม่ที่ครู (Teachers) จะต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการปรับตัว ซึ่งเป็นทักษะ
สำคัญทักษะหนึ่งสำหรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อนำไปสู่การพัฒนานักศึกษา (Students) ซึ่ง
เป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate Goal) ของการจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะโปรแกรม
ออนไลนเ์ พือ่ พฒั นาอาจารย์สู่การเสริมสรา้ งทกั ษะการปรับตวั ของนกั ศึกษา ท่เี ปน็ ผลจากการวิจัยและ
พัฒนาจาก “กลุ่มทดลอง” ที่ใช้ในการวิจัย คือ อาจารย์และนักศึกษาในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช
วิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สามารถจะนำไปเผยแพร่เพื่อใช้ให้
เกดิ ประโยชน์ในกลุม่ ประชากร (Population) ซง่ึ เปน็ เป้าหมายอ้างอิงในการนำผลการวจิ ัยไปเผยแพร่
เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์หลังการวิจัยและพัฒนา คือ อาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยสังกัด
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ทุกวิทยาเขต/วิทยาลัยทั่วประเทศได้ตามหลักการของการวิจัย
และพัฒนาที่วิจัยและพัฒนานวัตกรรมใด ๆ ขึ้นมาแล้วนำนวัตกรรมนั้นไปทดลองใช้ในพื้นที่ทดลอง
แหง่ ใดแห่งหนง่ึ ที่มีคุณลักษณะเป็นตัวแทนของประชากร เมือ่ ผลจากการทดลอง พบวา่ นวัตกรรมน้ัน
มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ก็แสดงว่า สามารถเผยแพรเ่ พอ่ื การนำไปใช้ประโยชน์กับประชากร
ท่ีเป็นกลุ่มอา้ งองิ ในการวิจัยได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ เปน็ โปรแกรมแบบออนไลน์ (Online Program)
ทีพ่ ัฒนาขึ้นตามยุคสมัยดจิ ิทลั ไมเ่ ปน็ โปรแกรมแบบเอกสาร (Document-Based Program) แบบยุค
สมยั การพิมพ์แบบด้ังเดิม จะยง่ิ ทวคี วามเป็นประโยชน์ต่อการนำนวตั กรรมที่พัฒนาข้ึนไปเผยแพร่เพื่อ
ใช้ประโยชน์ของประชากรที่เป็นกลุ่มอ้างอิงในการวิจัยได้อย่างกว้างขวาง อย่างประหยัด อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ และเกดิ ประสิทธิผลได้มากกวา่

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่มุ่งพัฒนาโปรแกรมอบรมด้วยตนเองแบบออนไลน์
โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สูก่ ารเสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ที่ประกอบด้วย
โครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนาเพือ่ การเรียนรู้ของอาจารย์ และโครงการอาจารย์นำผลการ
เรียนรู่สู่การพัฒนาทักษะการปรับตัวให้แก่นักศึกษา และได้กำหนดสมมติฐานการวิจัย ดังน้ี
1) อาจารย์มีผลการทดสอบหลังการพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) อาจารย์มีผลการ
เรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) นักศึกษามีผลการ
ประเมินทักษะการปรบั ตวั หลังการพฒั นาสูงกวา่ กอ่ นการพฒั นาอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ

ผลจากการดำเนินการวิจัยตามที่กำหนดในบทที่ 3 และจากรายงานผลการวิจัยที่นำเสนอ
ในบทที่ 4 นี้ พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ ดังนี้ 1) คู่มือที่พัฒนาข้ึน
สามารถใช้พัฒนาอาจารย์ให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเมื่อพิจารณาจากเกณฑ์
มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉล่ีย
เท่ากับ 33.47 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแล้วได้ 92.96 ซึ่งมีค่าสูงกว่า

167

เกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ ร้อยละของจำนวน
อาจารย์ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากจำนวนอาจารย์ทั้งหมด 15
คน พบว่า มีอาจารย์ร้อยละ 94.44 ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งมี
ค่าที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้พัฒนาอาจารย์ให้มีผลการ
เรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 3) คู่มือท่ี
พัฒนาขึ้นสามารถทำให้อาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษาที่มีผลการประเมินทักษะการ
ปรบั ตัว ของนักศกึ ษาหลังการพัฒนาสงู กว่าก่อนการพฒั นาอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิตริ ะดับ 0.05

บทท่ี 5

โปรแกรมออนไลนเ์ พื่อพัฒนาอาจารย์สูก่ ารเสริมสร้างทักษะการปรบั ตัว

ของนกั ศึกษา : นวัตกรรมจากการวจิ ยั และพฒั นา

จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่มุ่งพัฒนาโปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารย์สู่การ
เสริมสร้างทักษะการปรับตัวของนักศึกษา ที่ประกอบด้วยโครงการ 2 โครงการ คือ โครงการพัฒนา
เพื่อการเรียนรู้ของอาจารย์ และโครงการอาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนาทักษะการปรับตัว
ให้แก่นักศึกษา และได้กำหนดสมมติฐานการวิจัย ดังนี้ 1) อาจารย์มีผลการทดสอบหลังการพัฒนา
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) อาจารย์มีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนา
อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3) นักศกึ ษามีผลการประเมินทักษะการปรับตัว หลังการพัฒนาสูงกว่า
ก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผลจากการดำเนินการวิจัยตามที่กำหนดในบทที่ 3 และ
จากรายงานผลการวิจัยที่นำเสนอในบทที่ 4 พบว่า ผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ดังน้ี
1) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้พัฒนาอาจารย์ให้เกิดการเรียนรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 โดยเมื่อ
พิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก คือ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน
พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 33.47 คะแนนจากคะแนนเต็ม 36 คะแนน เมื่อคิดเป็นร้อยละแล้วได้
92.96 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 เมื่อพิจารณาจากเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลัง คือ
ร้อยละของจำนวนอาจารย์ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุกวัตถุประสงค์การเรียนรู้จากจำนวน
อาจารย์ทั้งหมด 15 คน พบว่า มีอาจารย์ร้อยละ 94.44 ที่สามารถทำแบบทดสอบได้ผ่านทุก
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งมีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 90 2) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้
พัฒนาอาจารย์ให้มีผลการเรียนรู้หลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 และ 3) คู่มือที่พัฒนาขึ้นสามารถทำให้อาจารย์นำผลการเรียนรู้สู่การพัฒนานักศึกษาที่มี
ผลการประเมนิ ทักษะการปรบั ตวั ของนักศึกษาหลังการพัฒนาสูงกวา่ ก่อนการพฒั นาอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติระดบั 0.05

คู่มือที่พัฒนาขึ้นดังกล่าว รวมทั้งแบบประเมินตนเองถึงระดับการนำข้อเสนอทางเลือกเชิง
วชิ าการหรอื เชงิ ทฤษฎีไปใชใ้ นการพัฒนานักศกึ ษาของอาจารย์ แบบทดสอบผลการเรียนร้ขู องอาจารย์
และแบบประเมินทกั ษะการปรบั ตวั ของนักศึกษา ผ้วู จิ ยั ได้อัปโหลดไว้ในเวบ็ ไซตแ์ ลว้ ดงั นี้

1) คมู่ ือ ดูจาก
http://www.mbuisc.ac.th/phd/A_R&D%20Modules/Manmitr.pdf?fbclid=IwAR1HPJxfOY-
ZOp_Z5reno5E4vvrW0V_D9tA8oP4UX2gCCZ0uJjNd4_mDbu8

2) แบบประเมินตนเองถึงระดับการนำข้อเสนอทางเลือกเชงิ วิชาการหรือเชิงทฤษฎีไปใช้ใน
การพฒั นานักศกึ ษาของอาจารย์ ดจู าก https://bit.ly/3swWkd6

3) แบบทดสอบผลการเรยี นรู้ของอาจารย์ ดูจาก https://bit.ly/3sUCKbd
4) แบบประเมินทักษะการปรับตวั ของนักศกึ ษา ดจู าก https://bit.ly/3NjD0It

169

170

คำนำ

การวิจัยเรื่อง “โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาอาจารยส์ ู่การเสริมสรา้ งทักษะการปรับตัวของ
นักศึกษานี้” นี้เป็นการวิจัยในหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and
Development : R&D) มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือใหไ้ ดน้ วัตกรรมทางการศึกษาทเ่ี ป็นโปรแกรมอบรมออนไลน์
ดว้ ยตนเองท่ีประกอบดว้ ย 2 โครงการ คอื 1) โครงการพัฒนาเพ่ือการเรียนรู้ของครู และ 2) โครงการ
ครูนำผลการเรียนสู่การพัฒนาผู้เรียน โครงการแรกมีคู่มือเพื่อการอบรมด้วยตนเอง (Self-Training)
ของครู โครงการที่สองมีคู่มือเชิงปฏิบัติการเพื่อครูนำไปใช้เป็นแนวการพัฒนาผู้เรียน โดยคาดหวังว่า
นวัตกรรมทางการศึกษานี้ เมื่อผ่านกระบวนการวิจัยและพัฒนาหลายขั้นตอน (Ri&Di) แล้วนำไป
ทดลองใชใ้ นพ้ืนที่ท่เี ปน็ ตวั แทนของประชากร เมื่อผลการทดลองพบว่านวตั กรรมนนั้ มปี ระสิทธิภาพ ก็
สามารถนำไปเผยแพร่ให้กับประชากรที่เป็นพื้นที่เป้าหมายได้ใช้ประโยชน์ในวงกว้างได้อย่างมี
ผลการวจิ ยั รองรบั

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ดังนี้ 1) ในเชิงวิชาการ มีหลาย
ประการ แต่ขอนำมากล่าวถึงที่สำคัญ ดังน้ี (1) งานวิจัยนี้ให้ความสำคัญกับประเด็นที่เป็นการศึกษา

ศตวรรษท่ี 21 ซงึ่ มคี วามสำคญั เพราะเป็นการให้การศึกษาทีส่ ง่ ผลสุดท้ายใหผ้ ู้เรียนมที ักษะท่ีจำเป็นใน
การประสบความสำเร็จในโลกใหม่นี้ (Driscoll, 2022) (2) งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน

ระดับสถานศึกษา ที่นักวิชาการให้ความเห็นว่า การบริหารการศึกษาเกิดขึ้นในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่
ส่วนกลางถึงระดับสถานศึกษา แต่การบริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา (คือ โรงเรียน วิทยาลัย
มหาวิทยาลัย หรือชื่อเรียกอื่น ๆ) มีความสำคัญเพราะเป็นฐานปฏิบัติที่จะทำให้การระดมทรัพยากร
บุคคลและทรัพยากรวัตถุให้เกิดประโยชน์ที่ใช้งานได้จริง เป็นฐานปฏิบัติที่จะช่วยเสริมสร้างการสอน
และการเรียนรู้ที่จะส่งผลให้นักเรียนได้รับการศกึ ษาท่ีถูกต้องจากครูที่ถูกต้อง และเป็นฐานปฏิบัติที่จะ
สร้างอิทธิพลที่ส่งผลต่อนักเรียนให้เติบโตไปสู่เป้าหมายที่กำหนดโดย มีครูเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
(Kashyap, n.d.) สอดคล้องกับแนวคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based
Management : SBM) ซึ่งเป็นรูปแบบการกระจายอำนาจให้โรงเรียนที่เป็นหน่วยหลักในการจัด
การศึกษา (Edge, 2000) (3) การวิจยั นีใ้ ชห้ ลกั การ “พัฒนาครู แล้วครนู ำผลทีไ่ ดร้ บั ไปพัฒนาผู้เรียน”

ถือเป็นหลักการที่เป็นจุดเน้นของการบริหารการศึกษา คือ การเสริมสร้างการสอนและการเรียนรู้
(The Focus of Educational Administration is the Enhancement of Teaching and Learning
) (Amadi, 2008) เปน็ กระบวนการช่วยให้นักเรียนไดร้ บั การศึกษาท่ีถูกต้องจากครูที่ถูกต้อง (Enables
the Right Pupils to Receive the Right Education from the Right Teachers) (Dhammei,
2022) เปน็ การกระตุ้นการพัฒนาโปรแกรมที่เหมาะสมสำหรับการสอนและการเรียนรู้ (Bamte, n.d.)
เป็นไปตามหน้าที่ของการบริหารการศึกษาตามทัศนะของ Amadi (2008) ที่กล่าวถึงหน้าที่เกี่ยวกับ
หลักสูตร/การสอน (The Curriculum/Instructional Functions) หน้าที่เกี่ยวกับบุคลากร (The
Staff Personnel Functions) และหน้าที่เกี่ยวกับนักเรียน (The Student Personnel Functions)
และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการบริหารการศึกษา คือ เพื่อให้การศึกษาที่เหมาะสมแก่นักเรียน
(To Provide Proper Education to Students) เพื่อให้แน่ใจว่ามีการพัฒนาวิชาชีพของครู (To

171

Ensure Professional Development among Teachers) และเพื่อความมั่นใจในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา (To Ensure Qualitative Improvement of Education) (Kashyap, n.d.) อัน
เนื่องจากหลกั การ “พฒั นาครู แล้วครนู ำผลทไ่ี ดร้ บั ไปพัฒนาผูเ้ รียน” เปน็ หลกั การสง่ เสริมบทบาทการ
เปน็ ผูน้ ำทางการศึกษาให้กบั ครูตามทัศนะของ Speck (1999) และ Seyfarth (1999) สง่ เสริมต่อการ
ทำหน้าที่ของผู้บริหารการศึกษาที่จะต้องสนับสนุนคณะครูด้วยการฝึกอบรมและให้คำแนะนำตาม
ทัศนะของ University of Bridgeport (2022) และ Target Jobs (n.d.) และส่งเสริมต่อแนวคิด
พัฒนาวิชาชีพของครูที่ให้คำนึงถึงการส่งผลต่อการพัฒนาผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด (Ultimate
Goal) ของการศกึ ษาตามทศั นะของ Gusky (2000) และ Hoy and Miskel (2001) 2) ในเชงิ วิชาชีพ
การวิจัยนี้คำนึงถึงมาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาที่คุรุสภากำหนด
ตามมาตรฐานด้านความรู้ ในกรณีสามารถพัฒนาครูและบุคลากรให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์และสร้างองค์ความรู้ในการบริหารจัดการการศึกษา สามารถนำกระบวนการทางการวิจัย
การวัดและประเมินผล ไปใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาได้ สามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา และสามารถบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารไปสู่ผู้เรียน ครู และ
บุคลากรในสถานศึกษา และตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ในกรณีปฏิบัติโดยคำนึงถึงผลที่จะเกิด
ขึ้นกับการพัฒนาของบุคลากร ผู้เรียน และชุมชน พัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็ม
ศักยภาพ พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานท่มี ีคุณภาพสูง และสร้างโอกาสการพัฒนา
ไดท้ กุ สถานการณ์ (The Teachers Council of Thailand, n.d.)

นายแมนมิตร อาจหาญ

172

สารบญั

เน้ือหา หน้า
4
1. คมู่ อื ประกอบโครงการพัฒนาความรู้ของอาจารยเ์ ก่ยี วกับการพฒั นาทกั ษะการ 5
ปรับตวั
1.1 คมู่ อื ชดุ ท่ี 1 ทัศนะเกี่ยวกบั นิยามของทักษะการปรบั ตัว มีองคป์ ระกอบ คือ 13
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ คำชีแ้ จง ทศั นะเกีย่ วกับนิยาม แบบประเมินตนเอง
และเอกสารอา้ งอิง 21
1.2 คมู่ ือชดุ ที่ 2 ทัศนะเกย่ี วกบั ความสำคัญของทักษะการปรับตวั มีองค์ประกอบ
คอื วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชแ้ี จง ทศั นะเก่ียวกับความสำคัญ แบบประเมนิ 28
ตนเอง และเอกสารอ้างองิ
1.3 คู่มอื ชดุ ท่ี 3 ทัศนะเกยี่ วกบั ลักษณะทแี่ สดงถึงทกั ษะการปรบั ตัว มอี งค์ประกอบ 38
คอื วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำชแ้ี จง ทัศนะเก่ียวกบั ลกั ษณะทักษะการปรบั ตวั
แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งอิง 43
1.4 คมู่ ือชดุ ท่ี 4 ทัศนะเกี่ยวกบั แนวทางการพฒั นาทกั ษะการปรบั ตวั มี
องค์ประกอบ คือ วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ คำชี้แจง ทัศนะเก่ียวกบั แนวทางการ 59
พัฒนา แบบประเมินตนเอง และเอกสารอา้ งอิง 60
1.5 คมู่ ือชุดที่ 5 ทัศนะเก่ยี วกบั ขั้นตอนการพัฒนาทักษะการปรบั ตวั มีองคป์ ระกอบ
คือ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ คำช้ีแจง ทศั นะเก่ียวกบั ขน้ั ตอนการพัฒนา แบบ
ประเมินตนเอง และเอกสารอ้างอิง
1.6 คูม่ อื ชุดที่ 6 ทัศนะเก่ียวกับการประเมินผลทักษะการปรับตวั มีองคป์ ระกอบ
คอื วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ คำช้แี จง ทศั นะเก่ียวกบั การประเมนิ ผล แบบ
ประเมนิ ตนเอง และเอกสารอ้างอิง

2. คมู่ อื ประกอบโครงการอาจารยน์ ำความรสู้ กู่ ารเสรมิ สร้างทกั ษะการปรับตัวให้แก่
นักศึกษา
2.1 คมู่ ือเพ่ือการปฏิบตั ิการในการพฒั นาทักษะการปรับตัวของนักศกึ ษา มี
องค์ประกอบ คือ วตั ถุประสงค์เพื่อการปฏบิ ัติ และแนวปฏบิ ตั ิ

173

174

5.1 คู่มอื ชุดที่ 1 ทศั นะเกี่ยวกบั นยิ ามของทกั ษะการปรับตัว

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้
หลังจากการศกึ ษาคู่มือชุดน้ีแลว้ ทา่ นมีพฒั นาการด้านพุทธิพสิ ยั (Cognitive Domain) ซึ่ง

เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตามแนวคิดของ
Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ เรียงจากพฤติกรรมท่ี
สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิดขั้นสูงกว่า ดังนี้ คือ
ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกตใ์ ช้ (Applying) การวิเคราะห์
(Analyzing) การประเมนิ (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ดงั น้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุนิยาม
ของทกั ษะการปรบั ตวั ได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียงนิยามของทกั ษะการปรับตัวได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
นยิ ามของทักษะการปรับตวั ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผลนิยามของทักษะ
การปรับตวั ได้

5. วดั ผล เปรยี บเทยี บ ตคี ่า ลงความเห็น วิจารณ์นยิ ามของทักษะการปรับตัวได้
6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการนิยามของทักษะการ
ปรับตัวได้
โดยมที ศั นะเก่ียวกับนิยามของทักษะการปรบั ตวั ของแหลง่ อา้ งองิ ทางวชิ าการตา่ ง ๆ ดังนี้
1) นยิ ามของทกั ษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Esoft Skills Team
2) นยิ ามของทักษะการปรบั ตวั ตามทศั นะของ Smith, Sorokac & Widmaier
3) นิยามของทกั ษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Cleverism
4) นยิ ามของทักษะการปรับตวั ตามทศั นะของ Prince
5) นิยามของทักษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Martin
6) นิยามของทักษะการปรบั ตัว ตามทศั นะของ Reddy
7) นิยามของทกั ษะการปรบั ตวั ตามทัศนะของ Robert Half
8) นิยามของทักษะการปรับตวั ตามทัศนะของ Cjones Skills Weekly
9) นยิ ามของทกั ษะการปรบั ตัว ตามทัศนะของ Oliver & Lievens
10) นิยามของทกั ษะการปรับตัว ตามทศั นะของ Collie & Martin

175

คำชแ้ี จง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่

ละทัศนะ โดยแต่ละทัศนะท่านจะต้องทำความเข้าใจที่สามารถอธิบายกับตัวเองได้ว่า เขาให้นิยามว่า
อยา่ งไร

2. หลังจากการศึกษาเนื้อหาแต่ละทัศนะ โปรดทบทวนความรู้ความเขา้ ใจของท่านอีกคร้ัง
จากแบบประเมินผลตนเองในตอนทา้ ยของคมู่ ือ

3. เนื้อหาเกี่ยวกับนิยามของทักษะการปรับตัว จากทัศนะที่นำมากล่าวถึงแต่ละทัศนะมี
แหล่งอ้างอิงตามที่แสดงไว้ในตอนท้ายหลังของแบบประเมินผลตนเอง หากท่านต้องการศึกษา
รายละเอยี ดของทัศนะเหล่านน้ั ซง่ึ ต้นฉบบั เป็นบทความภาษาอังกฤษ ทา่ นสามารถจะสืบค้นตอ่ ได้จาก
เวบ็ ไซต์ที่ระบุไวใ้ นแหลง่ อ้างองิ นนั้ ๆ

ทัศนะเกีย่ วกับนิยามของทักษะการปรับตัว
1. Esoft Skills Team องค์กรการศึกษาที่ไม่แสวงหาผลกำไรที่ช่วยพัฒนาบุคคลและ

ทีมงานและพัฒนาทักษะด้านอารมณ์ ให้นิยามของทักษะการปรับตัวว่า ความสามารถของบุคคล ทีม
หรือ องค์กรในการปรับหรือเปลี่ยนแปลงตัวเองให้ตรงกับความต้องการของสถานการณ์หรือ
สภาพแวดล้อม ดังนน้ั หากการเปลยี่ นแปลงเกิดข้ึน บุคคลหรอื ทมี ที่ปรบั เปลี่ยนได้จะสามารถปรับและ
คน้ หาวธิ ีทด่ี ที ีส่ ุดในการดำเนินการในสถานการณ์ใหม่ด้วยตนเองได้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว
ตามทัศนะของ Esoft Skills Team วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. Smith, Sorokac & Widmaier ร่วมกันออกแบบเว็บไซต์เพื่อให้รายละเอียดและ
ความเขา้ ใจทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 โดยใหค้ วามสำคัญกับทักษะการปรับตวั นิยามทกั ษะการปรับตัว
ไวว้ ่า ความสามารถในการปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กบั การเปลย่ี นแปลง โดยทัว่ ไปจะสามารถปรับตัวเองให้เข้ากับ
การเปลี่ยนแปลงทาง บทบาท ความรับผิดชอบต่องาน วัสดุอุปกรณ์ และ ตารางงาน หากครูไม่
สามารถเอื้ออำนวยการสอนในแง่มุมต่าง ๆ เหล่านี้ได้ อาจจะเป็นเรื่องยากที่จะทำให้นักเรียนได้รับ
ประสบการณ์การเรียนรทู้ ีด่ ีท่ีสดุ และแน่นอนว่านั่นคอื เป้าหมายเสมอมา

176

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว
ตามทศั นะของ Smith, Sorokac & Widmaier ว่าอย่างไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. Cleverism เว็บไซต์เกี่ยวกับการจัดหางาน กล่าวถึงนิยามของทักษะการปรับตัวว่า
ความสามารถของบุคคลในการเปลี่ยนแปลงการกระทำ หลักสูตรหรือแนวทางในการทำสิ่งต่าง ๆ
เพื่อให้เหมาะกับสถานการณ์ใหม่ เราเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของเราตลอดเวลาเพราะโลกของเรา
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เมื่อมีการขาดแคลนสินค้าในตลาดเราเปลี่ยนความต้องการของเราไปยังสินค้า
ทดแทน นนั่ คอื ตวั อย่างของการปรับตวั

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตัว
ตามทศั นะของ Cleverism วา่ อยา่ งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. Prince ผู้เขยี น "7 Skills for the Future" ผู้เช่ียวชาญในการเรียนรดู้ ้วยประสบการณ์
กล่าวถึงนิยามของทักษะการปรับตัวว่า ความสามารถในการเปลี่ยนแปลง (หรือถูกเปลี่ยนแปลง)
เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ความสามารถนั่นหมายความว่ามันสามารถถูก
ถ่ายทอดและเรียนรู้ได้ ทุกคนมีความสามารถขั้นพื้นฐานที่สามารถปรับได้ หากไม่มีความสามารถใน
การปรบั ตัวเราจะไม่สามารถทำงานในโลกน้ีได้

โปรดทบทวนตัวเอง แล้วตอบในใจว่าท่านเข้าใจนิยามของทักษะการปรับตวั
ตามทัศนะของ Prince วา่ อยา่ งไร ?

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. Martin อาจารย์ประจำ University of New South Wales กลา่ วถึงนยิ ามของทักษะ
การปรับตัวว่า ความสามารถในการควบคุม การรับรู้อารมณ์ และพฤติกรรมในการตอบสนองต่อสิ่ง
ใหม่ การเปลี่ยนแปลงและ/หรือ เงื่อนไขที่ท้าทายและสถานการณ์ใหม่ ดังนั้นบุคคลที่สามารถ
ปรับเปลี่ยนได้ถูกเสนอให้มีความสามารถในการปรับ ความคิด อารมณ์ และ พฤติกรรมของพวกเขา
เพอื่ ใหเ้ กิดวิถที างบวกต่อปรากฏการณเ์ ชงิ บวก เชน่ การเรยี นรู้ และ ความสำเร็จ


Click to View FlipBook Version