The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านชะอวด ปีการศึกษา2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Hatai Tuntivit, 2022-09-05 05:09:45

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านชะอวด ปีการศึกษา2563

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านชะอวด ปีการศึกษา2563



บทนำ

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ได้กำหนดสาระการ
เรียนรู้ออกเป็น ๔ สาระได้แก่ สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓
วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี ซง่ึ องค์ประกอบของหลักสตู ร ทั้งในด้านของเน้อื หา การจัดการ
เรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของผ้เู รียนในแต่ละระดบั ช้นั ให้มีความต่อเน่ืองเชื่อมโยงกนั ต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑
จนถงึ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ สำหรับกล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดก้ ำหนดตัวชี้วดั และสาระการ
เรียนรูแ้ กนกลาง ที่ผู้เรยี นจำเป็นต้องเรียนเป็นพืน้ ฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้น้ีไปใช้ในการดำรงชีวิต หรือศึกษา
ตอ่ ในวชิ าชพี ทีต่ ้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรยี งลำดบั ความยากง่ายของเนื้อหาทั้ง ๔ สาระในแต่ละระดับช้ันให้มี
การเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้ง
ความคดิ เป็นเหตุเป็นผล คดิ สรา้ งสรรค์ คิดวเิ คราะหว์ ิจารณ์ มที กั ษะทส่ี ำคัญท้งั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในการค้นคว้าและสรา้ งองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้
สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
โรงเรียนบ้านชะอวดตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มุ่งหวังให้เกิดผล
สัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ขน้ึ เพือ่ ให้
ครูผู้สอนได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกันและ
ระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการ
เปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสรุปเป็นแผนภาพไดด้ งั น้ี

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด



สาระที่ ๒
วิทยาศาสตร์กายภาพ
- มาตรฐาน ว๒.๑-ว๒.๓

สาระท่ี ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ สาระที่ ๓
วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ โลก และ
- มาตรฐาน ว๑.๑-ว๑.๓
เทคโนโลยี อวกาศ
- มาตรฐาน ว๓.๑-ว๓.๒

สาระที่ ๔
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว๔.๑-ว๔.๒

วทิ ยาศาสตร์เพมิ่ เตมิ ⚫สาระชวี วทิ ยา ⚫สาระเคมี ⚫สาระฟิสิกส์
⚫ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด



เปา้ หมายของการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติโดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต
สำรวจตรวจสอบและการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบหลักการแนวคิดและ
ทฤษฎีดังนน้ั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนร้แู ละค้นพบดว้ ยตนเองมากท่ีสุดนั่นคือ
ให้ได้ทั้งกระบวนการและองค์ความรู้ตั้งแต่วัยเริ่มแรกก่อนเข้าเรียนเมื่ออยู่ในสถานศึกษาและเมื่อออกจาก
สถานศกึ ษาไปประกอบอาชีพแลว้
การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสถานศกึ ษามีเปา้ หมายสำคญั ดงั นี้

๑. เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจหลกั การทฤษฎที ี่เป็นพ้ืนฐานในวิทยาศาสตร์
๒. เพื่อใหเ้ ขา้ ใจขอบเขตธรรมชาติและข้อจำกดั ของวทิ ยาศาสตร์
๓. เพ่อื ให้มที ักษะที่สำคญั ในการศกึ ษาคน้ ควา้ และคิดคน้ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจดั การทักษะในการ
สอ่ื สารและความสามารถในการตัดสินใจ
๕. เพื่อให้ตระหนักถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยมี วลมนุษย์และสภาพแวดลอ้ มในเชิงที่มี
อิทธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน
๖. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการ
ดำรงชีวิต
๗. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อยา่ งสรา้ งสรรค์

เรียนรูอ้ ะไรในวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่
เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน
การสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรม
ด้วยการลงมอื ปฏิบัติจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ช้นั โดยกำหนดสาระสำคัญ ดงั น้ี

✧วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการดำรงชีวิตของ
มนุษยแ์ ละสัตวก์ ารดำรงชวี ติ ของพืช พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชวี ติ

✧วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสารการเคลื่อนท่ี
พลังงาน และคล่นื

✧วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ
สงิ่ มชี วี ติ และสง่ิ แวดล้อม

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด



✧เทคโนโลยี
●การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรแู้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตรแ์ ละศาสตร์อื่น ๆ เพ่อื แกป้ ญั หาหรือพัฒนางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง
ผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม
●วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็น
ระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่
พบในชวี ติ จรงิ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข
ปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพนั ธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ
เปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลต่อสงิ่ มีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ
สิง่ มชี ีวติ รวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง

และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบ
ตา่ ง ๆ ของวตั ถุรวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลังงานปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างสสาร
และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง
แสง และคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

หลกั สตู รสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด


สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซีดาวฤกษ์และ

ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒เข้าใจองคป์ ระกอบและความสมั พันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก และบน
ผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
สิง่ มชี วี ิตและสงิ่ แวดล้อม
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้
ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ ง
เหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว ๔.๒เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมจี รยิ ธรรม

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด



วสิ ัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วสิ ยั ทศั น์
“ยกระดับคุณภาพ สู่มาตรฐานการศึกษาชั้นนำและสู่สากล มีศักยภาพในการแข่งขัน ยึดหลักการบริหาร

จัดการแบบมสี ่วนร่วม ภายในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓”

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ี
กำหนด ซึง่ จะช่วยให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดังน้ี
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐานมุ่งให้ผเู้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการเลือกใช้
วิธกี ารสอื่ สารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทีม่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพื่อนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้หรอื สารสนเทศเพ่ือ
การตดั สินใจเก่ยี วกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตดั สนิ ใจที่มปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนนิ
ชวี ิตประจำวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทำงาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมด้วยการสรา้ ง
เสรมิ ความสมั พันธ์อนั ดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตวั ใหท้ นั กับ
การเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ มและการรูจ้ ักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่
ตนเองและผู้อืน่
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านตา่ ง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

หลักสตู รสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด



คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผ้เู รยี นใหม้ คี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอยู่
รว่ มกับผ้อู ่นื ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

๑. รักชาติศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซือ่ สัตย์สุจริต
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
๖. มงุ่ มั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

คณุ ภาพผู้เรยี น

จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
❖เข้าใจลักษณะที่ปรากฏชนิดและสมบัติบางประการของวัสดุที่ใช้ทำวัตถุและการเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

รอบตัว
❖เข้าใจการดึงการผลักแรงแมเ่ หล็กและผลของแรงที่มีตอ่ การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุพลงั งาน

ไฟฟา้ และการผลิตไฟฟ้าการเกิดเสียงแสงและการมองเหน็
❖เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และดาวปรากฏการณ์ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์การเกิด

กลางวันกลางคืนการกำหนดทิศลักษณะของหินการจำแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์ลักษณะและความสำคัญ
ของอากาศการเกิดลมประโยชน์และโทษของลม

❖ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตา มความสนใจสังเกตสำรวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างงา่ ยรวบรวมข้อมลู บันทกึ และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบดว้ ยการเขียนหรือวาด
ภาพและสือ่ สารสงิ่ ท่เี รียนรดู้ ว้ ยการเล่าเรอ่ื งหรอื ดว้ ยการแสดงท่าทางเพอื่ ใหผ้ ้อู ่นื เขา้ ใจ

❖แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหามีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เบอื้ งตน้ รักษาขอ้ มูลส่วนตวั

❖แสดงความกระตือรือร้นสนใจทีจ่ ะเรียนรู้มีความคิดสรา้ งสรรค์เกี่ยวกับเรื่องทีจ่ ะศึกษาตามที่กำหนดให้
หรือตามความสนใจมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและยอมรบั ฟังความคดิ เห็นผอู้ น่ื

❖แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่นรอบคอบประหยัดซื่อสัตย์จนงาน
ลลุ ่วงเป็นผลสำเร็จและทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นอยา่ งมคี วามสขุ

❖ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิตศึกษาหา
ความรเู้ พ่ิมเตมิ ทำโครงงานหรือชน้ิ งานตามท่กี ำหนดใหห้ รือตามความสนใจ

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด



จบช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖
❖เข้าใจโครงสรา้ งลักษณะเฉพาะและการปรับตวั ของส่ิงมชี ีวิตรวมท้ังความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่

อยกู่ ารทำหนา้ ที่ของส่วนต่างๆของพืชและการทำงานของระบบย่อยอาหารของมนุษย์
❖เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุสถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสารการละลายการ

เปลย่ี นแปลงทางเคมีการเปลยี่ นแปลงท่ผี นั กลับไดแ้ ละผันกลบั ไม่ได้และการแยกสารอยา่ งง่าย
❖เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถ่วงของโลกแรงลัพธ์แรงเสียดทานแรงไฟฟ้าและผลของแรงต่างๆผลที่เกิด

จากแรงกระทำต่อวัตถคุ วามดันหลกั การทีม่ ตี ่อวัตถุวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายปรากฏการณ์เบื้องต้นของเสยี งและแสง
❖เขา้ ใจปรากฏการณ์การข้นึ และตกรวมถึงการเปลย่ี นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์องค์ประกอบของ

ระบบสุริยะคาบการโคจรของดาวเคราะห์ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์การขึ้นและตกของก ลุ่มดาว
ฤกษ์การใชแ้ ผนทดี่ าวการเกิดอุปราคาพัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ

❖เข้าใจลักษณะของแหล่งน้ำวัฏจักรน้ำกระบวนการเกิดเมฆหมอกน้ำค้างน้ำค้างแข็งหยาดน้ำฟ้า
กระบวนการเกิดหินวัฏจักรหินการใช้ประโยชน์หินและแร่การเกิดซากดึกดำบรรพ์การเกิดลมบกลมทะเลมรสุม
ลกั ษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติธรณพี บิ ัตภิ ัยการเกิดและผลกระทบของปรากฏการณเ์ รือนกระจก

❖คน้ หาข้อมลู อยา่ งมีประสิทธิภาพและประเมนิ ความน่าเชื่อถือตดั สินใจเลือกข้อมลู ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะใน
การแก้ปัญหาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทำงานร่วมกันเข้าใจสทิ ธิและหน้าที่ของตนเคารพสิทธิ
ของผอู้ ่ืน

❖ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจคาดคะเน
คำตอบหลายแนวทางสร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบวางแผนและสำรวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะส มในการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ
และคุณภาพ

❖วิเคราะห์ข้อมูลลงความเห็นและสรุปความสัมพันธข์ องข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบในรูปแบบท่ี
เหมาะสมเพือ่ ส่อื สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อยา่ งมีเหตผุ ลและหลักฐานอ้างอิง

❖แสดงถึงความสนใจมุ่งมัน่ ในสิ่งที่จะเรียนรู้มคี วามคิดสร้างสรรค์เกีย่ วกบั เรื่องทีจ่ ะศึกษาตามความสนใจ
ของตนเองแสดงความคิดเห็นของตนเองยอมรับในข้อมูลที่มหี ลักฐานอ้างอิงและรบั ฟงั ความคดิ เห็นผู้อ่นื

❖แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่นรอบคอบประหยัดซื่อสัตย์จนงาน
ลลุ ว่ งเป็นผลสำเรจ็ และทำงานร่วมกับผอู้ น่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์

❖ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการดำรงชีวิตแสดงความชื่นชมยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้นและศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมทำ
โครงงานหรอื ชิน้ งานตามท่กี ำหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

❖แสดงถึงความซาบซึ้งห่วงใยแสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อมอย่างรูค้ ณุ ค่า

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๑๐

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสติปัญญา (Intellectual) ที่นักวิทยาศาสตร์และผู้ที่นำ

วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์มาแกป้ ัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแกป้ ัญหาต่าง ๆ ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น ๑๔ ทักษะ ทักษะที่ ๑-๘ เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และ
ทักษะที่ ๙-๑๔ เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงหรือขั้นผสมหรือขั้นบูรณาการ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ท้งั ๑๔ ทักษะ มีดังน้ี

๑. การสงั เกต (Observing) หมายถงึ การใช้ประสาทสัมผสั อย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา
หู จมูก ลิ้น ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวตั ถุหรือเหตุการณ์ เพื่อค้นห้าข้อมูลซึง่ เป็นรายละเอียดของสิง่ นั้น โดยไม่ใส่
ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลท่ี
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตเห็นได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์นั้น ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ี
ประกอบด้วยการชี้บ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการกะประมาณและการบรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่
สงั เกตได้

๒. การลงความเหน็ จากข้อมูล (Inferring) หมายถงึ การเพ่ิมความคิดเห็นใหก้ ับข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกตอย่าง
มเี หตุผล โดยอาศยั ความรู้และประสบการณ์เดิมมาชว่ ย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกดิ ทักษะนี้ คอื การอธิบายหรือ
สรุป โดยเพ่ิมความคิดเหน็ ใหก้ ับข้อมูลโดยใชค้ วามรู้หรือประสบการณเ์ ดิมมาช่วย

๓. การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลำดับวัตถหุ รือสิ่งทม่ี ีอยู่ในปรากฏการณ์
โดยมีเกณฑ์ และเกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้
ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะนี้แล้ว ได้แก่ การแบ่งพวกของสิ่งต่าง ๆ จากเกณฑ์ที่ผู้อ่ืนกำหนดให้ได้ นอกจากนั้น
สามารถเรยี งลำดับส่ิงของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกบั บอกได้วา่ ผู้อน่ื แบ่งพวกของสิง่ ของน้ันโดยใช้อะไรเป็นเกณฑ์

๔. การวัด (Measuring) หมายถึง การเลือกใช้เครื่องมือและการใช้เครื่องมือนั้นทำการวัดหาปริมาณของส่ิง
ต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขที่แน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับสิ่งที่วัด แสดงวิธีใช้เครื่องมืออย่างถูกต้อง พร้อมทั้งบอกเหตุผล
ในการเลือกใชเ้ คร่ืองมือ รวมทั้งระบหุ นว่ ยของตัวเลขท่ีได้จากการวดั ได้

๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุและการนำตัวเลขที่แสดงจำนวนที่นับ
ได้มาคดิ คำนวณโดยการบวก ลบ คณู หาร หรอื การหาคา่ เฉลีย่ ความสามารถที่แสดงให้เห็นวา่ เกิดทักษะน้ี ได้แก่ การนับ
จำนวนสิ่งของได้ถูกต้อง เชน่ ใช้ตัวเลขแทนจำนวนการนับได้ ตัดสนิ ได้ว่าวัตถุ ในแตล่ ะกลุ่มมีจำนวนเท่ากันหรือแตกต่าง
กัน เป็นต้น การคำนวณ เช่น บอกวิธีคำนวณ คิดคำนวณ และแสดงวิธีคำนวณได้อย่างถูกต้อง และประการสุดท้ายคือ
การหาคา่ เฉล่ีย เชน่ การบอกและแสดงวธิ ีการหาค่าเฉล่ยี ได้ถูกต้อง

๖. การหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา(Using Space/Time Relationships)
สเปสของวัตถุ หมายถึง ท่วี า่ งที่วัตถุนั้นครองที่อยู่ ซง่ึ มรี ูปร่างลักษะเช่นเดียวกับวัตถุนั้นโดยท่ัวไปแล้วสเปสข
องวตั ถจุ ะมี ๓มิติ คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสูง
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ๓ มิติ กับ ๒มิติ ความสัมพันธ์
ระหว่างตำแหน่งที่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่าง
สเปสกบั สเปส ได้แก่ การชบ้ี ่งรปู ๒มติ ิ และ ๓มิตไิ ด้ สามารถวาดภาพ ๒มิติ จากวตั ถุหรอื จากภาพ ๓ มิติ ได้

หลักสตู รสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๑๑

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับเวลา ไดแ้ ก่ ความสมั พันธ์ระหว่างการเปลยี่ นตำแหน่งท่ีอยู่ของวตั ถุกับเวลา หรอื
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลาความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหาความสัมพันธ์
ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ การบอกตำแหน่งและทิศทางของวัตถุโดยใช้ตัวเองหรือวัตถุอื่นเป็นเกณฑ์ บอก
ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตำแหน่ง เปลี่ยนขนาด หรอื ปรมิ าณของวัตถุกับเวลาได้

๗. การสื่อความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนำข้อมูลที่ได้จาการสังเกต การวัด การทดลอง
และจากแหล่งอื่น ๆ มาจัดกระทำเสียใหม่โดยการหาความถี่ เรียงลำดับ จัดแยกประเภท หรือคำนวณหาค่าใหม่ เพื่อให้
ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ สมการ การเขียน
บรรยาย เป็นต้น ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้แล้ว คอื การเปลย่ี นแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปใหม่ที่เข้าใจดีข้ึน
โดยจะต้องรู้จักเลือกรูปแบบที่ใช้ในการเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม บอกเหตุผลในการเสนอข้อมูลในการเลือกแบบ
แสนอข้อมูลนั้น การเสนอข้อมูลอาจกระทำได้หลายแบบดังที่กล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะการเสนอข้อมูลในรูปของตาราง
การบรรจุข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางปกติจะใส่ค่าของตัวแปรอิสระไว้ทางซ้ายมือของตาราง และค่าของตัวแปรตามไว้
ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของตัวแปรอิสระไว้ให้เรียงลำดับจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรือจากค่ามากไปหาค่า
นอ้ ย

๘. การพยากรณ์ (Predicting) หมายถงึ การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้าก่อนการทดลอง โดยอาศัยปรากฏการณ์
ที่เกิดซ้ำ หลักการ กฎ หรือ ทฤษฏีที่มีอยู่แล้วในเรื่องนั้นมาช่วยสรุป เช่น การพยากรณ์ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่
ขอ้ มูลที่เป็นตารางหรือกราฟ ซึ่งทำได้สองแบบ คือ การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ กับการพยากรณ์นอก
ขอบของข้อมลู ที่มีอยู่ เชน่ การพยากรณ์ผลของข้อมลู เชิงปริมาณ เป็นต้น

๙. การชี้บ่งและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง การชี้บ่งตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม และตวั แปรทต่ี ้องควบคุมใหค้ งที่ในสมมุติฐาน หนึ่ง ๆ

ตัวแปรต้น หมายถึง สิ่งที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลต่าง ๆ หรือสิ่งที่เราต้องการทดลองดูว่าเป็นสาเหตุท่ี
ก่อใหเ้ กิดผลเช่นน้ันจริงหรือไม่

ตัวแปรตาม หมายถงึ สิง่ ทีเ่ ปน็ ผลเนื่องมาจากตัวแปรต้น เม่ือตัวแปรต้นหรือสง่ิ ท่ีเป็นสาเหตุเปล่ียนไป ตัวแปร
ตามหรอื ส่งิ ทีเ่ ป็นผลจะแปรตามไปด้วย

ตวั แปรทตี่ ้องควบคุมให้คงท่ี หมายถึง สิง่ อ่นื ๆนอกเหนือจากตัวแปรต้นทจ่ี ะทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อน
ถา้ หากวา่ ไมม่ ีการควบคุมให้เหมือนกัน

๑๐. การต้ังสมมตุ ิฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถึง การคดิ หาคำตอบล่วงหน้าก่อนทำการทดลอง
โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน คำตอบที่คิดล่วงหน้านี้ ยังไม่ทราบ หรือยังไม่เป็น
ทางการ กฎหรอื ทฤษฏีมาก่อน สมมุติฐาน คอื คำตอบที่คิดไว้ลว่ งหน้ามีกล่าวไว้เป็นข้อความท่ีบอกความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรต้นกับตัวแปรตามสมมุติฐานที่ตั้งขึ้นอาจถูกหรือผิดก็ได้ซึ่งทราบได้ภายหลังการทดลองหาคำตอบเพื่อสนับสนุน
สมมตุ ิฐานหรือคัดค้านสมมุติฐานที่ตั้งไว้ สงิ่ ท่คี วรคำนึงถึงในการต้ังสมมตุ ิฐาน คอื การบอกช่ือตัวแปรต้นซึ่งอาจมีผลต่อ
ตัวแปรตามและในการตั้งสมมุติฐานต้องทราบตัวแปรจากปัญหาและสภาพแวดล้อมของตัวแปรนั้น สมมุติฐานที่ตั้งข้ึน
สามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการทดลอง ซึ่งต้องทราบว่าตัวแปรไหนเป็นตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่
ต้องควบคุมให้คงที่

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๑๒

๑๑. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally) หมายถึง การ
กำหนดความหมายและขอบเขตของค่าต่าง ๆ ที่อยู่ในสมมุติฐานที่ต้องการทดลองและบอกวิธีวัดตัวแปรที่เกี่ยวกับการ
ทดลองนน้ั

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถึง กระบวนการปฏบิ ัติการเพื่อหาคำตอบจากสมมุติฐานท่ีต้ังไว้ ใน
การทดลองจะประกอบไปดว้ ยกิจกรรม ๓ขั้นคอื

๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจรงิ
๑๒.๒ ปฏบิ ัตกิ ารทดลอง หมายถึง การลงมอื ปฏิบตั ิจริงและให้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๑๒.๓ การบนั ทกึ ผลการทดลอง หมายถงึ การจดบนั ทกึ ข้อมลู ที่ได้จากการทดลองซึ่งอาจเปน็ ผลจาก
การสังเกต การวัด และอื่น ๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง การบันทึกผลการทดลอง อาจอยู่ในรูปตารางหรือการ
เขียนกราฟ ซึ่งโดยทั่วไปจะแสดงค่าของตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระบนแกนนอนและค่าของตัวแปรบนแกนต้ัง
โดยเฉพาะในแตล่ ะแกนต้องใชส้ เกลท่ีเหมาะสม พร้อมทง้ั แสดงให้เหน็ ถึงตำแหนง่ ของค่าของตัวแปรท้ังสองบนกราฟด้วย
ในการทดลองแต่ละครั้งจำเป็นอาศัยการวิเคราะห์ตัวแปรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คือสามารถที่จะบอกชนิดของตัว
แปรในการทดลองว่า ตัวแปรนั้นเป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม หรือตัวแปรที่ต้องควบคุม ในการทดลองหนึ่ง ๆต้องมีตัว
แปรตัวหนึ่งเท่าน้ันที่มีผลต่อการทดลอง และเพ่ือให้แน่ใจว่าผลที่ได้เกิดจากตวั แปรน้ันจริง ๆ จำเป็นต้องควบคุมตัวแปร
อืน่ ไม่ใหม้ ีผลตอ่ การทดลอง ซง่ึ เรียกตวั แปรนว้ี ่าตัวแปรทีต่ ้องควบคุมให้คงท่ี
๑๓. การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conlusion) การ
ตคี วามหมายข้อมลู หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลทมี่ ีอยู่ การตีความหมายข้อมูล ในบางคร้ัง
อาจต้องใช้ทักษะอื่นๆ ดว้ ย เชน่ การสังเกต การคำนวณ เปน็ ต้น และการลงข้อสรุป หมายถงึ การสรปุ ความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลทั้งหมด ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอกความสัมพันธ์ของข้อมูลได้ เช่น การ
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับตัวแปรตาม
ขณะทตี่ ัวแปรอิสระเปล่ียนแปลงหรือถา้ ลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรก่อนที่กราฟเส้นโค้ง
จะเปลี่ยนทศิ ทางและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรหลังจากท่ีกราฟเส้นโค้งเปลี่ยนทิศทางแลว้ .
๑๔. การสร้างแบบจำลอง (Modeling Construction) หมายถึง การนำเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิด
รวบยอด เพอ่ื ใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจในรูปของแบบจำลองต่างๆ เช่น กราฟ รูปภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว วัสดุ สงิ่ ของ ส่ิงประดิษฐ์
หุ่น เปน็ ต้น

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๑๓

จติ วิทยาศาสตร์

คุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ลักษณะช้ีบง่ /พฤตกิ รรม
๑. เห็นคุณคา่ ทางวทิ ยาศาสตร์
๑.๑ นยิ มยกย่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑.๒ นยิ มยกยอ่ งความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์
๑.๓ เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
๑.๔ ตระหนักความสำคญั ของวิทยาศาสตร์ ในการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิต

๒. คณุ ลักษณะทางวิทยาศาสตร์ ๒.๑.๑ การยอมรบั ข้อสรุปที่มีเหตุผล
๒.๑ ความมีเหตผุ ล ๒.๑.๒ มีความเช่อื ว่าสง่ิ ท่เี กดิ ข้ึนต้องมีสาเหตุ
๒.๑.๓ นิยมยกย่องบคุ คลท่ีมีความคดิ อย่างมีเหตุผล
๒.๒ ความอยากรูอ้ ยากเห็น ๒.๑.๔ เห็นคุณค่าในการสืบหาความจริงก่อนที่จะยอมรับ
หรือปฏบิ ัติตาม
๒.๒.๑ ชื่อวา่ วธิ ีการทดลองค้นควา้ จะทำให้คน้ พบวธิ กี าร
แกป้ ญั หาได้
๒.๒.๒ พอใจใฝ่หาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเติม
๒.๒.๓ ชอบทดลองคน้ ควา้

๒.๓ ความใจกวา้ ง ๒.๓.๑ ตระหนักถึงความสำคัญของความมเี หตผุ ลของ
ผอู้ ่นื
๒.๓.๒ ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นและคำวิจารณ์ของผู้อ่นื

๒.๔ ความมรี ะเบยี บในการทำงาน ๒.๔.๑ ตระหนักถึงการระวังรักษาความปลอดภยั ของ
ตนเองและเพื่อนในขณะทดลองวทิ ยาศาสตร์
๒.๔.๒ เหน็ คณุ คา่ ของการระวังรกั ษาเครื่องมือท่ีใชม้ ใิ ห้
แตกหกั เสียหาย ในขณะทดลองวิทยาศาสตร์

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

๑๔

จิตวิทยาศาสตร์ ลกั ษณะช้ีบง่ /พฤติกรรม
๒.๕.๑ ตระหนักถึงการทำงานให้สำเร็จลุล่วงตามเปา้ หมาย
คณุ ลักษณะดา้ นจิตพสิ ยั โดยไม่คำนงึ ถึงผลตอบแทน
๒.๕ การมีคา่ นยิ มต่อความเสียสละ ๒.๕.๒ เตม็ ใจทีจ่ ะอุทิศตนเพ่ือการสร้างผลงานทาง
วทิ ยาศาสตร์

๒.๖ การมีคา่ นิยมต่อความซื่อสัตย์ ๒.๖.๑ เหน็ คณุ คา่ ต่อการเสนอผลงานตามความเป็นจริงที่
ทดลองได้
๒.๖.๒ ตำหนบิ คุ คลท่นี ำผลงานผู้อ่นื มาเสนอเป็นผลงาน
ของตนเอง

๒.๗ การมคี า่ นิยมต่อการประหยดั ๒.๗.๑ ยนิ ดที ี่จะรกั ษาซอ่ มแซมสง่ิ ที่ชำรุดใหใ้ ช้การได้
๒.๗.๒ เหน็ คณุ คา่ ของการใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างประหยัด
๒.๗.๓ เหน็ คุณค่าของวัสดทุ ี่เหลือใช้

วิสยั ทัศน์

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน
ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความร้แู ละทักษะพ้ืนฐาน รวมทัง้ เจตคติท่ีจำเป็นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญบนพื้นฐานความเช่อื ว่า
ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

หลกั การ

หลกั สูตรสถานศึกษา มหี ลักการทสี่ ำคญั ดังนี้
๑.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น
เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคูก่ บั ความเป็นสากล
๒.เป็นหลักสตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีทุกคนมโี อกาสได้รับการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและมีคุณภาพ
๓.เป็นหลักสูตรการศกึ ษาท่สี นองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้อง
กับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๑๕

๔.เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทมี่ ีโครงสร้างยืดหยนุ่ ทั้งด้านสาระการเรยี นรู้ เวลา และการจัดการเรยี นรู้
๕.เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาที่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
๖.เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชพี จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพอ่ื ให้เกดิ กับผ้เู รียน เมอ่ื จบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั นี้

๑.มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒.มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที ักษะชวี ิต
๓.มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสยั และรกั การออกกำลังกาย
๔.มคี วามรักชาติ มีจติ สำนกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดม่ันในวิถีชวี ิต และการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
๕.มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะมุง่ ทำประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ที่ดีงามในสงั คม และอยู่ร่วมกนั ในสังคมอย่างมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด
ซึง่ จะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น

หลักสูตรสถานศึกษา มุง่ ให้ผูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดงั นี้
๑.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้
วิธีการสอื่ สารท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสังคม
๒.ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศ
เพือ่ การตัดสินใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม
๓.ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด

๑๖

เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
และมีการตดั สนิ ใจทม่ี ีประสทิ ธิภาพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คม และส่งิ แวดล้อม

๔.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสงั คมด้วยการ
สรา้ งเสรมิ ความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัว
ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผล
กระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน

๕.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สงั คมอย่างมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลเมืองโลก ดังนี้

๑.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒.ซื่อสตั ย์สจุ รติ
๓.มวี ินัย
๔.ใฝเ่ รียนรู้
๕.อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๖.มงุ่ ม่ันในการทำงาน
๗.รักความเป็นไทย
๘.มีจติ สาธารณะ

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๑๗

โครงสร้างเวลาเรยี น
โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านชะอวด พุทธศักราช ๒๕๖๓
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐)

กล่มุ สาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรียน(ชัว่ โมง/ปี)
ระดับประถมศกึ ษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ประวตั ศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
รายวิชาเพิ่มเตมิ
วชิ าภาษาองั กฤษเพ่ิมเติม - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียน (เพมิ่ เตมิ ) - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- ชุมนุม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์
๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี
รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ๒๐๐ ช่ัวโมง/ปี
กิจกรรมเพิ่มเวลารู้ ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง/ปี

รวมเวลาเรยี นท้งั หมด .

หลกั สตู รสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๑๘

โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรยี นบ้านชะอวด

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑(ฉบับปรบั ปรงุ ๒๕๖๐)

ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๘๐ ชวั่ โมง/ปี
๘๐ ชว่ั โมง/ปี
วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วิชา ว๑๑๑๐๑ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๘๐ ชว่ั โมง/ปี
๑๒๐ ชั่วโมง/ปี
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๑๒๐ ชัว่ โมง/ปี
๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี
วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว๑๒๑๐๑ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

วิชาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว๑๓๑๐๑ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔

วชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว๑๔๑๐๑ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕

วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว๑๕๑๐๑ ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว๑๖๑๐๑ ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห์

หลกั สตู รสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด

๑๙

ทำไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเกีย่ วข้องกับทุกคนทง้ั ในชีวติ ประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครอื่ งมอื เคร่ืองใช้
และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนยี ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีช่วยให้
มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการ
ค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ขอ้ มูลทีห่ ลากหลายและ
มีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมี
เหตผุ ล สรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม

เรยี นรู้อะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี
เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน
การสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรม
ดว้ ยการลงมอื ปฏิบตั จิ ริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชั้น โดยกำหนดสาระสำคัญไว้ ๘ สาระ ดังน้ี

• วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิตของ
มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ การดำรงชวี ิตของพืช พนั ธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสง่ิ มีชีวติ

• วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนที่
พลงั งาน และคลน่ื

• วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับโลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับการเปลีย่ นแปลง
ของโลก

• เทคโนโลยี
- การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี
เพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เลอื กใช้เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม

-วทิ ยาการคำนวณ เรยี นรูเ้ กย่ี วกบั การพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจ มีทกั ษะการคิด เชิงคำนวณ การ

คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารในการแกป้ ญั หาทพ่ี บในชีวติ จริงได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

หลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

๒๐

คณุ ภาพผเู้ รยี น

จบช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
• เขา้ ใจลักษณะทั่วไปของสิ่งมีชีวติ การดำรงชีวติ ของสิ่งมีชวี ิต และทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลายใน

สิ่งแวดลอ้ มของทอ้ งถนิ่
• เขา้ ใจลักษณะทีป่ รากฏ สมบัตบิ างประการของวัสดุ และการเปล่ยี นแปลงของวัสดุรอบตัว
• เข้าใจการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ และแรงที่กระทาต่อวัตถุทำให้วตั ถุเปลี่ยนแปลงการเคล่อื นที่

ความสำคัญของพลงั งานไฟฟ้าและแหลง่ ผลิตพลังงานไฟฟ้า
• เข้าใจลักษณะที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดวงดาว องค์ประกอบ และสมบัติทางกายภาพ

ของดิน หิน นำ้ อากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศแบบต่าง ๆ ในทอ้ งถน่ิ และการเกดิ ลม
• ตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ การเคลื่อนที่ของวัตถุ และปรากฏการณ์ต่ างๆ รอบตัว

สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ
ดว้ ยการเขยี นหรอื วาดภาพ และส่อื สารสิ่งท่เี รียนรู้ด้วยการเลา่ เรอ่ื ง หรอื ด้วยการแสดงทา่ ทางเพ่อื ให้ผู้อื่นเข้าใจ

• แก้ปญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใชข้ ั้นตอนการแกป้ ญั หา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
เบอ้ื งต้น รกั ษาขอ้ มูลสว่ นตัว

• แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามที่
กำหนดใหห้ รือตามความสนใจ มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น และยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นผ้อู น่ื

• แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จน
งานลุล่วงเปน็ ผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกับผอู้ ืน่ อยา่ งมีความสุข

• ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศึกษาหา
ความรเู้ พ่มิ เติม ทำโครงงานหรอื ชิ้นงานตามทก่ี ำหนดใหห้ รือตามความสนใจ

จบช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖
• เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบ

นเิ วศ และความหลากหลายของทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีพบในระดับประเทศ
• เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทำให้สารเกิดการ

เปลีย่ นแปลง การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีของสาร การแยกสารอยา่ งงา่ ย และสารในชีวิตประจาวัน
• เขา้ ใจลักษณะของแรงประเภทต่าง ๆ ผลท่เี กิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการเบื้องต้นของ

แรงพยุง ส่วนประกอบและหน้าท่ีของสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า การถ่ายโอนพลังงานกลท่ี เกิดจากแรงเสียด
ทานไปเปน็ พลงั งานอ่นื สมบัตแิ ละปรากฏการณเ์ บ้อื งต้นของเสียง และแสง

• เขา้ ใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจำแนกประเภทของกลุ่มดาว ความสมั พันธข์ องดวงอาทิตย์ โลก
และดวงจนั ทรท์ ่ีมผี ลต่อการเกดิ ปรากฏการณธ์ รรมชาติ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศ

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๒๑

• เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของดิน น้ำ และบรรยากาศ และปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของ
ผิวโลก การเกิดลมบก ลมทะเล ผลกระทบทเี่ กิดจากธรณีพิบัตภิ ยั และปรากกฎการณเ์ รอื นกระจก

• ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสทิ ธิและหน้าท่ีของ
ตน เคารพสิทธิของผอู้ น่ื

• ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหาที่จะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและ
สำรวจตรวจสอบโดยใช้เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมลู ทั้งเชิง
ปริมาณและคุณภาพ

• วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รูปแบบทเ่ี หมาะสม เพอื่ ส่ือสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบไดอ้ ย่างมีเหตุผลและหลกั ฐานอ้างองิ

• แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟัง ความคิดเห็น
ผอู้ น่ื

• แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์ จน
งานลลุ ว่ งเปน็ ผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่นื อยา่ งอยา่ งสรา้ งสรรค์

• ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น และศึกษาหา
ความรเู้ พ่มิ เตมิ ทำโครงงานหรือชนิ้ งานตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ

• แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้ การดูแลรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ และ
สงิ่ แวดล้อมอยา่ งรูค้ ณุ คา่

หลกั สตู รสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๒๒

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสิ่งไมม่ ีชีวติ กับสิ่งมีชีวติ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานการเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน
ระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มตี ่อทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม แนวทางใน
การอนรุ ักษ์ธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิ่งแวดลอ้ มทั้งนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลลค์ วามสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ท่ีทำงานสัมพันธ์กันความสัมพันธ์
ของโครงสร้าง และหน้าทข่ี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชที่ทำงานสมั พันธ์กัน รวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สิ่งมชี วี ิต รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๑.๑ – ว .๓ สำหรบั ผู้เรียนในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั
โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคลอ่ื นที่ แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับเสียง แสง
และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐานว ๒.๑ – ว ๒.๓ สำหรบั ผ้เู รยี นในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพกาแล็กซี ดาว
ฤกษ์และระบบสุรยิ ะ รวมท้ังปฏสิ มั พนั ธ์ภายในระบบสุริยะท่ีสง่ ผลต่อส่งิ มีชีวติ และการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

หลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

๒๓
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมชี ีวติ
และส่ิงแวดลอ้ ม
หมายเหต:ุ มาตรฐาน ว๓.๑ – ว ๓.๒ สำหรับผู้เรียนในระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ พัฒนางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง
ผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

๒๔

ตวั ช้วี ดั ช้ันปี

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปญั หาสิ่งแวดล้อมรวมท้ังนาความรู้
ไปใชป้ ระโยชน์

ป. ๑ ตัวชี้วดั ชัน้ ปี ป. ๓
๑. ระบุชือ่ พชื และสตั ว์ที่อาศัย ป. ๒ -
อย่บู รเิ วณต่าง ๆ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ ป. ๕ ป. ๖
๒. บอกสภาพแวดล้อม ท่ี ๑. บรรยายโครงสร้าง และลักษณะของ
เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของ สิ่งมีชีวติ ทเ่ี หมาะสมกับการดำรงชีวติ ซ่งึ
สตั ว์ในบรเิ วณที่อาศยั อยู่ เป็นผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมชี วี ิต
ใน แตล่ ะแหล่งที่อยู่
ป. ๔ ๒. อธิบาย ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง
สง่ิ มชี วี ติ กบั สิ่งมชี วี ิต และ ความสัมพันธ์
ระหว่างส่ิงมชี วี ิตกบั สิ่งไมม่ ชี วี ติ เพื่อ
ประโยชน์ต่อการดารงชวี ติ
๓. เขียนโซอ่ าหารและระบุบทบาท
หน้าท่ขี องส่ิงมีชีวติ ท่เี ป็น ผูผ้ ลติ และ
ผบู้ รโิ ภคในโซ่อาหาร
๔. ตระหนกั ในคุณคา่ ของสง่ิ แวดล้อมที่
มี ต่อการดำรงชีวิต ของสิ่งมีชวี ิตโดยมี
สว่ นรว่ มในการดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม

หลกั สตู รสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๒๕

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์

ความสัมพันธข์ อง โครงสรา้ ง และหนา้ ทขี่ องระบบตา่ งๆ ของสัตว์และมนุษย์ทที่ างานสัมพันธก์ ัน ความสมั พันธ์

ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะตา่ งๆ ของพชื ท่ที ำงานสมั พันธก์ ัน รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชี้วัดชั้นปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑. ระบุช่ือ บรรยาย ลกั ษณะ ๑. ระบุว่าพชื ต้องการแสงและ ๑. บรรยายส่งิ ท่ี จำเปน็ ตอ่ การ

และบอก หนา้ ที่ของส่วนตา่ งๆ น้ำเพ่ือการเจรญิ เติบโต โดยใช้ ดำรงชีวิตและการเจรญิ เติบโตของ

ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และพชื ขอ้ มูลจาก หลักฐานเชิง มนษุ ยแ์ ละสัตว์ โดยใชข้ ้อมลู ท่ีรวบรวม

รวมท้งั บรรยายการทำหนา้ ท่ี ประจักษ์ ได้

ร่วมกนั ของ ส่วนตา่ ง ๆ ของ ๒. ตระหนกั ถึงความจำเป็นที่ ๒. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ อง อาหาร

รา่ งกายมนุษย์ใน การทำกจิ กรรม พืชต้องไดร้ ับน้ำและแสงเพ่อื นำ้ และ อากาศ โดยการ ดแู ลตนเอง

ต่าง ๆ จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ การเจริญเตบิ โต โดยดแู ลพชื ให้ และ สัตว์ใหไ้ ด้รับ ส่ิงเหล่านอ้ี ย่าง

๓. ตระหนักถึง ความสำคัญของ ได้รับสิ่งดงั กล่าวอยา่ งเหมาะสม เหมาะสม

ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง ๓. สร้างแบบจำลองทีบ่ รรยาย ๓. สรา้ งแบบจำลองท่ีบรรยายวัฏจกั ร

โดยการดูแล สว่ นต่างๆ อยา่ ง วัฎจักรชีวิตของพืชดอก ชวี ติ ของสัตวแ์ ละ เปรียบเทียบ วัฏจกั ร

ถูกต้อง ใหป้ ลอดภยั และรักษา ชีวติ ของ สัตว์บางชนดิ

ความ สะอาดอย่เู สมอ ๔. ตระหนักถึงคุณคา่ ของชีวิตสัตว์

โดยไมท่ ำให้วฏั จักรชีวติ ของสัตว์

เปลี่ยนแปลง

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

๑. บรรยายหนา้ ท่ี ของราก ลำ ๑. ระบสุ ารอาหารและบอกประโยชน์

ต้น ใบและดอกของพืชดอกโดย ของ สารอาหารแต่ละ ประเภทจาก

ใช้ขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้ อาหารทีต่ นเองรับประทาน

๒. บอกแนวทางในการเลือก

รบั ประทาน อาหารใหไ้ ดส้ ารอาหาร

ครบถว้ นในสดั สว่ นที่ เหมาะสมกบั เพศ

และวยั รวมท้ังความปลอดภยั ตอ่

สขุ ภาพ

๓. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของ

สารอาหาร โดยการเลอื กรับประทาน

อาหารท่ีมสี ารอาหาร ครบถว้ นใน

สดั สว่ นทเ่ี หมาะสมกับเพศ และวยั

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

๒๖

ตัวชี้วัดชั้นปี

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

รวมทัง้ ปลอดภัยต่อสุขภาพ

๔. สรา้ งแบบจำลอง ระบบย่อยอาหาร

และบรรยายหนา้ ท่ีของอวยั วะในระบบ

ย่อยอาหาร รวมท้ัง อธิบายการยอ่ ย

อาหารและการ ดูดซึมสารอาหาร

๕. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของระบบ

ยอ่ ยอาหาร โดยการบอก แนวทางใน

การดูแลรักษาอวัยวะในระบบยอ่ ย

อาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๒๗

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม

การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ ของส่ิงมีชีวิต

รวมทงั้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตัวชว้ี ัดช้ันปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

- ๑. เปรยี บเทียบ ลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวิต

และส่ิงไมม่ ีชวี ติ จากข้อมลู ทรี่ วบรวมได้

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

๑. จำแนกส่งิ มีชีวิตโดยใชค้ วามเหมอื น ๑. อธิบายลักษณะทางพนั ธุกรรมท่ีมกี าร -

และความแตกต่างของลักษณะของ ถา่ ยทอดจากพอ่ แมส่ ูล่ กู ของพืช สัตว์

ส่งิ มีชีวติ ออกเป็น กลมุ่ พชื กลุ่มสัตว์ และ และมนษุ ย์

กล่มุ ที่ไมใ่ ช่พชื และสัตว์ ๒. แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดยการ

๒. จำแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและพชื ไม่มี ถามคำถามเกยี่ วกบั ลกั ษณะท่ีคลา้ ยคลึง

ดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ กนั ของตนเองกบั พอ่ แม่

ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้

๓. จำแนกสัตวอ์ อกเปน็ สตั ว์มีกระดูกสนั

หลังและสัตวไ์ มม่ ีกระดกู สันหลัง โดยใช้

การมกี ระดกู สนั หลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้

ข้อมลู ทีร่ วบรวมได้

๔. บรรยายลักษณะ เฉพาะท่ีสังเกตได้

ของสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั ในกล่มุ ปลา กลุ่ม

สัตว์สะเทนิ นา้ สะเทินบก กลุม่

สัตว์เลือ้ ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั ว์

เลย้ี งลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่าง

สง่ิ มชี วี ิตในแตล่ ะกลุ่ม

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๒๘

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิด

สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ตัวชีว้ ัดช้ันปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑. อธบิ ายสมบตั ิท่ีสงั เกตไดข้ อง ๑. เปรียบเทียบสมบตั ิการดดู ซบั น้ำ ๑. อธิบายว่าวัตถุประกอบข้ึนจาก

วัสดทุ ีใ่ ช้ทำวตั ถซุ ง่ึ ทำจากวสั ดุ ของวัสดโุ ดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ชนิ้ สว่ น ย่อย ๆ ซึง่ สามารถแยก

ชนิดเดียวหรือหลายชนิด และระบุการนำสมบัติการดูดซบั น้ำ ออกจากกันได้และประกอบกัน

ประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง ของวัสดไุ ปประยุกตใ์ ช้ในการทำวตั ถุ เปน็ วัตถชุ น้ิ ใหม่ได้ โดยใชห้ ลักฐาน

ประจกั ษ์ ในชีวิตประจำวัน เชงิ ประจักษ์

๒. ระบชุ นิดของวัสดุและจัดกลุ่ม ๒. อธบิ ายสมบตั ทิ ่ีสังเกตได้ของวัสดุ ๒. อธิบายการเปล่ยี นแปลงของ

วสั ดตุ ามสมบตั ิทส่ี งั เกตได้ ที่เกิดจากการนำวสั ดุมาผสมกัน โดย วสั ดเุ มอื่ ทำใหร้ ้อนขน้ึ หรือทำให้

ใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิง

๓. เปรยี บเทยี บสมบัติทสี่ ังเกตไดข้ อง ประจักษ์

วสั ดเุ พอื่ นำมาทำเป็นวตั ถุในการใช้

งานตามวตั ถปุ ระสงค์ และอธิบาย

การนำวสั ดทุ ใ่ี ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่

โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

๔. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการนำ

วัสดุที่ใช้แลว้ กลับมาใชใ้ หม่ โดยการ

นำวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

๑. เปรยี บเทยี บสมบตั ิทาง ๑. อธบิ ายการเปลีย่ นสถานะ ของ ๑. อธิบายและเปรยี บเทียบการ

กายภาพ ดา้ นความแข็ง สภาพ สสารเม่อื ทำใหส้ สารร้อนข้ึนหรือเย็น แยกสารผสมโดยการหยบิ ออก

ยดื หยุน่ การนำความร้อน และ ลง โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ การรอ่ น การใช้แม่เหลก็ ดึงดดู

การนำไฟฟ้าของวสั ดุโดยใช้ ๒. อธิบายการละลายของสารในนำ้ การรนิ ออก การกรอง และการ

หลักฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการ โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ตกตะกอน โดยใชห้ ลักฐานเชิง

ทดลองและระบุการนำสมบตั ิ ๓. วเิ คราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงของ ประจักษ์ รวมท้ังระบุวิธีแกป้ ัญหา

เร่ืองความแข็ง สภาพยืดหยนุ่ สารเมอื่ เกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี ในชีวิตประจำวันเกยี่ วกับการแยก

การนำความร้อน และการนำ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ สาร

ไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ใน

ชีวิตประจำวนั ผ่านกระบวนการ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

ตัวชวี้ ดั ช้นั ปี ๒๙
ป. ๖
ป. ๔ ป. ๕

ออกแบบช้ินงาน ๔. วเิ คราะหแ์ ละระบุการ

๒. แลกเปลยี่ นความคดิ กับผู้อ่ืน เปลย่ี นแปลงทผี่ ันกลับได้และการ

โดยการอภิปรายเกย่ี วกับสมบัติ เปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับไม่ได้

ทางกายภาพของวัสดอุ ยา่ งมี

เหตผุ ลจากการทดลอง

๓. เปรียบเทยี บสมบตั ขิ องสสาร

ท้ัง ๓ สถานะ จากขอ้ มลู ทีไ่ ด้จาก

การสงั เกตมวล การต้องการที่อยู่

รปู ร่างและปริมาตรของสสาร

๔. ใชเ้ ครอ่ื งมอื เพื่อวัดมวล และ

ปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ

สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนที่
แบบ ตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวัดช้นั ปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

- - ๑. ระบุผลของแรงท่ีมีต่อการเปลย่ี นแปลง

การเคลอื่ นที่ของวัตถจุ ากหลักฐานเชงิ

ประจักษ์

๒. เปรียบเทียบและยกตวั อย่างแรงสมั ผัส

และแรงไมส่ ัมผัสท่มี ผี ลต่อการเคล่ือนท่ี

ของวตั ถุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์

๓. จำแนกวตั ถโุ ดยใชก้ ารดึงดูดกบั

แมเ่ หลก็ เปน็ เกณฑจ์ ากหลกั ฐานเชงิ

ประจกั ษ์

๔. ระบุขว้ั แมเ่ หล็กและพยากรณ์ผลที่

เกดิ ขึ้นระหว่างข้ัวแม่เหล็กเม่ือนำมาเข้า

ใกลก้ นั จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์

หลักสตู รสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๓๐

ป. ๔ ตวั ช้ีวัดช้นั ปี ป. ๖
๑. ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงทม่ี ีตอ่ ป. ๕ ๑. อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟา้
วตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ๑. อธบิ ายวธิ กี ารหาแรงลัพธ์ ซึง่ เกิดจากวตั ถทุ ผ่ี ่านการ ขัดถูโดยใช้
๒. ใชเ้ ครือ่ งชงั่ สปรงิ ในการวดั ของแรงหลายแรงในแนว หลักฐานเชงิ ประจักษ์
น้ำหนักของวตั ถุ เดียวกันทก่ี ระทำต่อวตั ถุใน
๓. บรรยายมวลของวตั ถทุ ม่ี ผี ล กรณที ี่วัตถุอยู่นิ่งจากหลกั ฐาน
ตอ่ การเปล่ยี นแปลงการเคลื่อนที่ เชงิ ประจกั ษ์
ของวตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ๒. เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ี
ประจักษ์ กระทำตอ่ วตั ถุทอ่ี ยู่ในแนว
เดยี วกนั และแรงลัพธ์ทกี่ ระทำ
ต่อวตั ถุ
๓. ใชเ้ ครื่องช่งั สปรงิ ในการวดั
แรงท่กี ระทำต่อวัตถุ
๔. ระบผุ ลของแรงเสียดทานที่
มีต่อการเปล่ยี นแปลงการ
เคลอื่ นที่ของวัตถุจากหลกั ฐาน
เชิงประจักษ์
๕. เขียนแผนภาพแสดงแรง
เสยี ดทานและแรงท่ีอยู่ในแนว
เดยี วกนั ทก่ี ระทำต่อวัตถุ

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๓เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์

ระหว่างสสาร และพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ เี่ กีย่ วข้องกับเสียง

แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัดช้นั ปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑. บรรยายการเกิดเสยี งและทิศ ๑. บรรยายแนวการเคล่อื นท่ี ๑. ยกตัวอย่างการเปลยี่ นพลงั งานหนงึ่ ไป

ทางการเคลือ่ นที่ของเสยี งจาก ของแสงจากแหลง่ กำเนิดแสง เป็นอีกพลงั งานหน่งึ จากหลกั ฐานเชิง

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ และอธบิ ายการมองเหน็ วัตถุ ประจกั ษ์

จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ๒. บรรยายการทำงานของเครื่องกำเนิด

ไฟฟ้าและระบแุ หลง่ พลังงานในการผลติ

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๓๑

ป. ๑ ตัวชี้วดั ช้ันปี ป. ๓
ป. ๒ ไฟฟ้าจากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้
ป. ๔ ๒. ตระหนักในคณุ ค่าของ ๓. ตระหนักในประโยชนแ์ ละโทษของ
๑. จำแนกวัตถุเป็นตวั กลาง ความรู้ของการมองเหน็ โดย ไฟฟา้ โดยนำเสนอวิธกี ารใช้ไฟฟ้าอย่าง
โปรง่ ใส ตัวกลางโปรง่ แสง และ เสนอแนะแนวทางการป้องกนั ประหยัดและปลอดภัย
วัตถุทึบแสง จากลักษณะการ อนั ตรายจากการมองวตั ถุท่ีอยู่
มองเห็นส่ิงตา่ ง ๆ ผ่านวตั ถุน้ัน ในบรเิ วณที่มีแสงสวา่ งไม่ ป. ๖
เปน็ เกณฑ์โดยใช้หลักฐานเชงิ เหมาะสม ๑. ระบสุ ว่ นประกอบและบรรยายหนา้ ที่
ประจกั ษ์ ป. ๕ ของแต่ละสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า
๑. อธบิ ายการได้ยินเสียงผ่าน อย่างงา่ ยจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
ตัวกลางจากหลกั ฐานเชงิ ๒. เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่าง
ประจักษ์ งา่ ย
๒. ระบุตวั แปร ทดลองและ ๓. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ย
อธิบายลกั ษณะและการเกิด วิธที ีเ่ หมาะสมในการอธิบายวิธกี ารและผล
เสียงสงู เสยี งต่ำ ของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม ๔.
๓. ออกแบบการทดลองและ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรขู้ องการ
อธบิ ายลกั ษณะและการเกิด ตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรมโดยบอก
เสยี งดงั เสยี งคอ่ ย ประโยชน์และการประยกุ ต์ใชใ้ น
๔. วัดระดบั เสยี งโดยใช้ ชวี ิตประจำวนั
เครอ่ื งมอื วัดระดับเสยี ง ๕. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ย
๕. ตระหนักในคณุ คา่ ของ วธิ ีท่เี หมาะสมในการอธิบายการต่อหลอด
ความรู้เรื่องระดบั เสียงโดย ไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน
เสนอแนะแนวทางในการ ๖. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรขู้ อง
หลกี เลย่ี งและลดมลพิษทาง การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบ
เสียง ขนาน โดยบอกประโยชน์ ขอ้ จำกัด และ
การประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
๗. อธบิ ายการเกิด เงามดื เงามวั จาก
หลักฐานเชิงประจักษ์
๘. เขยี นแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการ
เกดิ เงามืดเงามัว

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

๓๒

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาว

ฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

อวกาศ

ตวั ชว้ี ัดช้นั ปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑.ระบุดาวท่ปี รากฏบนท้องฟ้า ๑. อธิบายแบบรูป เส้นทางการ

ในเวลากลางวนั และกลางคืน ขนึ้ และตกของ ดวงอาทิตย์โดย

จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้ ใชห้ ลักฐานเชิง ประจกั ษ์

๒. อธบิ ายสาเหตทุ ม่ี องไมเ่ ห็น ๒. อธิบายสาเหตุการเกิด

ดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวัน ปรากฏการณ์ การขน้ึ และตก

จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ของดวงอาทติ ย์ การเกดิ

กลางวัน กลางคนื และการ

กำหนดทศิ โดยใช้ แบบจำลอง

๓. ตระหนักถึง ความสำคัญของ

ดวงอาทติ ย์ โดย บรรยาย

ประโยชนข์ องดวงอาทิตยต์ ่อ

ส่ิงมีชวี ิต

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

๑. อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการ ๑. เปรยี บเทยี บความแตกต่าง ๑. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบาย

ขนึ้ และตกของ ดวงจนั ทร์ โดย ของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การเกดิ และเปรียบเทยี บ

ใช้ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ จากแบบจำลอง ปรากฏการณ์ สุริยุปราคาและ

๒. สร้างแบบจำลองท่ี อธิบาย ๒. ใชแ้ ผนท่ีดาวระบตุ ำแหนง่ จันทรุปราคา

แบบรปู การเปล่ยี นแปลง และเสน้ ทาง การขนึ้ และตกของ ๒. อธบิ าย พัฒนาการ ของ

รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ กลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า และ เทคโนโลยี อวกาศ และ

และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของ อธิบาย แบบรปู เสน้ ทางการข้ึน ยกตวั อยา่ งการนาเทคโนโลยี

ดวงจันทร์ และตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ น อวกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ น

๓. สร้างแบบจำลอง แสดง ทอ้ งฟา้ ในรอบปี ชวี ติ ประจำวนั จากขอ้ มูลท่ี

องคป์ ระกอบ ของระบบสรุ ยิ ะ รวบรวมได้

และอธบิ าย เปรียบเทียบคาบ

การโคจรของ ดาวเคราะห์

ต่าง ๆ จากแบบจำลอง

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด

๓๓

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และ

บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้ง ผลต่อสิ่งมีชีวิตและ

ส่งิ แวดลอ้ ม

ตวั ชว้ี ัดชั้นปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑. อธิบายลักษณะภายนอกของ ๑. ระบุส่วนประกอบของดนิ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของ

หินจากลกั ษณะเฉพาะตัวท่ี และจำแนกชนดิ ของดนิ โดยใช้ อากาศ บรรยายความสำคญั

สงั เกตได้ ลกั ษณะเนอื้ ดินและการจับตัว ของอากาศ และผลกระทบของ

เป็นเกณฑ์ มลพษิ ทางอากาศ ตอ่ สิง่ มชี ีวิต

๒. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ าก จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้

ดนิ จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ ๒. ตระหนักถึงความสำคัญของ

อากาศ โดยนาเสนอแนว

ทางการปฏิบตั ติ นในการลดการ

เกิดมลพิษทางอากาศ

๓. อธิบายการเกิดลมจาก

หลักฐานเชิงประจักษ์

๔. บรรยายประโยชน์และโทษ

ของลมจากข้อมูลท่รี วบรวมได้

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

- ๑. เปรยี บเทยี บปรมิ าณนำ้ ใน ๑. เปรยี บเทียบกระบวนการ

แตล่ ะแหลง่ และระบุปริมาณน้ำ เกิดหนิ อัคนี หินตะกอน และ

ที่มนษุ ยส์ ามารถนำมาใช้ หนิ แปร และอธบิ าย วฏั จกั รหิน

ประโยชน์ได้ จากข้อมูลที่ จากแบบจำลอง

รวบรวมได้ ๒. บรรยายและยก ตัวอย่างการ

ใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ใน

๒. ตระหนักถึงคุณค่าของนำ้ ชีวติ ประจำวันจากข้อมลู ท่ี

โดยนำเสนอแนวทาง การใชน้ ำ้ รวบรวมได้

อย่างประหยดั และการอนุรักษ์ ๓. สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธิบาย

น้ำ การเกิดซากดึกดำบรรพ์และ

๓. สรา้ งแบบจำลองท่อี ธบิ าย คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดตี

การหมุนเวียนของน้ำในวฏั จกั ร ของซากดึกดำบรรพ์

น้ำ

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๓๔

ตวั ชี้วัดช้นั ปี

ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

๔. เปรียบเทียบกระบวนการ ๔. เปรียบเทยี บการเกดิ ลมบก

เกิดเมฆ หมอก น้ำคา้ ง และ ลมทะเล และมรสุม รวมทัง้

นำ้ ค้างแข็ง จากแบบจำลอง อธิบายผลทีม่ ีต่อส่งิ มชี วี ิตและ

๕. เปรยี บเทียบกระบวนการ ส่งิ แวดล้อมจากแบบจำลอง

เกดิ ฝน หิมะ และลูกเหบ็ จาก ๕. อธิบายผลของมรสมุ ต่อการ

ขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ เกิดฤดูของประเทศไทย จาก

ข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

๖. บรรยายลกั ษณะและ

ผลกระทบของน้ำทว่ ม การกดั

เซาะชายฝั่งดินถล่ม แผ่นดนิ ไหว

สนึ ามิ

๗. ตระหนักถงึ ผลกระทบของ

ภยั ธรรมชาติและธรณพี ิบัติภัย

โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้า

ระวงั และปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภัย

จากภยั ธรรมชาติและธรณพี บิ ัติ

ภยั ทอี่ าจเกิดในท้องถน่ิ

๘. สรา้ งแบบจำลองทีอ่ ธบิ าย

การเกิดปรากฏการณ์เรอื น

กระจกและผลของปรากฏการณ์

เรอื นกระจกต่อสงิ่ มชี ีวติ

๙. ตระหนกั ถึงผลกระทบของ

ปรากฏการณ์เรือนกระจกโดย

นำเสนอแนวทาง การปฏิบตั ติ น

เพ่อื ลดกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดแก๊ส

เรอื นกระจก

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด

๓๕

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนา
งาน อย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดย
คำนึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม

ตัวชว้ี ดั ชัน้ ปี
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

---
ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖

---

สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเปน็

ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ รเู้ ท่าทันและมีจริยธรรม

ตัวชว้ี ัดชนั้ ปี

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓

๑. แกป้ ัญหาอยา่ งง่าย โดยใชก้ าร ๑. แสดงลำดับขน้ั ตอนการทำงาน ๑. แสดงอัลกอรทิ ึมในการทางาน

ลองผดิ ลองถูก การเปรียบเทียบ หรอื การแกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใช้ หรือการแกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใช้

๒. แสดงลำดบั ข้นั ตอนการทำงาน ภาพ สัญลกั ษณ์ หรือข้อความ ภาพ สญั ลักษณ์ หรือข้อความ

หรอื การแกป้ ญั หาอย่างงา่ ย โดยใช้ ๒. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ๒. เขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใช้

ภาพ สญั ลักษณ์ หรือข้อความ ซอฟตแ์ วรห์ รอื สอื่ และตรวจหา ซอฟต์แวรห์ รือสือ่ และตรวจหา

๓. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ ข้อผิดพลาดของโปรแกรม ขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม

ซอฟตแ์ วร์ หรอื สอื่ ๓. ใชเ้ ทคโนโลยีในการสร้าง จัด ๓. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ คน้ หาความรู้

๔. ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสร้าง หมวดหมู่ คน้ หา จดั เก็บ เรียกใช้ ๔. รวบรวม ประมวลผล และ

จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมลู ตาม ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ๔. ใช้ นำเสนอข้อมลู โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ตาม

วัตถุประสงค์ เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง วัตถปุ ระสงค์

๕. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย ปฏบิ ัติ ตามขอ้ ตกลงใน ๕. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง

ปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงใน การใช้คอมพิวเตอร์ ร่วมกนั ดูแล ปลอดภัย ปฏบิ ัติตามข้อตกลงในการ

การใชค้ อมพวิ เตอรร์ ่วมกันดูแล รักษา อปุ กรณเ์ บื้องต้น ใชง้ าน ใช้อินเทอร์เน็ต

รกั ษาอปุ กรณเ์ บ้อื งต้น ใชง้ านอยา่ ง อย่าง เหมาะสม

เหมาะสม

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

๓๖

ป. ๔ ตัวช้วี ัดช้ันปี ป. ๖
๑. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการ ป. ๕ ๑. ใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการอธบิ าย
แกป้ ัญหา การอธบิ ายการทำงาน และ ออกแบบวิธกี าร แกป้ ัญหาทพี่ บ
การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา ๑. ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการ ใน ชวี ติ ประจำวนั
อย่างงา่ ย แก้ปญั หา การอธบิ าย การงาน ๒. ออกแบบและเขยี นโปรแกรม
๒. ออกแบบ และเขียนโปรแกรม การคาดการณผ์ ลลพั ธ์จากปัญหา อยา่ งงา่ ยเพ่ือแกป้ ัญหาในชีวติ
อยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื สื่อ อยา่ งงา่ ย ประจำวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของ
และตรวจหาขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข ๒. ออกแบบและเขยี น โปรแกรมท่ี โปรแกรมและแก้ไข
๓. ใช้อินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ มีการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะอยา่ งง่าย ๓. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ในการคน้ หาข้อมลู
และประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของ ตรวจหาข้อผดิ พลาดและแก้ไข อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ขอ้ มลู ๓. ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตคน้ หาขอ้ มูล ๔. ใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ ทำงาน
๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ติดตอ่ ส่อื สาร และทำงานร่วมกนั ร่วมกันอยา่ งปลอดภยั เขา้ ใจสิทธิ
ขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยใช้ ประเมินความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู และหนา้ ท่ีของตน เคารพในสิทธขิ อง
ซอฟต์แวรท์ หี่ ลากหลาย เพ่ือ ๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอ ผูอ้ นื่ แจ้งผเู้ กี่ยวข้องเมื่อพบข้อมลู
แก้ปญั หาในชีวิตประจำวัน ขอ้ มูลและสารสนเทศ ตาม หรอื บคุ คลท่ีไม่เหมาะสม
๕. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง วตั ถุประสงคโ์ ดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือ
ปลอดภัย เขา้ ใจ สทิ ธิและหน้าที่ บรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ที่
ของตน เคารพใน สทิ ธขิ องผู้อื่น หลากหลาย เพ่ือ แก้ปัญหาใน
แจ้งผเู้ ก่ียวข้องเม่ือพบขอ้ มูลหรอื ชีวิตประจำวนั
บคุ คลที่ ไมเ่ หมาะสม ๕. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
ปลอดภยั มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิ
และหนา้ ท่ีของตน เคารพในสทิ ธิ
ของผู้อ่นื แจ้งผเู้ กีย่ วข้อง เม่ือพบ
ข้อมลู หรือบุคคล ท่ีไมเ่ หมาะสม

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ช้ันประถมศกึ ษ

สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหว่างส
ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลยี่ นแปลงแทนท่ใี นระบบนิเวศ ความ
ส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสิ่งแวด

รหสั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ตัวชวี้ ัด
ว ๑.๑ ๑. ระบุชอ่ื พืชและ -บรเิ วณต่าง ๆ ในทอ้ งถ่นิ เช่น สนามหญ้า ใต้ตน้ ไม
ป.๑/๑ สตั ว์ท่อี าศัยอยู่ นำ้ อาจพบพืชและสตั วห์ ลายชนิดอาศัยอยู่
-บรเิ วณทแี่ ตกต่างกันอาจพบพชื และสตั วแ์ ตกต่างก
บรเิ วณตา่ ง ๆ จาก สภาพแวดลอ้ มของแต่ละบริเวณจะมี ความเหมาะ
ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้ ของพืชและสตั ว์ ท่ีอาศัยอย่ใู นแตล่ ะบรเิ วณ เช่น ส
อาศยั ของหอย ปลา สาหร่าย เป็นทีห่ ลบภัยและม
ว ๑.๑ ๒. บอก หอยและปลา บรเิ วณต้นมะม่วงมี ตน้ มะมว่ งเป็นแ
ป.๑/๒ สภาพแวดลอ้ มท่ี อาหารสำหรับกระรอกและมด
- ถา้ สภาพแวดลอ้ มในบริเวณท่ีพืชและสัตว์อาศัยอ
เหมาะสมกบั การ จะมผี ลตอ่ การดำรงชวี ติ ของพืชและสัตว์
ดำรงชีวติ ของสัตวใ์ น
บริเวณที่อาศัยอยู่

งและสาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น
ษาปีที่ ๑

สิ่งไม่มชี ีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง
มหมายของประชากรปญั หาและผลกระทบทีม่ ีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
ดลอ้ มรวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

ม้ สวนหยอ่ ม แหล่ง -สำรวจ สงั เกต และรวบรวมพชื และสัตวท์ ี่พบบริเวณสนาม

หญา้ สวนหยอ่ มและบรเิ วณริมฝั่งคลองภายในโรงเรียน และ

กัน เพราะ พ้ืนทีใ่ กลเ้ คียงที่อยู่อาศัย

ะสมตอ่ การดำรงชวี ติ

สระน้ำ มนี ้ำเป็นท่อี ยู่

มี แหล่งอาหารของ -ตรวจสอบ และระบุส่งิ มชี ีวติ ท่ีพบบรเิ วณสนามหญ้า

แหล่งที่อยู่ และมี สวนหย่อมและบริเวณริมฝัง่ คลองภายในโรงเรยี น และพ้ืนที่

ใกล้เคยี งที่อยู่อาศัย

อยมู่ ีการเปลี่ยนแปลง -ระบุปัญหา เสนอแนวทางในการแก้ไข และอนุรักษท์ รัพยากร

ของท้องถน่ิ ของตน

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของส่งิ มีชีวิต หนว่ ยพ้นื ฐานของสงิ่ มีชวี ิต การลำเล
ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท
ประโยชน์

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวัด สาระการ
ว ๑.๒ ป.๑/๑ ๑. ระบุช่ือ บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าท่ี - มนษุ ยม์ ีส่วนตา่ ง
ของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ สตั ว์ แตกตา่ งกนั เพื่อให
และพืช รวมทั้งบรรยายการทำหนา้ ที่ เช่น ตามีหน้าท่ี ไวม้
ร่วมกัน ของสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ตาเพ่ือปอ้ งกันอันต
ในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ จากข้อมูลท่ี ฟงั เสยี ง โดยมใี บหแู
รวบรวมได้ ของเสียง ปากมหี น
และมรี ิมฝีปากบนล
หยิบ จับ มีท่อนแข
สมอง มหี นา้ ท่ีควบ
ๆ ของร่างกาย เปน็
โดยสว่ นตา่ ง ๆ ของ
รว่ มกันในการทำกิจ
- สัตวม์ หี ลายชนิด
มีลกั ษณะและหนา้ ท
เหมาะสม ในการดำ

๓๗

ลียงสารผ่านเซลล์ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ขี องระบบต่าง ๆ
ที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กันรวมทั้งนำความรู้ไปใช้

รเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน

ๆ ทม่ี ลี กั ษณะและหน้าท่ี -ระบุสว่ นประกอบ และบอกหน้าที่ของ

ห้เหมาะสมในการดำรงชวี ิต อวัยวะภายนอกของสัตว์ตา่ งๆที่พบเหน็ ใน

มองดู โดยมีหนงั ตาและขน ชีวติ ประจำวัน

ตรายให้กบั ตา หูมีหนา้ ทีร่ ับ

และรหู ู เพื่อเปน็ ทางผา่ น

น้าทพี่ ูด กินอาหาร มีชอ่ งปา

ลา่ ง แขนและมอื มีหน้าทีย่ ก

ขนและนวิ้ มือทขี่ ยับได้

บคุมการทำงานของส่วนตา่ ง

นกอ้ นอยู่ในกะโหลกศรี ษะ

งรา่ งกายจะทำหน้าท่ี

จกรรม ในชีวิตประจำวัน

แตล่ ะชนิดมีส่วนต่าง ๆ ที่

ท่แี ตกต่างกัน เพื่อให้

ำรงชีวติ เชน่ ปลามีครีบ

หลกั สตู รสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านชะอวด

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวช้ีวัด สาระการ
ว ๑.๒ ป.๑/๒ เป็นแผ่น ส่วนกบ เ
๒. ตระหนักถงึ ความสำคญั ของส่วนต่าง ๆ เทา้ สำหรับใชใ้ นกา
ของรา่ งกายตนเอง โดยการดูแลสว่ นตา่ ง ๆ - พชื มีส่วนตา่ ง ๆ ท
อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภยั และรกั ษา ความ แตกตา่ งกนั เพื่อให
สะอาดอยู่เสมอ โดยท่วั ไป รากมีลัก
แขนงเป็นรากเล็ก ๆ
ลกั ษณะเปน็ ทรงกร
ทำหนา้ ทีช่ กู ิง่ กา้ น ใ
เปน็ แผ่นแบน ทำห
นอกจากน้ีพชื หลาย
รูปร่างต่าง ๆ ทำหน
มเี ปลอื ก มีเนือ้ ห่อห
สามารถงอกเป็นต้น
- มนุษย์ใช้สว่ นตา่ ง
กิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือ
ควรใชส้ ว่ นตา่ ง ๆขอ
ปลอดภยั และรกั ษ
เช่น ใชต้ ามองตวั หน
เพยี งพอ ดูแลตาให
และรักษาความสะอ

๓๘

รเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
เต่า แมว มขี า ๔ ขาและมี
ารเคลื่อนท่ี -
ทมี่ ลี กั ษณะและหน้าท่ี
หเ้ หมาะสมในการดำรงชวี ติ
กษณะเรียวยาว และแตก
ๆ ทำหนา้ ท่ีดูดนำ้ ลำต้นมี
ระบอกต้ังตรงและมีกิ่งกา้ น
ใบ และดอก ใบมลี กั ษณะ
หนา้ ท่ีสรา้ งอาหาร
ยชนิดอาจมีดอกที่มีสี
น้าทส่ี ืบพันธ์ุ รวมทัง้ มีผลที่
หมุ้ เมล็ด และมีเมลด็ ซง่ึ
นใหม่ได้
ง ๆ ของรา่ งกายในการทำ
อการดำรงชวี ติ มนษุ ย์จงึ
องรา่ งกายอยา่ งถูกต้อง
ษา ความสะอาดอยู่เสมอ
นงั สือในท่ี ๆ มีแสงสวา่ ง
หป้ ลอดภัยจากอนั ตราย
อาดตาอยู่เสมอ

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทา

ส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของสิ่งมชี ีวิต รวมท้งั นำควา

รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชีว้ ัด สาระการ

--

สาระท่ี ๒วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะห
และธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเก

รหัสตวั ช้ีวัด ตัวช้ีวดั สาระ
ว ๒.๑ ป.๑/๑ ๑. อธบิ ายสมบัติทสี่ งั เกตไดข้ องวัสดุท่ีใช้ทำ -วัสดุทใ่ี ช้ทำวัตถทุ เ่ี
วตั ถุซ่ึงทำจากวัสดชุ นิดเดียว หรอื หลาย เชน่ ผ้า แก้ว พลาส
ว ๒.๑ ป.๑/๒ ชนิดประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง วัสดแุ ต่ละชนิดมีสม
ประจกั ษ์ แข็ง ขรุขระ เรียบ ใ
๒. ระบชุ นิดของวสั ดุและจัดกลมุ่ วสั ดตุ าม - สมบตั ิท่สี ังเกตไดข้
สมบัติทส่ี งั เกตได้ สามารถนำมาใชเ้ ป
วสั ดบุ างอยา่ งสามา
วัตถตุ า่ ง ๆ เชน่ ผ้า
ใชท้ ำกระทะ

๓๙

างพันธกุ รรม สารพนั ธุกรรม การเปลีย่ นแปลงทางพันธกุ รรมทม่ี ีผลต่อ

ามรู้ไปใชป้ ระโยชน์

รเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถิน่

--

หว่างสมบัตขิ องสสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลัก
กดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

ะการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
เปน็ ของเล่น ของใช้ มหี ลายชนดิ -อธบิ ายสมบตั ิของวัสดุทใ่ี ช้ทำ
สตกิ ยาง ไม้ อฐิ หนิ กระดาษ โลหะ อุปกรณ์และเครื่องมือในการประมง
มบัตทิ ่ีสงั เกตไดต้ ่าง ๆ เชน่ สี นุ่ม
ใส ขุน่ ยืดหดได้ บดิ งอได้
ของวสั ดแุ ตช่ นดิ อาจเหมือนกัน ซ่งึ
ป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มวัสดุได้
ารถนำมาประกอบกนั เพือ่ ทำเป็น
าและกระดุม ใชท้ ำเสอ้ื ไมแ้ ละโลหะ

หลกั สตู รสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบา้ นชะอวด

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อ
ประโยชน์

รหสั ตัวชี้วดั ตวั ชว้ี ดั สาระการ
- -

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒. ๓เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอน
วนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณท์ ี่เกี่ยวข้องกบั เสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ

รหัสตัวชี้วดั ตวั ชว้ี ัด สาระการ
ว ๒.๓ ป.๑/๑ ๑. บรรยายการเกิดเสยี งและทิศทาง การ -เสียงเกิดจากการส
เคลอื่ นท่ีของเสยี งจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ เสียงเป็นแหลง่ กำเน

แหล่งกำเนดิ เสยี งต
แหล่งกำเนดิ เสียงท
เคลอื่ นท่ีออกจากแ

๔๐

อวัตถุ ลักษณะการเคล่อื นทีแ่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้

รเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่
- -

นพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจา
ฟ้า รวมท้ังนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

รเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

ส่นั ของวตั ถุ วตั ถทุ ี่ทำให้เกิด -จำแนกแหลง่ ที่มาของเสยี งรอบ ๆ โรงเรียน

นิดเสยี งซ่งึ มีทงั้ เชน่ กจิ กรรมฟังเสยี งสัตว์ เสยี งลมพดั รถวิ่ง

ตามธรรมชาตแิ ละ

ท่ีมนษุ ยส์ ร้างขึน้ เสียง

แหล่งกำเนดิ เสียงทกุ ทิศทาง

หลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านชะอวด

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการข
ระบบสุรยิ ะที่สง่ ผลต่อส่ิงมีชีวิตและการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชีว้ ดั สาระ
ว ๓.๑ ป.๑/๑ ๑. ระบดุ าวที่ปรากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลา - บนทอ้ งฟ้ามดี วงอ
กลางวนั และกลางคนื จากขอ้ มลู ท่รี วบรวม เวลากลางวันจะมอ
ว ๓.๑ ป.๑/๒ ได้ ดวงจันทร์บางเวลา
๒. อธบิ ายสาเหตทุ ่ีมองไม่เหน็ ดาวส่วนใหญ่ ดาว
ในเวลากลางวนั จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ -ในเวลากลางวันม
แสงอาทิตย์สว่างกว
กลางคืนจะมองเหน็
ทุกคืน

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวน

เปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลกรวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม

รหัสตวั ชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการ

ว ๓.๒ ป.๑/๑ ๑. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของหิน จาก -หนิ ทีอ่ ยู่ในธรรมชำ

ลักษณะเฉพาะตวั ทสี่ งั เกตได้ ตวั ที่สงั เกตได้ เช่น

ความแขง็ และเน้ือ

๔๑

ของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายใน

ะการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่ิน
อาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ซงึ่ ใน -
องเห็นดวงอาทติ ย์และอาจมองเห็น
าในบางวัน แตไ่ ม่สามารถมองเหน็ -

มองไม่เห็นดาวส่วนใหญเ่ นื่องจาก
วา่ จงึ กลบแสงของดาว สว่ นในเวลา
นดาวและมองเหน็ ดวงจันทร์ เกือบ

นการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ



รเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น

ำตมิ ีลักษณะภายนอกเฉพา -สังเกตลกั ษณะของหนิ ท่ีพบบริเวณต่างๆหน้า

น สี ลวดลาย นำ้ หนัก โรงเรียนและในโรงเรียน

อหนิ

หลักสตู รสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่ม
คณิตศาสตร์ และศาสตร์อืน่ ๆ เพอ่ื แก้ปญั หา หรอื พัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างส
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม

รหสั ตัวชี้วดั ตัวชีว้ ัด สาระการ
- -

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชวี ติ จริง

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา

รหัสตัวชี้วัด ตวั ชวี้ ดั

ว ๔.๒ ป.๑/๑ ๑. แกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใชก้ ารลองผดิ - การแกป้ ัญหาให้ป

ลองถูก การเปรยี บเทียบ - ปัญหาอย่างงา่ ย

หนงั สือใสก่ ระเป๋า

ว ๔.๒ ป.๑/๒ ๒. แสดงลำดับข้นั ตอนการทำงาน หรอื - การแสดงขนั้ ตอน

การแกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใช้ภาพ หรอื ใชส้ ัญลกั ษณ์

สญั ลักษณ์ หรอื ข้อความ - ปัญหาอยา่ งง่าย เ

หนงั สอื ใสก่ ระเป๋า

ว ๔.๒ ป.๑/๓ ๓. เขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ - การเขยี นโปรแกร

ซอฟต์แวร์หรือสือ่ ทำงาน

๔๒

มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
สรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้

รเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน
- -

งอย่างเป็นขนั้ ตอนและเป็นระบบ สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ
าไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ รูเ้ ท่าทัน และมจี ริยธรรม -

สาระการเรียนร้แู กนกลาง
ประสบความสำเร็จทำไดโ้ ดยใชข้ ้นั ตอนการแกป้ ญั หา
เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกตา่ งของภาพการจดั

นการแก้ปญั หาทำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ -

เชน่ เกมเขาวงกต เกมหาจดุ แตกต่างของภาพ การจัด

รมเปน็ การสรา้ งลำดับของคำสง่ั ให้คอมพิวเตอร์ -

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นบา้ นชะอวด


Click to View FlipBook Version