หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
อาชีวอนามยั ลความปลอดภยั (Occupational Health and Safety)รหสั วิชา 20001-1001 (2-0-2)
ตารางวเิ คราะหห์ น่วยการเรยี นรู้ตามจุดประสงคร์ ายวชิ าและสมรรถนะรายวิชา
จุดประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้
1. เขา้ ใจหลักการและกระบวนการจดั การเก่ียวกับอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในการปฏบิ ตั กิ ารอาชพี
2. สามารถดาเนินการเบอ้ื ยงตน้ ในการควบคุมและป้องมลพิษ โรคและอุบัติภยั ทเี่ กดิ จากการทางาน
3. สามารถปรับปรุงสภาพการทางานตามหลักการยศาสตร์ อาชีวอนามัยและความปลอดภยั
4. มีจิตสานกึ และกจิ นิสยั ทดี่ ใี นการปฏบิ ตั ิงานอาชีพตามหลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภัย
สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั หลกั การจดั การ คงบคมุ ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดอภยั ใน
การปฏิบัตงิ านอาชพี
2. วางแผนการดาเนนิ การเบอ้ื งตน้ ในการควบคมุ และป้องกันมลพษิ โรคและอบุ ตั ิภยั ทเ่ี กดิ จากการทางาน
3. วางแผนปรบั ปรงุ สภาพการทางานตามหลกั การยศาสตร์ อาชีวอนามยั และความปลอดภยั
4. อ่านและปฏบิ ตั ติ ามเคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ความปลอดภยั
5. เลอื กใชเ้ ครอื่ งป้องกันอนั ตรายตามสถานการณ์
6. ปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ตามหลกั การและกระบวนการ
ชือ่ หนว่ ย จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรรถนะรายวชิ า
1 2 3 4 1 2345 6
1.หลกั อาชีพอนามยั และความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ านอาชีพ
2. ปัญหามลพษิ
3.โรคและอบุ ัตภิ ัยทีเ่ กิดจากการทางาน
4.การป้องกันและควบคุมมลพษิ ในทีท่ างาน
5.การปรบั ปรุงสภาพการทางานตามหลักการยศาสตร์
6.การจัดการอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เบ้ืองต้น
7.เคร่ืองหมายและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั
8.เครือ่ งป้องกนั อันตราย
9.การปฐมพนาบาลเบ้ืองต้น
10.กฏหมายและหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ งกับงานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั
1
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
คานา
นกั ศึกษาเทคนคิ นนทบุรี สาขาคอมพวิ เตอร์ไดจ้ ัดทา E-BOOK วิชาธุรกิจอาชวี อนามยั
และความปลอดภยั (Occupational Health and Safety) รหัสวชิ า 20001-1001 ขึน้ เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษา
การเรยี นการสอนใหส้ ะดวกสบายสาหรับการเรียนการสอนและทาใหค้ วามรู้เร่ืองอนามัยและความปลอดภยั
ในการทางานและการปอ้ งกันสงิ่ ตา่ งๆจากาการทางานและอุบตั ิเหตจุ ากการทางานและส่งิ ทจ่ี ะเกดิ ขึ้นจาก
การทางานวิธีป้องกันและรกั ษาขอ้ ควรระวงั และเคร่อื งหมายเตือนอีกเพ่ือให้นักศึกษาและไดม้ คี วามรเู้ ม่ือถงึ
ตอนทางานจะไดป้ ฏบิ ัติ แก้ไข ป้องกนั และรักษาไดอ้ ย่างถูกวิธี
หวงั วา่ หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สเ์ รือ่ งอาชวี ะอนามัยและความปลอดภัยน้ผี ู้อา่ นจะสามารถนาไปเปน็
ประโยชน์และไปประยุกตไ์ ด้ในชวี ติ ประจาวันและถ้าหากมขี อ้ มลู ทีผ่ ดิ พลาดหรือรูปภาพประกอบนน้ั ไม่
ตรงกับความเป็นจรงิ ทางผจู้ ัดทาก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ดว้ ยและหวังว่าหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์นี้จะเป็นประโยชน์
ต่อผู้อา่ น และทางผจู้ ดั ทาก็ขอขอบคุณอยา่ งย่งิ ทห่ี นังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เร่ืองอาชวี ะอนามยั และความปลอดภัย
น้ีจะเปน็ ประโยขน์ตอ่ ผใู้ ช้และนาขอ้ มูลนไี้ ปใช้ในชวี ิตและเผยแพร่ความร้นู ต้ี ่อกนั ไป
2
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
สารบญั
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงานอาชพี
หลักอาชวี อนามัย
ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ านอาชพี
หลักการของความปลอดภัย
การสง่ เสริมความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ านอาชพี
แนวทางการส่งเสรมิ ความปลอดภัยในองคก์ รใหป้ ระสบความสาเรจ็
ประโยชน์ของการจัดการอาชวี อนามัย
และความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ านอาชีพ
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หน่วยที่ 1
ใบงานท่ี 1.1-1.2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ปญั หามลพษิ
ความหมายของมลพิษ
สาเหตุของมลพษิ
มลพษิ ทางอากาศ
มลพษิ ทางนา้
มลพษิ ทางขยะ
มลพษิ ทางเสียง
มลพษิ ทางดนิ
มลพิษทางอาหาร
แนวทางการแก้ไขปัญหามลพษิ
แบบประเมินผลการเรยี นรู้หน่วยท่ี 2
ใบงานท่ี 2.1-2.2
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 โรคและอบุ ัตภิ ยั ที่เกดิ จากการทางาน
ความหมายของโรคและอุบัตภิ ัยทเ่ี กิดจากการทางาน
โรคที่เกิดจากการทางานและแนวทางป้องกัน
3
หลกั อาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
อุบัตภิ ัยทเี่ กิดจากการทางานและแนวทางป้องกนั
แบบประเมินผลการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 3
ใบงานท่ี 3.1-3.2
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 การปอ้ งกันและควบคมุ มลฟิษในทีท่ างาน
ความหมายและลักษณะของสภาพแวดล้อมในการทางาน
มลพษิ จากสภาพแวดล้อมดา้ นชีวภาพ
มลพิษจากสภาพแวดลอ้ มด้านกายภาพ
มลพิษจากสภาพแวดลอ้ มต้านเคมี
มลพษิ จากสภาพแวตลอ้ มต้นการยสาสตร์
แบบประเมินผลการเรียนรู้หน่วยท่ี 4
ใบงานที่ 4.1-4.2
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 การปรับปรงุ สภาพการทางานตามหลักการยศาสตร์
ความร้เู กย่ี วกบั การยศาสตร์
หลักการยศาสตร์กบั ลกั ษณะท่ทางการทางาน
หลกั การยศาสตร์กบั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน
แบบประเมินผลการเรยี นรู้หน่วยท่ี 5
ไบงานที่ 5.1-5.2
หนว่ ยหารเรยี นรทู้ ี่ 6 การจัดการอาชีวอนามยั และความปลอดภยั เบ้ืองต้น
ความรทู้ ั่วไปก่ยี วกับการจัดการอาชีวอนามัยเบื้องต้น
บุคลากรในการจัดการอาชีวอนามยั และความปลอดภยั
หลกั การจัดการอาชวี อนามัยในสถานประกอบการ
ตวั อยา่ งกิจกรรมด้นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หนว่ ยที่ 6
ใบงานที่ 6.1-6.2
4
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7 เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภยั
เคร่ืองหมายและสีทใ่ี ชก้ บั เคร่ืองหมายและสญั ลักษณ์ความปลอดภยั
เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภยั ในการทางาน
การกาหนดเขตพ้ืนทคี่ วามปลอตภัย
แบบประเมินผลการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 7
ใบงานท่ี 7.1-7.2
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 เครื่องปอ้ งกนั อนั ตราย
ความรู้เกีย่ วกบั เครือ่ งป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล
ประเภทของเครื่องป็องกันอันตรายส่วนบคุ คล
การจงู ใจให้ผู้ปฏบิ ัติงานใชอ้ ุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคล
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หน่วยที่ 8
ใบงานท่ี 8.1-8.2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 การปฐมพยาบาลเบื้องตัน
ความร้ทู ่วั ไปเกยี่ วกับการปฐมพยาบาล
ความรทู้ ี่จาเปน็ สาหรบั การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลผ้ปู ่วยตามอาการ
แบบประมินผลการเรียนรู้หนว่ ยท่ี 9
ใบงานที่ 9.1-9.2
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 10 กฎหมายและหน่วายงานทเี่ ก่ียวข้องกับงานอาชวี อนามัยและ
ความปลอดภัย
ความเป็นมาของกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งกบั
งานอาชีวอนามยั และความปลอดภัย
พระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชวี อนามยั
และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554
กฏกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ
5
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
และดาเนินการด้านวามปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกย่ี วกบั สารเคมี พ.ศ. 2556
กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ
และดาเนินการตา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั
และสภาพแวดสอ้ มในการทางานเก่ียวกบั ไฟฟ้า
กฎกระทรวงกาหนดมาตรูฐานในการบริหาร จัดการ
และดาเนินการดน้ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกย่ี วกับท่อี ับอากาศ พ.ศ. 2562
ปัญหาการบงั คบั ใช้กฎหมาย
หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้องกับงานต้นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้หน่วยท่ี 10
ใบงานท่ี 10.1-10.2
บรรณานกุ รม
6
หลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภัย20001-10001
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงานอาชีพ
สาระสาคัญ
เมื่อประเทศมีการพฒั นาข้นึ ทาใหก้ ารดาเนินชีวิตของคนแตกต่างไปจากเตม็ มกี ารออกมาทางาน
นอกน้นั มากข้ึน รวมถงึ มกี ารนาเทศนโลยีใหม่ๆ เขา้ มาใช้ในการผลิสนิ คาเพื่อสนองความตอ้ งการของมนษุ ย์
ที่มมี ากข้ึน ผู้คนท่อี อกมาทางานพอกบันต้องเผชิถกู บั สภาวะทีบ่ างคร้งั เปน็ อันตรายท้งั ตอ่ สุขภาพกายและ
สขุ ภาพใจ ดงั นนั้ ท้ังฝ่นายจา้ งและลูกจ้างจงึ ต้องให้ความสาคญั และปฏิบตั ติ ามหลกั ยาชวี อนามัยเพอ่ื ให้
ทางานดว้ ยความปลอดภัย
สาระการเรยี นรู้
1.หลกั อาชีวอนามยั
2.ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ านอาชพี
3.หลักการของความปลอดภัย
4.การส่งเสริมความปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ านอาชีพ
5.แนวทางการส่งเสรมิ ความปลอดภยั ในองค์กรใหป้ ระสบความสาเร็จ
6.ประโยชน์ของการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในองคก์ รความปลอดภยั ในการ
ปฏบิ ัติงานอาชีพ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1 แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักอาชีวอนามยั ได้
2 ปฏบิ ตั ติ ามหลกั ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานอาชีพได้
3 แสตงความรู้เก่ยี วกับหลกั การของความปลอดภัยได้
4 แสดงความรู้เกี่ยวกับการสง่ เสรมิ ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานอาชพี ได้
5 วางแผนแนวทางการส่งเสริมความปลอดภยั ในองคก์ รให้ประสบความสาเร็จได้
6 แสดงความรู้เกย่ี วกบั ประโยชน์ของการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในการปฎบิ ัตงิ าน
อาชพี ได้
7
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
หลักอาชวี อนามยั
อาชวี อนามัย (Occupational Health) เป็นศาสตร์หน่ึงท่เี กี่ยวขอ้ งกับการดแู ลสขุ ภาพอนามยั ของผู้
ประกอบอาชีพ ป้องกันไมใ่ ห้ผู้ประกอบอาชีพได้รับอันตรายระหว่างปฏิบัติงาน หรือต้องการให้ผู้ประกอบ
อาชพี เกิดความปลอดภยั สงู สดุ และได้รับความค้มุ ครองและสทิ ธปิ ระโยชนต์ ามกฎหมาย
อาชีวอนามยั มาจากคาวา่ "อาชวี " หมายถึง การประกอบอาชพี การเล้ียงชพี หรือคนทปี่ ระกอบ
อาชีพทุกสาขา กบั คาว่ "อนามยั " หมายถึง สุขภาพ ความไม่มีโรค ความสมบูรณ์ท้งั ทางรา่ งกายและจติ ใจของ
ส้ปู ระกอบอาชพี ดังน้ัน อาชีวอนามยั จึงหมายถงึ งานที่เกี่ยวกบั การส่งเสริม ควบคมุ ดูแลปอ้ งกนั โรค
ปอ้ งกันอบุ ัตเิ หตุ ดารงรกั ษาสขุ ภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชพิ ให้มคี วามปลอดภยั มีสภาพรง่ กายและจิตใจ
ท่สี มบูรณ์
จากความหมายของอาชีวอนามยั ทก่ี ล่าวข้างตัน สอดคลอ้ งกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
(nternational Labor Organ zation: ILO) ทไี่ ด้กล่าวถงึ ความหมายของอาชวี อนามยั ไวว้ ่า หมายถึงงานที่
เกย่ี วข้องกบั งานส่งเสรมิ ชารงไว้ซึ่งสุขภาพกาย สุขภาพใจ และสงั คมท่ีตขี องผู้ประกอบอาชีพทงั้ มวลทั้งนี้
องคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization: V!10) แสะองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ได้ร่วมกนั กาหนดขอบขา่ ยถกั ษณะงานอาชีวอนามัยไว้ดงั น้ี
1.งานสง่ เสรมิ (Promotion)เป็นงานท่เี กยี่ วข้องกับการส่งเสรมิ ใหผ้ ปู้ ระกอบอาชีพมสี ุขภาพกาและแขง็ แรง ตลอดจนมคี วามเป็นอยู่
ทดี่ ใี นสังคมสุขภาพจิตใจที่
2.งานป้องกัน(Prevention)เปน็ งานท่ีป้องกนั มีใหผ้ ู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพเส่ือมโทรมหรอื ผิปกติ ที่เกดิ จากสภาพหรอื สภาวะ
การทางานท่ีผิดปกติ
3.งานปกปอ้ งคมุ้ ครอง(Protection)เป็นงานท่ีดาเนินการปกปอ้ งคมุ้ ครองผู้ประกอบอาชีพมใิ หม้ การทางานท่เี สย่ี งต่ออันตรายหรอื
จะเป็นสาเหตใุ หเ้ กดิ โรคภัยไข้เจบ็
4.การจัดการทางาน(Placing)เปน็ การจัดการสภาพแวดลอ้ มในการทางานใหม้ ีสภาพเหมาะสมกั
ความต้องการของรา่ งกายจติ ใจของผู้ประกอบอาชพี ใหม้ ากท่สี ดุ
5.การปรับงานและคนใหม้ ีความเหมาะสมกนั (Adaptation)เปน็ การปรับสภาพของงาน ใหม้ ีควาสอดคลอ้ งเหมาะสมกับผปู้ ระกอบอาชพี โดย
คานึงถงึ สภาพสรรี วิทยาและพืน้ ฐานความแตกตา่ งท้ังในดา้ นรา่ งกายและจติ ใจเพื่อประสิทธิผลของงานน้นั ๆ
8
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภัย20001-10001
งานอาชีวอนามยั สง่ เสรมิ ความสขุ ในการทางาน
ความปลอดภยั ในการปฎิบัตงิ านอาชีพ
ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน (Occupational Safety and Health) เป็นกางานอยา่ งเหมาสม ไมเ่ ส่ยี งตอ่ การ
เกิดอนั ตรายจากทคโนโลยี เครื่องจักร เคร่ืองมอื สง่ ผลให้ผปู้ ฏิบัติงานไดร้ ับอันตราย บาดเจ็บ เสยี ชีวิต
ทรัพย์สนิ เสยี หาย หรอื ทาให้การผลิตสนิ ค้าหยดุ ชะงกั การสรา้ งความปลอดภัยในการทางานอยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพจะสง่ ผลให้ผู้ปฏบิ ตั ิงานมคี วามสขุ และผลการปฏบิ ัติงานมปี ระสทิ ธิภาพด้วยความปลอดภัยใน
การทางานเป็นหัวใจสาคัญของการปฏบิ ัตงิ าน หากมกี ารจัดสภาพการทางานอยา่ งปลอดภัย จะทาให้
ปราศจากการเกิด "อบุ ัตเิ หตุ" ในการทางาน
การจดั สภาพการทางานอย่างเหมาะสมช่วยลดอบุ ัตเิ หตุในการทางาน
อบุ ตั ิเหตุ (Accident) เป็นเหตุการณท์ ีเ่ กิดขนึ้ โตยไมค่ าดคิด เม่ือเกิดขน้ึ แลว้ มผี ลกระทบตอ่
ทรัพย์สนิ หรือการบาดเจบ็ และเสียชีวติ ของบคุ คล ดงั นน้ั ผูป้ ฏบิ ัตงิ านจงึ ต้องมคี วามระมัดระวัง โดยเฉพาะ
การก่อสรา้ ง การผลติ โดยเครื่องจกั ร หากไมร่ ัดกมุ พออาจก่อให้เกดิ ความเสียหายตอ่ พรัพย์สนิ และบุค
ดงั กล่าวมาแลว้ ตวั การสาคัญท่จี ะก่อใหเ้ กิดอบุ ตั เิ หตุมี 3 ประการดว้ ยกนั ได้แก่ㆍ บคุ คล คือ ผปู้ ฏิบตั งิ าน
ซง่ึ เป็นตัวการหลักของการเกดิ อุบตั ิเหตุ จากสถติ ขิ องการเกิดอุบัติเหตุ
พบว่าส่วนใหญเ่ กิดจากการกระทาทไ่ี มป่ ลอดภยั ของบุคลากรผปู้ ฏิบตั งิ าน ทข่ี าดความรู้ ความเข้าใจ
ประสบการณ์ และความชานาญ รวมถึงการที่ผปู้ ฏบิ ัตงิ านมสี ภาพที่ไม่พรอ้ มทั้งทางร่างกาย เชน่ อดนอน
การเจบ็ ปว่ ย การเหน็ดเหนื่อย เปน็ ต้น และสภาพท่ีไมพ่ รอ้ มด้นจิตใจ มคี วามทกุ ข์ เหม่อลอย เหลา่ น้ี
9
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
ลว้ นส่งผลใหเ้ กดิ ความผดิ พลาดในการปฏบิ ตั ิงานได้ เพือ่ เป็นการป้องกนั การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ จงึ ควรมีการ
อบรมปลูกจติ สานึกที่ตดี ้านความปลอดภยั ชใ้ี หเ้ ห็นถงึ สาเหตทุ จ่ี ะกอ่ ให้เกิดความไม่ปลอดภัย ผลเสีย
ทเ่ี กดิ ขึ้นหากไมร่ ะมัดระวัง ตลอดจนฝกึ ฝนใหผ้ ปู้ ฏิบัติงานมีความชานาญในการปฏบิ ัตงิ านทต่ี นเอง
รับผิดชอบ นอกจากน้ีหน่วยงานของรัฐจะต้องมีสว่ นเกยี่ วข้องกับความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ านและ
การมขี ้อกาหนดใหป้ ฏิบัตติ าม หรือใหป้ ฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภยั อยา่ งเครง่ ครัด
บคุ คลเปน็ ตัวการสาคัญของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ
ㆍสภาพแวดล้อม คือ องคก์ ร สถานทท่ี างาน หรือโรงงานทป่ี ฏิบัตงิ าน จากสถิตกิ ารเกิดอุบัติเหตุในการ
ทางานพบวา่ สภาพแวดลอ้ มในการทางานเตม็ ไปด้วยอันตรายตา่ งๆ เชน่ อากาศถา่ ยเทไมส่ ะดวก การวางผัง
โรงงานไมด่ กี ารก่อสร้างหรอื การตอ่ เตมิ ไม่ไดม้ าตรฐาน ไม่มีเครื่องหมาย สญั ลักษณก์ ารเตือนภัย เปน็ ต้น
ท้งั น้รี วมถงึ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เชน่ น้าท่วมฝนตกหนกั ฟา้ ผา่ ด้วย
สภาพแวดลอ้ มในการทางานมีผลต่อการเกดิ อบุ ัติเหตุ
ㆍเครอื่ งมือเครอ่ื งจกั ร คือ อปู กรณ์ท่ีใช้ในการทางานเก่าหรอื เสอ่ื มคณุ ภาพเคร่ืองมือขาดประสทิ ธิภาพการ
จดั เก็บสารเคมหี รือวัตถมุ พี ิษไม่ถูกวธิ ี เคร่อื งปอ้ งกนั อันตรายส่วนบคุ คลเกา่ หรือเส่ือมคุณภาพ
10
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภัย20001-10001
เคร่ืองจกั รเกา่ เส่อื มคุณภาพเปน็ สาเหตหุ น่งึ ของการเกิดอุบัตเิ หตุ
จากตวั การสาคัญท่ีกอ่ ให้เกิดอบุ ัตเิ หตุท้งั 3 ประการ สามารถสรุปสภาพการทางานทไ่ี ม่ปลอดภยั ได้ดังน้ี
1.การกระทาท่ไี ม่ปลอดภัยของผปู้ ฎบิ ัตงิ าน ซึง่ เป็นสาเหตุใหญข่ องการเกิดอุบัตเิ หตุ การกระทาท่ีไม่
ปลอดภัย มีดังน้ี
1.1 การกระทาทขี่ าดความรู้ ทาใหท้ างานไม่ถูกวิธหี รอื ไม่ถกู ตามขัน้ ตอน
1.2 การไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบตามความปลอดภยั ในการทางาน
1.3 การทางานโดยไม่ใชอ้ ุปกรณส์ ่วนบุคคล
1.4 การทางานด้วยความประมาท พลัง้ เผลอ และเหมอ่ ลอย
1.5 การใช้เครื่องมอื ผดิ ประเภท หรือไม่เหมาะสม นอกจากจะทาใหง้ านไม่มปี ระสิทธิภาพ
ขาดมาตรฐานแลว้ ยังอาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายอีกด้วย
1.6 การมเี จตนาหลีกเส่ยี งขั้นตอน หรือมาตรฐานเพือ่ ความสะดวกสบาย
1.7 การตอ้ งการความรวดเร็ว จึงทางานอย่างรบี ร้อน ขาดความระมดั ระวัง
1.8 การมสี ภาพรา่ งกายและจิตใจท่ีไมพ่ รอ้ มทางาน เช่น อาการป่วย อาการออ่ นเพลยี หรือการวติ ก
กังวลทาใหข้ าดสมาธิ เปน็ ต้น
2.สภาพการทางานทไ่ี ม่ปลอดภัย มดี งั น้ี
2.1 การวางผังการจัดสถานท่ีทางานไมถ่ ูกตอ้ ง รวมถึงการจดั เก็บสิง่ ของไมเ่ ป็นระเบยี บ
2.2 เครื่องจักร เครื่องมือ มีสภาพเก่า เสยี หรือชารุด เสื่อมคณุ ภาพ
2.3 พ้ืนทีท่ างานสกปรก มีเศษขยะ เศษวัสดุ น้าหรือน้ามนั
2.4 สว่ นทเ่ี ป็นอนั ตราย หรอื สว่ นทเ่ี คร่ืองจักรกาลงั ทางาน ไมม่ สี งิ่ กาบงั หรือส่ิงปอ้ งกนั
2.5 สภาพการทางานไม่ปลอดภัย เซน่ เสียงดัง มฝี ุ่นละออง อากาศร้อน เป็นดนั อนั ตราย
ผลกระทบทเี่ กิดจากความไม่ปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน
ปฏิบัตงิ านได้รับอบุ ัติเหตุจากการปฏบิ ตั ิงาน กอ่ ให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและส่งผลกระทบตอ่ ทกุ
ฝ่ายท่เี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี
1.ผปู้ ระสบอุบตั เิ หตุและครอบครัว เป็นผทู้ ่ไี ด้รับผลกระทบโดยตรง ได้รับบาดเจ็บ หรือบางรายอาจเสียชวี ติ
เสียเวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาล เสยี อวัยวะจนทุพพลภาพ ขาดโอกาสในการประกอบอาชพี
ช่วยเหลือตนเองไมได้ เสยี สุขภาพจติ เกดิ ความเครยี ด ซ่ึงกอ่ ให้เกิดปัญหาดา้ นจติ ใจ
11
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
2.เพ่ือนรว่ มงาน เกดิ การเสียขวญั และเสียกาลงั ใจในการทางาน เกิดความหดหสู่ ่งผลให้ประสิทธิภาพในการ
ทางานลดลง ซง่ึ มผี ลกระทบโดยตรงต่อองคก์ ร
3.หัวหน้างาน หมายถงึ หัวหนา้ ระดับตา่ งๆ หัวหน้ากะ หวั หนา้ แผนก หรือผู้บริหารระดับตน้ ทมี่ หี น้าท่ีใน
การควบคุมดูแลพนกั งานให้ทาการผลิต หรอื ทางานตามแผนทวี่ างไว้ เม่ือเกดิ อบุ ัติเหตุข้ึนถือเป็นความ
บกพรอ่ งในการควบคุมพนกั งาน ต้องเสียเวลาในการสอบสวนการวิเคราะหห์ าสาเหตุ การรายงานผล และยัง
เสยี คา่ ใช้จ่ายในการสรรหาพนักงานใหมเ่ ข้ามาทดแทนด้วย
4.เจา้ ของธุรกิจหรือผปู้ ระกอบการ ไดร้ บั ผลกระทบ ได้แก่ ผลผลิตจากการทางานลดลง เสียคา่ ใชจ้ า่ ยสงู ขึ้น
เช่น คา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาพยาบาลเงินชดเชยคา่ วัสดุค่าซอ่ มแซมเครื่องจักรจะรวมถึงค่าปรับทเ่ี กิดจากการสง่
งานล่าช้า ทาใหผ้ ลกาไรลดลงหรือเกิดการขาดทนุ ได้
5.สงั คมและประเทศชาติ อบุ ัตภิ ยั ร้ายแรงท่เี กิดขึ้นในประเทศ ส่งผลกระทบต่อสังคมชาติ ประชาชนเสียขวัญ
และกาลังใจ รฐั บาลต้องมีภาระดูแลชว่ ยเหลือคนงานท่ีเกดิ อุบัติเหตุและคนงานทร่ี ส้ มรรถภาพในการปฏิบัติ
งาน ก่อให้เกิดการสญู เสยี ด้านเศรษฐกิจโดยเปล่าประโยชน์ นกั ลงทนุ ตา่ งชาตขิ าดความเชอื่ ม่นั เสยี ภาพพจน์
และชอื่ เสยี งทด่ี ขี องประเทศชาติอกี ดว้ ย
12
หลกั อาชีวอนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
หลกั การของความปลอดภัย
การจดั การด้านความปลอดภัยของพนักงานท่ีองค์กรจะต้องดาเนนิ การ นอกจากเป็นเรื่องการปฏิบัติ
ตามกฎหมายและระเบียบของอาชวี อนามยั และความปลอดภยั แลว้ ยงั ตอ้ งมกี ารประสานงานกนั ภายในเพื่อ
ให้ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานมคี วามปลอดภยั สูงสุด หรือให้เกดิ อุบัตเิ หตุนอ้ ยที่สุด เพื่อก่อให้เกิดประโยชนส์ งู สุดสาหรับ
องคก์ ร การดาเนินการดา้ นความปลอดภยั มเี หตผุ ลหลักแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ประการ ดงั นี้
1.) ด้านเศรษฐกิจ (Economic) การจัดการดา้ นความปลอดภยั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ จะไมก่ อ่
ให้เกดิ ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ ดงั นี้
ค่าตอบแทนคนงาน ในรปู ของการประกนั ท่จี ัดใหท้ ดแทนค่าจา้ งและ
สทิ ธปิ ระโยชน์ทางการแพทย์ใหก้ บั พนกั งานทีไ่ ดร้ บั บาดเจบ็ พกิ าร หรอื เสียชวี ิต
การรกั ษาพยาบาล เป็นกระบวนการติดตามเพ่อื ใหบ้ รษิ ัทประกนั อุบัติเหตุ ผ้ใู ห้
บรกิ ารด้านการดูแลสขุ ภาพ หรือหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งกับสิทธปิ ระโยชนท์ ีผ่ ปู้ ระสบ
อุบัตเิ หตจุ ึงได้รบั ดาเนินการ
ลดการสูญเสียการผลิต เมอื่ ผู้ปฏบิ ตั งิ านมีสขุ ภาพอนามัยที่ดี มีความปลอดภัย
ในการทางาน จะส่งผลใหก้ ารทางานมีประสทิ ธภิ าพ สรา้ งผลผลติ ไดม้ าก และ
ลดความเสยี หายของอุปกรณ์ เคร่ืองมือ และเครอื่ งจักรดว้ ย
2.ด้านกฎหมาย (Law) กฎหมายการชดเชยแรงงาน เป็นกฎหมายท่มี ผี ลดที ้งั ตอ่ ผู้ปฏบิ ตั ิงานและเจ้าของ
กจิ การ โดยคนงานที่ประสบอบุ ตั ิเหตจุ ะได้รับเงินชดเชยตามชนดิ ของการบาดเจ็บทร่ี ะบไุ วอ้ ย่างชัดเจน
3. ด้านคุณธรรม (Ethics) การสรา้ งความปลอดภัยในการทางานอยา่ งถูกต้อง ทาใหค้ นงานมีกาลังใจและเกิด
ความรกั ในองคก์ ร
13
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
การส่งเสริมความปลอดภัยในการปฏบิ ตั งิ านอาชพี
แม้ว่าองคก์ รจะมกี ารออกแบบแผนการปฏิบัติดา้ นความปลอดภยั เป็นอย่างดี มกี ารอบรมถึงข้นั ตอน
การปฏบิ ัติอย่างท่วั ถงึ มกี ารบังคับใชอ้ ยา่ งต่อเน่ืองแลว้ กต็ าม แต่การสง่ เสรมิ และจงู ใจใหผ้ ้ปู ฏบิ ัติงานทางาน
ด้วยความปลอดภยั ด้วยแนวความคิดของตนเอง และรักษาระเบียบวนิ ัยเพ่ือปอ้ งกนั ตนเองจากอบุ ัตภิ ยั นนั้ เป็น
สิ่งสาคัญอยา่ งยิง่ การกระตนุ้ ใหผ้ ูป้ ฏบิ ัติงานเกิดพฤติกรรมดงั กล่าวจะตอ้ งใช้กิจกรรมการส่งเสรมิ ความ
ปลอดภยั (4 A) ดงั นี้
1) การสร้างความตระหนกั (Awareness) โดยพยายามทาใหบ้ ุคคลจานวนมากพดู ถงึ ความปลอดภัย
ให้มากทส่ี ุด อาจยกประเด็นปญั หาท่มี ีสาเหตุจากการปฏิบัติงานท่ไี มป่ ลอดภัยมาเป็นส่ิงกระตนุ้ เน้นยา้ วา่ หาก
ทางานอยา่ งไมร่ ะมัดระวงั จะก่อใหเ้ กิดอุบัติภยั อยา่ งท่ีเคยเกดิ ข้ึนมาแลว้ จากนนั้ จึงมีการออกแบบกจิ กรรม
การส่งเสรมิ ความปลอดภยั ซงึ่ จะต้องเป็นกิจกรรมทีม่ ีความนา่ สนใจ และสอดคล้องกับนโยบายขององค์กร
นอกจากนกี้ ิจกรรมดงั กลา่ วจะตอ้ งสอดคล้องกับปัญหาวกิ ฤตท่เี กดิ ขนึ้ ด้วย ทัง้ นี้การสรา้ งกิจกรรมส่งเสริม
ความปลอดภยั เปน็ เพยี งการเร่มิ ต้นเท่านั้น จะต้องพยายามทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานทางานอยา่ งปลอดภัยจนเป็น
นสิ ยั (Habit) และเขา้ ถงึ พฤติกรรมการยอมรับ (Acceptance)
2) การยอมรับ (Acceptance) ผปู้ ฏิบตั งิ านจะรสู้ กึ ยอมรบั เม่อื โปรแกรมความปลอดภยั สง่ ผลตอ่
ตนเองอยา่ งชดั เจน การทาให้ผปู้ ฏบิ ัติงานยอมรับโปรแกรมความปลอดภยั จะต้องอาศยั การสอื่ ขา่ วสารที่มี
ประสิทธิภาพ และท่สี าคญั ผูบ้ ริหารจะต้องให้ความจริงจงั ค้นหาสาเหตุของอุบัติภัย พร้อมแสดงหลกั ฐาน
และปฏบิ ตั ิตนด้านการทางานอย่างปลอดภัยเป็นตวั อยา่ งแกผ่ ู้ใตบ้ งั คบั บัญชา
3) การปฏิบตั ิ (Application) คือการทีผ่ ู้ปฏิบตั ิงานมีส่วนร่วมต่อโปรแกรมความปลอดภัยดว้ ยการ
ทากิจกรรมการมีสว่ นร่วมในทมี และคณะกรรมการความปลอดภัย (Safety teams and committees)ยอมรบั
ความคิดเห็นของเขาผ่านระบบขอ้ เสนอแนะ หากผปู้ ฏิบัติงานได้มสี ่วนร่วมกบั กจิ กรรม ได้สอ่ื สารหรอื
ทางานร่วมกบั ผเู้ ช่ียวชาญด้านความปลอดภัยมืออาชีพ จะนาไปสกู่ ารเปล่ยี นแปลงทศั นคติ และชว่ ยให้
ผ้ปู ฏบิ ัติงานทางานโดยคานงึ ถึงความปลอดภัยมากยงิ่ ข้ึน ตัวอยา่ งการปฏิบัติเชน่ การจัดประกวดหนว่ ยงาน
สะอาด การทากจิ กรรม 5 ส. เป็นต้น
14
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 20001-10001
4) การรับนิสัยใหม่ (Assimilation of New habit) นิสัยใหม่จะเกิดเมื่อบคุ คลมที ัศนคติ
ความปลอดภยั ติดแน่นในความรูส้ กึ แลว้ แสดงออกมาเป็นพฤตกิ รรม หากมาถงึ ระดับน้ีถือว่างานสง่ เสริม
ความปลอดภัยประสบความสาเรจ็ แลว้ การทากจิ กรรมส่งเสริมความปลอดภัยให้ประสบความสาเรจ็ จะต้อง
ให้ความสาคญั กบั ท้ัง 4 ประการ(4 A) จะเน้นทีข่ อ้ ใดข้อหนง่ึ ไม่ได้ เน่ืองจากทกุ ขอ้ มคี วามสอดคลอ้ งกัน หาก
ขาดข้อใดไปจะทาใหก้ จิ กรรมลม้ เหลวได้
แนวทางการส่งเสรมิ ความปลอดภยั ในองค์กรใหป้ ระสบความสาเรจ็
การทจี่ ะส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานตระหนกั จนถึงมีพฤตกิ รรมการทางานท่ีคานงึ ถงึ ความปลอดภัย จะ
ตอ้ งเลือกวธิ ีการประชาสัมพันธท์ ีม่ ีประสทิ ธิภาพ มแี นวทางดงั นี้
1.) ผสมผสานกิจกรรมการส่งเสรมิ ความปลอดภัยเขา้ ไปกับระบบการบริหารเพือ่ ควบคุม
ความสญู เสีย (Loss Control) มกี ารใชส้ ่ือประชาสมั พนั ธ์ เชน่ การติดโปสเตอร์ การจดั กิจกรรมการประกวด
หรือการจดั กิจกรรมใดๆ ทีส่ อดคล้องกัน และตอ้ งมีการติดตามผลการจัดกิจกรรมดว้ ย
การบริหารเพื่อควบคมุ ความสญู เสยี (Loss Control) หมายถงึ การดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ทีท่ าให้เกิด
ความสูญเสียทรัพยากรภายในองคก์ รตา่ สุด รวมถงึ กจิ กรรมทจี่ ะช่วยลดความเส่ยี งดว้ ย
2.) ใหค้ วามสาคัญกบั ขา่ วสารด้านสาเหตขุ องอุบตั ิเหตเุ ฉพาะขา่ วสารด้านความปลอดภัยทว่ั ไปเช่น
การสวมหมวกนิรภยั การขับรถเรว็ การปิดน้า ปิดไฟ เป็นตน้ เหล่าน้ีผปู้ ฏบิ ัติงานอาจไมเ่ หน็ ถึงความสาคัญ
จงึ ควรเน้นเร่ืองขา่ วสารเฉพาะท่ีจะก่อใหเ้ กดิ ผลเสียต่อผ้ปู ฏบิ ตั งิ านอยา่ งชดั เจน เช่น.การนั่งทางานในทา่ เดิม
นานๆ จะสง่ ผลเสยี ต่อหลงั เป็นต้น จะมปี ระโยชนม์ ากกว่า
3.) กาหนดเป้าหมายการสง่ เสรมิ ความปลอดภยั ทีเ่ ฉพาะเจาะจง หมายถงึ กาหนดเป้าหมาย
อย่างชดั เจนวา่ ต้องการส่งเสริมใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานตระหนัก และเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมไปในแนวใด ซง่ึ จะ
ต้องกลบั ไปพิจารณาวา่ ปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในองค์กรทเ่ี กิดข้ึนคือปัญหาใด แล้วเจาะจงไปท่ี
การสร้างพฤตกิ รรมการทางานให้ปลอดภยั เพื่อหลีกเลี่ยงปญั หาเหล่านน้ั
4.) เพ่มิ ความเข้มขน้ ดว้ ยความหลากหลาย ใช้สือ่ การประชาสัมพันธ์เพ่อื สง่ เสริมกจิ กรรมอยา่ ง
หลากหลายจะชว่ ยใหเ้ กิดความเข้มขน้ ขึ้น มีการจดั ทาบอร์ดสอื่ สารข่าวสารตามจุดต่างๆ ทผ่ี ปู้ ฏิบตั งิ าน
ต้องผ่าน เชน่ จุดทานข้าว ทางเข้า-ออก หน้าอาคาร เป็นต้น นอกจากน้ีอาจมีการใชเ้ สยี งตามสายประกาศ
ในชว่ งเวลาพกั เปน็ การย้าอีกช่องทางหนง่ึ ทัง้ นไี้ ม่วา่ จะเป็นชอ่ งทางใดกต็ าม ควรคานงึ ถงึ ความนา่ สนใจ
เป็นหลักดว้ ย
15
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
5.) กจิ กรรมการรณรงค์ การจัดกจิ กรรมการรณรงค์ ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ิงานมคี วามตระหนักจนถงึ มี
พฤตกิ รรมการทางานอย่างปลอดภัย อาจตอ้ งใช้เวลานาน การรณรงค์แต่ละเร่ืองจะต้องมที มี งานผ้รู บั ผิดชอบ
มีผบู้ รหิ ารระดบั สูงมาร่วมให้ความคดิ เห็น ตวั อย่างกจิ กรรมการรณรงค์ เช่น
- การรณรงคก์ จิ กรรม 5ส. เพื่อกระตนุ้ ให้ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านรกั ษาความสะอาดเกบ็ ของวสั ดุอุปกรณเ์ ขา้ ท่ี
อย่างเปน็ ระเบยี บ ง่ายต่อการหยบิ นาไปใช้ โดยองคก์ รต้องประกาศอยา่ งเปน็ ทางการให้ผปู้ ฏบิ ตั งิ านกระทา
มกี ารตรวจเป็นระยะๆ เพ่อื เป็นการกระตุ้นเตือนให้ปฏิบัติกจิ กรรมกนั อยา่ งสมา่ เสมอ
- การประกวดคาขวัญความปลอดภยั เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสใหพ้ นกั งานทกุ คนได้มีสว่ นรว่ มใน
การรณรงค์ โดยการพัฒนาทัศนคตขิ องพนกั งานในรปู คาขวญั หรอื ข้อความทส่ี ่อื ถงึ การทางานด้วยความ
ระมัดระวัง หรือทางานอยา่ งปลอดภัยผจู้ ัดกจิ กรรมสามารถกาหนดกติกา รวมถึงรายละเอยี ดอ่ืนๆ ไดเ้ อง
- การบรรยายพิเศษ เชิญวทิ ยากรจากภายในและภายนอกองคก์ ร เพื่อเสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจ
และปลกู จติ สานกึ ให้ปฏบิ ัตติ ามกฎแห่งความปลอดภยั จนเกดิ ประสิทธิภาพการทางานสูงสดุ
- การจดั นทิ รรศการ เปน็ การนาภาพ เร่ืองราว ท่เี กดิ อุบตั ิเหตุขนึ้ มาจัดวางระบสุ าเหตุ ผลเสียหาย
และวิธกี ารปอ้ งกนั แก้ไข นิทรรศการน้ีสามารถจัดขน้ึ ในวันสาคญั เช่น วันแห่งความปลอดภยั หรือกาหนด
เปน็ สปั ดาหแ์ ห่งการรณรงคค์ วามปลอดภยั ฯลฯ ตามความเหมาะสม
- การรณรงค์ใหใ้ ชอ้ ปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ปญั หาที่พบเป็นประจาคือ
ผู้ปฏิบตั ิงานไมใ่ ชอ้ ุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั ทง้ั ทอี่ งค์กรมกี ารจัดเตรียมไว้ให้ กอ่ ให้เกิดความสูญเปลา่
ผ้จู ดั กจิ กรรมอาจใชว้ ธิ ีการประกาศใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านใชอ้ ุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัย และมกี ารมอบรางวัล
แกพ่ นักงานท่ีใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งถกู ต้องและครบถ้วน
- ทาแผ่นปา้ ยแสดงสถติ ิอบุ ัตเิ หตหุ รือป้ายประกาศ องคก์ รสามารถจดั ทาป้ายขนาดใหญ่แสดงสถติ ิ
อุบัตเิ หตุ หรือกิจกรรมด้านความปลอดภยั ใดๆ ที่ต้องการใหพ้ นกั งานทราบและปฏบิ ัตไิ ว้ใน
ตาแหนง่ ทส่ี ามารถมองเห็นไดอ้ ย่างชดั เจนเป็นการสร้างจิตสานึกให้พนกั งานร่วมมือกันลดอุบัติเหตทุ ่ีเกดิ ข้นึ
- การเผยแพร่บทความในวารสาร องค์กรทีม่ กี ารเผยแพรข่ ่าวสาร โดยการจัดทาวารสารเพ่ือเผยแพร่
แจกจา่ ยแก่ลูกจ้างหรือพนักงาน สามารถนาความรู้ หรือบทความด้านความปลอดภัยตีพมิ พ์ลงในวารสารน้ัน
ดว้ ย จะทาให้พนักงานเกิดความรู้ความเขา้ ใจมากขึ้น
- การรณรงคด์ ว้ ยโปสเตอรแ์ ละสัญลักษณค์ วามปลอดภัย เปน็ การเตือนใหพ้ นกั งานระวังและ
ตระหนกั ถงึ อันตรายทีเ่ กิดขนึ้ ตามเน้ือหาของโปสเตอร์
16
หลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
- การตอบปญั หาชงิ รางวัล องค์กรจัดให้มีการตอบปัญหาชงิ รางวัลในชว่ งสปั ดาห์ความปลอดภยั ใน
หนว่ ยงาน อาจมีการแสดงภาพ แจกเอกสาร แล้วตั้งคาถามให้ตอบเพื่อชงิ รางวลั เปน็ การกระตุ้นให้พนักงาน
รบั รู้ข้อมูลความปลอดภยั
- การทัศนศกึ ษาในสถานประกอบการอืน่ ทไ่ี ด้รับรางวัลดเี ดน่ การจดั การด้านความปลอดภัย เพอ่ื
นามาเป็นตัวอยา่ งในการปรับปรงุ สถานท่ที างานของตนให้ดีข้นึ
นอกจากที่กล่าวมาแลว้ ยังมกี จิ กรรมอกี มากมาย ทท่ี างองค์กรสามารถสร้างสรรคข์ ้นึ เพื่อเป็นการ
ณรงคใ์ หผ้ ู้ปฏิบัตงิ านไดต้ ระหนักรยู้ อมรับและปฏิบัติตามจนเกดิ เปน็ พฤติกรรมการทางานอยา่ งปลอดภัยขนึ้
ดี
6.เนน้ เชงิ บวก เป็นกิจกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยท่ีเน้นใหท้ าอะไร (What to do) จึงจะทาให้มี
ความปลอดภัยมากขนึ้ เปิดโอกาสให้พนักงานผู้ปฏิบัตงิ านเสนอวิธกี ารเพอื่ ใหก้ ารทางานมคี วามปลอดภยั
มากขึน้ มีการพิจารณาตดั สนิ วธิ กี ารเหลา่ น้ันเพอ่ื มอบรางวัลใหแ้ ก่เจ้าของวิธีการท่ีมีประสทิ ธภิ าพเพอ่ื แสดง
ความยนิ ดีดว้ ย มีการถา่ ยภาพ ประชาสมั พันธง์ านให้รบั ร้ทู ่ัวกนั มลู คา่ ของรางวลั ไมค่ วรสงู เกินไปมากทส่ี ดุ
เชญิ ผู้บรหิ ารระดบั สงู มาเป็นผมู้ อบรางวัล เปิดโอกาสใหค้ รอบครวั ของผทู้ ่ไี ด้รับรางวัลเข้ารว่ มงานเพราะจะ
ทาให้เกิดการแขง่ ขันสูง จนเห็นแก่รางวลั ทไ่ี ด้รับมากกว่าความจริงใจท่ีจะนาเสนอโปรแกรมความปลอดภยั
และอาจทาให้ผู้เขา้ ประกวดที่ไม่ได้รบั รางวัลเกิดการต่อตา้ นได้ นอกจากนี้การให้รางวัลแก่กลมุ่ งาน หรือ
แผนกทปี่ ฏบิ ัติตามโปรแกรมความปลอดภัยอย่างเครง่ ครดั เปน็ การกระตุน้ ให้โปรแกรมการควบคมุ ความ
สญู เสยี มปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ
7.การสง่ เสริมบรเิ วณทีต่ อ้ งการควบคุมปญั หาเฉพาะจุด เม่ือเกดิ ปัญหาเก่ียวกับความไม่ปลอดภยั
หรือต้องการใหป้ ฏบิ ตั เิ พ่ือความปลอดภัยเฉพาะจุด พบวา่ การใชโ้ ปสเตอรต์ ิดแจง้ เตือนบรเิ วณจดุ น้ันมี
ประสิทธภิ าพสูงสุด เชน่ ควรจับราวบนั ได ทางตา่ งระดบั เครื่องจกั รกาลงั ทางาน เป็นต้น
8.การยดึ หลกั การป้องกัน ซง่ึ หลกั การป้องกันมดี งั นี้
- การส่อื สารท่มี ปี ระสิทธภิ าพจะช่วยเพมิ่ การจงู ใจ
- การมีส่วนร่วมจะช่วยเพ่มิ การจงู ใจและการสนบั สนุน
- การตอบสนองซ่ึงกันและกัน เป็นสงิ่ ทเ่ี ชื่อมความพงึ พอใจของทั้งองคก์ ร และผู้ปฏิบตั ิงาน ดังนั้น
จึงควรเลือกใช้โปรแกรมท่ีก่อใหเ้ กดิ ความพอใจทั้งสองฝ่าย
- การเติมเสริมพฤตกิ รรมเป็นการเสริมพฤตกิ รรมเชิงบวกเข้าไปเร่อื ยๆ เพ่ือกอ่ ให้เกดิ พฤตกิ รรมเชงิ
บวกอย่างตอ่ เน่ือง
17
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภัย20001-10001
- การกระทาซา้ ๆ การแจ้งข้อมูลขา่ วสารซ้าๆ ชว่ ยให้เกดิ การจดจาได้มากข้นึ
9.การมงุ่ เน้นทป่ี ัญหาวิกฤต การออกแบบกจิ กรรมควรเน้นเพอื่ การแก้ปัญหาวิกฤตทกี่ าลังเผชิญและ
องค์กรกาลังเกดิ ความสูญเสีย การรณรงค์ควรบ่งชีป้ ัญหาอยา่ งชัดเจน แก้ปัญหาให้ตรงประเด็นความพยายาม
ในการส่งเสริมควรสอดคล้องกบั ปัญหา จะช่วยเพ่ิมความตระหนักและปรบั ปรงุ พฤติกรรมที่จะไม่ก่อใหเ้ กดิ
ปญั หาขึน้ มาอีก
10.ประเมินผลการส่งเสริมความปลอดภัย การทราบข้อมูลสะท้อนกลบั จะทาได้ทราบถึงพรกิ รรม
การรบั รู้การปฏิบตั ิตามของผู้ปฏิบัตงิ าน และนามาใชเ้ ป็นแนวทางสาหรับการปฏบิ ตั เิ พ่ือการสง่ เสรมิ ความ
ปลอดภัยอย่างมีประสิทธิภาพการสง่ เสริมความปลอดภยั ใหป้ ระสบความสาเร็จทง้ั 10 แนวทางท่กี ล่าว
มาแล้วนัน้ ไม่ว่าจะใชแ้ นวทางใด ควรยดึ หลกั ความง่าย และทาซา้ ๆ จึงจะอให้เกดิ ประสิทธริ าช
ประโยชน์ของการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านอาชีพ
การจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน มดี งั น้ี
1.) พนกั งานมคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดขี น้ึ การทางานอยา่ งปลอดภัยเป็นการลดอบุ ัติเหตทุ ี่จะเกิดขึ้น
พนกั งานมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดี ส่งผลให้ครอบครัวมีคุณภาพชีวติ ที่ดีตามไปด้วย ในทางตรงกันขา้ มหากองคก์ าร
ไม่มีโปรแกรมการทางานอย่างปลอดภัย อาจทาให้พนักงานประสบอุบัติเหตุ บาดเจบ็ พิการหรือถึงข้นั
เสยี ชีวติ จะสง่ ผลดา้ นลบตอ่ ครอบครัว และกลายเป็นภาระของสงั คมด้วย
2.) ผลผลิตเพิ่มข้นึ การทางานภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ มีอุปกรณก์ ารป้องกนั ท่ี
เพยี งพอ ทาให้พนกั งานมขี วัญและกาลงั ใจท่ีดี ตัง้ ใจทางาน มคี วามรบั ผิดชอบอย่างเตม็ ที่ ผลผลิตโดยรวมจึง
สูงขน้ึ ทง้ั ด้านคณุ ภาพและปริมาณ
3.) ค่าใชจ้ ่ายลดลง การทางานอย่างปลอดภัยชว่ ยลดอบุ ตั ิเหตุ จงึ ทาให้ค่าใชจ้ า่ ยขององค์กรลดลง
เนอ่ื งจากไมต่ อ้ งรบั ภาระค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลของคนงาน ค่าซ่อมแซมเคร่ืองจักร คา่ อปุ กรณ์
เสยี หาย ทาใหต้ น้ ทนุ การผลิตลดลง
4.) ผลกาไรเพ่ิมมากข้ึน ผลจากการทางานอย่างปลอดภัยส่งผลใหค้ ่าใชจ้ ่ายลดลง ต้นทุนการผลติ ต่า
ส่งผลให้องคก์ รไดร้ บั ผลกาไรมากขึ้นตามไปด้วย
5.) ลดการสญู เสียทรัพยากรมนุษยชาติ การทางานอย่างไมป่ ลอดภยั ทาใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุได้งา่ ยส่งผล
ใหพ้ นกั งานได้รบั บาดเจ็บ พิการ ทพุ พลภาพ หรอื ถึงขนั้ เสียชวี ิต ถือเป็นการสญู เสยี แรงงานท่สี าคญั ของ
ประเทศชาติไป
18
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
6.) ภาพลักษณข์ ององคก์ รดีขึ้น องคก์ รท่มี ีระบบการทางานอยา่ งปลอดภยั จานวนการเกดิ อุบัติเหตุมี
นอ้ ยคร้ัง หรือไมม่ เี ลย ย่อมสง่ ผลถึงภาพลกั ษณข์ ององคก์ ร
7.) เศรษฐกิจของประเทศชาตโิ ดยรวมดขี นึ้ เมอ่ื จานวนการเกดิ อบุ ัติเหตขุ องแต่ละองค์กรมีน้อย
หรือไมม่ ีเลย สง่ ผลถงึ ภาพลกั ษณ์ทีด่ ีของประเทศชาติด้วย นักลงทุนตา่ งชาตเิ กิดความเชื่อมัน่ เขา้ มาลงทนุ ใน
ประเทศ0ก่อให้เกิดการจา้ งงานเพมิ่ มากขึน้
0
พนักงานทางานด้วยความปลอดภยั ทาใหช้ ีวิตมคี วามสุข
19
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
แบบประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ นว่ ยที่1
ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว
1.ขอ้ โตกล่าวถึง “อาชีวอนามัย” ไดถ้ กู ตอ้ งทสี่ ุด
ก. การดูแลสุขภาพคนชราในบา้ นพกั คนชรา
ข. การดูแลสขุ ภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ
ค. การดูแล ระวังสขุ ภาพของนกั เรียนขณะเรียนหนงั สือ
ง, การดแู ลสุขภาพของตนเองไม่ใหเ้ จ็บปว่ ย
2.การจดั กิจกรรมการออกกาลังกายเพอื่ ใหค้ นงานไดค้ ลายเครยี ดพรอ้ มกบั ใหม้ สี ุขภาพที่แขง็ แรง จัดเป็นงาน
อาชวี อนามัยขอ้ โต
ก. งานส่งเสรมิ
ข. งานป้องกนั
ค. งานปกป้องคมุ้ ครอง
ง. การจัดการทางาน
3. งานอาชีวอนามยั ด้าน “งานปกปอ้ งคุม้ ครอง” สอดคล้องกบั ข้อใด
ก. ให้คนงานเข้างานตามเวลางาน
ข. ให้คนงานสวมเคร่อื งป้องกันอนั ตรายส่วนบุคคลเสมอ
ค. ให้ความรู้แก่คนงานเก่ยี วกับกฎหมายคมุ้ ครองแรงงาน
ง. ใหค้ า่ ตอบแทนคนงานตามความยากง่ายของงาน
4. ข้อใดเป็นอุบตั ิเหตใุ นการทางาน
ก. คนงานทารา้ ยร่างกายกันจนบาดเจบ็
ข. คนงานมาทางานสายเน่ืองจากรถรบั ส่งเกดิ อุบัติเหตุ
ค. คนงานได้รับบาดเจ็บจากเคร่ืองจักรทเ่ี สื่อมสภาพ
ง. คนงานลาออกจากงานเน่ืองจากทนสภาพงานหนกั ไมไ่ หว
20
หลกั อาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
5.บคุ คลใดเส่ียงต่อการเกดิ อุบัตเิ หตุจากการทางานมากที่สดุ
ก. ยพุ ินทางานดว้ ยความระมัดระวัง
ข. ลดั ดาทางานไปร้องเพลงไป
ค. สมรกั ษม์ ปี ระสบการณใ์ นการทางานมากกว่าเพ่อื นร่วมงาน
ง. นงนชุ ทางานด้วยความเหม่อลอยเนื่องจากมปี ัญหาทางบ้าน
6. การป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ อบุ ัติเหตุแกค่ นงาน องค์กรควรปฏบิ ัติตามขอ้ ใด
ก. บังคับให้คนงานทุกคนทางานล่วงเวลาเพอื่ ใหม้ ีรายได้มากขน้ึ
ข. สง่ เสรมิ ใหค้ นงานเรยี นรู้หน้างานแทนการอบรมเกีย่ วกับความปลอดภัย
ค. ชีใ้ ห้คนงานเหน็ ถึงสาเหตุทีจ่ ะทาให้เกดิ ความไม่ปลอดภัยในการทางาน
ง. รบั คนงานที่ขาดประสบการณ์มาทางานเพ่ือเป็นการลดรายจา่ ยด้านคา่ ตอบแทน
7.สภาพแวดล้อมในการทางานข้อใดเหมาะสมทสี่ ดุ
ก. มจี านวนพนกั งานมากๆ ในห้องเดียวกัน
ข. มีถงั ขยะขนาดใหญ่อยู่ในหอ้ งทางาน
ค. จัดห้องทางานใหม้ ีอากาศถ่ายเทสะดวก
ง. ใหห้ วั หน้างานน่ังดา้ นหลงั เพ่ือสอดส่องการทางานของพนักงานตลอดเวลา
8. การจดั เกบ็ สารเคมี หรอื วัตถุมีพิษควรกระทาตามข้อใด
ก. เก็บอย่างมดิ ชดิ และถกู วิธี
ข. เก็บไวใ้ กลค้ นงานเพ่ือความสะดวกในการใช้
ค. เกบ็ ทใี่ ดกไ็ ด้แต่ต้องมปี า้ ยชดั เจน ง. ให้คนงานเกบ็ ตามความสะดวก
ง. ให้คนงานเก็บตามความสะดวก
9. ข้อใดส่งผลใหเ้ กิดความไมป่ ลอดภยั ในการทางานได้
ก. ไมอ่ นุญาตใหพ้ นักงานท่ีป่วยทางานกบั เคร่ืองจักร
ข. เรง่ ใหค้ นงานผลิตสนิ ค้าให้มากที่สดุ ในเวลาจากดั
ค. ใหค้ นงานปฏิบตั ิงานตามขัน้ ตอนหรอื ตามมาตรฐาน
ง. ให้คนงานใชอ้ ุปกรณ์ป้องกันส่วนบคุ คล
21
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภัย20001-10001
10. เมอื่ คนงานได้รับอุบัติเหตุจากการทางานจะส่งผลกระทบตอ่ ข้อใดมากท่ีสดุ
ก. คนงานที่ประสบอบุ ัติเหตเุ อง
ข. รา้ นคา้ ท่ีรับสินค้าจากโรงงานไปขาย
ค. หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้องกบั ความปลอดภยั ของคนงาน
ง. โรงพยาบาลทรี่ ักษาผู้ประสบอบุ ตั เิ หตุ
11. ข้อใดเปน็ การจัดการเกี่ยวกบั ความปลอดภัยของคนงานเพ่อื ไม่ให้เกิดผลกระทบด้านเศรษฐกจิ
ก. เพ่มิ คา่ ตอบแทนรายเดอื นแก่พนักงานทปี่ ระสบอบุ ัติเหตุในการทางาน
ข. ทาประกันและจา่ ยคา่ ทดแทนแก่คนงานท่ปี ระสบอบุ ตั ิเหตใุ นการทางาน
ค. รบั ทายาทของคนงานท่ปี ระสบอบุ ัติเหตใุ นการทางานเข้าทางานในองคก์ ร
ง.ดูแลเกีย่ วกบั รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ยของคนงานทกุ คนทัง้ ท่ีประสบอบุ ตั ิเหตุและไม่ประสบ
อบุ ตั เิ หตุ
12. การดูแลคนงานให้มีความปลอดภัยในการทางานก่อให้เกิดผลดดี า้ นเศรษฐกิจต่อองคก์ รตามข้อ
ใด
ก. คนงานทางานมปี ระสทิ ธิภาพและสร้างผลผลติ ได้มาก
ข. องค์กรเป็นทีย่ อมรบั ของหนว่ ยงานอนื่
ค. คนงานจากทท่ี างานอ่ืนย้ายมาทางานในองค์กรมากขึ้น
ง. มีกาไรจากผลประกอบการมากขนึ้
13. ด้านความปลอดภัยในการทางาน องคก์ รสามารถสร้างความรักในองค์กรให้เกิดแก่คนงานได้
ตามข้อใด
ก. จา่ ยเงนิ รางวลั ประจาปแี ก่คนงานทุกปี
ข. จัดการดา้ นความปลอดภยั ของคนงานอยา่ งถกู ต้องตามมาตรฐาน
ค. ปลูกฝังความคิดให้คนงานรกั องคก์ รอยา่ งสม่าเสมอ
ง. เชิญผบู้ รหิ ารองคก์ รมาสรา้ งขวัญและกาลงั ใจแกค่ นงานในวาระพเิ ศษ
22
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภัย20001-10001
14.เกย่ี วกับการสง่ เสริมความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานองค์กรสามารถสร้างความตระหนักแกค่ นงานตาม
ข้อใดไดผ้ ลดที ส่ี ดุ
ก. จัดทาวารสารแจกแกค่ นงานทกุ เดอื นเพ่ือใหค้ นงานอ่านและเกิดความตระหนกั
ข. ให้หัวหน้าคนงานแตล่ ะแผนกออกแบบกิจกรรมสร้างความตระหนกั กันเอง
ค. ยกตัวอยา่ งอุบัติเหตุท่ีเคยเกดิ ขน้ึ เพราะการมองข้ามความปลอดภยั ใหค้ นงานได้ทราบ
ง. จัดการทดสอบเกี่ยวกับความตระหนักถึงความปลอดภัยในการทางานอย่างสมา่ เสมอ
15. ขา่ วสารขอ้ ใดทาให้ผู้ปฏิบัติงานเห็นถงึ ความสาคญั ของความปลอดภยั ในการทางานได้มากทส่ี ดุ
ก. ปิดไฟทุกคร้งั หลังจากใชง้ าน
ข. ชว่ ยกนั ประหยดั น้าเพือ่ องคก์ รส่วนรวม
ค. ใส่ถุงมือทกุ ครงั้ ท่ีสัมผัสกบั สารเคมี
ง. การน่งั ทางานผิดทา่ ทาใหเ้ กดิ โรคปวดหลงั เรือ้ รัง
16. องค์กรสามารถส่งเสรมิ ความปลอดภัยในองคก์ รให้ประสบความสาเรจ็ ตามข้อใด
ก. ทากจิ กรรมรณรงค์ด้านความปลอดภยั ในการทางาน
ข. กาหนดระเบียบปฏบิ ัติเรื่องความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงานใหค้ นงานอ่านโดยไมเ่ น้นการปฏบิ ตั ิ
ค. ยกตวั อย่างกิจกรรมรณรงคด์ า้ นความปลอดภยั ขององค์กรอืน่ ให้คนงานทุกคนไดท้ ราบขอ้ มลู
ง. ส่ังการไปยงั หัวหนา้ งานให้ช่วยกนั รณรงค์ดา้ นความปลอดภัยในการทางาน
17.หากต้องการกระตุ้นให้ผู้ปฏบิ ัติงานรักษาความสะอาด เก็บอปุ กรณ์เขา้ ท่อี ยา่ งเป็นระเบยี บควรจัดกิจกรรม
ข้อใด
ก เชญิ วทิ ยากรภายนอกมาบรรยาย
ข. กจิ กรรม 5 ส.
ค. จดั นิทรรศการรณรงคค์ วามปลอดภยั
ง. ประกาศเสยี งตามสายให้ผู้ปฏบิ ัติงานร่วมมือในการปฏิบัติ
18. กจิ กรรมส่งเสริมความปลอดภัยขอ้ ใดทผ่ี ปู้ ฏิบตั ิงานมสี ่วนร่วมมากท่ีสุด
ก. การจัดนทิ รรศการเรื่องความปลอดภัย
ข. การประกวดคาขวัญความปลอดภัย
ค. การเชญิ วิทยากรพเิ ศษมาบรรยายเรือ่ งความปลอดภยั
ง. การรณรงค์ใหใ้ ชอ้ ปุ กรณค์ วามปลอดภยั
23
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
19. การจดั การอาชวี อนามัยและความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ านชว่ ยให้ผลผลติ เพิ่มข้ึนสอดคลอ้ งกับข้อใด
ก. เจา้ ของกจิ การมกี ารแสวงหาเงนิ ลงทนุ ทาให้กิจการขยายตัวเพม่ิ มากขึ้น
ข. มีการเพิม่ จานวนคนงาน จึงทาใหม้ ีการผลติ มากข้นึ ผลผลติ จึงมากข้ึนตามไปด้วย
ค. เมอื่ มีความปลอดภยั ในการทางานช่วยให้คนงานเกิดขวัญและกาลังใจท่ีดี การทางานมี
ประสิทธภิ าพมากขึน้
ง. การลงทุนซอ้ื เครอ่ื งจักรที่ทันสมัยช่วยให้สามารถผลติ สินค้าไดเ้ พิ่มข้นึ โดยใชเ้ วลาเท่าเดมิ
20. เมอื่ แต่ละองค์กรให้ความสาคัญดา้ นความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ทาใหจ้ านวนอบุ ตั ิเหตลุ ดน้อยลง
จะสง่ ผลดตี ่อประเทศตามข้อใด
ก. คา่ จ้างแรงงานของคนในประเทศเพ่มิ ข้นึ
ข. นกั ลงทุนตา่ งชาติเกิดความเชอ่ื ม่นั และเขา้ มาลงทนุ มากขึน้
ค. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดขี ึ้น
ง. ทาใหเ้ กดิ เทคโนโลยีการผลิตท่ที ันสมยั มากขน้ึ
ตอนท่ี 2) จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1. จงอธบิ ายความหมายของอาชวี อนามัย
2. จงอธบิ ายรายละเอยี ดขอบข่ายลักษณะงานอาชีวอนามัยตามข้อกาหนดขององคก์ ารอนามัยโลกและ
องค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ
3. จงอธบิ ายความหมายของอุบตั ิเหตุ
4. จงบอกลักษณะของผ้ปู ฏิบตั ิงานท่ีมคี วามเส่ียงต่อการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นการปฏบิ ัตงิ านได้
5. จงอธิบายรายละเอยี ดของกจิ กรรมการสง่ เสรมิ ความปลอดภัย (4 A)
24
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภัย20001-10001
6. เกีย่ วกับแนวทางการส่งเสรมิ ความปลอดภยั ในองคก์ รใหป้ ระสบความสาเร็จ “การเพิ่มความเข้มข้นด้วย
ความหลากหลาย” ปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งไร
7. จงยกตวั อย่างกิจกรรมรณรงคเ์ พื่อใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านมคี วามตระหนกั จนถึงมีพฤติกรรมการทางานอยา่ ง
ปลอดภัย
8. จงอธบิ ายรายละเอียดกิจกรรมสง่ เสริมความปลอดภยั ท่เี น้นให้ทาอะไร (What to do)
9. การสง่ เสริมความปลอดภัยให้ประสบความสาเรจ็ และเกิดประสิทธิภาพควรยึดหลักอยา่ งไร
10. จงบอกประโยชน์ของการจดั การอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน
25
หลักอาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
ใบงานท่ี1.1
ขัน้ ตอนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมใหน้ กั เรยี นอธิบายลักษณะของบุคคล และสภาพแวดล้อมท่สี ง่ ผลใหก้ าร
ปฏิบตั งิ านปลอดภัยและไมป่ ลอดภัย บนั ทึกลงในช่องวา่ งท่ีกาหนด
ลกั ษณะของบคุ คลท่ี ลักษณะของบคุ คลท่ไี มป่ ลอดภัย
ปลอดภยั ในการทางาน
ในการทางาน
ลักษณะของ ลักษณะของ
สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อม
ท่ปี ลอดภัยในการ ที่ไมป่ ลอดภัยในการ
ทางาน ทางาน
สง่ิ ทไี่ ด้รับจากการปฏิบตั ิกิจกรรม
26
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
ใบงานท่ี 1.2
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
นกั เรยี นสืบคน้ ข้อมลู การปฏิบัติงานขององค์กร หนว่ ยงาน ซ่ึงปฏิบตั กิ ิจกรรมท่ีเกย่ี วข้องกบั หลกั อาชวี อนา
มยั และความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ านอาชีพ โดยเติมข้อมูลลงในที่ว่าง
ชื่อองค์กร กจิ กรรมอาชีวอนามยั และความ รายละเอยี ดกิจกรรม
ปลอดภัยปฎิบตั งิ านปฎบิ ัตงิ าน
1. อาชพี
2.
3.
4.
5.
สิ่งทีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
27
หลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ปญั หามลพษิ
สาระสาคญั
ปัญหามลพิษไม่สามารถแกไ้ ขใหห้ มดไปไดใ้ นเวลาอนั รวดเร็ว ขณะเดยี วกันก็ยังคงมีมลพษิ เกดิ
ขน้ึ อยตู่ ลอดเวลาท้ังทางอากาศ ทางนา้ ทางขยะ ทางเสยี ง ทางดิน และทางอาหาร มลพิษเหลา่ น้มี ีโทษต่อ
มนษุ ยท์ ัง้ ทาตรงและทางอ้อม ท้งั แบบเฉยี บพลันและเร้ือรงั แนวทางการแกป้ ัญหามลพิษจะต้องมีการรว่ มมือ
กันทกุ ฝ่ายและตอ้ งลงมอื ทาอยา่ งจรงิ จงั จึงจะประสบผลสาเรจ็
สาระการเรยี นรู้
1.ความหมายของมลพิษ
2.สาเหตขุ องมลพิษ
3.มลพิษทางอากาศ
4.มลพิษทางนา้
5.มลพิษทางขยะ
6.มลพิษทางเสยี ง
7.มลพษิ ทางดิน
8.มลพิษทางอาหาร
9.แนวทางการแกไ้ ขปัญหามลพิษ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั ความหมายของมลพิษได้
2.แสดงความรู้เกี่ยวกับสาเหตขุ องมลพษิ ได้
3. แสดงความรู้เกี่ยวกบั มลพิษทางอากาศได้
4.แสดงความรู้เกย่ี วกบั มลพิษทางนา้ ได้
5. แสดงความรคู้ วามรเู้ กยี่ วกับมลพิษทางขยะได้
6.แสดงความรู้เกี่ยวกับมลพิษทางเสยี งได้
7.แสดงความรู้เก่ียวกบั มลพษิ ทางดินได้
8.แสดงความรู้เก่ียวกับมลพษิ ทางอาหารได้
9.ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางการแก้ไขปัญหามลพิษได้
28
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 20001-10001
ความหมายของมลพษิ
มลพษิ มีรากศพั ท์เดิมมาจากคาว่า มลภาวะ (Pollution) หมายถงึ ทาให้สกปรก เปน็
ขบวนการต่างๆ ที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์โดยตง้ั ใจและไม่ต้ังใจปลอ่ ยของเสยี ออกมาจน
หมกั หมมใบรรยากาศพืน้ ดิน พ้นื น้า ทาให้สิง่ แวดลอ้ มเสื่อมโทรมลงมีนักวิชาการหลายท่านได้
กลา่ วถึงความหมายของมลพษิ ในแนวทางเดียวกัน จึงสามารถสรุปความหมายของมลพิษไดว้ ่า
มลพิษ หมายถึง สภาวะแวดลอ้ มที่เปล่ียนแปลงไปจนเกดิ ความไม่สมดลุ ของทรัพยากร และมี
สารพิษเปื้อนปน ทาใหม้ ผี ลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ พชื และสตั ว์ ทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม
มลพษิ เกดิ จาก สารมลพิษ (Pollutant) ซงึ่ เป็นสารหรือสสารทม่ี ีความอันตราย สามารถเข้า
ไปสะสมอย่ใู นเนอ้ื เยอื่ ของสิ่งมีชีวิตได้ สง่ ผลต่อสง่ิ มีชีวิตทงั้ ในระยะสั้นและระยะยาวสารมลพิษ
หมายถึง ส่ิงใดๆ ท่ีประกอบดว้ ยอินทรียวัตถุ หรอื อนนิ ทรียวตั ถุ ทเี่ ป็นทง้ั ของแขง็ ของเหลว และ
กา๊ ซ เกิดข้ึนจากการกระทาของมนุษย์ ทั้งการทง้ิ ขยะจากอาคารบ้านเรือน การทงิ้ ของเสียจาก
โรงงาน รวมถึงสิง่ ที่เกดิ ข้ึนจากการขนสง่ เขา้ มาสู่สภาพแวดล้อม กอ่ ให้เกดิ มลพิษดา้ นต่างๆ ได้แก่
มลพิษทางน้ามลพิษทางดิน มลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางเสียง เป็นต้น
สารมลพษิ จาแนกออกเป็น 2 ชนดิ ดงั น้ี
1. พวกทไี่ ม่สามารถยอ่ ยสลายได้ด้วยวธิ ีการทางชวี วทิ ยา ได้แก่ โลหะ และสารวัตถุตา่ งๆ
เชน่ ปรอท ตะกว่ั สารหนู ดีดีที เป็นต้น
2. พวกท่สี ามารถยอ่ ยสลายไดด้ ว้ ยวธิ กี ารทางชีววทิ ยา ได้แก่ ขยะมูลฝอยบา้ นเรือน ชุมชน
โรงงาน เป็นตน้
สรุปได้ว่ามลพษิ เป็นสภาวะแวดลอ้ มท่เี ปลี่ยนแปลงไปซง่ึ สภาวะแวดล้อมท่ีเปล่ยี นแปลงไปนสี้ ่งผล
เสยี ตอ่ คน สัตว์ และพืช ส่งิ ท่มี ผี ลกอ่ ใหเ้ กิดมลพิษข้นึ มา ไดแ้ ก่ สารมลพิษ ซึง่ เกดิ จากการกระทาของมนุษย์
การใช้ชวี ติ ประจาวันของมนุษย์ การทิง้ ขยะมูลฝอยของประชาชน การทิ้งของเสยี นา้ เสีย สารเคมจี ากโรงงาน
โดยไม่มกี ารบาบัดหรือป้องกันแต่แรก จึงทาให้เกดิ การสะสมในบรรยากาศ เขา้ ไปอยใู่ นเนื้อเยือ่ ของ
สง่ิ มีชวี ติ จนเกิดเปน็ อันตราย หรอื สร้างความราคาญ ทาให้ชีวติ ความเป็นอยู่ไมเ่ ป็นปกติสขุ
29
หลกั อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
มลพิษท่ีเกิดขึ้นก่อใหเ้ กดิ อันตรายและสร้างความราคาญแกม่ นษุ ย์
สาเหตขุ องมลพษิ
จากอดีตจนถงึ ปจั จุบัน จะเห็นไดว้ า่ ปญั หาทางดา้ นมลพษิ มคี วามรนุ แรงเพม่ิ ข้ึนมาโดย
ตลอด สาเหตุทว่ั ไปของมลพิษ สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี
1. การเพ่ิมของประชากร (Population Growth) ถงึ แมว้ ่าจะมกี ารรณรงคเ์ รอ่ื งการวางแผน
ครอบครวั การคมุ กาเนิดกันบา้ งแลว้ กต็ ามแต่ผลจากการท่มี ปี ระชากรเพ่ิมมากขึ้น ทาให้มคี วาม
ต้องการบริโภคทรัพยากรเพ่ิมขึ้นตามไปด้วย จากความต้องการของมนุษยท์ ่ีเพ่ิมขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ทา
ให้เกิดความต้องการปัจจยั ต่างๆ เพือ่ การดารงชีพ เชน่ ที่อยู่อาศยั อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค
เปน็ ต้น ความต้องการท่ีเพิ่มขึ้นเหลา่ น้ีล้วนเปน็ สาเหตทุ ่ีจะกอ่ ให้เกิดมลพิษได้ท้งั สน้ิ
2. การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี (Economic Growth &
Technological Progress) ผลจากการเพิม่ ขนึ้ อย่างรวดเรว็ ของประชากร ก่อให้เกดิ ปัญหาการขาด
แคลนปจั จัยพ้นื ฐานสาหรบั การดารงชพี อาหาร ทอี่ ยู่อาศัย เคร่ืองนุ่งหม่ ยารักษาโรค รวมถึงจะต้อง
มกี ารพัฒนาคณุ ภาพของประชากร การจัดการดา้ นการศกึ ษา การดาเนินการตา่ งๆ เพ่อื ใหป้ ระชากร
มคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดี จากการจัดหาปัจจยั พ้ืนฐานและการพัฒนาคณุ ภาพของประชากรเหลา่ น้ี จงึ ต้องมี
การนาเทคโนโลยเี ข้ามาช่วยเพอื่ ใหท้ นั ต่อความต้องการ และเทคโนโลยกี ไ็ ดร้ บั การพัฒนาข้นึ เรือ่ ยๆ
เพอ่ื ให้สนองความต้องการในการใชง้ านไดด้ ี ใช้งานง่ายขึ้น จนสามารถนาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชไ้ ด้
โดยง่ายและรวดเรว็ ขึ้น มกี ารเปดิ ปา่ ตัดตน้ ไม้เพ่ือนามาใช้ไดอ้ ย่างง่ายดาย มีการผลติ ยาปราบศตั รพู ชื ที่
ประสิทธิภาพมากขนึ้ มโี รงงานอุตสาหกรรมเกิดข้นึ จะเห็นได้วา่ เทคโนโลยีที่นามาใชล้ ว้ นสง่ ผลต่อการเกิด
มลพษิ ทั้งสนิ้ ตวั อย่างเชน่ การเกดิ โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมก่อให้เกดิ อากาศเปน็ พิษ นา้
เปน็ พษิ เสยี งเป็นพิษ เทคโนโลยีทที่ นั สมัยทาใหส้ ามารถนาทรัพยากรธรรมชาตมิ าใช้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว เช่น
30
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
การเปดิ ป่า การตัดต้นไม้ การขดุ เหมืองแร่เปน็ ต้น เหล่าน้สี ่งผลใหฤ้ ดกู าลแปรปรวน ฝนไมต่ กตามฤดกู าล
อากาศรอ้ นมากขนึ้ เกิดฝนุ่ ควันในบรรยากาศ ซงึ่ สง่ ผลกระทบต่อชีวติ ของประชากรทั้งสนิ้
มลพิษทางอากาศ
โลกของเรามีชั้นบรรยากาศซึง่ ประกอบดว้ ย ก๊าซไนโตรเจน ออกซเิ จน ฝนุ่ ละออง และเชอื้ จุลนิ ทรยี ์
ต่างๆ หนาประมาณ 15 กิโลเมตร ก๊าซที่สาคัญต่อการดารงชีวติ ท่สี ดุ คอื ก๊าซออกซเิ จนมคี วามหนาประมาณ
5-6 กโิ ลเมตร คิดเป็น 20,949% ของทั้งหมด นอกน้ันจะประกอบดว้ ยกา๊ ซไนโตรเจน 78.09% ก๊าซคาร์บอน
ไดออกซ์และก๊าซเฉอื่ ย 0.97% สว่ นประกอบนีค้ อ่ นข้างคงท่ี และถือว่าเปน็ อากาศบรสิ ุทธ์ิ เมอื่ ใดกต็ ามที่
ส่วนประกอบน้ีเปล่ียนแปลงไปโดยมฝี นุ่ ละออง กา๊ ซ หมอก กลิ่น เขม่าควนั ไอนา้ มากเกินไป ถือว่าเปน็
สภาวะอากาศเสยี หรือ“มลพิษทางอากาศ”
มลพิษทางอากาศ เป็นภาวะอากาศทีม่ สี ารเจือปนอย่ใู นปริมาณสูงกวา่ ปกติ และมีระยะเวลานาน
พอท่ีจะก่อใหเ้ กดิ อันตรายแก่มนษุ ย์ สัตว์ พืช รวมถงึ ทรพั ย์สินตา่ งๆสารเจือปนเหล่าน้อี าจเกิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติเช่น ฝุ่นละอองจากลมพายุ ไฟไหมป้ ่าภเู ขาไฟระเบิด เปน็ ต้น หรืออาจเกดิ ขนึ้ จากการกระทาของ
มนษุ ย์ เช่น ควันจากท่อไอเสยี ก๊าซจากโรงงานอุตสาหกรรม ของเสยี “ขยะมลู ฝอย เปน็ ต้น ซึง่ สารเจือปนที่
เกิดจากการกระทาของมนุษย์นมี้ อี ันตรายต่อมนุษยม์ ากกว่า
มลพษิ ทางอากาศ
สาเหตขุ องมลพษิ ทางอากาศ แหล่งสารมลพษิ ในอากาศแบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่ ยานพาหนะและ
โรงงานอุตสาหกรรม
-ยานพาหนะ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเปลีย่ นจากประเทศเกษตรกรรมมาเป็น
ประเทศอุตสาหกรรม ประชากรเพิม่ มากขึน้ กรุงเทพมหานครเป็นศนู ยก์ ลางของแหลง่ ธุรกิจความ
เจริญ เหลา่ นส้ี ่งผลใหเ้ กิดการเดนิ ทางมากข้ึน โดยเฉพาะการเดินทางของประชากรทีเ่ ขา้ มาใกรุงเทพ
31
หลกั อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
มหานคร ทั้งมาอย่อู าศยั และมาหางานทา มคี วามต้องการในการขนส่งมากขึ้น ทาใหจ้ ราจรตดิ รถ
เคลอ่ื นตัวไดช้ า้ มีการหยุดและออกตวั บ่อยครั้งนา้ มนั ถกู เผาผลาญมากข้นึ การสนั ดาปของน้ามนั
เช้อื เพลิงไม่สมบูรณ์ และมีการระบายสารมลพษิ ทางท่อไอเสยี ในสัดส่วนท่มี ากข้นึ เมอ่ื การจราจร
ตดิ ขัดมาก สารมลพิษที่ประกอบดว้ ยกา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ ก๊าซออกไซดข์ องไนโตรเจน
สารประกอบ
ไฮโดรคารบ์ อน ฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน สารตะก่วั และกา๊ ซซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ จะ
ระบายเข้าสู่บรรยากาศมากขึ้น ซึ่งบรเิ วณท่ีมกี ารจราจรติดขดั มากปัญหามลพิษจะรนุ แรงกวา่ บรเิ วณ
ที่การจราจรคล่องตัว
การจราจรติดขดั ก่อใหเ้ กดิ มลพิษทางอากาศ
-โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอตุ สาหกรรมก่อใหเ้ กดิ มลพษิ ในพนื้ ทที่ ต่ี ง้ั ของโรงงานอตุ สาหกรรม
มลพิษจากโรงงานอตุ สาหกรรมเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงและกระบวนการผลิต เชื้อเพลิงท่ีใชใ้ นโรงงาน
อตุ สาหกรรม ประกอบด้วยเชื้อเพลงิ ทีเ่ ป็นของแข็ง เชื้อเพลิงท่เี ป็นของเหลวเช่นน้ามันเตาน้ามันดีเซล
โรงงานอุตสาหกรรมมีผลกระทบต่อและเชอื้ เพลงิ ที่เป็นก๊าซ เช่นกา๊ ซธรรมชาติ ก๊าซ LPG มลพิษทเี่ กดิ จาก
โรงงานอุตสาหกรรม มีผลกระทบตอ่ คุณภาพอากาศและอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
หรือก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญ
โรงงานอุตสาหกรรมมีผลกระทบต่อคณุ ภาพของชีวิต
32
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
มลพษิ ทางน้า
มลพษิ ทางน้าก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อคน สตั ว์และพชื ซึ่งอาจเป็นผลกระทบเลก็ น้อย หรือถงึ ขน้ั เสยี ชีวิตได้
มลพษิ ทางน้าก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบดงั น้ี
มลพษิ ทางนา้
การเกษตร นา้ ท่ีเป็นมลพิษ การประมง น้าเสยี ทเี่ กดิ การสาธารณสุข นาเสยี ความสวยงามและการ
เป็นน้าเสยี ทม่ี ีความเปน็ กรด จากสารพษิ ทาให้ปลาตาย เปน็ แหล่งแพรเ่ ชือ้ โรค พักผ่อนหย่อนใจ แมน่ ้า
เปน็ ดา่ งสงู น้าที่มปี รมิ าณ ทนั ที สว่ นน้าเสียท่ีมี ทาให้เกดิ โรคระบาด เชน่ ลาคลอง ลาธาร เปแ็ หล่ง
เกลืออนินทรีย์หรือสารพษิ ปรมิ าณออกซเิ จนตา่ ลง อหิวาตกโรค บิด น้าธรรมชาติทสี่ วยงาม ใช้
สงู ซึง่ เกดิ จากโรงงาน อาจไมท่ าให้ปลาตาย ไทฟอยดท์ ัง้ ยงั เปน็ แหล่ง เปน็ ที่พักผ่อนหย่อนใจ
อุตสาหกรรมและเป็นผลมา ทันที แต่จะทาลายพชื และ เพาะเชอื้ ยุงทเี่ ป็นพาหะ หากนา้ ในแหล่งน้า
จากการทาเกษตรกรรมเอง สัตว์น้าเลก็ ๆ ทีเ่ ป็น ของโรคไข้เลอื ดออกด้วย ธรรมชาติเหล่านี้เน่าเสยี ก็
นา้ เสยี มีผลกระทบต่อการ อาหารของปลาทาให้ปลา จะทาให้ขาดความ
เพาะปลูกทาใหพ้ ืชไม่ ขาดอาหารนอกจากนี้นา้ สวยงามและไม่เป็น
เติบโตไม่ออกดอกออกผล เสียยงั ทาลายแหล่ง สถานที่ท่องเทีย่ วพักผอ่ น
ตามทคี่ วรจะเป็นและยัง วางไขข่ องปลาด้วย หย่อนใจอกี ตอ่ ไป
รวมถงึ มผี ลกระทบต่อการ (เนอ่ื งจากสารตกตะกอน
ดารงชวี ติ ของสตั วน์ า้ ดว้ ย ของสารแขวนลอยในน้า
เสยี ปกคลมุ พื้นที่วางไข่
ของ
ปลา) เม่อื แหลง่ วางไข่
ของปลาถูกทาลาย ทาให้
ปลาหยดุ การขยายพนั ธุ์
สง่ ผลให้ปลาสญู พนั ธ์ไุ ด้
33
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
สาเหตขุ องมลพิษทางน้า มดี ังน้ี
1.ธรรมชาติ นา้ เนา่ เสยี เกดิ จากการขาดออกซเิ จน สว่ นใหญม่ สี าเหตุมาจากแพลงกต์ อนที่เพ่ิมขน้ึ
อย่างรวดเร็ว แล้วตายลงพร้อมๆ กัน ออกซเิ จนในนา้ ถูกนามาใชใ้ นการย่อยสลายแพลงก์ตอนที่ตายแล้วเมอื่
ออกซเิ จนถูกนามาใชม้ ากทาใหเ้ กิดการขาดแคลนสง่ ผลให้น้าเนา่ ได้ และนอกจากน้สี ภาพของน้าที่อยนู่ ง่ิ ไม่
มกี ารไหลเวียน ถา่ ยเท ก็ทาให้นา้ เนา่ เสียได้เชน่ กัน
2.การเกษตร ปัจจุบนั เกษตรกรนยิ มใชส้ ารกาจดั ศัตรูพืชมากขน้ึ ก่อให้เกดิ สารตกคา้ งตามตน้ พืชและ
ผิวดนิ เมื่อฝนตกจะชาระล้างสารตกคา้ งเหลา่ น้ีลงไปสู่แหล่งนา้ หากสะสมเป็นจานวนมากจะทาให้นา้ เน่า
เสยี ได้ นอกจากนี้เกษตรกรยังมกี ารท้ิงเศษอาหารลงในแม่นา้ ลาคลอง การชาระล้างคอกสัตวแ์ ล้วทิ้งน้าที่เจือ
ปนมลู สตั ว์หรือส่ิงสกปรกอ่ืนๆ ลงในแมน่ ้าลาคลอง เหล่านีล้ ว้ นเปน็ สาเหตุทาให้นา้ เน่าเสียได้ทัง้ สิน้
3.การคมนาคมทางน้า การเดินเรือตามแหลง่ น้าต่างๆ มกี ารท้ิงของเสียลงไป หรอื บางคร้งั มี
การรัว่ ไหลของนา้ มันเช้ือเพลงิ เหลา่ นล้ี ว้ นเป็นสารพิษท่ีทาให้น้าเน่าเสยี ไดท้ ง้ั ส้ิน
4. น้าทิง้ น้าท้งิ จากบา้ นเรอื น ชมุ ชน สานกั งานโรงแรม โรงงานตา่ งๆ ประกอบด้วยสารอินทรีย์
เมอ่ื ถกู ทิง้ ออกมาและไหลลงแม่นา้ ลาคลองจะถูกย่อยสลายดว้ ยแบคทีเรยี ซ่งึ มอี ยู่ 3 ประเภท ได้แก่
-แบคทีเรยี แอโรบิก เป็นแบคทเี รยี ท่ีต้องใช้ออกซเิ จนอิสระในการยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์
-แบคทีเรยี แอนาโรบิก เป็นแบคทีเรยี ทย่ี อ่ ยสลายสารอินทรยี ์ไดโ้ ดยไม่ต้องอาศัยออกซิเจนอิสระ
-แบคทเี รยี แฟคลั เตตฟี เป็นแบคทีเรียที่สามารถมชี ีวิตอยูไ่ ดท้ งั้ อาศยั และไมต่ ้องอาศยั ออกซิเจอสิ ระ
บทบาทในการยอ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ข์ องแบคทีเรียแอโรบิกต้องใชอ้ อกซิเจนในการยอ่ ยสลาย
ทาใหป้ ริมาณออกซิเจนในนา้ ลดนอ้ ยลงจนเกดิ เป็นนา้ เสีย เมอ่ื ในน้ามีสารอนิ ทรยี อ์ ยู่มาก และแบคทเี รีย
แอโรบิกมีอยนู่ ้อย แบคทเี รยี อีก 2 ประเภทท่ีเหลือจะทาการยอ่ ยสลายสารอนิ ทรีย์ โดยการย่อยของ
แบคทเี รยี ทง้ั สองประเภทน้ี จะทาใหเ้ กดิ ก๊าซต่างๆ เชน่ มีเทน แอมโมเนยี เป็นต้น ซง่ึ ก๊าซเหลา่ นท้ี าให้สี
ของนา้ เปล่ยี นไปและเกดิ กลิ่นเหมน็
5. โรงงานอุตสาหกรรม สารอินทรีย์จากโรงงานอุตสาหกรรม มสี ิง่ เจือปนออกมาตา่ งๆ กัน
ข้นึ อยกู่ ับประเภทของโรงงาน เช่น โรงงานปลากระปอ๋ ง โรงงานปลาป่น โรงงานผลิตนม โรงงานโม่แปง้
สารอนิ ทรียจ์ ะมสี ว่ นผสมของโปรตนี และคาร์โบไฮเดรต ซงึ่ จะถกู ยอ่ ยสลายโดยแบคทีเรยี เชน่ เดียวกับน้าท้ิง
ที่เกดิ จากชมุ ชน ขณะท่ีโรงงานประเภทอน่ื ๆ เช่น โรงงานผลิตโซเดียมไฮดรอกไซดม์ ปี รอทเจือปนออกมา
ทาให้เปน็ พษิ ตอ่ สัตวน์ า้ และผ้ทู ี่นาสัตวน์ ้าไปบรโิ ภค หรือนา้ ทง้ิ จากโรงงานไฟฟ้า ทาให้อณุ หภูมขิ องนา้
34
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 20001-10001
เปล่ียนแปลงไป ในสภาพท่ีไมเ่ หมาะกับการอยูอ่ าศยั ของสัตว์น้า
มลพิษทางขยะ
ปญั หาดา้ นขยะทวคี วามรุนแรงขน้ึ ทกุ ปี เม่ือจานวนประชากรเพิม่ ขึ้น ปริมาณขยะจะเพ่ิมขนึ้ ตาม
ไปด้วย และดว้ ยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ี่พฒั นาก้าวไกล ทาใหป้ ระชาชนมสี ่งิ ของเครื่องใช้
อยา่ งหลากหลาย ทนั สมัยมากขึน้ โดยผผู้ ลติ บางรายไมไ่ ด้คานงึ ถงึ วา่ เมื่อมีการพัฒนาสินคา้ บรรจุภณั ฑ์
หบี ห่อเพ่ือดงึ ดูดลูกคา้ แลว้ หากถึงเวลาทาลายต้องใช้วิธกี ารใดจึงจะไม่สง่ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม
ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ พอสรปุ ได้ดงั นี้
มลพิษทางขยะ
1.) อากาศเสยี การเผาขยะกลางแจ้ง กอ่ ให้เกิดควนั และสารพิษทางอากาศ คุณภาพของอากาศ
เส่ือมโทรม
2) แหล่งพาหะนาโรค กองขยะเปน็ แหล่งของหนแู ละแมลงวัน ซึง่ นอกจากสร้างความราคาญแลว้
ยงั เปน็ พาหะนาโรคติดต่อ ส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชน
3) น้าเสีย ขยะมลู ฝอยท่กี องอยู่บนพืน้ ดนิ เกดิ การหมกั หมม เน่าเสีย เม่ือเกิดฝนตกจะพานา้ เสยี ไหล
ลงสู่แม่น้าลาคลอง
4.) ทาให้เกิดน้าท่วม ปัจจบุ ันมีประชาชนบางสว่ นขาดความรบั ผดิ ชอบ มีการนาขยะมาท้งิ ทัง้ ในรปู
ของขยะขนาดเล็กท่ีไม่สามารถย่อยสลายได้ เช่น ถุงพลาสติก ของใช้ทีท่ าจากพลาสติกหรอื ยาง เส้ือผ้า
รวมถึงขยะขนาดใหญ่อยา่ งท่ีนอนที่ต้องใช้เวลานานกว่าจะย่อยสลาย ซึง่ เป็นการท้ิงทไี่ มเ่ ปน็ ทีเ่ ป็นทางเมื่อ
เกดิ ฝนตกขยะเหลา่ น้กี ็จะไหลไปอดุ ท่อระบายนา้ เม่ือน้าระบายไมไ่ ด้จึงเอ่อลน้ ท่วมถนน ทาใหเ้ กดิ ปัญหา
ตามมาอกี มากมาย
35
หลักอาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
5.) ทาลายทัศนียภาพ เมอ่ื มีขยะกองรวมกนั จะสง่ กลน่ิ เหมน็ รบกวนผทู้ ี่ผ่านไปมา หรือผู้ท่อี ยู่
บริเวณนั้น และยังเปน็ ภาพที่ไมส่ วยงามดว้ ย
สาเหตุมลพิษทางขยะ
ขยะเป็นปัญหาสาคญั ของหลายประเทศ ขยะส่วนใหญ่ถกู กาจัดโดยฝังลงดินและสลายตัวเป็นสาร
อนิ ทรียแ์ ละสารอนินทรยี ์ ขยะประเภทท่ีกาจดั ยาก เช่น หนงั พลาสตกิ เปน็ ต้น จะทาลายโดยการเผาทาให้
เกิดสารประเภทเกลือ เช่น เกลอื ไนเตรทสะสมอยใู่ นดนิ ส่วนขยะทเี่ กิดจากโรงงานอุตสาหกรรมเช่น ตะกั่ว
ปรอท แคดเมียม เป็นตน้ เม่อื ท้งิ ลงดนิ ทาใหด้ นิ บริเวณนัน้ เกดิ โลหะหนกั ผสมอย่มู าก สาหรบั ในประเทศไทย
พบวา่ ดินแถบจงั หวัดสมุทรปราการมกี ารเสือ่ มคณุ ภาพเน่ืองจากได้นาเอาตะกว่ั จากซากแบตเตอรี่เก่ามาถม
ถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกดิ เป็นพิษและอนั ตรายต่อคนและพืช นอกจากน้ปี ระเทศไทยยงั ประสบปญั หา
ขยะอตุ สาหกรรมที่นาเขา้ จากตา่ งประเทศในรปู ของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า อะไหลอ่ ตุ สาหกรรมทนี่ าเข้ามาจาก
ตา่ งประเทศ เชน่ ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรเี่ ก่า ถงุ มอื ยางเก่า ถกู นามาท้ิงในประเทศไทยเป็นจานวนมาก
มลพิษทางเสียง
ระดับเสียงทป่ี ลอดภยั คือต้องไมเ่ กนิ 85 เดซิเบล และสัมผสั ได้วนั ละ 8 ชัว่ โมง หากระดับเสยี งและ
จานวนเวลาเกินกว่าน้ีจะกอ่ ให้เกดิ ผลเสยี ต่อรา่ งกายและจิตใจของมนษุ ยแ์ ละอืน่ ๆ ดงั น้ี
1. ผลกระทบตอ่ ร่างกาย ทาใหห้ วั ใจเตน้ แรง ความดนั โลหติ สูง นอนไม่หลบั และยงั สง่ ผล
ทาใหป้ ระสาทหเู สอ่ื ม จนถงึ หูพกิ ารได้
2.) ผลกระทบตอ่ จติ ใจ ทาใหเ้ กิดอาการหงดุ หงิดและราคาญเสยี สมาธิ และสง่ ผลถงึ อารมณ์ขุ่นมวั
ดว้ ย
3. ผลกระทบต่อการสื่อสาร เสียงดังทาใหป้ ระสิทธภิ าพในการสอ่ื สารลดลง ข้อมูลท่ีส่อื สารอาจ
คลาดเคล่ือน ไมช่ ดั เจน ซง่ึ จะสง่ ผลถึงการเกดิ อุบตั เิ หตไุ ด้
36
หลักอาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
มลพิษทางเสียง
4.ผลต่อการทางาน การทางานท่ามกลางเสยี งดัง หรือบรรยากาศทไี่ มส่ งบ จะทาให้ประสิทธิภาพ
ของงานลดลง และส่งผลถงึ การเกิดอบุ ตั ิเหตุได้เช่นกนั
5. ผลเสียหายตอ่ วัตถุ เสยี งทีม่ รี ะดับสูง ทาใหเ้ กดิ การส่นั สะเทอื น บางคร้งั ยงั ทาให้วัตถุหรือ
สิง่ ก่อสรา้ ง เช่น กาแพง หนา้ ตา่ ง กระจก เป็นตน้ เกิดการส่นั ไหวและเสยี หายได้
สาเหตขุ องมลพษิ ทางเสียงเกิดขึ้นไดห้ ลายทางไดแ้ ก่
1.การคมนาคม กลา่ วคอื ยานพาหนะท่ีใช้ในการคมนาคม หรือการขนสง่ เช่น รถยนต์รถบรรทุก
สามล้อเคร่อื ง เครอื่ งบิน เป็นต้น ลว้ นเป็นสาเหตขุ องการเกิดมลพษิ ทางเสยี งได้ท้ังสน้ิ สานักงาน
คณะกรรมการส่ิงแวดลอ้ มจึงไดม้ ีการกาหนดคา่ ระดบั เสยี งในย่านที่อยอู่ าศัย เวลากลางวันและกลางคนื ไวไ้ ม่
เกิน 60 เดซิเบลและ 55 เดซิเบลตามลาดบั สาหรับเสยี งทป่ี ระกาศโดยพนกั งานจราจรทว่ั ราชอาณาจกั ร
กาหนดว่าเสยี งจากเครื่องยนต์ หรือส่วนใดส่วนหน่ึงของเคร่อื งยนต์ หรอื จกั รยานยนต์ในสภาพปกติตอ้ งไม่
เกนิ 95 เดซเิ บล เม่ือวัดด้วยเครือ่ งวัดเสยี งในระยะห่าง 7.5 เมตรโดยรอบ
2.โรงงานอุตสาหกรรม เสยี งจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นเสยี งที่เกิดจากการทางานของเครื่องจกั ร
มรี ะดับเสียงตง้ั แต่ 60-120 เดซิเบลขึน้ อยู่กบั ขนาดของเครื่องจกั ร วัสดทุ ใี่ ชท้ าฝาหรือเพดานโรงงานแลธ
สภาพแวดลอ้ มของโรงงาน
3.ครัวเรอื น เครอื่ งมือเคร่อื งใชภ้ ายในบ้าน เช่น เคร่ืองดูดฝุ่น เคร่ืองตัหญา้ เคร่ืองขัดพืน้ วิทยุ
โทรทัศน์ ลว้ นเป็นแหลง่ กาเนดิ เสียงดงั ได้ทง้ั ส้ินถแึ มว้ า่ จะเปน็ เสยี งจากเครื่องมือเคร่อื งใช้ปกติท่ีใช้ใน
ชีวิตประจาวนั หากมีระดบั เสียงทด่ี งั เกนิ ไป ก็มผี ลกระทบต่อรา่ งกายและจิตใจของมนุษย์ได้
4.สาเหตุอน่ื เช่น เสยี งฟา้ รอ้ ง ฟา้ ผา่ เสยี งทะเลาะววิ าท เปน็ ต้น
37
หลักอาชีวอนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
มลพิษทางดนิ
ดินท่มี ีสารเจือปน เชน่ ไนเตรท หรือยาปราบศัตรพู ชื เปน็ อันตรายทง้ั ต่อมนษุ ย์และสัตว์ มนษุ ย์
ได้รบั สารพิษจากดินเมอ่ื รับประทานทานพืชผกั ท่ีปลกู ในดินท่ีมสี ารพษิ สะสมอยู่ ส่วนสตั ว์กจ็ ะไดร้ บั สารพิษ
คล้ายคลึงกบั มนุษย์ แตจ่ ะงา่ ยกว่าเนอ่ื งจากสตั วก์ นิ นอน ขุดคุ้ย หาอาหารจากดินโดยตรงนอกจากน้กี ารใชย้ า
ฆา่ แมลงท่ีไม่ถูกหลกั วิชาการยังเป็นการทาลายแมลงที่เปน็ ประโยชนต์ ่อระบบนเิ วศดินที่มีสารเจือปนทา
ใหผ้ ลผลิตทางการเกษตรลดลงได้
ทดี่ ินที่มสี ารเจือปน
-สาเหตขุ องมลพษิ ทางดิน สามารถแยกได้เป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ไดแ้ ก่สาเหตจุ ากสภาพธรรมชาติ
และจากการกระทาของมนุษย์
- สาเหตุจากสภาพธรรมชาติ เปน็ สภาพท่ีเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาตขิ องพนื้ ทบ่ี รเิ วณน้นั ๆ เช่น การมี
ปริมาณเกลอื ในดนิ มากเกินไป ดินมีความหนาแน่นน้อย เป็นตน้ หรือเกดิ จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
เช่น นา้ ท่วม ทาให้ดนิ ทราย และสิ่งปฏกิ ลู มาทับถม ทาใหเ้ กดิ โรคและผลกระทบต่อผ้ทู ่ีอยอู่ าศัยบริเวณน้ัน
- สาเหตุจากการกระทาของมนุษย์ มดี ังน้ี
1 การใชส้ ารเคมีและกัมมันตภาพรงั สี สารเคมี ยาฆ่าแมลง ยาปราบศตั รพู ืชบางชนดิ ไม่สะสมในดิน
และสามารถทาลายได้ สว่ นบางชนดิ มีความคงทน เช่น คลอริเนเตดไฮโดรคารบ์ อนและสารประกอบ คลอ
รเิ นเตด ฟีนอกซี เปน็ ตน้ ทาลายไดย้ ากเพราะสามารถแทรกเขา้ ไปในดินหรือดินเหนยี วไดด้ ี จะทาให้
แบคทีเรยี ทาลายได้ยาก เมือ่ เกดิ การสะสมจะส่งผลตอ่ ห่วงโซ่อาหารในดิน ส่วนสารเคมีจากโรงงาน เช่น
น้ายาเคมี โลหะทีเ่ หลือทิ้ง สารกมั มันตรังสี รวมถึงของเสยี อื่นๆ ที่ทิง้ จากโรงงานอุตสาหกรรม บางชนิดเป็น
อันตรายต่อส่ิงมีชีวติ โดยตรง บางชนดิ เปลย่ี นสภาวะของดินทาใหเ้ กดิ กรดหรอื ต่างทีส่ ง่ ผลทาใหพ้ ชื ไม่
เจริญเตบิ โต
38
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
2. การใสป่ ยุ๋ ปุ๋ยทม่ี ีส่วนผสมของสารในโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม หากใสล่ งไปในดนิ
และสะสมไว้มากๆ จะทาใหเ้ กิดพษิ ได้ ส่วนป๋ยุ ท่ีมีส่วนผสมของแอมโมเนยี ซัลเฟต ซ่งึ นิยมใช้กนั มาก สาร
แอมโมเนยี ซัลเฟตเม่ือลงสูพ่ น้ื ดนิ จะถูกแบคทีเรียในดนิ ย่อยสลาย เกิดปฏกิ ิรยิ าทาใหเ้ กิดกายโชโตรเจน
ซลั ไฟด์ ซ่ึงเป็นอนั ตรายต่อระบบการหายใจของรากพืช ทาให้ดูตแรธ่ าตุตา่ งๆ ไดน้ ้อยลง
3. ชลประทาน น้าชลประทานเปน็ น้าทไี่ หลผ่านบริเวณตา่ งๆ เมอ่ื ไหลผ่านดินทมี่ ีเกลือสารเคมี ยาฆา่
แมลง ฯลฯ ก็จะรับส่ิงเหลา่ นั้นมาด้วย กลายเปน็ นา้ ทมี่ มี ลพษิ เจอื ปน เมื่อนา้ ชลประทาน
ถกู ทดเข้าไปในไรน่ า มลพษิ ท่เี จือปนนั้นกจ็ ะซึมเข้าพื้นดินในไร่นาด้วย เม่อื หยุดการทดนา้ น้าใน
ดินระเหยออกไปคงเหลอื แตเ่ กลือและสารเคมสี ะสมอยูใ่ นดิน สภาพของดินจึงเป็นดินขาดคณุ ภาพ
4. การท้งิ ขยะมลู ฝอย ขยะมูลฝอยที่ทิ้งลงบนพนื้ ดิน บางประเภท เช่น พลาสตกิ ยาง หนัง
โลหะ ผ้าฝ้าย เป็นต้น เป็นส่ิงสลายตัวยาก ตอ้ งทาลายโดยการเผา หลังจากเผาจะเหลือเกลือ
โดยเฉพาะเกลือในเตรตสะสมอย่เู ป็นจานวนมาก หากละลายไปตามนา้ ก็จะนาพาเกลอื ในเตรตไปสะสมใน
ดนิ อื่นๆด้วย นอกจากนขี้ องเสยี จากโรงงานโลหะ เช่น ตะกั่ว ปรอท และแคดเมยี ม มคี ุณสมบัตทิ าให้ดนิ เป็น
พษิ
5. การเพาะปลกู การใชท้ ี่ดินเพาะปลูกเปน็ เวลานานๆ โดยไม่บารงุ รกั ษา ทาใหแ้ ร่ธาตุในดินหมดไป
จนไม่สามารถปลกู พชื ได้อกี
6. การถางปา่ ต้นไม้ถูกทาลายทาให้ไม่มีพืชปกคลุมดนิ ไม่มีรากของพืชยึดเหน่ียว เกดิ การสูญเสยี
หนา้ ดินและดินเกิดการพงั ทลายได้งา่ ย ส่งผลให้พืน้ ดนิ แห้งแล้ง เมอื่ ฝนตกทาใหเ้ กดิ น้าท่วมฉบั พลนั ได้ ดงั
ตวั อย่างเหตกุ ารณ์นา้ ทว่ มฉับพลนั ทีเ่ กิดขึน้ ในหลายพน้ื ทข่ี องประเทศไทยผลกระทบจากมลพิษทางดิน
มลพษิ ทางดินก่อให้เกดิ ผลกระทบท้ังต่อมนษุ ยแ์ ละสัตว์ มนษุ ยไ์ ด้รับผลกระทบในรปู ของการรับประทาน
พชื ผกั ทีป่ ลกู ในดินทีม่ สี ารพิษ ส่วนสตั วจ์ ะไดร้ ับผลกระทบจากดนิ โดยตรงมากกวา่ คน เพราะสัตวก์ ิน นอน
และขดุ คยุ้ หาอาหารจากดินโดยตรง
มลพษิ ทางอาหาร
ปจั จบุ นั จะพบว่ามขี า่ วสารเก่ียวกบั ผ้คู นมากมายทไ่ี ด้รับผลกระทบจากอาหาร เนื่องจากคนเรามีวิถี
ชวี ิตการรับประทานอาหารท่ีแตกตา่ งไปจากเดมิ คนมีเวลาอยู่บ้านน้อยลง จึงรบั ประทานอาหารนอกบ้าน
เพิม่ ขน้ึ หรือมีการซอื้ อาหารแช่แขง็ มาตนุ ไว้อุ่นรับประทานเมอ่ื กลบั ถึงบ้าน วตั ถดุ บิ สาหรับการปรงุ อาหารมี
หลากหลาย มสี ่วนผสมตา่ งๆ เพื่อใหแ้ ปลกและแตกต่างไปจากเดิมสิ่งเหลา่ นี้อาหารทีม่ ีสสี วยงามอาจมี
สารเคมเี จือปนบางอยา่ งกลายเปน็ โทษต่อรา่ งกายโดยไม่รู้ตัว การรับประทานอาหารท่ีมสี ารพิษเจือปน ทาให้
39
หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
มอี าการตา่ งๆ ตัง้ แต่นอ้ ยๆ เช่น ปวดท้อง ถ่ายท้อง เวียนศีรษะเป็นต้น ไปจนถึงอาการรุนแรงถึงขั้นเสยี ชวี ติ
ได้
อาหารทม่ี ีสีสวยงานอาจมีสารเคมเี จือปน
สาเหตขุ องมลพิษทางอาหาร แบง่ ไดด้ ังน้ี
1. สารปรุงแต่งและถนอมอาหาร สารบางอยา่ งเป็นสารท่ีไมใ่ ช้ในการบริโภคเป็นอาหาร แตผ่ ู้ผลิตนามาใช้
เพ่อื ให้เกดิ ประโยชนบ์ างอยา่ ง เชน่ ทาใหอ้ าหารสีสวย ทาใหร้ สชาติดขี ้ึน ทาใหอ้ าหารมอี ายุอยู่ได้นานขึ้น
เปน็ ต้น แต่กลบั เปน็ โทษต่อร่างกายของผู้บรโิ ภค สารปรงุ แต่งและถนอมอาหาร มีดงั นี้
- สารปรุงแต่งสี บางครง้ั ผูผ้ ลิตนาสีซึ่งไม่ใช้สีผสมอาหารมาใช้ เช่นนา้ สีจากดินน้ามันมาใชผ้ สมใน
อาหารทาให้อาหารมสี สี วย สีจากดนิ นา้ มนั มสี ารอนินทรีย์ที่มโี ลหะหนกั เปน็ องค์ประกอบ มรี าคาถกู ปกติ
ใชใ้ นการยอ้ มวตั ถตุ ่างๆ ไมใ่ ชเ้ พือ่ การบริโภคดงั นั้นเม่ือเข้าไปสรู่ ่างกายจะทาใหเ้ กิดโรคมะเร็ง
- สารปรุงแต่งรส ท่ีนยิ มใชก้ ันคือ ขัณฑสกร เพื่อเพ่มิ ความหวานในอาหาร ซึ่งเม่ือกินเขา้ ไปจะทาให้
เกิดโรคมะเร็ง ภายหลังจึงได้มกี ารใชส้ ารจากหญา้ หวานมาแทน
-สารเพ่ิมรสชาตใิ นอาหาร สารเพ่ิมรสชาตทิ ี่นิยมใชค้ ือผงชูรส หรือโมโนโซเดยี มกลูตาเมต ส่วนสาร
ปรุงแต่งกลิน่ เช่น กลิน่ อบเชย กลน่ิ วานลิ ลา เปน็ ต้น มีการทดลองนาผงชูรสมาใช้ต่อลูกหนูพบว่าเป็นพษิ
สว่ นในคน ห้ามใช้กับทารกและสตรมี ีครรภส์ าหรบั บุคคลทว่ั ไปท่ีรับประทานผงชูรส หากเกดิ อาการแพ้ จะ
มีอาการชาล้ินชาตามไหล่ ต้นคอ บางคนถึงขนั้ หมดสติ
-สารปรุงแตง่ ลักษณะ เชน่ ทาให้อาหารมีความกรอบ มคี วามเปือ่ ยยุ่ย มคี วามเหนยี วเป็นต้น ทรี่ ู้จัก
กนั ดคี ือสารบอแรกซ์ หรือน้าประสานทอง ทาใหอ้ าหารกรอบ นามาผสมในลกู ชิน้ กลว้ ยทอด หากทานเขา้
ไปมากๆ จะสะสมและก่อให้เกิดพษิ ต่อร่างกาย นอกจากน้ียังมีน้าส้มสายชู ท่ไี ม่ไดเ้ กิดจากการหมักดว้ ย
ผลไมแ้ ต่กลบั มีกรรมวิธีการผลติ ทีเ่ ตรียมจากกรดอนนิ ทรยี ์ เช่น กรดกามะถัน กรดเกลือซงึ่ เมือ่ เขา้ สรู่ า่ งกาย
จะมผี ลต่อระบบทางเดนิ อาหาร
40
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภยั 20001-10001
-สารปรุงแตง่ กลิ่น มที ้ังแต่งกลนิ่ อาหาร เช่น กล่ินอบเชย กลิน่ มะนาว กล่นิ วานลิ ลากลนิ่ สตรอว์
เบอรร์ ีเปน็ ต้น และแต่งกล่นิ เคร่ืองสาอาง โดยเฉพาะน้าหอม สารปรุงแต่งกล่ินจะต้องมคี ณุ สมบัติในการ
ระเหยได้ดมี ีโมเลกุลเล็กๆ และเปน็ สารพวกแอลดีไฮดค์ โี ตน หรือแอลกอฮอล์ ท่ีผา่ นมาพบวา่ สารแต่งกล่นิ
ในอาหารยังไมเ่ ป็นพิษร้ายแรงแตส่ ารปรุงแตง่ กลนิ่ ในเครื่องสาอาง เชน่ นา้ หอม มกั ทาให้เกิดอาการแพ้
บอ่ ยๆ
- สารกนั บดู และสารกันหิน สารกันบูดใชฆ้ ่าและปอ้ งกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ส่วนสารกัน
คืนเป็นสารป้องกนั ปฏกิ ิรยิ าออกซิแดนต์ และป้องกันการเกดิ กลิน่ ทไี่ ม่พึงประสงค์ ทีน่ ิยมใช้เช่น เกลอื
นา้ ตาล กรดเบนโซอคิ โซเดยี มเบนโซเอต ฟอร์มาลดไี ฮด์ พาราบีน เฮกซาคลอโรฟนื้ กรดบอริค บีเอชเอ
และที่คนุ้ เคยกนั ดีคือ ดินประสิว ทใี่ ช้สาหรับใส่อาหารแปรรปู จาพวกเนื้อสัตว์ เพ่ือกันบดู และทาให้เนื้อมสี ี
สวย และเปือ่ ย เชน่ ไสก้ รอก กนุ เชียง แฮม ปลากระป๋องเนื้อตากแหง้ เป็นต้น ดินประสิวจะเปล่ยี นเป็น
สารพิษเมื่อรวมตัวกับโปรตนี พวกเอมีน ในเน้ือสตั ว์ ทาใหเ้ กิดสารไนโตรซามนี ซึง่ เป็นสารก่อมะเร็ง
2.สารเจือปนหรอื สารปนเปอ้ื นในอาหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- สารที่เกดิ จากกระบวนการผลิตและการปรุงอาหาร เชน่ เลซิตินโปรไพลีนไกลคอลทาใหอ้ าหาร
เกิดการคงตัว เจลาติน ท่สี กดั จากสาหรา่ ย ชว่ ยใหเ้ กิดความหนืดเป็นตน้ สารบางชนิดเกิดจากการละลายของ
ภาชนะบรรจุอาหาร ก่อใหเ้ กิดพษิ ต่อรา่ งกาย เชน่ สารพวี ีซีในถงุ พลาสติก ขวดบรรจุน้ามันพชื หากละลาย
เข้าไปในอาหารในปรมิ าณทเี่ กนิ กาหนด จะกอ่ ให้เกดิ มะเร็งได้ นอกจากน้ีการรับประทานอาหารป้ิง ย่าง จน
เกรยี มไหม้ จะเกิดสารไพโรลัยเซทขนึ้ ซง่ึ เป็นสารกอ่ มะเรง็ เช่นกัน
- สารพษิ จากเชอ้ื ราและแบคทีเรีย สารพิษจากเช้ือรา เช่น อะฟลาทอกซิน ท่ีพบในอาหารแห้ง หาก
ได้รับพิษมากๆ อาจทาใหเ้ สยี ชีวติ ทันที หากสะสมเป็นเวลานานทาให้เกิดโรคมะเรง็ สารพิษโบทูลีน เกิดจาก
เชอื้ แบคทีเรยี พบในอาหารกระป๋องหากรับประทานเข้าไปมาก จะทาให้เสยี ชวี ิตดว้ ยอาการอัมพาตของ
อวัยวะที่เกยี่ วกบั ระบบหายใจ มีความเป็นพษิ รนุ แรงมาก ปริมาณเข้มข้นเพยี ง 0.01 ไมโครกรมั มผี ลทาให้
เสยี ชีวิตทนั ที เป็นต้น นอกจากน้กี ารปรงุ อาหาร หรือทาให้อาหารสุกจากการปิ้ง ยา่ ง เผา บนโต๊ะอาหารด้วย
ความร้อนสงู ยงั เป็นสาเหตขุ องการเกดิ โรคมะเร็งอกี ด้วย สาหรับในประเทศไทย มีการนาฟอรม์ าลนิ หรือที่
เรียกว่านา้ ยาอาบศพ มาใชใ้ นอตุ สาหกรรมทายางสงั เคราะห์ และพลาสตกิ ผู้ค้าของสดนามาใช้กับผกั และ
ผลไม้ ปลา เพอื่ รักษาความสด ซ่ึงสารนี้ถ้าสะสมอยใู่ นรา่ งกายจานวนมากจะเป็นพษิ ต่อร่างกาย โดยจะ
ทาลายเซลล์ และเนอื้ เยือ่ ทาใหเ้ กดิ โรคมะเรง็
41
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย20001-10001
แนวทางแก้ไขปัญหามลพษิ
1.) ควบคมุ เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการแปรรูปอาหารให้มปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด เพ่อื ให้เกิดของเสยี และ
สารพิษนอ้ ยท่สี ุด
2.) ควบคมุ ปริมาณการใช้สารในกระบวนการแปรรปู หากจาเปน็ ต้องใชค้ วรใหอ้ ยู่ในเกณฑ์
มาตรฐานควบคุมปริมาณทรัพยากรการผลิตใหพ้ อดี ไม่ใหม้ ีส่วนท่ีเหลือทง้ิ
4. เมอ่ื มกี ารใชท้ รัพยากรชนิดหนงึ่ แล้วส่งผลกระทบกบั ทรัพยากรอีกชนดิ หนึ่ง ต้องมีการกาหนดคา่
มาตรฐาน เพื่อไม่ก่อใหเ้ กดิ อันตรายข้ึน เช่น การผลติ กระแสไฟฟา้ ดว้ ยถ่านลกิ ไนต์ ต้องควบคุมไม่ใหเ้ กิด
ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซดเ์ กินมาตรฐาน เป็นต้น
5.ใชม้ าตรการทางกฎหมาย ระบุโทษอยา่ งชดั เจนตามความรนุ แรงของการกระทา ไดแ้ ก่
- มมี าตรการเกย่ี วกับการใชเ้ ครอ่ื งป้องกนั มลพิษสาหรบั ผู้ปฏบิ ัตงิ านท่ตี ้องทางาน
เกีย่ วข้องกบั มลพิษตา่ งๆ ท้ังทางอากาศ ทางเสยี ง ฯลฯ
- การกาจดั ของเสียท่ีเปน็ ของแขง็ หากเป็นของเสยี ทนี่ ามาใช้ประโยชนไ์ ด้ กน็ ามา
ใช้ประโยชน์ หากไมส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้แล้ว จะตอ้ งมีการฝงั กลบใหม้ ดิ ชิด
- การบาบัดของเสยี ทเ่ี ปน็ ของเหลว เช่น น้าเสีย จะต้องใช้วิธกี ารหลายรปู แบบ
ท้งั ทางฟิสกิ ส์ เคมี และชวี วิทยา จนกว่าจะได้น้าท้ิงท่ีมีความสะอาดใกล้เคียง
ธรรมชาติหรือมีมาตรฐาน
42
หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 20001-10001
- การกาจดั ของเสยี ทเ่ี ป็นฝุ่นละออง หรอื กา๊ ซพิษ ต้องมีเครื่องกรอง หรือเป็นรูปแบบ
ผสมผสานกบั สารละลาย
- กรณีทไ่ี มส่ ามารถหลกี เล่ยี งไมใ่ หเ้ กดิ สารพษิ ได้ จะต้องมีการวางแผนการใชท้ ด่ี นิ
อยา่ งเขม้ งวด เพอื่ ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนน้อยทสี่ ุด
- มกี ารติดตามและตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มเป็นระยะ ท้ังระยะสนั้ และระยะยาว
เพือ่ จะได้สามารถแกไ้ ขปัญหามลพิษท่อี าจเกดิ ขน้ึ อยา่ งทนั เวลา
แบบประเมนิ ผลการเรียนร้หู น่วยท่ี 2
ตอนที่ 1 จงเลือกคาตอบท่ถี กู ต้องที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว
1. ข้อใดกลา่ วถงึ ความหมายของมลพษิ ไดถ้ กู ต้องทสี่ ดุ
ก. สงิ่ ทีอ่ ยรู่ อบตัวมนษุ ย์
ข. สภาวะแวดลอ้ มทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจนเกดิ ความไมส่ มดุลของธรรมชาติ
ค. สภาวะแวดล้อมที่มีทง้ั โทษและประโยชนต์ ่อรา่ งกาย
ง. สภาวะแวดลอ้ มท่ีเกิดขึ้นจากธรรมชาติและเป็นโทษต่อส่ิงมชี ีวติ
2. ขอ้ ใดเปน็ สาเหตุของการเกดิ สารมลพษิ
ก. การกระทาของมนษุ ย์ ข. การเปล่ยี นแปลงตามธรรมชาติ
ค. การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ง. การพดั พาของแรงลม
3. สารมลพิษข้อใดสามารถยอ่ ยสลายได้
ก. โลหะ ข. ตะก่ัว
ค. ปรอท ง. ขยะมูลฝอย
4. “สาเหตุหน่งึ ของการเกดิ มลพษิ คอื การเพ่มิ ข้นึ ของประชากร” ขอ้ ใดสนับสนุนคากลา่ วข้างตน้
ก. ประชากรเพม่ิ ทาใหม้ กี ารผลิตเพ่ิมข้นึ ข. ประชากรเพิม่ ทาให้แยง่ กันกนิ แย่งกันใช้
43
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
ค. ประชากรเพมิ่ ทาให้มแี รงงานมากข้ึน ง. ประชากรเพม่ิ ทาให้มขี ้อบังคบั และกฎหมาย
มากขึ้น
5. ข้อใดกลา่ วถกู ต้อง
ก. เทคโนโลยีที่ทันสมัยขึน้ มีสว่ นชว่ ยในการลดมลพษิ
ข. เทคโนโลยีทท่ี ันสมยั ขน้ึ สามารถทาให้ตน้ ไม้โตขน้ึ อย่างรวดเร็ว
ค. เทคโนโลยีท่ที นั สมยั ข้ึนทาให้นาทรัพยากรธรรมชาติมาใชไ้ ดง้ ่ายจงึ กอ่ ให้เกิดมลพษิ มาก
ขึ้น
ง. เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั ขึน้ ช่วยให้เจ้าขององคก์ รมกี ารผลิตสินคา้ ทอ่ี นุรกั ษ์ธรรมชาตเิ พ่ิม
มากขน้ึ
6. ข้อใดเป็นมลพษิ ทางอากาศ
ก. อากาศชายทะเลมีลมพดั แรง ข. ลมพายทุ ี่พดั บ้านเรอื นประชาชน
ค. ลมจากทะเลทพ่ี ดั เขา้ หาฝ่งั ง. อากาศทเ่ี ตม็ ไปด้วยควนั จากการเผาปา่
7.สถานทใ่ี ดมมี ลพษิ ทางอากาศมากทีส่ ุด
ก. แหลง่ ชุมชนแออดั ข. แหล่งที่จราจรตดิ ขดั
ค. หา้ งสรรพสนิ ค้า ง. โรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่
8. มลพษิ ทางน้ากอ่ ให้เกิดผลเสยี ต่อการประมงตามข้อใด
ก. ทาให้นาเรือออกหาปลาลาบาก
ข. ทาให้หาปลายากข้ึนเนอื่ งจากน้ามสี ีดา
ค. ทาใหป้ ลาตายเนื่องจากขาดออกซเิ จนหรอื ปลาขาดอาหาร
ง. ทาให้ปลาสขุ ภาพไมด่ จี ึงขายไดใ้ นราคาตา่
9. แหล่งนา้ ท่ีมีลักษณะตามข้อใดท่กี อ่ ใหเ้ กิดมลพิษทางนา้ ได้
ข. นา้ ทมี่ ีปลาจานวนมาก ก. นา้ ทีอ่ ยนู่ ่ิงไมม่ ีการไหลเวียน
ค. นา้ ทีอ่ ยู่ใกล้แหล่งทีอ่ ยู่ของประชาชน ง. นา้ ที่มผี กั บุ้งลอยอยู่
10. พฤตกิ รรมของเกษตรกรข้อใดกอ่ ให้เกดิ มลพษิ ทางนา้ ได้
ก. ราภาอาบน้าในลาคลอง ข. ราเพยลา้ งคอกหมแู ล้วปล่อยนา้ ลงคลอง
ค. ราพึงตกปลาในลาคลองอย่เู สมอ ง. ราพนั เลี้ยงปลาในกระชัง
44
หลกั อาชีวอนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
11. ขอ้ ใดเป็นผลกระทบของมลพษิ ทางขยะ
ก. เปน็ แหลง่ ศึกษาเชือ้ โรคของนักศึกษาแพทยข์ . เปน็ แหลง่ ถ่วงความเจริญของประเทศ
ค. เปน็ แหลง่ พาหะนาโรคตดิ ต่อ
ง. เป็นแหล่งวัตถดุ ิบในการประดิษฐ์ของใชใ้ นบ้าน
12. มลพษิ ทางขยะทาให้เกดิ น้าทว่ ม สมั พนั ธ์กับข้อใด
ก. ขยะขนาดใหญ่อุดทอ่ ระบายน้าทาให้น้าไหลไม่สะดวก
ข. ขยะทีไ่ ม่สามารถทาลายไดก้ องทับถมเปน็ ขยะกองใหญ่
ค. ขยะทเี่ ปน็ อาหารเป็นแหล่งอาหารของหนูและแมลงสาบ
ง. ขยะท่ีถูกทาลายโดยการเผาทาใหเ้ กิดกล่ินเหมน็
13. ดนิ ในจงั หวัดใดไม่เหมาะสาหรับการเกษตร
ก. นครนายก ข. สมุทรปราการ
ค. สมุทรสาคร ง.พระนครศรอี ยธุ ยา
14. ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบจากมลพษิ ทางเสยี งที่เกิดผลเสยี ตอ่ ร่างกาย
ก. ทาให้การสื่อสารคลาดเคลื่อน ข. ทาให้หงุดหงิดและเสียสมาธิ
ค. ทาใหห้ วั ใจเต้นแรง ความดนั โลหิตสงู ง. ทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางานลดลง
15. เสียงของยานพาหนะทีใ่ ช้ในการคมนาคมเวลากลางวัน ต้องไม่เกนิ ระดบั ใด
ก. 50 เดซเิ บล ข. 55 เดซิเบล
ค. 60 เดซเิ บล ง. 65 เดซเิ บล
16.มนษุ ยส์ ามารถได้รบั มลพษิ ทางดินได้ตามข้อใด
ก. การทากจิ กรรมบนพ้ืนดิน ข. การบริโภคพชื ผกั ทป่ี ลูกในดนิ ทีม่ ีสารพิษ
ค. การปลอ่ ยใหส้ ัตวเ์ ลย้ี งไปเล่นบนพนื้ ดนิ ง. ลมพายพุ ัดฝนุ่ ดินเขา้ มาในอาคาร
17 อาหารข้อใดมคี วามเสย่ี งต่อการเจือปนของมลพษิ
ก. ขนมช้ันสีเขยี วท่ีทาจากใบเตย
ข. นา้ อัญชันมะนาวมีสมี ว่ งอ่อน
ค. ขนมลูกชุบมสี สี ันสวยงามหลากสี
ง.ขนมบวั ลอยหลากสีทาจากฟักทอง และมนั มว่ ง
45
หลักอาชีวอนามยั และความปลอดภัย20001-10001
18. อาหารข้อใดไมค่ วรทาน
ก. ขนมปงั ท่หี อมเนยและมเี นื้อนมุ่ ข. กาแฟเย็นทีม่ คี วามหวานมัน
ค. กะเพราหมกู รอบไขด่ าว ง. ลกู ช้นิ หมปู ิ้งทีม่ ีความกรอบมาก
19. อาหารข้อใดอาจมมี ลพษิ เจือปน
ก. หมสู ด ข. ปลาทอด
ค. ถ่วั ป่น ง. โรตี
20. ข้อใดเปน็ การแก้ไขปัญหามลพษิ ที่ได้ผลมากที่สุด
ก. เลอื กทานอาหารท่ีสะอาดปราศจากส่ิงสารพิษ
ข. ปลูกพืชคลมุ ดนิ เพื่อให้ดินอดุ มสมบูรณ์
ค. ควบคุมปริมาณการใช้สารในกระบวนการแปรรปู อาหาร
ง. ไม่ซกั ผา้ ในแมน่ ้าลาคลอง
ตอนท่ี 2 จงตอบคาถามต่อไปน้ี
1. จงอธิบายความหมายของมลพิษ และสารมลพิษ
2. จงอธบิ ายสารมลพษิ ที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์
3. จงอธบิ ายสาเหตุของมลพิษท่ีเกิดจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
4. จงอธิบายรายละเอียดของมลพิษทางอากาศ
5. จงอธบิ ายรายละเอยี ดของผลกระทบท่ีเกิดจากมลพษิ ทางนา้
46
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภัย20001-10001
6.จงอธิบายรายละเอยี ดของ “มลพิษทางขยะทาใหเ้ กดิ น้าท่วม
7.จงอธิบายผลกระทบของมลพษิ ทางเสียง
8. การกระทาของมนษุ ยล์ กั ษณะใดทก่ี ่อใหเ้ กดิ มลพิษทางดิน
9. สารปรุงแตง่ และถนอมอาหารท่กี อ่ ให้เกดิ มลพิษทางอาหารมอี ะไรบ้าง
10. จงอธิบายแนวทางแกไ้ ขปญั หามลพิษโดยใช้มาตรการทางกฎหมาย
ใบงานท่ี 2.1
ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม
นกั เรียนพจิ ารณาว่าในชีวิตประจาวันต้องพบกบั มลพษิ ใดบา้ ง (บอกมาทุกชนิดท่ีพบ) เพราะเหตใุ ดจงึ ต้อง
ประสบกบั มลพษิ เหล่านน้ั และนกั เรียนมแี นวทางการแก้ไขอย่างไรจึงจะปลอดภยั บันทึกลงในชอ่ งวา่ ง
ด้านล่าง
มลพิษที่ประสบ สาเหตุ แนวทางการแกไ้ ข
มลพษิ ทางอากาศ
น่ังรถประจาทางมาโรงเรยี นใน หนา้ กากอนามยั ปิดปากและจมูก
สภาพ การจราจรที่ติดขัดเพ่อื ป้องกัน
การหายใจเอาอากาศท่เี ป็นพษิ เขา้
สรู่ ่างกาย
47
มลพษิ ท่ปี ระสบ หลักอาชวี อนามัยและความปลอดภยั 20001-10001
สาเหตุ แนวทางการแก้ไข
ส่ิงท่ีไดร้ บั จากการปฎบิ ตั ิกิจกรรม
ใบงานท่ี2.2
ข้นั ตอนการปฎิบัติกิจกรรม
นักเรยี นสอื ค้นข้อมลู ว่าปัจจุบันมรสถานประกอบการใดท่มี ีการจัดกจิ กรรม หรือมกี ารดาเนินงานเพือ่
หลีกเลยี่ งหรือป้องกนั ไม่ใหม้ ีปญั หามลพิษเกดิ ขนึ้ จานวน 1สถานประกอบการ บนั ทกึ ลงในทว่ี า่ งด้านลา่ ง
ตัวอย่างสถานประกอบการที่มกี จิ กรรมหรือการดาเนนิ การเพอื่ หลกี เลย่ี ง/ป้องกันปัญหามลพิษ
สง่ิ ทไี่ ดร้ ับจากการปฎบิ ัติกิจกรรม
หนว่ ยขการเรียนรทู้ ่ี 3 โรคและอบุ ัตภิ ัยทีเ่ กดิ จากการทางาน
สาระสาคญั
48
หลักอาชวี อนามยั และความปลอดภัย20001-10001
การทางานแต่ละอาชพี ต้องสัมผสั กับสภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกันออกไป สภาพแวดลอ้ มหลายชนิด
เป็นสาเหตขุ องโรคและอุบัติภยั หากเกดิ ข้นึ กับผ้ปู ฏบิ ตั งิ านจะมีผลต่อสุขภาพตงั้ แต่เล็กน้อยไปจนถึงทพุ พล
ภาพและอาจรา้ ยแรงถงึ เสียชีวติ ได้ ดงั นั้นทุกคนจะต้องรวู้ ่าอาชพี ของตนต้องเจอกบั สภาพแวดลอ้ มชนิดใด
อนั ตรายอยา่ งไร และจะหลกี เล่ียงหรือป้องกนั อันตรายเหลา่ นน้ั ด้วยวธิ ีใด
สาระการเรยี นรู้
1. ความหมายของโรคและอุบตั ภิ ัยท่ีเกดิ จากการทางาน
2 โรคที่เกดิ จากการทางานและแนวทางป้องกัน
3. อบุ ตั ภิ ัยทเี่ กดิ จากการทางานและแนวทางป้องกัน
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั ความหมายของโรคและอบุ ัตภิ ยั ทีเ่ กิดจากการทางานได้
2.แสดงความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกดิ จากการทางานและแนวทางป้องกันได้
3. แสดงความรู้เกี่ยวกับอุบัติภัยที่เกดิ จากการทางานและแนวทางป้องกันได้
ความหมายของโรคและอุบัติภยั ทีเ่ กดิ จากการทางาน
49