คมู่ อื
การจัดตง้ั และการบรหิ ารจัดการ
ศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชริ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มพระราชทานชอื่ ศนู ย์พักพิงชัว่ คราว
สำ� หรับผปู้ ระสบภัยในจงั หวัดพ้นื ท่ตี ิดทะเลว่า “ศูนย์พกั พงิ รว่ มใจอนุ่ ไอรัก”
และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหอ้ ญั เชิญตราสญั ลักษณ์พระราชทาน
พิธีบรมราชาภิเษกพุทธศกั ราช 2562 ประดษิ ฐานที่ป้ายช่ือศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราวฯ
และอาคารอเนกประสงค์พร้อมน้ี ทรงพระราชทานภาพการต์ นู ฝีพระหัตถ์
และพระบรมราโชวาท ความว่า
“เตรียมพร้อม ป้องกนั ด้วยความเพยี ร เข้มแข็ง
พร้อมรบั สถานการณ์ ด้วยความเขา้ ใจ ถ่องแท้
รว่ มใจ ปฏบิ ัติ อย่างเป็นระบบ เมือ่ เกดิ ภัย
มัง่ คง แน่วแน่ แก้ไข ฟืน้ ฟู อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ”
“การจัดตง้ั และการบริหารจดั การศูนย์พกั พงิ ชัว่ คราว
จะต้องยดึ หลักการให้ความคมุ้ ครอง การใหค้ วามช่วยเหลอื
การมสี ว่ นรว่ ม กฎหมาย และมาตรฐาน
เพอ่ื ให้ผู้พกั พิงเข้าถงึ หลักสิทธมิ นุษยชนขั้นพื้นฐาน
อย่างท่วั ถงึ และเปน็ ธรรม”
ช่ือเร่ือง : คู่มือการจดั ต้ังและการบริหารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชั่วคราว
จัดทำ� โดย : กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย
ปี พ.ศ. ทพ่ี ิมพ์ : 2565
ISBN : 978-974-458-7367
ดาวน์โหลดคมู่ อื ฯ : http://assist.disaster.go.th/
หวั ขอ้ : คมู่ ือการปฏิบตั งิ าน
ค�ำน�ำ
การบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นส่วนหน่ึงของการจัดการ
สาธารณภัยตามที่ระบุไว้ ในพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ จงั หวดั
กรุงเทพมหานคร อ�ำเภอ และแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เมอื่ ผูป้ ระสบภยั ไมส่ ามารถอาศยั
อยู่ในบ้านเรือนตามปกติได้ ก�ำหนดให้มีการอพยพเคล่ือนย้ายผู้ประสบภัย
ไปยงั พนื้ ทปี่ ลอดภยั และสถานทช่ี วั่ คราว เพอื่ ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ใชอ้ ยอู่ าศยั และเขา้ ถงึ
การช่วยเหลือตามความจำ� เป็นขั้นพน้ื ฐาน
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะหน่วยงานกลางของรัฐ
ในการด�ำเนินการเก่ียวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ
ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว จงึ ไดร้ ว่ มกบั
หนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งและนกั วชิ าการดา้ นสาธารณภัย จัดทำ� “คมู่ อื การจัดตั้ง
และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว” ขนึ้ โดยเนอื้ หาจะกลา่ วถงึ การจดั ตง้ั
และการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวท่ีทางภาครัฐก�ำหนดสถานที่ไว้
ส�ำหรับเป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราวเพ่ือรองรับผู้ประสบภัย แบ่งเป็นสองส่วนหลัก
คอื สว่ นแรกเปน็ การสรา้ งความเขา้ ใจในกรอบแนวคดิ การจดั ตง้ั และการบรหิ าร
จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว และส่วนที่สองเป็นแนวทางการน�ำไปใช้ส�ำหรับ
ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน เพอื่ ใหห้ นว่ ยงานทกุ ภาคสว่ น ตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถน่ิ ถงึ ระดบั ประเทศ
คู่มอื การจัดต้งั และการบริหารจดั การศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว
มกี ารบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารบรู ณาการรว่ มกนั
อย่างมีเอกภาพในการบริหารจัดการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ และการให้ความ
คุ้มครองแก่ผู้พักพิง ขณะท่ีอยู่อาศัยในศูนย์พักพิงช่ัวคราวได้ตามมาตรฐาน
สากล สอดคล้องกบั สิทธขิ ้ันพ้นื ฐานของผปู้ ระสบภยั
คู่มือเล่มน้ีจะเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาศักยภาพการบริหาร
จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวส�ำหรับประเทศไทย ในท้ายนี้ กรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยขอขอบคุณที่ปรึกษา และคณะผู้จัดท�ำทุกท่าน หวังเป็น
อย่างย่งิ ว่า คู่มอื เลม่ นีจ้ ะเปน็ ประโยชน์แก่หนว่ ยงาน และผู้ที่เกย่ี วขอ้ งในการ
บริหารจัดการช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั ได้เปน็ อย่างดี
นายบุญธรรม เลิศสขุ ีเกษม
อธบิ ดีกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
บทสรุปการจดั ตงั้ และการบริหารจดั การ
ศนู ย์พกั พงิ ช่วั คราว
ประเทศไทยมพี ระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550
เปน็ กฎหมายหลกั ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ภายในราชอาณาจกั ร
โดยมีแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เป็นกรอบก�ำหนด
ทศิ ทางการปฏบิ ัติ ประสานการปฏบิ ัติ ให้การสนบั สนนุ และชว่ ยเหลือร่วมกับ
หนว่ ยงานของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานภาคเอกชนในการ
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และใหก้ ารสงเคราะหเ์ บอื้ งตน้ แกผ่ ปู้ ระสบภยั
ผู้ได้รับภยันตรายหรือผู้ได้รับความเสียหายจากสาธารณภัย โดยมีแผนการ
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
กรุงเทพมหานคร แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ�ำเภอ และ
แผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ เปน็ แผนในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั พน้ื ที่ เปน็ กลไก
ขบั เคล่ือนภารกิจงานดา้ นสาธารณภัยไปสู่การปฏบิ ัติ
เม่ือเกิดหรอื คาดวา่ จะเกิดสาธารณภยั ข้นึ แผนการปอ้ งกันและบรรเทา
สาธารณภยั ในระดบั พนื้ ที่ กำ� หนดใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ในระดบั พนื้ ท่ี จัดตัง้ “ศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์” (จังหวดั /กรุงเทพมหานคร/
อำ� เภอ/สำ� นกั งานเขต) ขน้ึ เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพกำ� ลงั และทรพั ยากร
คมู่ อื การจดั ต้ังและการบรหิ ารจดั การศูนย์พักพงิ ชั่วคราว
ในการจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น โดยมีผู้อ�ำนวยการจังหวัด ผู้อ�ำนวยการ
อำ� เภอ ผอู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร และผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการเขตกรงุ เทพมหานคร
ควบคมุ สง่ั การ และบญั ชาการ รบั ผดิ ชอบ ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ในพื้นที่รับผิดชอบ จนกว่าสถานการณ์สาธารณภัยจะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
โดยบรู ณาการ และประสานการเผชญิ เหตรุ ว่ มกบั หนว่ ยงานทกุ ภาคสว่ นในพนื้ ที่
สำ� หรบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ใหจ้ ดั ตงั้ “ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทอ้ งถน่ิ ”
(องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล/เทศบาล/เมอื งพทั ยา) ขน้ึ โดยมผี อู้ ำ� นวยการทอ้ งถน่ิ
รับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้ืนท่ี เป็นผู้ควบคุม
และสงั่ การ เพอื่ ทำ� หน้าทจ่ี ดั การสาธารณภยั ในพน้ื ท่ีจนกวา่ สถานการณจ์ ะเขา้ สู่
ภาวะปกติ หรือสถานการณส์ าธารณภยั ยตุ ิลง
เมอื่ เกดิ เหตสุ าธารณภยั จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารอพยพเคลอื่ นยา้ ยผปู้ ระสบภยั
ออกจากพื้นที่อันตรายเพื่อไปพักอาศัยอยู่ในพ้ืนที่ปลอดภัย จึงมีการจัดต้ัง
ศูนย์พักพิงช่ัวคราวขึน้ เพือ่ รองรบั ผอู้ พยพได้พกั อาศยั และการบริหารจดั การ
ศูนย์พักพิงช่ัวคราวก็เป็นอีกภารกิจส่วนหน่ึงของกองอ�ำนวยการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั ในเขตพนื้ ที่ ซงึ่ ตอ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ มมี าตรฐาน
ผู้พักพิงได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง เป็นธรรม ดังนั้น จึงต้องมีการวางระบบ
การบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวให้เหมาะสมกับจ�ำนวนผู้พักพิง มีความ
ปลอดภัย รวมทั้งความสะอาด และสุขอนามัย ฯลฯ ขณะทพี่ ักอาศัยอย่ภู ายใน
ศูนย์พักพิงชั่วคราว ทั้งนี้ การจัดตั้งศูนย์พักพิงช่ัวคราว คณะกรรมการหรือ
ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งควรวางแผนใหค้ รอบคลมุ ทงั้ ระบบกอ่ นทจี่ ะมกี ารจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว โดยวางระบบตามวงจรศนู ย์พกั พิงช่วั คราว ต้ังแตก่ ารวางแผนจัดต้ัง
ศูนย์พกั พิงชัว่ คราว การบริหารจัดการภายในศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราว และการปดิ
ศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราว รวมท้ังการจดั หางบประมาณในการบริหารจัดการ โดยมี
แนวทางด�ำเนนิ การแบง่ ออกเปน็ ๓ ระยะ ดงั น้ี
การวางแผน การบรหิ ารจัดการ การปิดศนู ย์พักพงิ
จัดต้ังศูนยพ์ กั พิง ศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว ชว่ั คราว
ช่ัวคราว
วงจรศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว
1 การวางแผนจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นการด�ำเนินการก่อนเกิดเหตุ
เปน็ ชว่ งการเตรยี มจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยจะตอ้ งมกี ารวางแผนครอบคลมุ
ตงั้ แตก่ อ่ นเปดิ จนกระทง่ั ปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ใหค้ วามสำ� คญั กบั การคดั เลอื ก
ทำ� เลทต่ี ง้ั ของศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว การวางแผนผงั การใชพ้ น้ื ที่ การจดั ใหม้ รี ะบบ
สาธารณปู โภค และความจำ� เปน็ พนื้ ฐาน การเตรยี มการเปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ดังนี้
คู่มอื การจัดต้ังและการบริหารจัดการศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว
v การคดั เลือกท�ำเลทต่ี ง้ั ของศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว อาคารสถานท่ีตอ้ งมี
โครงสร้างท่แี ขง็ แรง ต้ังอยู่ในพื้นท่ปี ลอดภยั ไมม่ ีอันตรายจากภัยคุกคามต่าง ๆ
การเดนิ ทางเขา้ - ออก ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวมคี วามสะดวก และมีความพร้อม
ด้านสาธารณปู โภคพ้นื ฐานทมี่ คี วามเหมาะสมกบั จ�ำนวนผ้พู ักพงิ
v วางแผนผงั การใชพ้ น้ื ที่ ตอ้ งมคี วามเหมาะสมกบั จำ� นวนผพู้ กั พงิ และ
มกี ารก�ำหนดพื้นที่ท่ีเปน็ สดั สว่ น เหมาะสมกับการใชง้ านด้านตา่ ง ๆ เชน่ พื้นท่ี
สำ� หรบั พกั เปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั พน้ื ทบ่ี รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ พนื้ ทจี่ ดั เกบ็ กระจายสง่ิ ของ
บรรเทาทุกข์ ของบริจาค พ้ืนที่โรงครวั พ้ืนทสี่ �ำหรับประสานงาน ฯลฯ รวมถึง
เตรยี มสง่ิ อำ� นวยความสะดวกสำ� หรบั ผพู้ กั พงิ และกลมุ่ เปราะบาง (เดก็ ผสู้ งู อายุ
คนพิการ เปน็ ต้น)
v การจดั ใหม้ รี ะบบสาธารณปู โภคและความจำ� เปน็ พน้ื ฐาน เชน่ ระบบ
น�้ำประปา ไฟฟา้ การคมนาคม เพ่อื เอ้ือต่อความสะดวกในการดำ� รงชวี ติ ประจำ� วนั
โดยนำ� มาตรฐานขนั้ ตำ�่ ตามหลกั สากลมาประยกุ ตใ์ ชภ้ ายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
เพ่ือให้ผู้พักพิงมีคุณภาพชีวิตที่ดีเมื่อพักอาศัยอยู่ภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว
การกำ� หนดใหม้ ที พี่ กั นอนไมแ่ ออดั เกนิ ไป ทซี่ กั ลา้ ง หอ้ งสขุ า 1 หอ้ ง ตอ่ ผพู้ กั พงิ
20 คน ฯลฯ
v การจัดหางบประมาณในการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ให้ครอบคลุมต้ังแต่การจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว การบริหารจัดการภายใน
ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว รวมทง้ั งบประมาณในการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยพจิ ารณา
จากงบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปี /งบกลาง (หนว่ ยงาน/รฐั บาล) /งบประมาณ
สนับสนนุ จากแหลง่ อืน่ ๆ อาทิ เงนิ บรจิ าค เงินชว่ ยเหลือจากหน่วยงานหรอื
องค์กรตา่ ง ๆ
v การเตรียมการเปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราว โดยการเตรียมความพร้อม
ดา้ นสถานท่ี ด้านบคุ ลากร งบประมาณ/งบประมาณสนบั สนุนจากแหลง่ อน่ื ๆ
การกำ� หนดขอ้ ปฏบิ ตั กิ ตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ของผพู้ กั พงิ เปน็ ตน้
v กำ� หนดกลไกการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยผอู้ ำ� นวยการ/
ผบู้ ญั ชาการ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ประกอบดว้ ย
ผปู้ ระสานงานศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวและผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว รวมถงึ ทมี งาน
ทแี่ ตง่ ตงั้ โดยผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ไดแ้ ก่ ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ฝ่ายอ�ำนวยการ ฝ่ายปฏิบัติการ และคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ มีหน้าที่ในการ
อำ� นวยการ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เชน่ การคดั เลอื กสถานท่ี
ปลอดภยั การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว การแจง้ เปดิ - การปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว และการใช้พ้ืนที่ของศูนย์พักพิงช่ัวคราว ตลอดจนการส่งคืนพ้ืนท่ี
ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว และทรพั ยากรตอ่ ภาคสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พรอ้ มทงั้ กำ� หนดบทบาท
หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบ โดยสรปุ ดงั นี้
ค่มู ือการจดั ต้ังและการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว
ท่ี กองอ�ำนวยการกลางศูนย์พกั พงิ ชั่วคราว/ บทบาทหนา้ ท่ี
คณะกรรมการ/ คณะทำ� งาน
1 กองอ�ำนวยการกลางศูนย์พักพิงชั่วคราว - ก�ำหนดนโยบาย แนวทาง มาตรการ และ
เป็นส่วนหน่ึงของกองบัญชาการป้องกันและ อำ� นวยความสะดวกในการจดั ตงั้ และการบรหิ าร
บรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการ จัดการศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้ืนที่ - สั่งการเปิด การบริหารจัดการ และปิด
และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/ ศูนยพ์ กั พิงช่วั คราว
กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต)
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น (องค์การ
บรหิ ารสว่ นต�ำบล/เทศบาล/เมอื งพัทยา)
2 ผู้ประสานงานศนู ย์พกั พิงชัว่ คราว - ประสานงานระหว่างศูนย์พักพิงชั่วคราว
ทมี่ กี ารจดั ตงั้ ขนึ้ และหนว่ ยงานทเ่ี ขา้ ใหค้ วาม
ชว่ ยเหลอื เปน็ ต้น
3 คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิง - จดั ตัง้ ทีมบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว
ช่ัวคราว - วางแผนการเปิด - ปิดศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว
ตามนโยบายและขอ้ สง่ั การของกองอำ� นวยการกลาง
ศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว
- อำ� นวยการ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว เช่น การคดั เลอื กสถานทป่ี ลอดภยั
การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว การแจง้
เปดิ - การปดิ ศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว และการใช้
พื้นท่ีของศูนย์พักพิงช่ัวคราว ตลอดจน
การส่งคืนพื้นท่ีศูนย์พักพิงชั่วคราว และ
ทรัพยากรต่อภาคส่วนท่ีเก่ียวขอ้ ง เปน็ ต้น
3.1 ผจู้ ดั การศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว - บริหารจัดการภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราว
รว่ มกบั คณะทำ� งานด้านตา่ ง ๆ
ที่ กองอำ� นวยการกลางศนู ย์พกั พิงช่วั คราว/ บทบาทหนา้ ท่ี
คณะกรรมการ/ คณะทำ� งาน
3.2 ผูช้ ่วยผู้จัดการศูนยพ์ ักพงิ ช่วั คราว - ช่วยเหลือผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ในการบริหารจัดการศนู ย์พกั พิงชัว่ คราว
3.3 ฝ่ายอำ� นวยการ - อ�ำนวยการและบริหารจัดการงานต่าง ๆ
เช่น งานธุรการ งานเอกสาร งานการประชมุ
งานการเงนิ บญั ชี และพสั ดุ การจดั ท�ำบญั ชี
รายชือ่ ผพู้ ักพิง เปน็ ตน้
3.4 ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร - ด�ำเนินกิจกรรมประจ�ำวันขณะเปิด
(คณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ดา้ นสถานที่ และ ศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว
สงิ่ แวดลอ้ ม ดา้ นโภชนาการ ดา้ นบรรเทาทกุ ข์ - จดั พน้ื ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
เปน็ ต้น) มสี ุขอนามยั เป็นตน้
2 การบริหารจดั การศนู ย์พักพิงช่วั คราว เปน็ ระยะเวลาที่เรมิ่ เปดิ และใชง้ าน
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว และมีกระบวนการคัดกรองผู้พักพิงให้เข้าพักอาศัยอยู่
ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว จงึ มกี ารบรหิ ารจดั การพน้ื ทแี่ ละสภาพความเปน็ อยู่
อยา่ งเปน็ ระบบ มีระเบยี บ ผูพ้ กั พงิ มสี ขุ อนามยั ท่ีดี เพราะการพกั อาศยั อยู่ใน
ศูนย์พักพิงช่ัวคราวมีผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้พักพิง
ต้องไดร้ ับการใหบ้ รกิ ารและการคุ้มครองข้ันต�่ำตามหลักสากล ดงั นี้
v การดูแลด้านความปลอดภัย คุณภาพความเปน็ อยู่
v การจดั การดา้ นอาหาร สขุ าภบิ าล และความเปน็ อยใู่ หม้ คี วามสะดวก
v การดแู ลดา้ นสขุ าภบิ าลและการสง่ เสรมิ สขุ ภาพอนามยั เชน่ หอ้ งนำ้�
พืน้ ท่ีซกั ล้าง จดุ ทงิ้ ขยะ เปน็ ตน้
คมู่ อื การจดั ตั้งและการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพงิ ชั่วคราว
v การรักษาพยาบาล และการควบคมุ ปอ้ งกนั โรคเปน็ ไปอย่างทวั่ ถึง
v การปฏิบัติตามกฎระเบียบ และกติกาการอยู่ร่วมกันของผู้พักพิง
ภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น การดูแลรักษาความสะอาด การปฏิบัติตาม
มาตรการควบคมุ โรคของกระทรวงสาธารณสุข เปน็ ต้น
v การมีกิจกรรมประจ�ำวัน และกิจกรรมเสริม เช่น การให้ข้อมูล
ข่าวสาร กจิ กรรมสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ เปน็ ตน้
v การติดตาม ตรวจสอบการท�ำงานภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราว เช่น
สำ� รวจและประเมินความพงึ พอใจของผู้พกั พิง เปน็ ตน้
3 การปิดศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว อาจมผี ลมาจากสถานการณภ์ ัยคลีค่ ลาย/ยุติ
หรอื การปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวดว้ ยเหตอุ นื่ ใด จงึ ตอ้ งมกี ารเตรยี มปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชว่ั คราวและอพยพตามแผนการส่งกลับผพู้ ักพิงให้ชัดเจน ดังน้ี
v การเตรยี มการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ตดิ ตาม ตรวจสอบความเคลอื่ นไหว
ของสถานการณ์สาธารณภัย (คล่ีคลาย/ยุติ) จัดเตรียมเอกสารและประสาน
หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มอพยพตามแผนการสง่ กลบั เชน่
เจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร จิตอาสา ยานพาหนะ เปน็ ตน้
v การวางแผนปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร
จดั การศนู ยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว และมอบหมายผู้รบั ผิดชอบใหช้ ดั เจน
v กำ� หนดระยะเวลาในการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และประชาสมั พนั ธ์
วันที่ เวลาท่ีปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราวพร้อมท้ังสื่อสารความเข้าใจข้ันตอน
การปฏบิ ัตใิ นการปดิ ศนู ยพ์ กั พิงช่วั คราว และการอพยพกลับให้แกผ่ ู้พกั พิง
v ประเมินและสอบถามความต้องการในการอพยพกลับของผู้พักพิง
เพ่อื เปน็ ข้อมูลในการอพยพกลบั
v ตรวจสอบอาคารสถานท่ี สงิ่ สาธารณปู โภคทชี่ ำ� รดุ เสยี หาย เพอื่ เปน็
ข้อมูลในการซอ่ มแซม พรอ้ มทัง้ ท�ำความสะอาดพ้ืนทศี่ นู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว และ
บริเวณโดยรอบ ก่อนปิดศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว
v ประสานหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบในการจดั รถรบั สง่ เพอ่ื สง่ กลบั ผพู้ กั พงิ
v ผู้พักพิงลงทะเบียนออกจากศูนย์พักพิงช่ัวคราว ตามแผนการปิด
ศนู ย์พกั พงิ ชั่วคราว เพอ่ื สง่ กลบั ผู้พักพงิ ออกจากศูนย์พกั พงิ ช่ัวคราว
v จัดเก็บรวบรวมข้อมูลส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่เป็น
สถานท่ีตั้งศูนยพ์ ักพิงชั่วคราว
v ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสถานที่ ส่ิงสาธารณูปโภคที่ช�ำรุดเสียหาย
และสภาพแวดลอ้ มโดยรอบให้อยู่ในสภาพเดิม กอ่ นส่งคืนพืน้ ท่ี
v สง่ คนื พ้ืนท่ศี นู ยพ์ กั พิงชว่ั คราวให้แกเ่ จา้ ของสถานท่ี
v ปดิ ศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว
v รายงานผลการด�ำเนินการและการปิดศูนย์ให้ผู้อ�ำนวยการ/
ผู้บญั ชาการทราบ
การจัดตัง้ และการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพิงชั่วคราวจะตอ้ งยึดหลกั การ
ใหค้ วามคุม้ ครอง การใหค้ วามชว่ ยเหลอื การมสี ่วนร่วม กฎหมาย และ
มาตรฐาน เพ่อื ให้ผู้พักพิงเขา้ ถงึ หลักสทิ ธมิ นษุ ยชนขั้นพ้ืนฐานอยา่ งท่วั ถึง
และเป็นธรรม
สารบัญ
พระบรมราโชวาท
คำ� นำ�
บทสรุปการจดั ตัง้ และการบรหิ ารจดั การศูนย์พักพงิ ช่วั คราว
สารบญั
สารบญั แผนภาพ
สารบญั ตาราง
บทที่ 1 บทนำ� 1
1.1 ความส�ำคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค ์ 3
1.3 ขอบเขต 4
1.4 กรอบแนวคิดในการบริหารจัดการศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว 5
1.5 ค�ำจำ� กัดความ 7
1.6 กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบริหารจดั การศูนยพ์ กั พิงชว่ั คราว 9
บทท่ี 2 การวางแผนจัดตงั้ ศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราว 19
2.1 วงจรศูนย์พักพิงช่ัวคราว 20
2.1.1 ระยะการวางแผนการจดั ตง้ั ศนู ย์พักพิงชั่วคราว 21
2.1.2 ระยะการบริหารจัดการศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราว 22
2.1.3 ระยะการปดิ ศนู ยพ์ กั พิงชว่ั คราว 23
คมู่ อื การจัดตั้งและการบริหารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว
สารบญั (ต่อ)
2.2 การเตรยี มจดั ตัง้ ศูนยพ์ ักพิงช่ัวคราว 24
2.2.1 การคดั เลอื กท�ำเลทีต่ ัง้ ศนู ย์พักพงิ ช่วั คราว 25
(1) หลักการพิจารณาคดั เลือกท�ำเลท่ีตง้ั 25
ศนู ย์พกั พงิ ช่วั คราว
(2) กระบวนการคดั เลอื กสถานท่ี 27
(3) คณุ ลกั ษณะของพื้นทปี่ ลอดภยั สำ� หรับ 29
จดั ตั้งศูนย์พกั พงิ ชั่วคราว
2.2.2 การพจิ ารณาสถานทีใ่ นชมุ ชนเพอ่ื จัดตั้ง 30
ศนู ยพ์ กั พิงช่วั คราว
2.2.3 การคัดเลอื กอาคารสง่ิ ก่อสรา้ งสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ 33
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว
2.2.4 การปรบั ปรงุ อาคารสถานที่และการเพ่ิมสิง่ อำ� นวย 35
ความสะดวกสำ� หรับกลุ่มเปราะบาง
2.3 การแตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการศนู ยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว 41
2.3.1 ค�ำจำ� กดั ความ 43
2.3.2 โครงสรา้ งการบริหารศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว 45
สารบญั (ต่อ)
2.3.3 บทบาทหน้าทใี่ นการบริหารจดั การศูนย์พักพิงช่วั คราว 46
47
- กองอำ� นวยการกลางศูนย์พักพิงชว่ั คราว 48
52
- คณะกรรมการบริหารจัดการศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว 59
- คณะท�ำงานด้านตา่ ง ๆ 61
2.4 แหลง่ ทม่ี าของงบประมาณในการบรหิ ารจดั การ 61
ศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว 61
บทท่ี 3 การจดั การพ้ืนทีแ่ ละการเปิดศนู ย์พกั พิงช่วั คราว 62
3.1 ความจ�ำเป็นขัน้ พื้นฐานส�ำหรับศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว 62
3.1.1 นำ้� เพือ่ การอุปโภค บรโิ ภค 70
70
3.1.2 การจัดสรรพน้ื ท่ภี ายในศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว 71
71
3.1.3 การบรหิ ารจัดการพืน้ ทีภ่ ายในศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว 73
3.1.4 การจัดระบบสาธารณูปโภค
3.1.5 ระบบการติดต่อสื่อสารข้อมลู
3.1.6 การอำ� นวยความสะดวก
3.1.7 ตวั อยา่ งการวางแผนผงั ศูนยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว
3.1.8 การประยกุ ตใ์ ช้ทรพั ยากรและภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ
คมู่ อื การจดั ตง้ั และการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ กั พิงช่วั คราว
สารบญั (ตอ่ )
3.2 กระบวนการเปิดศนู ย์พักพิงชั่วคราว 74
3.2.1 การประสานงานเพอื่ เปิดศนู ย์พกั พิงชั่วคราว 74
3.2.2 การเตรยี มความพรอ้ มเพื่อการเปดิ ศูนย์พักพิงช่วั คราว 74
(1) ด้านสถานท ี่ 74
(2) ดา้ นบุคลากร 75
(3) ดา้ นการจดั เตรียมอุปกรณ์เคร่ืองใชท้ จ่ี �ำเปน็ ตา่ ง ๆ 75
(4) ดา้ นการกำ� หนดข้อปฏิบตั ิ กตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั 75
ภายในศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว
(5) ด้านการเตรยี มบันทกึ ขอ้ มูลภายในศนู ยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว 75
3.2.3 ขัน้ ตอนการรับผ้พู กั พิงเขา้ ศูนยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว 76
บทที่ 4 การบริหารจดั การศูนย์พักพิงชั่วคราว 83
4.1 แนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารจัดการภายในศูนย์พกั พงิ ช่วั คราว 84
4.2 กลไกการบริหารจัดการภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว 87
4.3 แนวทางการบริหารจดั การศูนย์พกั พงิ ชั่วคราวในด้านตา่ ง ๆ 89
4.3.1 การบรหิ ารจัดการระบบการเก็บข้อมลู ภายใน 89
ศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว
4.3.2 การสอื่ สารและการประชาสัมพันธ์ 90
สารบญั (ตอ่ )
4.3.3 การคมุ้ ครอง ดูแลความปลอดภัยของผพู้ กั พิง 91
4.3.4 การแพทยแ์ ละการสาธารณสุข 96
4.3.5 การแจกจา่ ยน้ำ� อาหาร และสง่ิ ของบริจาค 109
4.3.6 การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของผูพ้ ักพงิ 109
4.3.7 การก�ำหนดให้มกี ิจกรรมประจ�ำวนั และกิจกรรมเสริม 109
4.3.8 การตดิ ตาม ตรวจสอบการท�ำงานภายใน 113
ศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
บทท่ี 5 การปิดศนู ยพ์ กั พงิ ช่วั คราว 115
5.1 ประเภทการปิดศูนย์พกั พิงชั่วคราว 115
5.1.1 ปดิ ศนู ย์พักพิงช่ัวคราวเม่อื สถานการณส์ าธารณภยั 115
สิ้นสุดหรอื คลีค่ ลาย
5.1.2 ปิดศูนยพ์ กั พงิ ช่ัวคราวแบบกะทันหัน หรือการปดิ 116
เพ่ือย้ายสถานที่เมื่อเกดิ ภัยคุกคาม
5.2 การเตรยี มการปิดศนู ย์พกั พงิ ช่วั คราว 116
5.2.1 ติดตาม ตรวจสอบความเคลอื่ นไหวของสถานการณ์ 116
สาธารณภยั คลค่ี ลายหรอื ยุติ
คู่มือการจัดตงั้ และการบริหารจัดการศูนยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
สารบญั (ตอ่ )
5.2.2 จัดเตรียมเอกสารและแบบลงทะเบยี นข้อมูลการสง่ กลบั 116
5.2.3 ประสานเตรยี มความพรอ้ มอพยพตามแผนการส่งกลับ 117
5.3 การปิดศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว 117
5.3.1 ประชุมเตรยี มการอพยพตามแผนการสง่ กลบั 118
5.3.2 ประสานการอพยพกลบั 118
5.3.3 ประชาสมั พันธก์ ารปดิ ศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว 118
5.3.4 ประเมินตรวจสอบความต้องการกลับท่ีอยูอ่ าศัย 119
ของผพู้ กั พงิ
5.3.5 การบ�ำรงุ รกั ษาอาคารสถานท่ีกอ่ นส่งคนื พื้นท่ี 119
ศนู ย์พกั พิงชั่วคราว
5.3.6 การลงทะเบยี นออกและการจดั เก็บรวบรวมเอกสาร 120
ทเี่ กยี่ วข้อง
5.3.7 การซอ่ มแซมอาคารสถานทท่ี ่ชี �ำรดุ เสยี หาย 121
ใหอ้ ยู่ในสภาพเดมิ
5.3.8 ปดิ ศนู ยพ์ ักพิงชวั่ คราว 121
สารบญั (ต่อ)
ภาคผนวก 123
1 ความเชอื่ มโยงการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพิงช่วั คราวกบั 125
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ และโครงสรา้ ง
บทบาทหนา้ ทก่ี ารบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชวั่ คราว 129
2 ตวั อยา่ งขอ้ ปฏิบัตสิ ำ� หรบั ผ้พู ักพงิ ในศูนย์พกั พิงช่วั คราว 131
3 รายการตรวจสอบ (Check List) 131
- การตรวจสอบการด�ำเนนิ การก่อนเกิดภัย (ศพช. 1) 133
138
- การวางแผนการจดั ตั้งศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราวก่อนเกิดภยั (ศพช. 1) 153
159
- การตรวจสอบการด�ำเนินการขณะเกิดภัย (ศพช. 1) 163
167
- การจัดการพื้นที่และการเปดิ ศูนย์พักพงิ ชั่วคราว (ศพช. 2) 167
169
- การบริหารจัดการศูนย์พักพิงชวั่ คราว (ศพช. 3) 171
- การปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว (ศพช. 4)
4 ตวั อยา่ งแบบฟอร์มต่าง ๆ
- แบบลงทะเบียนผพู้ กั พิง
- แบบบนั ทึกคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศูนย์พกั พงิ ชั่วคราว
- แบบบนั ทึกผพู้ ักพงิ รายวัน
คมู่ อื การจดั ตั้งและการบรหิ ารจดั การศนู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว
สารบัญ (ตอ่ )
- แบบรายงานเพ่ือขอรบั การสนบั สนุนจากหน่วยงานภายนอก 172
- แบบสำ� รวจความพึงพอใจของผูพ้ ักพงิ ในศนู ย์พักพิงช่วั คราว 173
- แบบรายงานการเตรยี มความพร้อมศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว 175
(กรงุ เทพมหานคร)
- แบบรายงานการเตรยี มความพรอ้ มศนู ยพ์ ักพงิ ช่วั คราว (จงั หวดั ) 176
5 คู่มอื การปฏิบัติงานการบริหารจัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว 177
ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID - 19 (ฉบบั เพิ่มเติม)
เอกสารอ้างองิ 178
ทีป่ รึกษาและคณะผู้จัดท�ำ 181
สารบัญแผนภาพ
2.1 การจัดตั้งศูนย์พักพิงช่ัวคราวที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก 40
แก่กล่มุ เปราะบาง
2.2 ความเชื่อมโยงการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว 57
กับแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ
2.3 โครงสรา้ งบทบาทหน้าทก่ี ารบริหารจดั การศูนย์พักพงิ ชัว่ คราว 58
2.4 แหลง่ ที่มาของงบประมาณในการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว 59
3.1 ตวั อย่างการดแู ลสตั วเ์ ล้ยี งในบรเิ วณศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว 67
3.2 ตัวอย่างการวางผังการใช้พ้นื ท่ีใช้สอยภายในศนู ย์พักพิงช่ัวคราว 72
3.3 ตวั อยา่ งการจดั พื้นทพ่ี กั อาศยั ให้มคี วามเป็นส่วนตัว 73
ในศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว : ประเทศญี่ปนุ่
3.4 ตวั อยา่ งการประยกุ ต์ใช้ทรพั ยากรและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ : ประเทศไทย 73
3.5 ขน้ั ตอนการรบั ผู้พักพงิ เขา้ ศูนย์พกั พิงชวั่ คราว 80
3.6 กระบวนการด�ำเนนิ งานภายในศนู ยพ์ กั พิงชว่ั คราว 81
4.1 กลไกการบรหิ ารจัดการภายในศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว 88
4.2 ตัวอย่างคณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ ในศนู ย์พักพิงชวั่ คราว 88
4.3 ตวั อยา่ งกิจกรรมในการบรหิ ารจัดการศนู ย์พักพิงช่วั คราว 112
4.4 การบริหารจดั การศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว 114
5.1 การเตรียมการปดิ ศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว 122
ภาคผนวก 1 แผนผังการจัดตง้ั องค์กรปฏบิ ตั ิในการจัดการสาธารณภยั 128
ในภาวะฉุกเฉนิ
สารบัญตาราง
2.1 ข้อพจิ ารณาในการเลือกทำ� เลที่ตั้ง 26
2.2 การเลือกสถานที่ต้ังศูนยพ์ ักพิงช่วั คราว 31
2.3 หลกั การพจิ ารณาคัดเลือกอาคารส่ิงกอ่ สร้างสำ� หรับ 33
ใชเ้ ปน็ ศูนย์พักพงิ ช่ัวคราว
2.4 ตัวอยา่ งการจดั สิง่ อ�ำนวยความสะดวกทจี่ ำ� เปน็ ส�ำหรับ 39
กล่มุ เปราะบางในศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว
2.5 บทบาทหน้าที่ของกองอำ� นวยการกลางศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว 47
2.6 บทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศูนยพ์ ักพิงชั่วคราว 48
2.7 บทบาทหนา้ ท่ขี องคณะทำ� งานด้านตา่ ง ๆ 52
3.1 การจดั สรรพ้นื ที่ส่วนตวั และพ้นื ทใ่ี ชส้ อยสำ� หรบั ศูนย์พกั พงิ ชวั่ คราว 68
บทท่ี 1
1 บทน�ำ
บทท่ี
1.1 ความส�ำคัญ
ปัจจุบันสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้นท่ัวโลกและในประเทศไทยมีความถี่และ
ความรุนแรงมากข้ึน อันเน่ืองมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น การขยายตัว
ของชมุ ชนเมอื งทท่ี ำ� ใหป้ ระชาชนอาศยั อยใู่ นพนื้ ทเ่ี สย่ี งภยั เพมิ่ ขน้ึ การเปลยี่ นแปลง
ของสภาพภูมิอากาศส่งผลให้ฤดูกาลเปล่ียนแปลง เช่น เกิดพายุขนาดใหญ่
ในบรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ตู ร ทำ� ใหฝ้ นตกหนกั ในประเทศไทย เกดิ นำ�้ ทว่ มสงู ฉบั พลนั
นำ้� ปา่ ไหลหลาก เปน็ วงกวา้ ง แมว้ า่ ประเทศไทยจะมแี ผนการปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภัยที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับจนสามารถลดอัตราการเสียชีวิตจาก
สาธารณภยั ได้ แตจ่ ำ� นวนผปู้ ระสบภยั หรอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์
สาธารณภยั กลบั มสี งู ขนึ้ บอ่ ยครง้ั ทสี่ าธารณภยั เปน็ เหตใุ หป้ ระชาชนตอ้ งอพยพ
ออกจากที่อยู่อาศัย ไม่ว่าจะเป็นการอพยพล่วงหน้า หรือการอพยพขณะเกิด
สถานการณ์ หรอื การอพยพออกจากพ้นื ทปี่ ระสบภัยหลังจากเกิดสาธารณภยั
ตวั อยา่ งเช่น เหตุการณ์มหาอุทกภัย (พ.ศ. 2554) เป็นปที ีเ่ กดิ อุทกภยั ในพ้นื ท่ี
หลายจงั หวดั และกรงุ เทพมหานคร มผี ปู้ ระสบภยั ตอ้ งอพยพออกจากทอี่ ยอู่ าศยั
มายังศูนย์พักพิงท่ีหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชนจัดไว้ในพื้นที่ต่าง ๆ
เปน็ จำ� นวนมาก เหตกุ ารณแ์ ผ่นดินไหวในจงั หวัดเชยี งราย (พ.ศ. 2557) ทำ� ให้
1
ค่มู ือการจัดตัง้ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว
ทอี่ ยอู่ าศยั ไดร้ บั ความเสยี หายในทนั ที ประชาชนไมส่ ามารถอยใู่ นอาคารบา้ นเรอื น
ทไ่ี มป่ ลอดภยั เนอื่ งจากยงั มกี ารสนั่ สะเทอื นหลงั แผน่ ดนิ ไหว หรอื อาฟเตอรช์ อ็ ก
ตามมา เหตกุ ารณพ์ ายปุ าบกึ (พ.ศ. 2562) ทมี่ กี ารสงั่ อพยพประชาชนลว่ งหนา้
หลายตำ� บลตามเสน้ ทางพายุ หรอื ในกรณอี บุ ตั ภิ ยั รา้ ยแรง เชน่ เหตกุ ารณส์ ารเคมี
ระเบิดและเพลิงไหม้ในโรงงานย่านกงิ่ แก้ว จงั หวดั สมทุ รปราการ (พ.ศ. 2564)
ซ่ึงต้องอพยพประชาชนในรศั มี 5 กโิ ลเมตรจากจุดเกดิ เหตุ เป็นตน้
การจัดต้ังศูนย์พักพิงช่ัวคราวส�ำหรับผู้ประสบภัยจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นท่ี
หนว่ ยงานของรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ และองค์กรสาธารณกุศลตา่ ง ๆ
จะต้องเข้ามาด�ำเนินการร่วมกันเพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประสบภัย
การจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวเพ่ือรองรับผู้ประสบภัยให้ได้อยู่อาศัยในขณะ
เกิดสาธารณภัย และเข้าถึงการช่วยเหลือข้ันพื้นฐานตามหลักสิทธิมนุษยชน
อย่างท่ัวถึง ซ่ึงเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 และแผนการปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภยั ในทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั ชาติ ระดบั จงั หวดั กรงุ เทพมหานคร ระดบั
อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต ไปจนถึงแผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดตั้งและบริหารจัดการ
ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวเปน็ การดำ� เนนิ การทจี่ ะตอ้ งอาศยั การประสานความรว่ มมอื
และการระดมทรพั ยากรจากหนว่ ยงานภาครฐั เอกชน อาสาสมคั ร ตลอดจนชมุ ชน
ทปี่ ระสบภยั และชุมชนข้างเคยี ง
2
บทท่ี 1
กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คญั ในการสง่ เสรมิ
และสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ให้เป็นระบบ มีมาตรฐาน เพือ่ การบูรณาการจากทุกภาคสว่ นทีเ่ กี่ยวขอ้ งอยา่ งมี
เอกภาพ จงึ ไดร้ ว่ มกบั หนว่ ยงานของรฐั องค์กรสาธารณกศุ ล องคก์ รระหว่าง
ประเทศ และนกั วชิ าการดา้ นสาธารณภยั จดั ทำ� “คมู่ อื การจดั ตงั้ และการบรหิ าร
จดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว” เลม่ นขี้ นึ้ เพอ่ื พฒั นาความรแู้ ละศกั ยภาพดา้ นการ
บรรเทาทุกข์ให้แก่หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมในประเทศไทย
อันจะน�ำไปสู่การส่งเสริมการบริหารจัดการสาธารณภัยของประเทศให้มี
ประสิทธภิ าพมากยิ่งข้ึน
1.2 วตั ถุประสงค์
1.2.1 เพ่ือเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน
ตง้ั แตร่ ะดบั ทอ้ งถนิ่ ถงึ ระดบั ประเทศใหม้ กี ารบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
อย่างเป็นระบบ มมี าตรฐาน มีแนวทางการบรู ณาการร่วมกันอยา่ งมเี อกภาพ
1.2.2 เพื่อจดั การช่วยเหลอื บรรเทาทกุ ข์ และการใหค้ วามคุม้ ครองแก่
ผู้ประสบภัยขณะท่ีอยู่อาศัยในศูนย์พักพิงช่ัวคราวได้ตามมาตรฐานสากลและ
เข้าถงึ สิทธมิ นษุ ยชนขนั้ พนื้ ฐานไดอ้ ย่างทว่ั ถึง
1.2.3 เพ่ือพัฒนาศักยภาพภาครัฐและภาคประชาสังคมในการจัดตั้ง
และการบรหิ ารจดั การศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราวสำ� หรับประเทศไทย
3
คู่มือการจดั ตงั้ และการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว
1.3 ขอบเขต
คมู่ อื การจดั ตงั้ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวเลม่ น้ี จดั ทำ� ขนึ้
เพ่ือให้หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรสาธารณกุศล
ตลอดจนภาคประชาชนทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการจัดต้ังศนู ยพ์ ักพิงช่ัวคราว ไดใ้ ช้เปน็
แนวทางในการจดั ตงั้ และบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวสำ� หรบั ผปู้ ระสบภยั
ในประเทศไทย ซง่ึ ในคมู่ อื การจัดตั้งและการบริหารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
จะกลา่ วถงึ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวในระบบ โดยเนอ้ื หาแบง่ เปน็ สองสว่ นคอื สว่ นแรก
เป็นแนวทางการเลือกพ้ืนที่ปลอดภัย การจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการ
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว แนวทางปฏิบัติการจัดสรรพื้นท่ี และการเปิดศูนย์พักพิง
ชวั่ คราว แนวทางการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชัว่ คราว ส่วนทส่ี องเปน็ แนวทางให้ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านน�ำไปใชก้ ับการปฏบิ ัตงิ าน เช่น
Check List รายการสิ่งที่ต้องด�ำเนินการในการจัดต้ังและการบริหารจัดการ
ศนู ย์พักพิงช่วั คราว ตัวอย่างขอ้ ปฏิบัติในการพักอาศัย แบบฟอร์มต่าง ๆ และ
คู่มือการปฏิบัติงานการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของ COVID – 19 (ฉบับเพิ่มเติม) เป็นต้น และแนวทาง
การปฏิบัติตามคู่มือเล่มน้ีเป็นไปตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา
สาธารณภยั พ.ศ. 2550 และแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ
พ.ศ. 2564 - 2570
4
บทที่ 1
1.4 กรอบแนวคิดในการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชว่ั คราว
คู่มือการจัดตั้งและการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวเล่มน้ีอ้างอิง
หลกั การสากลด้านมนษุ ยธรรม เช่น กฎหมายสิทธมิ นษุ ยชนระหว่างประเทศ
และปฏญิ ญาสากลวา ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชน โครงการสเฟยี ร์ : กฎบตั รมนษุ ยธรรม
และมาตรฐานข้ันต�่ำในการตอบสนองต่อภัยพิบัติ แนวทางบริหารจัดการ
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และการใหค้ วามคมุ้ ครองกลมุ่ เปราะบาง เชน่ เดก็ ผสู้ งู อายุ
คนพิการ สตรมี คี รรภ์ ผปู้ ่วย กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ รวมถงึ ผู้ยา้ ยถนิ่ (Migrant) ได้แก่
แรงงานขา้ มชาติ นกั ทอ่ งเทย่ี ว และชาวตา่ งชาตทิ อี่ าศยั ในประเทศไทย เปน็ ตน้
หรือผู้ท่ีไม่สามารถดูแลตัวเองได้ภายใต้สถานการณ์สาธารณภัย เป็นต้น
โดยการศกึ ษาแนวคดิ และแนวปฏบิ ตั ติ ามหลกั สากลนำ� มาประยกุ ตใ์ หเ้ ขา้ กบั บรบิ ท
ทางเศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรมของประเทศไทย
ในการบรรเทาทกุ ขแ์ ละใหค้ วามคมุ้ ครองแกผ่ ปู้ ระสบภยั นนั้ จะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ
สิทธมิ นษุ ยชนขั้นพื้นฐานของผปู้ ระสบภยั ไดแ้ ก่
(1) สิทธิท่ีจะมีชีวิตอยู่ (Right to Life)
(2) สทิ ธใิ นการเข้าถึงอาหาร (Right to Food)
(3) สทิ ธใิ นการเขา้ ถงึ น้ำ� (Right to Water)
(4) สทิ ธกิ ารกลบั สูถ่ ่ินฐานเดิม (Right to Return)
(5) สิทธิการมที อี่ ยู่อาศัย (Right to Housing)
(6) สทิ ธใิ นการเข้าถึงเครอ่ื งนุม่ หม่ (Right to Clothing)
5
คูม่ ือการจดั ตง้ั และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ักพิงชั่วคราว
(7) สทิ ธดิ า้ นสขุ ภาพ (Right to Health)
(8) สิทธใิ นการได้รับรูถ้ งึ ขอ้ มูล (Right to Access Information)
(9) สิทธิการให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรม (Right to
Humanitarian Assistance)
แม้ว่าการจัดต้ังและบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวจะเป็นหน้าท่ี
ของหนว่ ยงานของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานเครอื ขา่ ยปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั แตแ่ นวทางการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว จะตอ้ ง
คำ� นึงถึงการมีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคม โดยค�ำนงึ ถึงแนวทางดงั นี้
(1) การจัดต้ังและบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวควรค�ำนึงถึงความ
ต้องการของผู้ประสบภัยเป็นศูนย์กลาง เช่น การจัดให้มีอาหารและสิ่งของ
บรรเทาทุกข์เบื้องต้นให้เหมาะสมกับเพศและวัย การจัดพื้นที่ในศูนย์พักพิง
ชว่ั คราวทคี่ ำ� นงึ ถงึ สงิ่ อำ� นวยความสะดวกสำ� หรบั คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ เชน่ หอ้ งสขุ า
ทางลาด การจดั พ้นื ทพ่ี กั อาศัยโดยไมล่ ดทอนศกั ดิศ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์
(2) การมีส่วนร่วมของชุมชนและผู้ประสบภัยในการเลือกพ้ืนที่ หรือ
สถานทจี่ ดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว การมสี ว่ นรว่ มในระหวา่ งการใชง้ านและหลงั จาก
การใช้งานศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น ชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เส่ียงภัยมีการ
ปรกึ ษาหารอื เพอ่ื เลอื กพน้ื ทป่ี ลอดภยั การจดั ตงั้ คณะกรรมการชมุ ชนตรวจสอบ
อาคาร สถานที่ การมสี ว่ นรว่ มในการกำ� หนดระเบยี บกตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั หรอื
การมสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมทเี่ หมาะสมกบั ทักษะ และการมีส่วนรว่ มของ
ชมุ ชนข้างเคยี งทต่ี ้ังศูนย์พักพงิ ชว่ั คราวนนั้ ๆ เป็นตน้
6
บทที่ 1
(3) มกี ารดำ� เนนิ การภายใตข้ อบเขตกฎหมาย และจะตอ้ งมกี ตกิ าทกี่ ำ� หนด
รว่ มกันระหวา่ งผรู้ บั ผดิ ชอบและผู้พกั พงิ
(4) ศูนย์พักพิงชั่วคราวจะต้องให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เบ้ืองต้น
แกผ่ ้ปู ระสบภัย โดยเคารพต่อบริบททางสังคม จารีตประเพณี และวฒั นธรรม
ของผปู้ ระสบภยั อยา่ งทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี ม โดยไมแ่ บง่ แยกศาสนา ภาษา ชนชาติ
หรอื สญั ชาติ เพศสภาพ ความพกิ าร และจะตอ้ งจดั ใหม้ คี วามคมุ้ ครองผปู้ ระสบภยั
ทอ่ี ย่อู าศยั ในศูนย์พกั พิงช่ัวคราว ทง้ั ทางร่างกายและจิตใจ
1.5 คำ� จำ� กดั ความ
“ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว” หมายถงึ สถานทเ่ี พอ่ื ใหผ้ ปู้ ระสบภยั ใชอ้ ยอู่ าศยั
เมอื่ ไมส่ ามารถอาศยั อยใู่ นบา้ นเรอื นตามปกตไิ ด้ อาจเปน็ สถานทท่ี สี่ รา้ งจากวสั ดุ
ชวั่ คราว เชน่ เตน็ ท์ บา้ นชว่ั คราวจากวสั ดสุ งั เคราะห์ วสั ดใุ นทอ้ งถนิ่ ทพี่ กั อาศยั
ชว่ั คราวชนดิ อน่ื หรอื อาจจะมกี ารปรบั ใชอ้ าคารสถานทท่ี ม่ี อี ยแู่ ลว้ ในชมุ ชนให้
เป็นศูนย์พักพิงชั่วคราวก็ได้ เช่น อาคารในโรงเรียน สนามกีฬา ห้องประชุม
โดยมรี ายละเอยี ดดา้ นบคุ ลากร สถานท่ี ระยะเวลา และแนวทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งชดั เจน
เพื่อให้ผู้พักพิงพักอาศัยจนกว่าสถานการณ์สาธารณภัยจะยุติ หรือที่อยู่อาศัย
เดมิ ได้รับการฟ้ืนฟู ซอ่ มแซมจนสามารถอพยพกลับไปอาศัยได้
“การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว” หมายถงึ กระบวนการดำ� เนนิ การ
ประสานงาน การบริหารหน้าท่ีต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้ประสบภัยท่ีได้รับผลกระทบ
จากสถานการณ์สาธารณภัย สามารถเข้าถึงปัจจัยความจ�ำเป็นขั้นพ้ืนฐาน
7
คู่มอื การจดั ต้งั และการบริหารจัดการศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว
ในการดำ� รงชีวติ ไดแ้ ก่ อาหาร นำ�้ เครื่องนงุ่ ห่ม ยารักษาโรค และทพี่ ักพิง เพ่ือเป็น
การบรรเทาความเดือดร้อนจากสาธารณภัย ให้ความปลอดภัย และป้องกัน
อนั ตรายใหแ้ กผ่ ปู้ ระสบภยั รวมถงึ เจา้ หนา้ ทท่ี ที่ ำ� หนา้ ทดี่ แู ลศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
“สาธารณภยั ” หมายถึง อคั คีภยั วาตภยั อทุ กภัย ภัยแล้ง โรคระบาด
ในมนษุ ย์ โรคระบาดสตั ว์ โรคระบาดสัตวน์ ำ�้ การระบาดของศตั รพู ืช ตลอดจน
ภยั อน่ื ๆ อนั มผี ลกระทบตอ่ สาธารณชน ไมว่ า่ เกดิ จากธรรมชาติ มผี ทู้ ำ� ใหเ้ กดิ ขน้ึ
อบุ ัติเหตุ หรอื เหตุอน่ื ใด ซึ่งก่อใหเ้ กิดอนั ตรายแกช่ ีวติ รา่ งกายของประชาชน
หรอื ความเสียหายแกท่ รัพย์สินของประชาชน หรอื ของรฐั และใหห้ มายความ
รวมถึงภัยทางอากาศ และการกอ่ วนิ าศกรรมด้วย
“ภัยทางอากาศ” หมายถึง ภัยอันเกดิ จากการโจมตีทางอากาศ
“การก่อวินาศกรรม” หมายถงึ การกระท�ำใด ๆ อนั เปน็ การม่งุ ท�ำลาย
ทรพั ยส์ นิ ของประชาชน หรอื ของรฐั หรอื สงิ่ อนั เปน็ สาธารณปู โภค หรอื การรบกวน
ขดั ขวางหนว่ งเหนยี่ วระบบการปฏบิ ตั งิ านใด ๆ ตลอดจนการประทษุ รา้ ยตอ่ บคุ คล
อนั เปน็ การกอ่ ใหเ้ กดิ ความปน่ั ปว่ นทางการเมอื งการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
โดยม่งุ หมายทจี่ ะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมน่ั คงของรฐั
“ผู้ประสบภัย” หมายถึง ผู้ได้รับความเดือดร้อนหรือเสียหายจาก
สาธารณภัย มีความจ�ำเป็นต้องอพยพออกจากที่อยู่อาศัยเดิม เนื่องจากได้รับ
ผลกระทบจากสาธารณภัยจนไม่สามารถอาศัยอยู่ในบ้านเรือนของตนเองได้
ซ่ึงจ�ำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือในด้านท่ีพักพิงชั่วคราว ด้านการแพทย์และ
การสาธารณสุขเบอ้ื งต้น เปน็ ต้น
8
บทที่ 1
“ผพู้ กั พงิ ” หมายถงึ ผปู้ ระสบภยั ทอ่ี พยพเขา้ มาพกั อาศยั ในศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว จนกว่าสถานการณ์ภัยจะยุติ หรือท่ีอยู่อาศัยเดิมจะได้รับการฟื้นฟู
หรือมกี ารซอ่ มสรา้ งใหส้ ามารถอพยพกลับไปอาศยั ได้
“กลุ่มเปราะบาง” หมายถงึ กลุม่ บคุ คลทีม่ ีความสามารถจำ� กดั ในการ
ตัดสนิ ใจและการเผชิญเหตกุ ารณ์สาธารณภยั ซึ่งต้องการความดูแลเปน็ พเิ ศษ
เชน่ เด็ก ผู้สูงอายุ คนพกิ าร สตรีมีครรภ์ ผูป้ ว่ ย กลุ่มชาติพันธุ์ รวมถึงผยู้ ้ายถิน่
(Migrant) ไดแ้ ก่ แรงงานขา้ มชาติ นกั ทอ่ งเทยี่ ว และชาวตา่ งชาตทิ อี่ าศยั อยใู่ น
ประเทศไทย เปน็ ต้น
1.6 กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกับการบริหารจดั การศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว
1.6.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560
ก�ำหนดให้บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิ
และเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
เท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือก
ปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความ
แตกต่างในเร่ืองถ่ินก�ำเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ
ความพกิ าร สภาพทางกายหรอื สขุ ภาพ สถานะของบคุ คล
ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือ
ความคดิ เหน็ ทางการเมอื งอนั ไมข่ ดั ตอ่ บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู หรอื เหตอุ น่ื ใด
จะกระทำ� มไิ ด้ มาตรการทรี่ ฐั กำ� หนดขนึ้ เพอ่ื ขจดั อปุ สรรคหรอื สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คล
สามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพได้เช่นเดียวกับบุคคลอ่ืน หรือเพื่อคุ้มครองหรือ
9
คู่มือการจัดต้ังและการบริหารจัดการศูนย์พักพงิ ชั่วคราว
อ�ำนวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส
ยอ่ มไมถ่ อื วา่ เปน็ การเลอื กปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม รวมทงั้ ใหค้ วามรว่ มมอื ในการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1.6.2 พระราชบัญญัติปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
เป็นกฎหมายหลักในการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยของประเทศ ก�ำหนดให้กรมป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการ
ด�ำเนินการเก่ียวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ของประเทศ และในการบรรเทาสาธารณภยั มผี อู้ ำ� นวยการ
และเจ้าพนักงาน ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้อ�ำนวยการ
มีอำ� นาจหน้าท่ีด�ำเนินการ จดั ให้มสี ถานท่ีชวั่ คราวเพ่อื ให้
ผู้ประสบภัย อยู่อาศัยหรือรับการปฐมพยาบาล และการรักษาทรัพย์สินของ
ผู้ประสบภยั
1.6.3 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 -
2570
เป็นแผนก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินการจัดการ
ความเส่ียงจากสาธารณภัยของประเทศให้ไปสู่เป้าหมาย
เดยี วกนั อยา่ งเปน็ รปู ธรรม พรอ้ มทง้ั การกำ� หนดมาตรการ
เปา้ หมาย และการปฏบิ ตั งิ านใหม้ คี วามเชอ่ื มโยงในทกุ ระดบั
โดยแบง่ เปน็ สองสว่ นหลกั ไดแ้ ก่ ภาคการพฒั นาในการลด
ความเสี่ยงให้มีประสิทธิภาพ และภาคการปฏิบัติในการ
10
บทที่ 1
จัดการสาธารณภัยให้มีมาตรฐาน เพ่ือให้ทุกภาคส่วนจัดการความเส่ียงจาก
สาธารณภัยอย่างบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นกรอบแนวคิดในการ
ปฏิบัติให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน ได้แก่ องค์กรภาครัฐ ภาคธุรกิจ และ
ภาคประชาสังคม ตั้งแต่ระดับท้องถ่ินถึงระดับประเทศในการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั อยา่ งบรู ณาการ เปน็ ระบบ และมที ศิ ทางเดยี วกนั เพอ่ื เปน็
แนวทางปฏิบตั ิและทศิ ทางการจดั การความเสยี่ ง ซ่ึงเปน็ ทีย่ อมรบั มาประยุกต์
ใช้ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยให้สอดคล้องกับบริบทของ
ประเทศไทย และสามารถน�ำไปปรับใช้ในการจัดท�ำแผนทุกระดบั เพอ่ื ให้การ
จดั การมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกดิ ผลสัมฤทธิ์ เช่น แผนการปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภัย และแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน
ดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ และเพอื่ พฒั นาขดี ความสามารถการจดั การความเสยี่ งจาก
สาธารณภัย ประกอบด้วย การลดความเส่ียงจากสาธารณภัย การจัดการใน
ภาวะฉุกเฉิน การฟื้นฟูให้ดีกว่าเดิม ต้ังแต่ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
อ�ำเภอ จังหวัดถึงระดับประเทศ และระดับนานาชาติ เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมาย
สงู สดุ คือ “การร้รู บั – ปรับตัว – ฟื้นเรว็ ทัว่ – อย่างย่งั ยนื ”
การจัดตั้งและการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นส่วนหน่ึงของ
การจัดการในภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบและ
แนวทางปฏิบัติในการบรรเทาทุกข์ และตามแผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภยั แหง่ ชาติ แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ซงึ่ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว เป็นสถานที่ที่ได้จัดเตรียมไว้ส�ำหรับผู้ประสบภัยท่ีมีความจ�ำเป็น
11
คูม่ ือการจดั ตงั้ และการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว
ต้องย้ายออกจากที่อยู่อาศัยเดิม เน่ืองจากได้รับผลกระทบจากสาธารณภัย
จนไมส่ ามารถอาศยั อยไู่ ด้ โดยผปู้ ระสบภยั จะอาศยั อยชู่ วั่ คราวจนกวา่ สถานการณ์
ภัยจะยตุ ิ หรือท่ีอยู่อาศัยเดมิ จะไดร้ บั การฟน้ื ฟูหรอื มีการซ่อมสร้างใหส้ ามารถ
อพยพกลับไปอาศัยได้ ทั้งน้ี การบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวให้เป็นไป
ตามมาตรฐานของแผนการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว โดยจะต้อง
สามารถตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานให้แก่ผู้ประสบภัยได้อย่างพอเพียง
ท้ังการบริการด้านโภชนาการอาหาร น้�ำด่ืม ความปลอดภัย คุณภาพชีวิต
สาธารณปู โภค รวมถงึ สุขาภิบาลและสุขอนามยั โดยจะตอ้ งด�ำเนนิ การ ดงั นี้
(1) การเปดิ ศูนย์พักพิงชว่ั คราว
(1.1) จดั ใหม้ กี ารทำ� ทะเบยี นผอู้ พยพอยา่ งละเอยี ด โดยคำ� นงึ
ถงึ กลมุ่ เปราะบางทางสงั คม เพอ่ื ใหท้ ราบความตอ้ งการพน้ื ฐาน และความตอ้ งการ
พิเศษของผู้อพยพ1 ทั้งข้อมูลประชากร ข้อมูลส่วนบุคคล และรายงาน
ให้ศูนย์บญั ชาการเหตกุ ารณท์ ราบ
(1.2) จัดให้มีอาหาร น�้ำด่ืม และความต้องการพิเศษอย่าง
เพยี งพอ เชน่ นมเด็กทารก
(1.3) จดั ใหม้ กี ารกำ� หนดพนื้ ทอ่ี าศยั ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้อพยพ ซ่ึงหมายความรวมถึงข้อจ�ำกัด
ทางการแพทย์ ประเด็นมิติหญิงชาย เพศสภาพ และกล่มุ เปราะบาง
1 หมายถงึ บคุ คลทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ เชน่ คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ ผปู้ ว่ ยทตี่ อ้ งการยาเฉพาะ เปน็ ตน้
12
บทท่ี 1
(1.4) ใหศ้ นู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวจดั ใหม้ รี ะบบสาธารณปู โภค เชน่
ประปา ไฟฟ้า เพอ่ื อ�ำนวยความสะดวกให้เพยี งพอและท่ัวถึง
(1.5) จดั ใหม้ รี ะบบการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ สนบั สนนุ
ภายในศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว เพอื่ ดแู ลท้ังสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต
(2) การบรหิ ารจดั การศนู ย์พักพิงชัว่ คราว
(2.1) ก�ำหนดผู้รับผิดชอบตามโครงสร้างการบริหารจัดการ
ศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราวให้มีความชดั เจน โดยให้ความสำ� คัญกับการมสี ่วนรว่ มของ
ผู้อพยพภายในศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว เพื่อสนับสนนุ การท�ำงานของภาครฐั
(2.2) กำ� หนดใหม้ กี ารชแี้ จงทำ� ความเขา้ ใจกฎระเบยี บในการ
อาศัยอยู่ร่วมกันภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราวท่ีชัดเจนให้ผู้อพยพรับทราบและ
ถอื ปฏบิ ตั ิ รวมถงึ การสรา้ งความเขา้ ใจใหแ้ กช่ มุ ชนโดยรอบศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวดว้ ย
(2.3) จัดให้มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ข้อมูล
สถานการณภ์ ยั อย่างเป็นระบบให้ทวั่ ถงึ และตอ่ เน่อื ง
(2.4) จัดให้มีระบบการรักษาความสงบเรียบร้อยภายใน
ศูนย์พักพงิ ช่วั คราว โดยเจา้ หนา้ ที่ อาสาสมคั ร และการมีส่วนรว่ มของผู้อพยพ
ตามความเหมาะสม
(3) การปิดศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
เมอ่ื สถานการณภ์ ยั ยตุ ิ และผอู้ พยพสามารถอพยพกลบั ไปยงั
ท่อี ยอู่ าศยั เดิมหรือ ทอ่ี ยอู่ าศัยใหมใ่ หด้ ำ� เนนิ การ ดงั นี้
13
คูม่ อื การจัดตั้งและการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว
(3.1) จัดให้มีการแจ้งการปิดศูนย์พักพิงชั่วคราวให้ผู้อพยพ
ทราบล่วงหนา้ พรอ้ มจดั ทำ� ทะเบยี นผอู้ พยพกลับอย่างเป็นระบบ
(3.2) ประสานการเตรยี มความพรอ้ มอพยพกลบั ตามแผนการ
ส่งกลับ
(3.3) ใหม้ กี ารแจง้ ประกาศปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวอยา่ งเปน็
ทางการ พร้อมทั้งรายงานใหศ้ นู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ท่ีรับผดิ ชอบทราบ
การประสานงานและสนบั สนนุ การจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ให้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลัก
ในการประสานการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งสว่ นราชการ หนว่ ยงานภายในการสนบั สนนุ
การปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน (สปฉ.) และองค์การสาธารณกุศล มีหน้าที่
จัดท�ำแผนสนับสนุนการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน ด้านสวัสดิการสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ และให้กระทรวงแรงงาน สภากาชาดไทย เป็นหน่วยงาน
สนบั สนุน
1.6.4 การให้ความคุ้มครองการด�ำเนินงานศูนย์พักพิงช่ัวคราวตาม
กรอบโครงสรา้ งและกฎหมายอืน่ ท่เี กย่ี วข้อง
ประเทศไทยเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับ
การให้ความคุ้มครองและการตอบสนองด้านมนุษยธรรมเพ่ือรักษาไว้ซึ่ง
ความปลอดภยั ศกั ดศิ์ รี และสทิ ธขิ องประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากสาธารณภยั
โดยจะต้องด�ำเนินการตามอนุสัญญา กรอบการปฏิบัติและกฎหมายระหว่าง
ประเทศที่ก�ำหนดหลักการให้ความคุ้มครองและมาตรฐานขั้นพื้นฐานในการ
ตอบสนองตอ่ สาธารณภัย เชน่
14
บทที่ 1
(1) กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (International
Human Rights Law) และปฏญิ ญาสากลวา่ ดวยสทิ ธิมนษุ ยชน (Universal
Declaration of Human Rights) ซง่ึ วางหลักว่า “มนษุ ยท์ ุกคนเสมอภาคกนั
ตามกฎหมายและมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมายอยา่ งเทา่ เทยี มกนั
โดยปราศจากการเลอื กปฏบิ ตั ิ มสี ทิ ธใิ นระเบยี บทางสงั คมและระหวา่ งประเทศ”
(2) โครงการสเฟยี ร์ : กฎบตั รมนษุ ยธรรมและมาตรฐานขน้ั ตำ่�
ในการตอบสนองต่อภัยพิบัติ (Humanitarian Charter and Minimum
Standards in Disaster Response /The Sphere Project) เปน็ แนวทาง
การปฏบิ ตั งิ านใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากภยั พบิ ตั ขิ ององคก์ รตา่ ง ๆ
เพื่อบรรเทาความทุกข์ยากเดือดร้อนด้วยความเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของ
ความเปน็ มนษุ ย์ มงุ่ เนน้ การประสานงาน และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั
ของแตล่ ะองคก์ รเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั เปน็ มาตรฐานและแนวทางเดยี วกนั
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการช่วยเหลอื ซ่งึ มคี วามส�ำคญั ตอ่ การด�ำรงชีวติ ไดแ้ ก่ น้าํ
สุขาภบิ าล การสง่ เสรมิ สุขอนามยั อาหารและโภชนาการ และการบรกิ ารทาง
สุขภาพ
(3) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ (Convention on the
Rights of Persons with Disabilities : UNCRPD) เป็นกฎหมายสทิ ธิมนษุ ยชน
ระหว่างประเทศท่ีส่งเสริม พิทักษ์และรับรองให้คนพิการ ได้รับการคุ้มครอง
ใหเ้ ขา้ ถงึ เสรภี าพขน้ั พนื้ ฐานและความเสมอภาคอยา่ งทว่ั ถงึ โดยมคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั
สาธารณภยั ไดแ้ ก่ การทร่ี ฐั จะตอ้ งดำ� เนนิ มาตรการทจ่ี ำ� เปน็ ทง้ั ปวงเพอื่ ประกนั
15
คู่มอื การจัดต้ังและการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว
ความปลอดภยั ใหแ้ กค่ นพกิ ารจากสถานการณท์ ม่ี คี วามเสย่ี ง สถานการณฉ์ กุ เฉนิ
ทางมนุษยธรรม สถานการณ์ฉุกเฉนิ จากภัยพิบัติธรรมชาติ ฯลฯ
(4) แนวทางบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว
แนวทางการปฏบิ ตั นิ อ้ี า้ งองิ ถงึ “ชดุ แนวทางการบรหิ ารจดั การ
ที่อยูอ่ าศัยชัว่ คราว” (Camp Management Toolkit) โดยเน้นทขี่ ้อมูลในส่วน
ทีเ่ กี่ยวกับศนู ยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว และประเดน็ ปัจจยั ทางด้านตา่ ง ๆ ทค่ี วรจะได้รบั
การพจิ ารณาตลอดระยะเวลาของการใช้ศนู ยพ์ กั พิงชวั่ คราว หลักการทใ่ี ช้ดงั น้ี
v รัฐมีหน้าที่ให้ความคุ้มครองและความช่วยเหลือแก่ผู้ท่ี
อาศยั อยใู่ นศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และควรทจ่ี ะไดร้ บั ความสนบั สนนุ จากทกุ ภาคสว่ น
ในการใหค้ วามคมุ้ ครองและดแู ลสวสั ดกิ ารของผอู้ ยอู่ าศยั ในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
v การวางแผนจัดตงั้ ศูนย์พกั พิงช่ัวคราว ควรจะมีเป้าหมาย
หลกั เพอื่ การหาทางออก อย่างยั่งยนื ใหแ้ ก่ผ้เู ข้าพกั อาศยั ให้ได้โดยเรว็ ที่สุด
v การมสี ว่ นรว่ มเปน็ การใหโ้ อกาสผพู้ กั พงิ เขา้ รว่ มหาแนวทาง
พัฒนาและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น โครงสร้างการปกครองภายในศูนย์พักพิง
ชัว่ คราว ควรจะมีท้ังเดก็ ผหู้ ญิง และผู้ชายจากทุกกลุ่ม มาเขา้ ร่วม ทง้ั ยังควรมี
การเสริมสร้างศกั ยภาพเพอ่ื ให้การมีสว่ นรว่ มเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
v ประเภทและลกั ษณะของความชว่ ยเหลอื จะเปลยี่ นไปตาม
ระยะเวลาการอยู่อาศัยในศูนยพ์ ักพิงช่วั คราว
v ผู้พักพิงควรจะได้รับแจ้งถึงบริการและความช่วยเหลือ
ท่มี อี ยูใ่ นศูนย์พักพงิ ชัว่ คราว จุดแจกจ่ายอาหาร และสง่ิ ของเครอ่ื งใช้ควรอยใู่ น
จดุ ทเี่ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ย กลไกการแจกจา่ ยควรคำ� นงึ ถงึ บคุ คลทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ
เพ่อื หลีกเลย่ี งความรุนแรงและการเอาเปรียบ
16
บทที่ 1
v มีการท�ำแผนเผชิญเหตุอย่างละเอียดส�ำหรับแต่ละ
สถานการณ์ท่ีอาจท�ำให้เกิดการโยกย้ายถิ่นฐาน เช่น แผนเผชิญเหตุอุทกภัย
แผนเผชญิ เหตแุ ผน่ ดินไหว เป็นต้น
v การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว มผี ลกระทบตอ่ ชวี ติ
ความเป็นอยู่ของผู้อยู่อาศัยโดยตรง ทั้งเม่ืออยู่ในศูนย์พักพิงชั่วคราว และ
ในการกลับคืนสู่ชีวิตปกติ เพื่อให้กลุ่มคนที่มีความจ�ำเป็นต้องโยกย้ายจาก
ถิ่นท่อี ยู่อาศยั ไดร้ บั ความช่วยเหลอื และความคุม้ ครองในยามจำ� เป็น
17
บทที่ 2
2 การวางแผนจัดต้งั
บทที่ ศูนย์พักพงิ ชวั่ คราว
การจัดตั้งศูนย์พักพิงช่ัวคราวที่ปลอดภัย และมีการบริหารจัดการท่ีมี
ประสทิ ธภิ าพนน้ั นอกจากจะชว่ ยลดความเสย่ี งในการสญู เสยี ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ
ของประชาชนท่ีต้องอพยพออกจากบ้านเรือนแล้ว ยังมีส่วนช่วยให้ประชาชน
ท่ีเส่ียงภัยเกิดความม่ันใจในการตัดสินใจอพยพล่วงหน้าก่อนเกิดสถานการณ์
ฉุกเฉินได้อีกด้วย ดังน้ัน องค์ประกอบหลักของศูนย์พักพิงชั่วคราวที่ดีคือ
เปน็ พนื้ ทหี่ รอื สถานทท่ี มี่ คี วามปลอดภยั และมกี ลไกในการบรหิ ารจดั การอยา่ ง
เปน็ ระบบ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวกแกผ่ ปู้ ระสบภยั ทอี่ พยพเขา้ มาพกั พงิ ภายใน
ศูนย์พกั พิงชัว่ คราวไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
การวางแผนจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราว มีกระบวนการหรือกิจกรรมที่
เกยี่ วขอ้ งหลายขนั้ ตอน เชน่ การคดั เลอื กพน้ื ทที่ ป่ี ลอดภยั เพอื่ จดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว การส�ำรวจความพร้อมของอาคารท่ีจะใช้เป็นศูนย์พักพิงชั่วคราว
การปรบั ปรงุ สถานทเ่ี พอื่ เพมิ่ ศกั ยภาพในการใชง้ าน การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
บริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว การก�ำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะท�ำงาน
ด้านต่าง ๆ เช่น การจัดเตรียมสถานที่ การจัดหาสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐาน
เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภค สงิ่ ของบรรเทาทกุ ข์ และการดแู ลคมุ้ ครองผพู้ กั พงิ ภายใน
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรม
ตลอดจนการวางแผนปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว เพอ่ื ใหก้ ารตรวจสอบ ควบคมุ และ
ก�ำกับการด�ำเนินงานตามแผนการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ การจัดตั้งศูนย์พักพิงช่ัวคราวนั้น มีท้ังที่ทางภาครัฐก�ำหนด
19
คู่มอื การจัดตั้งและการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว
สถานท่ีไว้ส�ำหรับเป็นที่อยู่อาศัยช่ัวคราวเพื่อรองรับผู้ประสบภัยและมีการ
จดั เตรยี มทรพั ยากร ตลอดจนบคุ ลากรเพอื่ ใหบ้ รกิ ารแกป่ ระชาชนผปู้ ระสบภยั
และศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวทป่ี ระชาชนผปู้ ระสบภยั ไดร้ เิ รมิ่ กอ่ ตงั้ ขนึ้ มาดว้ ยตนเอง
โดยไมไ่ ดต้ ดิ ตอ่ ประสานงานอยา่ งเปน็ ทางการจากหนว่ ยงานภาครฐั มกี ารดแู ล
บริหารจัดการโดยประชาชนในชุมชนเอง ดังน้ัน ผู้พักอาศัยอาจไม่ได้รับ
ความช่วยเหลอื ท่เี พียงพอ ท้งั ด้านอาหาร นำ้� เคร่ืองนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค ฯลฯ
เนอื่ งจากไมเ่ ปน็ ทรี่ จู้ กั ของหนว่ ยงานหรอื ผใู้ หค้ วามชว่ ยเหลอื แนวทางแกไ้ ขคอื
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ควรพจิ ารณาปรบั ใหเ้ ขา้ ไปอยใู่ นศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ที่ทางภาครัฐก�ำหนด ทั้งนี้ คู่มือการจัดต้ังและการบริหารจัดการศูนย์พักพิง
ชั่วคราวเล่มนี้ จะกล่าวถึงศูนย์พักพิงช่ัวคราวที่ทางภาครัฐก�ำหนดสถานที่ไว้
ส�ำหรับเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั ชว่ั คราวเพ่ือรองรบั ผูป้ ระสบภยั เท่าน้ัน
2.1 วงจรศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว
การวางแผน การบรหิ ารจัดการ การปิดศนู ยพ์ กั พิง
จดั ต้ังศนู ย์พกั พิง ศนู ย์พักพิงชวั่ คราว ชั่วคราว
ช่วั คราว
วงจรศูนย์พกั พิงชั่วคราว แบง่ ได้เป็น 3 ระยะ ดงั น้ี
v ระยะการวางแผนจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นการด�ำเนินการ
ก่อนเกิดเหตุและก่อนท่ีจะมีการอพยพประชาชนผู้ประสบภัยออกจากพื้นที่
ประสบภัย
20
บทท่ี 2
v ระยะการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เปน็ ระยะเวลาทเ่ี รมิ่ เปดิ
และใช้งานศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นระยะที่คาดว่าจะเกิดสาธารณภัยหรือ
สถานการณฉ์ กุ เฉนิ และมกี ารอพยพประชาชนผปู้ ระสบภยั ออกจากทอี่ ยอู่ าศยั
มาพักพิงในศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว จนกว่าสถานการณ์จะคลีค่ ลาย
v ระยะการปิดศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว
2.1.1 ระยะการวางแผนการจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ตอ้ งพจิ ารณา
วางแผนใหค้ รอบคลมุ ตง้ั แตก่ อ่ นเปดิ จนกระทง่ั ปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เพอื่ ใหก้ าร
ดำ� เนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มคี วามสอดคลอ้ งกบั นโยบาย แผนการปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร แผนการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ และแผนปฏบิ ตั กิ ารในการปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รวมทงั้ ขอ้ สงั่ การของผบู้ ญั ชาการ
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ผู้อ�ำนวยการจังหวัด ผู้อ�ำนวยการ
กรงุ เทพมหานคร ผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอ ผอู้ ำ� นวยการทอ้ งถนิ่ ในฐานะผบู้ ญั ชาการ
เหตุการณ์ ตามบริบทของพ้ืนที่และบริบทของสาธารณภัย โดยการวางแผน
จดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว สามารถดำ� เนนิ การไวล้ ว่ งหนา้ เชน่ การวางแผนในชว่ ง
สถานการณ์ปกติ ได้แก่ การสำ� รวจพ้ืนทีก่ ารปรบั ปรุงอาคารท่จี ะใชง้ านรองรับ
ผอู้ พยพ การวางผงั การใชพ้ นื้ ท่ี การปรบั สภาพแวดลอ้ ม การวางแผนบรหิ ารจดั การ
ในดา้ นตา่ ง ๆ รวมถงึ วางแผนการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยผทู้ มี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
ในการจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว จะตอ้ งทำ� การประเมนิ ความเสย่ี งอยา่ งรอบดา้ น
ควบคู่ไปกับการประเมินศักยภาพของสถานที่ เพื่อจัดเตรียมพ้ืนท่ี ทรัพยากร
ตลอดจนส่ิงของอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมกับจ�ำนวนผู้ประสบภัย ประเภทของ
สาธารณภยั บริบททางสงั คม และวฒั นธรรมของพน้ื ท่ี
21
คูม่ ือการจดั ตัง้ และการบริหารจัดการศนู ย์พักพิงชัว่ คราว
2.1.2 ระยะการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เปน็ ระยะเวลา
ท่ผี ปู้ ระสบภยั เร่มิ เดินทางเข้ามาพักอาศยั อยภู่ ายในศนู ยพ์ ักพงิ ชั่วคราว โดยผูท้ ่ี
ทำ� หน้าทีบ่ ริหารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว มีหน้าทด่ี แู ล อำ� นวยความสะดวก
ดา้ นต่าง ๆ ตลอดจนแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะนใ้ี หค้ วามสำ� คญั กบั บทบาท
หน้าที่ ของคณะกรรมการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว จึงจ�ำเปน็ จะตอ้ งมี
กระบวนการท�ำงานที่ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ เช่น การจัดการข้อมูล
การตรวจสอบ การจัดการทรัพยากร การประสานงาน การสื่อสาร
การประชาสมั พันธ์ เป็นตน้
ระยะเวลาในการพกั อาศยั อาจจะใชเ้ วลาไมก่ วี่ นั หรอื อาจจะ
ใช้เวลาเปน็ สัปดาห์ หรือเป็นเดอื น ขึน้ อยกู่ บั ผลกระทบของสาธารณภยั และ
ความจ�ำเป็นในการพักอาศัย ตลอดเวลาท่ีพักอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราว
จะต้องได้รับการดูแลคมุ้ ครองขน้ั พ้นื ฐานอยา่ งท่วั ถงึ และเทา่ เทียม เช่น
(1) การดูแลด้านความปลอดภยั และคณุ ภาพชีวิต
(2) การจัดการดา้ นสวัสดกิ าร อาหาร สุขาภิบาล
(3) การดูแลดา้ นสุขภาพอนามัยท่ีดี
(4) การรักษาพยาบาล และการควบคุมป้องกันโรคเป็นไป
อยา่ งท่วั ถงึ
(5) การมีกิจกรรมเยียวยาจิตใจ และฟ้ืนฟสู ุขภาพจิต
ในระยะน้ี ควรให้ผู้พักพิงในศูนย์พักพิงช่ัวคราวได้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการจัดการ และดูแลสถานที่ เช่น การท�ำอาหาร การดูแลเด็ก
ผสู้ งู อายุ การจดั เวรยามรกั ษาความปลอดภยั การดแู ลทำ� ความสะอาดสถานท่ี
และเป็นอาสาสมัครในกจิ กรรมต่าง ๆ ตามทกั ษะความสามารถ
22
บทที่ 2
2.1.3 ระยะการปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นช่วงของการจัดการ
เม่ือสาธารณภัยเร่ิมคลี่คลาย หรือยุติลง และเตรียมปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราว
โดยผู้พักพิงจะต้องได้รับแจ้งถึงสถานการณ์และมีสิทธิที่จะเข้าร่วมใน
กระบวนการตดั สนิ ใจ และดำ� เนนิ การปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เชน่ การมสี ว่ นรว่ ม
ในการก�ำหนดวันที่ เวลา ปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราว การท�ำความสะอาดพื้นที่
เพื่อส่งคืนเจ้าของสถานท่ี เป็นตน้
ในบางกรณี อาจมีความจ�ำเป็นต้องมีการปิดศูนย์พักพิง
ชวั่ คราวอยา่ งฉุกเฉนิ เน่อื งจากมสี าธารณภัย หรือภัยคกุ คามใด ๆ ตอ่ การพกั
อาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราว ผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวจะต้องประสานงาน
กบั ผู้ประสานงานศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราวในระดบั ท้องถน่ิ ระดบั อ�ำเภอ หรอื ระดบั
จงั หวดั รวมถงึ กรุงเทพมหานคร เพื่อด�ำเนนิ การปิดศูนย์พักพิงชว่ั คราวฉกุ เฉิน
และจัดการอพยพผู้พักพิงตลอดจนทรัพย์สินต่าง ๆ ไปยังศูนย์พักพิงช่ัวคราว
แห่งใหม่ หรือในบางกรณีอาจมีความจ�ำเป็นต้องยุบรวมศูนย์พักพิงชั่วคราว
จากหลายแหง่ มารวมกัน เพ่อื ความสะดวกในการจัดการทรัพยากร ทำ� ใหต้ อ้ ง
มกี ารปรบั เปลย่ี นหรอื จดั สรรการใชพ้ น้ื ทส่ี ำ� หรบั รองรบั ผพู้ กั พงิ ทเ่ี ขา้ มาเพม่ิ ดงั นน้ั
การวางแผนบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว จึงต้องค�ำนึงถึงความเป็นไปได้
ที่อาจจะเกดิ ข้นึ ในสถานการณท์ ี่หลากหลายไม่แน่นอนดว้ ย
23
คมู่ ือการจัดตั้งและการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ักพิงช่ัวคราว
2.2 การเตรียมจดั ต้งั ศูนยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
การเตรียมจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราวเร่ิมต้นด้วยการคัดเลือกท�ำเลที่ต้ัง
ท่ีปลอดภัยเพี่อจัดต้ังศูนย์พักพิงช่ัวคราวหรืออาจจะเลือกอาคารสถานที่ท่ีมี
อยแู่ ลว้ ในชมุ ชนเพอื่ ดดั แปลงเปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ไมว่ า่ จะเปน็ การคดั เลอื ก
ทำ� เลทต่ี งั้ หรอื สถานทกี่ ต็ าม ผรู้ บั ผดิ ชอบในการวางแผนจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
จะตอ้ งมขี อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ ความเสยี่ งภยั เบอ้ื งตน้ มาแลว้ เชน่ จำ� นวน
กล่มุ เปราะบาง จ�ำนวนประชาชนท่จี ะอพยพ ต�ำแหนง่ ทางกายภาพของพ้ืนท่ี
และขอ้ มลู ความเสยี่ งสาธารณภยั เพราะสถานท่ีบางแหง่ อาจจะเหมาะสมกับ
การใช้งานในสถานการณ์อุทกภัย แต่อาจจะไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
ในสถานการณว์ าตภยั ดนิ โคลนถลม่ แผ่นดินไหว เปน็ ตน้ ซึ่งในการเตรยี มจดั ต้งั
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว ควรเชิญผู้เช่ียวชาญในแต่ละด้าน ให้เข้ามามีส่วนร่วม
ในกระบวนการพจิ ารณาคดั เลอื กทำ� เลทตี่ ง้ั และอาคารสถานท่ี เชน่ วศิ วกรโครงสรา้ ง
เจา้ หนา้ ทด่ี า้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เจา้ หนา้ ทดี่ า้ นการพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนษุ ย์ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น อาสาสมคั ร ตวั แทนกลมุ่ เปราะบาง
รวมถงึ ชมุ ชนทอ่ี ยใู่ นพนื้ ทเ่ี สย่ี ง หรอื ชมุ ชนทเี่ ปน็ พน้ื ทต่ี งั้ ของศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
เปน็ ตน้ เนอื่ งจากอาจมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งปรกึ ษาหารอื เพอื่ การสรา้ งใหม่ หรอื ปรบั ปรงุ
ทรัพยากรทมี่ อี ยู่แล้วให้ใชง้ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพสงู สดุ
“การเลือกท�ำเลท่ีต้ัง” หมายถึง การก�ำหนดพื้นท่ีหรือสถานที่ที่มี
ความปลอดภัยและเหมาะสมต่อการจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราว โดยใช้ข้อมูล
พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั ประกอบการประเมนิ ความเสย่ี งในการเลอื กทำ� เลทต่ี ง้ั เนน้ ความ
ปลอดภยั การคมนาคมสะดวกต่อการเข้าถงึ เป็นต้น
24
บทท่ี 2
“อาคารสถานที่” หมายถึง อาคาร สิ่งปลูกสร้างและปัจจัยพื้นฐาน
เพ่ือประโยชน์ในการด�ำเนินการศูนย์พักพิงช่ัวคราว เช่น ทรัพยากรด้าน
สาธารณปู โภค - อปุ โภค ทเี่ พยี งพอ ขนาดของพน้ื ที่ ทเี่ หมาะสมกบั จำ� นวนผพู้ กั พงิ
รวมถงึ ลกั ษณะทางกายภาพ และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ สวสั ดภิ าพ สขุ อนามยั
ท้ังทางด้านร่างกาย และด้านจติ ใจของทุกคนในศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว เป็นต้น
2.2.1 การคัดเลือกท�ำเลท่ีตั้งศูนย์พักพิงช่ัวคราว โดยมีหลักการ
พจิ ารณาคดั เลอื กทำ� เลทตี่ ้งั ศนู ยพ์ กั พิงชว่ั คราว และอาคาร ดังนี้
(1) หลักการพิจารณาคัดเลือกท�ำเลท่ีต้ังศูนย์พักพิงช่ัวคราว
โดยใหค้ วามสำ� คญั กบั การเลอื กทำ� เลทต่ี ง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวทม่ี คี วามปลอดภยั
เปน็ ลำ� ดบั แรก เสน้ ทางการคมนาคมเขา้ ถงึ สะดวก และศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวตอ้ ง
ไมต่ งั้ อยใู่ นพน้ื ทอ่ี นั ตราย สภาพอากาศหรอื สภาวะแวดลอ้ มเปน็ พษิ มคี วามพรอ้ ม
ในระบบสาธารณูปโภคท่ีสามารถรองรับจ�ำนวนผู้พักพิงได้อย่างเหมาะสม
รวมท้ังมีระบบสวัสดิการข้ันพื้นฐานในการให้บริการแก่ผู้พักพิง มีหลักการ
พจิ ารณาคดั เลอื กทำ� เลทตี่ ้ังศูนย์พักพงิ ช่วั คราว (ตามตารางที่ 2.1)
25