The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by academic.work63, 2022-08-19 02:32:52

คู่มือ การจัดตั้งและการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว

บริหารทั่วไป

คมู่ อื การจัดตงั้ และการบริหารจัดการศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราว

ตารางท่ี 2.1 ขอ้ พจิ ารณาในการเลอื กทำ� เลทีต่ ้ัง

ประเด็น ข้อพจิ ารณาในการเลือกท�ำเลทตี่ ้ัง

1. ความปลอดภัย - ปลอดภยั จากภัยคุกคามในขณะนนั้ ไมว่ ่าจะเป็นความรุนแรง
หรอื ภยั ทางธรรมชาติ
- ปลอดภยั จากความเสยี่ งทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ตอ่ ผพู้ กั พงิ ในศนู ยพ์ กั พงิ
ชัว่ คราว

2. การเข้าถึง - ง่ายต่อการเขา้ ถงึ เพอ่ื ให้ความช่วยเหลอื ในช่วงวกิ ฤต
- คำ� นงึ ถึงฤดูกาลและผลกระทบ (เชน่ รถอาจจะเข้าไปไมไ่ ดใ้ น
ช่วงฤดฝู น)

3. สงิ่ แวดล้อม - พิจารณาถึงภัยจากการปนเปื้อนสารพิษท้ังจากภายในและ
ภายนอกพน้ื ที่

4.ระบบ - ความเปน็ ไปไดใ้ นการใชโ้ ครงสรา้ งพนื้ ฐานของภาครฐั ทม่ี อี ยเู่ ดมิ
สาธารณูปโภค ทง้ั การประปา สุขาภิบาล และการจดั การขยะ
พนื้ ฐาน - ระบบไฟฟา้ เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทสี่ ดุ เนอ่ื งจากระบบนำ�้ และสขุ าภบิ าล
ยงั สามารถหาทางเลอื กอนื่ ทไ่ี มพ่ งึ่ พาโครงสรา้ งพน้ื ฐานของเมอื งได้

5. อาชพี /การทำ� มา - การเข้าถงึ ตลาดในทอ้ งถ่นิ
หากิน - การเขา้ ถงึ ทีท่ ำ� งาน

- ทางเลือกและการเขา้ ถึงระบบขนสง่

6. การเขา้ ถึงระบบ - ต้องมกี ารบริการดา้ นการศกึ ษา และสขุ อนามยั
สวัสดกิ าร - มกี ารสำ� รวจ และวดั ผลศกั ยภาพระบบสวสั ดกิ ารทวั่ ไปในพนื้ ที่
ข้ันพน้ื ฐาน

7. เอกลกั ษณ์ทาง - ผู้พกั พิงมสี ิทธิท่จี ะยดึ ถอื ประเพณี วฒั นธรรมทางสงั คม และ
วัฒนธรรม ศาสนาในศูนย์พักพิงช่วั คราว
- ตรวจสอบทัศนคติขององค์กรปกครองท้องถ่ิน และชุมชน
โดยรอบต่อกลมุ่ ผูพ้ ักพงิ ในศนู ยพ์ ักพิงช่ัวคราว

26

บทที่ 2

ทงั้ นี้ มกี ระบวนการคดั เลอื กสถานท่ี คณุ ลกั ษณะของพนื้ ทปี่ ลอดภยั และ
การพิจารณาสถานท่ใี นชมุ ชนเพือ่ จัดตั้งศูนยพ์ กั พิงชว่ั คราว ดงั นี้
(2) กระบวนการคดั เลอื กสถานท่ี
(2.1) ผทู้ มี่ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
จะตอ้ งปรกึ ษาหารอื ชมุ ชนใกลเ้ คยี งหรอื ชมุ ชนทเี่ ปน็ เจา้ ของพน้ื ทป่ี ลอดภยั นน้ั
โดยชมุ ชนใกลเ้ คยี งหรอื ชมุ ชนเจา้ ของสถานทจี่ ะตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ
เลอื กพนื้ ทปี่ ลอดภยั ขอบเขตและระยะเวลาการใชพ้ น้ื ที่ พจิ ารณาผลกระทบที่
อาจจะเกิดข้ึนกับผู้พักพิง ซ่ึงการปรึกษาหารือกับเจ้าของพ้ืนที่จะช่วยลดหรือ
เลยี่ งไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หาความขดั แยง้ ทอี่ าจจะเกดิ จากการใชท้ รพั ยากรในพน้ื ทต่ี ง้ั
ศูนย์พักพิงชว่ั คราว เป็นตน้
(2.2) พิจารณาบริบททางสังคม เศรษฐกิจของประชาชน
ในพนื้ ที่ และประชาชนทอ่ี าจจะอพยพมาอยวู่ า่ มกี ารทำ� มาหากนิ การนบั ถอื ศาสนา
เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันหรือไม่ หากผู้ประสบภัยต้องอยู่รวมกันภายใน
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวเปน็ เวลานาน หรอื อยรู่ ว่ มกบั ชมุ ชนดง้ั เดมิ ทม่ี พี น้ื เพตา่ งกนั
ความแตกต่างทางด้านอาชีพ ศาสนาและสังคม จะมีผลต่อการใช้ทรัพยากร
และการดำ� รงชวี ติ ซ่งึ อาจจะน�ำไปสูค่ วามขัดแยง้ ได้
(2.3) พจิ ารณาวา่ เปน็ พนื้ ทอี่ อ่ นไหวในดา้ นนเิ วศวทิ ยาหรอื ไม่
เช่น เป็นพืน้ ที่ลุ่มนำ้� ห้วย หนอง คลอง บึง พนื้ ท่ีชายฝ่ังทะเล ป่าโกงกาง พนื้ ที่
อนุรักษ์ หรือพื้นท่ีท่ีมีสัตว์และพรรณพืชใกล้สูญพันธุ์ ซ่ึงควรหลีกเล่ียงการใช้
พนื้ ทเี่ หลา่ นี้ เพราะอาจจะสรา้ งผลกระทบทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาว แตห่ าก
มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใช้ ตอ้ งปรกึ ษาผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นนเิ วศวทิ ยาในการเตรยี ม และ
ใช้สถานท่ี

27

คมู่ อื การจัดตั้งและการบริหารจดั การศูนย์พักพิงชว่ั คราว

(2.4) ตรวจสอบกบั เจา้ ของพน้ื ทวี่ า่ พนื้ ทท่ี เ่ี ลอื กนน้ั เปน็ พน้ื ที่
ออ่ นไหวในดา้ นวฒั นธรรมหรอื ไม่ เชน่ เปน็ พนื้ ทศี่ กั ดส์ิ ทิ ธทิ์ างศาสนา เปน็ พน้ื ท่ี
เคารพศรทั ธา หรือเปน็ พน้ื ที่โบราณสถาน เปน็ ตน้ ไม่ควรเลือกพื้นท่ีที่มคี วาม
อ่อนไหวด้านวัฒนธรรม เพ่อื ปอ้ งกนั การรุกล้ำ� และอาจนำ� มาซ่งึ ความเสยี หาย
ของพื้นที่น้ันได้ หากมีความจ�ำเป็นต้องใช้ ต้องปรึกษาความเหมาะสมกับ
เจา้ ของพืน้ ที่ ผูม้ อี ำ� นาจ หรือผ้นู ำ� ทางศาสนาและวฒั นธรรม
(2.5) พจิ ารณาวา่ เปน็ พนื้ ทท่ี เ่ี คยใชใ้ นการอตุ สาหกรรมหรอื
เปน็ ทที่ ง้ิ ขยะอตุ สาหกรรม เปน็ บอ่ ขยะเกา่ หรอื เปน็ พน้ื ทใี่ กลโ้ รงงานอตุ สาหกรรม
หรือไม่ เพราะพื้นที่อุตสาหกรรม เหมืองเก่า บ่อขยะเก่ามักมีสารพิษตกค้าง
มสี ารเคมปี นเปอ้ื น สารเคมรี วั่ ไหลปะปนมากบั นำ�้ และอากาศหรอื อาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ
มลภาวะทางกล่ิน เสียงต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และสวัสดิภาพของ
ผู้พกั พงิ ควรเลอื กพืน้ ที่ทม่ี สี ิง่ แวดล้อมที่ปลอดภยั ในการปอ้ งกัน และควบคมุ
สารพษิ การระบาดของโรคตดิ ตอ่ โรคตดิ ตอ่ ทมี่ แี มลงเปน็ พาหะนำ� โรค และมกี าร
วางแผนการจัดการขยะและสิง่ ปฏิกูล
(2.6) ตรวจสอบวา่ เปน็ พนื้ ทท่ี มี่ คี วามเสย่ี งสาธารณภยั หรอื
มโี อกาสทจี่ ะเกดิ สาธารณภยั หรอื ไม่ พนื้ ทท่ี ใ่ี ชเ้ ปน็ สถานทป่ี ลอดภยั ควรมคี วาม
ลาดเอียงเล็กน้อยเพ่ือการระบายน้�ำ และควรมีการยกพ้ืนขุดทางระบายน�้ำ
รอบอาคารหรอื ใตอ้ าคาร ควรมรี ะบบเฝา้ ระวงั นำ�้ ทว่ ม ในขณะเดยี วกนั หากพนื้ ท่ี
ทเ่ี ลอื กนนั้ มคี วามลาดชนั มาก มกั จะมแี นวโนม้ ในการเกดิ ดนิ โคลนถลม่ โดยเฉพาะ
ในชว่ งมรสมุ หากมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใช้ ควรสรา้ งแนวกำ� แพงปอ้ งกนั หรอื เตรยี ม
ปลกู พชื คลุมดินเพื่อยึดผิวดิน กนั ดินพังทลายเวลามฝี นตกหนัก เปน็ ต้น
(2.7) การเลอื กใชพ้ นื้ ทใี่ ดเปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวนน้ั ควรมี
การตกลงกับเจ้าของพื้นท่ีอย่างชัดเจน ถูกต้องตามกฎหมาย และต้องจัดท�ำ
เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรในรูปแบบของบันทึกขอ้ ตกลง โดยระบุ

28

บทท่ี 2

- คู่สัญญาหรือเจ้าของสถานที่ และหน่วยงานที่
รับผิดชอบในการจัดตั้งศนู ยพ์ กั พิงชัว่ คราว
- เงอ่ื นไขการใชพ้ นื้ ท่ี เชน่ ระยะเวลา ขอบเขตความ
รับผดิ ชอบ เป็นตน้
- ผรู้ บั ผิดชอบในการดูแลบรหิ ารจัดการพื้นที่
- แหล่งท่ีมาของงบประมาณ และการรับผิดชอบ
ค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ
(3) คุณลักษณะของพื้นท่ีปลอดภัยส�ำหรับจัดตั้งศูนย์พักพิง
ชั่วคราว
(3.1) พ้ืนที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภัยซ้�ำ หรือได้รับ
ผลกระทบจากภัย และภยั ตอ่ เนื่องจากภยั หลกั ท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ
(3.2) พนื้ ทมี่ คี วามสะดวกในการเดนิ ทางและการตดิ ตอ่ จาก
ภายนอกไปยังศูนย์พักพิงช่ัวคราว ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางด้วยพาหนะใด ๆ
เช่น รถยนต์ รถพยาบาล รถกู้ชีพ และพ้ืนที่ปลอดภัยควรอยู่ห่างจากถนน
อยา่ งนอ้ ย 50 เมตร เพอ่ื ลดโอกาสการเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ราจร ไมค่ วรตงั้ พน้ื ทพี่ กั พงิ
บนถนนหรือไหล่ทาง
(3.3) พ้ืนท่ีเข้าถึงได้โดยปราศจากอุปสรรคในการใช้งาน
และอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ทุกคนไม่ว่าจะเป็นเด็ก คนพิการ และผู้สูงอายุ
ทใี่ ชร้ ถเขน็ หรอื ใชไ้ มเ้ ทา้ หากไมม่ สี งิ่ อำ� นวยความสะดวกใหพ้ จิ ารณาปรบั ปรงุ
อาคารสถานที่ เช่น การจัดให้มีทางลาดส�ำหรับรถเข็นจากพื้นถึงตัวอาคาร
การจัดให้มีขนาดประตูที่กว้างพอส�ำหรับรถเข็น การจัดให้มีราวน�ำทางเดิน
หรอื เปน็ ราวจบั สำ� หรบั ทางเดนิ ขน้ึ บนั ได การจดั ใหม้ หี อ้ งนำ�้ ทเ่ี หมาะสม เปน็ ตน้

29

คูม่ ือการจัดต้ังและการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว

(3.4) พื้นท่ีมีความพร้อมด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น
ประปา ไฟฟา้ การคมนาคม เพอ่ื เออ้ื ตอ่ ความสะดวกในการดำ� รงชวี ติ ประจำ� วนั
และไมห่ า่ งไกลจากสถานทใี่ หบ้ รกิ ารของรฐั เชน่ โรงพยาบาล สำ� นกั งานองคก์ ร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ สถานตี �ำรวจ ศูนยป์ ระสานงานช่วยเหลือต่าง ๆ เป็นต้น
(3.5) พ้ืนท่ีเอื้ออ�ำนวยต่อการจัดระเบียบในการใช้งาน
ดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ สดั สว่ น เชน่ การจดั พนื้ ทพี่ กั ผอ่ นนอนหลบั พน้ื ทท่ี ำ� อาหาร
พ้ืนท่ีซักล้าง ห้องน้�ำ ห้องสุขา นอกจากน้ี ยังต้องเตรียมพ้ืนท่ีส�ำหรับจัดเก็บ
กระจายสิ่งของบรรเทาทุกข์ ของบริจาค พ้ืนที่ส�ำหรับให้บริการด้านสุขภาพ
และพนื้ ทสี่ ำ� หรับประสานงาน เป็นต้น
(3.6) พื้นที่สามารถจัดระบบรักษาความปลอดภัยส�ำหรับ
ทุกคน มอี าณาเขตชดั เจนหรอื สามารถจัดใหม้ กี ารดูแลรกั ษาความปลอดภยั ได้
2.2.2 การพจิ ารณาสถานทีใ่ นชมุ ชนเพอื่ จัดตัง้ ศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว
การคดั เลอื กสถานทเ่ี พอ่ื จดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวในแตล่ ะหมบู่ า้ น
ต�ำบล อ�ำเภอ ส�ำนักงานเขต นอกจากที่สาธารณประโยชน์แล้ว ยังมีพ้ืนที่
สาธารณะทสี่ ามารถรองรบั การอพยพของประชาชน และเปน็ ทพี่ กั พงิ ชว่ั คราว
มกั เปน็ สถานทท่ี ชี่ มุ ชนรจู้ กั เชน่ โรงเรยี น วดั มสั ยดิ โบสถ์ สนามกฬี า พนื้ ทบ่ี รเิ วณ
สำ� นักงานองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน เป็นตน้ ซ่ึงการเลือกใช้งานสถานทีเ่ หล่าน้ี
ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ระยะเวลาในการใชพ้ กั พงิ สง่ิ อำ� นวยความสะดวก และการจดั การ
พ้ืนที่โดยไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง โดยท่ัวไปในแผนปฏิบัติการในการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภยั ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ พน้ื ทที่ ม่ี คี วามเสย่ี งภยั สงู
จะมกี ารกำ� หนดสถานทใี่ นชมุ ชนเพอื่ ใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวไวแ้ ลว้ โดยสามารถ
จัดให้มีคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวเข้าไปบริหารจัดการ

30

บทท่ี 2

พน้ื ทไ่ี ด้ และตอ้ งมกี ารตรวจสอบความพรอ้ ม ความปลอดภยั ของสถานทน่ี นั้ ๆ
เป็นระยะ ๆ แต่บางท้องถิ่นยังไม่มีการเลือกสถานที่ตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว
จึงต้องพิจารณาเลือกสถานที่แต่ละประเภท ซึ่งย่อมมีข้อดี ข้อด้อยต่างกันไป
(ตามตารางท่ี 2.2)

ตารางที่ 2.2 การเลือกสถานทตี่ ้งั ศูนยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว

สถานที่ ข้อดี ข้อดอ้ ย

โรงเรยี น • ใกลพ้ นื้ ทชี่ มุ ชน เปน็ ทร่ี จู้ กั ของชมุ ชน • การพกั อาศยั อาจจะรบกวนการเรยี น
• มีผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครู และบุคลากร การสอนของโรงเรียนในกรณีที่ใช้เป็น
ชว่ ยในการบริหารจัดการพืน้ ท่ี ท่ีเรียน และเป็นที่พักพิงช่ัวคราวใน
• มีสาธารณูปโภคจ�ำเป็นขั้นพื้นฐาน เวลาเดียวกนั
เช่น น�ำ้ ประปา ไฟฟา้ ห้องน้ำ� โรงครวั • การปรับใช้โรงเรียนเป็นศูนย์พักพิง
เป็นต้น ช่ัวคราว อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหา
• มีพื้นที่ และอาคาร ห้องเรยี นรองรบั ด้านสุขอนามัยแก่นกั เรียนตามมา
ผพู้ กั พงิ จำ� นวนมากได้ อาจจะตง้ั เตน็ ท์
หรือสุขาชวั่ คราวเพิ่มเติมได้
• มสี นามหญา้ กว้างสำ� หรับอพยพ
สัตวเ์ ล้ียง และปศุสตั ว์

ส�ำนักงาน • เป็นที่รู้จักของคนในชุมชน และ • การจดั พน้ื ทพี่ กั พงิ อาจจะรบกวนการ
อบต./เทศบาล หนว่ ยงานในพน้ื ที่ สะดวกในการตดิ ตอ่ ทำ� งานของเจ้าหนา้ ท่ี
ประสานงาน • การจดั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว อาจจะสง่
• มีหน่วยงานความปลอดภยั ผลต่อการรักษาความปลอดภัยของ
• มีสาธารณูปโภคจ�ำเป็นขั้นพ้ืนฐาน ทรพั ย์สินทางราชการ
เชน่ น้ำ� ประปา ไฟฟา้ หอ้ งน้ำ� เปน็ ตน้
• มบี คุ ลากรประจำ� ส�ำนกั งานดูแล

31

คมู่ อื การจดั ตั้งและการบริหารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว

สถานท่ี ขอ้ ดี ข้อด้อย

ศาสนสถาน • ใกล้พื้นท่ีชุมชน มีความสัมพันธ์กับ • ข้อบัญญัติทางศาสนาอาจจะท�ำให้
เช่น วดั มัสยิด ชมุ ชน เกิดความเหลื่อมล้�ำหรือความขัดแย้ง
หรือโบสถ์ • มีขนาดพ้นื ทีห่ ลากหลาย ในการใช้สถานท่ีพักพิง
• มีสาธารณูปโภคจ�ำเป็นขั้นพ้ืนฐาน • ผู้พักพิงต่างศาสนาอาจไม่สะดวกใจ
เช่น นำ�้ ประปา ไฟฟา้ หอ้ งน้ำ� เป็นตน้ ในการใชพ้ ืน้ ทรี่ ่วมกนั
• วดั ส่วนใหญ่มโี รงครวั อปุ กรณ์ • อาจจะมีขอ้ จำ� กัดเรื่องการรับ
เคร่ืองใช้ และห้องน�้ำ ห้องอาบน�้ำ สตั ว์เลยี้ ง และปศสุ ัตว์ เป็นต้น
เป็นตน้
• มีคณะกรรมการบริหารจัดการของ
สถานท่เี พื่อช่วยในการบรหิ ารจัดการ

ศาลาประชาคม • เปน็ ศนู ย์กลางของชุมชน • บางแห่งเป็นโครงสร้างที่เปิดโล่ง
• มรี ปู แบบ และขนาดพน้ื ทห่ี ลากหลาย ออกแบบมาส�ำหรับการประชุม หรือ
• บางแหง่ อาจจะมรี ะบบสอ่ื สารตดิ ตงั้ ไว้ การรวมตัวชั่วคราว จึงอาจจะยากต่อ
• มีสาธารณูปโภคจ�ำเป็นข้ันพ้ืนฐาน การจดั พนื้ ทเี่ ปน็ สว่ นตวั และไมส่ ะดวก
เช่น น้�ำประปา ไฟฟา้ หอ้ งนำ�้ เปน็ ตน้ ในการพกั อาศยั ระยะยาว
• มคี ณะกรรมการหมู่บา้ นดูแล

สนามกีฬา • พื้นที่กว้างขวาง รองรับประชาชน • พื้นที่ร่มมีน้อย หรือพื้นที่อาคาร
สวนสาธารณะ จ�ำนวนมาก อาจมีน้อย ต้องใช้เต็นท์เป็นที่พักพิง
หอประชุม • เป็นทร่ี ้จู ักของคนในชมุ ชน หรอื ใช้จดั กจิ กรรม
• มีสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น • อาคารโล่งกวา้ ง ยากตอ่ การจดั พน้ื ท่ี
ห้องพยาบาล หอ้ งน�้ำ ลานจอดรถ อาศยั ให้มคี วามเปน็ สว่ นตวั
ห้องเกบ็ ของ เป็นต้น
• มพี ้ืนทต่ี ั้งเตน็ ท์ สขุ าเคล่อื นท่ี
เพม่ิ เติมได้

32

บทที่ 2

2.2.3 การคดั เลอื กอาคารสงิ่ กอ่ สรา้ งสำ� หรบั ใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
การคัดเลือกอาคารสิ่งก่อสร้างที่มีอยู่แล้วเพื่อปรับใช้เป็น
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว จะตอ้ งมกี ารสำ� รวจและประเมนิ ความปลอดภยั ของอาคาร
สภาพแวดล้อม รวมถึงวางแผนการปรับปรุงสภาพอาคารให้เหมาะสมในการ
ใช้งาน และส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้พักพิง ในการคัดเลือกอาคารและ
วเิ คราะห์โครงสรา้ งอาคาร ควรมผี ู้เชย่ี วชาญทางด้านโครงสร้างเขา้ รว่ มในการ
เลือกอาคารสิ่งก่อสร้างด้วย ซ่ึงการคัดเลือกอาคารส่ิงก่อสร้างส�ำหรับใช้เป็น
ศูนย์พักพิงชั่วคราวนั้น มีประเด็นหลักที่ควรพิจารณา ได้แก่ สภาพอาคาร
ลกั ษณะอาคาร การใชง้ านอาคาร เจา้ ของอาคาร ขนาดของอาคาร และระยะเวลา
การใชง้ าน (ตามตารางท่ี 2.3)

ตารางที่ 2.3 หลักการพิจารณาคัดเลือกอาคารสิ่งก่อสร้างส�ำหรับใช้เป็น
ศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว

ประเด็น ขอ้ พิจารณาสำ� หรบั อาคารส่ิงกอ่ สรา้ ง

1. สภาพอาคาร - โครงสร้างอาคารและฐานรากอาคารอยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย มีการ
ก่อสร้างถกู ตอ้ งตามกฎหมายอาคาร
- โครงสร้างอาคารสามารถต้านทานแรงที่เกิดจากสาธารณภัย
ต่าง ๆ ได้
- อาคารมหี นา้ ต่าง ประตู ท่ีแขง็ แรง ใช้งานไดแ้ ละอยใู่ นสภาพทดี่ ี
- มหี ลงั คาแข็งแรง มฉี นวนกันความร้อน
- ระบบไฟฟา้ อยใู่ นสภาพที่ดี

2. ลกั ษณะอาคาร - ลักษณะอาคารต้องเอื้อต่อการแบ่งพื้นท่ีให้เป็นสัดส่วนส�ำหรับ
ผพู้ กั พงิ และพืน้ ท่ีใช้สอยตามความจ�ำเปน็
- วสั ดทุ ่ีใช้ในอาคาร เช่น ฝา้ เพดาน ผนัง มีความแข็งแรง ทนตอ่
แรงลมฝน
- อาคารมที างขน้ึ ลงกวา้ ง สะดวกสำ� หรบั การใชง้ านของผ้พู ักพงิ
และการขนถา่ ยสิ่งของเครือ่ งอุปโภค บริโภค

33

คมู่ อื การจดั ต้ังและการบรหิ ารจดั การศูนย์พักพงิ ชวั่ คราว

ประเดน็ ขอ้ พิจารณาส�ำหรบั อาคารสง่ิ กอ่ สร้าง

- ภายในอาคารมีระบบถา่ ยเทอากาศทีด่ ี
- มีทางเข้า - ออกที่สะดวก กว้างขวาง แข็งแรง และปลอดภยั
- มพี น้ื ทสี่ ำ� หรบั เกบ็ สง่ิ ของบรรเทาทกุ ขท์ ง้ั ภายใน และภายนอกอาคาร

3. การใช้งาน - มีการแบง่ พืน้ ทใ่ี ชส้ อยที่เหมาะสมต่อจ�ำนวนผ้พู ักพิง
อาคาร - สามารถใช้อาคารไดต้ ลอดระยะเวลาในการพกั พิง
- ไมค่ วรมกี ารใชอ้ าคารในกจิ กรรมอน่ื ในขณะทใี่ ชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว

4. เจา้ ของอาคาร l อาคารของเอกชน เสยี่ งตอ่ การถกู ฟอ้ งร้อง ขับไล่ และผลกั ดนั ไป
สกู่ ารโยกยา้ ยครงั้ ทส่ี อง การตกลงกบั เจา้ ของอาคารโดยตรงสามารถ
แก้ปัญหาได้อยา่ งรวดเร็ว และมปี ระสิทธิภาพ
l อาคารของรัฐ หรือสาธารณะ มีอยู่ทั่วไปและเป็นการแก้ปัญหา
ทเ่ี หมาะสมในขอ้ จ�ำกดั การเห็นชอบจากรัฐอาจใช้เวลานาน

5. ขนาดของ l ศูนย์พักพิงช่ัวคราวขนาดเล็ก (ไม่เกิน 100 คน) ในกรณีที่มี
อาคาร ศูนย์พักพิงช่ัวคราวขนาดเล็กจ�ำนวนมาก อาจท�ำให้เกิดปัญหา
ด้านการล�ำเลียงและกระจายความช่วยเหลือไม่ท่ัวถึง แต่สามารถ
วางกลไกการประสานงานและการดูแลรักษาความปลอดภัย
ในการปกป้องคุ้มครองผูพ้ ักพิงการภายในอาคารไดง้ ่าย
l ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวขนาดใหญ่ (มากกวา่ 100 คน) เปน็ การแกป้ ญั หา
ที่รวดเร็วในการเข้าให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจ�ำนวนมาก
ในกรณฉี กุ เฉนิ ทำ� ใหก้ ารวางกลไกการประสานงานภายในไดย้ ากกวา่
และมคี วามเสย่ี งตอ่ การรกั ษาความปลอดภยั ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
เน่ืองจากเป็นศูนย์ขนาดใหญ่ ท�ำให้จัดเจ้าหน้าท่ีดูแลรักษาความ
ปลอดภัยในการปกปอ้ งค้มุ ครองผู้พกั พงิ ไม่ทว่ั ถึง

6. ระยะเวลา - กรณที จี่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวเปน็ เวลานานควรคำ� นงึ ถงึ
การใชง้ าน ความเป็นไปได้ในการเพิม่ พ้ืนทอ่ี าศัยและคุณภาพชวี ติ

34

บทท่ี 2

ท้ังนี้ เมื่อมีการคัดเลือกสถานที่ปลอดภัยเพี่อจัดตั้งศูนย์พักพิง
ช่ัวคราวแล้ว ควรจัดท�ำเป็นข้อมูลเพ่ือใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ตามแบบรายงานการเตรยี มความพรอ้ มศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
(กรงุ เทพมหานคร/ จังหวัด) ตามภาคผนวก 4
2.2.4 การปรบั ปรงุ อาคารสถานทแ่ี ละการเพม่ิ สง่ิ อำ� นวยความสะดวก
สำ� หรับกลมุ่ เปราะบาง
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว นอกจากจะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ เรอื่ งการใชง้ านพนื้ ที่
ระบบสาธารณปู โภค ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั ศนู ยพ์ กั พงิ ทป่ี ระชาชนทว่ั ไปใชป้ ระโยชนแ์ ลว้
ในการจดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวยงั ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความจำ� เปน็ เหมาะสมในการ
ปรับปรุงอาคารสถานที่ท่ีมีอยู่เดิม เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
กลมุ่ เปราะบางดว้ ย เชน่ การตดิ ตง้ั ไฟสอ่ งสวา่ งเพม่ิ เตมิ การทำ� ราวจบั ตามทางเดนิ
สำ� หรบั ผสู้ งู อายุ การทำ� ราวกน้ั ระเบยี งเพอื่ ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตกุ บั เดก็ เลก็ เปน็ ตน้
นอกจากน้ี กลุ่มคนพิการจะต้องจัดให้มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีเหมาะสม
โดยอา้ งองิ ตามกฎกระทรวงกำ� หนดลกั ษณะ หรอื การจดั ใหม้ อี ปุ กรณ์ สง่ิ อำ� นวย
ความสะดวก หรือบริการในอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ และบริการขนส่ง
เพ่ือให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ พ.ศ. 2556 ซึ่งค�ำว่า
“สงิ่ อำ� นวยความสะดวก” ตามกฎกระทรวงกำ� หนดลกั ษณะฯ หมายถงึ เครอื่ งมอื
เพอ่ื การชว่ ยเหลอื ทง้ั ภายในและภายนอกอาคารและสถานที่ และยานพาหนะ
โดยการสรา้ ง ตดิ ตง้ั หรอื ดดั แปลงใหเ้ ครอ่ื งมอื ดงั กลา่ ว เปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาคาร
และสถานท่ี และยานพาหนะ เพอื่ ใหค้ นพกิ ารสามารถเขา้ ถงึ และใชป้ ระโยชน์
ไดบ้ นพ้ืนฐานของความต้องการพเิ ศษของคนพิการแต่ละประเภท เป็นตน้

35

คมู่ อื การจัดต้ังและการบริหารจดั การศนู ย์พักพิงช่วั คราว

ตัวอย่าง การจัดส่ิงอ�ำนวยความสะดวกที่จ�ำเป็นส�ำหรับกลุ่ม
เปราะบางในศูนย์พักพิงชว่ั คราว ดังน้ี
v จดั โตะ๊ ลงทะเบยี นสำ� หรบั คนพกิ ารและผสู้ งู อายแุ ยกตา่ งหาก
เพ่อื ใหไ้ ด้รบั ความสะดวกรวดเร็วในการลงทะเบยี นเขา้ ส่ศู ูนยพ์ กั พิงชั่วคราว
v การจัดให้มีไฟส่องสว่าง ไฟน�ำทางและราวจับตามทางเดิน
ไปห้องนำ้� ห้องอาหาร เรือนนอน
v การจดั พนื้ ทสี่ ว่ นตวั หรอื ฉากกน้ั สายตาทม่ี ดิ ชดิ สำ� หรบั คนพกิ าร
ผสู้ งู อายุ ทช่ี ่วยเหลือตัวเองไม่ได้ในการเปล่ียนเส้อื ผ้า ท�ำความสะอาดรา่ งกาย
เปน็ ตน้
v การทำ� ทางลาดจากวัสดทุ ี่มี หรอื วัสดุในทอ้ งถน่ิ ซ่ึงสามารถ
รบั นำ้� หนกั คนพกิ ารและรถเขน็ คนพกิ ารไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั เมอ่ื ใชง้ าน
โดยมีความกว้างเพียงพอส�ำหรับรถเข็นคนพิการ และมีความลาดชันในระดับ
ท่ีรถเข็นคนพิการสามารถขึ้นและลงได้อย่างปลอดภัย รวมท้ังมีระบบป้องกัน
มใิ หร้ ถเข็นตกจากทางลาด
v การปรับปรุงห้องน�้ำที่คนพิการใช้รถเข็นสามารถใช้การได้
โดยใหม้ ปี ระตกู วา้ งอยา่ งนอ้ ย 90 เซนตเิ มตร มพี น้ื ทกี่ วา้ งสำ� หรบั รถเขน็ คนพกิ าร
หมุนได้สะดวก และมีพื้นท่ีในการจัดเก็บรถเข็นคนพิการ ในห้องน�้ำจะต้องมี
ราวจับท�ำด้วยวัสดุท่ีมีความม่ันคง แข็งแรง พ้ืนห้องน�้ำเป็นวัสดุท่ีพื้นผิวไม่ลื่น
และมีสุขภัณฑ์ อปุ กรณ์ในหอ้ งนำ�้ ท่มี ลี ักษณะเหมาะสมส�ำหรบั คนพกิ าร
v การปรับเปลี่ยนลูกบิดประตูห้องน�้ำเป็นแบบก้าน เพื่อให้
คนพิการแขนขาออ่ นแรงสามารถเปดิ ได ้

36

บทท่ี 2

v การให้ข้อมูลข่าวสารส�ำหรับคนพิการประเภทต่าง ๆ เช่น
การจัดล่ามภาษามือส�ำหรับคนพิการทางการได้ยิน จัดพิมพ์เอกสารเป็นตัว
อกั ษรเบรลล์ หรือการใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การสือ่ สารกบั คนพกิ าร เปน็ ต้น
v มีป้ายแสดงสัญลักษณ์รูปภาพคนพิการ เคร่ืองหมายแสดง
ทางไปสูอ่ ุปกรณห์ รือ ส่งิ อ�ำนวยความสะดวก
v มหี อ้ งหรอื พน้ื ทแ่ี ยกตา่ งหาก มดิ ชดิ และอากาศถา่ ยเทสำ� หรบั
แมใ่ ห้นมบุตร
v จัดพื้นที่ปลอดภัย และนันทนาการส�ำหรับเด็ก เด็กเล็ก
ทปี่ ลอดภยั เพอื่ ใหเ้ ดก็ ๆ มารว่ มใชพ้ นื้ ทเ่ี ดยี วกนั ระหวา่ งพกั พงิ อยใู่ นศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว เปน็ การอำ� นวยความสะดวกแกผ่ ปู้ กครองในการดแู ลเดก็ และเปน็ การ
คุ้มครองเด็กในภาวะตามหลักสากล
การจดั สงิ่ อำ� นวยความสะดวกตา่ ง ๆ สำ� หรบั ผพู้ กิ ารนนั้ ไมจ่ ำ� เปน็
จะตอ้ งเป็นสิ่งปลกู สร้างราคาแพง หรูหราหรือถาวร หลักสำ� คญั คือการจัดหา
ส่ิงที่ใช้งานได้ตามคุณลักษณะและข้อก�ำหนดท่ีจ�ำเป็น การสร้างทางลาด
ท่ีสวยงามแต่มีความลาดชันไม่ตรงตามมาตรฐาน ก็ไม่สามารถใช้งานได้จริง
และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายกบั คนพกิ ารและผชู้ ว่ ย แตท่ างลาดทถ่ี กู ตอ้ งจะตอ้ ง
มรี ะดบั ความชนั ที่ 1:12 เมตร เมอ่ื ทางลาดมคี วามสงู 1 เมตร จะตอ้ งมคี วามยาว
12 เมตร มคี วามกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 90 เซนตเิ มตร และทางลาดทม่ี คี วามยาวตง้ั แต่
2.5 เมตรข้นึ ไป จะตอ้ งมีราวจบั ท้ังสองข้าง เป็นต้น อีกประการหน่ึง ทางลาด
สำ� หรบั รถเขน็ คนพกิ ารสามารถสรา้ งจากวสั ดทุ หี่ าไดง้ า่ ยในพน้ื ทแ่ี ละสรา้ งอยา่ ง
แขง็ แรง นอกจากนี้ ทางเดนิ ในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยเฉพาะทางเดนิ ไปหอ้ งนำ้�

37

คู่มอื การจดั ต้งั และการบริหารจดั การศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว

ควรท�ำราวเกาะตามทางเดินไว้ เพ่ือประโยชน์แก่ผู้สูงอายุ เด็ก และคนท่ี
เดินล�ำบาก อีกทั้งยังสามารถใช้น�ำทางส�ำหรับผู้พิการทางสายตาอีกด้วย
อน่ึง การทาสเี หลืองทีข่ อบประตู หรอื ประตหู ้องน�้ำ เป็นแนวทางสากลท่ชี ่วยให้
คนพกิ ารประเภทสายตาเลอื นรางสามารถสงั เกตเหน็ ประตไู ดด้ ว้ ย สำ� หรบั ตวั อยา่ ง
การจดั สง่ิ อำ� นวยความสะดวกฯ นั้น สามารถสบื คน้ จากเอกสาร “ตวั อย่างทด่ี ี
ในการจดั สงิ่ อำ� นวยความสะดวก สำ� หรบั คนพกิ าร และคนทกุ วยั ” ของสำ� นกั งาน
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย์ อยา่ งไรกต็ าม ในการจดั หรอื ปรบั สง่ิ อำ� นวยความสะดวก
ใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ านของคนพกิ าร หรอื ผสู้ งู อายุ หรอื กลมุ่ เปราะบางอนื่ ๆ
ควรปรึกษาหารือกบั ตวั แทนกลมุ่ คนเปราะบางแตล่ ะประเภท ซึ่งตวั อยา่ งการ
จดั สงิ่ อำ� นวยความสะดวกทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั กลมุ่ เปราะบาง ในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎกระทรวง เชอื่ มโยงตามบทท่ี 4 ขอ้ 4.3.3 และตามตาราง
ที่ 2.4 และภาพท่ี 2.1

38

บทที่ 2

ตารางที่ 2.4 ตัวอย่างการจัดส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับ
กลุม่ เปราะบางในศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราว

ส่งิ อำ� นวยความสะดวก ตวั อย่าง

1. โตะ๊ ลงทะเบียน
- ส�ำหรับคนพิการ ผู้สูงอายุ แยกต่างหาก และ
ลงทะเบยี นความตอ้ งการของคนพกิ าร
2. ทางลาด
- ทางเดนิ ในศูนยพ์ กั พงิ ช่วั คราว ทางเดนิ ไปห้องน้�ำ
และหอ้ งเกบ็ ของ มรี าวจบั ตลอดทางเดนิ ปอ้ งกนั ผสู้ งู อายุ
เดก็ คนพกิ ารลืน่ ลม้
- ทางลาดแบบง่าย ๆ แบบมีชานพกั ส�ำหรับคนพิการ
ผสู้ งู อายุ เดก็ เลก็ ทใ่ี ชร้ ถเขน็ และใชใ้ นการขนสง่ สง่ิ ของ
ได้ดว้ ย
3. หอ้ งน�้ำคนพิการ
- ห้องน�้ำที่สร้างเผอ่ื คนพกิ าร มีทางลาด และประตู
บานใหญ่เพื่อให้รถเข็นเข้าได้ (ขนาด 90 X 150
เซนติเมตร) ทาสีประตูเป็นสีเหลืองเพ่ือให้คนสายตา
เลอื นรางสังเกตเห็น
4. เต็นท์
- หากจ�ำเป็นตอ้ งใช้เต็นทส์ �ำหรับคนพิการ ต้องเป็น
พน้ื แข็ง ไม่เป็นดินโคลน และไมอ่ ยูใ่ กล้หอ้ งน้ำ� และมี
อากาศถา่ ยเท

39

คู่มอื การจดั ตั้งและการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว

ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ตวั อยา่ ง
5. ท่ีจับประตูแบบต่าง ๆ
เช่น ลูกบิดประตูห้องน�้ำเป็นแบบก้าน เพื่อให้คน
พกิ าร แขนขาอ่อนแรงสามารถเปิดได้
6. หอ้ งให้นมบตุ ร
- ห้องหรือพ้ืนที่แยกต่างหาก มิดชิด และอากาศ
ถา่ ยเทส�ำหรบั แม่ใหน้ มบุตร

อ้างอิงตารางที่ 2.4 : ที่มา : ดร.ปาริฉัตต์ ครองขันธ์ (2560) http://cmtoolkit.org และ
https://images.app.goo.gl/aD1i6MYHPy95YXGD6.

ภาพท่ี 2.1 การจดั ตง้ั ศูนยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวทมี่ สี ่ิงอ�ำนวยความสะดวกแกก่ ลุ่มเปราะบาง
ที่มา : ดร.ปารฉิ ตั ต์ ครองขนั ธ ์ (2560)

40

บทท่ี 2

2.3 การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว

ประเทศไทยมพี ระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550
เปน็ กฎหมายหลกั ในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ภายในราชอาณาจกั ร
โดยมีแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เป็นกรอบก�ำหนด
ทิศทางการปฏบิ ัติ ประสานการปฏิบตั ิ ใหก้ ารสนบั สนนุ และช่วยเหลอื ร่วมกับ
หนว่ ยงานของรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และหนว่ ยงานภาคเอกชนในการ
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั และใหก้ ารสงเคราะหเ์ บอื้ งตน้ แกผ่ ปู้ ระสบภยั
ผู้ได้รับภยันตรายหรือผู้ได้รับความเสียหายจากสาธารณภัย โดยมีแผนการ
ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั แผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
กรุงเทพมหานคร แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอ�ำเภอ และ
แผนปฏิบัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ เปน็ แผนในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดบั พน้ื ท่ี เปน็ กลไก
ขับเคล่ือนภารกจิ งานดา้ นสาธารณภยั ไปสูก่ ารปฏิบัติ
เมื่อเกิดหรอื คาดวา่ จะเกดิ สาธารณภยั ขน้ึ แผนการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภยั ในระดบั พนื้ ท่ี กำ� หนดใหก้ องอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ในระดับพ้นื ท่ี จดั ตั้ง “ศูนย์บัญชาการเหตุการณ”์ (จังหวัด/กรงุ เทพมหานคร/
อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต) ข้ึน เพื่อเป็นศูนย์กลางในการระดมสรรพก�ำลัง และ
ทรัพยากรในการจัดการสาธารณภัยที่เกิดขึ้น โดยมีผู้อ�ำนวยการจังหวัด
ผอู้ ำ� นวยการอำ� เภอ ผอู้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร และผชู้ ว่ ยผอู้ ำ� นวยการเขต

41

คู่มือการจดั ตง้ั และการบรหิ ารจดั การศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว

กรุงเทพมหานคร ควบคุม สั่งการ และบัญชาการ รับผิดชอบในการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตของตน จนกวา่ สถานการณส์ าธารณภยั จะกลบั
เข้าสู่ภาวะปกติ โดยบูรณาการ และประสานการเผชิญเหตุร่วมกับหน่วยงาน
ทกุ ภาคสว่ นในพนื้ ท่ี สำ� หรบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ใหจ้ ดั ตงั้ “ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร
ฉุกเฉินท้องถิ่น” (องค์การบริหารส่วนต�ำบล/เทศบาล/เมืองพัทยา) ขึ้น
โดยมีผู้อ�ำนวยการท้องถิ่นรับผิดชอบในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ในเขตพื้นที่ เปน็ ผู้ควบคมุ และสง่ั การ เพอื่ ท�ำหน้าท่จี ัดการสาธารณภยั ในพนื้ ที่
จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่ภาวะปกติ หรือสถานการณ์สาธารณภัยยุติลง
ท้ังน้ี การบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวเป็นภารกิจส�ำคัญส่วนหนึ่ง
ของกองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพนื้ ที่ ตามโครงสรา้ ง
แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ในส่วนสนบั สนุน และกลไก
การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวตามคมู่ อื ฉบบั น้ี จะมกี องอำ� นวยการกลาง
ศูนย์พักพิงชั่วคราว เป็นส่วนหนึ่งของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต
พื้นที่ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/
ส�ำนักงานเขต) ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถิ่น (องค์การบริหารส่วนต�ำบล/
เทศบาล/เมอื งพทั ยา) และมกี ลไกของคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว เปน็ สว่ นขบั เคลอื่ นการปฏบิ ตั งิ านในพน้ื ที่ พรอ้ มทงั้ มอบหมายภารกจิ
และผู้รับผดิ ชอบ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในทางปฏิบตั ิ

42

บทท่ี 2

ดังน้ัน คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว จึงเป็นกลไก
สำ� คญั ในการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวในพ้ืนท่ี ใหม้ ีความเป็นเอกภาพ
และมีมาตรฐาน โดยมีหน้าที่ในการอ�ำนวยการและการบริหารจัดการ
ศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น การคัดเลือกสถานที่ปลอดภัย การใช้พื้นท่ีของ
ศูนยพ์ ักพิงช่วั คราว การเตรียมอุปกรณ์ สิ่งของจ�ำเปน็ รองรบั ผู้ประสบภัยที่จะ
เข้ามาใช้พืน้ ที่พักพงิ การก�ำหนดขอ้ ปฏิบตั ิ กติกาการอย่รู ว่ มกนั การแก้ปญั หา
ประจ�ำวัน การบริหารจดั การศูนย์พักพิงชวั่ คราว การเปดิ - การปดิ ศูนยพ์ ักพงิ
ชว่ั คราว ตลอดจนการสง่ คนื พนื้ ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว และทรพั ยากรตอ่ ภาคสว่ น
ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ดังนัน้ การแตง่ ตง้ั คณะกรรมการบริหารจดั การศนู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว
ควรกำ� หนดใหม้ บี คุ ลากรทม่ี คี วามรทู้ ห่ี ลากหลาย มที กั ษะ ในการทำ� งานเปน็ ทมี
มคี วามสามารถในการสอ่ื สารประสานงาน และมที ศั นคตใิ นการใหบ้ รกิ าร เปน็ ตน้
กรณมี กี ลมุ่ เปราะบางในกลมุ่ ผพู้ กั พงิ กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งมเี จา้ หนา้ ทที่ ม่ี คี วามสามารถ
เฉพาะทาง หรือเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องในการอ�ำนวยความสะดวก เพื่อให้การ
ดแู ลและคุ้มครองกล่มุ เปราะบางได้อย่างถูกตอ้ ง
2.3.1 ค�ำจ�ำกัดความ
“กองอ�ำนวยการกลางศูนย์พักพิงชั่วคราว” (Shelter
Administrator : SA) เป็นส่วนหน่ึงของกองบัญชาการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต
พ้ืนที่ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/
ส�ำนักงานเขต) ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถ่ิน (องค์การบริหารส่วนต�ำบล/
เทศบาล/เมอื งพทั ยา)

43

คมู่ อื การจัดตงั้ และการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพงิ ชั่วคราว

“คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว” หมายถึง
กลุ่มบุคคลที่ได้รับแต่งต้ังจากผู้อ�ำนวยการ/ผู้บัญชาการ ประกอบด้วย
ผปู้ ระสานงานศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว รวมถงึ ทมี งาน
ท่ีแต่งต้ังโดยผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว ได้แก่ ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์พักพิง
ชัว่ คราว ฝ่ายอำ� นวยการ ฝา่ ยปฏบิ ัตกิ าร และคณะท�ำงานดา้ นต่าง ๆ
“ผปู้ ระสานงานศูนย์พักพงิ ช่วั คราว” (Shelter Coordinator
: SC) หมายถึง ผู้ที่ไดร้ ับการแต่งตง้ั จากผูอ้ �ำนวยการ/ผบู้ ัญชาการ
“ผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว” (Shelter Manager : SM)
หมายถึง ผู้ทไ่ี ดร้ ับการแต่งต้ังจากผอู้ ำ� นวยการ/ผู้บัญชาการ
“ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว” (Assistant Shelter
Manager : ASM) หมายถงึ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
“หนว่ ยงานของรฐั ” หมายถงึ สว่ นราชการ รฐั วสิ าหกจิ องคก์ าร
มหาชน และหน่วยงานอ่ืนของรัฐ แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ
“องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ” หมายถงึ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล
เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เมอื งพทั ยา กรงุ เทพมหานคร และองคก์ ร
ปกครองสว่ นท้องถ่ินอ่นื ท่ีมีกฎหมายจัดตง้ั
“องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นท่ี” หมายถึง องค์การ
บริหารส่วนต�ำบล เทศบาล เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืน
ท่ีมีกฎหมายจัดต้ัง แต่ไม่หมายความรวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด และ
กรุงเทพมหานคร

44

บทท่ี 2

“ผู้บัญชาการ” หมายถึง ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2550
“ผอู้ ำ� นวยการ” หมายถงึ ผอู้ ำ� นวยการกลาง ผอู้ ำ� นวยการจงั หวดั
ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ ผู้อ�ำนวยการท้องถิ่น และผู้อ�ำนวยการกรุงเทพมหานคร
ตามพระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
“เจ้าพนักงาน” หมายถึง ผู้ซ่ึงได้รับแต่งต้ังจากผู้อ�ำนวยการ
ใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในพน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ตามพระราช
บญั ญตั ิปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
“อาสาสมคั ร” หมายถงึ อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น (อปพร.)
ตามพระราชบญั ญตั ิป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 รวมถงึ บคุ คล
ทอ่ี าสาชว่ ยปฏบิ ตั งิ านดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เชน่ ประชาชน
จิตอาสาสาธารณภัยประจ�ำต�ำบลที่ผ่านการฝึกอบรมความรู้ อาสาสมัคร
สาธารณสขุ ประจ�ำหมบู่ ้าน ลา่ มอาสา เป็นตน้
2.3.2 โครงสรา้ งการบริหารศูนย์พักพิงช่ัวคราว
การกำ� หนดโครงสรา้ งศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เปน็ กลไกสำ� คญั ในการ
บริหารจัดการภายในศูนยพ์ กั พิงช่วั คราว มอี งค์ประกอบ 3 ส่วน ดงั นี้
(1) กองอ�ำนวยการกลางศูนย์พักพิงช่ัวคราว (Shelter
Administrator : SA)
(2) ผูป้ ระสานงานศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (Shelter Coordinator
: SC)

45

คมู่ อื การจัดต้งั และการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว

(3) ผจู้ ดั การศูนย์พักพงิ ช่ัวคราว (Shelter Manager : SM) และ
ภายใตผ้ จู้ ัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว ก�ำหนดให้มีทมี งาน ได้แก่
(3.1) ผชู้ ว่ ยผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว (Assistant Shelter
Manager : ASM)
(3.2) ฝ่ายอำ� นวยการ
(3.3) ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร ประกอบดว้ ย คณะท�ำงานดา้ นต่าง ๆ
เช่น คณะท�ำงานด้านสถานท่ีและสิ่งแวดล้อม คณะท�ำงานด้านโภชนาการ
คณะท�ำงานดา้ นรกั ษาพยาบาลและสขุ ภาพจติ เปน็ ต้น
2.3.3 บทบาทหน้าท่ีในการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว
ประกอบดว้ ย กองอำ� นวยการกลางศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ผปู้ ระสานงานศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว ผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ฝา่ ยอ�ำนวยการ ฝ่ายปฏบิ ัติการ และคณะท�ำงานดา้ นตา่ ง ๆ (ตามตารางที่ 2.5,
2.6 และ 2.7) และความเช่ือมโยงการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวกับ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (ตามแผนภาพที่ 2.2) รวมถงึ
โครงสร้างบทบาทหน้าที่การบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว (ตามแผนภาพ
ท่ี 2.3)

46

บทที่ 2

ตารางที่ 2.5 บทบาทหนา้ ท่ีของกองอ�ำนวยการกลางศูนย์พักพงิ ชั่วคราว

หน่วยงาน/การปฏบิ ัต/ิ ผปู้ ฏบิ ัติ หน้าที่

กองอำ� นวยการกลาง 1. ก�ำหนดเปิด การบริหารจัดการ และปิดศูนย์พักพิง
ศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว ช่ัวคราว รวมถึงการขยายระยะเวลาในการปิด กรณีมี
(Shelter Administrator : SA) ผพู้ กั พงิ อาศยั อยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก หรอื มเี หตทุ ย่ี งั สง่ กลบั ไมไ่ ด้
(สว่ นสนับสนนุ ) ตามโครงสร้าง หรือมีการรวมผู้พักพิงจากแห่งอ่ืนมารวมในศูนย์พักพิง
แผน ปภ.ชาติ ชวั่ คราวเดียว เพอ่ื สะดวกตอ่ การดแู ล
ไดแ้ ก่ หน่วยงานภาครัฐ ด�ำเนินงาน 2. แต่งต้ังผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว และผู้ประสานงาน
ในรูปแบบคณะกรรมการ ศูนยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว
ประกอบดว้ ย องคก์ รปกครองสว่ น 3. อำ� นวยการ การแก้ไขปัญหาภายในศนู ยพ์ กั พิงชว่ั คราว
ท้องถ่ิน กรุงเทพมหานคร อ�ำเภอ 4. ก�ำหนดนโยบาย และแผนในการเยียวยาช่วยเหลือ
จังหวัด ภาคเอกชน องค์กรสาธารณ ต่อเนอื่ งเมอ่ื มีการปดิ ศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราวแลว้
กศุ ลต่าง ๆ และประชาชนในพ้ืนที่ 5. สนับสนุน สง่ เสริม อำ� นวยความสะดวก ดแู ลใหค้ วาม
คุ้มครอง และรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ศูนย์พักพิง
ชวั่ คราว
6. ประสานการออกเอกสารตา่ ง ๆ ใหแ้ กผ่ พู้ กั พงิ เมอ่ื จำ� เปน็
หรอื มีการรอ้ งขอตามสทิ ธมิ นษุ ยชนขัน้ พ้นื ฐาน

47

ค่มู อื การจัดต้ังและการบริหารจัดการศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราว

ตารางที่ 2.6 บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิง
ชั่วคราว
หน่วยงาน/การปฏิบัติ/ผ้ปู ฏิบตั ิ หน้าท่ี

ผ้ปู ระสานงานศนู ย์พกั พิงชวั่ คราว 1. สง่ เสรมิ ความรแู้ ละทกั ษะดา้ นตา่ ง ๆ ตอ่ ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ
(Shelter Coordinator : SC) ชว่ั คราว เพอื่ ใหม้ คี วามตอ่ เนอ่ื งเชอื่ มโยงกนั อยา่ งเปน็ ระบบ
(ส่วนสนบั สนุน) ตามโครงสรา้ ง และสามารถประสาน สนับสนุนการช่วยเหลือได้อย่างมี
แผน ปภ.ชาติ ประสิทธภิ าพ ทว่ั ถึง และเปน็ ธรรม
- ระดับจังหวัด เช่น บุคลากรจาก 2. ประสานงานกลางระหวา่ งคณะกรรมการบรหิ ารจดั การ
สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คง ศูนย์พักพงิ ช่ัวคราว กบั กองบัญชาการปอ้ งกันและบรรเทา
ของมนุษย์จังหวัด ส�ำนักงานป้องกัน สาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทา
และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด สาธารณภัยในเขตพ้ืนที่ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
ปกครองจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต)
ศึกษาธิการจังหวัด แรงงานจังหวัด ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทอ้ งถนิ่ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา)
กาชาดจังหวดั เป็นต้น รวมทั้ง เป็นผู้ประสานงานระหว่างศูนย์พักพิงช่ัวคราวอ่ืน
- ระดับอ�ำเภอ เช่น บุคลากรจาก ท่ีมกี ารจดั ต้งั ขน้ึ พร้อมกัน
พัฒนาชุมชนอ�ำเภอ และสาธารณสุข 3. ประสานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ และสนบั สนนุ
อำ� เภอ เปน็ ตน้ การแก้ปัญหาให้แก่ผู้พักพิงตามที่คณะกรรมการบริหาร
- ระดับท้องถ่ิน เช่น บุคลากรของ จดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว หรอื ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ผนู้ ำ� ชมุ ชน มอบหมาย
ผนู้ ำ� ทอ้ งถน่ิ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 4. มสี ว่ นรว่ มในการพจิ ารณาการนำ� มาตรฐานความจำ� เปน็
ตำ� บล (รพ.สต.) เป็นตน้ ข้ันพื้นฐานต่าง ๆ มาใชใ้ นศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
5. เขา้ รว่ มการประชมุ กบั กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตพ้ืนที่และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
(จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต)
ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทอ้ งถน่ิ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา)
6. รายงานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการ/ผบู้ ญั ชาการทราบ

48

บทท่ี 2

หน่วยงาน/การปฏบิ ตั ิ/ผปู้ ฏิบตั ิ หน้าท่ี

ผู้จัดการศนู ย์พักพิงช่ัวคราว 1. ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาในการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
(Shelter Manager : SM) รวมถงึ การเสนอผอู้ ำ� นวยการ/ผบู้ ญั ชาการ เพอ่ื พจิ ารณาให้
ผทู้ ไี่ ดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากผอู้ ำ� นวยการ/ มีการปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว และเป็นผู้แจ้งปิดศูนย์พักพิง
ผู้บัญชาการ โดยอาจมาจาก ผู้แทน ชวั่ คราว
หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครอง 2. ตรวจสอบการใช้มาตรฐานความจ�ำเป็นขั้นพ้ืนฐาน
สว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ส�ำหรับศูนย์พักพิงชั่วคราวว่า ได้มีการน�ำมาใช้ในการ
ภาคเอกชน ผู้น�ำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน ดำ� เนินงานของศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราวอยา่ งเหมาะสม
กำ� นนั ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี น เปน็ ตน้ 3. พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างฝ่าย และคณะท�ำงาน

ด้านต่าง ๆ และส่งเสริมให้ผู้พักพิงเข้ามามีส่วนร่วมใน
กระบวนการบรหิ ารจดั การและกจิ กรรมภายในศนู ยพ์ กั พงิ
ช่ัวคราว รวมถึงสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการส่งเสริมสนับสนุนการด�ำเนินการของศูนย์พักพิง
ชวั่ คราว
4. ตรวจสอบการใช้และการจัดการข้อมูลที่เก่ียวข้องกับ
ศนู ยพ์ ักพิงชวั่ คราว
5. ส่งเสริมสนับสนุน ดูแลให้ผู้พักพิงปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ
กติกาภายในศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว
6. ให้ข่าวและประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานภายในของ
ศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น แจ้งก�ำหนดการปิดศูนย์พักพิง
ชัว่ คราว เปน็ ต้น
7. เขา้ รว่ มการประชมุ กบั กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทา
สาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตพ้ืนท่ี และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
(จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต)
ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉกุ เฉนิ ทอ้ งถน่ิ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา)

49

คมู่ ือการจัดตั้งและการบริหารจัดการศนู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว

หนว่ ยงาน/การปฏบิ ัติ/ผ้ปู ฏบิ ตั ิ หนา้ ที่

8. บริหารจัดการเรื่องงบประมาณร่วมกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
9. ส่งมอบพนื้ ที่ศูนยพ์ กั พิงชว่ั คราว คืนเจ้าของสถานท่ี
10. รายงานผลการดำ� เนนิ งานในภาพรวมใหผ้ อู้ ำ� นวยการ/
ผู้บัญชาการทราบ

ผู้ชว่ ยผูจ้ ัดการศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว มหี นา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวในการบรหิ าร
(Assistant Shelter Manager : ASM) จดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว และปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามทผี่ จู้ ดั การ

ผูท้ ่ีไดร้ ับการแต่งต้ังจากผจู้ ดั การ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวมอบหมาย โดยใหม้ หี นา้ ทใ่ี นการบรหิ าร

ศนู ย์พักพิงชวั่ คราว จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว รองจากผู้จัดการศูนย์พักพิง

ช่ัวคราว

ฝา่ ยอำ� นวยการ 1. งานธรุ การ การเกบ็ เอกสารตา่ ง ๆ เชน่ จดั ทำ� บญั ชรี ายชอ่ื
ผู้ที่ได้รับการแต่งต้งั จากผูจ้ ดั การ ผพู้ กั พงิ ในศูนย์พกั พิงช่ัวคราว เปน็ ต้น
2. ลงทะเบียนผูพ้ ักพิงทั้งเข้า - ออก ศนู ย์พักพงิ ชวั่ คราว
ศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว 3. งานการประชมุ เชน่ ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารจดั การ
ศูนย์พักพิงช่วั คราว เป็นต้น
4. งานรบั จา่ ยและเกบ็ รักษาเงนิ และทรพั ย์สิน เชน่ จดั ท�ำ
ข้อมลู และรายงานการเงนิ บัญชีและพสั ดุ เชน่ จดั ท�ำบัญชี
รายรบั -รายจา่ ย และการจดั ซอื้ - จดั จา้ ง และรายงานผจู้ ดั การ
ศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว
5. ลงทะเบยี นและจดั เกบ็ ขอ้ มลู เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงานภาครฐั
เอกชน อปพร. อสม. จิตอาสา และล่ามอาสา ที่มาช่วย
ปฏบิ ัติงานในศนู ยพ์ กั พงิ ชั่วคราว
6. จดั ทำ� ขอ้ ปฏิบัติ กตกิ าการอยรู่ ่วมกันสำ� หรับผู้พกั พิง
7. จดั หาเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ เครอื่ งใชท้ จ่ี ำ� เปน็ แกก่ ารดำ� รงชพี
ขณะท่อี าศัยในศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว

50

บทที่ 2

หนว่ ยงาน/การปฏิบัติ/ผูป้ ฏบิ ตั ิ หน้าท่ี

ฝา่ ยปฏบิ ตั กิ าร 8. ติดตาม ประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานขณะเปดิ ศนู ยพ์ ักพงิ
คณะท�ำงานด้านต่าง ๆ ชวั่ คราว เชน่ การสงั เกตจากกจิ กรรมตา่ ง ๆ หรอื การตดิ ตาม
ผทู้ ่ีไดร้ ับการแต่งต้ังจากผ้จู ดั การ ประเมินผลอย่างเป็นทางการ เช่น ส�ำรวจความพึงพอใจ
ศนู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว ของผู้พักพิง เป็นต้น
9. ประสานงานการปิดศนู ยพ์ ักพิงชั่วคราว
10. จดั ทำ� รายงานผลการดำ� เนนิ งานในภาพรวมรายงานให้
ผู้อ�ำนวยการ/ผบู้ ัญชาการทราบ
11. ดำ� เนนิ การอน่ื ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

1. ร่วมพิจารณาเลือกคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ ตามความ
เหมาะสมของเหตุการณ์ ซึ่งอาจพิจารณาบุคคลจาก
หนว่ ยงานภายนอก หรอื อาสาสมคั ร หรอื เจา้ หนา้ ทภี่ ายใน
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการดูแล
ตรวจสอบให้ความช่วยเหลอื ปกป้องคุม้ ครองแก่ผพู้ กั พงิ
2. ดำ� เนนิ กจิ กรรมประจำ� วนั ในระยะของการดแู ลศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว และจดั การพนื้ ทใี่ หเ้ ปน็ ระเบยี บ รวมทง้ั สนบั สนนุ
การท�ำงานของผจู้ ดั การศนู ย์พกั พงิ ชว่ั คราว
3. ด�ำเนนิ การอ่นื ๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย

51

คูม่ อื การจดั ตง้ั และการบริหารจดั การศูนยพ์ ักพิงช่ัวคราว

ตารางที่ 2.7 บทบาทหน้าท่ีของคณะท�ำงานด้านตา่ ง ๆ

หน่วยงาน/การปฏบิ ัติ/ผู้ปฏบิ ัติ หนา้ ท่ี

1. ด้านสถานทแี่ ละส่ิงแวดล้อม 1. จดั ทำ� แผนผงั การจดั พนื้ ทข่ี องศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวใหเ้ ปน็
ระบบ มีระเบยี บ และเป็นไปตามมาตรฐาน รวมถึงแผนผัง
โครงสร้างศนู ย์พกั พิงชว่ั คราว ชื่อ - สกุล ผรู้ ับผดิ ชอบและ
หมายเลขโทรศัพท์ตา่ ง ๆ
2. ก�ำหนดพื้นท่ีส�ำหรับพักอาศัยแยกประเภท ครอบครัว
บุคคล (หญิง/ชาย) เปน็ ต้น
3. จัดพื้นทีส่ �ำหรับสัตวเ์ ลยี้ งและปศสุ ัตว์ โดยแยกส่วนจาก
สถานที่พกั พิง
4. ดูแลด้านสุขาภิบาล เช่น การท�ำความสะอาดสถานที่
การกำ� จัดขยะ การคัดแยกขยะ ฯลฯ
5. กำ� กบั ดแู ลการใชพ้ นื้ ที่ และรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
เรียบรอ้ ย
6. กำ� หนดการใชพ้ น้ื ทแ่ี ละเวลาสำ� หรบั กจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่
พ้ืนที่รับประทานอาหาร พื้นที่นันทนาการ พ้ืนที่ซักล้าง
เปน็ ต้น
7. ดแู ลสถานทแ่ี ละบรเิ วณโดยรอบ เชน่ การระบายนำ�้ เสยี
น้�ำท้งิ เพ่อื ไม่ใหน้ ้�ำท่วมขงั ไมเ่ ปน็ พื้นทเี่ สย่ี งภัยน้ำ� ท่วมซ้ำ�
ปลอดภัยจากมลพษิ ทางน้ำ� และโรคติดต่อ
8. ตรวจสอบพ้ืนที่เก่ียวกับการปนเปื้อนสารพิษ ควันพิษ
กล่นิ ขยะ ฯลฯ ให้ปลอดมลพษิ ทางอากาศ ท้ังจากภายใน
และภายนอกพ้นื ทีศ่ นู ยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว
9. ประเมินตรวจสอบสถานที่ท่ีช�ำรุดเสียหาย เพื่อเป็น
ข้อมูลในการปรับปรุงซ่อมแซมสถานที่ก่อนการปิด
ศนู ย์พักพิงชัว่ คราว

52

บทที่ 2

หนว่ ยงาน/การปฏิบัติ/ผปู้ ฏบิ ัติ หนา้ ที่
2. ดา้ นโภชนาการ
1. วางแผนโภชนาการใหเ้ หมาะสมกบั ผปู้ ระสบภยั ตามเพศ
3. ดา้ นการรกั ษาพยาบาล วยั อายุ และสภาพรา่ งกาย โดยองิ มาตรฐานสากล คอื จดั ให้
และสุขภาพจิต ผู้พักพิงที่เป็นผู้ใหญ่ให้ได้รับอาหาร 1,500 - 2,000
กิโลแคลอร/ี ตอ่ คน/ตอ่ วัน เปน็ ต้น
4. ดา้ นการสือ่ สาร 2. ประเมินสถานการณ์ด้านนำ้� และอาหารใหเ้ หมาะสมกับ
และประชาสมั พนั ธ์ จ�ำนวนผูพ้ ักพิง
3. จัดหาอุปกรณท์ �ำอาหารและวตั ถดุ บิ ทส่ี ะอาดปลอดภยั
4. ดูแลกระบวนการผลติ อาหาร การเกบ็ และการแจกจา่ ย
อาหารใหถ้ ูกสุขลักษณะ
5. จัดระบบการรับ-ส่งอาหาร แจกจ่ายอาหารและน้�ำดื่ม
ตามเวลาในแตล่ ะวนั
1. จดั พน้ื ทบี่ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวทเ่ี พยี งพอ
และจัดบคุ ลากรทีม่ ีความรู้ ความช�ำนาญในการดแู ลรกั ษา
พยาบาลเบอื้ งตน้
2. จดั การบรกิ ารปอ้ งกนั โรคและตรวจรกั ษาโรคอยา่ งทว่ั ถงึ
เพอื่ ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเช้ือโรค โรคระบาดตา่ ง ๆ
เป็นต้น
3. จดั ใหม้ ที ปี่ รกึ ษาดา้ นสขุ ภาพจติ และจดั เจา้ หนา้ ทค่ี มุ้ ครอง
เด็กและเยาวชน
4. จัดใหม้ ีทมี แพทยป์ ระจ�ำวันตรวจสขุ ภาพ กรณีมผี ปู้ ่วย
5. ประสานงานและสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไปยงั สถานพยาบาล

1. วางแผนการส่ือสารทั้งภายในและภายนอกศูนย์พักพิง
ช่วั คราว ก�ำหนดช่องทางและวิธีการรับขอ้ มูล การรายงาน
ต่าง ๆ และการประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสารประจ�ำวัน
เพอ่ื สรา้ งการรบั รใู้ ห้กับผู้พกั พงิ

53

คมู่ ือการจัดต้งั และการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว

หนว่ ยงาน/การปฏบิ ัติ/ผู้ปฏิบัติ หนา้ ที่

2. จดั ใหม้ จี ดุ บรกิ ารตดิ ตอ่ สอบถาม ประสานความชว่ ยเหลอื
จากภายนอก เช่น ประสานสำ� นักงานเขต/ อำ� เภอ จดั ทำ�
บัตรประจ�ำตัวประชาชนและเอกสารทางราชการต่าง ๆ
เป็นตน้ หรอื นักทอ่ งเทยี่ วต่างชาติ แรงงานขา้ มชาติ ฯลฯ
ในการติดต่อกับสถานทูตให้บริการทางเอกสาร ในกรณีที่
เอกสารสำ� คญั สญู หายการใหบ้ รกิ ารทางกฎหมาย การตดิ ตอ่
กับครอบครัวที่อยตู่ า่ งประเทศ เป็นต้น
3. จัดหาลา่ มทั้งลา่ มภาษาต่างประเทศ และลา่ มภาษามอื
เพอ่ื สอ่ื สารประชาสมั พนั ธน์ อกเหนอื จากภาษาไทย กรณมี ี
กลมุ่ เปราะบางทไี่ มเ่ ขา้ ใจภาษาไทย รวมถงึ การประชาสมั พนั ธ์
รปู แบบอ่ืน ๆ
4. จัดท�ำป้ายบอกทางภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว
บอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ ตดิ ประกาศสถานการณ์ ประชาสมั พนั ธ์
ขอ้ มลู ขา่ วสารทสี่ ำ� คญั และกำ� หนดการตา่ ง ๆ เชน่ กำ� หนด
เวลารับแจกอาหาร รับถงุ ยังชีพ เป็นตน้
5. รวบรวมข้อมูล สรุปประเด็นปัญหา และสถานการณ์
ประจำ� วนั เพือ่ รายงานผู้จัดการศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวทราบ

5. ดา้ นความปลอดภัย ขนส่ง 1. วางแผนและกำ� หนดการรกั ษาความปลอดภยั ในศนู ยพ์ กั พงิ
และการจราจร ช่วั คราว เช่น วธิ ีการเข้า - ออก รกั ษาความสงบเรียบร้อย
ดแู ลไมใ่ ห้มีการเล่นพนนั ดื่มสุรา เสพยาเสพติด และสง่ิ ผิด
กฎหมายตา่ ง ๆ
2. รักษาความปลอดภัย และให้การคุ้มครองเด็ก สตรี
ผสู้ งู อายุ และคนพกิ าร เป็นตน้

54

บทที่ 2

หน่วยงาน/การปฏบิ ตั ิ/ผูป้ ฏิบัติ หนา้ ที่
3. จดั ระเบยี บการใชพ้ นื้ ทใี่ หม้ คี วามปลอดภยั เชน่ การกำ� หนด
พ้ืนที่จอดรถฉุกเฉิน การจัดไฟส่องสว่างตามจุดอับ หรือ
จุดท่มี ีอันตราย เปน็ ตน้
4. จัดท�ำทะเบียนยานพาหนะของผู้พักพิงและเจ้าหน้าท่ี
ประจ�ำศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว
5. การคมุ้ ครองดแู ลทรพั ยส์ นิ อปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั
เชน่ เครอื่ งดบั เพลงิ เป็นต้น
6. เตรยี มพาหนะในการขนสง่ ตา่ ง ๆ เชน่ สง่ิ ของ เครอื่ งมอื
สอ่ื สาร ฯลฯ และเตรยี มรถฉกุ เฉนิ อยา่ งนอ้ ย 1-2 คนั ตลอด
24 ชวั่ โมง
7. จดั ใหม้ ีอาสาสมคั รดูแลการจราจร การเขา้ - ออก พ้นื ท่ี
ศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว

6. ด้านบรรเทาทกุ ข์ 1. วางแผน จดั หา และบริหารจัดการสงิ่ ของบรรเทาทกุ ข์
ทเี่ หมาะสมกบั ผพู้ ักพงิ
2. รวบรวมขอ้ มลู ผพู้ กั พงิ เพศ อายุ และความต้องการต่าง ๆ
เพื่อประสานไปยังหน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรการกุศล
ในการใหค้ วามช่วยเหลือต่าง ๆ
3. ติดตามและเก็บข้อมูลความต้องการของผู้พักพิง
เพอ่ื จดั หาสงิ่ ของบรรเทาทกุ ขท์ ต่ี รงตามความตอ้ งการและ
จ�ำเป็นของผูพ้ ักพงิ

55

คมู่ อื การจดั ตัง้ และการบรหิ ารจัดการศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว

หน่วยงาน/การปฏบิ ัต/ิ ผปู้ ฏิบตั ิ หน้าท่ี

7. ด้านการสง่ เสริมอาชีพ 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพท่ีเหมาะสมกับสภาพสังคม
ความถนดั และทกั ษะของผ้พู ักพิง
2. จัดหาวิทยากรและตารางเวลาการฝึกอบรมอาชีพ
ในแต่ละวนั
3. ใหค้ วามรู้ และคำ� แนะนำ� ในการสรา้ งอาชพี หลงั สถานการณ์
สาธารณภัยได้ส้นิ สดุ ลงแล้ว

8. ดา้ นการศกึ ษาและนันทนาการ 1. สง่ เสรมิ การศกึ ษา และนนั ทนาการ เชน่ การจดั กจิ กรรม
ดา้ นอนื่ ๆ ผ่อนคลาย เกมส์ กีฬา แอโรบิค โยคะ รอ้ งเพลง เล่นดนตรี
ศิลปะ เป็นต้น และส่งเสริมการดูแลด้านสุขภาพจิต
เพ่อื ชว่ ยใหค้ ลายกังวล
2. จดั พนื้ ทนี่ นั ทนาการและพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาอยา่ งเปน็ สดั สว่ น
ปราศจากการรบกวน เชน่ พ้ืนทสี่ ำ� หรบั เดก็ เล็ก
3. ประสานกับหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง กรณเี กิดสาธารณภยั
เป็นเวลานานจะต้องพิจารณาเร่ืองการศึกษาต่อเน่ืองของ
เดก็ นกั เรยี นดว้ ย เชน่ การจดั การเรยี นการสอนเปน็ กรณพี เิ ศษ
การจัดสิง่ อ�ำนวยความสะดวก การเรยี นออนไลน์ เปน็ ต้น
ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว อาจพจิ ารณาแตง่ ตง้ั คณะทำ� งาน
ด้านต่าง ๆ ได้ตามความจำ� เป็น

ตัวอยา่ งแบบบนั ทึกคณะกรรมการบริหารจดั การศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราว ตามภาคผนวก 4

56

บทที่ 2

SA กองบญั ชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (สว่ นสนับสนนุ )
กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพ้ืนท่ี
กองอ�ำนวยการกลางศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว และศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์ (จงั หวดั /กทม./อ�ำเภอ/สำ� นักงานเขต)
(Shelter Administrator) ศนู ยป์ ฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ ท้องถนิ่ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา)
เปน็ ส่วนหน่งึ ของกองบญั ชาการฯ
ผ้บู ัญชาการ/ ผ้อู �ำนวยการ
ศนู ยบ์ ัญชาการฯ ศนู ย์ปฏิบัติการฯ
มหี นา้ ที่ สัง่ การเปดิ การบรหิ ารจดั การ (สง่ั การเปิด การบรหิ ารจัดการ และปดิ ศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว)

และปดิ ศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว

องคก์ รปฏิบัติตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (ค�ำอธบิ าย ตามภาคผนวก 1)

คณะกรรมการบรหิ ารจัดการศูนย์พักพิงชวั่ คราว ผู้ประสานงานศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว
ผูจ้ ดั การศนู ยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว (Shelter Coordinator)
(ผทู้ ไี่ ด้รับการแตง่ ตง้ั จาก SC
SM (Shelter Manager) ผู้อ�ำนวยการ/ผบู้ ัญชาการ)
(ผู้ที่ไดร้ บั การแตง่ ตั้งจากผ้อู �ำนวยการ/ผูบ้ ัญชาการ)
SC : ประสานงาน
ผ้จู ัดการศนู ยฯ์ มีหน้าทด่ี ูแล และ ปลพอื้นดทภี่ ยั มหี น้าท่ี ประสานงานระหวา่ ง
บรหิ ารจัดการภายในศนู ยพ์ ักพงิ ศูนย์พักพงิ ช่วั คราวที่มีการตดั ตัง้ ข้นึ
ช่ัวคราว ร่วมกบั คณะท�ำงานด้านต่าง ๆ การบริการจัดการ และหนว่ ยงานที่เขา้ ให้ความ
ศูนย์พักพิงชั่วคราว ชว่ ยเหลือ เป็นตน้
SC : ประสานงาน
้ผู ัจดการ ูศน ์ย ัพก ิพง ่ชัวคราว แต่ง ้ตัง ความค้มุ ครอง
ความ ่ชวยเห ืลอ
กฎหมายท้ังในและระหว่างประเทศ/ ภาคเอกชน/องคก์ ารสาธารณกุศล

มาตรฐานขั้นพ้ืนฐาน การมีส่วนร่วม

ASM มีหน้าที่ : ช่วยเหลือผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวในการบริหารจัดการ
ศูนย์พักพิงชั่วคราว และปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว
ผชู้ ่วยผ้จู ดั การศนู ย์พักพงิ มอบหมาย
ชว่ั คราว มีหน้าท่ี : อ�ำนวยการและบริหารจัดการงานต่าง ๆ เช่น งานธุรการ
งานเอกสาร งานการประชุม งานการเงนิ บัญชแี ละพัสดุ การจดั ท�ำบญั ชรี ายชอ่ื
ฝา่ ยอ�ำนวยการ ผพู้ กั พิง เป็นตน้

ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร มีหน้าท่ี : ด�ำเนินกิจกรรมประจ�ำวัน การจัดการพื้นที่ภายใน
(คณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ) ศูนย์พักพิงช่ัวคราว ฯลฯ โดยมีคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ สนับสนุน
การปฏิบัติงานตามความจ�ำเป็น เช่น คณะท�ำงานด้านสถานที่และ
ส่ิงแวดล้อม ด้านโภชนาการ ด้านการรักษาพยาบาลและสุขภาพจิต
ดา้ นการส่อื สารและประชาสัมพันธ์ และดา้ นบรรเทาทุกข์ เป็นตน้

แผนภาพที่ 2.2 ความเช่ือมโยงการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวกับแผนการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ

57

คมู่ อื การจัดต้ังและการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว

กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ
กองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพ้ืนที่ และศูนยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์
(จังหวัด/กทม./อำ� เภอ/ส�ำนกั งานเขต) ศนู ยป์ ฏิบตั ิการฉกุ เฉินท้องถน่ิ (อบต./เทศบาล/เมืองพัทยา)

ส่งั การเปดิ การบริหาร ผ้บู ัญชาการ/ ผู้อำ� นวยการ
จัดการ และปดิ
SA ศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราว
ศูนยข์ ้อมลู ท่ปี รกึ ษา/ ผ้เู ชีย่ วชาญ ูผ้อ�ำนวยการ/
เป็น กองอ�ำนวยการกลาง ประชาสมั พนั ธ์รว่ ม ศูนย์ประสานการปฏบิ ัติ ู้ผ ับญชาการ แต่งต้ัง
ศนู ย์พกั พิงช่วั คราว
(Shelter dministrator)

ส่วนปฏิบตั ิการ สว่ นอ�ำนวยการ ส่วนสนบั สนุน

องคก์ รปฏิบตั ิตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ (คำ� อธบิ าย ตามภาคผนวก 1) SC
คณะกรรมการบริหารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชวั่ คราว
ผ้จู ดั การศูนยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว ผปู้ ระสานงานศูนย์พักพงิ ชัว่ คราว
(Shelter Manager) (Shelter Coordinator)

SM ผอู้ ำ� นวยการ/
ผชู้ ่วยผู้จัดการศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว ผ้บู ัญชาการ แตง่ ต้งั
ASM (Assistant Shelter Manager) ผู้จัดการศูนย์พักพงิ ช่วั คราว แตง่ ตง้ั ผูช้ ่วยฯ ฝา่ ยอำ� นวยการ
ฝ่ายปฏบิ ัติการ และคณะท�ำงานดา้ นตา่ ง ๆ

ฝา่ ยอำ� นวยการ ฝา่ ยปฏบิ ัตกิ าร

 มีหน้าท่ี อ�ำนวยการและบริหารจัดการงาน  มีหน้าท่ี ด�ำเนินกิจกรรมประจ�ำวัน การจัดการพื้นท่ีภายใน
ต่าง ๆ เช่น งานธุรการ งานเอกสาร งานการประชุม ศูนย์พักพิงชั่วคราว ฯลฯ โดยมีคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ ร่วมในการ
งานการเงิน บัญชีและพัสดุ การจัดท�ำบัญชีรายชื่อ สนับสนุนการปฏิบัติงานของศูนย์พักพิงชั่วคราว ตามความจ�ำเป็น เช่น
ผู้พักพิง เป็นต้น
หมายเหตุ : ปรับได้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ คณะท�ำงานด้านต่าง ๆ
ท้ังน้ี การก�ำหนดผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว และ v ด้านสถานที่และส่ิงแวดล้อม
ผู้ประสานงานศูนย์พักพิงชั่วคราว ไม่ควรซ้�ำซ้อนกัน v ด้านโภชนาการ
v ด้านการรักษาพยาบาลและสุขภาพจิต
v ด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์
v ด้านความปลอดภัย ขนส่ง และการจราจร
v ด้านบรรเทาทุกข์
v ด้านการส่งเสริมอาชีพ
v ด้านการศึกษาและนันทนาการ
v ด้านอ่ืน ๆ ตามความจ�ำเป็น

แผนภาพที่ 2.3 โครงสร้างบทบาทหน้าทก่ี ารบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว

58

บทที่ 2

2.4 แหลง่ ทมี่ าของงบประมาณในการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว

ใหจ้ งั หวดั กรงุ เทพมหานคร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (องคก์ ารบรหิ าร
ส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนต�ำบล) และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
จัดตั้งงบประมาณในการดูแลและบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราวให้ชัดเจน
โดยวางแผนงบประมาณทงั้ ระบบ ตง้ั แตก่ ารจดั ตงั้ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว การจดั หา
วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องใช้ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับผู้พักพิง การดูแลและบริหารจัดการ
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว การปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว ซ่ึงจะต้องมีค่าใช้จ่ายในการ
ซ่อมบ�ำรุงสถานที่ก่อนส่งคืน เป็นต้น ทั้งนี้ งบประมาณในการบริหารจัดการ
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว อาจไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณจากสว่ นราชการ งบกลาง
จากรฐั บาล เงินบรจิ าค เป็นตน้ (ตามแผนภาพที่ 2.4)

(1) งบประมาณ งบปกติ กระทรวง/กรม จงั หวดั และกลมุ่
รายจา่ ยประจำ� ปี (Function) จงั หวดั
ของส่วนราชการ งบประมาณเชิงพ้ืนที่
กรงุ เทพมหานคร
(Area) องคก์ รปกครอง
งบบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์ สว่ นท้องถ่ิน

(Agenda)

(2) งบกลาง เงินทดรองราชการตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยเงนิ ทดรองราชการ
เพ่ือช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณฉี กุ เฉนิ

เงินส�ำรองจ่าย เพือ่ กรณฉี กุ เฉินหรือจำ� เปน็ เร่งดว่ นทต่ี อ้ งด�ำเนินการโครงการ
ตามนโยบายของรัฐบาล

(3) เงนิ นอก งบประมาณสนบั สนุนจากองค์กร/ เงนิ บริจาค
งบประมาณ หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภาคเอกชน กองทุน
ทง้ั ในประเทศและระหวา่ งประเทศ อื่นๆ

แผนภาพที่ 2.4 แหลง่ ทีม่ าของงบประมาณในการบริหารจัดการศูนย์พกั พิงชั่วคราว

59



บทท่ี 3

3 การจัดการพนื้ ทแี่ ละการเปดิ

บทท่ี ศนู ย์พักพิงช่ัวคราว

ศูนย์พักพิงช่ัวคราวเป็นสถานที่ที่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนเกิดภาวะวิกฤต
การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว เปน็ สง่ิ ทมี่ คี วามจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ
ศักดิ์ศรี และอนาคตของผู้พักพิง การใช้ชีวิตในศูนย์พักพิงชั่วคราวควรเป็น
ช่วงเวลาท่ีผู้พักพิงได้มีโอกาสเตรียมความพร้อมในการกลับออกไปใช้ชีวิต
ตามปกติ สำ� หรบั ในบทนจ้ี ะกลา่ วถงึ ความจำ� เปน็ ขน้ั พนื้ ฐาน การจดั สรรพนื้ ทภี่ ายใน
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ไมว่ า่ จะเปน็ พน้ื ทส่ี ำ� หรบั เปน็ ทพี่ กั อาศยั เกบ็ เสบยี ง ทำ� อาหาร
สุขอนามัย พ้ืนท่ีสำ� หรบั กลมุ่ เปราะบาง พนื้ ทีส่ ำ� หรบั การท�ำงาน ยานพาหนะ
และการจราจร พน้ื ทส่ี ำ� หรบั สตั วเ์ ลยี้ ง ปศสุ ตั ว์ และกระบวนการเปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว เป็นต้น

3.1 ความจำ� เป็นข้นั พื้นฐานส�ำหรับศูนยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว

3.1.1 น้ำ� เพือ่ การอปุ โภค บรโิ ภค
ปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ ำ�้ ตอ่ คนตอ่ วนั โดยเฉลย่ี 7.5 – 15 ลติ ร
นำ�้ ดม่ื และท�ำอาหาร จะต้องสะอาดปลอดภยั ปราศจากเช้อื โรค ต้องมีการกรอง
และฆ่าเชอ้ื ก่อนน�ำมาใช้

นำ้� ดม่ื 2.5 - 3 ลิตร ขึ้นอยูก่ ับ น้ำ� ท�ำอาหาร 3 - 6 ลติ ร นำ้� ท�ำความสะอาดรา่ งกาย
สภาพอากาศและความต้องการ ขนึ้ อยู่กับประเภทของอาหาร 2 - 6 ลติ ร ข้นึ อยู่กับธรรมเนียม

ส่วนบุคคล ปฏบิ ตั ทิ างสังคม

61

คมู่ อื การจัดตง้ั และการบรหิ ารจดั การศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว

3.1.2 การจดั สรรพนื้ ทภี่ ายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ความตอ้ งการใชพ้ น้ื ท่ี
ของแต่ละศูนย์พักพิงชว่ั คราว มคี วามแตกตา่ งกันตามลกั ษณะของสังคม และ
ระยะเวลาที่พักอาศัย ดังนั้น ในการจัดพ้ืนท่ีใช้สอยในศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ควรก�ำหนดให้เป็นไปตามมาตรฐานขั้นพ้ืนฐานตามหลักสากลหรือตามสภาพ
ความเปน็ จรงิ ของพนื้ ท่ี เพอื่ ใหผ้ พู้ กั พงิ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี มคี วามปลอดภยั และ
เปน็ ไปตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน หลกั ดา้ นมนษุ ยธรรม โดยใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
น�ำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ การจัดสรร
พน้ื ท่ีส่วนตัวและพื้นท่ใี ช้สอยสำ� หรับศูนย์พักพิงชั่วคราว (ตามตารางท่ี 3.1)
3.1.3 การบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ภี ายในศูนย์พักพงิ ช่วั คราว
(1) พน้ื ทสี่ ำ� หรบั พกั อาศยั เปน็ พน้ื ทส่ี ว่ นตวั และสำ� หรบั พกั ผอ่ น
หลบั นอน ควรจดั พนื้ ทใี่ หม้ รี ะยะหา่ งเพอ่ื ความเปน็ สว่ นตวั และไมอ่ ดึ อดั เบยี ดเสยี ด
เชน่ แบง่ พ้นื ทีโ่ ดยใช้ผ้าขงึ เปน็ ม่านบังตา และจัดพ้นื ท่ีแยกระหว่างหญงิ ชาย
ท่ีไม่ได้มาเป็นครอบครัว และจัดให้กลุ่มคนท่ีมาจากบ้านใกล้เรือนเคียงกัน
อยู่ใกล้กนั เชน่ กลุ่มคนจากหมู่บา้ นเดยี วกนั กลุม่ แรงงานข้ามชาติ เปน็ ตน้
ควรพิจารณาตามความต้องการของกลุ่มเปราะบาง และ
ตามเพศสภาพ เชน่ มกี ารจดั พน้ื ทม่ี ดิ ชดิ สำ� หรบั การเปลยี่ นเสอื้ ผา้ เปลยี่ นผา้ ออ้ ม
ผใู้ หญ่ เชด็ ตวั อาบนำ�้ ใหก้ ลมุ่ ผสู้ งู อายุ หรอื คนพกิ ารตดิ เตยี ง เปน็ ตน้ หากมแี นวโนม้
วา่ จะตอ้ งใชศ้ นู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวเกนิ กวา่ 3 วนั ตอ้ งพจิ ารณาพนื้ ทส่ี ำ� หรบั ใชส้ อย
อืน่ ๆ ด้วย
กรณีเกิดสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) และโรคตดิ ตอ่ ตา่ ง ๆ ทตี่ อ้ งการพนื้ ทใี่ นการเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม
สามารถเพมิ่ พ้นื ทีห่ รือเวน้ ระยะห่างไดม้ ากกว่ามาตรฐานข้นั พ้นื ฐานที่ก�ำหนดไว้

62

บทท่ี 3

และจะต้องบริหารจัดการพ้ืนท่ีให้สอดคล้องกับมาตรการป้องกันโรค
ของกระทรวงสาธารณสุข อย่างเคร่งครัดเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
และมแี นวทางตามคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID - 19 (ฉบับเพม่ิ เติม) ตามภาคผนวก 5
(2) พน้ื ทสี่ ว่ นกลาง ควรกำ� หนดใหช้ ดั เจน เชน่ พน้ื ทจ่ี ดั ฝกึ อบรม
และฝึกอาชีพ กิจกรรมนันทนาการ จุดพักผ่อน โดยก�ำหนดเวลา จัดตาราง
ให้บริการตา่ ง ๆ เปน็ รอบ หรอื พ้ืนที่สำ� หรับสูบบหุ รี่ เปน็ ตน้
(3) พนื้ ที่ประกอบพิธีทางศาสนา หากอาคารสถานทที่ ี่ใชเ้ ป็น
ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว มพี นื้ ทเ่ี พยี งพอ และมคี วามตอ้ งการใชพ้ น้ื ทใี่ นระยะเวลานาน
ควรจดั ใหม้ หี อ้ งสำ� หรบั ประกอบพธิ ที างศาสนา ใหเ้ ปน็ สดั สว่ นและแยกหา่ งจากกนั
เชน่ จดั ใหม้ หี อ้ งละหมาดสำ� หรบั ผนู้ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม หอ้ งสวดมนตไ์ หวพ้ ระ
ส�ำหรับผู้นับถือศาสนาพุทธ รวมท้ังศาสนาคริสต์ ฯลฯ โดยจัดให้เหมาะสม
กบั จำ� นวนผู้นบั ถอื ศาสนาทีแ่ ตกต่างกัน
(4) พื้นที่เก็บเสบียง ท�ำอาหาร บริการอาหาร และน้�ำดื่ม
การจัดสัดส่วนบริเวณพน้ื ท่ปี ระกอบอาหารจะตอ้ งจดั ใหถ้ ูกสขุ ลักษณะ ประตู
หนา้ ตา่ ง ควรมมี งุ้ ลวดเพอื่ ปอ้ งกนั แมลง นก หนู หรอื สตั วอ์ นื่ ทอี่ าจเปน็ พาหะนำ� โรค
หรอื อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมตี เู้ กบ็ อาหาร วตั ถดุ บิ ทม่ี ดิ ชดิ สะอาด และมกี ารเกบ็ อปุ กรณ์
เครอื่ งครวั อยา่ งเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย มพี น้ื ทปี่ ระกอบอาหารทไ่ี มเ่ สย่ี งตอ่ การเกดิ
อัคคีภัย และควรติดต้ังอุปกรณ์ดับเพลิงให้หยิบใช้ได้สะดวก หากมีผู้พักพิง
เป็นชาวมุสลมิ ให้แยกประกอบอาหารโดยเฉพาะ

63

คู่มอื การจดั ตงั้ และการบรหิ ารจัดการศูนย์พักพงิ ชั่วคราว

(5) พน้ื ทใี่ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ ในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวจะตอ้ งมี
จดุ ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ ทแี่ ยกสดั สว่ น เชน่ กนั้ หอ้ งแยกหรอื มฉี ากกนั้ มยี าสามญั
ทสี่ ำ� คญั มเี วชภณั ฑท์ จ่ี ำ� เปน็ เชน่ หนา้ กากอนามยั ชดุ PPE ถงุ มอื ยาง นำ�้ ยาฆา่ เชอื้
และมีเตียงส�ำหรับผู้ป่วยนอนพักสังเกตอาการหรือพักรอเพื่อส่งต่อการรักษา
และใหค้ วามสำ� คญั กบั การรกั ษาสขุ ลกั ษณะ กรณโี รคอบุ ตั ใิ หม่ เชน่ โรคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค
ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครดั
(6) พ้ืนท่ีให้บริการด้านสุขาภิบาล ประกอบด้วย ส่วนที่เป็น
หอ้ งสขุ า หอ้ งน�ำ้ ควรเป็นพน้ื ท่ีมิดชดิ แยกหญิง ชาย จำ� นวน 1 ห้องตอ่ 20 คน
มีพ้ืนท่ีซักล้าง ราวตากผ้า มีจุดทิ้งขยะ พื้นท่ีพักขยะ ควรมีถุงส�ำหรับกักเก็บ
สงิ่ ปฏกิ ลู ทเี่ กบ็ ปดิ ไดม้ ดิ ชดิ อาจมกี ารบำ� บดั และฆา่ เชอื้ เชน่ การเตมิ สารละลาย
หรือเมด็ คลอรนี ในน�ำ้ ใช้ การเติมปูนขาวในถงุ ขยะปฏิกูล เป็นต้น
(7) พน้ื ทจ่ี ดุ รบั บรจิ าคสงิ่ ของ ควรจดั ใหม้ จี ดุ รบั บรจิ าคหลายจดุ
เพื่อเพ่ิมความสะดวกให้แก่ผู้บริจาค และควรแยกจุดรับบริจาคให้ห่างจาก
บริเวณศูนย์พักพิงช่ัวคราว ทั้งนี้ ก่อนรับบริจาคควรส�ำรวจความต้องการ
ของผ้พู ักพงิ เพื่อจะได้ระบสุ ่งิ ของท่ตี อ้ งการรบั บรจิ าค ตามล�ำดบั ความสำ� คัญ
เรง่ ดว่ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม หากมคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งขอรบั การสนบั สนนุ จากหนว่ ยงาน
ภายนอก ควรจัดท�ำรายงานเพ่ือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก
ตัวอย่างแบบรายงานเพ่ือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก
(ตามภาคผนวก 4) และการจดั ระบบการรบั บรจิ าค ควรกำ� หนดชอ่ งทางรบั บรจิ าค
ทั้งระบบธนาคาร และสื่อสังคม (Social media) พิจารณาให้เหมาะสม

64

บทที่ 3

กับห้วงระยะเวลาการจัดต้ังศูนย์พักพิงชั่วคราว การก�ำหนดห้วงระยะเวลา
ในการรับบรจิ าค การส่อื สารและประชาสมั พันธ์ การรับบริจาคให้สาธารณชน
รับทราบ และจัดใหม้ ีระบบลงทะเบียนการรบั บริจาค
(8) จดุ รบั ลงทะเบยี นและสง่ ตอ่ เปน็ จดุ ลงทะเบยี นผเู้ ขา้ พกั พงิ
จดุ ลงทะเบยี นผเู้ ขา้ - ออก ประจำ� วนั และจดุ ลงทะเบยี นรบั สงิ่ ของบรจิ าค เปน็ ตน้
จงึ ควรจดั พ้ืนทไ่ี ว้ด้านหน้าก่อนเขา้ มายงั ศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราว อาจจะเป็นเต็นท์
หรือบริเวณใต้อาคารก่อนทางเข้าอาคาร เพ่ือไม่ให้ผู้ที่ไม่ได้ลงทะเบียนเข้ามา
ยังบริเวณทพี่ กั อาศยั และยังใชเ้ ป็นจุดคดั กรองบุคคล เชน่ คดั กรองผู้ป่วยจาก
โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) คดั กรองผไู้ มม่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง คดั กรอง
การส่งของ เป็นต้น และจะต้องจัดเวรยามรักษาการณ์ประจ�ำจุดตลอดเวลา
ตวั อยา่ งแบบลงทะเบยี นผพู้ กั พงิ และแบบบนั ทกึ ผพู้ กั พงิ รายวนั (ตามภาคผนวก 4)
(9) จดุ อำ� นวยการและสำ� นกั งาน เปน็ พนื้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านส�ำหรับ
คณะกรรมการบริหารจัดการ ศูนย์พักพิงชั่วคราว หรือคณะท�ำงานโดยใหจ้ ดั พน้ื ท่ี
ปฏิบตั งิ านแยกจากพนื้ ทพี่ ักอาศัย และจดั กิจกรรมของผู้พักพงิ มีการกนั้ พืน้ ท่ี
หรือมีห้องเป็นสัดส่วนส�ำหรับการท�ำงานประจ�ำวัน จัดประชุมหารือ จัดเก็บ
เอกสาร และพื้นท่ตี ัง้ โตะ๊ เกา้ อ้ี อุปกรณส์ �ำนกั งาน และจะต้องมรี ะบบรักษา
ความปลอดภัย
(10) พื้นที่ส�ำหรับยานพาหนะและการจราจร จัดเส้นทาง
การจราจรภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ใหม้ คี วามปลอดภยั พรอ้ มทง้ั จดั ใหม้ ปี า้ ยจราจร
บอกเสน้ ทางรถ เขา้ - ออก ใหช้ ดั เจน โดยกำ� หนดใหม้ ที างรถ เขา้ - ออก ทางเดยี ว
และด�ำเนนิ การดังน้ี

65

คูม่ ือการจดั ตัง้ และการบริหารจดั การศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว

(10.1) จัดสถานท่ีจอดยานพาหนะและรถจักรยานยนต์
ของผู้พกั พงิ ให้พ้นจากทางเขา้ - ออก ศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว และก�ำหนดการจอดรถ
ให้เปน็ ระเบยี บ อาจจะใหจ้ อดตามแนวทแยงเพ่ืองา่ ยต่อการเข้า - ออก
(10.2) จัดพ้ืนท่ีส�ำหรับที่จอดรถคนพิการใกล้ทางเข้า
ศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว ตามกฎหมายกำ� หนด
(10.3) กนั พน้ื ทดี่ า้ นหนา้ ใกลท้ างเขา้ อาคารใหเ้ ปน็ ทจี่ อดรถ
สำ� หรบั รถพยาบาลหรือรถฉุกเฉิน
(10.4) จัดให้มีพนักงานหรืออาสาสมัครการจราจร
เพอื่ อ�ำนวยความสะดวกในการเข้า - ออก
(10.5) จดั ทำ� ทะเบยี นยานพาหนะของผพู้ กั พงิ และเจา้ หนา้ ท่ี
ประจ�ำศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว
(10.6) กำ� หนดการจราจรภายในบรเิ วณศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
เช่น ก�ำหนดการเดินรถทางเดียว และตติ ตงั้ ปา้ ยบอกทางใหช้ ัดเจน
(10.7) กำ� หนดขอ้ หา้ มตา่ ง ๆ เชน่ หา้ มขบั ขรี่ ถจกั รยานยนต์
เขา้ ไปในเต็นท์ที่พัก จ�ำกัดความเรว็ และท�ำปา้ ยแจง้ เตอื นเพื่อเปน็ การปอ้ งกนั
อบุ ัติเหตุ
(11) พ้ืนที่ส�ำหรับสัตว์เลี้ยง และปศุสัตว์ ตัวอย่างการดูแล
สตั ว์เลย้ี งบริเวณศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว (ตามภาพท่ี 3.1)
(11.1) จัดพ้ืนท่ีโดยแยกประเภทสัตว์เลี้ยงและปศุสัตว์
และมีพืน้ ทีส่ ำ� หรับกักกันสัตวเ์ ลี้ยงที่อาจก่อใหเ้ กดิ อันตรายต่อผ้พู ักพิง

66

บทที่ 3

(11.2) จัดใหม้ ีกรง คอก ทแ่ี ขง็ แรงแนน่ หนา
(11.3) มีพื้นทเี่ ก็บอาหารสัตวใ์ นบรเิ วณใกลเ้ คียง
(11.4) มกี ารลงทะเบยี นเจา้ ของสตั วเ์ ลยี้ ง เชน่ ขอ้ มลู ประเภท
และจ�ำนวนสตั ว์ที่ครอบครอง มีป้ายช่อื เจา้ ของและหมายเลขตดิ ต่อเจา้ ของ
(11.5) ส�ำหรับสัตว์เล้ียง มีป้ายช่ือสัตว์เล้ียงและป้ายชื่อ
เจา้ ของ และหมายเลขติดตอ่ เจา้ ของตดิ ไว้ทก่ี รง

ภาพที่ 3.1 ตวั อยา่ งการดูแลสัตวเ์ ลย้ี งในบริเวณศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว
ทม่ี า : ดร.ปารฉิ ตั ต์ ครองขนั ธ์ (2560)

67

คมู่ ือการจดั ตงั้ และการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว

ตารางท่ี 3.1 การจัดสรรพ้ืนทสี่ ว่ นตวั และพน้ื ท่ีใช้สอยสำ� หรบั ศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราว

ประเภทของพืน้ ทใี่ ชส้ อย ปรมิ าณ/คน

พื้นทีส่ �ำหรบั พกั พงิ พื้นท่พี กั อาศัย และใชช้ ีวติ อยา่ งนอ้ ย 30 – 45 ตารางเมตร ต่อคน
และกจิ กรรม พน้ื ท่รี ะหว่างเตน็ ท์ หรือทพ่ี ัก เวน้ 2 เมตร เพอื่ เป็นแนวกนั ไฟ
ในการด�ำรงชวี ติ พนื้ ท่สี ว่ นตัว พนื้ ทีส่ �ำหรับนอน อยา่ งน้อย 3.5 ตารางเมตร ต่อคน

จดุ จา่ ยน�ำ้ ใช้ (น้ำ� ประปา หรือน�ำ้ จาก นำ้� ประปา 1 จุด ตอ่ ผ้พู กั พงิ
ถงั เกบ็ น�้ำ) 80 คน ระยะหา่ งจากทีพ่ ัก
500 เมตร

หอ้ งสขุ า ควรคำ� นึงถึงเด็ก และคนพิการ 1 หอ้ ง ตอ่ ผูห้ ญงิ 20 คน
(หา่ งจากพนื้ ท่ีอาศยั 6 เมตร แตไ่ มเ่ กนิ 1 ห้อง พร้อมโถปสั สาวะ
20 เมตร และหา่ งจากแหลง่ น้�ำ ตอ่ ผชู้ าย 35 คน
อยา่ งนอ้ ย 30 เมตร)

พนื้ ทซ่ี ักล้าง ซกั ผ้า ตากผ้า 1 จดุ ต่อผูพ้ ักพิงอยา่ งนอ้ ย 100 คน

พื้นทีท่ งิ้ ขยะ ควรมกี ารแยกขยะ 2 จุด ต่อผพู้ กั พงิ 80 คน
โดยเฉพาะขยะติดเช้ือจากกลุม่
ผ้พู ักพิงทม่ี อี าการเจ็บปว่ ย และ
ห่างจากท่พี ัก 100 เมตร

พน้ื ทที่ างศาสนา พน้ื ท่ปี ระกอบพธิ ีทางศาสนา 1 จุด ตามความเหมาะสม

พืน้ ทใ่ี หบ้ รกิ าร จดุ ปฐมพยาบาลในศูนย์พักพิง ตามความเหมาะสม อยา่ งน้อย 1 จุด
ด้านสุขภาพ ช่ัวคราว และใช้เป็นศนู ยส์ ่งตอ่
เพ่ือการรักษาในสถานพยาบาล

พืน้ ท่ที ำ� ครัว พน้ื ที่ทำ� ครัว และพ้ืนท่เี ก็บอปุ กรณ์ ตามกำ� ลงั การผลิต และ
เครือ่ งครัว จ�ำนวนคน

พ้นื ทรี่ ับประทาน จุดรับประทานอาหาร 1 จุด ต่อผู้ใหญ่ 20 - 50 คน
อาหาร และ 1 จดุ ต่อเด็ก
10 - 20 คน

68

บทที่ 3

ตารางที่ 3.1 การจดั สรรพน้ื ทสี่ ว่ นตวั และพน้ื ทใี่ ชส้ อยสำ� หรบั ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว (ตอ่ )

ประเภทของพนื้ ทใ่ี ช้สอย ปริมาณ/คน

จดุ รับ/แจกส่งิ ของ จุดรบั - แจกส่งิ ของบรจิ าค สงิ่ ของ จำ� นวนจดุ ตามความ
บรรเทาทกุ ข์และพน้ื ทเี่ กบ็ รวบรวม เหมาะสม
ส่งิ ของบริจาค

จุดรบั ลงทะเบยี น/ จุดลงทะเบียนตามความเหมาะสม
สง่ ต่อ และแยกลงทะเบยี นให้กลมุ่ คนพิการ
ผู้สงู อายุ แม่ และเด็กอ่อน เป็นตน้

พื้นที่สำ� หรับ ตอ้ งแยกสว่ นจากสถานท่พี ักอาศยั จ�ำนวนจุด และขนาดพน้ื ที่ แยกตาม
ปศุสตั ว์ และ ของคน เพ่อื ปอ้ งกันเสียง และ ประเภทสตั ว์เลย้ี ง ตามความเหมาะสม
สัตว์เลีย้ ง กลน่ิ รบกวน

จุดอ�ำนวยการ ควรต้งั อยบู่ รเิ วณทางเขา้ ศนู ย์พกั พิงช่วั คราว มปี ระตเู ข้า - ออก
และส�ำนักงาน ได้สะดวก และปลอดภัย มีการกั้นพ้นื ทหี่ รือมีหอ้ งเปน็ สดั ส่วน
ส�ำหรบั การทำ� งานประจ�ำวนั การจัดประชุมจัดเกบ็ เอกสาร
ข้อมูลของผู้พกั พิง และอุปกรณ์ส�ำนักงาน เปน็ ตน้

จุดจอดรถ ควรจดั พนื้ ทจ่ี อดรถไว้ดา้ นข้างหรอื ดา้ นหลังอาคารเพือ่ ไม่ให้กดี ขวางทางเข้า - ออก
ขนาดช่องจอดรถยนต์ 1 คัน ใช้ขนาดพน้ื ท่ี 2.40 ม. x 6 ม.
ขนาดชอ่ งจอดรถจักรยานยนต์ 1 คัน ใช้ขนาดพ้นื ท่ี 1 ม. x 2 ม

อา้ งอิง : โครงการสเฟยี ร์ กฎบตั รมนษุ ยธรรมและมาตรฐานขนั้ ตำ�่ ในการตอบสนองตอ่ ภยั พบิ ตั ิ พ.ศ. 2558
คู่มือการเลือกพ้ืนที่ปลอดภัยและการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวส�ำหรับเหตุอุทกภัย
ในประเทศไทย กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

69

คมู่ ือการจัดต้งั และการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ ักพิงช่วั คราว

3.1.4 การจัดระบบสาธารณูปโภค
(1) ระบบไฟฟ้า จัดเตรียมระบบไฟฟ้าท่ีมีก�ำลังไฟฟ้าเพียงพอ
และมคี วามปลอดภยั ส�ำหรบั ใช้งานในพืน้ ท่ีต่าง ๆ ท้งั ดา้ นแสงสว่าง และการ
ปฏบิ ัติงานด้านอน่ื ๆ ดงั น้ี
v มีเคร่ืองตัดกระแสไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัย เช่น กรณี
เกิดน�้ำท่วมศนู ยพ์ กั พงิ ช่วั คราว
v จดั ใหม้ ไี ฟฟา้ สำ� รองในกรณที ก่ี ารไฟฟา้ ตดั การจา่ ยกระแสไฟ
เชน่ มเี ครอ่ื งปน่ั ไฟสำ� รอง เครอื่ งสำ� รองไฟฟา้ ฉกุ เฉนิ ดว้ ยพลงั งานเซลลแ์ สงอาทติ ย์
(Solar Cell)
v การเดนิ ไฟฟา้ สำ� รองควรแยกระบบไฟฟา้ จากระบบไฟฟา้ ปกติ
เดนิ สายไฟฟา้ ในลกั ษณะปลอดภยั ทงั้ ไฟสอ่ งสวา่ งในพน้ื ทพ่ี กั อาศยั พนื้ ทที่ ำ� งาน
พนื้ ทเ่ี ปลย่ี ว พนื้ ทเี่ สยี่ งภยั และปลกั๊ ไฟสำ� หรบั พดั ลมสำ� หรบั ชารจ์ โทรศพั ทม์ อื ถอื
ในหอ้ งพกั อาศยั ทกุ หอ้ ง
v ในกรณไี ฟฟา้ ดบั หรอื ไมม่ ไี ฟฟา้ สำ� รอง ควรเตรยี มอปุ กรณ์
ส่องสวา่ ง เช่น ตะเกยี งน�้ำมัน ตะเกียงเจา้ พายุ เทยี น รวมท้งั ไมข้ ดี ไฟ ไฟแช็ค
ไฟฉาย ไฟฉุกเฉิน และควรมีอุปกรณ์ดับเพลิงเบื้องต้น เช่น ถังดับเพลิง
เพอ่ื ป้องกันอคั คีภัย เป็นตน้
(2) ระบบน้�ำอุปโภคและบริโภค จัดให้มีน�้ำกิน น้�ำใช้ที่สะอาด
อย่างเพียงพอส�ำหรบั ผ้พู กั พิง และเจา้ หนา้ ทีใ่ นการปฏบิ ัติงาน ตามมาตรฐาน
ทก่ี �ำหนด
3.1.5 ระบบการตดิ ตอ่ สอ่ื สารขอ้ มลู จดั ใหม้ รี ะบบสอื่ สารทมี่ คี วามมน่ั คง
เพื่อให้สามารถติดต่อส่ือสารกับภายนอกในการด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบภยั และมรี ะบบสอื่ สารส�ำรอง เตรียมส�ำรองไว้ทดแทนในกรณรี ะบบ
สอื่ สารหลักไม่สามารถใชก้ ารได้ เช่น วทิ ยสุ ่ือสารราชการ วิทยสุ มัครเล่น และ
วทิ ยสุ ื่อสารสาธารณะ เป็นต้น

70

บทท่ี 3

3.1.6 การอำ� นวยความสะดวก
(1) จัดท�ำเอกสารประชาสัมพันธ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตน
ของผพู้ ักพงิ เชน่ ตารางเวลากจิ วัตรประจ�ำวนั วธิ ีการทำ� ความสะอาดบรเิ วณ
ท่ีพักนอน การบริการอาหาร รวมถึงการให้บริการซักรีด (ถ้ามี) ให้ผู้พักพิง
ได้รับทราบแนวทางที่ศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวก�ำหนด
(2) จัดให้มีระบบการรักษาความปลอดภัยที่เหมาะสม เช่น
จัดให้มีหน่วยอาสาสมัครรักษาความปลอดภัย เพื่อดูแลความสงบเรียบร้อย
ภายในบริเวณศูนย์พักพิงช่ัวคราว และเพื่อลาดตระเวนดูแลรักษาทรัพย์สิน
ของประชาชนภายในพ้นื ที่ประสบภยั
(3) จดั สงิ่ อำ� นวยความสะดวกใหแ้ กก่ ลมุ่ เปราะบางตามมาตรฐาน
ขน้ั พืน้ ฐาน
3.1.7 ตวั อย่างการวางแผนผงั ศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว การจัดทำ� แผนผัง
ศูนย์พักพิงชั่วคราว ควรพิจารณาถึงพ้ืนที่พักอาศัย พื้นที่ส่วนบริการอาหาร
และนำ�้ ดม่ื พน้ื ทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ พนื้ ทสี่ ว่ นสขุ าภบิ าล พนื้ ทสี่ ำ� หรบั สตั วเ์ ลยี้ ง
ปศุสัตว์ และพ้ืนที่ส�ำหรับการท�ำกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ เป็นต้น โดยให้
ค�ำนึงถึงการตอบสนองต่อความจ�ำเป็นเฉพาะด้านของกลุ่มเปราะบาง และ
กลุ่มบุคคลท่ีมีความต้องการพิเศษ เช่น พ้ืนท่ีกิจกรรมส�ำหรับเด็ก เป็นต้น
ซง่ึ การใชพ้ นื้ ทใี่ ชส้ อยภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวสามารถปรบั ไดต้ ามสถานการณ์
ตวั อยา่ งการวางผงั การใชพ้ น้ื ทใ่ี ชส้ อยภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว (ตามแผนภาพท่ี
3.2 และ 3.3)

71

72 คมู่ ือการจัดตัง้ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว

พ้นื ท่ีสำ� หรบั สัตว์เลี้ยง/ปศุสัตว์/ เตน็ ท์ทพ่ี กั อาศัย
เกบ็ อาหารสัตว์

อาคารพักขยะ อาคารห้องน�ำ้ ลานซกั ลา้ ง/ลานตากผา้

กอง หอ้ งเกบ็
อ�ำนวยการ ของบรจิ าค ห้องปฐมพยาบาล

จุดลงทะเบยี น/ จดุ รบั บรจิ าค/รับสง่ อาหาร อาคารนอนชาย อาคารนอนครอบครัว อาคารนอนหญงิ
ตดิ ต่อสอบถาม น�ำ้ ดมื่ สง่ิ ของอปุ โภคบริโภค

ประตทู างเขา้ ขา่ วประชาสัมพนั ธ์ หอ้ งให้นมบุตร
ทEาENทงXTาIอRTงAอเNขกC้าE
จดุ รับบรจิ าค/รับสง่ อาหาร น้ำ� ด่ืม สกำ� ิจหกหรหรบั้อร้องเมงดกนต็กิจัน่ากงทๆรนรามการ
- สิง่ ของอปุ โภคบรโิ ภค

ออก

(หลกั ) ลานอเนกประสงค์ เชน่
ออกกำ� ลังกาย/ฝึกอาชีพ ฯลฯ
ปอ้ มยาม จุดแจกจ่ายอาหาร/น�ำ้ ดืม่ / ประตูทางเขา้ - ออก (สำ� รอง) หท้อางงศปารสะกนอาบกิจกรรม
โรงครวั สิง่ ของบรจิ าค จดุ รวมพล
EทNTาRงAเขNC้าE
น้�ำใช้ ถังขยะ ทาEงXอITอก

ป้อมยาม

แผนภาพที่ 3.2 ตวั อย่างการวางผงั การใช้พื้นทใี่ ช้สอยภายในศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว

บทท่ี 3

กรณแี ผ่นดินไหว ผู้พกั พงิ ชว่ ยกนั ขึงผา้ ประเทศญ่ีปุน่ พฒั นาเตน็ ท์
ณ เมอื งฮอกไกโด เพ่ือกัน้ พื้นทใ่ี หเ้ ปน็ สดั ส่วน ท่เี ปดิ ไดด้ ว้ ยตนี ต๊กุ แก

แผนภาพท่ี 3.3 ตัวอย่างการจัดพื้นท่ีพักอาศัยให้มีความเป็นส่วนตัวในศูนย์พักพิง
ชว่ั คราว : ประเทศญีป่ ุ่น

3.1.8 การประยกุ ตใ์ ช้ทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยอาจใช้
ทรัพยากรของท้องถ่ินที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ เช่น การน�ำไม้ไผ่มาดัดแปลง
เป็นท่ีนอน การก้ันพ้ืนท่ีนอนด้วยผ้าขาวม้า ผ้าม่าน ลังกระดาษ เป็นต้น
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทรัพยากร และภูมิปัญญาท้องถ่ินของประเทศไทย
(ตามแผนภาพที่ 3.4)

สุขาไม้ไผ่ แคร่ไม้ไผ่

เตยี งสนามกระดาษ
แผนภาพท่ี 3.4 ตวั อย่างการประยุกตใ์ ช้ทรัพยากรและภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ : ประเทศไทย

73

คมู่ อื การจดั ต้งั และการบรหิ ารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว

3.2 กระบวนการเปิดศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว

3.2.1 การประสานงานเพอื่ เปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ
ชัว่ คราว ประชุมซกั ซ้อมคณะท�ำงาน และเจา้ หน้าทีผ่ ู้ปฏิบัตงิ านในศูนย์พกั พงิ
ชว่ั คราว เพอ่ื เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มอปุ กรณ์ และเครอื่ งมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน
เชน่ จดั ทำ� ปา้ ยรหัสควิ อาร์ (QR Code) ตา่ ง ๆ หรือตั้งกลมุ่ ไลน์ เพ่ือเปน็ ช่องทาง
ในการประสานงาน การสื่อสาร และประชาสมั พันธ์ เชน่ ไลนก์ ลมุ่ คณะทำ� งาน
ผ้ปู ฏิบัติงาน หรอื ไลน์กลุ่มผพู้ ักพงิ เปน็ ตน้
ก่อนการเปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว ประสานงานกับหน่วยอพยพ
หรือผู้อ�ำนวยการ/ผู้บัญชาการ เพ่ือเป็นข้อมูลในการพิจารณาศักยภาพ
ของศนู ย์พักพิงชัว่ คราว เชน่ เส้นทางอพยพ สถานทตี่ ั้ง พกิ ดั จ�ำนวนผู้พกั พงิ
ทรี่ องรบั ได้ ความพรอ้ มดา้ นตา่ ง ๆ และขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
หรอื ผปู้ ระสานงาน เมอ่ื มีการเปดิ ศูนย์พกั พิงช่วั คราว แลว้ ให้รายงานการเปดิ
ศูนย์พกั พิงชัว่ คราว ไปยังหน่วยงานตามล�ำดับ
3.2.2 การเตรียมความพรอ้ มเพ่ือการเปิดศูนยพ์ กั พิงชวั่ คราว
(1) ด้านสถานท่ี จัดท�ำแผนผังของศูนย์พักพิงชั่วคราว และ
จัดแบ่งโซน จัดแบ่งท่ีพักให้เป็นสัดส่วน หากผู้พักพิงมาเป็นครอบครัวควรให้
พักอยู่ด้วยกัน หากมาเป็นบุคคลควรจัดให้พักแยกโซนระหว่างเพศหญิง ชาย
ไดแ้ ก่ 1) ท่ีพักอาศัยผู้พักพิง 2) ท่ีพักเจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร 3) จุดต้อนรับ
และลงทะเบยี น 4) หอ้ งพยาบาล 5) จดุ รับของบริจาคและห้องเกบ็ ของ 6) หอ้ งครัว
7) โซนซกั ลา้ ง ตากผา้ และพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ ตามความจำ� เปน็ เปน็ ตน้ และตดิ ตง้ั แผนผงั
ศูนยพ์ กั พิงชั่วคราวประชาสัมพนั ธใ์ หเ้ หน็ ไดช้ ัดเจน

74

บทท่ี 3

(2) ดา้ นบคุ ลากร (คณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
อาสาสมัคร และผูพ้ ักพิง)
1) จัดเวรอาสาสมัครจากผู้พักพิงให้ท�ำหน้าท่ีต่าง ๆ เช่น
ดูแลรักษาความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบา้ น งานครัว เป็นต้น
2) อาสาสมัครจากภายนอก เช่น อาสาสมัครประเภทวัน
หรอื สองวนั หรอื ระยะยาว หรอื อาสาสมคั รทม่ี ที กั ษะเฉพาะดา้ น เชน่ การพยาบาล
การใหค้ ำ� ปรกึ ษา การดูแลเดก็ การออกกำ� ลังกาย และนันทนาการ ฯลฯ
(3) ด้านการจัดเตรียมอุปกรณ์เคร่ืองใช้ที่จ�ำเป็นต่าง ๆ
สำ� หรับคณะกรรมการฯ และผู้พักพงิ เปน็ ต้น
(4) ด้านการก�ำหนดข้อปฏิบัติ กติกาการอยู่ร่วมกันภายใน
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว ใหม้ กี ารกำ� หนดกตกิ าการอยอู่ าศยั รว่ มกนั โดยใหผ้ พู้ กั พงิ
มีส่วนรว่ มในการก�ำหนดกติกาข้อตกลงการอยรู่ ว่ มกัน และระเบยี บปฏบิ ัติต่าง ๆ
รวมถงึ การรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น พรอ้ มทง้ั ชแ้ี จงกฎระเบยี บขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการพกั อาศยั
อยรู่ ว่ มกนั ใหช้ ดั เจน เพอ่ื ใหร้ บั ทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ เชน่ กำ� หนดเวลาในการเขา้ นอน
ห้ามดื่มสุรา ห้ามเล่นการพนัน ห้ามลักขโมย ห้ามทะเลาะวิวาท ฯลฯ ทั้งนี้
การจดั ทำ� กตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว นอกจากภาษาไทยแลว้
อาจจดั ทำ� เปน็ ภาษาอน่ื ดว้ ยตามความจำ� เปน็ ตวั อยา่ งขอ้ ปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั ผพู้ กั พงิ
ในศูนยพ์ กั พงิ ช่ัวคราว (ตามภาคผนวก 2)
(5) ดา้ นการเตรยี มบันทกึ ข้อมูลภายในศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว
1) ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล การลงทะเบยี นผอู้ พยพเขา้ และกำ� หนด
พนื้ ท่สี �ำหรบั พักอาศัย แยกประเภทครอบครวั บคุ คล หญงิ ชาย เดก็ คนพิการ
ผู้สงู อายุ และคนตา่ งชาติ ท้ังนี้ ให้ครอบคลุมถงึ ขอ้ มูล โรคประจำ� ตวั การแพย้ า
และญาติผเู้ ปน็ ตัวแทนได้ เปน็ ต้น

75


Click to View FlipBook Version