The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by academic.work63, 2022-08-19 02:32:52

คู่มือ การจัดตั้งและการบริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว

บริหารทั่วไป

ค่มู ือการจดั ตั้งและการบริหารจัดการศนู ย์พกั พิงช่วั คราว

เทศบาล/องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล) ทำ� หนา้ ทใ่ี นการขบั เคลอื่ นและบรู ณาการหน่วยงาน
ทกุ ภาคสว่ นในการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพนื้ ท่ี โดยมกี ารจดั การสาธารณภยั
4 ระดับ ดังน้ี

การจดั การสาธารณภยั พนื้ ที่ด�ำเนินการ ผมู้ ีอ�ำนาจสงั่ การ

การจัดการสาธารณภยั เขตพนื้ ท่ขี ององคก์ ร ผอู้ ำ� นวยการทอ้ งถิ่น
ระดับ 1 ปกครองส่วนท้องถนิ่ (นายก อบต./นายกเทศมนตรี /นายกเมอื ง
(สาธารณภัยขนาดเล็ก) แห่งพ้ืนท่ี (อบต./ พัทยา) ควบคมุ ส่ังการ
เทศบาล/เมืองพัทยา)

เขตพน้ื ทอ่ี �ำเภอ ผอู้ �ำนวยการอำ� เภอ (นายอำ� เภอ) ควบคุม ส่งั การ

เขตพ้ืนที่ส�ำนักงานเขต ผชู้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการกรงุ เทพมหานคร
(ผอู้ ำ� นวยการเขต ในแต่ละเขต
ของกรุงเทพมหานคร) ควบคมุ ส่ังการ

การจดั การสาธารณภยั เขตพืน้ ทจ่ี งั หวัด ผอู้ �ำนวยการจงั หวดั (ผู้ว่าราชการจงั หวัด)
ระดบั 2 ควบคมุ กำ� กับ สั่งการ และบัญชาการ
(สาธารณภยั ขนาดกลาง)

เขตพ้นื ที่ ผ้อู �ำนวยการกรุงเทพมหานคร (ผ้วู ่าราชการ
กรงุ เทพมหานคร กรงุ เทพมหานคร) ควบคมุ กำ� กบั สง่ั การ
และบัญชาการ

การจดั การสาธารณภัย เขตพน้ื ทที่ ั่วราช ผบู้ ญั ชาการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระดบั 3 อาณาจกั ร ที่เกดิ แหง่ ชาติ (รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง
(สาธารณภัยขนาดใหญ)่ สาธารณภยั มหาดไทย) ควบคุม กำ� กบั ส่งั การ และ
บัญชาการ

การจดั การสาธารณภยั เขตพ้นื ท่ที ว่ั ราช นายกรฐั มนตรี หรอื หรือรองนายกรฐั มนตรี
ระดบั 4 อาณาจักร ที่เกดิ ซ่งึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย ควบคุม สง่ั การ
(สาธารณภยั ร้ายแรง สาธารณภยั และบญั ชาการ
อยา่ งยงิ่ )

126

ภาคผนวก 1

ระหว่างที่เกิดภัย (การจัดการในภาวะฉุกเฉิน) เม่ือเกิดหรือคาดว่า
จะเกดิ สาธารณภยั ขนึ้ หนว่ ยงานในพน้ื ทจ่ี ะมกี ารจดั ตง้ั องคก์ รปฏบิ ตั ิ เพอ่ื เปน็
กลไกส�ำคัญในการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในเขตพื้นที่
โดยด�ำเนินการจัดตั้ง “องค์กรปฏิบัติการจัดการในภาวะฉุกเฉิน” ท�ำหน้าท่ี
เปน็ กลไกทเ่ี ปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั ใิ นการจดั การในภาวะฉกุ เฉนิ (Emergency
Operation Centre : EOC) เพอื่ ให้การวเิ คราะห์ ประเมนิ ประสานงาน และ
ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งในการจดั การเหตกุ ารณห์ นงึ่ ๆ ในภาวะฉกุ เฉนิ
มีความเปน็ เอกภาพ โดยมอี งคป์ ระกอบและโครงสร้างภายในองค์กรท่ีจำ� เปน็
เหมาะสม และให้สอดคล้องกับระดับการจัดการสาธารณภัยของประเทศ
ในแตล่ ะระดบั ซงึ่ เปน็ ไปตามแผนการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ
และมีการจัดตง้ั องค์กรปฏิบัตใิ นภาวะฉุกเฉิน ดงั นี้
- กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั /กรงุ เทพมหานคร
จะด�ำเนนิ การจัดตง้ั “ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์จังหวดั /กรุงเทพมหานคร”
- กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั อำ� เภอ/สำ� นกั งานเขต
จะด�ำเนนิ การจดั ตั้ง “ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตุการณ์อ�ำเภอ/สำ� นักงานเขต”
- กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ จะด�ำเนินการจัดต้ัง “ศูนยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉนิ ท้องถน่ิ ”
เพื่อท�ำหน้าท่ีในการจัดการสาธารณภัยที่เกิดข้ึนจนกว่าสถานการณ์
จะกลบั เข้าส่สู ถานการณ์ปกติ พร้อมทง้ั เปน็ ศนู ยก์ ลางในการระดมสรรพก�ำลงั
และทรัพยากรในการจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น รวมท้ังอ�ำนวยการและ
ประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร
ตลอดจนองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และองคก์ ารสาธารณกศุ ลในพนื้ ทที่ ร่ี บั ผดิ ชอบ
ได้อย่างมเี อกภาพ รวดเร็ว และท่วั ถึง

127

คู่มอื การจัดตั้งและการบรหิ ารจดั การศนู ย์พกั พิงช่วั คราว

กรณสี าธารณภยั ขนาดใหญ่ และสาธารณภยั รา้ ยแรงอยา่ งยง่ิ (สาธารณภยั
ระดบั 3 - 4) มีกองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กลาง ควบคมุ
และก�ำกับการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิบัติและข้อส่ังการ
ของกองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ อธบิ ายตามแผนผงั
การจดั ตง้ั องค์กรปฏิบัตใิ นการจัดการสาธารณภยั ในภาวะฉุกเฉิน ดงั น้ี

แผนผังการจดั ตัง้ องคก์ รปฏิบตั ิในการจัดการสาธารณภยั ในภาวะฉุกเฉนิ

ภาวะไมเ่ กิดสาธารณภัย เมอ่ื เกดิ หรอื คาดวา่ จะเกิดภยั

กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จดั ตง้ั ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินท้องถน่ิ
องค์การบริหารส่วนตำ� บล/เทศบาล/เมืองพัทยา (การจดั การสาธารณภยั ระดับ 1)

กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จดั ตงั้ ศนู ย์บญั ชาการเหตกุ ารณอ์ �ำเภอ /ส�ำนักงานเขต
อำ� เภอ/ส�ำนักงานเขต (การจดั การสาธารณภยั ระดบั 1)

กองอ�ำนวยการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย แปรสภาพ
จังหวดั /กรุงเทพมหานคร
จดั ต้งั ศูนยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณ์ ศูนย์บญั ชาการเหตุการณ์สว่ นหน้า
จงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร

(การจัดการสาธารณภัยระดับ 2) (การจัดการสาธารณภัยระดับ 3-4)

กองอ�ำนวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กลาง ควบคุม และกำ� กับ
ควบคุม สั่งการ และบญั ชาการ

กองบัญชาการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ

อา้ งอิง : พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 และแผนการปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2564 - 2570
128

2 ภาคผนวก 2

ภาคผนวก

ตวั อย่าง
ข้อปฏิบัตสิ าํ หรับผูพ้ กั พิงในศูนย์พกั พงิ ช่วั คราว

1. กําหนดเวลาการปิดประตูศูนย์พักพิงช่ัวคราวท่ีชัดเจน เช่น ประตู
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว ปิดเวลา.....น. ปิดไฟนอนเวลา.....น. งดส่งเสียงรบกวน
ทเี่ ปน็ การละเมดิ สทิ ธขิ์ องผอู้ นื่ หลงั เวลา.....น. การเขา้ - ออกศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
นอกเวลาดงั กลา่ ว ต้องแจง้ ผู้รบั ผิดชอบศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว
2. ตอ้ งมกี ารลงทะเบยี นการเขา้ - ออก ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยนำ� ปา้ ย
ประจำ� ตัวไปฝาก ณ จดุ ลงทะเบียนทุกคร้งั
3. เก็บทนี่ อนทกุ คร้ัง เพื่อทำ� ความสะอาดง่ายขนึ้
4. ถอดรองเทา้ ไวด้ า้ นนอก จดั เรยี งใหด้ ี หรอื หากตอ้ งการเกบ็ ไวใ้ กลต้ วั
ใหใ้ สถ่ งุ พลาสติก
5. ห้ามน�ำอาหารเข้าไปรับประทานบริเวณที่นอน ยกเว้นผู้ป่วยและ
ผู้สงู อายุ
6. ไม่เก็บอาหารข้ามม้ือ ควรกินอาหารที่ผ่านความร้อน ปรุงสุกใหม่
ภายใน 4 ช่วั โมง กอ่ นกนิ อาหารสงั เกตลกั ษณะกลนิ่ ของอาหาร รสชาติ วา่ บดู
เสีย หรือไม่ หากอาหารบดู เสยี หา้ มกิน ให้ท้ิงลงถงั ขยะ และแจ้งอาสาสมคั ร
ในศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราวว่า พบอาหารบูด เสีย เพอื่ ระงับการแจกอาหารชนดิ นั้น
7. ถ้ามีอาการเจ็บป่วย เช่น ท้องเสีย ไข้ ปวดศีรษะ ไอ อ่อนเพลีย
คนั ตามผวิ หนงั เบอื่ อาหาร ระคายเคอื งตา รบี แจง้ หนว่ ยแพทยท์ ป่ี ระจาํ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว ทนั ที

129

ค่มู ือการจดั ตัง้ และการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว

8. ผปู้ ่วยโรคเรื้อรงั ถา้ ขาดยาหรือไม่มียา ให้แจ้งหน่วยแพทยท์ ีป่ ระจาํ
ศนู ย์พักพิงชั่วคราว ทันที
9. ใชผ้ า้ กระดาษทชิ ชู ปดิ ปากและจมกู เวลาไอ จาม หรอื ถา้ มอี าการปว่ ย
โรคทางเดนิ หายใจ ควรสวมหนา้ กากอนามยั เพอ่ื ปอ้ งกนั การแพรเ่ ชอ้ื เขา้ สคู่ นอน่ื
10. หา้ มดม่ื สรุ า หา้ มเลน่ การพนนั หา้ มทะเลาะววิ าท หา้ มละเมดิ ทางเพศ
และหา้ มการค้าประเวณีในศูนยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
11. ห้ามสูบบุหรใ่ี นท่พี ัก สบู บุหร่ีได้เฉพาะในสถานท่ีที่จัดไว้ใหเ้ ท่านนั้
12. ห้ามลกั ขโมย และโปรดรักษาทรพั ย์สินของตนเอง
13. ลา้ งมือให้สะอาดด้วยน�้ำและสบู่ หรอื เจลลา้ งมอื ก่อนรบั ประทาน
อาหาร หลังเขา้ หอ้ งสุขา และหลงั ไอ จาม หรอื สง่ั นำ้� มกู
14. ให้รักษาความสะอาด ห้องสุขา/ห้องอาบน�้ำ ทุกคร้ังหลังใช้เสร็จ
และเปล่ียนรองเท้ากอ่ นเข้าหอ้ งสุขา
15. กรณุ าทิ้งขยะในจดุ ที่เตรียมไว้ แยกเปน็ 4 ประเภท คือ ขยะท่ัวไป
ขยะรีไซเคลิ ขยะอันตราย สว่ นขยะเปยี ก เศษอาหาร ขอให้ท้ิงนอกอาคาร
16. กรณีมญี าติมาเยี่ยม ขอใหญ้ าติรอพบ ณ จดุ ลงทะเบียนด้านหนา้
17. หากมีปัญหาหรือข้อสงสัย กรุณาแจ้งผู้จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
หรอื โทรประสานงาน ทางหมายเลขโทรศพั ท์ (ระบุ).....

130

ภาคผนวก ภาคผนวก 3

3

การตรวจสอบการด�ำเนนิ การกอ่ นเกดิ ภัย ศพช. 1

ผู้รับผิดชอบ : กองอ�ำนวยการกลางศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว
(Check List)

ช่ือศนู ยพ์ ักพงิ ชั่วคราว ....................................................................................................
ท่ตี ้งั ณ ...........................................................................................................................
ชอื่ ผตู้ รวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………

(เจา้ หนา้ ทกี่ องอำ� นวยการกลางศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราวท่ีไดร้ บั มอบหมาย)

ประเดน็ ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทตี่ อ้ งค�ำนึง มี ไม่มี ปัจจุบนั

โครงสรา้ ง 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิง
ผ้รู บั ผดิ ชอบ ช่ัวคราว ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครอง
บรหิ ารจัดการ ส่วนท้องถ่ิน กทม. อ�ำเภอ จังหวัด ภาคเอกชน

องค์กรสาธารณกศุ ลต่าง ๆ

2. จัดประชุมจัดท�ำแผนปฏิบัติการบริหารจัดการ
ศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราว

3. แตง่ ตั้งผจู้ ัดการศูนย์พกั พงิ ชัว่ คราว........................
(ระบุชอื่ ศนู ย์) ซึ่งอยูใ่ นความดูแล และรบั ผดิ ชอบของ

ชมุ ชน.......................... (ระบุ)
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ........................ (ระบุ)
อ�ำเภอ......................... (ระบ)ุ
จังหวดั ......................... (ระบุ)
อืน่ ๆ .......................... (ระบุ)

131

คูม่ ือการจัดตงั้ และการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ักพิงชวั่ คราว

ประเดน็ ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี อ้ งค�ำนงึ มี ไม่มี ปัจจบุ นั

4. แตง่ ตงั้ เจ้าหน้าที่ผปู้ ระสานงานศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว
แตล่ ะระดับ ได้แก่

จังหวดั ......................... (ระบ)ุ
อ�ำเภอ......................... (ระบุ)
กทม.
ส�ำนกั งานเขต......................... (ระบุ)
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ....................... (ระบุ)

5. จัดประชุมวางแผนการคัดเลือกสถานที่ปลอดภัย
และการเลือกอาคารส่ิงก่อสร้างเพ่ือใช้เป็นศูนย์พักพิง
ชั่วคราว กรณีมีการคัดเลือกไว้แล้วให้พิจารณาความ
เหมาะสมอกี ครัง้

สาธารณภัยมีขนาดและความรุนแรงเกินทีก่ ำ� หนด
จำ� นวนประชาชนที่อพยพมากเกินขดี จำ� กดั
มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งย้ายศนู ยพ์ ักพิงชั่วคราวไปจัดตั้ง
ทใ่ี หม่

132

ภาคผนวก 3

ศพช. 1

การวางแผนจดั ตั้งศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราวก่อนเกดิ ภัย
ผรู้ บั ผดิ ชอบ : คณะกรรมการบรหิ ารจัดการศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว

(Check List)
ชื่อศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว ...................................................................................................
ทตี่ งั้ ณ ..........................................................................................................................
ชื่อผู้ตรวจสอบ …………………………………………………………………………………………………
(เจา้ หนา้ ทท่ี คี่ ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมอบหมายเปน็ ผตู้ รวจสอบ)

ประเด็น ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ตอ้ งค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปจั จุบนั

การคัดเลอื กสถานทีป่ ลอดภยั

พื้นท่ี 1. จัดทีมส�ำรวจท�ำเลที่ตั้ง และสถานท่ีที่จะใช้เป็น
ปลอดภยั ศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว ประกอบด้วย ตัวแทนจากภาครฐั
ชมุ ชน และผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นต่าง ๆ

2. ทำ� เลทตี่ ัง้ เหมาะสมกับประเภทของสาธารณภยั เชน่
2.1 ศูนย์พักพิงช่ัวคราวส�ำหรับภัยสึนามิ อุทกภัย

ควรต้ังอยูใ่ นท่สี งู ห่างจากชายฝงั่ ทะเล
2.2 ศูนย์พักพิงชั่วคราวส�ำหรับภัยแผ่นดินไหว

ควรอยใู่ นทโี่ ลง่ แจง้
2.3 ศูนย์พักพิงช่ัวคราวส�ำหรับภัยดินโคลนถล่ม
น�ำ้ ป่าไหลหลาก ควรต้งั อยู่ในทรี่ าบหา่ งจากเชงิ เขา
หรือทางน�้ำ เป็นตน้

3. ทำ� เลทตี่ ั้งหา่ งไกลจากพนื้ ท่ที มี่ ีสาธารณภยั ที่เกิดใน
ขณะนั้น ไม่ว่าจะเป็นสาธารณภัยจากมนุษย์หรือ
ธรรมชาติ

133

ค่มู อื การจดั ตงั้ และการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องคำ� นงึ มี ไม่มี ปัจจุบนั

4. ปลอดภยั จากผลกระทบจากภยั อืน่ ๆ ท่อี าจจะเกดิ
ต่อเนื่อง เช่น อุทกภัย พายุหรือลมกระโชกแรง
ดินโคลนถลม่ น�ำ้ ป่าไหลหลาก

5. มีพ้ืนท่ีปลอดภัยส�ำหรับการอพยพทรัพย์สิน
ยานพาหนะ สตั วเ์ ลี้ยง และปศสุ ัตว์

การเขา้ ถึง 1. การคมนาคมตอ้ งเข้าถงึ และสะดวก งา่ ยต่อการให้
ความชว่ ยเหลือในช่วงวิกฤต ควรคำ� นึงถงึ ฤดูกาลและ
สภาพผลกระทบในแต่ละฤดู

2. ไมห่ า่ งไกลจากสถานทใี่ หบ้ รกิ ารของรฐั เชน่ โรงพยาบาล
สถานตี ำ� รวจ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ศนู ยป์ ระสานงาน
ชว่ ยเหลอื ต่าง ๆ เป็นตน้

3. การเข้าถึงตลาดในท้องถ่ิน ระบบขนส่งมวลชน
และเดินทางเข้าถึงสถานทีต่ ่าง ๆ ได้สะดวก

4. ไม่มีซากปรักหักพัง ถนนเป็นหลุมเป็นบ่อ สะพาน
ท่ีไม่แข็งแรง ที่จะเปน็ อปุ สรรคในการเดินทางเขา้ ถึง

5. มีการเดินทางติดต่อคมนาคมสะดวก สามารถ
ล�ำเลยี งส่ิงของสตั ว์เลี้ยง และปศสุ ตั ว์ ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย
จากการเกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ราจร

สาธารณปู โภค 1. มีระบบสาธารณูปโภคพร้อมใช้งาน เช่น ไฟฟ้า
และโครงสรา้ ง ประปา นำ้� ดมื่ นำ้� ใช้ ระบบกำ� จดั ขยะ ระบบระบายนำ้�
พน้ื ฐาน เป็นต้น

2. หากจ�ำเปน็ สามารถติดตั้งระบบส�ำรอง เชน่ ไฟฟา้
ส�ำรอง แหล่งน�้ำส�ำรองส�ำหรับอุปโภคบริโภค รถน้�ำ
สุขาชั่วคราว รถสุขาเคลอื่ นท่ี ฯลฯ

134

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี อ้ งค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปจั จบุ ัน

3. ทำ� เล อาคาร สถานทที่ จ่ี ะใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
เออื้ ตอ่ การตดิ ตงั้ ระบบสขุ าภบิ าล เชน่ ระบบจดั การนำ้� เสยี
ระบบจดั การขยะ เป็นตน้

สงิ่ แวดล้อม 1. เป็นพ้ืนท่ีปลอดมลพิษทั้งจากภายในและรอบนอก
และสขุ ภาพ พน้ื ท่ีศนู ย์พกั พิงช่วั คราว เช่น ไมม่ กี ารปนเปอ้ื นสารพิษ

ควันพษิ กล่นิ ขยะ ฯลฯ

2. พน้ื ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว เปน็ พน้ื ทร่ี าบ มที างระบายนำ้�
ไมเ่ ปน็ พน้ื ทเ่ี สย่ี งภยั นำ�้ ทว่ มซำ้� และปลอดภยั จากมลพษิ
ทางน้ำ�

3. เป็นพ้ืนท่ีที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่ร้อนอบอ้าว
หรอื ไมเ่ ยน็ จนเกินไป เพราะผู้พกั พงิ สว่ นมากจะใช้เวลา
ในอาคารมากกวา่ กลางแจ้ง

4. มีต้นไมแ้ ละพชื ต่าง ๆ ชว่ ยใหร้ ่มเงา ลดการพงั ทลาย
ของหนา้ ดินและดกั ฝุน่ ละออง

การเลอื กอาคารส่งิ ก่อสรา้ งเพ่อื ใชเ้ ป็นศูนย์พกั พิงชว่ั คราว

สภาพอาคาร 1. มีโครงสร้างอาคารแข็งแรงตา้ นทานต่อสาธารณภยั
และปลอดภัย กอ่ สร้างตามทก่ี ฎหมายก�ำหนด

2. หากเลอื กใชอ้ าคารทไี่ มไ่ ดใ้ ชง้ านมากอ่ น จะตอ้ งสำ� รวจ
ความแข็งแรงของโครงสร้าง ผนัง เพดาน หลังคา
และตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ เพือ่ ให้แขง็ แรง ปลอดภัย

3. มีพน้ื ท่กี วา้ งขวาง เอ้อื ต่อการแบ่งพ้ืนทต่ี ามจ�ำนวน
ผพู้ ักพงิ และกจิ กรรมในการดำ� รงชวี ติ ขณะท่ีพักอาศยั

4. ลักษณะอาคารสถานท่สี ามารถจดั การให้เกิดความ
ปลอดภัยต่อผู้พักพิง เช่น มีรั้ว/ประตูแข็งแรง มีทาง
เข้า - ออกชดั เจน สามารถจัดเวรยามเฝ้าระวงั ได้

135

คมู่ ือการจัดตง้ั และการบริหารจัดการศูนย์พักพงิ ชัว่ คราว

ประเด็น ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี อ้ งคำ� นึง มี ไม่มี ปัจจบุ นั

การใช้งาน 1. คำ� นึงถงึ ผลกระทบตอ่ การใช้งานปจั จุบัน หลกี เล่ียง
อาคาร การสร้างความวุ่นวาย เช่น หลีกเลี่ยงการใช้อาคาร
ของหนว่ ยงาน หรอื โรงเรียนที่ยงั มกี ารเรยี น การสอน
ใช้เป็นศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว เป็นตน้

2. คำ� นงึ ถงึ การเพม่ิ พนื้ ทอี่ าศยั และคณุ ภาพชวี ติ ในกรณี
ต้องใชเ้ ป็นท่ีพักอาศัยเวลานาน

3. มีการตรวจสอบ และซอ่ มแซมอาคารเพือ่ ให้มีความ
ปลอดภัยก่อนการใช้งาน

4. มกี ารบำ� รงุ รกั ษาอาคาร และสงิ่ ประกอบอาคารใหอ้ ยู่
ในสภาพดีตลอดเวลาที่ใช้อาคาร

การจดั สงิ่ 1. มีความสะดวกในการใชส้ ถานที่ และค�ำนงึ ถงึ ความ
อ�ำนวยความ สะดวกของทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง (เด็ก
สะดวก ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้สูงอายุที่ใช้รถเข็น คนพิการ
สำ� หรับกลุ่ม และคนสูงอายุท่ีใช้ไม้เท้า) เช่น การจัดให้มีทางลาด
เปราะบาง สำ� หรบั รถเขน็ จากพนื้ ถงึ ตวั อาคาร การจดั ใหม้ ขี นาดประตู

ที่กว้างพอส�ำหรับรถเข็น การจัดให้มีราวน�ำทางเดิน
หรอื เปน็ ราวจบั สำ� หรบั ทางเดนิ ขน้ึ บนั ได หอ้ งนำ�้ คนพกิ าร
ไฟสอ่ งสว่าง เปน็ ต้น

2. อาคารสถานที่ที่เลือกใช้เป็นศูนย์พักพิงชั่วคราว
เอ้ือต่อการปรับปรุงและติดต้ังสิ่งอ�ำนวยความสะดวก
ต่าง ๆ เพม่ิ เติม

ขนาดอาคาร 1. มีการพิจารณาความเหมาะสมต่อจ�ำนวนผู้พักพิง
โดยการคัดเลอื กอาคารจะตอ้ งมีการประเมนิ ศกั ยภาพ
ของอาคารที่รองรับผู้พักพิง และการด�ำรงชีวิตใน
ศนู ย์พกั พงิ ชัว่ คราว

136

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องค�ำนงึ มี ไม่มี ปัจจบุ ัน

2. มกี ารพจิ ารณาความเหมาะสมเพอื่ ใชเ้ ปน็ ศนู ยพ์ กั พงิ
ขนาดเลก็ (ไมเ่ กิน 100 คน) หรอื ขนาดใหญ่ (มากกวา่
100 คน) โดยพจิ ารณาจากขอ้ จำ� กดั ดา้ นการประสานงาน
การใหค้ วามชว่ ยเหลอื การบรหิ ารจดั การ และความรนุ แรง
ท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากจ�ำนวนผ้พู กั พิง

ขนาดของ ผพู้ ักพงิ หนงึ่ คนจ�ำเป็นตอ้ งใช้พืน้ ทีด่ ังน้ี
พน้ื ท่ี 1. พ้ืนที่ส่วนตัว/พ้ืนท่ีส�ำหรับนอน อย่างน้อย 3.5
ตารางเมตร ตอ่ คน
2. พ้ืนที่พักอาศัยและใช้ชีวิต อย่างน้อย 30 - 45
ตารางเมตร ตอ่ คน



137

คมู่ อื การจัดตัง้ และการบริหารจัดการศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว

ศพช. 1

การตรวจสอบการด�ำเนนิ การขณะเกิดภยั
ผรู้ บั ผิดชอบ : กองอำ� นวยการกลางศูนย์พกั พงิ ช่วั คราว

(Check List)
ช่อื ศนู ยพ์ ักพงิ ช่วั คราว .....................................................................................................
ทีต่ งั้ ณ ............................................................................................................................
ชือ่ ผูต้ รวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………

(เจ้าหน้าทก่ี องอำ� นวยการกลางศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราวทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย)

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ต้องคำ� นึง มี ไมม่ ี ปจั จุบัน

อ�ำนวยการ 1. ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
บรหิ ารจัดการ เพื่อก�ำหนดนโยบายและแนวทางการเปิดศูนย์พักพิง
ศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว
ชั่วคราว 2. สนับสนนุ ทรัพยากรปจั จัยส่ี สาธารณูปโภค อปุ โภค

และบรโิ ภค รวมถึงการแก้ไขปญั หาภายในศนู ย์พกั พงิ
ชวั่ คราว
3. อ�ำนวยความสะดวก ก�ำกับดูแล รกั ษาความปลอดภยั
และให้ความคุ้มครองแก่ผู้พักพิงภายในศูนย์พักพิง
ช่ัวคราว

4. ประสานการออกเอกสารส�ำคญั ตา่ ง ๆ ให้แกผ่ ู้พักพงิ
เมอื่ จ�ำเปน็ หรือเมื่อมีการรอ้ งขอ

5. การวางแผนเยียวยาผู้พักพิง ได้แก่ การช่วยเหลือ
ด้านปัจจัยสี่เบื้องต้น การจัดอบรมอาชีพ รวมถึง
การแนะแนวด้านอาชพี ให้แก่ผพู้ กั พงิ

138

ภาคผนวก 3

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี อ้ งค�ำนึง มี ไมม่ ี ปจั จุบัน

6. ประชุมวางแผนการปิดศนู ย์ รวมถงึ การขยายระยะ
เวลาในการปิด กรณีผู้พักพิงจ�ำนวนมาก หรือมีเหตุที่
ยงั สง่ กลบั ไมไ่ ด้ หรอื มกี ารรวมผพู้ กั พงิ จากแหลง่ อนื่ มา
รวมในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวเดยี วเพอ่ื สะดวกตอ่ การดแู ล

7. เข้าร่วมการประชุมกับกองบัญชาการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กองอ�ำนวยการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นท่ี และศูนยบ์ ญั ชาการ
เหตุการณ์ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/
สำ� นกั งานเขต) ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉนิ ทอ้ งถ่นิ (อบต./
เทศบาล/เมอื งพทั ยา)

8. รายงานผลการดำ� เนินงานในภาพรวมใหผ้ ู้อำ� นวยการ/
ผบู้ ัญชาการทราบ



139

คู่มือการจัดต้งั และการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว

การตรวจสอบการด�ำเนินการขณะเกดิ ภัย
ผ้รู ับผดิ ชอบ : ผ้ปู ระสานงานศูนยพ์ กั พิงชวั่ คราว

(Check List)
ชื่อศูนย์พักพิงชว่ั คราว .....................................................................................................
ท่ีตั้ง ณ ............................................................................................................................
ช่อื ผู้ตรวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………
(เจา้ หนา้ ทที่ ค่ี ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมอบหมายเปน็ ผตู้ รวจสอบ)

ประเดน็ ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ต้องค�ำนงึ มี ไม่มี ปจั จุบัน

การประสาน 1. รว่ มประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ
งานระหว่าง ชวั่ คราว กองบญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ศูนยพ์ ักพงิ แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ชว่ั คราว ในเขตพ้ืนท่ี และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/

กรงุ เทพมหานคร/อำ� เภอ/สำ� นกั งานเขต) ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร
ฉกุ เฉนิ ทอ้ งถนิ่ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา) เพอื่ รบั มอบ
นโยบาย แนวทางการเปิด - ปิด ศูนย์พักพิงชั่วคราว
ไปประสานงานกับหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง

2. ประสานงานกลางระหว่างคณะกรรมการบริหาร
จัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวกับกองบัญชาการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการ ปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพน้ื ที่ และศนู ยบ์ ญั ชาการ
เหตุการณ์ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/
สำ� นกั งานเขต) ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุกเฉนิ ท้องถน่ิ (อบต./
เทศบาล/เมอื งพทั ยา) รวมทง้ั เปน็ ผปู้ ระสานงานระหวา่ ง
ศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราวอื่นทีม่ กี ารจัดต้งั ขน้ึ พรอ้ มกนั

140

ภาคผนวก 3

ประเด็น ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปจั จบุ นั

3. ประสานการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ และสนบั สนนุ
การแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้พักพิงตามท่ีคณะกรรมการ
บริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราวหรือผู้อ�ำนวยการ/
ผู้บัญชาการมอบหมาย

4. ประสานความชว่ ยเหลอื จากภายนอก เพือ่ ประสาน
การช่วยเหลือ สนับสนุนและอ�ำนวยความสะดวก
กบั หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรการกศุ ล
เช่น ประสานส�ำนักงานเขต/อ�ำเภอ เพ่ือจัดท�ำบัตร
ประจ�ำตัวประชาชน และเอกสารทางราชการต่าง ๆ
เปน็ ตน้ หรอื นกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาติ แรงงานขา้ มชาติ ฯลฯ
ในการตดิ ตอ่ กบั สถานทตู ใหบ้ รกิ ารทางเอกสาร ในกรณี
ท่ีเอกสารส�ำคัญสูญหายการให้บริการทางกฎหมาย
การติดตอ่ กับครอบครัวท่ีอย่ตู า่ งประเทศ เป็นต้น

5. ประสานงานการปฏบิ ตั กิ บั ผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการเปิด/ปิด
ศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว

6. รายงานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ใหผ้ อู้ ำ� นวยการ/ผบู้ ญั ชาการทราบ



141

คมู่ อื การจัดตั้งและการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ กั พิงชวั่ คราว

การตรวจสอบการด�ำเนินการขณะเกดิ ภยั
ผู้รับผิดชอบ : ผจู้ ัดการศนู ยพ์ ักพงิ ช่ัวคราวและคณะท�ำงานศูนยพ์ กั พงิ ช่วั คราว

(Check List)

ชือ่ ศนู ย์พักพงิ ชัว่ คราว .....................................................................................................
ท่ตี งั้ ณ ............................................................................................................................
ชอ่ื ผตู้ รวจสอบ ……………………………………………..................ฝา่ ย/คณะทำ� งานดา้ น.............
(เจา้ หนา้ ทท่ี คี่ ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมอบหมายเปน็ ผตู้ รวจสอบ)

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทตี่ ้องคำ� นึง มี ไมม่ ี ปจั จุบัน

ผูจ้ ดั การ 1. ร่วมประชุมคณะกรรมการบริหารจดั การศูนย์พกั พิง
ศนู ย์พกั พิง ชั่วคราว กองบัญชาการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ชัว่ คราว แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ในเขตพื้นท่ี และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/
กรงุ เทพมหานคร/อำ� เภอ/สำ� นกั งานเขต) ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร
ฉกุ เฉนิ ทอ้ งถน่ิ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา) เพอื่ รบั มอบ
นโยบาย แนวทางการเปิด - ปิด ศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ไปด�ำเนินการในสว่ นทเ่ี ก่ียวข้อง

2. ประสานงานการปฏบิ ตั ิกับผูป้ ระสานงานศูนยพ์ กั พงิ
ชั่วคราวเพ่อื ขอรับการสนับสนุน และการแก้ไขปัญหา
จ า ก ก อ ง อ� ำ น ว ย ก า ร ก ล า ง ศู น ย ์ พั ก พิ ง ชั่ ว ค ร า ว
(คณะกรรมการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว)

3. ตัดสินใจแก้ปัญหาในการบริหารจัดการศูนย์พักพิง
ช่ัวคราว รวมถึงการเสนอกองอ�ำนวยการกลาง
เพ่อื พิจารณาใหม้ ีการปิดศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว และเปน็
ผู้แจง้ ปิดศนู ยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว

142

ภาคผนวก 3

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องคำ� นึง มี ไม่มี ปัจจบุ ัน

4. ตรวจสอบการใช้มาตรฐานความจ�ำเป็นขั้นพ้ืนฐาน
ส�ำหรับศูนย์พักพิงช่ัวคราวว่าได้มีการน�ำมาใช้ในการ
ดำ� เนินงานของศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราวอยา่ งเหมาะสม

5. พิจารณาก�ำหนดโครงสร้างฝ่าย และคณะท�ำงาน
ด้านต่าง ๆ และส่งเสริมให้ผู้พักพิงเข้ามามีส่วนร่วม
ในกระบวนการบริหารจัดการ และกิจกรรมภายใน
ศูนย์พักพิงชั่วคราว รวมถึงสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
ของชมุ ชน ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การของ
ศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว

6. ตรวจสอบการใช้ทรัพยากร การบริหารจัดการ
งบประมาณ และการจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
ศนู ยพ์ ักพงิ ชว่ั คราว

7. จัดประชมุ คณะทำ� งานเพ่อื ก�ำหนดแนวทาง รับทราบ
และแก้ไขปัญหาภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว รวมถึง
การสง่ มอบอปุ กรณ์ พนื้ ทศ่ี นู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวคนื เจา้ ของ
สถานท่เี มอื่ ปดิ ศูนยพ์ ักพิงชว่ั คราว

8. ให้ข่าวและประชาสัมพันธ์การด�ำเนินงานภายใน
ของศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว เชน่ แจง้ สถานการณส์ าธารณภยั
ก�ำหนดการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ช่วั คราว เป็นตน้

9. รายงานผลการดำ� เนนิ งานในภาพรวมใหค้ ณะกรรมการ
บริหารจัดการศูนยพ์ กั พงิ ชัว่ คราวทราบ

143

คู่มอื การจดั ต้งั และการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพิงชัว่ คราว

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี อ้ งคำ� นงึ มี ไม่มี ปัจจบุ ัน

ผู้ชว่ ย 1. จัดท�ำโครงสร้างฝ่าย และคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ
ผ้จู ดั การ และสง่ เสริมใหผ้ ู้พกั พงิ เข้ามามสี ่วนรว่ มในกระบวนการ
ศูนย์พักพิง บริหารจัดการและกิจกรรมภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว
ชว่ั คราว รวมถึงสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการ
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดำ� เนนิ การของศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว

2. กำ� กบั ดแู ลใหผ้ พู้ กั พงิ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ปฏบิ ตั ิ กฎกตกิ า
การอยู่ร่วมกัน และการมีส่วนร่วมกิจกรรมภายใน
ศนู ย์พกั พงิ ชั่วคราวใหเ้ ปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย

3. เป็นผู้ประสานงานภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราวเพื่อ
อำ� นวยความสะดวก สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน
ของคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้มีความต่อเนื่อง
เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และสามารถประสาน
สนับสนุนการช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่ัวถึง
และเปน็ ธรรม

4. ประสานหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งในการส่งเสริมอาชีพ
ความรแู้ ละทกั ษะดา้ นตา่ ง ๆ เพอื่ จดั กจิ กรรมใหก้ บั ผพู้ กั พงิ
ภายในศูนยพ์ ักพงิ ช่ัวคราว

5. ตรวจสอบการใช้มาตรฐานความจ�ำเป็นข้ันพื้นฐาน
ส�ำหรับศูนย์พักพิงช่ัวคราวว่าได้มีการน�ำมาใช้ในการ
ด�ำเนินงานของศูนย์พักพิงช่ัวคราวอย่างเหมาะสม
และมีส่วนร่วมในการพิจารณาการน�ำมาตรฐาน
ความจำ� เปน็ ขนั้ พน้ื ฐานตา่ ง ๆ มาใชใ้ นศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว

144

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี ้องคำ� นึง มี ไม่มี ปัจจุบนั

6. จัดประชุมคณะท�ำงานด้านต่าง ๆ เพื่อรับทราบ
และติดตามผลการปฏิบัติงาน การก�ำหนดแนวทาง
ท�ำงานและการแกไ้ ขปญั หาเบ้อื งตน้

7. ประสานงานการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวกบั คณะทำ� งานฯ
และผ้พู กั พิง และคนื ทรัพยากร ฯลฯ

8. รายงานผลการด�ำเนินงานในภาพรวมให้ผู้จัดการ
ศนู ย์พกั พิงช่ัวคราวทราบ

ฝา่ ย 1. จดั ทำ� บัญชรี ายชอื่ ผพู้ ักพิงในศนู ย์พักพิงชว่ั คราว
อ�ำนวยการ 2. ลงทะเบียนผูพ้ กั พิงท้งั เข้า - ออก ศูนย์พักพงิ ชว่ั คราว

3. การจัดประชุมหารือ เช่น ประชุมคณะกรรมการ
บริหารจดั การศนู ย์พกั พงิ ช่วั คราว เป็นต้น

4. จดั ทำ� ขอ้ มลู และรายงานการเงนิ บญั ชแี ละพสั ดุ เชน่
จัดทำ� บัญชีรายรับ - รายจ่าย และการจัดซื้อ - จัดจา้ ง
และรายงานต่อผจู้ ดั การศนู ย์พกั พิงช่วั คราว

5. ลงทะเบียนและจดั เก็บขอ้ มลู เจ้าหนา้ ทข่ี อง
หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน อปพร. อสม. จิตอาสา และ
ลา่ มอาสา ทมี่ าช่วยปฏบิ ตั งิ านในศนู ย์พกั พิงช่ัวคราว

6. จดั ท�ำข้อปฏิบตั ิ กตกิ าการอยู่ร่วมกันส�ำหรบั ผู้พกั พงิ

7. จัดหาเครือ่ งมอื อุปกรณ์ เคร่อื งใชท้ ี่จำ� เปน็ แก่การ
ด�ำรงชีพขณะที่อาศยั ในศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว

8. ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานขณะเปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว เช่น การสงั เกตจากกิจกรรมต่าง ๆ หรือการ
ตดิ ตามประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ทางการ เชน่ สำ� รวจความ
พึงพอใจของผูพ้ กั พิง เป็นตน้

145

คมู่ ือการจดั ต้งั และการบรหิ ารจดั การศนู ย์พักพิงช่ัวคราว

ประเด็น ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ต้องคำ� นงึ มี ไมม่ ี ปัจจุบนั

ฝ่าย 1. รว่ มพจิ ารณาเลอื กคณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ ตามความ
ปฏิบัตกิ าร เหมาะสมของเหตุการณ์ ซึ่งอาจพิจารณาจากบุคคล
จากหนว่ ยงานภายนอก หรอื อาสาสมคั ร หรอื เจา้ หนา้ ท่ี
ภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม
ในการดแู ลตรวจสอบใหค้ วามชว่ ยเหลอื ปกปอ้ งคมุ้ ครอง
แก่ผู้พกั พงิ

2. จัดกิจกรรมประจ�ำวัน เช่น การให้ข้อมูลข่าวสาร
ประจ�ำวัน การท�ำความสะอาดท่ีพักอาศัย เป็นต้น
และกจิ กรรมเสรมิ เชน่ การฝกึ อาชพี กจิ กรรมสำ� หรบั เดก็
เปน็ ตน้

3. ดแู ลการปฏบิ ตั งิ านของคณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ และ
ประสานการปฏิบตั กิ บั สว่ นตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วข้อง

คณะท�ำงาน 1. จดั ทำ� แผนผงั การจดั การพนื้ ทข่ี องศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
ดา้ นสถานท่ี ใหเ้ ป็นระเบียบ และเปน็ ระบบ
และ 2. จดั ทำ� แผนผงั โครงสร้างศูนยพ์ ักพงิ ชว่ั คราวชอ่ื - สกุล
สง่ิ แวดล้อม ผรู้ บั ผิดชอบ และหมายเลขโทรศัพทต์ ่าง ๆ

3. จดั ทพ่ี กั พงิ แยกประเภท ไดแ้ ก่ ทพ่ี กั ครอบครวั บคุ คล
(หญงิ ชาย) เป็นตน้

4. จดั พ้ืนทส่ี �ำหรับสัตวเ์ ล้ยี งและปศสุ ตั ว์ โดยแยกส่วน
จากสถานทพ่ี กั อาศยั

5. ดูแลด้านสุขาภบิ าล เช่น การทำ� ความสะอาดสถานที่
การก�ำจดั ขยะ การคดั แยกขยะ ฯลฯ

146

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทีต่ ้องคำ� นึง มี ไมม่ ี ปัจจุบัน

6. ดูแลรักษาสภาพแวดล้อม เช่น ดูแลต้นไม้และ
ส่ิงแวดล้อม เพื่อช่วยให้ร่มเงา ลดการพังทลายของ
หนา้ ดนิ และดกั ฝนุ่ ละออง ทำ� ใหศ้ นู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวนา่ อยู่
และปลอดภยั ยงิ่ ขนึ้

7. ก�ำหนดการใช้พ้ืนท่แี ละเวลาสำ� หรบั กจิ กรรมตา่ ง ๆ
เชน่ พืน้ ทรี่ ับประทานอาหาร พื้นที่นันทนาการ พ้ืนที่
ซกั ลา้ ง เป็นต้น

8. ดูแลการระบายน้�ำเสีย น้�ำท้ิง เพ่ือไม่ให้น้�ำท่วมขัง
และไม่เป็นพื้นท่ีเสี่ยงน�้ำท่วมซ้�ำ ปลอดภัยจากมลพิษ
ทางน�ำ้ และโรคตดิ ต่อ

9. ตรวจสอบพ้นื ทเ่ี กี่ยวกับการปนเปอื้ นสารพิษ ควนั พิษ
กลน่ิ ขยะ ฯลฯ ใหป้ ลอดมลพษิ ทางอากาศ ทง้ั จากภายใน
และภายนอกพืน้ ทีศ่ นู ย์พกั พิงชว่ั คราว

10. ประเมนิ ตรวจสอบสถานทที่ ช่ี ำ� รดุ เสยี หาย เพอื่ เปน็
ข้อมูลในการปรับปรุง ซ่อมแซมสถานท่ีก่อนการปิด
ศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว

คณะทำ� งาน 1. ประเมินความต้องการอาหาร วางแผนโภชนาการ
ดา้ น ให้เหมาะสมแกผ่ ้พู ักพิง ตามเพศ วยั อายุ และสภาพ
โภชนาการ ร่างกาย โดยพิจารณาด้านศาสนาและวัฒนธรรม

เป็นปัจจัยประกอบ เช่น อาหารอิสลาม มังสวิรัติ
อาหารเจ เป็นต้น และพิจารณาสัดส่วนท่ีเหมาะสม
ตอ่ ความต้องการในแต่ละวนั

2. ประเมินความต้องการน�้ำ จัดหาและส�ำรองน้�ำไว้ใช้
กรณีฉกุ เฉนิ

147

คมู่ ือการจดั ต้ังและการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว

ประเด็น ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี อ้ งคำ� นงึ มี ไม่มี ปัจจุบนั

3. จัดหา จัดเก็บภาชนะและอุปกรณ์ในการประกอบ
อาหาร และวัตถดุ ิบให้มีความสะอาดปลอดภัย

4. ดแู ลกระบวนการผลติ อาหาร การเกบ็ และการแจกจา่ ย
อาหารใหถ้ กู สุขลักษณะ

5. จดั ทำ� ตารางเวลา จดุ รบั อาหาร เพอื่ แจกจา่ ยอาหาร
ประจำ� วัน

6. จัดระบบการรับ - สง่ อาหาร แจกจ่ายอาหาร และ
นำ้� ด่มื ตามเวลา

คณะทำ� งาน 1. จัดพื้นที่บริการด้านสุขภาพในศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ดา้ นการรกั ษา ที่เพียงพอและจัดบุคลากรท่ีมีความรู้ ความช�ำนาญ
พยาบาลและ ในการดูแลรกั ษาพยาบาลเบือ้ งต้น
สุขภาพจติ 2. จดั การบรกิ ารปอ้ งกนั โรคและตรวจรกั ษาโรคอยา่ งทว่ั ถงึ

เพอื่ ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โรค โรคระบาดตา่ ง ๆ
เปน็ ต้น

3. จัดอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.)
เพ่ือติดตามดูแลกลุ่มเปราะบางและผู้ป่วยภายใน
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว

4. จัดให้มีที่ปรึกษาด้านสุขภาพจิต และจัดเจ้าหน้าที่
ค้มุ ครองเดก็ และเยาวชน

5. ประสานงานและสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไปยงั สถานพยาบาล

148

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี ้องคำ� นงึ มี ไมม่ ี ปจั จุบัน

คณะท�ำงาน 1. วางแผนการสอ่ื สารทงั้ ภายในและภายนอกศนู ยพ์ กั พงิ
ดา้ นการ ชว่ั คราว เชน่ ตดิ ตามความเคลอื่ นไหวของสถานการณ์
สอื่ สารและ อยา่ งใกลช้ ดิ และตอ่ เนอ่ื งจากทางสอ่ื ทกุ ทางและหนว่ ยงาน
ประชาสมั พนั ธ์ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง แลว้ นำ� ขอ้ มลู ขา่ วสารมาแจง้ ผพู้ กั พงิ ทกุ ระยะ

เพื่อใหผ้ ู้พกั พงิ ผ่อนคลายความวิตกกังวล

2. จัดท�ำบอร์ดประชาสัมพันธ์ แจ้งข่าวสารท่ีส�ำคัญ
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ประจ�ำวัน และ กำ� หนดการตา่ ง ๆ เชน่
ก�ำหนดเวลารับแจกอาหาร รบั ถุงยังชพี เปน็ ต้น

3. จดั ใหม้ จี ุดบริการติดต่อสอบถามภายในศูนย์พกั พงิ
ช่ัวคราวระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่และผู้พักพิง

4. จดั หาลา่ มทงั้ ลา่ มภาษาตา่ งประเทศ และลา่ มภาษามอื
เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์นอกเหนือจากภาษาไทย
กรณีมีกลุ่มเปราะบางที่ไม่เข้าใจภาษาไทย รวมถึง
การประชาสมั พันธร์ ูปแบบอน่ื ๆ

5. จัดท�ำป้ายบอกทางภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราว
เช่น ทางเข้า - ออก ทางไปห้องสุขา เปน็ ตน้

6. รวบรวมขอ้ มลู สรปุ ประเดน็ ปญั หา และสถานการณ์
ประจำ� วนั เพอ่ื รายงานผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวทราบ

149

คู่มอื การจดั ตัง้ และการบรหิ ารจดั การศูนย์พกั พิงชว่ั คราว

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทตี่ ้องค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปัจจุบนั

คณะท�ำงาน 1. จดั เวรยามรกั ษาความปลอดภยั ในพนื้ ท่ี ภายในอาคาร
ด้านความ และรอบสถานที่ เชน่ วธิ กี ารเขา้ - ออก มกี ารตรวจตรา
ปลอดภยั อาวธุ อปุ กรณเ์ ลน่ พนนั สรุ า ยาเสพตดิ สง่ิ ผดิ กฎหมาย
ขนสง่ และ ตา่ ง ๆ และใหก้ ารคมุ้ ครองเดก็ สตรี ผสู้ งู อายุ คนพกิ าร
การจราจร 2. จัดระเบียบการใช้พื้นที่ให้มีความปลอดภัย เช่น

การก�ำหนดพ้ืนที่จอดรถฉุกเฉิน การจัดไฟส่องสว่าง
ตามจดุ อบั กรวยจราจร หรอื จดุ ทม่ี อี นั ตราย และจดั พน้ื ท่ี
จอดยานพาหนะ พรอ้ มทงั้ ปา้ ยบอกเส้นทาง

3. มีขอ้ ปฏิบตั ิการใช้รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ ภายใน
ศูนยพ์ กั พิงชั่วคราว

4. เตรียมรถฉกุ เฉินอยา่ งนอ้ ย 1 - 2 คัน ตลอด 24 ชว่ั โมง
สำ� หรบั กรณฉี ุกเฉนิ

5. เตรยี มพาหนะในการขนสง่ เช่น ส่งิ ของ เคร่อื งมอื
สื่อสาร เปน็ ต้น

6. ดแู ลอุปกรณ์รักษาความปลอดภัย เช่น เครื่องดับเพลิง
เป็นต้น

7. มอี าสาสมคั รจราจรดแู ลการเขา้ - ออก พนื้ ทศี่ นู ยพ์ กั พงิ
ชัว่ คราว

8. จัดท�ำทะเบียนข้อมูลยานพาหนะของผู้พักพิงและ
เจ้าหนา้ ทีป่ ระจ�ำศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว

150

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปัจจุบนั

คณะท�ำงาน 1. วางแผน จดั หา และบรหิ ารจดั การสง่ิ ของบรรเทาทกุ ข์
ด้านบรรเทา ท่เี หมาะสมกับผู้พักพิง
ทกุ ข์ 2. รวบรวมข้อมูลผพู้ กั พิง เพศ อายุ และความตอ้ งการ

ต่าง ๆ เพ่ือประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ หรือ
องคก์ รการกศุ ลในการใหค้ วามช่วยเหลอื ตา่ ง ๆ

3. ติดตามและเก็บข้อมูลความต้องการของผู้พักพิง
เพื่อการจัดหาสิ่งของบรรเทาทุกข์ท่ีตรงตามความต้องการ
และจ�ำเป็นของผู้พักพงิ

4. จัดระบบการแจก - จา่ ย ส่งิ ของบรจิ าค

5. จดั พ้นื ท่ีเกบ็ และจดั ระเบยี บสง่ิ ของบรจิ าค

6. จัดท�ำบัญชีการรับบริจาค และจัดท�ำบัญชีสิ่งของ
บรจิ าค แลว้ รายงานขอ้ มลู ใหผ้ จู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ทราบ

คณะท�ำงาน 1. จดั กิจกรรมส่งเสริมอาชพี ที่เหมาะสมกับสภาพสงั คม
ดา้ นการ ความถนัดและทักษะของผู้พักพิง เช่น ฝึกท�ำขนม
ส่งเสริมอาชพี สานกระเปา๋ การทำ� เหรยี ญโปรยทาน เป็นตน้

2. จดั หาวทิ ยากร อปุ กรณ์ สถานทแี่ ละตารางเวลาการ
ฝึกอบรมอาชีพในแตล่ ะวนั

3. ให้ความรู้ และค�ำแนะน�ำในการสร้างอาชีพ
หลังสถานการณส์ าธารณภยั ไดส้ ิน้ สุดลงแล้ว

คณะทำ� งาน 1. จดั พน้ื ทีอ่ ่านหนังสือ งานศิลปะ ดหู นงั ฟงั เพลง
ด้านการ 2. จดั พืน้ ทนี่ นั ทนาการ และพ้นื ท่กี ารศกึ ษาอยา่ งเปน็
ศกึ ษาและ สดั สว่ น ปราศจากการรบกวน เชน่ พนื้ ทส่ี ำ� หรบั เดก็ เลก็
นันทนาการ

151

คู่มอื การจดั ตง้ั และการบรหิ ารจดั การศูนย์พกั พิงช่ัวคราว

ประเด็น ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องคำ� นึง มี ไมม่ ี ปัจจบุ นั

3. จดั กจิ กรรมผ่อนคลาย เชน่ ฝึกสมาธิ โยคะ เกมส์
เลน่ กฬี า เต้นแอโรบิค ร้องเพลงคาราโอเกะ เล่นดนตรี
เปน็ ตน้

4. จัดการเรียนการสอน ณ ศูนย์พักพิงช่ัวคราว
กรณเี กดิ สาธารณภยั เปน็ เวลานาน เชน่ การจดั การเรยี น
การสอนเป็นกรณีพิเศษ การจัดสิ่งอำ� นวยความสะดวก
การเรยี นออนไลน์ เป็นตน้

แหล่งที่มาของงบประมาณ

งบประมาณ 1. งบประมาณรายจา่ ยประจำ� ปขี องสว่ นราชการ ไดแ้ ก่
ดำ� เนนิ การ งบประมาณปกตขิ องสว่ นราชการตา่ ง ๆ

ส่วนราชการ...............................................(ระบ)ุ

2. งบกลาง
เงนิ ทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลงั
ว่าดว้ ยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผ้ปู ระสบ
ภัยพิบัตกิ รณฉี ุกเฉิน
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่าย
เพ่ือช่วยเหลือประชาชนตามอ�ำนาจหน้าท่ีของ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
เงินส�ำรองจา่ ยเพ่อื กรณฉี กุ เฉนิ หรือจำ� เป็นเรง่ ด่วน
ทต่ี ้องด�ำเนนิ การโครงการตามนโยบายของรฐั บาล

3. เงนิ นอกงบประมาณ
เงนิ บริจาค..................................................(ระบุ)
กองทนุ .......................................................(ระบุ)
เงนิ อืน่ ๆ ...................................................(ระบุ)

152

ภาคผนวก 3

ศพช. 2

การจัดการพ้ืนท่แี ละการเปิดศูนยพ์ กั พงิ ชั่วคราว
ผรู้ ับผิดชอบ : ผูจ้ ัดการศนู ย์พกั พงิ ช่ัวคราวและคณะท�ำงานศนู ย์พกั พิงชว่ั คราว

(Check List)
ช่อื ศนู ยพ์ กั พิงชั่วคราว .....................................................................................................
ทีต่ ้ัง ณ ............................................................................................................................
ชอื่ ผตู้ รวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………
(เจา้ หนา้ ทที่ ค่ี ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราวมอบหมายเปน็ ผตู้ รวจสอบ)

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ต้องค�ำนงึ มี ไม่มี ปัจจบุ นั

การจดั พ้ืนท่ีรองรับการอพยพ

พืน้ ท่ีรบั 1. มีโตะ๊ ลงทะเบียนแบ่งตามประเภทของผู้พักพงิ เชน่
ลงทะเบยี น กลุ่มเปราะบาง คนพกิ าร คนที่ไมส่ ามารถลงทะเบยี น
ผปู้ ระสบภัย เองได้ เช่น แรงงานขา้ มชาติ เป็นต้น

2. มอี าสาสมคั ร ล่ามภาษาท้องถนิ่ และอื่น ๆ ตามที่
จ�ำเป็น เพอ่ื ชว่ ยแนะน�ำอ�ำนวยความสะดวกดา้ นต่าง ๆ
เช่น น�ำพาผู้พักพิงไปเข้าที่พัก การอธิบายระเบียบ
ต่าง ๆ เปน็ ต้น

3. มเี จา้ หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื ดแู ลกลมุ่ เปราะบางทไ่ี มส่ ามารถ
ลงทะเบียนเองได้ หรือไม่มีบัตรประจ�ำตัวประชาชน
เชน่ คนพิการ แรงงานข้ามชาติ เปน็ ต้น

4. มีการจัดแบ่งที่พักอาศัยตามความเหมาะสม เช่น
จัดเป็นครอบครัว หรือมาคนเดียว กลุ่มเปราะบาง
แยกหญงิ ชาย เป็นต้น

153

คู่มอื การจัดตง้ั และการบรหิ ารจดั การศนู ย์พักพิงช่วั คราว

ประเด็น ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทีต่ ้องค�ำนึง มี ไม่มี ปัจจบุ นั

พน้ื ทค่ี ดั กรอง 1. มีพ้ืนท่ีรักษาพยาบาลส�ำหรับผู้ป่วย การคัดกรอง
และรกั ษา ตรวจ และควบคุมโรคตดิ ตอ่
พยาบาล
และสง่ ตอ่ 2. มีการเตรียมรถพยาบาลฉุกเฉิน เพ่ือส่งต่อผู้ป่วย
ฉกุ เฉนิ ไปสถานพยาบาลใกลเ้ คยี ง

3. มีเจ้าหน้าท่ี หรืออาสาสมัครติดตามดูแลผู้ป่วย
ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว เชน่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ
ประจำ� หมบู่ า้ น (อสม.) อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น
(อปพร.) และจติ อาสา เป็นตน้

พ้ืนท่ี 1. มโี ตะ๊ และบอรด์ ประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ ใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู
ประชาสมั พนั ธ์ ข่าวสาร ประจำ� วนั
และ
ประสานงาน 2. มีการชี้แจงท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตน
ข้อปฏิบัติ กติกาการอยู่ร่วมกัน และกิจกรรมภายใน
ศูนย์พักพงิ ช่ัวคราว (ผจู้ ดั การศนู ย์พกั พิงชั่วคราว หรอื
ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว หรือเจ้าหน้าที่ใน
ศนู ยพ์ กั พิงชวั่ คราว)

พน้ื ท่ใี ชส้ อย 1. มีพ้ืนที่ส�ำหรับการท�ำงานหรือประสานงานของ
คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว
คณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ สดั สว่ น มอี ปุ กรณก์ ารทำ� งาน
และมีระบบความปลอดภัย

2. มกี ารประเมนิ และจดั สรรพน้ื ทใ่ี ชส้ อยในศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราว โดยยึดหลกั การตามมาตรฐานสากล

3. พนื้ ทปี่ ระกอบอาหาร

4. พืน้ ทีจ่ ุดรบั – จา่ ยน�้ำ จุดต้งั แทง็ กน์ ้ำ�

5. พื้นทแี่ จก-จา่ ยอาหาร ส่ิงของบรรเทาทกุ ข์

154

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ขอ้ พิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องค�ำนึง มี ไมม่ ี ปัจจบุ ัน

6. พนื้ ทีห่ อ้ งน�้ำ แยกหญงิ ชาย

7. ห้องน้ำ� หอ้ งสุขาคนพิการ

8. พื้นท่ีส�ำหรบั ท้ิงขยะ และของเสีย

9. พน้ื ทซ่ี กั ล้าง ราวตากผ้า

10. พน้ื ที่อาบน้ำ� แยกหญิง ชาย

11. พืน้ ทเี่ ก็บของบรรเทาทุกข์ ของบรจิ าค

พืน้ ที่สำ� หรบั 1. มีการกั้นห้องหรอื มฉี ากกนั้ เม่ือมีการรกั ษาพยาบาล
ปฐมพยาบาล 2. จดั รถพยาบาลประจำ� ศนู ยพ์ กั พงิ ชั่วคราว เพอ่ื ส่งตอ่

ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์

พ้นื ที่ - จดั พื้นที่สำ� หรับประกอบพิธีทางศาสนา
ทางศาสนา

พืน้ ท่ีสว่ นตวั 1. พื้นท่ีส�ำหรับนอน มีการจัดกลุ่มผู้พักพิงที่มาเป็น
สำ� หรบั นอน ครอบครัว
และพกั ผอ่ น 2. พนื้ ทส่ี ำ� หรบั นอน กรณีผมู้ าคนเดียว และแยกพน้ื ท่ี

ส่วนตัวระหว่างหญงิ ชาย

3. การแยกประเภท กลมุ่ ผพู้ กั พิง เชน่ ค�ำนึงถงึ ศาสนา
วัฒนธรรม เปน็ ต้น

พืน้ ที่ผมู้ ี 1. มกี ารจัดพื้นที่ (ขนาด 90X150 เซนตเิ มตร) สำ� หรับ
ความตอ้ งการ คนพิการหรือผู้สูงอายุท่ีใช้รถเข็น เพ่ือให้สามารถเข็น
พเิ ศษ รถเข็นและหมนุ รถเขน็ ไดโ้ ดยสะดวก

2. มีการจัดพื้นทใี่ ห้หญงิ พิการทตี่ ้องการความชว่ ยเหลือ
ในการเปล่ยี นเสื้อผ้า

3. มีการจดั หอ้ งให้สำ� หรับแมท่ ่ีใหน้ มบุตร

4. มกี ารจดั พ้ืนท่ีให้ผู้สูงอายหุ รือคนพกิ ารตดิ เตยี ง

155

คู่มือการจัดตงั้ และการบริหารจดั การศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทตี่ อ้ งคำ� นึง มี ไมม่ ี ปจั จบุ ัน

พ้ืนทส่ี �ำหรับ 1. มกี ารจดั พน้ื ทสี่ ำ� หรบั สตั วเ์ ลยี้ ง และปศสุ ตั ว์ ตามความ
สตั ว์เล้ียง เหมาะสม (ประเภท/ขนาด)
และปศสุ ัตว์ 2. มีการจดั หาอาหาร นำ้� ด่มื และยารกั ษาโรคใหส้ ตั ว์

3. มีการค�ำนึงถึงสุขลักษณะและความปลอดภัยของ
ผพู้ กั พิง เชน่ กล่ินจากมูลสตั ว์ โรคตดิ ตอ่ และอนั ตราย
ท่ีเกดิ จากสตั ว์ เปน็ ต้น

พื้นท่ี 1. มพี น้ื ทสี่ ว่ นกลางทใ่ี ชร้ ว่ มกนั สำ� หรบั จดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ
อเนกประสงค์ เช่น กิจกรรมนันทนาการ พ้ืนท่ีพักผ่อน/อ่านหนังสือ

พื้นท่ีส�ำหรับเดก็ เปน็ ต้น

2. มีพ้นื ทสี่ �ำหรับการฝึกอบรม และการฝึกอาชีพ

3. มีพื้นที่ให้บริการภายในศูนย์พักพิงชั่วคราว เช่น
บรกิ ารซ่อมเคร่อื งใช้ไฟฟ้า ตัดผม ฯลฯ

4. มีพื้นทสี่ ำ� หรับออกกำ� ลังกายกลางแจ้ง หรือจุดรวมพล

ดา้ น 1. จดั ใหม้ กี ารบริการดา้ นการศึกษา การดแู ลสุขภาพ
สวสั ดกิ าร อนามัยสุขภาพจติ เปน็ ต้น
ข้นั พ้ืนฐาน 2. จัดใหม้ ีการสง่ เสริมการฝึกอาชพี ระยะสั้น

ดา้ น 1. ส่งเสริมและอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้พักพิงในการ
วัฒนธรรม ปฏบิ ตั ติ ามประเพณี และวฒั นธรรมทางสงั คมและศาสนา
สงั คมและ ของผพู้ ักพิงในศนู ย์พักพิงชัว่ คราว
ชมุ ชนโดยรอบ 2. มีแบบส�ำรวจสอบถามทัศนคติของชุมชนโดยรอบ

ต่อกลุ่มผู้พักพิงในศูนย์พักพิงช่ัวคราว (กรณีที่พักอาศัย
อยู่นาน)

156

ภาคผนวก 3

ประเดน็ ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ตอ้ งคำ� นึง มี ไมม่ ี ปจั จุบนั

การเปิดศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว

การเตรยี ม 1. การส่ือสาร - โทรศัพท์ วิทยุสื่อสาร วิทยุรับส่ง
ความพรอ้ ม และป้ายแจง้ หมายเลข
เปิดศูนยพ์ ักพิง 2. การขนส่ง - รถกระบะ รถพยาบาล รถฉุกเฉนิ เรือ
ช่ัวคราว 3. ไฟและแสงสวา่ ง - เครอ่ื งปน่ั ไฟ นำ�้ มนั ปลกั๊ สายพว่ ง

ปลก๊ั ไฟ ไฟฉาย แบตเตอร่ี หลอดไฟ และอปุ กรณส์ อ่ งสวา่ ง
อื่น ๆ ที่จ�ำเป็น

4. เคร่ืองมอื ช่าง - ค้อน ตะปู ไขควง เลอ่ื ย เสยี มขุด
เชือก ไมก้ ระดาน

5. เครอื่ งท�ำครวั - เตาแก๊ส หม้อหงุ ขา้ ว จาน ชอ้ นส้อม
กระทะ หม้อ

6. นำ้� ด่มื น�้ำใช้ - ภาชนะเกบ็ ถังบรรจนุ ้ำ� เครื่องกรองนำ�้
สารสม้ แกวง่ นำ�้ นำ้� ดม่ื บรรจขุ วด (สำ� รองอยา่ งนอ้ ย 3 วนั )
อปุ กรณต์ ้มนำ้�

7. เครอ่ื งเรือน เครื่องใช้ - โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางของ รถเขน็
ใสข่ อง

8. อปุ กรณฉ์ ุกเฉนิ - ถังดับเพลงิ ชดุ ปฐมพยาบาล ยา
กระสอบ

9. พืน้ ทน่ี อน - เต็นท์ ผ้าใบกันฝน ผ้าใบกัน้ หอ้ ง

10. เครอื่ งนอน - ทน่ี อน ผา้ หม่ เตยี งผา้ ใบ เตยี งกระดาษ
หมอน เสื่อ

11. อาหาร - อาหารสด อาหารส�ำเร็จรูป (ส�ำรอง
อย่างนอ้ ย 3 วนั )

157

ค่มู อื การจดั ตัง้ และการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องค�ำนึง มี ไม่มี ปจั จุบัน

12. การท�ำความสะอาด - ไม้กวาด ผา้ ขีร้ ้ิว ไมถ้ พู ื้น
สบู่ น�้ำยาฆ่าเช้ือ

13. หอ้ งสุขาเคลื่อนที่ หอ้ งสขุ าคนพกิ าร ผ้สู งู อายุ

14. สขุ อนามยั - ถงุ ขยะ ถงั ขยะ กระดาษชำ� ระ สบลู่ า้ งมอื

15. ป้ายประชาสมั พันธ์ กระดานประชาสัมพันธ์

16. กรวยยาง ทก่ี น้ั ป้ายจราจร ไฟฉกุ เฉนิ

17. อปุ กรณ์ส�ำนักงาน เชน่ ปากกา สมุด แฟ้มเอกสาร
กระดาน

18. คณะกรรมการ จำ� นวนผปู้ ฏบิ ัติงาน/อาสาสมัคร



158

ภาคผนวก 3

ศพช. 3
การบริหารจดั การศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว
ผูร้ ับผิดชอบ : ผู้จัดการศนู ยพ์ ักพงิ ชั่วคราวและคณะท�ำงานศนู ยพ์ กั พงิ ชัว่ คราว

(Check List)
ชือ่ ศนู ย์พกั พงิ ชวั่ คราว .....................................................................................................
ทีต่ ง้ั ณ ............................................................................................................................
ช่อื ผตู้ รวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………
(เจา้ หนา้ ทที่ ค่ี ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวมอบหมายเปน็ ผตู้ รวจสอบ)

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทีต่ ้องคำ� นึง มี ไม่มี ปจั จุบนั

แนวทางการบรหิ ารจดั การศูนย์พักพงิ ช่วั คราว

กลไกการ กำ� หนดใหม้ กี ลไกการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
บริหารจดั การ และจดั ตงั้ คณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ โดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม
ศูนย์พักพงิ ของผ้พู กั พงิ ภายในศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยมกี ลไกการ
ช่ัวคราว ปฏบิ ัติ ดงั น้ี

1. ผู้จัดการศนู ย์พกั พิงชั่วคราว ทำ� หน้าที่ : อำ� นวยการ
และบริหารการด�ำเนินงานภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราว
เปน็ ตน้
2. ผชู้ ่วยผจู้ ัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว ท�ำหนา้ ท่ี : ช่วยเหลอื
ผู้จัดการศนู ยพ์ ักพงิ ชว่ั คราวในการบรหิ ารจดั การ
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว และปฏิบัติหน้าที่ตามที่ผู้จัดการ
ศูนย์พักพิงชัว่ คราวมอบหมาย

3. ฝ่ายอำ� นวยการ ทำ� หน้าที่ : อ�ำนวยการและบริหาร
จัดการงานต่าง ๆ เช่น งานธุรการ งานเอกสาร
งานการประชมุ งานการเงนิ บญั ชีและพสั ดุ การจดั ท�ำ
บญั ชีรายช่ือผพู้ กั พิง เป็นต้น

159

คมู่ อื การจดั ต้ังและการบรหิ ารจดั การศนู ย์พกั พิงชั่วคราว

ประเดน็ ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ต้องค�ำนงึ มี ไมม่ ี ปัจจุบัน

4. ฝ่ายปฏบิ ตั ิการ ได้แก่ คณะทำ� งานดา้ นตา่ ง ๆ ภายใน
ศนู ย์พกั พิงช่วั คราว เชน่ คณะท�ำงานด้านสถานทีแ่ ละ
สิ่งแวดล้อม ด้านโภชนาการ ด้านบรรเทาทุกข์ และ
ด้านต่าง ๆ ท�ำหน้าที่ : ด�ำเนินกิจกรรมประจ�ำวันใน
ระยะของการเปิดศูนย์พักพิงช่ัวคราว รวมท้ังจัดการ
พน้ื ทใ่ี หเ้ ปน็ ระเบยี บ และดำ� เนนิ การอนื่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั
มอบหมาย

5. ผปู้ ระสานงาน ทำ� หนา้ ท่ี : ประสานงาน และสนบั สนนุ
การด�ำเนินงานของศูนย์พักพิงชั่วคราว รวมถึงเป็น
ผอู้ ำ� นวยความสะดวกในการประสานงาน เพอ่ื สนบั สนนุ
ให้ภารกิจงานของศูนย์พักพิงชั่วคราวด�ำเนินไป
ด้วยความราบรื่น และมีความต่อเน่ืองในทางปฏิบัติ
ทงั้ นี้ ให้มกี ารแต่งตงั้ ผูป้ ระสานงานให้ชดั เจน

แนวทางการ 1. จัดสรรแบ่งพื้นที่พักพิงให้เป็นสัดส่วนของแต่ละ
บริหารจดั การ ครอบครวั หรอื ของแตล่ ะชมุ ชนใหเ้ ปน็ ระเบยี บ มมี าตรฐาน
ศนู ยพ์ ักพงิ เพอ่ื ให้ผพู้ ักพิงมคี ุณภาพชีวิตที่ดี
ช่ัวคราว 2. จัดให้มีระบบการรักษาความปลอดภัยภายใน

ศูนย์พักพิงชั่วคราวและบริเวณโดยรอบศูนย์พักพิง
ช่ัวคราว (โดยใช้ก�ำลังจากเจ้าหน้าท่ีต�ำรวจในพื้นท่ี
กำ� นนั ผใู้ หญบ่ า้ น สารวตั รกำ� นนั อปพร. หรอื ประชาชน
ทมี่ จี ติ อาสาชว่ ยงาน เปน็ ตน้ ) รว่ มเปน็ คณะทำ� งานดา้ น
ความปลอดภยั ขนส่ง และการจราจร

3. จัดให้มีคณะท�ำงานด้านสถานท่ีและส่ิงแวดล้อม
เพ่ือการรับแจ้งกรณีอาคารงานสุขาภิบาล ดูแลระบบ
สาธารณูปโภคและสถานท่พี กั อาศยั และอ่ืน ๆ ทช่ี ำ� รดุ
เสยี หาย รวมทง้ั มกี ารสำ� รวจตรวจสอบ ซอ่ มแซมอาคาร
งานสุขาภิบาล ดูแลระบบสาธารณูปโภค และสถานที่
พกั อาศยั และอนื่ ๆ เพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ

160

ภาคผนวก 3

ประเด็น ขอ้ พจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ที่ตอ้ งคำ� นงึ มี ไม่มี ปจั จุบนั

4. จัดให้มีอาสาสมัครเข้ามามีส่วนร่วมในคณะท�ำงาน
ด้านต่าง ๆ ตามความสามารถ ความถนดั และก�ำหนด
บทบาทหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบที่ชัดเจน

5. จัดให้มีระบบการจัดเก็บรักษาข้อมูล การรายงาน
ขอ้ มลู โดยใหค้ ำ� นงึ ถงึ การปกปดิ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล และ
ความปลอดภัยในการเกบ็ รักษาข้อมูล

6. จัดให้มีระบบการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์
ทงั้ ภายในศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว และภายนอกศนู ย์พักพิง
ชั่วคราว เพ่ือแจง้ ขา่ วสารต่าง ๆ ใหผ้ ู้พกั พงิ ได้รับทราบ
เช่น การประชาสัมพันธ์การท�ำกิจกรรม ประจ�ำวัน
การก�ำหนดเวลารับประทานอาหาร การแจ้งข่าวสาร
การรบั บริจาคใหบ้ คุ คลภายนอกไดร้ ับทราบ ฯลฯ

7. กำ� หนดใหม้ ขี อ้ ปฏบิ ตั ใิ นการใหค้ วามปกปอ้ งคมุ้ ครอง
และรักษาสิทธิของเดก็ สตรี ผสู้ ูงอายุ คนพกิ าร เปน็ ต้น

8. จัดให้มจี ติ อาสา ตามความสามารถ และความถนดั
ด้านตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น ดา้ นการทำ� อาหาร
ด้านล่ามภาษา เพ่ือดูแลช่วยเหลือชาวต่างชาติ
ล่ามภาษามือ ด้านช่าง ด้านการรักษาพยาบาลและ
สุขภาพจิต ดา้ นคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้

9. จัดให้มรี ะบบการแพทย์และการสาธารณสขุ ภายใน
พ้ืนท่ีศูนย์พักพิงชั่วคราว รวมท้ังจัดให้มีบุคลากร
ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในการดูแลประจ�ำ
ขณะเปดิ ศูนย์พักพิงชัว่ คราว

10. จดั ใหม้ รี ะบบการแจก - จา่ ย นำ้� อาหารและสง่ิ ของ
บรจิ าคตามหลกั ความเสมอภาค เทา่ เทยี ม โดยคำ� นงึ ถงึ
การแจก - จ่ายอาหารและส่ิงของบริจาคให้กับกลุ่ม
เปราะบางเปน็ ลำ� ดบั แรก

161

คมู่ อื การจัดตงั้ และการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ กั พงิ ชั่วคราว

ประเดน็ ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องคำ� นงึ มี ไมม่ ี ปัจจุบัน

11. ก�ำหนดให้มีกิจกรรมประจำ� วัน และกจิ กรรมเสริม
เพ่ือเพิ่มทักษะการมีส่วนร่วม และองค์ความรู้ให้แก่
ผู้พักพงิ
- กิจกรรมประจ�ำวัน เช่น การท�ำความสะอาดท่ีพกั พงิ
หอ้ งสขุ า ออกกำ� ลงั กาย รอ้ งเพลง และดรู ายการโทรทศั น์
ฯลฯ
- กิจกรรมเสรมิ เช่น กิจกรรมการสรา้ งงาน และการ
สร้างอาชพี ฯลฯ

12. มกี ารตดิ ตาม ตรวจสอบ การทำ� งานภายในศนู ยพ์ กั พงิ
ชว่ั คราว เพอ่ื ใหผ้ พู้ กั พงิ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี เมอ่ื พกั อาศยั
อยูภ่ ายในศนู ยพ์ กั พิงชัว่ คราว เช่น การพดู คยุ สอบถาม
การสำ� รวจความคิดเห็น การสำ� รวจความพงึ พอใจของ
ผู้พักพิงในช่วงเวลาท่ีพักอาศัยอยู่ภายในศูนย์พักพิง
ชวั่ คราว เปน็ ตน้ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการปรบั ปรงุ การบรหิ าร
จดั การของศูนย์พกั พิงชว่ั คราว เป็นตน้

162

ภาคผนวก 3

ศพช. 4

การปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว
ผ้รู ับผิดชอบ : ผู้จดั การศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราวและคณะทำ� งานศูนยพ์ ักพิงชั่วคราว

(Check List)
ชอ่ื ศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว .....................................................................................................
ทีต่ งั้ ณ ............................................................................................................................
ชื่อผู้ตรวจสอบ ……………………………………………………………………………………………………
(เจ้าหน้าทที่ ี่คณะกรรมการบริหารจัดการศูนยพ์ ักพิงช่ัวคราวมอบหมายเปน็ ผูต้ รวจสอบ)

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ทต่ี อ้ งค�ำนึง ท�ำ ไม่ท�ำ ปจั จุบัน

การเตรียมการ 1. ตดิ ตาม ตรวจสอบความเคลื่อนไหวของสถานการณ์
ปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ สาธารณภัยอย่างใกล้ชิดว่าภัยคลี่คลายหรือยุติแล้ว
ช่วั คราว จากกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

แห่งชาติ กองอำ� นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
ในเขตพ้ืนที่ และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/
กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต) ศูนย์ปฏิบัติ
การฉกุ เฉนิ ทอ้ งถน่ิ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา) เพอ่ื เปน็
ขอ้ มลู ประกอบการเตรยี มความพรอ้ มการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ
ชว่ั คราวเม่ือไดร้ ับนโยบายให้ปิดศูนย์พกั พงิ ช่ัวคราว

2. จดั เตรยี มเอกสารและแบบลงทะเบยี นขอ้ มลู การสง่ กลบั
ให้ผู้พักพิง ลงทะเบียนออกจากศูนย์พักพิงช่ัวคราว
ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางโดยยานพาหนะส่วนตัวของ
ผู้พักพิงเอง หรอื การรอ้ งขอการสนับสนนุ ยานพาหนะ
สง่ กลบั จากหนว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ าร และระบคุ วามประสงค์
ในการเดนิ ทางกลบั ทอ่ี ยอู่ าศยั เดมิ หรอื สถานทอี่ ยอู่ าศยั ใหม่

163

คูม่ อื การจดั ต้งั และการบริหารจัดการศูนย์พักพิงช่วั คราว

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องคำ� นึง ท�ำ ไม่ท�ำ ปัจจบุ นั

3. ประสานเตรยี มความพรอ้ มอพยพตามแผนการสง่ กลบั
ไปยังกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
ในเขตพ้ืนท่ี และศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ (จังหวัด/
กรงุ เทพมหานคร/อำ� เภอ/สำ� นกั งานเขต) ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร
ฉกุ เฉนิ ทอ้ งถ่นิ (อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา)

การปิดศนู ย์ 1. เสนอแผนการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว ใหก้ องบญั ชาการ
พักพงิ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการ
ช่วั คราว ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพ้ืนท่ี และ
ศนู ยบ์ ญั ชาการเหตกุ ารณ์ (จงั หวดั / กรงุ เทพมหานคร/
อ�ำเภอ/ส�ำนักงานเขต) ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินท้องถ่ิน
(อบต./เทศบาล/เมอื งพทั ยา) ทราบ ตามทไ่ี ดม้ กี ารประชมุ
หารอื และเตรียมการปิดศูนย์พักพงิ ชัว่ คราวไว้

2. ประสานการอพยพกลับไปยงั กองบญั ชาการป้องกนั
และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาติ กองอำ� นวยการปอ้ งกนั
และบรรเทาสาธารณภยั ในเขตพน้ื ท่ี และศนู ยบ์ ญั ชาการ
เหตุการณ์ (จังหวัด/กรุงเทพมหานคร/อ�ำเภอ/
ส�ำนกั งานเขต) ศนู ย์ปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉินท้องถิ่น (อบต./
เทศบาล/เมอื งพทั ยา) ในการเคลอ่ื นยา้ ยผพู้ กั พงิ ออกจาก
ศูนย์พักพิงช่ัวคราว โดยพิจารณาจากกลุ่มเปราะบาง
และครอบครัวเป็นกลุ่มแรก ๆ และพิจารณาตาม
เส้นทางการส่งกลับเพ่ือความสะดวกในการจัดการ
ยานพาหนะ เป็นต้น

164

ภาคผนวก 3

ประเด็น ข้อพิจารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ีต้องคำ� นึง ท�ำ ไมท่ �ำ ปจั จุบัน

3. ประชาสมั พนั ธก์ ารปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว โดยผจู้ ดั การ
ศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราวแจง้ กำ� หนดการปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ลว่ งหนา้ พรอ้ มทงั้ ใหห้ นว่ ยประชาสมั พนั ธแ์ จง้ ใหผ้ พู้ กั พงิ
ได้รับทราบข้อมูล/ข่าวสารการปิดศูนย์พักพิงชั่วคราว
และขน้ั ตอนการเคลอ่ื นยา้ ยออกจากศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว
ฯลฯ

4. ทำ� ความสะอาดครัง้ ใหญ่บรเิ วณศนู ยพ์ กั พิงชัว่ คราว
และพื้นท่ีโดยรอบด้วยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ
บริหารจัดการศูนย์พักพิงชั่วคราว และผู้พักพิง เช่น
ท�ำความสะอาดพืน้ ท่พี ักอาศยั พน้ื ทสี่ ว่ นกลาง หอ้ งน�ำ้
หอ้ งสขุ า พนื้ ทส่ี ตั วเ์ ลย้ี ง ปศสุ ตั ว์ และอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื
ซักล้าง ได้รับการจัดเก็บหรือรื้อถอนอย่างปลอดภัย
กลบหลุมฝงั ขยะหรือนำ� ขยะไปท้ิง

5. ส�ำรวจตรวจสอบ ซ่อมแซมอาคารสถานที่ และ
เชค็ รายการสง่ิ ของวสั ดุ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชภ้ ายในศนู ยพ์ กั พงิ
ชั่วคราว ที่ชำ� รุดเสียหาย พร้อมท้ังจดั ท�ำบญั ชีรายการ
ท่ีต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเดิมก่อน ส่งคืนเจ้าของ
สถานที่ เช่น การซ่อมแซมห้องสขุ า ประตู หน้าต่างที่
ช�ำรุดเสียหายจากการทีผ่ ้พู ักพงิ อยพู่ กั อาศัย เป็นต้น

6. บันทึกข้อมูลลงทะเบียนออก (Check - out)
ผูอ้ พยพกลับ พรอ้ มท้ังบันทกึ ขอ้ มลู การส่งกลบั ผู้พกั พิง
ไว้เป็นหลักฐาน ทั้งนี้ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แหง่ พน้ื ทท่ี เี่ ปน็ ทตี่ ง้ั ของศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว และหนว่ ยงาน
ทเี่ กย่ี วขอ้ งรวบรวมเกบ็ ขอ้ มลู การบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ กั พงิ
ชวั่ คราวทงั้ ระบบไวเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ของพนื้ ท่ี เพอื่ การใช้
ประโยชน์ข้อมลู ร่วมกันตอ่ ไป

165

คู่มือการจดั ตัง้ และการบรหิ ารจัดการศูนยพ์ ักพงิ ชัว่ คราว

ประเด็น ข้อพจิ ารณา การตรวจสอบ รายงาน
ท่ตี ้องคำ� นงึ ท�ำ ไม่ทำ� ปจั จบุ ัน

7. ซ่อมแซมอาคารสถานท่ีและสิ่งของ วัสดุ อุปกรณ์
เครื่องใช้ภายในศูนย์พักพิงช่ัวคราวท่ีช�ำรุดเสียหาย
ตามทไ่ี ดม้ กี ารสำ� รวจไวใ้ หอ้ ยใู่ นสภาพเดมิ พรอ้ มทงั้ ปรบั
สภาพพื้นที่โดยรอบศูนย์พักพิงช่ัวคราวให้เหมือนเดิม
ก่อนสง่ คืนพ้ืนที่

8. ปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว โดยผจู้ ดั การศนู ยพ์ กั พงิ ชวั่ คราว
แจง้ ปดิ ศนู ยพ์ กั พงิ ชว่ั คราว เมอ่ื สง่ กลบั ผพู้ กั พงิ ออกจาก
ศูนย์พักพิงชั่วคราวหมดแล้ว ตามค�ำส่ังผู้อ�ำนวยการ/
ผบู้ ญั ชาการ

9. ส่งมอบพ้ืนท่ีศูนย์พักพิงช่ัวคราวคืนเจ้าของสถานที่
(กรณีมีการท�ำสัญญาหรือข้อตกลงต่าง ๆ ในการใช้
อาคารสถานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร ให้ด�ำเนินการ
ยกเลกิ สัญญาหรอื ข้อตกลงตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม)

10. รายงานการปดิ ศูนย์พกั พงิ ชว่ั คราว ผลดำ� เนินงาน
และปัญหาอปุ สรรคให้ผู้อำ� นวยการ/ ผบู้ ญั ชาการทราบ



166

ภาคผนวก ภาคผนวก 4

4

(ตวั อย่าง) แบบลงทะเบยี นผู้พักพิง

หมายเลขลงทะเบยี น

1. ข้อมูลผู้เข้าพกั พงิ

คำ� น�ำหนา้ ชอื่ ช่ือ นามสกุล

สญั ชาติ เชอื้ ชาติ ศาสนา ประเภท
อายุ ผู้พักพงิ
สถานภาพ วัน/เดอื น/ปีเกิด อาหาร (ปกต/ิ
ภูมิล�ำเนา โรคประจ�ำตวั อื่นๆ)
2. ขอ้ มลู พนื้ ฐาน
เลขทบ่ี ัตรประจำ� ตวั ประชาชน โซนทีพ่ กั /หมายเลข/อน่ื ๆ (ระบ)ุ

เลขทห่ี นงั สือเดนิ ทาง (passport) ประวัติการแพอ้ าหาร วนั ท่เี ขา้ ศูนย์พักพิงชัว่ คราว

เลขท่ีบัตรคนพิการ ที่อยปู่ จั จบุ ัน ประวตั กิ ารแพ้ยา วนั ที่ออกจากศูนยพ์ ักพงิ ชั่วคราว
ลักษณะความพิการ ญาติผู้เปน็ ตวั แทนได้
ส�ำหรับเจา้ หน้าที่บนั ทึก
ชื่อ - สกลุ ผูต้ ิดตอ่ กรณีฉุกเฉนิ

ลกั ษณะรา่ งกายที่เดน่ ชัด (ระบุ) หมายเลขโทรศพั ท์ หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรศพั ท์

3. ความตอ้ งการพเิ ศษ ระบรุ ายละเอียด
(1) คนพกิ าร ผสู้ งู อายุ ผปู้ ว่ ยทตี่ ้องการยาเฉพาะ
(2) สตรี แม่ที่ให้นมบตุ ร ผู้หญงิ ท่ีเปน็ หวั หนา้ ครอบครัว 167
(3) เดก็ ท่ถี ูกทอดทิ้ง เดก็ พิเศษ ฯลฯ
(4) อน่ื ๆ

คมู่ อื การจัดตัง้ และการบริหารจัดการศนู ยพ์ ักพิงชัว่ คราว

4. ทรัพย์สิน หรอื สัตวเ์ ลี้ยง หรือปศสุ ัตว์ ทต่ี ดิ ตวั มาในศนู ย์พกั พิงชว่ั คราว (ระบปุ ระเภทและจ�ำนวน)

(1) รถยนต์ (2) สตั วเ์ ลย้ี ง/ปศุสตั ว์ (3) เครื่องมือ/อปุ กรณ์ท�ำกิน อนื่ ๆ

หมายเลขทะเบยี น

5.ขอ้ มูลหวั หนา้ ครอบครวั (เฉพาะหวั หนา้ ครอบครวั กรอกขอ้ มลู ในขอ้ 5 และข้อ 6)

ค�ำน�ำหนา้ ช่ือ ชือ่ นามสกลุ หมายเลขลงทะเบียน
หมายเลขลงทะเบยี น
6. สมาชกิ ในครอบครวั

ท่ี คำ� นำ� หนา้ ช่อื ช่อื นามสกลุ

1

2

3

4

ลงช่ือ...................................................... ผลู้ งทะเบียน ลงช่อื ...................................................... เจ้าหนา้ ที่รบั ลงทะเบยี น
( ) ( )
ลงทะเบียนเข้าศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว วันท่ี...............เดอื น.................พ.ศ........................

168

ภาคผนวก 4

(ตวั อยา่ ง) แบบบันทึกคณะกรรมการบรหิ ารจดั การศนู ยพ์ ักพิงช่ัวคราว

ช่ือศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราว
ท่ตี ั้ง ณ

ผจู้ ัดการศูนยพ์ กั พิงชัว่ คราว

ที่ คำ� นำ� ช่อื นามสกุล หน่วยงาน/อน่ื ๆ โทรศพั ท์หมายเลข
หน้าชอื่ หนว่ ยงาน/อืน่ ๆ โทรศพั ท์หมายเลข หมายเหตุ
หนว่ ยงาน/อ่นื ๆ โทรศัพทห์ มายเลข หมายเหตุ
1 หนว่ ยงาน/อนื่ ๆ โทรศพั ทห์ มายเลข หมายเหตุ

ผชู้ ว่ ยผจู้ ัดการศนู ยพ์ กั พิงช่ัวคราว

ที่ คำ� นำ� ช่อื นามสกุล
หนา้ ช่ือ

1

ฝ่ายอ�ำนวยการ ช่ือ นามสกลุ

ท่ี ค�ำนำ�
หนา้ ชือ่

1

2

ฝ่ายปฏิบตั กิ าร ชื่อ นามสกลุ

ที่ ค�ำน�ำ
หน้าชอ่ื

1

2

169

คู่มือการจดั ต้ังและการบริหารจดั การศูนยพ์ กั พิงช่วั คราว

คณะท�ำงานดา้ นตา่ งๆ

ท่ี ค�ำนำ� ชอ่ื นามสกุล คณะท�ำงานด้าน หนว่ ยงาน/อ่ืนๆ โทรศพั ทห์ มายเลข หมายเหตุ
หนา้ ชื่อ

1

2

ผปู้ ระสานงานศูนย์พักพิงช่ัวคราว

ที่ ค�ำนำ� ชื่อ นามสกุล ระดบั หนว่ ยงาน/อน่ื ๆ โทรศัพท์หมายเลข
หนา้ ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ

1

2

3

หมายเหตุ : จำ� นวนทมี งาน/ต�ำแหน่งคณะกรรมการ หรอื คณะท�ำงาน ก�ำหนดตามความจำ� เป็นเหมาะสม

170

ภาคผนวก 4

(ตัวอยา่ ง) แบบบนั ทึกผู้พกั พิงรายวนั
วันท่ี
ผรู้ บั ผิดชอบประจ�ำวนั /ผรู้ วบรวม

ท่ี ชื่อ - สกลุ หมายเลขโทรศัพท์ตดิ ต่อ เพศ อายุ โรคประจำ� ตัว แพ้อาหาร แพย้ า หมายเหตุ

หมายเหตุ : ทำ� การบันทึกขอ้ มูลตามความจำ� เป็น แล้วแต่กรณี เชน่ ขอ้ มลู ผ้พู ักพิงทแี่ พ้ยา แพ้อาหาร เปน็ ตน้
171

คู่มือการจัดต้งั และการบริหารจัดการศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว

(ตัวอยา่ ง) แบบรายงานเพือ่ ขอรับการสนบั สนนุ จากหน่วยงานภายนอก

วนั ที่

ชื่อศนู ย์พักพิงชัว่ คราว ที่ตั้ง

จ�ำนวนผู้พกั พิง รวมท้งั สิ้น คน ชาย คน หญิง คน เด็ก คน

1. แยกประเภทผพู้ กั พิง

ผชู้ าย คน ผหู้ ญงิ คน เดก็ (แรกเกดิ – 1 ป)ี

ผูส้ ูงอายุ (ชาย) คน ผ้สู ูงอายุ (หญงิ ) คน ชาย คน พกิ าร คน หญงิ คน พกิ าร คน

คนพิการ (ชาย) คน คนพิการ (หญิง) คน เดก็ (อายุ 1 - 5 ป)ี
รวม คน หญงิ มคี รรภ ์ คน ชาย คน พิการ คน หญิง คน พิการ คน
แมใ่ ห้นมบุตร คน เด็ก (อายุ 6 - 15 ป)ี

รวม คน ชาย คน พิการ คน หญงิ คน พิการ คน

รวม คน

2. ประเภทความพิการ
(1) ตา คน (2) หู คน (3) เคลื่อนไหว คน (4) อื่นๆ ระบ ุ คน

3. ศาสนา
(1) พทุ ธ คน (2) อิสลาม คน (3) ครสิ ต์ คน (4) อืน่ ๆ ระบ ุ คน

4. ความตอ้ งการขอรับการสนบั สนนุ ส�ำหรบั ศนู ยพ์ ักพิงชว่ั คราว

(1) อาหาร

(2) นำ�้ ด่มื

(3) ยารักษาโรค

(4) เสื้อผ้า

(5) นมผงสำ� หรับเดก็ แรกเกดิ

นมผงสำ� หรับเด็ก

(6) อุปกรณ์อน่ื ๆ

(7) อน่ื ๆ (ระบุ)

ชอื่ -สกุล เจ้าหน้าท่ผี ู้จดั ทำ� ข้อมูล
ชื่อ-สกลุ ผจู้ ัดการศนู ย์พักพงิ ชั่วคราว/ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์พักพงิ ชั่วคราว (ผู้รบั รอง)
เวลา น.

172

ภาคผนวก 4

(ตวั อยา่ ง) แบบสำ� รวจความพงึ พอใจของผพู้ ักพงิ ในศนู ย์พกั พิงชัว่ คราว

ช่อื ศนู ย์พกั พิงชัว่ คราว ทต่ี ้ัง
วันท่ตี อบแบบสอบถาม

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป กรุณาท�ำเครือ่ งหมาย x ลงในชอ่ ง

1. เพศ ชาย หญิง

2. อายุ ต่�ำกว่า 15 ป ี 15 - 25 ปี 26 – 35 ปี 36 – 45 ปี

46 – 55 ป ี 56 – 65 ปี 66 – 75 ปี 76 ปขี ้นึ ไป

3. สุขภาพ ไม่มีโรคประจ�ำตวั มีโรคประจำ� ตวั ระบุ

ต้งั ครรภ์

คนพิการ ระบคุ วามพิการ

4. วนั ทเี่ ขา้ อาศยั ในศูนย์พักพิงชั่วคราว คน
5. จำ� นวนสมาชกิ ในครอบครัวท่มี าพักอาศัยในศูนยพ์ กั พิงช่ัวคราว

สว่ นท่ี 2 การประเมินความพงึ พอใจ

กรุณาทำ� เครอ่ื งหมาย X ลงในช่องที่ท่านเห็นว่าตรงกับความคิดเห็นของทา่ นมากทีส่ ดุ เพียงชอ่ งเดียว

ท่ี ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ
มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ

1 การจดั พื้นท่พี กั อาศัยส�ำหรบั ท่านและครอบครัว

2 อาหาร (คณุ ภาพ ปริมาณ รสชาตอิ าหาร ความสะอาด)

3 นำ้� ดื่ม (ปริมาณน้�ำด่มื ตอ่ คน ภาชนะ ความสะอาด)

4 น�้ำใช้ (จดุ จ่ายน�้ำ กอ๊ กน้ำ� การแบง่ ปนั น�้ำใช้)

5 ห้องนำ�้ (ความสะอาด ความปลอดภยั ความพอเพยี งต่อจำ� นวนคน)

6 ความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยภายในศูนยพ์ กั พงิ ช่วั คราว

7 การสอื่ สาร ประชาสัมพันธ์ การแจง้ ขา่ วสารใหก้ บั ผพู้ กั พงิ

8 ความปลอดภัยขณะพักอาศยั ในศนู ยพ์ ักพิงชวั่ คราว

9 การให้บรกิ าร (เจ้าหนา้ ที่สามารถใหข้ อ้ มลู หรอื ตอบข้อซักถาม
ไดเ้ ปน็ อยา่ งด)ี

10 ภาพรวมความพงึ พอใจในศูนย์พักพงิ ช่ัวคราว

173

คู่มือการจัดตงั้ และการบรหิ ารจัดการศนู ยพ์ กั พิงช่วั คราว

ส่วนที่ 3 ขอ้ แนะนำ� เพ่ือการปรับปรงุ ศนู ย์พักพงิ ชว่ั คราว (โปรดระบุ) ข้อแนะนำ�
ท่ี รายการ
1 ที่พกั
2 อาหาร
3 น�ำ้ ดื่ม
4 นำ�้ ใช้
5 ห้องนำ้�
6 การจดั การขยะ
7 ข้อปฏบิ ตั ิ กติกาการอยรู่ ่วมกัน
8 การสอ่ื สาร การประชาสมั พันธ์
9 ความปลอดภยั
10 การใหบ้ ริการของเจา้ หน้าที่
11 ด้านอืน่ ๆ (ระบุ)

ขอบคุณทีใ่ ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม

174

ศพช.กทม.

แบบรายงานการเตรยี มความพรอ้ มศูนย์พกั พิงชวั่ คราว
กรงุ เทพมหานคร

ขอ้ มลู ณ วันท.ี่ ............................................

ประเภทภัย (ü) รองรบั สถานทอ่ี ยูใ่ น ส่ิงสาธารณปู โภคที่มีอย่ใู นปัจจุบัน
ผู้พักพิง ความรบั ผดิ ชอบ
ท่ี เขต แขวง หมู่บ้าน/ ช่อื สถานท่ี อุทก ัภย (จำ� นวนคน) หน่วยงาน (ระบุ) ไฟฟา้ ประปา หอ้ งสขุ า ค่าพกิ ดั GPS ชอ่ื - สกุล หมายเลข
ชมุ ชน วาตภัย (จ�ำนวนหอ้ ง) ผตู้ ิดต่อ โทรศพั ท์
แผ่นดินไหว
อื่น ๆ (ระบุ)

ภาคผนวก 4

175


Click to View FlipBook Version