The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lovelymario21144, 2022-09-11 00:31:39

publication

publication

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

41

แนวการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ให้สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาผ้เู รียน ผู้เรียนสามารถออกแบบและทำ�โครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ในศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อฝึกฝนและสามารถใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ
กระบวนการสำ�หรับการออกแบบและเทคโนโลยี และทักษะท่ีสำ�คัญ
การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของ ส�ำ หรับศตวรรษที่ ๒๑ มาแกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตร์ได้
ผู้เรียนให้พร้อมที่จะดำ�รงชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างประสบความสำ�เร็จได้
ในอนาคตน้ัน จำ�เป็นต้องเน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนานักคิด ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน
นกั แกป้ ญั หา และนกั เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ โดยจดั การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี น มสี ว่ นรว่ มในการ เพ่ือขยายขอบเขตการเรียนรู้และสามารถเช่ือมโยงส่ิงท่ีได้เรียนรู้ใน
เรียนรขู้ องตนเองตง้ั แต่เริ่มต้นจนสนิ้ สุดกระบวนการเรยี นรู้ โดยอาจท�ำ ไดด้ ังนี้ หอ้ งเรยี นกบั สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ตลอดจนเหน็ ความส�ำ คญั
ของการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จดั เนอ้ื หาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจและความถนดั
ของผู้เรยี น โดยคำ�นงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ผู้เรียนควรมีโอกาสได้รู้จักและคุ้นเคยกับการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกิด
ขึ้นจริง ซึ่งอาจเพ่ิมระดับความซับซ้อนของข้อมูลให้เหมาะสมกับวัย
ผู้สอนกระตุ้นหรือจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้เกิดคำ�ถามหรือข้อสงสัย ของผู้เรียน เชน่ ผเู้ รยี นระดับประถมศกึ ษาได้ฝึกฝนการวิเคราะหแ์ ละ
ทอี่ ยากค้นหาคำ�ตอบ สร้างคำ�อธิบายจากข้อมูลที่เก็บได้จริงแต่ไม่มีความซับซ้อน ส่วนใน
ระดับมัธยมศึกษาอาจให้ผู้เรียนได้ฝึกการวิเคราะห์และอธิบายข้อมูล
ผู้เรียนใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อค้นหา ขนาดใหญ่ (Big Data) ซ่ึงเป็นขอ้ มูลท่หี ลากหลาย ซบั ซ้อน มีปริมาณ
ค�ำ ตอบทส่ี งสยั โดยเรมิ่ จากการลงมอื สบื เสาะหาความรตู้ ามค�ำ แนะน�ำ มาก และเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ จงึ ไมส่ ามารถน�ำ มาจดั กระท�ำ หรอื
จนกระทงั่ สามารถออกแบบและวางแผนการสบื เสาะ เพอื่ เกบ็ รวบรวม จัดการได้ด้วยวิธีการหรอื เครือ่ งมือแบบเดิม
ข้อมูลและหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ แลว้ น�ำ มาสรา้ งคำ�อธิบายดว้ ยตนเอง
ผเู้ รยี นมโี อกาสน�ำ ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปบรู ณาการ
ผเู้ รยี นควรมโี อกาสไดฝ้ กึ ฝนและพฒั นาแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรต์ า่ ง ๆ กบั ความรจู้ ากแขนงวชิ าอนื่ ๆ เชน่ คณติ ศาสตร์ มาแกป้ ญั หาทเี่ กย่ี วขอ้ ง
อย่างลุ่มลึกและเชื่อมโยงกันผ่านการทำ�กิจกรรมท่ีหลากหลาย กบั ชวี ติ จรงิ หรอื เกดิ ขน้ึ จรงิ โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม
ท้ังในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรียน

ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง สม่ำ�เสมอและเหมาะสม
กบั วยั

ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องตามยุคสมัยในการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่น ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ ใช้
สบื ค้นขอ้ มลู ท้ังจากแหลง่ ขอ้ มูลปฐมภมู แิ ละทุตยิ ภมู ิ ใช้จัดกระทำ�และ
สือ่ ความหมายขอ้ มลู ใชส้ ร้างแบบจ�ำ ลอง

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

42

แนวทางการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ บบสืบเสาะหาความรู้ ตามมาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษาแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา
(National Science Education Standards) โดยสภาวิจัยแห่งชาติ (NRC, 1996)
ในการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในห้องเรียนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้นิยาม “การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์” (Scientific Inquiry) ว่าเป็น
สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ และธรรมชาติการเรียนรู้ของ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ท่ีนักวิทยาศาสตร์ใช้เพ่ือศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ
มนุษย์น้ัน ครูสามารถเลือกกลวิธีในจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายตามความ ท่ีเกิดขึ้นในธรรมชาติ และนำ�เสนอผลการศึกษานั้นตามสารสนเทศหรือ
เหมาะสมกับเนื้อหา เวลา บริบท และปัจจัยอ่ืน ๆ กลวิธีที่สามารถนำ�มาใช้จัดการ หลักฐานต่าง ๆ ท่รี วบรวมได้
เรียนรู้ในห้องเรียนได้ เช่น การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based
Learning) การเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry-Based Learning) การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบสืบเสาะหา
ความรู้ จึงหมายถึงการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง
“การสืบเสาะ (Inquiry)” เป็นกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดย เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาทางวิทยาศาสตร์ควบคู่ไปกับทักษะ
เลียนแบบวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับ กระบวนการต่าง ๆ ระหว่างกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบเดียวกัน
ธรรมชาติ แม้ว่าจะมีการนำ�การเรียนรู้แบบสืบเสาะมาใช้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กบั ทนี่ กั วทิ ยาศาสตรใ์ ชเ้ พอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจปรากฏการณต์ ามธรรมชาติ จงึ กลา่ วไดว้ า่
มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลาหลายปี ปจั จบุ นั กย็ งั ปรากฏความสบั สนหลายประการเกย่ี ว หั ว ใ จ สำ � คั ญ ข อ ง ก า ร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ใ น ช้ั น เ รี ย น ก็ คื อ
กบั การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะ ดังน้ี การให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการในการสำ�รวจตรวจสอบ (Investigation Process)
และรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานต่าง ๆ มาใช้อธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปัญหา
๑. ก า ร สื บ เ ส า ะ ห า ค ว า ม รู้ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฏ จั ก ร ก า ร เ รี ย น รู้ ขอ้ สงสยั ทตี่ นมเี พอื่ ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั การหรอื เนอ้ื หาทางวทิ ยาศาสตร์
แบบ ๕ ขั้น (5E Learning Cycle) เปน็ สิง่ เดยี วกนั ซึ่งการสืบเสาะหาความรู้ที่ผู้เรียนได้ทำ�ระหว่างการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีส่วนที่
คลา้ ยคลงึ กบั วิธกี ารท่นี กั วทิ ยาศาสตรใ์ ชใ้ นการเรียนรูส้ ่งิ ตา่ ง ๆ ท่สี นใจดังตารางที่ ๓
๒. การจดั การเรียนร้วู ิทยาศาสตรต์ ้องจัดแบบสบื เสาะหาความรู้เท่าน้ัน

๓. การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรคู้ อื ตอ้ งใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ผตู้ งั้ ค�ำ ถามและ
ทำ�การสืบเสาะเพื่อตอบค�ำ ถามทต่ี นตั้งไวด้ ้วยตวั เอง

๔. การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้คือการมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือทำ�
กิจกรรม (hands-on activity) เพ่อื ฝกึ ฝนทักษะกระบวนการมากกว่า
การสร้างองคค์ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์

๕. ความตื่นเต้นสนุกสนานของผู้เรียนระหว่างทำ�กิจกรรมเป็นตัวบ่งช้ี
ระดับของการเรียนร้แู บบสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

43

ตารางที่ ๓ การเปรยี บเทียบการสืบเสาะหาความรู้ของนักวทิ ยาศาสตรแ์ ละของผเู้ รียน

การสบื เสาะหาความรขู้ องนกั วิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความร้ขู องผู้เรยี น
๑. สงั เกต
๒. เกิดขอ้ สงสยั /ปญั หา ๑. เกิดขอ้ สงสัย/ปัญหา
๓. ก�ำ หนดปัญหาจากความรูพ้ ้ืนฐาน ๒. กำ�หนดปญั หา
๔. รวบรวมข้อมลู โดยใช้เครือ่ งมอื และ/หรอื ๓. พยากรณ์หรือตง้ั สมมติฐาน
๔. วางแผนและดำ�เนนิ การอย่างงา่ ยเพื่อสืบเสาะ
ความรู้ทางคณติ ศาสตร์
๕. คน้ หาข้อมูลจากงานวจิ ยั ที่ผา่ นมา ค้นหาคำ�ตอบ

๖. อธบิ ายสง่ิ ทศี่ กึ ษา ๕. รวบรวมข้อมลู จากการสงั เกต ทดลอง
๗. เผยแพรผ่ ลการศกึ ษาโดยมขี อ้ มลู /หลกั ฐานสนบั สนนุ หรือสรา้ งแบบจ�ำ ลอง

๘. ส่อื สารส่งิ ทคี่ ้นพบ ๖. สรา้ งค�ำ อธบิ ายจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
๙. อธิบายเพิ่มเติมส่ิงทศี่ กึ ษา ๗. พิจารณาและเปรียบเทียบคำ�อธิบายของตนเอง
๑๐. เผยแพรผ่ ลการศกึ ษาโดยมขี อ้ มลู /หลกั ฐานสนบั สนนุ
กับค�ำ อธบิ ายอ่ืน ๆ

๘. ส่ือสารส่งิ ทค่ี ้นพบ
๙. ตรวจสอบคำ�อธิบาย

ทมี่ า: ปรับปรงุ จาก National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning.

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

44

การสืบเสาะหาความรู้ในห้องเรียนสามารถทำ�ได้หลากหลายระดับ ต้ังแต่การท่ีผู้สอนเป็นผู้กำ�หนดการสำ�รวจตรวจสอบของผู้เรียน
เพ่ือตรวจสอบยืนยันสิ่งท่ีรู้มาแล้วไปจนถึงการที่ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนออกแบบการสำ�รวจตรวจสอบอย่างอิสระเพื่อสำ�รวจปรากฏการณ์
ที่ยังไมส่ ามารถอธิบายได้

การจัดการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์โดยใหผ้ ูเ้ รยี นใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ บ่งเป็น ๓ ระดบั คือ

๑. การสบื เสาะแบบกำ�หนดโครงสร้าง
๒. การสบื เสาะแบบกึ่งก�ำ หนดโครงสรา้ ง
๓. การสบื เสาะไม่กำ�หนดโครงสร้าง

โดยบทบาทของผูส้ อนและผู้เรยี นแตล่ ะระดับมีความแตกตา่ งกัน ดังแสดงในตารางต่อไปน้ี

ตารางที่ ๔ ระดบั ของการสอนวิทยาศาสตรแ์ บบสืบเสาะหาความรู้

ระดับของการเรยี นรูแ้ บบสืบเสาะหาความรูท้ างวิทยาศาสตร์

ข้ัน ระดับท่ี ๑ ระดับท่ี ๒ ระดบั ท่ี ๓
การกำ�หนดปัญหา
กระบวนการแกป้ ญั หา ผู้สอนหรือหนังสือเรียนเป็น ผู้สอนหรือผู้เรยี นเปน็ ผู้ ผเู้ รียนเปน็ ผ้กู ำ�หนดปัญหา
แนวทางการแกป้ ญั หา ผู้ก�ำ หนดปัญหา กำ�หนดปัญหา

ผู้สอนหรือหนังสือเรียนเป็น ผ้เู รียนเปน็ ผู้ออกแบบ ผู้เรียนเป็นผอู้ อกแบบ
ผู้กำ�หนดวิธกี ารแกป้ ัญหา การแกป้ ญั หา การแก้ปญั หา

ผู้เรียนแก้ปัญหาตามวิธีการท่ี ผเู้ รยี นเป็นผูแ้ ก้ปญั หา ผเู้ รียนเป็นผู้แกป้ ัญหา
ก�ำ หนดไว้

การจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ตล่ ะแบบนน้ั มขี อ้ ดแี ละขอ้ จ�ำ กดั ทแี่ ตกตา่ งกนั ผสู้ อนตอ้ งพจิ ารณา
ระดับของการสืบเสาะหาความรู้ตามความเหมาะสมของเนื้อหา เวลาในการจัดการเรียนรู้ ความสามารถของผู้เรียน บริบทของห้องเรียนและ
โรงเรียน รวมถงึ ความมนั่ ใจของตัวผ้สู อนเอง

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

45

แนวทางการใชค้ �ำ ถามกับการส่งเสริมการคิดและการพัฒนา ผู้เรียนมีเวลาคิดอย่างเหมาะสมหลังจากได้ฟังคำ�ถามและคำ�ตอบ งานวิจัย
ด้านพทุ ธิพิสยั ตามอนกุ รมวิธานของบลูม และอนกุ รมวธิ าน มากมายแสดงให้เห็นว่าเมื่อผู้เรียนได้มีเวลาคิดหลังจากได้ฟังคำ�ถามและ
ทีป่ รบั ปรงุ มาจากบลมู คำ�ตอบจากเพ่ือนแล้ว ผู้เรียนจะสามารถคิดและอภิปรายเก่ียวกับเรื่องนั้น ๆ ได้
ลึกซ้ึงมากขึ้น หากเป็นคำ�ถามท่ีเน้นการคิดข้ันพ้ืนฐาน ไม่ซับซ้อนมาก ผู้สอน
การสนทนาหรอื อภปิ รายระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รยี น หรอื ระหวา่ งผเู้ รยี นเอง อาจใหเ้ วลาในการคิดประมาณ ๓ – ๕ วินาที แตห่ ากเป็นค�ำ ถามระดับสูงมคี วาม
จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นพฒั นาทกั ษะการคดิ รวมถงึ ทกั ษะการสอ่ื สาร ดงั นน้ั ค�ำ ถามของผสู้ อน ซบั ซอ้ นมาก อาจให้เวลาในการคิดประมาณ ๑๐ วนิ าที (Rowe, 1974)
ระหวา่ งการจดั การเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นจงึ มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ ในการสง่ เสรมิ การคดิ
ของผ้เู รียน ลกั ษณะของค�ำ ถามที่ดี คือ กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคดิ ออกมาดงั  ๆ ผสู้ อนตอ้ งพยายามใหผ้ เู้ รยี นอธบิ าย
การคดิ ของตนเองออกมาเป็นค�ำ พดู
๑. มีความหมายชดั เจน เขา้ ใจง่าย ไม่ก�ำ กวม
๒. เปน็ ค�ำ ถามทก่ี ระชับ ใช้คำ�ถามของผู้เรียนเป็นส่วนหนึ่งของการสืบเสาะค้นหาคำ�ตอบ ตั้งสมมติฐาน
๓. เป็นประโยคท่สี มบูรณ์ หรืออภิปราย คำ�ถามที่ผู้เรียนต้ังข้ึนมักจะนำ�ไปสู่การคิดที่มีคุณภาพและเม่ือ
๔. ไม่ยากหรือง่ายเกินไปส�ำ หรับผู้เรยี น ผู้สอนใช้คำ�ถามเหล่านี้ ผู้เรียนมักจะให้ความสนใจและร่วมมือในการเรียนรู้
๕. เปน็ คำ�ถามท่ีกระต้นุ ให้เกดิ การคิด มากขึน้
๖. เปน็ ค�ำ ถามทส่ี ามารถน�ำ ไปสกู่ ารสบื เสาะหาความรู้ หรอื คน้ หาค�ำ ตอบได้
ผู้สอนสาธิตหรือเป็นตัวอย่างให้ผู้เรียนในการถามคำ�ถามแบบต่าง ๆ ผู้สอน
การจดั การเรยี นรู้ โดยใช้คำ�ถามเพอ่ื สง่ เสรมิ การคิดอาจมีแนวทางดังนี้ และผู้เรียนสามารถช่วยกันตั้งคำ�ถามเพ่ือที่จะกระตุ้นการคิดแบบต่าง ๆ
โดยผู้สอนสามารถเป็นต้นแบบในการใช้คำ�ถามที่ดี คำ�ถามที่ส่งเสริมการคิด
ก่อนการสอน ผู้สอนควรแต่งคำ�ถามที่ท้าทายการคิดระดับต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า และการนำ�ไปสกู่ ารสืบเสาะหาความรู้
เพ่ือให้มัน่ ใจวา่ คำ�ถามมีหลากหลายระดบั และตรงกบั จุดประสงค์หรอื เปา้ หมาย
ท่ตี ้งั ไว้ เช่น การอภิปรายซักถามมีความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ดังน้ันครูควรวางแผนการสอน คิดรายการคำ�ถามที่หลากหลายระดับการเรียนรู้
- เว็บไซต์ทั้งสองนี้แตกต่างกนั อยา่ งไรบ้าง (การวเิ คราะห)์ ตามอนุกรมวิธานที่นกั จิตวทิ ยาและนกั การศกึ ษาไดจ้ ำ�แนก ดงั นี้
- ผู้เขียนบทความนตี้ อ้ งการสือ่ สารอะไรกับเรา (การใชว้ ิจารณญาณ)
- เราจะแต่งตอนจบของเรอื่ งนใ้ี หมไ่ ดอ้ ยา่ งไร (การสร้างสรรค)์
- เรือ่ งราวทอี่ า่ นทำ�ใหเ้ รารสู้ ึกอยา่ งไร (การประเมิน)

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

46

อนุกรมวธิ านของบลูม (Bloom’s Taxonomy)

ปคี .ศ. ๑๙๕๖ (พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๙) เบนจามนิ บลมู (Benjamin S. Bloom) ระดบั ที่ ๒ ระดบั ความเข้าใจ (Comprehension)
และคณะ ไดเ้ ผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการทม่ี ชี อ่ื วา่ อนกุ รมวธิ านวตั ถปุ ระสงคท์ างการ
ศกึ ษาของเบนจามนิ บลมู (Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives) หรอื เป็นการเรียนรู้ในระดับท่ีผู้เรียนเข้าใจในเร่ืองที่เรียนรู้ท้ังด้านความหมาย
ทร่ี จู้ กั กนั สนั้  ๆ วา่ อนกุ รมวธิ านของบลมู (Blooms’ Taxonomy) ซงึ่ กค็ อื การจดั จ�ำ แนก ความสัมพันธ์ และความรู้ทเี่ ปน็ โครงขา่ ยระหว่างแนวคดิ (Network of Concepts)
การเรยี นรอู้ อกเปน็ ๓ ดา้ น คอื ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain) ดา้ นทกั ษะพสิ ยั ทง้ั หมดทเี่ รยี น การประเมนิ การเรยี นรรู้ ะดบั นที้ �ำ ไดโ้ ดยใหผ้ เู้ รยี นแสดงพฤตกิ รรมหรอื
(Psychomotor Domain) และด้านจิตพิสัย (Affective Domain) สำ�หรับด้าน ใช้ความสามารถในการอธิบาย บรรยาย แปลความหมาย ขยายความ สรุปอ้างอิง
พุทธพิ ิสยั นั้น บลูมไดแ้ บ่งการเรยี นรอู้ อกเปน็ ๖ ระดบั ดงั น้ี (จรยิ า เสถบุตร ๒๕๔๗; จากขอ้ มลู (Data) ทผี่ า่ นการประมวลเปน็ สารสนเทศ (Information) แลว้ เชน่ กราฟ
ทิศนา แขมมณ,ี ๒๕๔๕) แผนภมู ิ ตาราง

ระดบั ที่ ๑ ระดบั ความร้ทู ่ีเกดิ จากความจำ� (Knowledge) ตัวอยา่ งค�ำ ถามเพอื่ ประเมนิ ความเขา้ ใจ เช่น

เป็นการเรียนรู้ในระดับท่ีผู้เรียนสามารถตอบเก่ียวกับสาระหรือ - เพราะเหตใุ ดในทะเลทรายจึงมพี ืชด�ำ รงชวี ิตอยไู่ ด้น้อย
ขอ้ เทจ็ จรงิ ค�ำ นยิ าม ชอ่ื สตู รตา่ ง ๆ หลกั เกณฑ์ ทฤษฎี การประเมนิ การเรยี นรรู้ ะดบั - ทำ�ไมดวงจนั ทรจ์ งึ มีลักษณะแตกต่างกันในแตล่ ะคืน
นท้ี �ำ ไดโ้ ดยใหผ้ เู้ รยี นแสดงพฤตกิ รรมวา่ ใชค้ วามสามารถในการจ�ำ และระลกึ ถงึ สง่ิ ทไี่ ด้ - เพราะเหตใุ ดจึงตอ้ งสร้างเขอื่ นใหฐ้ านเขือ่ นมีความกวา้ งกว่าสนั เข่ือน
เรียนรหู้ รอื เคยพบมาแล้วมาตอบคำ�ถาม
ระดบั ที่ ๓ ระดับการนำ�ไปใช้ (Application)
ตวั อย่างคำ�ถามเพอื่ ประเมนิ การรู้จำ� เช่น
เปน็ การเรยี นรใู้ นระดบั ทผี่ เู้ รยี นน�ำ ความรไู้ ปใชใ้ นการหาค�ำ ตอบและแกไ้ ข
- ส่งิ แวดล้อมหมายถงึ อะไร ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ การประเมินการเรียนรู้ระดับนี้ทำ�ได้โดยให้ผู้เรียนใช้
- ระบบสุรยิ ะประกอบด้วยอะไรบา้ ง ความสามารถในการนำ�เอาข้อเท็จจริง (Fact) ความคิด (Idea) หลักการ
- โมเลกลุ คอื อะไร (Principle) กฎ (Law) วธิ กี าร หรอื สตู รตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการตอบค�ำ ถามหรอื แกป้ ญั หา
ในสถานการณ์ใหม่

ตัวอยา่ งคำ�ถามเพ่อื ประเมินการน�ำ ไปใช้ เช่น

- ถา้ อนุ่ แกงไปเรือ่ ย ๆ จะเกิดอะไรขนึ้ บ้าง
- ในการทำ�น้ำ�เชื่อม ถ้าอยากให้น้ำ�ตาลทรายทั้งหมดละลายได้เร็วข้ึน

จะทำ�อย่างไรไดบ้ า้ ง
- เราจะวัดความสงู ของต้นไมไ้ ดอ้ ยา่ งไร

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

47

ระดับท่ี ๔ ระดับการวิเคราะห์ (Analyzation) ตวั อย่างคำ�ถามเพือ่ ประเมินการสงั เคราะห์ เช่น

เปน็ การเรยี นรใู้ นระดบั ทผี่ เู้ รยี นคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและลกึ ซง้ึ เนอื่ งจาก - เราจะวางแผนการบันทึกจำ�นวนแมลงที่บินเข้าและออกจากสวนได้
ไม่สามารถหาขอ้ มูลที่มอี ยู่ไดโ้ ดยตรง มี ๒ ลกั ษณะ คือ อยา่ งไร

๑. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทมี่ อี ยเู่ พอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ และหลกั การทสี่ ามารถน�ำ ไปใช้ - ถ้าต้องอธิบายเรื่องความหนาแน่นให้น้องช้ัน ป.๔ เข้าใจ จะมีวิธีการ
ในสถานการณ์อื่นๆ ได้ อย่างไรบ้าง

๒. วิเคราะห์ข้อสรุป ข้ออ้างอิง หรือหลักการต่าง ๆ เพื่อหาหลักฐานท่ี - ถา้ ตอ้ งสรา้ งแบบจ�ำ ลองแสดงลกั ษณะของอะตอมอกี ครงั้ หนง่ึ จะท�ำ ให้
สนับสนนุ หรอื ปฏิเสธข้อความนัน้ เหมอื นจรงิ มากกวา่ แบบจำ�ลองท่ีทำ�ไว้กอ่ นหน้าน้ไี ด้อย่างไรบา้ ง

การประเมินการเรียนรู้ระดับนี้ทำ�ได้โดยให้ผู้เรียนใช้ความสามารถในการ ระดบั ที่ ๖ ระดับการประเมนิ ผล (Evaluation)
แยกแยะเร่ืองราวให้กระจายออกเป็นส่วนย่อย ๆ จนกระทั่งมองเห็นความสำ�คัญ
หาความสัมพันธแ์ ละหลกั การของเร่ืองน้ันมาตอบค�ำ ถาม เป็นการเรียนรู้ในระดับท่ีผู้เรียนต้องใช้การตัดสินคุณค่า โดยต้องมีการ
ตงั้ เกณฑใ์ นการประเมนิ และแสดงความเหน็ ในเรอ่ื งนนั้  ๆ ได้ การประเมนิ การเรยี นรู้
ตวั อยา่ งคำ�ถามเพอื่ ประเมินการวิเคราะห์ เชน่ ระดับนี้ทำ�ได้โดยให้ผู้เรียนใช้ความสามารถในการวินิจฉัยหรือตัดสินโดยใช้เหตุผล
มาตอบค�ำ ถาม
- การทดลองน้ี นักเรยี นตอ้ งควบคมุ อะไรให้คงทบ่ี ้าง
- ดาวศุกร์และโลกมีอะไรเหมือนกนั และแตกต่างกันบา้ ง ตัวอยา่ งคำ�ถามเพือ่ ประเมนิ การประเมนิ ผล เช่น
- ถ้านำ้�มันปิโตรเลียมและแก๊สธรรมชาติหมดไปจากโลก จะส่งผลต่อ
- นกั เรยี นคดิ วา่ เหตผุ ลของนกั ดาราศาสตรใ์ นการตดั สนิ ใหด้ าวพลโู ตเปน็
มนษุ ยอ์ ยา่ งไรบา้ ง ดาวเคราะหแ์ คระในระบบสรุ ยิ ะเพยี งพอแลว้ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด

ระดบั ที่ ๕ ระดับการสังเคราะห์ (Synthesis) - นกั เรยี นคดิ วา่ การคน้ พบทฤษฎสี มั พนั ธภาพของไอนส์ ไตนม์ ปี ระโยชน์
หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
เป็นการเรียนรู้ในระดับที่ผู้เรียนสามารถคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ ทำ�นาย
สถานการณ์ในอนาคต คิดวิธีแก้ไขปัญหา การประเมินการเรียนรู้ระดับน้ีทำ�ได้ - หากประเทศไทยจะประกาศให้การโคลนเป็นเร่ืองที่ทำ�ได้โดยถูก
โดยให้ผู้เรียนใช้ความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเร่ืองราวเดียวกัน กฎหมาย นักเรยี นเห็นดว้ ยหรอื ไม่ เพราะเหตุใด
หรือสร้างรูปแบบหรือแนวคิดใหม่ หรือการปรับปรุงของเก่าให้ดีขึ้นและมีคุณภาพ
สงู ข้ึนมาตอบค�ำ ถาม

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

48

อนุกรมวิธานทป่ี รบั ปรุงมาจากบลูม
(Revised Bloom’s Taxonomy)

ต่อมาในปี ค.ศ. ๒๐๐๑ (พุทธศักราช ๒๕๔๔) นักจิตวิทยาชื่อ ระดับที่ ๒ ระดบั ความเข้าใจ (Comprehension)
ลอรนิ แอนเดอรส์ นั (Lorin Anderson) ซง่ึ เปน็ ลกู ศษิ ยข์ องบลมู และเดวดิ คราธวอหล์
(David Krathwohl) เพ่ือนร่วมงานที่เคยเผยแพร่อนุกรมวิธานของบลูมมา เป็นระดับที่ผู้เรียนสามารถสร้างคำ�อธิบาย สื่อสาร หรือแสดงให้เห็น
กอ่ นหนา้ น้ี ไดท้ บทวนและปรบั ปรงุ อนกุ รมวธิ านของบลมู โดยใชช้ อื่ วา่ อนกุ รมวธิ าน ความเข้าใจข้อเท็จจริง แนวคิด หรือความรู้ที่ได้เรียนซึ่งอาจทำ�ได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
การเรยี น การสอน และการประเมนิ (A Taxonomy for Learning, Teaching, and เชน่ อธิบาย จ�ำ แนก เปรียบเทยี บ สรา้ งแผนภูมหิ รอื แผนผงั
Assessment) หรือท่ีเรียกสั้น ๆ ว่า อนุกรมวิธานท่ีปรับปรุงมาจากบลูม (Revised
Bloom’s Taxonomy) (Anderson & Krathwohl, 2001) โดยการปรับปรงุ อนกุ รม ตัวอย่างคำ�ถามเพือ่ ประเมินความเขา้ ใจ เช่น
วิธานของบลูมให้เป็นพลวัตมากย่ิงข้ึนโดยการเปลี่ยนแต่ละระดับของบลูมจาก
คำ�นามให้เป็นคำ�กิริยาเพื่อแสดงถึงกระบวนการของนักคิดเพ่ือพัฒนาสติปัญญา - แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสเหมือนและแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
ด้านพทุ ธพิ ิสัย ซ่งึ ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น ๖ ระดับ ดงั น้ี - แผนภมู แิ สดงความสงู ของพชื แตล่ ะชนดิ ในหนง่ึ สปั ดาหส์ ามารถอธบิ าย

ระดบั ที่ ๑ ระดับความรทู้ เี่ กดิ จากความจ�ำ (Knowledge) เกี่ยวกับการเจริญเติบโตของพชื ไดว้ า่ อยา่ งไร
- เพราะเหตุใดนักบินอวกาศจึงต้องสวมชุดอวกาศเมื่อออกไปปฏิบัติ
เป็นระดับท่ีผู้เรียนสามารถจดจำ�หรือย้อนระลึกถึงสิ่งท่ีเคยเรียนรู้แล้ว
สามารถน�ำ ความรู้ทีอ่ ยู่ในความทรงจำ�ออกมาได้ ภารกจิ ภายนอกยานอวกาศ

ตวั อย่างค�ำ ถามเพือ่ ประเมินการรจู้ ำ� เช่น ระดับที่ ๓ ประยุกต์ใช้ (Apply)

- แรงใดบา้ งจัดเปน็ แรงไมส่ ัมผสั เป็นระดับท่ีผู้เรียนสามารถลงมือทำ�หรือดำ�เนินการอย่างใดอย่างหน่ึง
- อะตอมคืออะไร ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ตามสถานการณท์ ี่ก�ำ หนด โดยนำ�ความร้ทู ่เี รยี นมาใชป้ ระโยชน์
- สมการการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื เป็นอย่างไร
ตวั อย่างคำ�ถามเพื่อประเมินการนำ�ไปใช้ เช่น

- จะเกดิ อะไรขึน้ ถา้ แกงที่กำ�ลงั เดือดได้รับพลังงานความรอ้ นมากขน้ึ
- ถ้านำ�พืชแต่ละชนิดไปวางไว้ในที่ท่ีไม่มีแสงแดดส่องถึง พืชแต่ละชนิด

จะมกี ารเปลยี่ นแปลงเหมอื นหรือแตกตา่ งกัน อย่างไร
- จะเลอื กใช้วสั ดชุ นิดใดมาสรา้ งเสอื้ กันฝน เพราะเหตุใด

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

49

ระดบั ท่ี ๔ วเิ คราะห์ (Analyze) ระดบั ที่ ๖ สรา้ งสรรค์ (Create)

เป็นระดับท่ีผู้เรียนสามารถแจกแจง แยกแยะส่ิงของ วัตถุ เหตุการณ์ เป็นระดับที่ผู้เรียนสามารถนำ�ส่วนย่อยต่าง ๆ หรือองค์ประกอบย่อยเข้า
ปรากฏการณ์ ระบบต่างๆ ออกเป็นองค์ประกอบหรือส่วนย่อย ๆ  และพิจารณา มาเช่ือมโยงกันเป็นภาพรวมของส่ิงของ วัตถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ระบบต่าง ๆ
ความเกย่ี วขอ้ งกนั ของสว่ นยอ่ ยแตล่ ะสว่ น รวมถงึ พจิ ารณาความเกยี่ วขอ้ งของแตล่ ะ อยา่ งมเี หตผุ ล โดยผา่ นการออกแบบ การวางแผน การสรา้ ง การผลติ การกอ่ ใหเ้ กดิ
สว่ นยอ่ ยกับสงิ่ ของ วตั ถุ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ ระบบต่างๆ ท่ีไดแ้ ยกแยะออกมา (Generating)

ตัวอยา่ งค�ำ ถามเพื่อประเมนิ การวิเคราะห์ เชน่ ตัวอยา่ งค�ำ ถามเพ่อื ประเมินการสร้างสรรค์ เชน่

- ปากใบมคี วามสำ�คญั อยา่ งไรตอ่ การทำ�หนา้ ท่ขี องใบพืช - เสนอแนวทางอ่ืน ๆ ที่จะทำ�ให้ประเทศไทยมีพลังงานไว้ใช้ผลิตไฟฟ้า
- การถ่ายโอนความร้อนระหวา่ งสสารมีผลตอ่ การเกิดลมอยา่ งไร ไดเ้ พียงพอต่อความต้องการของคนทั้งประเทศ
- ระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงของนำ้�แข็งขั้วโลก และแต่ละ
- นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยกบั การน�ำ เทคโนโลยตี ดั ตอ่ พนั ธกุ รรมมาใชก้ บั ผลผลติ
ปัจจยั มีความสมั พันธก์ นั หรือไม่ อยา่ งไร ทางการเกษตรหรือไม่ เพราะเหตุใด

ระดบั ที่ ๕ ประเมินคา่ (Evaluate) - เพราะเหตใุ ดหมาปา่ จงึ ไมส่ ามารถท�ำ ลายบ้านของหมูตวั ที่ ๓ ได้
- ถา้ สามารถเปลย่ี นตอนจบของนทิ านเรอ่ื งน้ี นกั เรยี นจะเปลยี่ นตอนจบ
เป็นระดับที่ผู้เรียนสามารถตัดสินคุณค่าโดยอาศัยเกณฑ์และมาตรฐาน
ซงึ่ อาจทำ�ได้ดว้ ยวธิ ีวิพากษ์ (Critisize) ตรวจสอบ (Checking) ของนิทานเรอ่ื งน้ใี หเ้ ป็นอย่างไร

ตวั อย่างค�ำ ถามเพอื่ ประเมินการประเมินค่า เช่น

- แบบจำ�ลองใดท่ีอธิบายเก่ียวกับระบบสุริยะได้ครบถ้วนและใกล้เคียง
กบั ขอ้ เทจ็ จรงิ มากท่สี ุด

- ถ้าต้องอธิบายเร่ืองความหนาแน่นให้น้องชั้น ป.๔ เข้าใจ จะมีวิธีการ
อย่างไรบา้ ง

- ถา้ ตอ้ งสรา้ งแบบจ�ำ ลองแสดงลกั ษณะของอะตอมอกี ครงั้ หนงึ่ จะท�ำ ให้
เหมือนจรงิ มากกวา่ แบบจ�ำ ลองท่ที ำ�ไว้กอ่ นหนา้ น้ไี ด้อย่างไรบา้ ง

กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

50

อนุกรมวิธานของบลูมและอนกุ รมวิธานทป่ี รบั ปรุงจากบลมู สามารถแสดงได้ ดังภาพ

อนุกรมวธิ านของบลูม อนกุ รมวิธานทป่ี รับปรงุ จากบลมู

ประเมปนิ รคะ�าเมนิ ค�า สร�างสสรรร�าคง� สรรค�
การสงั กเาครรสางัะเหค� ราะห� ประเมปนิ รคะ�าเมินค�า
การวเิ กคารราวะิเหค� ราะห� วิเคราวะเิ หค� ราะห�
การนำกไาปรในชำ� ไปใช� ประยุกปตระ�ใชย� ุกต�ใช�

ความเคขว�าาใมจเข�าใจ เข�าใจเข�าใจ
ความรค�ู วามรู� จดจำจดจำ

ภาพที่ ๗  เปรยี บเทยี บอนุกรมวิธานของบลูมและอนกุ รมวิธานท่ีปรับปรงุ จากบลมู

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

51

๙. การวางแผนการจดั การเรยี นรูด้ ้วยวฏั จักรการเรยี นรแู้ บบต่าง ๆ

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติโดย วัฏจักรการเรยี นรู้ของคาร์ปลซั (Karplus Learning Cycle Model)
ปราศจากการวางแผนการสอนอย่างเป็นระบบ รอบคอบตามลำ�ดับขั้นตอน
ที่เหมาะสม ย่อมไม่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ผู้สอน ในช่วงปีค.ศ. ๑๙๖๐ (พุทธศักราช ๒๕๑๐) Robert Karplus และ
จำ�เป็นต้องมีการวางแผนการสอนท่ีมากกว่าให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติหรือเล่นสนุก คณะทำ�งานจาก Science Curriculum Improvement Study; SCIS ได้เสนอ
เท่านั้น แต่ต้องมีการผสมผสานข้ันตอนหรือกระบวนการอ่ืนๆ อย่างมีลำ�ดับ วฏั จักรการเรยี นรู้ ซึ่งประกอบดว้ ย ๓ ขนั้ ตอน ดังแสดงในภาพที่ ๘
ข้ันตอนที่เหมาะสมเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ที่เหมาะสม การผสมผสานขั้นตอนต่าง ๆ
เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
เรียกว่า วัฏจักรการเรียนรู้ เช่น วัฏจักรการเรียนรู้ของคาร์ปลัซ วัฏจักรการเรียนรู้
แบบ ๕ ขั้น วฏั จกั รการเรยี นรแู้ บบ ๗ ขนั้

งานวิจัยมากมายได้ยืนยันว่า การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เป็นระบบ
มีการวางแผนการจัดการเรียนรู้อย่างรอบคอบ มีลำ�ดับข้ันตอนที่ช่วยให้ผู้เรียน
ไดล้ งมอื สบื เสาะและคน้ หาสง่ิ ตา่ ง ๆ แลว้ ท�ำ ความเชอื่ มโยงสง่ิ ตา่ ง ๆ ทไี่ ดเ้ รยี นรอู้ ยา่ ง
ราบรื่น เหมาะสม จะทำ�ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ียั่งยืนและม่ันคง นอกจากน้ีการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้วัฏจักรการเรียนรู้ยังช่วยพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิทยาศาสตร์
และช่วยให้ผเู้ รียนสนใจเรยี นวิทยาศาสตรม์ ากขึ้นด้วย

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศกึ ษา

52

แต่ละข้ันในวัฏจักรการเรยี นรู้มีจุดมุ่งหมาย ดังน้ี การส�ำ รวจและคน้ หา
- ขั้นสำ�รวจและค้นหา Exploration
เปน็ ขนั้ ทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดส้ �ำ รวจปรากฏการณห์ รอื สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั
- ข้นั แนะนำ�แนวคิด วฏั จกั รการเรยี นรู�
เปน็ ขนั้ ทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดส้ รา้ งแนวคดิ ผา่ นการพดู คยุ ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ของคาร�ปลัช
เพื่อนหรอื ผู้สอน หรือจากการอา่ นหนงั สือเรียน
- ข้นั ประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ
เปน็ ขน้ั ทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ระยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ทเี่ รยี นรมู้ าเพอ่ื ท�ำ ความ
เขา้ ใจสถานการณใ์ หม่

การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิด การแนะน�ำ แนวคิด
Concept Application Concept Introduction

ภาพท่ี ๘  วฏั จกั รการเรียนรูข้ องคาร์ปลซั

กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

53

วัฏจกั รการเรียนรแู้ บบ ๕ ขนั้ (5E Learning Cycle Model)

วัฏจักรการเรียนรู้แบบ ๕ ขั้นน้ีได้พัฒนาต่อยอดมาจากวัฏจักรการเรียนรู้ของคาร์ปลัซ โดยกลุ่มผู้พัฒนาหลักสูตรชีววิทยาที่มีช่ือว่า
Biological Sciences Curriculum Study; BSCS ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการเพิ่มอีก ๒ ข้ันตอนเข้าไปในวัฏจักรการเรียนรู้ของคาร์ปลัซ
และก�ำ หนดชอื่ ขนั้ ตอนทงั้ ๕ ขน้ึ ใหม่ ไดแ้ ก่ ขนั้ สรา้ งความสนใจ ขนั้ ส�ำ รวจและคน้ หา ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ ขน้ั ขยายความรู้ และขนั้ ประเมนิ
ความรู้ (Bybee, 2015) การเปรียบเทียบในวัฏจกั รการเรยี นรขู้ องคาร์ปลซั และวฏั จักรการเรียนรู้แบบ ๕ ขน้ั ได้แสดงไว้ ดังตารางท่ี ๕

ตารางที่ ๕ การเปรียบเทียบในวฏั จักรการเรียนรู้ของคาร์ปลชั และวัฏจักรการเรียนรแู้ บบ ๕ ขน้ั

วฏั จักรการเรยี นรูข้ องคาร์ปลัซ วฏั จกั รการเรยี นรู้แบบ ๕ ข้ัน
ขั้นสรา้ งความสนใจ (เพ่มิ เขา้ มาใหม)่
ขั้นส�ำ รวจและค้นหา ขัน้ สำ�รวจและคน้ หา (ดัดแปลงจากคารป์ ลัซ)
ขนั้ แนะน�ำ แนวคิด ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรุป (ดดั แปลงจากคาร์ปลซั )
ขั้นประยกุ ตใ์ ช้แนวคิด ขน้ั ขยายความรู้ (ดัดแปลงจากคารป์ ลซั )
ข้นั ประเมินความรู้ (เพม่ิ เขา้ มาใหม)่

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

54

สรา้ งความสนใจ ในช่วงปลายปี ค.ศ. ๑๙๘๐ (พุทธศักราช ๒๕๓๐) เป็นต้นมา หลักสูตร
Engage วิทยาศาสตร์ของ BSCS และอีกหลายหลักสูตรในสหรัฐอเมริกาและหลายประเทศ
ทวั่ โลกกไ็ ดใ้ ชว้ ฏั จกั รการเรยี นรแู้ บบ ๕ ขนั้ เปน็ กรอบการวางแผนการจดั การเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรใ์ ห้กบั ผเู้ รยี น

วัฏจักรการเรียนรู้น้ีแสดงไว้ดังภาพท่ี ๙ แต่ละขั้นในวัฏจักรการเรียนรู้มี
จุดมงุ่ หมาย ดงั น้ี

- ขั้นสรา้ งความสนใจ
เปน็ การน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นหรอื เรอื่ งทสี่ นใจ ซง่ึ อาจเกดิ ขนึ้ เองจากความสงสยั

ห รื อ อ า จ เ ร่ิ ม จ า ก ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง ตั ว เ อ ง ห รื อ เ กิ ด จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย
ภายในกลุม่

วฏั จักรการเรยี นร�ู - ขน้ั สำ�รวจและคน้ หา
แบบ 5 ขัน้ เป็นการวางแผนกำ�หนดแนวทางการสำ�รวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน

ประเมินความรู้ สำ�รวจและค้นหา กำ�หนดทางเลือกท่ีเป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล
Evaluate Explore ขอ้ สนเทศ หรือปรากฏการณต์ ่าง ๆ

- ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป
เป็นการนำ�เสนอข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และ

นำ�เสนอผลทีไ่ ด้ในรปู แบบต่าง ๆ

ขยายความรู้ อธิบายและลงข้อสรปุ - ขนั้ ขยายความรู้
Elaborate Explain เป็นการนำ�ความรู้ท่ีสร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดท่ี

ได้ค้นคว้าเพ่ิมเติม หรือนำ�แบบจำ�ลอง หรือข้อสรุปท่ีได้ไปใช้อธิบาย
สถานการณห์ รือเหตุการณอ์ น่ื  ๆ

ภาพที่ ๙  วฏั จักรการเรียนรู้แบบ ๕ ขน้ั - ขั้นประเมนิ ความรู้
เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้

อะไรบา้ ง อยา่ งไร มากนอ้ ยเพยี งใด

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

55

วฏั จกั รการเรียนร้แู บบ ๗ ขนั้ (7E Learning Cycle Model)

จากงานวิจัยเร่ืองนักเรียนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร (How students learn science in the classroom, 2005) นักการศึกษา
ของสหรัฐอเมริกาได้เพิ่มข้ันการจัดการเรียนรู้ข้ึนมา ๒ ขั้น จากวัฏจักรการเรียนรู้แบบ ๕ ข้ัน เพ่ือป้องกันการละเลยในเรื่องความรู้เดิม
ของผู้เรียนซ่ึงมีผลต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และผู้เรียนควรได้รับการประเมินและขยายการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองและสม่ำ�เสมอเพ่ือให้เกิด
การเรียนรู้ท่ีลึกซึ้งและย่ังยืน ขั้นตอนในวัฏจักรการเรียนรู้แบบ ๗ ขั้น ได้แก่ ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม ข้ันสร้างความสนใจ ข้ันสำ�รวจและ
คน้ หา ข้นั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป ขัน้ ขยายความรู้ ขนั้ ประเมนิ ความรู้ และข้นั ใช้ความรู้ ซึ่งแสดงไวด้ งั ภาพที่ ๑๐

ขนั้ ตรวจสอบความรเ�ู ดิม

ขน้ั สรา� งความสนใจ ขั้นสร�างความสนใจ

วัฏจักรการเรยี นรู้ ข้นั สำรวจและคน� หา ขน้ั สำรวจและคน� หา วฏั จกั รการเรยี นรู้
แบบ ๕ ข้ัน ขัน้ อธิบายและลงข�อสรปุ ขั้นอธิบายและลงขอ� สรุป แบบ ๗ ข้นั

ขน้ั ขยายความร�ู ข้นั ขยายความรู�
ขัน้ ประเมนิ ความร�ู
ขน้ั ประเมนิ ความรู�

ขน้ั ใชค� วามร�ู

ภาพที่ ๑๐  วฏั จักรการเรียนร้แู บบ ๗ ขน้ั

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศกึ ษา

56

แตล่ ะขนั้ ในวัฏจักรการเรยี นรู้มีจุดมุ่งหมาย ดงั น้ี - ข้นั ขยายความรู้

- ขัน้ ตรวจสอบความร้เู ดิม เป็นการนำ�ความรู้ที่สร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดท่ี
ได้ค้นคว้าเพ่ิมเติม หรือนำ�แบบจำ�ลอง หรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบาย
เปน็ การคน้ หาและวนิ จิ ฉยั ความรทู้ ต่ี ดิ ตวั มาของผเู้ รยี น ซง่ึ อาจเปน็ ความรทู้ ี่ สถานการณ์หรือเหตกุ ารณอ์ ื่น ๆ ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั
สนบั สนนุ หรอื ขดั ขวางการเรยี นรทู้ กี่ �ำ ลงั จะเกดิ ขนึ้ ในหอ้ งเรยี น ซง่ึ จะชว่ ยให้
ผู้สอนวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีตรงกับความต้องการของผู้เรียนได้ - ขั้นประเมินความรู้
ชดั เจน และมปี ระสิทธิภาพมากขึ้น
เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้
- ขั้นสร้างความสนใจ อะไรบ้าง อย่างไร มากน้อยเพียงใด

เปน็ การน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นหรอื เรอื่ งทสี่ นใจ ซงึ่ อาจเกดิ ขนึ้ เองจากความสงสยั - ข้ันใชค้ วามรู้
ห รื อ อ า จ เ ร่ิ ม จ า ก ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง ตั ว เ อ ง ห รื อ เ กิ ด จ า ก ก า ร อ ภิ ป ร า ย
ภายในกลมุ่ เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดน้ �ำ ความรทู้ เี่ รยี นมาใชใ้ นการแกป้ ญั หาหรอื
อธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ท่ีอยู่นอกห้องเรียนหรืออยู่ในชีวิตจริง โดย
- ขน้ั ส�ำ รวจและค้นหา ทไี่ ม่เคยเรยี นรู้มากอ่ น

เป็นการวางแผนกำ�หนดแนวทางการสำ�รวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน
ก�ำ หนดทางเลอื กทเี่ ปน็ ไปได้ ลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ขอ้ สนเทศ
หรือปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ

- ข้ันอธบิ ายและลงข้อสรปุ

เปน็ การน�ำ ขอ้ มลู ขอ้ สนเทศทไ่ี ดม้ าวเิ คราะห์ แปลผล สรปุ ผล และน�ำ เสนอ
ผลทไ่ี ด้ในรปู แบบตา่ ง ๆ

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

57

๑๐.  แนวทางการประเมนิ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ ตลอดจน จุดประสงค์สำ�คัญของการประเมินการเรียนรู้ คือการช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ด้านต่างๆ ของผู้เรียนนั้นจำ�เป็นต้องมีการประเมินการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่พบ
ตั้งแต่เร่ิมต้น ระหว่าง และส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินใน ในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจำ�นวนมากยังให้
รปู แบบทหี่ ลากหลายสอดคลอ้ งตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรู้ รปู แบบการประเมนิ ความสำ�คัญกับการประเมินผลสรุปรวม ท่ีเน้นการทำ�ข้อสอบ รวมถึงการให้
การเรียนรู้ ได้แก่ การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน (Formative Assessment) ความสำ�คัญกับผลลัพธ์ของการประเมินผลสรุปรวมท่ีปรากฏในรูปของระดับ
การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมิน ผลการเรียน (Grade) หรือลำ�ดับของผู้เรียนในช้ันเรียน (Rank) ซ่ึงได้จากการ
การเรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือพัฒนา เปรียบเทียบคะแนนระหว่างผู้เรียนมากกว่าการประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียนท่ี
การเรยี นรู้ และการประเมนิ ตามสภาพจรงิ นนั้ ผสู้ อนจ�ำ เปน็ ตอ้ งสะทอ้ นการประเมนิ เน้นการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาการ
ใหผ้ เู้ รยี นรบั ทราบเพอ่ื ปรบั ปรงุ และพฒั นาตนเอง และผสู้ อนตอ้ งน�ำ ผลการประเมนิ เรียนรู้ของตนเองของผู้เรียน แต่ละคน ส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีจึงก่อให้เกิดวัฒนธรรมการ
มาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้สามารถดำ�เนินการ เรียนรู้แบบท่องจำ�เพื่อสอบ หรือการเรียนรู้เพื่อแข่งขัน ซ่ึงถือเป็นการเรียนรู้แบบ
แก้ไข ช่วยเหลือ หรือหาวิธีการตา่ งๆ เพ่ือช่วยให้ผเู้ รยี นแตล่ ะคนเกิดการเรยี นรู้และ ผิวเผินมากกว่าการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาตนเองซ่ึงผลลัพธ์ของการเรียนรู้จะย่ังยืนกว่า
พัฒนาตนเองได้ตามแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้หรือเป้าหมายของตัวชี้วัดต่าง ๆ (กุศลนิ , ๒๕๕๕; ขจรศกั ด์ิ, เพญ็ จนั ทร์ และวรรณทิพา รอดแรงค้า, ๒๕๔๘)
(กศุ ลนิ , ๒๕๕๕ )

แนวคิดสำ�คัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
คิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพื่อเกิดการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองเตม็ ตามศกั ยภาพ การประเมนิ การเรยี นรจู้ งึ มคี วามส�ำ คญั และจ�ำ เปน็ อยา่ งยงิ่
ตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี น เพราะสามารถท�ำ ใหผ้ สู้ อนประเมนิ ระดบั
พัฒนาการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น

กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

58

แนวคดิ ของการประเมินการเรยี นรู้ หน้าที่สำ�คัญของผู้สอนในการประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน คือ
เก็บรวบรวมข้อมูลหลักฐานที่สะท้อนการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนในระหว่าง
การประเมินการเรียนรู้เป็นวิธีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดและทักษะ การเรียนการสอน ตีความหมายข้อมูลหลักฐานเหล่าน้ัน โดยเปรียบเทียบกับ
ของผู้เรียน (Harlen, 2001) ซ่ึงสามารถทำ�ได้ทั้งการประเมินการเรียนรู้ระหว่าง เปา้ หมายการเรยี นรแู้ ละเกณฑท์ ตี่ ง้ั ไวซ้ งึ่ เปน็ ไปตามหลกั สตู ร แลว้ ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั
เรียน และการประเมินการเรียนรู้สรุปรวม การเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่อง แกผ่ เู้ รยี นวา่ มผี ลการเรยี นรอู้ ยใู่ นระดบั ใด มจี ดุ ออ่ นหรอื ขอ้ บกพรอ่ งหรอื ไม่ อยา่ งไร
(On-going Process) ท่ีบูรณาการอยู่ในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ ควรจะพัฒนาอะไร และควรทำ�อย่างไรเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองให้บรรลุ
เกิดข้ึนระหว่างการเรียนการสอน โดยถือว่าเป็นหัวใจสำ�คัญของการเรียนการสอน เป้าหมายที่ต้ังไว้ นอกจากน้ันผู้สอนยังมีหน้าที่ติดตามตรวจสอบความก้าวหน้า
ที่มีประสิทธิภาพ (Harlen, 1995; 1998; Black and Wiliam, 1998; Bell ในการเรียนรู้ของผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง (Tunstall and
and Cowie, 1999) แนวคิดพ้ืนฐานของการประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน Gipps, 1996; Harlen, 1998) ส่ิงสำ�คัญอีกประการหนึ่งก็คือ การเรียนรู้ของ
คือผู้เรียนทุกคนสามารถพัฒนาได้ ดังนั้นจึงเป็นการประเมินการเรียนรู้ท่ีให้ ผู้เรียนนอกจากจะใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในการพัฒนาตนเองแล้ว
ความสำ�คัญกับการพัฒนาตนเองของผู้เรียนมากกว่าการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ยังใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้สอนเพื่อปรับปรุงการสอนในครั้งต่อไปให้สอดคล้อง
ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน (Harlen, 1998) จุดมุ่งหมายหลักของการประเมินการ กบั จดุ ออ่ น ขอ้ บกพรอ่ ง หรอื ความตอ้ งการในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นแตล่ ะคนอกี ดว้ ย
เรียนรูร้ ะหวา่ งเรียนมีดงั ตอ่ ไปนี้ (Bell and Cowie, 1999; Black and Wiliam, 1998)

๑. เพอื่ คน้ หาและวนิ จิ ฉยั วา่ ผเู้ รยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเนอ้ื หาวทิ ยาศาสตร์
มที กั ษะความช�ำ นาญในการส�ำ รวจตรวจสอบทางวทิ ยาศาสตร์ รวมถงึ
มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างไรและในระดับใด เพ่ือเป็นแนวทางให้
ผู้สอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ของผเู้ รียนได้อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

๒. เพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลปอ้ นกลบั ให้กบั ผ้เู รียนว่ามกี ารเรยี นรอู้ ย่างไร

๓. เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้ และเปรียบเทียบระดับ
พฒั นาการดา้ นการเรียนรูข้ องผู้เรยี นแตล่ ะคน

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

59

ในการประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน ผู้เรียนควรมีส่วนร่วมรับผิดชอบ แนวคดิ ของการประเมินการเรียนรู้
การเรียนรู้ของตนเองด้วยการประเมินผลตนเอง (Self-Assessment) เนื่องจาก
ไมม่ ใี ครเรยี นรแู้ ทนกนั ได้ ดงั นนั้ ผเู้ รยี นตอ้ งเปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจเองวา่ จะพฒั นาการเรยี นรู้ การเรียนรู้จะบรรลุตามเป้าหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีวางไว้ได้
ของตนเองหรอื ไม่และท�ำ อยา่ งไร มากกว่าจะใหค้ รูเป็นผตู้ ดั สนิ ยง่ิ ผู้เรียนมสี ่วนรว่ ม ควรมแี นวทางดงั ต่อไปนี้
รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองมากเท่าใด เขาก็จะสามารถพัฒนาตนเองได้มาก
เท่าน้ัน อย่างไรก็ตาม ผู้เรียนจะประเมินผลตนเองได้ก็ต่อเม่ือได้รับข้อมูลท่ีชัดเจน ๑. ต้องวัดและประเมินทั้งความรู้ความคิด ความสามารถ ทักษะ
และเพียงพอว่า อะไรคือเป้าหมายการเรียนรู้ที่ตนเองพึงบรรลุ ดังนั้นครูผู้สอนควร กระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในวิทยาศาสตร์
ชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจถึงเป้าหมายการเรียนรู้และเกณฑ์การบรรลุเป้าหมายดังกล่าว รวมทง้ั โอกาสในการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
อย่างชดั เจน (Harlen, 1998; Bell and Cowie, 1999; Cowie, 2000)
๒. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรทู้ ก่ี �ำ หนดไว้
ในการประเมนิ การเรยี นรรู้ ะหวา่ งเรยี น นอกจากครผู สู้ อนจะเนน้ การพฒั นา
การเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลแล้ว ก็ยังสามารถจัดระดับของการตอบสนอง ๓. ต้องเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินอย่างตรงไปตรงมา และ
(Degree of Responsiveness) โดยเน้นพัฒนาการของการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น ตอ้ งประเมนิ ผลภายใตข้ ้อมลู ที่มีอยู่
รายกลมุ่ หรอื รายหอ้ งเรยี นไดเ้ ชน่ เดยี วกนั อกี ทง้ั สามารถสนองตอบตอ่ การพฒั นาของ
ผู้เรียนในหลายมิติการเรียนรู้ อาทิเช่น ความรู้ความเข้าใจ อารมณ์ความรู้สึก ๔. ผลการวัดและประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องนำ�ไปสู่การแปลผล
เจตคติ หรอื ทกั ษะ ดงั นนั้ กระบวนการประเมินผลระหวา่ งเรียนจึงข้นึ อยกู่ ับบรบิ ทที่ และลงขอ้ สรปุ ทส่ี มเหตุสมผล
เกี่ยวข้อง เช่น เป้าหมายของบทเรียน เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนรู้ และระดับ
การตอบสนองต่อผู้เรยี น (Bell and Cowie, 1999) ๕. การวดั และประเมนิ ตอ้ งมคี วามเทยี่ งตรงและเปน็ ธรรม ทง้ั ในดา้ นของวธิ ี
การวัด โอกาสของการประเมิน

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

60

บทบาทของผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครองในการประเมิน ๔. ผสู้ อนควรปรบั เปลย่ี นความเชอื่ บางประการทข่ี ดั ขวางการใชก้ ารประเมนิ
การเรยี นรรู้ ะหว่างเรยี น การเรยี นรูร้ ะหวา่ งเรยี นในหอ้ งเรยี น (Black and Wiliam, 1998; Black
and Harrison, 2001) ดังต่อไปน้ี
๑. ผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครองไม่ควรให้ความสำ�คัญกับการประเมิน
การเรียนรู้สรุปรวมและผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินดังกล่าว (เช่น การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียนเป็นการส้ินเปลืองเวลาและ
ระดับผลการเรียน ลำ�ดับของผู้เรียน และการรับรองมาตรฐานของสถาน ทรัพยากร
ศึกษา) แต่เพียงอย่างเดียว จนทำ�ให้การประเมินการเรียนรู้แบบสรุปรวม
เป็นตัวกำ�หนดการเรียนการสอนและการประเมินผลในห้องเรียนทั้งหมด การสอน คือ การถ่ายโอนความรู้จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน ส่วนการ
หรอื ท�ำ ใหก้ ารประเมนิ การเรยี นรรู้ ะหวา่ งเรยี นไมไ่ ดร้ บั ความสนใจและถกู เรียนรู้คือ การท่ีผู้เรียนสามารถจดจำ�ความรู้ท่ีผู้สอนถ่ายโอนไปให้
ละเลยในการปฏบิ ตั ิ ไดโ้ ดยไมเ่ นน้ การมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน และผเู้ รยี น
กับเพือ่ นร่วมชัน้
๒. ผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้ปกครองควรให้ความสำ�คัญกับการประเมินการ
เรยี นรรู้ ะหวา่ งเรยี น และเชอ่ื มโยงการประเมนิ การเรยี นรรู้ ะหวา่ งเรยี นและ ผเู้ รยี นแตล่ ะคนมรี ะดบั สตปิ ญั ญาทต่ี ดิ ตวั มาตง้ั แตเ่ กดิ (Fixed I.Q.)
การประเมนิ การเรยี นรแู้ บบสรปุ รวมเขา้ ดว้ ยกนั โดยท�ำ ความเขา้ ใจบทบาท และจะคงท่ีไปตลอดชีวิต โดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้จาก
ของการประเมนิ ทง้ั สองแบบวา่ การประเมนิ การเรยี นรรู้ ะหวา่ งเรยี นมงุ่ เนน้ ระบบโรงเรียน
การให้ข้อมูลย้อนกลับในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่องเต็มตามศักยภาพ และเพ่ือให้ครูผู้สอนปรับปรุงการ การประเมินการเรียนรู้ไปสู่ผู้เรียนในกระบวนการประเมินการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนของตนเองอยา่ งสม�ำ่ เสมอ สว่ นการประเมนิ เรียนรู้ระหว่างเรียน ทำ�ให้ครูผู้สอนสูญเสียอำ�นาจการควบคุม
การเรยี นรแู้ บบสรปุ รวมมงุ่ เนน้ การใหส้ ารสนเทศเชงิ สรปุ เกย่ี วกบั การเรยี น ชนั้ เรยี น
รใู้ นภาพรวมของผเู้ รยี นในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ ๆ ซง่ึ การประเมนิ ผลทงั้ สอง
แบบต่างกเ็ กอ้ื ประโยชน์ซ่งึ กันและกนั

๓. ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการประเมิน
การเรยี นรู้ระหว่างเรยี น และไดร้ บั ประสบการณต์ รงจากการประเมนิ การ
เรียนรู้ระหว่างเรียนในห้องเรียนของตนเอง นอกจากน้ันควรส่งเสริมให้
ผสู้ อนท�ำ งานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น (Classroom Research) เพอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจ
เก่ียวกับผลของการประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียนท่ีมีต่อการพัฒนา
การเรียนรู้ของผูเ้ รยี นและการพฒั นาการสอนของผสู้ อน

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

61

๑๑.  ปจั จัยความสำ�เรจ็ ในการจัดการเรียนรู้ ๒. ครผู สู้ อน

๑. ผบู้ ริหาร เป็นผู้ท่ีมีความสำ�คัญในการวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
เป็นผู้ที่มีความสำ�คัญท่ีสุดในการสนับสนุนให้การจัดกิจกรรมการเรียน เพื่อออกแบบหรือเลือกกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตร
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลายและอิสระ
การสอนบรรลุเป้าหมาย ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจในปรัชญา ท้ังนี้ผู้สอนจึงจ�ำ เป็นตอ้ ง
กระบวนการเรียนรู้และธรรมชาติของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เพื่อจะไดส้ นับสนนุ สง่ เสริมและอ�ำ นวยปัจจัยตา่ ง ๆ ดงั น้ี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
งบประมาณจดั ซอ้ื สอ่ื การเรยี นรู้ จดั ท�ำ และจดั หาแหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั ใน
และนอกโรงเรยี น มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ให้กำ�ลงั ใจ และขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ
นิเทศ ตดิ ตามผลการจัดการเรียนรูอ้ ย่างสม่�ำ เสมอ มีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อย่างดี สามารถสืบเสาะ ค้นหาความรู้ได้ด้วยตัวเอง สนใจใฝ่หา
ความรอู้ ยา่ งสม�ำ่ เสมอเพอ่ื พฒั นาตนเอง

มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้เรียน สามารถออกแบบกิจกรรม
การเรียนรู้ เลือกใช้ส่ือการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
พฒั นาสมรรถนะของผเู้ รยี นได้อย่างเหมาะสมกับผู้เรียน

มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกลวิธีสอน วิธีการประเมินการเรียนรู้
ทั้งระหว่างเรียนและสรุปรวม ตลอดจนสามารถเลือกใช้กลวิธีและ
การประเมินการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งเหมาะสม

มีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านยิ มในอาชีพครใู นฐานะครวู ชิ าชีพ

มที กั ษะการท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ น่ื อยา่ งสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ
ดา้ นการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งสม�ำ่ เสมอ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

62

๓. ผ้เู รยี น
องค์ประกอบหนึ่งท่ีมีความสำ�คัญต่อการเรียนการสอนก็คือผู้เรียน โดย

แต่ละคนมีความแตกต่างกันท้ังบุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัด ความ
สนใจและความสมบูรณ์ของร่างกาย ตลอดจนความแตกต่างในเรื่องรูป
แบบและวิธีการเรียนรู้ เช่น โดยการฟัง โดยการมองเห็น โดยการได้หยิบ
จับ สัมผัส หรือลงมือทำ� ซึ่งผู้สอนต้องออกแบบการเรียนรู้ให้หลากหลาย
สอดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งของผเู้ รยี นเพอ่ื ใหท้ กุ คนสามารถเกดิ การเรยี นรู้
และพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มกนั นอกจากน้ี ผเู้ รยี นควรมโี อกาสรว่ ม
คดิ รว่ มวางแผนในการจดั การเรยี นการสอน และมโี อกาสเลอื กวธิ เี รยี นได้
อยา่ งหลากหลายตามความเหมาะสมภายใตก้ ารแนะน�ำ ของผสู้ อน
๔. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรยี นการสอน
ผู้สอนต้องมีวิธีการท่ีจะจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีเอื้ออำ�นวย
ต่อการพฒั นาทางวชิ าการ เช่น จดั หอ้ งชวนคิด หอ้ งกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์
จัดระบบนิเวศจำ�ลอง จัดบริเวณโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ทางชีววิทยา
ธรณีวิทยา ฯลฯ มีการดัดแปลงห้องเรียนให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรมการเรียน
รู้ที่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กันได้ดี และจัดกิจกรรมที่เอื้อให้ผู้ปกครอง และ
ชุมชนเข้ามามสี ่วนร่วมในการเรียนการสอนดว้ ย

กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

63

เอกสารอา้ งอิง

กุศลิน มุสิกุล. (๒๕๕๕). การผนวกการประเมินระหว่างเรียนในกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้. วารสารครูวิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลย.ี น. ๕๕-๖๐.

กุศลิน มสุ กิ ลุ . (๒๕๕๔). การจดั การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร.์ (เอกสารอดั สำ�เนา).
กุศลิน มสุ ิกุล. (๒๕๕๔). เพราะเหตใุ ดจึงต้องเปลี่ยนแปลงการสอนเพื่อศตวรรษท่ี ๒๑. วารสารครูวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลย.ี
กศุ ลิน มุสกิ ุล. (๒๕๕๓). ธรรมชาติวทิ ยาศาสตร.์ วารสารครวู ทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลย.ี
ขจรศกั ดิ์ บวั ระพนั ธ,์ เพญ็ จนั ทร์ ซงิ ห์ และวรรณทพิ า รอดแรงคา้ . (๒๕๔๘). การส�ำ รวจแนวคดิ ของนกั ศกึ ษาครวู ชิ าเอกฟสิ กิ สช์ น้ั ปที ี่ ๓ เกยี่ วกบั

แรงและการเคล่อื นที่. วารสารสงขลานครนิ ทร์ ฉบบั สังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์, ๑๑ (ฉบับพิเศษ: ม.อ.วชิ าการ): ๔๕-๖๙.
คณะอนกุ รรมการการพฒั นาการสอนและผลติ วสั ดอุ ปุ กรณก์ ารสอนวทิ ยาศาสตร,์ ทบวงมหาวทิ ยาลยั . ๒๕๒๓. ชดุ การเรยี นการสอน หนว่ ยท่ี ๙ 

การใช้คำ�ถาม (เอกสารอดั สำ�เนา).
จรยิ า  เสถบตุ ร. (๒๕๔๗). การประเมนิ การปฏบิ ตั ติ ามสภาพจรงิ : วธิ ดี �ำ เนนิ งานเชงิ คณุ ภาพในการประเมนิ คา่ ทางการศกึ ษา. คมู่ อื อาจารย์ การ

พฒั นาการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั . ขอนแกน่ : ส�ำ นกั นวตั กรรมการเรยี นการสอน ฝา่ ยวชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธม์ หาวทิ ยาลยั
ขอนแกน่ .
ทศิ นา แขมมณ.ี (๒๕๔๕). ศาสตรก์ ารสอน: องคค์ วามรเู้ พอ่ื การจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ. กรงุ เทพฯ: ส�ำ นกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๕๗). ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑. สบื คน้ เมือ่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐, จาก http://www.royin.go.th.
วรรณทพิ า รอดแรงคา้ . (๒๕๔๐). การสอนวิทยาศาสตร์ทีเ่ นน้ ทักษะกระบวนการ. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.).
ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. (๒๕๔๔). หลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พอ์ งค์การรบั สง่ สนิ ค้าและพัสดภุ ัณฑ์.
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘). การรู้ดิจิทัล (Digital literacy). สืบค้นเม่ือ ๕ ธันวาคม ๒๕๖๐,
จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142-knowledges/2632.

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
ระดบั ประถมศึกษา

64

American Association for the Advancement of Science. (1993). Benchmarks for science literacy. New York: Oxford
University Press.

Anderson, L.W. and Krathwohl, D.R. (editors). (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of
Bloom’s taxonomy of educational objectives. New York: Longman.

Bell, B. and Cowie, B. (1999). Formative assessment and science education. London: Kluwer Academic Publishers.
Bell, B. and Cowie, B. (2001). The characteristics of formative assessment in science education. Science Education, 85, 536-553.
Black, D. and Wiliam, D. (1998). Inside the black box: Raising standards through classroom assessment. Phi Delta Kappan,

80(2), 139-148.
Black, P. and Harrison, C. (2001). Feedback in questioning and marking: The science teacher’s role in formative assessment.

School Science Review, 82(301), 55-61.
Bybee, R.W. 2015. The BSCS 5E instructional model: Creating teachable moments. Virginia: National Science Teacher

Association Press.
Cowie, B. and Bell, B. (1999). A model of formative assessment in science education. Assessment in Education, 6(1), 101-116.
Cunningham, R.T. 1971. Developing teacher competencies. Englewood Cliff, New Jersey: Prentice-Hall.
Harlen, W. (1995). To the rescue of formative assessment. Primary Science Review, 37, 14-16.
Harlen, W. (1998). Classroom assessment: A dimension of purposes and procedures. Paper presented at the Annual Conference

of the New Zealand Association for Research in Education, Dunedin, New Zealand.
Harlen, W. (2001). Primary science: Taking the plunge. Portsmouth, NH: Heinemann.

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศกึ ษา

65

Magnusson, S. J. and Palincsar, A. S. (2005). How students learn science in the classroom, p.460.
Musikul, K. (2010, June). Exploring primary students’ understanding about the world before they come to science classroom.

Paper presented at the annual meeting of the Australasian Science Education Association, Port Stephen, New South
Wales, Australia.
Kozlow, M.J. and Nay, M.A. (1976). An approach to measuring scientific attitudes. Science Education, 60:2147-172.
McComas, W.F. and Almazroa, H. (1998). The nature of science in science education: An introduction. Science and Education,
7, 511-532.
National Research Council. (2000). Inquiry and the national science education standards: A guide for teaching and learning.
Washington, D.C.: National Academy Press.
National Research Council. (1996). National science education standards. Washington, D.C.: National Academy Press.
Padilla, M. J. (1990). Research matters to the science teacher. NARST Publication, No. 9004.
Rowe, M.B. (1974). Wait-time and rewards as instructional variables, Their influence on language, logic, and fate control: Part
one-wait-time. Journal of Research in Science Teaching. 11, 81-94.
Tunstall, P. and Gipps, C. (1996). Teacher feedback to young children in formative assessment: A typology. British Educational
Research Journal, 22(4), 389-404.
Wilson, J., Murdoch, K. (2006). How to succeed with thinking: Little books of big ideas. Curriculum Corporation.

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศกึ ษา

66

ดัชนคี �ำ

A D G
21st Century Skills Gather Possible Solutions
Abstraction ๓๑ Communicate Solutions Data ๑๑, ๒๕, ๔๖ ๒๘
Affective Domain ๓๐
Algorithms ๑, ๔๖ and Prototype ๒๘ Decomposition ๓๐ H
Analyzation ๓๐ Honesty
Analyze ๔๗ Communications, Information, Defining operationally ๒๖ ๓๖
Application ๔๙
Apply ๔๖ and Media Literacy ๓๓ Dependent Variable ๒๗
Attitudes Towards Sciences ๔๘
Authentic Assessment ๓๖ Comprehension ๔๖, ๔๘ Designing and Technology ๑๕ I
๕๗ Identify Problem
Computational Thinking ๓๐ E Implement Innovations ๒๘
Earth and Space Science Independent Variable ๓๔
Computing Science ๑๕ Empirical Evidence ๑๕ Inferring ๒๗
Engineering Design Process ๗, ๙ Information ๒๕
Controlled Variable ๒๗ Essential Skills of Design ๒๘ Inquiry ๒๕, ๔๖
and Technology Inquiry-Based Learning ๔๒
Controlling Variables ๒๖ Evaluate ๒๘ Interpreting and ๔๒
Evaluation ๕๔ Making Conclusion
Create ๔๙ Evidence ๔๗ Investigation ๒๗
Experimenting ๖, ๙, ๑๑ ๑๑
B Create Prototype ๒๘ ๒๗
Big Data
Biological Science ๔๑ Creativity ๙, ๓๔
Blooms’ Taxonomy ๑๕, ๕๓
Creativity and Innovation ๓๔
๔๖
Critical Thinking ๓๓

Critical Thinking and

C Problem Solving ๓๓

Career and Learning Self–Reliance ๓๕ Critical Thinking and F J
Fact Judge
Classifying ๒๕ Problem Solving Skills ๓๕ Feedback ๔๖ ๑๑
Formative Assessment ๕๗
Cognitive Domain ๑, ๔๖ Critical-Mindedness ๓๖ Formulating Hypotheses ๕๗ L
Formulating Models ๒๖ Learning and Innovation Skills
Collabolation ๓๔ Cross–Cultural Understanding ๓๕ ๒๗ Logic ๗๓
๗, ๙
Collaboration, Teamwork

and Leadership ๓๔

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศกึ ษา

67

M ๒๕ Q ดัชนคี ำ� ๒๖
Measuring Questioning Attitude ๓๗
๕๐ U
N R ๓๗ Using Number
Network of Concepts ๓๗ Relationship of Space
๒๕ and Time W
O ๑๑ Respect for Evidence Willingness to
Objectivity ๓๗ ๒๕ Change Opnions
Observing S ๓๖
Opened Inquiry ๒๖ Science
Open-Mindedness Science Process Skills ๖
Organizing and ๖ Scientific Attitudes ๒๕
Communicating Data ๓๐ Scientific Inquiry ๓๖
๑๕ Scientific Mind ๗, ๔๒
P ๒๖ Secondary Data Source ๓๖
Pattern ๔๐ Select and Design Solution
Pattern Recognition ๓๓ Summative Assessment ๙
Physical Science ๔๒ Suspended Judgement ๒๘
Predicting Synthesis ๕๗
Prior Knowledge ๒๘ ๓๖
Problem Solving ๒๘ T ๔๗
Problem-Based Learning ๑, ๔๖ Technology
Process Skills of Design Test, Evaluate ๑๕
and Technology and Redesign Prototype
Prototype Tolerance of Uncertainty ๒๘
Psychomotor Domain ๓๗

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

68

ดชั นคี ำ�

ก ข
ข้อเทจ็ จริง
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ๑, การประเมินการเรียนรสู้ รุปรวม ๕๗-๕๘ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ๔๖ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร ์ ๓๖
ขอ้ มูลย้อนกลับ ๔๑ เจตคตทิ ดี่ ีต่อวิทยาศาสตร ์ ๓๖
๔๑-๔๒, ๔๔ การประเมนิ ผล ๔๗ ขอ้ มลู หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ๕๗

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ๑๗, การพจิ ารณารปู แบบของปญั หา ๗ ช
ชีววิทยา
๒๐, ๒๙ หรอื วธิ กี ารแก้ปญั หา ๓๐ ใช้จ�ำ นวน ๒๔, ๕๓
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒๖
การแก้ปญั หา ๔, ๑๔ การพิจารณาสาระส�ำ คัญของปัญหา ๓๐ ค ๒๑

การแก้ปัญหาตามกระบวนการ การยอมรบั ความเห็นตา่ ง ๓๕ ความเข้าใจ ๔๖, ๔๘

ออกแบบเชิงวิศวกรรม ๒๙ การเรยี นรแู้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน ๔๒ ความใจกวา้ ง ๓๗

การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ ๒๘ การเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรู ้ ๑๓, ๔๒ ความเช่ือม่ันตอ่ หลักฐาน ๓๖ ด

การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๑ การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร ์ ๖ ความซื่อสตั ย์ ๓๖ ด้านการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ

การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การวัด ๒๕, ๒๖ ความมุ่งมั่นอดทน ๓๗ และการแก้ปัญหา ๓๓

และการสอ่ื สาร ๒๑ การวเิ คราะห์ ๑ ความรอบคอบ ๓๖ ด้านการทำ�งาน การเรียนรู้

การใช้วิจารณญาณ ๓๖ การสร้างแบบจ�ำ ลอง ๖, ๒๗, ๓๖ ความรู้เดิม ๖ และการพึ่งตนเอง ๓๕

การทำ�งานกับผู้อ่นื อยา่ งสร้างสรรค ์ ๓๔, ๖๑ การสร้างสรรค์ ๓๔ ความรู้ท่ีเกดิ จากความจ�ำ ๔๘ ดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม ๓๔

การท�ำ งานร่วมกนั ๑๙ การสงั เคราะห์ ๕๐ ความอยากร้อู ยากเห็น ๓๗ ดา้ นการส่ือสารสารสนเทศ

การนำ�ไปใช ้ ๔๖ การสำ�รวจตรวจสอบ ๑๑ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ ๑๕, ๑๗-๑๙, ๒๑ และการรู้เทา่ ทนั ส่อื ๓๓

การนำ�ไปปฏิบตั ิเพอ่ื สร้างนวัตกรรม ๓๔ การสืบเสาะ ๖ โครงขา่ ยระหว่างแนวคดิ ๔๖ ด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม

การแบง่ ปัญหาใหญ่ออกเป็น การสืบเสาะหาความรู้ ตา่ งกระบวนทัศน์ ๓๕

ปญั หาย่อย ๓๐ ทางวทิ ยาศาสตร์ ๖-๙, ๑๑-๑๒, ๑๕-๔๒ จ ด้านความร่วมมือ ท�ำ งานเป็นทีม
จดจำ�
การประเมนิ ๑๑, ๓๓, ๔๖, ๕๗ การหาความสัมพนั ธ์ของสเปซกับเวลา ๒๕ จดั กระท�ำ และสือ่ ความหมายขอ้ มูล ๕๐ และภาวะผู้น�ำ ๓๔
จำ�แนกประเภท ๒๖
การประเมนิ การเรียนร ู้ ๑, ๒, การออกแบบและเทคโนโลย ี ๑๕, ๒๘ จิตวทิ ยาศาสตร์ ๒๕ ด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยี
เจตคติต่อวิทยาศาสตร ์ ๓๖
๓๒, ๕๗, ๕๘ การออกแบบอัลกอรทิ ึม ๓๐ ๓๖ สารสนเทศและการส่ือสาร ๓๔

การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ๕๗ กำ�หนดนยิ ามเชงิ ปฏิบัติการ ๒๖ ดา้ นจติ พิสยั ๔๖

การประเมินการเรียนรู้ระหว่างเรียน ๕๗-๖๐ ก�ำ หนดและควบคุมตัวแปร ๒๖ ด้านทกั ษะพสิ ัย ๑, ๒, ๔๖

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา

69

ดชั นีคำ�

ด้านพทุ ธิพิสัย ๑, ๔๕-๔๖, ๔๘ น เลอื กและออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา ๒๘ สืบเสาะหาความรู้แบบปลายเปดิ ๑๑
ด�ำ เนินการแกป้ ญั หาเพ่ือ ๒๘-๒๙ นำ�เสนอตน้ แบบ วธิ กี าร โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๒๔
สรา้ งตน้ แบบ และผลการแกป้ ัญหา ๒๘-๒๙ ห
แนวคดิ รวบยอด ๔
ว หลักฐาน ๖, ๘-๙,
๖ วฏั จักรการเรยี นร้ ู
ต บ วตั ถวุ สิ ยั ๔๒, ๕๑-๕๖ ๑๑, ๑๓, ๓๖-๓๗, ๔๒-๔๓
ต้นแบบ แบบรูป ๒๑, ๓๗ วิเคราะห ์ ๓๗
ตวั แปรต้น ๒๘ ๔๙ วิทยาการค�ำ นวณ ๔๙ หลักฐานเชิงประจักษ์ ๗, ๙, ๑๑,
ตวั แปรตาม ๒๖-๒๗ ป ๓๓ วิทยาศาสตร์กายภาพ ๑๕
ตวั แปรท่ตี ้องควบคมุ ใหค้ งที่ ๒๖-๒๗ ประจกั ษพ์ ยาน ๔๘ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ๒๓, ๒๕, ๓๖, ๔๑
ตีความหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป ๒๖-๒๗ ประเมินคา่ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ๕, ๑๕-๑๗
ประเมนิ หลกั ฐาน ๓๒, ๔๒ ๕, ๑๕-๑๖ หลักฐานทตุ ิยภมู ิ ๙
๒๗ ประยกุ ต์ใช ้ ๕, ๑๕-๑๗
๙, ๒๖ หาความสัมพนั ธข์ องสเปซกับเวลา ๒๕

ผเู้ รียนแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ๒๘ อ
๒๓, ๒๘
ท พ อนกุ รมวิธานของบลมู ๔๕-๔๖, ๔๘, ๕๐
พยากรณ ์ ๑๑, ๒๕
ทดสอบ ประเมนิ และ ส อนุกรมวิธานทป่ี รบั ปรงุ จากบลูม ๔๕,

ปรบั ปรุงแกไ้ ขตน้ แบบ ๒๘-๒๙ รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ สาระเคม ี ๒๔ ๔๘, ๕๐
ระบุปญั หา
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๒๕ สาระชวี วิทยา ๒๔

ทักษะกระบวนการส�ำ หรับ ลงความเห็นจากข้อมูล สาระเทคโนโลยี ๑๖

การออกแบบและเทคโนโลย ี ๑, ๒๘, ๔๑ สาระฟสิ ิกส ์ ๒๔

ทกั ษะการคิดเชิงค�ำ นวณ ๒๑, ๓๐ สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๒๔

ทกั ษะการต้งั สมมตฐิ าน ๒๖ สาระวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ๑๖

ทกั ษะการทดลอง ๒๗ สาระวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ๑๖

ทกั ษะการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม ๓๑-๓๓ สาระวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ๑๖

ทักษะชีวติ และอาชพี ๓๑-๓๓ ส�ำ รวจตรวจสอบ ๘, ๑๘-๑๙, ๒๑, ๒๓

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ๒, ๓๑ สบื เสาะคน้ หา ๓๖-๓๗

เทคโนโลย ี ๑๙ สืบเสาะหาความร ู้ ๑, ๑๑

I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PS I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST

I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST สว่ นที่ I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST I PST
I PST I PST การวิเคราะหต์ ัวชว้ี ดั กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์I PST I PST I I PST I PST I PST I PST I PST

72

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑

73

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิง่ ไมม่ ีชีวิตกับสงิ่ มชี วี ติ และความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมชี วี ิตกับส่ิงมชี ีวติ
ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลย่ี นแปลงแทนท่ใี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มตี อ่
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งน�ำ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ขิ องสง่ิ มีชีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของสงิ่ มชี ีวติ การล�ำ เลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ
ของสัตว์และมนุษย์ที่ท�ำ งานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหนา้ ทข่ี องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ีท�ำ งานสมั พนั ธ์กัน รวมทง้ั น�ำ ความรู้
ไปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวดั
๑. ระบุชือ่ พชื และสตั วท์ ่ีอาศยั อยบู่ รเิ วณตา่ ง ๆ จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้
๒. บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกบั การดำ�รงชวี ิตของพชื และสัตว์ในบริเวณทอี่ าศัยอยู่

การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชวี้ ัด

ด้านความรู้ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับบริเวณท่ีพืชและสัตว์อาศัยอยู่ โดยอาจใช้ ดา้ นความรู้
วิธกี ารซกั ถามหรือใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ เชน่ รูปภาพ หรอื วีดิทัศน์ และกระตุ้นให้
๑. ในแต่ละท้องถิ่นมีพืชและสัตว์อาศัยอยู่ใน นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับบริเวณต่าง ๆ ในท้องถ่ินและ ๑. ระบุช่ือของพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณต่าง ๆ
บริเวณต่าง ๆ เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้ ชนดิ ของพชื และสตั วท์ ี่อาศยั อยูใ่ นแต่ละบริเวณ ทีพ่ บในท้องถิ่น
สวนหยอ่ ม แหล่งน้�ำ
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของพืชและ ๒. บอกสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของ
๒. ในบริเวณท่ีแตกต่างกันจะมีชนิดของพืชและ สัตว์และสภาพแวดล้อมในเรื่องท่ีอยู่อาศัย ที่หลบภัย และแหล่งอาหาร พืชและสตั ว์ที่อาศยั อยู่ในบรเิ วณน้ัน
สัตว์แตกต่างกัน เพราะสภาพแวดล้อมของ ที่เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณน้ัน ๆ
แต่ละบริเวณจะเป็นท่ีอยู่อาศัย ท่ีหลบภัย เพื่อตอบคำ�ถามที่ตงั้ ขนึ้
และมีอาหารเหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของ
พืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ในแต่ละบริเวณ เช่น ๓. นักเรียนร่วมกันรวบรวมข้อมูลตามแผนท่ีวางไว้ เช่น สังเกตชนิดของพืช
สระน�้ำ เปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของหอย ปลา สาหรา่ ย และสตั ว์ และสภาพแวดลอ้ มในบรเิ วณทพ่ี ชื และสตั วอ์ าศยั อยจู่ ากสถานท ่ี
เป็นท่ีหลบภัยและมีอาหารของหอยและปลา จรงิ วดี ทิ ศั น์ สอบถามจากผปู้ กครอง ผรู้ ู้ หรอื สบื คน้ ขอ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็
ต้นมะม่วงเป็นท่ีอยู่อาศัยและแหล่งอาหาร บนั ทึกผลโดยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เช่น วาดภาพ เขยี นขอ้ ความ หรอื ใช้ตาราง

74 แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชี้วดั
การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั

สำ�หรับกระรอกและมด ถ้าสภาพแวดล้อม ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั น�ำ เสนอชนดิ ของพชื และสตั วท์ พี่ บในแตล่ ะบรเิ วณ รวมทง้ั ดา้ นทักษะ
ใ น บ ริ เ ว ณ ท่ี พื ช แ ล ะ สั ต ว์ อ า ศั ย อ ยู่ มี ก า ร สภาพแวดลอ้ มท่พี ืชและสตั วอ์ าศัยอยู่
เปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อการดำ�รงชีวิตของ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
พืชและสตั ว์ ๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมที่มี ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ต่อการดำ�รงชีวิตของพืชและสัตว์ที่พบในบริเวณน้ัน ๆ รวมถึงอภิปราย
หมายเหตุ: ความแตกต่างชนิดของพชื และสัตวใ์ นแต่ละบริเวณ เกี่ยวกับการสังเกตชนิดของพืชและสัตว์และสภาพ
ให้นักเรียนสังเกตบริเวณท่ีพืชและสัตว์อาศัยอยู่ แวดล้อมท่ีพบในบริเวณน้ัน ๆ ได้ตามความเป็นจริง
ทว่ั ไปจากสถานทจี่ รงิ หรอื วดี ทิ ศั น์ เชน่ บนตน้ ไม ้ ๖. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำ�ถามที่ต้ังขึ้นและสรุปว่าในบริเวณท่ี โดยไมเ่ พม่ิ ความคิดเหน็ สว่ นตวั
ใต้ต้นไม้ สนามหญ้า สวนหย่อม แอ่งน้ำ� ป่าไม้ แตกต่างกัน จะมีชนิดของพืชและสัตว์แตกต่างกัน และในแต่ละบริเวณ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
และระบชุ อื่ ชนดิ ของพชื และสตั วท์ พี่ บโดยทวั่ ไป ที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่จะมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิต ลงความเห็นในผลการสังเกตและข้อมูลเก่ียวกับ
เชน่ นก มด ผเี สอื้ ช้าง หญ้า ของพชื และสัตวใ์ นบริเวณนนั้  ๆ เชน่ สระนำ้�เป็นทีอ่ ยูอ่ าศยั ของหอย ปลา ความเหมาะสมของสภาพแวดล้อมต่อการดำ�รงชีวิต
สาหร่าย เป็นท่ีหลบภัยและมีอาหารของหอยและปลา ต้นมะม่วงเป็น พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น ๆ ได้อย่าง
ด้านทกั ษะ ทอี่ ยู่อาศัยและมอี าหารส�ำ หรับกระรอกและมด สมเหตุสมผล

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๗. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อมใน
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตชนดิ ของพชื และ บริเวณที่พืชและสัตว์อาศัย เช่น นำ้�ท่วม ไฟป่า โดยใช้รูปภาพ วีดิทัศน์
หรือสื่ออ่ืน ๆ และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสภาพแวดล้อม
สตั ว์ และสภาพแวดลอ้ มทพ่ี บในบรเิ วณนน้ั  ๆ ท่ีเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งอาจส่งผลต่อการดำ�รงชีวิตของพืชและสัตว์ท่ีอาศัย
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย อยู่ในบรเิ วณนนั้

แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล
เก่ียวกับความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม
ต่อการดำ�รงชีวิตของพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่
ในบรเิ วณนนั้  ๆ

วทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑

การวิเคราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชวี้ ดั 75

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี

โดยมีส่วนร่วมในการวางแผนรวบรวมข้อมูล จากการวางแผนรวบรวมข้อมูล บันทึกผล นำ�เสนอผล
บันทึกผล นำ�เสนอผล และแสดงความคิด และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับชนิดของพืชและสัตว์
เ ห็ น เ ก่ี ย ว กั บ ช นิ ด ข อ ง พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ท่ี พ บ ใ น ท่ีพบในแต่ละบริเวณ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อ
แต่ละบริเวณ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม การด�ำ รงชวี ติ ของพชื และสตั วท์ พี่ บในบรเิ วณนนั้ รว่ มกบั
ต่ อ ก า ร ดำ � ร ง ชี วิ ต ข อ ง พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ที่ พ บ ใ น ผู้อน่ื ตัง้ แตเ่ ร่ิมตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ่วง
บริเวณน้นั ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล ที่รวบรวมได้ และการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
ทร่ี วบรวมได้ และการแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของพืช
สภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของ และสตั วท์ พ่ี บในบรเิ วณนนั้  ๆ เพอ่ื ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ ง
พืชและสตั วท์ ่ีพบในบรเิ วณนั้น ๆ รวดเรว็ ชดั เจน และถูกตอ้ ง

76 ตัวช้ีวัด

๓. ระบุช่อื บรรยายลกั ษณะและบอกหนา้ ท่ีของสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ และพชื รวมท้ังบรรยาย
การท�ำ หน้าที่ร่วมกนั ของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ในการท�ำ กิจกรรมต่าง ๆ จากขอ้ มูลทร่ี วบรวมได้

๔. ตระหนกั ถึงความส�ำ คัญของสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดแู ลส่วนตา่ ง ๆ อย่างถูกต้อง ใหป้ ลอดภยั
และรกั ษาความสะอาดอยู่เสมอ

การวเิ คราะห์ตัวชี้วัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้ีวดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะของ ด้านความรู้
ร่างกายเพื่อนำ�ไปสู่การสังเกตลักษณะและระบุชื่อส่วนต่าง ๆ ของมนุษย์
๑. มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าท่ี โดยอาจใช้วิธีการซักถามหรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น ของจริง รูปภาพ หรือ ๑. ระบุช่ือ บรรยายลักษณะ และบอกหน้าท่ีของ
แตกตา่ งกนั เพอื่ ใหเ้ หมาะสมในการด�ำ รงชวี ติ วีดทิ ัศน์ สว่ นต่าง ๆ ของร่างกายมนษุ ย์
เชน่ ตามหี นา้ ทมี่ องดู โดยมหี นงั ตาและขนตา
ปอ้ งกนั อนั ตรายใหก้ บั ตา หมู หี นา้ ทร่ี บั ฟงั เสยี ง ๒. นักเรียนร่วมกันวางแผนรวบรวมข้อมูล เพ่ือตอบคำ�ถามท่ีตั้งขึ้นเกี่ยวกับ ๒. บรรยายการทำ�หน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของ
โดยมีใบหูและรูหูเป็นทางผ่านของเสียง ปาก สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ ร่างกายมนษุ ยใ์ นการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ
มหี นา้ ทพ่ี ดู กนิ อาหาร มรี มิ ฝปี ากบนลา่ ง แขน
และมือมีหน้าท่ียก หยิบ จับ มีท่อนแขนและ ๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีร่วมกันวางแผนไว้ โดยสังเกตลักษณะของ
นวิ้ มอื ทข่ี ยบั ได้ สมองอยภู่ ายในกะโหลกศรี ษะ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเองหรือบุคคลรอบตัวหรือจากรูปภาพ บันทึก
มีหน้าท่ีควบคุมการทำ�งานของส่วนต่าง ๆ ผลการสังเกตลกั ษณะ ระบชุ ่อื สว่ นต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และน�ำ เสนอ
ของร่างกาย โดยส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจะ ผลการสังเกตในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ภาพวาด แผนภาพ ปนั้ ดนิ นำ้�มนั หรอื
ทำ�หน้าที่ร่วมกันในการทำ�กิจกรรมในชีวิต แบบจ�ำ ลองในรูปแบบอนื่  ๆ
ประจำ�วัน
๔. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ตอบค�ำ ถามทต่ี งั้ ขน้ึ และลงขอ้ สรปุ วา่ รา่ งกาย
๒. มนษุ ยใ์ ชส้ ว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายรว่ มกนั ในการ ของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ เชน่ ตา หู จมกู ปาก มอื ขา เทา้ สมอง
ท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอื่ การด�ำ รงชวี ติ มนษุ ยจ์ งึ ทมี่ ีลักษณะแตกต่างกนั
ควรใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างถูกต้อง
ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ ๕. นักเรียนตั้งคำ�ถามใหม่เก่ียวกับหน้าที่ของแต่ละส่วนของร่างกายมนุษย์
เช่น ใช้ตามองตัวหนังสือในที่ ๆ มีแสงสว่าง รวมถึงการทำ�งานร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ในการทำ�กิจกรรมในชีวิต
เพียงพอ ดูแลตาให้ปลอดภยั จากอนั ตราย ประจ�ำ วนั เชน่ การรบั ประทานอาหาร การอา่ นหนงั สอื การออกก�ำ ลงั กาย

๖. ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนรวบรวมข้อมูลเพ่ือตอบคำ�ถามที่ตั้งข้ึน
เกี่ยวกบั หนา้ ทแี่ ละการทำ�งานร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑

การวิเคราะหต์ ัวชี้วัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชว้ี ัด 77

ดา้ นทกั ษะ ๗. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามที่ร่วมกันวางแผนไว้ โดยสังเกต การใช้ ด้านทักษะ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ หรือสืบค้นข้อมูล
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตและบรรยาย เพิ่มเติมเก่ียวกับหน้าท่ีและการทำ�งานร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ร่างกายในการทำ�กิจกรรมในชีวิตประจำ�วัน จากสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกตจากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ก า ร ทำ � ห น้ า ท่ี ร่ ว ม กั น ข อ ง ตา่ ง ๆ เช่น ของจรงิ รปู ภาพ วีดทิ ศั น์ สอบถามจากผู้ปกครองหรือครู
ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ บนั ทกึ ผล น�ำ เสนอผล และรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ตอบค�ำ ถามทต่ี งั้ ขนึ้ และ เกยี่ วกบั การสงั เกตลกั ษณะและการท�ำ หนา้ ทร่ี ว่ มกนั
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยแสดง ลงข้อสรุปว่ามนุษย์ ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทำ�หน้าท่ีต่าง ๆ ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ได้ตามความ
ความคิดเห็นและเช่ือมโยงข้อมูลเก่ียวกับ เพอื่ การด�ำ รงชวี ติ เชน่ ใชต้ ามองดู หฟู งั เสยี ง จมกู ดมกลนิ่ ปากพดู และ เป็นจริงโดยไมเ่ พิม่ ความคดิ เหน็ ส่วนตัว
หน้าทีข่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายมนุษย์ กินอาหาร มือหยิบจับ ขาและเท้าใช้เคล่ือนท่ี ซ่ึงในการทำ�กิจวัตร ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ประจำ�วัน เช่น การรับประทานอาหาร การอ่านหนังสือ การ ลงความเห็นในผลการสังเกตและข้อมูลเกี่ยวกับ
ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ออกก�ำ ลงั กาย จะใช้สว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายหลายส่วนท�ำ งานรว่ มกนั หน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ได้อย่าง
๑. ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี สมเหตุสมผล
๘. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับการดูแล
โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต สืบค้นข้อมูล รักษาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพ่ือนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ ทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
บันทึกผล นำ�เสนอผล และอภิปรายเกี่ยวกับ การดูแลส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัยและรักษา ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ลักษณะ หน้าที่ และการดูแลส่วนต่าง ๆ ของ ความสะอาด โดยอาจใช้วิธีการซักถามหรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น ของจริง
ร่างกายมนุษย์ รปู ภาพ หรือ วีดทิ ศั น์ เปน็ ทมี การสงั เกต สบื คน้ ขอ้ มลู บนั ทกึ ผล น�ำ เสนอผล
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอผลที่ และอภิปรายเก่ียวกับลักษณะ หน้าที่และการดูแล
ได้จากการสังเกตลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของ ๙. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการดูแลส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่าง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ร่วมกับผู้อื่นตั้งแต่
ร่างกาย การสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับหน้าที่ของ ถกู ตอ้ ง ใหป้ ลอดภยั และรกั ษาความสะอาด น�ำ เสนอพรอ้ มกบั ชกั ชวน เร่มิ ต้นจนสำ�เรจ็ ลลุ ว่ ง
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์และการดูแล เพอื่ นปฏบิ ตั ติ าม ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการนำ�เสนอ
รักษาสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย ผลการสังเกตลักษณะของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
๓. ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ โดยการน�ำ เสนอผล ๑๐. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้ว่ามนุษย์ควรใช้ ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ห น้ า ท่ี ข อ ง ส่ ว น ต่ า ง  ๆ
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพวาด แผนภาพ สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายอยา่ งถกู ตอ้ ง ใหป้ ลอดภยั และรกั ษาความสะอาด ของร่างกายมนุษย์และการดูแลรักษาส่วนต่าง ๆ
ปัน้ ดนิ น้ำ�มัน หรอื แบบจ�ำ ลองในรูปแบบอืน่  ๆ อยู่เสมอ เชน่ ใชต้ ามองตัวหนังสอื ในทีม่ แี สงสวา่ งเพียงพอ ดูแลตาให้ ของรา่ งกาย เพอ่ื ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน
ปลอดภยั จากอนั ตราย และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์ จากการนำ�เสนอ
๑๑. นกั เรยี นฝกึ ดแู ลสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายอยา่ งถกู ตอ้ ง ใหป้ ลอดภยั และ ผลในรปู แบบตา่ ง ๆ ซง่ึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ จนิ ตนาการและ
การรักษาความสะอาดในชีวิตประจำ�วนั แนวคิดใหมข่ องรปู แบบในการน�ำ เสนอผล

78 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชีว้ ดั
การวิเคราะห์ตวั ช้ีวัด
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ประเมินความตระหนักถึงความสำ�คัญของส่วนต่าง ๆ
ตระหนักถึงความสำ�คัญของส่วนต่าง ๆ ของ ของร่างกายตนเอง โดยฝึกปฏิบัติการดูแลส่วนต่าง ๆ
รา่ งกายตนเอง ของร่างกายอย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษาความ
สะอาด

ดา้ นความรู้ ๑. ครูทบทวนและเช่ือมโยงจากความรู้เรื่องส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ด้านความรู้
เพ่ือนำ�ไปสู่การต้ังคำ�ถามใหม่เก่ียวกับลักษณะ ชื่อ และหน้าท่ีของ
๑. สัตว์มีหลายชนิด ร่างกายของสัตว์แต่ละชนิด ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์ โดยอาจใช้วิธีการซักถามหรือใช้ส่ือต่าง ๆ ๑. ระบุช่ือ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วน
มสี ว่ นตา่ ง ๆ ทม่ี ลี กั ษณะและหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ ของจริง รูปภาพ หรือ วดี ทิ ัศน์ ตา่ ง ๆ ของร่างกายสตั ว์
เพื่อให้เหมาะสมในการดำ�รงชีวิต เช่น ปลามี
ครีบเป็นแผ่น ส่วนกบ เต่า แมว มีขา ๔ ขา ๒. นักเรียนร่วมกันวางแผนรวบรวมข้อมูลเพ่ือตอบคำ�ถามที่ตั้งขึ้นเก่ียวกับ ๒. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วน
และมีเทา้ ใช้ในการเคล่ือนที่ ลักษณะ ช่อื และหน้าท่ขี องส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายสตั ว์ ตา่ ง ๆ ของพืช

๒. พืชมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่ ๓. นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมตามที่รว่ มกนั วางแผนไว้ โดยสังเกตและสนทนา
แตกตา่ งกนั เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมการด�ำ รงชวี ติ โดย ร่วมกันเกี่ยวกับลักษณะและชื่อของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์ รวมทั้ง
ท่ัวไปรากมีลักษณะเรียวยาว และแตกแขนง สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั หนา้ ทข่ี องแตล่ ะสว่ นจากสอ่ื หรอื แหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ
เปน็ รากเลก็  ๆ ท�ำ หนา้ ทส่ี �ำ คญั ในการยดึ ล�ำ ตน้ เชน่ ของจรงิ รูปภาพ วดี ิทัศน์ อินเทอรเ์ นต็ บนั ทกึ ผล ลักษณะและระบุ
และดูดน้ำ� ลำ�ต้นมีลักษณะเป็นทรงกระบอก ชอื่ ของสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายสตั ว์ รวมทงั้ บรรยายหนา้ ทข่ี องแตล่ ะสว่ น
ตั้งตรงและมีก่ิงก้าน ทำ�หน้าท่ีชูกิ่งก้าน ใบ ของร่างกายสัตว์ นำ�เสนอผลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพวาด แผนภาพ
และดอก ใบมลี กั ษณะเปน็ แผน่ แบน ท�ำ หนา้ ที่ ปนั้ ดินน้ำ�มัน แบบจ�ำ ลอง หรือรปู แบบอื่น ๆ
สร้างอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิดอาจ
มีดอกที่มีสี รูปร่างต่าง ๆ ทำ�หน้าท่ีสืบพันธ์ุ ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำ�ถามที่ตั้งข้ึนและลงข้อสรุปได้ว่า
รวมทงั้ มีผลท่มี เี ปลอื ก มเี นอ้ื หอ่ หุ้มเมลด็ และ ร่างกายของสัตว์ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เช่น ตา หู จมูก ปาก ขา เท้า
มีเมลด็ ซง่ึ สามารถงอกเป็นตน้ ใหมไ่ ด้ ครีบ ที่มีลักษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เช่น ปลามีครีบเป็นแผ่น ส่วน
กบ เต่า แมว มีขา ๔ ขา และมีเท้า ใช้ในการเคล่อื นที่

วิทยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วดั 79

ดา้ นทกั ษะ ๕. ครทู บทวนความรเู้ รอื่ งส่วนตา่ ง ๆ ของมนุษย์และสตั ว์ เพ่ือเชื่อมโยงนำ�ไป ดา้ นทักษะ
สู่การตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับลักษณะ ชื่อ และหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของ
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ พืช โดยอาจใช้วิธีการซกั ถามหรือใชส้ ื่อตา่ ง ๆ เชน่ ของจรงิ รูปภาพ หรอื ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตและบรรยาย วีดทิ ัศน์ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกตจากการบนั ทกึ รายละเอยี ด

ลักษณะและสว่ นต่าง ๆ ของสัตว์และพืช ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันวางแผนรวบรวมข้อมูลเพ่ือตอบคำ�ถามท่ีตั้งข้ึน เก่ียวกับการสังเกตส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืช
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย เกยี่ วกับลักษณะและหน้าทข่ี องสว่ นต่าง ๆ ของพืช ได้ครบถ้วนตามความเป็นจริงโดยไม่เพ่ิมความคิด
เหน็ ส่วนตัว
แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ๗. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีร่วมกันวางแผนไว้ โดยสังเกตลักษณะ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
เกี่ยวกับหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื สนทนารว่ มกนั เกยี่ วกบั ชอ่ื ของสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และ ลงความเห็นในผลการสังเกตและข้อมูลเก่ียวกับ
สตั ว์และพชื สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับหน้าท่ีของแต่ละส่วน จากส่ือหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์และพืชได้
๓. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยการสร้าง เช่น ของจริง รูปภาพ วีดิทัศน์ อินเทอร์เน็ต บันทึกผล นำ�เสนอผลใน อย่างสมเหตสุ มผล
แบบจำ�ลองที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะและ รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพวาด แผนภาพ ปั้นดินน้ำ�มัน แบบจำ�ลองหรือ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสัตว์ รูปแบบอื่น ๆ ท่ีแสดงให้เห็นถึงลักษณะและหน้าท่ีของส่วนต่าง ๆ
หรือพืช ของร่างกายสตั ว์หรือพืชทถี่ กู ตอ้ ง
๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำ�ถามท่ีต้ังข้ึนและลงข้อสรุปว่าพืช
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าท่ีแตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมต่อ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน การดำ�รงชีวิต โดยท่ัวไปรากมีลักษณะเรียวยาว และแตกแขนงเป็น ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
รากเล็ก ๆ ทำ�หน้าท่ีสำ�คัญในการยึดลำ�ต้นและดูดนำ้� ลำ�ต้นมีลักษณะ
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต สืบค้น เปน็ ทรงกระบอกต้งั ตรงและมีก่งิ กา้ น ท�ำ หน้าทช่ี ูกง่ิ ก้าน ใบ และดอก ใบ เป็นทีม จากการสังเกต สืบค้นข้อมูล บันทึกผล
ข้อมูล บันทึกผล นำ�เสนอผล และอภิปราย มีลักษณะเป็นแผ่นแบน ทำ�หน้าที่สร้างอาหาร นอกจากน้ีพืชหลายชนิด น�ำ เสนอผล และอภปิ รายเกย่ี วกบั ลกั ษณะและหนา้ ท่ี
เกี่ยวกับลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ อาจมีดอกที่มีสี รูปร่างต่าง ๆ ทำ�หน้าที่สืบพันธุ์ รวมทั้งมีผลที่มีเปลือก ของส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืช ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่
ของสัตว์และพืช มเี น้อื หอ่ หมุ้ เมล็ด และมีเมลด็ ซ่งึ สามารถงอกเป็นต้นใหมไ่ ด้ เริ่มตน้ จนสำ�เรจ็ ลุลว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผล
ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตและสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การสังเกต และการสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับลักษณะ
ลักษณะและหน้าท่ีส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ และหน้าท่ีส่วนต่าง ๆ ของสัตว์และพืช เพ่ือให้ผู้อื่น
และพชื เขา้ ใจได้อยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถูกตอ้ ง
๓. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ โดยการนำ�เสนอ ๓. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการน�ำ เสนอ
ผลในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ภาพวาด แผนภาพ ผลในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงสะท้อนให้เห็นจินตนาการ
ป้ันดนิ นำ้�มนั แบบจำ�ลองหรือรูปแบบอืน่  ๆ และแนวคิดใหม่ของรูปแบบในการน�ำ เสนอผล

80 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ ง
อนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปลยี่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานใน
ชีวิตประจำ�วัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณ์ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั น�ำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชี้วดั
๑. อธิบายสมบตั ิทส่ี งั เกตไดข้ องวสั ดุทใ่ี ชท้ ำ�วัตถซุ ึง่ ทำ�จากวสั ดุชนดิ เดยี วหรือหลายชนดิ ประกอบกันโดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์
๒. ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลมุ่ วัสดุตามสมบตั ิท่สี ังเกตได้

การวเิ คราะหต์ วั ช้วี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ช้วี ัด

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสิ่งของต่าง ๆ ด้านความรู้
รอบตัวโดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น ตัวอย่างส่ิงของหรือ
๑. วัสดุที่ใช้ทำ�วัตถุมีหลายชนิด เช่น ผ้า แก้ว รปู ภาพ และระบชุ ื่อสง่ิ ของทน่ี ักเรยี นสงั เกตเห็น ๑. ระบชุ นดิ ของวสั ดทุ ่ีใชท้ �ำ วตั ถุ
พลาสติก ยาง ไม้ อิฐ หิน กระดาษ โลหะ ๒. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุท่ีใช้ทำ�วัตถุซ่ึง
วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี มบตั ทิ สี่ งั เกตไดต้ า่ ง ๆ เชน่ ๒. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั สงิ่ ของรอบตวั ทนี่ กั เรยี นระบแุ ละ
น่มุ แข็ง ขรุขระ เรยี บ ใส ทึบ ยืดหดได้ ลงข้อสรปุ วา่ สง่ิ ของท่ีอยรู่ อบตัวเราเรียกว่าวตั ถุ ท�ำ จากวัสดุชนดิ เดยี วหรอื หลายชนิดประกอบกัน
๓. จัดกล่มุ วสั ดตุ ามสมบตั ิทสี่ ังเกตได้
๒. สมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุแต่ละชนิดอาจ ๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สงั เกตสง่ิ ทนี่ �ำ มาประกอบกนั เปน็ วตั ถุ ครใู ชค้ �ำ ถาม
เหมอื นกนั ซงึ่ สามารถน�ำ มาใชใ้ นการจดั กลมุ่ เพื่อร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการสังเกตและลง
วัสดุได้ ข้อสรุปว่า ส่ิงท่ีนำ�มาทำ�เป็นวัตถุ เช่น กระดาษ พลาสติก ยาง ไม้ โลหะ
เรียกวา่ วสั ดุ
๓. วสั ดบุ างอยา่ งสามารถน�ำ มาประกอบกนั เพอื่
ทำ�เป็นวัตถุต่าง ๆ เช่น ผ้าและกระดุม ใช้ทำ� ๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับชนิดของ
เสือ้ ไม้และโลหะ ใชท้ ำ�กระทะ วัสดุต่าง ๆ ท่ีใช้ทำ�วัตถุแต่ละชิ้น โดยให้นักเรียนสังเกตวัสดุของจริงแต่ละ
ชนดิ ประกอบการอภปิ ราย

วทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑

การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชว้ี ัด 81

ดา้ นทกั ษะ ๕. นักเรียนใช้ประสาทสัมผัสสังเกตวัตถุ เช่น รถของเล่น กระเป๋านักเรียน ด้านทักษะ
ตุก๊ ตา เกา้ อี้ ยางลบ เพือ่ ระบชุ นิดของวัสดุทใ่ี ชท้ ำ�วัตถุ บันทึกผล สรุปผล
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และน�ำ เสนอ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตสมบัติที่สังเกตได้ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกตจากข้อมลู ทีบ่ ันทกึ เก่ียวกบั
๖. ครูใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ของวัสดุทใ่ี ช้ทำ�วตั ถุ และบนั ทึกสงิ่ ท่สี ังเกตได้ จากการสงั เกตและลงขอ้ สรปุ วา่ วตั ถทุ �ำ จากวสั ดชุ นดิ ตา่ ง ๆ วตั ถบุ างอยา่ ง สมบตั ทิ สี่ งั เกตไดข้ องวสั ดทุ ใ่ี ชท้ �ำ วตั ถไุ ดค้ รบถว้ น ตาม
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยจัดกลุ่มวัสดุ อาจทำ�จากวัสดุชนิดเดียว วัตถุบางอย่างอาจทำ�จากวัสดุหลายชนิดมา ความเป็นจรงิ โดยไมเ่ พ่ิมเติมความคดิ เหน็ ส่วนตัว
ประกอบกัน ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจัดกลุ่ม
ตา่ ง ๆ ตามสมบตั ทิ สี่ งั เกตไดข้ องวสั ดหุ รอื ชนดิ วัสดุตามเกณฑ์ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
ของวัสดุ ๗. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับสมบัติที่สังเกต ๓. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ได้ของวสั ดุ โดยอาจใชว้ ธิ ีซักถามหรอื ใชส้ อ่ื เช่น ตัวอย่างวสั ดตุ ่าง ๆ หรือ จากการแสดงความเหน็ รว่ มกนั โดยอา้ งองิ ขอ้ มลู จาก
โดยการตีความหมายข้อมูลจากการสังเกต รูปภาพ การสังเกตมาลงข้อสรุปชนิดและสมบัติของวัสดุที่ใช้
มาลงข้อสรุปสมบัติและชนิดของวัสดุท่ีใช้ ทำ�วัตถุ
ท�ำ วัตถุ ๘. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยการสังเกตสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุที่ใช้
ท�ำ วตั ถุ เชน่ นมุ่ แขง็ ขรขุ ระ เรยี บ ใส ทบึ ยดื ได้ ยดื ไมไ่ ด้ ผวิ มนั วาว บนั ทกึ ผล ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ การสงั เกต สรปุ ผลและน�ำ เสนอผลการสงั เกต ครใู ชค้ �ำ ถามเพอื่ ใหน้ กั เรยี น ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น ร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการสังเกตและสรุปว่า
วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติที่สังเกตได้ บางประการเหมือนกัน บางประการ เป็นทีมจากการลงมือปฏิบัติและอภิปรายชนิดและ
ทีม โดยนักเรียนร่วมกันทำ�กิจกรรมเกี่ยวกับ แตกตา่ งกัน สมบัติของวัสดุร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่เร่ิมต้นจนสำ�เร็จ
สมบัติและชนิดของวัสดุร่วมกันแสดงความ ลุล่วง
คิดเห็นและนำ�เสนอผลการทำ�กจิ กรรม ๙. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั การจดั กลมุ่ วสั ดุ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากการนำ�เสนอผล
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการ ตามสมบัติของวัสดุโดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น ตัวอย่าง การทำ�กิจกรรมและร่วมกันแสดงความคิดเห็นใน
ท�ำ กจิ กรรมและรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ ใน สงิ่ ของหรือรปู ภาพ ช้ันเรียนเรื่องชนิดและสมบัติของวัสดุเพ่ือให้ผู้อ่ืน
ชัน้ เรียนเกย่ี วกับสมบัตแิ ละชนดิ ของวสั ดุ เข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
๑๐. นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมโดยการสงั เกตสมบตั ทิ เ่ี หมอื นกนั และแตกตา่ งกนั
ของวสั ดุ จากนนั้ จดั กลมุ่ วสั ดตุ ามสมบตั ขิ องวสั ดทุ นี่ �ำ มาท�ำ วตั ถุ เชน่ แกว้
กบั โลหะ แขง็ เหมอื นกนั ยางกบั ผา้ นมุ่ เหมอื นกนั ไมก้ บั ผา้ ขรขุ ระเหมอื นกนั
แกว้ กบั พลาสติกเรยี บเหมอื นกนั บันทึกผล นำ�เสนอผลการจัดกล่มุ

๑๑. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
จากการสงั เกตและสรปุ วา่ วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี มบตั ทิ สี่ งั เกตไดบ้ างประการ
เหมอื นกนั และบางประการแตกตา่ งกนั และสามารถน�ำ สมบตั เิ หลา่ นม้ี าใช้
จดั กลุ่มวสั ดุได้

82 ตัวชีว้ ดั

๓. บรรยายการเกดิ เสียงและทิศทางการเคลอ่ื นทขี่ องเสยี งจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชีว้ ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิดเสียง ดา้ นความรู้
๑. เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ วัตถุท่ีทำ�ให้เกิด โดยอาจใช้การซกั ถาม กจิ กรรมสาธิต เชน่ ดีดไม้บรรทดั ทข่ี อบโต๊ะ การ ๑. บรรยายการเกิดเสียง
เคาะระฆัง หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น คลิปเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียงต่าง ๆ ๒. บรรยายทศิ ทางการเคลอื่ นท่ขี องเสยี ง
เสยี งเปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งซงึ่ มที ง้ั แหลง่ ก�ำ เนดิ เพ่ือนำ�ไปสูก่ ารทำ�กิจกรรมเพ่ือสงั เกตการเกดิ เสียง
เสียงตามธรรมชาติและแหล่งกำ�เนิดเสียงท่ี ด้านทกั ษะ
มนษุ ยส์ ร้างขึน้ ๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของวัตถุเม่ือ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๒. เสียงเคล่อื นทจ่ี ากแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งทกุ ทศิ ทาง ทำ�ให้วัตถุเกิดเสียง เช่น การจับลำ�คอแล้วออกเสียง หรือสังเกต ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
การเปลี่ยนแปลงของวัตถุเม่ือทำ�ให้เกิดเสียงด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น
หมายเหต ุ : การเคาะโต๊ะ การเป่าหลอด การเคาะส้อมเสียง บันทึกผล สรุปผล การเปล่ียนแปลงของแหล่งกำ�เนิดเสียงเม่ือทำ�ให้
นั ก เ รี ย น เ รี ย น รู้ เ พี ย ง ทิ ศ ท า ง ที่ เ สี ย ง เ ค ลื่ อ น ที่ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และนำ�เสนอ เกิดเสียง และจากการบันทึกรายละเอียดของ
จากแหล่งกำ�เนิดเสียง โดยยังไม่ต้องสอนว่าเสียง การได้ยินเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียง เมื่อผู้สังเกต
เป็นคล่ืน ๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อ อยู่ที่ตำ�แหน่งต่าง ๆ ตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่ม
ใหไ้ ด้ข้อสรุปวา่ เสยี งเกดิ จากการสน่ั ของวัตถุ ความคดิ เหน็ ส่วนตวั
ด้านทักษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๔. ครใู หค้ วามร้เู พิ่มเตมิ วา่ วัตถทุ สี่ ั่นจนเกิดเสียง เรียกวา่ แหล่งกำ�เนิดเสียง
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยบรรยายการเปลยี่ นแปลง ซ่ึงมีทั้งแหล่งกำ�เนิดเสียงตามธรรมชาติ และแหล่งกำ�เนิดเสียงที่มนุษย์
สรา้ งข้นึ
ของแหล่งกำ�เนิดเสียงเมื่อทำ�ให้เกิดเสียง และ
บรรยายทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียงจาก ๕. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ เครอื่ งดนตรี
แหล่งกำ�เนิดเสียง เม่ือผู้สังเกตอยู่ท่ีตำ�แหน่ง ลำ�โพงเครื่องขยายเสียง และร่วมกันอภิปรายวิธีทำ�ให้แหล่งกำ�เนิดเสียง
ต่าง ๆ เกิดเสียง

๖. ครตู รวจสอบความรเู้ ดมิ เกย่ี วกบั การเคลอ่ื นทข่ี องเสยี ง โดยใชก้ ารซกั ถาม
หรอื ใชก้ ิจกรรมสาธิต

วทิ ยาศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑

การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชวี้ ดั 83

๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดย ๗. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั การเคลอ่ื นทขี่ อง ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
อ ภิ ป ร า ย แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ เสียง เพือ่ นำ�ไปสู่การท�ำ กิจกรรมเพอ่ื สงั เกตทศิ ทางการเคลือ่ นท่ีของเสียง การเช่ือมโยงความรู้กับหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้
การเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของ จากการสังเกตในเรื่องการเกิดเสียงและทิศทาง
เ สี ย ง กั บ ห ลั ก ฐ า น เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ ที่ ไ ด้ จ า ก ๘. นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรม เชน่ การท�ำ ให้แหลง่ กำ�เนดิ เสียงสน่ั และเกิดเสียง การเคล่ือนท่ีของเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียงเพ่ือ
ก า ร สั ง เ ก ต ม า ล ง ค ว า ม เ ห็ น เ ก่ี ย ว กั บ สงั เกตทิศทางการเคล่อื นที่ของเสียง บันทึกผล สรุปผล และน�ำ เสนอ ลงความเห็นเก่ียวกับการเกิดเสียงและทิศทาง
ก า ร เ กิ ด เ สี ย ง แ ล ะ ทิ ศ ท า ง ก า ร เ ค ล่ื อ น ที่ การเคลอื่ นทขี่ องเสยี งจากแหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี งไดอ้ ยา่ ง
ของเสียงจากแหลง่ กำ�เนิดเสียง ๙. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุนเพื่อให้ได้ สมเหตสุ มผล
ข้อสรปุ ว่าเสยี งเคลื่อนทจี่ ากแหล่งกำ�เนิดเสียงในทุกทิศทาง
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๓. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีบันทึกได้จาก ลงข้อสรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้
การสังเกตเพื่อลงข้อสรุปเก่ียวกับการเกิด จากการสังเกตและลงข้อสรุปเก่ียวกับการเกิดเสียง
เสียงและทิศทางการเคล่ือนที่ของเสียงจาก และทิศทางการเคล่ือนท่ีของเสียงจากแหล่งกำ�เนิด
แหลง่ กำ�เนดิ เสียง เสียงไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

ทมี โดยมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและ เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม
อภิปรายเกี่ยวกับการเกิดเสียงและทิศทาง และอภิปรายเก่ียวกับการเกิดเสียงและทิศทาง
การเคลอื่ นทข่ี องเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียงร่วมกับ
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ ผู้อื่นตงั้ แตเ่ ริม่ ต้นจนส�ำ เร็จลลุ ่วง
ข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จาก ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
การปฏิบัติกิจกรรม เพ่ือบรรยายการเกิด ข้อมูล และผลการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการ
เสียงและทิศทางการเคล่ือนท่ีของเสียงจาก ปฏิบัติกิจกรรมเกี่ยวกับการเกิดเสียงและทิศทาง
แหลง่ ก�ำ เนดิ เสยี ง การเคลื่อนท่ีของเสียงจากแหล่งกำ�เนิดเสียงใน
รูปแบบทีผ่ อู้ นื่ เขา้ ใจง่าย และถกู ต้อง

84 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑

สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้งั ปฏสิ มั พนั ธ์
ภายในระบบสรุ ิยะท่สี ง่ ผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองคป์ ระกอบ และความสมั พันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบัตภิ ยั
กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

ตวั ช้วี ัด
๑. ระบุดาวทป่ี รากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวนั และกลางคนื จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
๒. อธิบายสาเหตทุ ี่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชวี้ ัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกย่ี วกบั ดาวทป่ี รากฏหรอื ดา้ นความรู้
มองเห็นบนท้องฟ้า โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์
๑. ด า ว ท่ี ป ร า ก ฏ บ น ท้ อ ง ฟ้ า มี ด ว ง อ า ทิ ต ย์ รูปภาพ เพือ่ น�ำ ไปสูก่ ารสงั เกตท้องฟ้าในเวลากลางวนั และกลางคนื ๑. ระบุดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและ
ดวงจันทร์ และดาวอ่ืน ๆ ซ่ึงจะมองเห็น กลางคนื
ดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และอาจ ๒. นกั เรยี นสงั เกตทอ้ งฟา้ เวลากลางวนั และกลางคนื รวบรวมขอ้ มลู บนั ทกึ ผล
มองเห็นดวงจันทร์และดาวบางดวงบางเวลา จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายและระบดุ าวทม่ี องเหน็ บนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั ๒. อธิบายสาเหตุท่ีมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลา
ในบางวัน โดยดวงจันทร์และดาวอื่น ๆ จะ และกลางคืน รวมท้ังดาวบางดวงท่ีอาจมองเห็นได้ท้ังเวลากลางวันและ กลางวัน
มองเหน็ ชดั เจนในเวลากลางคืน กลางคนื สรา้ งแบบจ�ำ ลองดาวทป่ี รากฏบนทอ้ งฟา้ โดยเลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์
ท่ีเหมาะสม
๒. โดยท่ัวไปในเวลากลางวันจะมองไม่เห็น
ดวงจันทร์และดาวอ่ืน ๆ หรือมองเห็นไม่ ๓. นักเรียนนำ�เสนอแบบจำ�ลองที่สร้างขึ้นและร่วมกันแสดงความคิดเห็น
ชดั เจน เพราะแสงจากดวงอาทติ ยซ์ งึ่ สวา่ งกวา่ เพ่ือลงข้อสรุปว่า ในเวลากลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตย์ ส่วนดวงจันทร์
กลบแสงจากดวงจนั ทร์และดาวอ่ืน ๆ และดาวอ่ืน ๆ จะมองเห็นได้ในเวลากลางคืน และบางวันในเวลากลางวัน
อาจเห็นดวงจนั ทรแ์ ละดาวในบางเวลา

วิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑

การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วดั 85

ดา้ นทกั ษะ ๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับความแตกต่างของการมอง ด้านทกั ษะ
เห็นดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อนำ�ไปสู่
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสำ�รวจและรวบรวมข้อมูลใน การสร้างแบบจ�ำ ลองเพ่ืออธิบายสาเหตุ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตท้องฟ้าในเวลา ของการมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวัน โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ท่ี ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
เหมาะสมแทนท้องฟ้า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่น ๆ จากนั้น
กลางวันและกลางคืน และบนั ทึกสง่ิ ท่ีสงั เกต สรา้ งแบบจ�ำ ลอง รายละเอียดเก่ียวกับส่ิงท่ีปรากฏจริงบนท้องฟ้า ใน
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ� เวลากลางวันและกลางคืน ได้ครบถ้วน ตามความ
๕. นักเรียนนำ�เสนอแบบจำ�ลองท่ีสร้างข้ึน จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพื่อลง เป็นจรงิ โดยไมเ่ พิ่มความคิดเหน็ ส่วนตัว
ข้อมูลจากการสังเกตท้องฟ้ามาอธิบายว่า ข้อสรุปว่า ในเวลากลางวันจะมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่เพราะแสงจาก ๒. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้ อ มู ล
มองเหน็ ดวงอาทติ ยใ์ นเวลากลางวนั มองเหน็ ดวงอาทติ ย์ซึง่ สว่างกวา่ กลบแสงจากดวงจันทรแ์ ละดาวอนื่  ๆ จากการอธิบายผลการสังเกตเกี่ยวกับดาวที่ปรากฏ
ดวงจันทร์และดาวอื่น ๆ ในเวลากลางคืน บนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั และกลางคนื ไดอ้ ยา่ งสม
โดยบางวนั ในเวลากลางวนั อาจเหน็ ดวงจนั ทร์ เหตสุ มผล
บางเวลา ๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง
๓. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู แบบจำ�ลองที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดเกี่ยวกับการ
ท่ีได้จากการสังเกต มาออกแบบและเลือกใช้ มองเห็นดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดาว ได้อย่าง
วสั ดแุ ทนทอ้ งฟา้ ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์ และ ถกู ตอ้ ง
ดาวอน่ื  ๆ เพอื่ อธบิ ายการมองเหน็ ดวงอาทติ ย์
ดวงจันทร์และดาว

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสังเกต อภิปราย เป็นทีม จากการสังเกต อภิปรายผลจากการสังเกต
ผลจากการสังเกต และปรึกษาหารือในการ และปรึกษาหารือในการสร้างแบบจำ�ลองท้องฟ้า
สรา้ งแบบจำ�ลองทอ้ งฟ้า ร่วมกบั ผ้อู ่ืน ตง้ั แต่เร่มิ ต้นจนส�ำ เร็จลลุ ว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการจดบันทึก
ที่ได้จากการสังเกตท้องฟ้าโดยการบอกหรือ สิ่งที่มองเห็นบนท้องฟ้า นำ�เสนอผลงานด้วยการ
บันทึกส่ิงที่มองเห็นบนท้องฟ้า และนำ�เสนอ เขียนหรือเล่าเกี่ยวกับดาวบนท้องฟ้าเพ่ือให้ผู้อ่ืน
แบบจำ�ลองเพอ่ื ระบุส่งิ ท่ีมองเหน็ บนทอ้ งฟ้า เข้าใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถูกตอ้ ง

86 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั
การวิเคราะหต์ วั ชี้วัด
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ การวิเคราะห์ผลการสังเกต และตัดสินใจเลือก
วิเคราะห์ผลการสังเกต และตัดสินใจเลือก ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างแบบจำ�ลอง ได้อย่าง
ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ในการสรา้ งแบบจำ�ลอง สมเหตุสมผล

๔. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ โดยการวิเคราะห์ ๔. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการออกแบบ
ข้อมูลจากการสังเกตท้องฟ้า นำ�มาใช้ใน สร้างแบบจำ�ลองท้องฟ้า เพ่ืออธิบายสิ่งที่มองเห็น
การออกแบบสร้างแบบจำ�ลอง เพื่อระบุดาว บนท้องฟ้า ซึ่งสะท้อนให้เห็นจินตนาการและ
ท่ีปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและ แนวคิดใหม่
กลางคนื

ตัวช้วี ัด
๓. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของหนิ จากลักษณะเฉพาะตัวท่สี ังเกตได้

การวิเคราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชี้วัด

ด้านความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะของหนิ ด้านความรู้
โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ เชน่ ตวั อยา่ งหนิ รปู ภาพ หรอื วดี ทิ ศั น ์
หินพบได้ท่ัวไปในธรรมชาติมีลักษณะภายนอก ท่เี กี่ยวกับหิน เพอ่ื นำ�ไปส่กู ารสงั เกตลักษณะของหิน อธิบายลักษณะของหินจากลักษณะภายนอกเฉพาะตัว
เฉพาะตวั ที่สังเกตได้ เชน่ สี รปู ทรง และเนือ้ หิน ที่สงั เกตได้
๒. นักเรียนสังเกตลักษณะภายนอกของหิน เช่น สี รูปทรง และเน้ือหิน
รวบรวมขอ้ มลู และบันทึกผล

๓. นักเรียนนำ�เสนอ และร่วมกันแสดงความคิดเห็นโดยใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์ เพื่อลงข้อสรุปว่า หินอาจมีลักษณะภายนอกเฉพาะตัวที่
สังเกตได้ เช่น รูปทรงและเน้ือหนิ

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชวี้ ดั 87

ด้านทักษะ ด้านทกั ษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตลักษณะ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
ภายนอกของหนิ
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย รายละเอียดเก่ียวกับลักษณะภายนอกของหิน
ไ ด้ ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง โ ด ย ไ ม่ เ พ่ิ ม
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ความคดิ เหน็ ส่วนตัว
มาจัดกระทำ�และน�ำ เสนอ ๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ� ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มาจัด
ข้อมูลจากการสังเกตหินมาอธิบายและ กระท�ำ และนำ�เสนอ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และ
ลงความเหน็ เกยี่ วกับลักษณะของหิน ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน อธิบายผลการสังเกตหินมาลงความเห็นเก่ียวกับ
ลกั ษณะของหนิ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
เป็นทมี โดยนักเรียนร่วมกนั สงั เกต รวบรวม
ขอ้ มลู และบรรยายลกั ษณะภายนอกของหนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตลกั ษณะภายนอกของหนิ
เป็นทีม จากการสังเกต รวบรวมข้อมูลและบรรยาย
ลักษณะภายนอกของหินร่วมกับผู้อื่น ต้ังแต่เร่ิมต้น
จนสำ�เรจ็ ลุล่วง
๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตลักษณะภายนอกของ
หิน เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถกู ต้อง

88

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ วทิ ยาศาสตร์

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบตั ขิ องสงิ่ มชี ีวิต หน่วยพืน้ ฐานของสง่ิ มชี วี ิต การล�ำ เลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง 89
และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ยท์ ท่ี ำ�งานสัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะต่าง ๆ
ของพืชทที่ �ำ งานสัมพนั ธ์กัน รวมทง้ั นำ�ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชวี้ ัด
๑. ระบุวา่ พืชต้องการแสงและน�้ำ เพ่อื การเจรญิ เติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
๒. ตระหนักถึงความจ�ำ เป็นทีพ่ ชื ตอ้ งไดร้ ับน�ำ้ และแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชใหไ้ ดร้ ับสง่ิ ดงั กล่าวอยา่ งเหมาะสม

การวิเคราะห์ตัวช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับส่ิงที่จำ�เป็น ดา้ นความรู้
พชื ตอ้ งการแสงและนำ้�เพอื่ การเจริญเตบิ โต ต่อการเจริญเติบโตของพืช โดยอาจใช้วิธีการซักถาม เช่น หากต้องการ ระบุวา่ พชื ต้องการแสงและน้ำ�เพอ่ื การเจริญเตบิ โต
ปลูกพืชชนิดใดชนิดหน่ึงให้เจริญเติบโตจะทำ�ได้อย่างไร หรือใช้ส่ือต่าง ๆ
ดา้ นทักษะ เช่น ของจรงิ รปู ภาพ ภาพเคลือ่ นไหว หรอื วดี ิทัศน์ ด้านทกั ษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการทดลอง โดยการออกแบบการทดลอง ๒. นักเรียนร่วมกันวางแผนการทดลองเกี่ยวกับแสงเป็นสิ่งท่ีจำ�เป็น ๑. ประเมินทักษะการทดลอง จากการออกแบบ
ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ท�ำ การทดลอง บนั ทกึ ผล น�ำ เสนอ และรว่ มกนั
การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผล อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ ว่าแสงเป็นสิ่งทจี่ �ำ เป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื การทดลอง การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง และการบนั ทกึ ผล
การทดลองเกี่ยวกับความจำ�เป็นของแสงและ การทดลองเก่ียวกับความจำ�เป็นของแสงและนำ้�
นำ้�ต่อการเจริญเตบิ โตของพืช ๓. นักเรียนร่วมกันวางแผนการทดลองเก่ียวกับน้ำ�เป็นสิ่งท่ีจำ�เป็น ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม
๒. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ท�ำ การทดลอง บนั ทกึ ผล น�ำ เสนอและรว่ มกนั ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
โ ด ย นำ � ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร ท ด ล อ ง ม า แ ป ล อภิปรายเพ่ือลงขอ้ สรุปว่าน�้ำ เป็นส่ิงทีจ่ �ำ เป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพชื จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเก่ียวกับ
ความหมายและลงข้อสรุปเก่ียวกับแสงและ แสงและน้ำ�เป็นสิ่งท่ีจำ�เป็นต่อการเจริญเติบโต
นำ้�เป็นสิ่งทจี่ �ำ เป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าพืชต้องการแสงและน้ำ� ของพชื ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
เพื่อการเจริญเติบโต

90 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ช้ีวัด
การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๕. นกั เรยี นน�ำ ความรเู้ กย่ี วกบั แสงและน�้ำ เปน็ สง่ิ ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ของพืชมาใชใ้ นการปลกู พืชและดูแลพืชให้เจริญเติบโต ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการทดลอง เป็นทีมจากการทดลอง บนั ทึกผล น�ำ เสนอผล และ
บนั ทกึ ผล น�ำ เสนอผล และแสดงความคดิ เหน็ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแสงและนำ้�เป็นสิ่งท่ี
เก่ียวกับแสงและน้ำ�เป็นสิ่งที่จำ�เป็นต่อการ จ�ำ เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื รว่ มกบั ผอู้ นื่ ตง้ั แต่
เจรญิ เตบิ โตของพชื เริม่ ต้นจนส�ำ เร็จลลุ ่วง
๒. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๒. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วางแผนการทดลองเก่ียวกับแสงและนำ้�เป็น วางแผนการทดลองเกี่ยวกับแสงและนำ้�เป็นสิ่งท่ี
สงิ่ ท่ีจ�ำ เป็นตอ่ การเจริญเติบโตของพชื จำ�เป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชได้อย่างสมเหตุ
สมผล

ด้านจิตวิทยาศาสตร์ ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์

ตระหนักถึงความจำ�เป็นที่พืชต้องได้รับน้ำ�และ ประเมินความตระหนักถึงความจำ�เป็นท่ีพืชต้องได้รับ
แสงเพอื่ การเจรญิ เตบิ โต น้ำ�และแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รับ
สิ่งดงั กล่าวอย่างเหมาะสม


Click to View FlipBook Version