The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lovelymario21144, 2022-09-11 00:31:39

publication

publication

ตวั ชวี้ ัด วิทยาศาสตร์
๓. สรา้ งแบบจ�ำ ลองทบ่ี รรยายวฏั จักรชีวิตของพืชดอก
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒

91

การวิเคราะห์ตวั ช้ีวัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ช้ีวดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลง ดา้ นความรู้
ของพชื ดอก โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ เชน่ ตวั อยา่ งพชื ดอกจรงิ บรรยายวัฏจักรชีวติ ของพืชดอก
พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตและมีดอก ดอกจะมี รูปภาพ ภาพเคลือ่ นไหว วดี ทิ ัศน์ เพื่อนำ�ไปสกู่ ารสังเกตการเปลีย่ นแปลง
การสืบพันธ์ุ จากน้ันดอกเปล่ียนแปลงไปเป็น ของพืชดอก ดา้ นทกั ษะ
ผลและภายในผลมีเมล็ด เม่ือเมล็ดงอก ต้นอ่อน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ท่ีอยู่ภายในเมล็ดจะเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่ ๒. นักเรียนปลูกพืชที่มีวัฏจักรชีวิตส้ัน เช่น พริก ข้าวโพด ถ่ัว ทานตะวัน ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
พืชต้นใหม่จะเจริญเติบโตออกดอกเพื่อสืบพันธุ์ มะเขอื เทศ หรอื ศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นร้อู ื่น ๆ เช่น วีดทิ ศั น์ รูปภาพ บนั ทึก
มีผลต่อไปได้อีก หมุนเวียนต่อเนื่องเป็นวัฏจักร ผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของพืชดอกตั้งแต่งอกออกจากเมล็ด เก่ียวกับการสังเกตการเปล่ียนแปลงของพืชดอก
ชีวติ ของพชื ดอก จนเจริญเตบิ โตเปน็ ต้นท่ีออกดอก มีผลและเมล็ดได้ ตั้งแต่งอกออกจากเมล็ด จนเจริญเติบโตเป็นต้น
ที่ออกดอก ผล และเมล็ด ได้อย่างครบถ้วน
ด้านทักษะ ๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตการเปลย่ี นแปลง ตามความเปน็ จรงิ โดยไม่เพม่ิ ความคิดเห็นสว่ นตัว
ของพชื ดอก สรา้ งแบบจ�ำ ลองวฏั จกั รชวี ติ ของพชื และน�ำ เสนอแบบจ�ำ ลอง ๒. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท่ีแสดงให้เห็นถึงแนวคิดท่ีถูกต้องเก่ียวกับวัฏจักร
๑. การสังเกต โดยการสังเกตการเปลี่ยนแปลง ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า พืชดอกเมื่อเจริญเติบโตและ ชวี ิตของพชื ดอก
มดี อก ดอกจะมกี ารสบื พนั ธุ์เปล่ยี นแปลงไปเปน็ ผลและภายในผลมเี มลด็
ข อ ง พื ช ด อ ก ต้ั ง แ ต่ ง อ ก อ อ ก จ า ก เ ม ล็ ด เม่ือเมล็ดงอก ต้นอ่อนท่ีอยู่ภายในเมล็ดจะเจริญเติบโตเป็นพืชต้นใหม่
จนเจริญเติบโตเป็นต้นที่ออกดอก มีผล พชื ตน้ ใหมจ่ ะเจรญิ เตบิ โตออกดอกเพอื่ สบื พนั ธม์ุ ผี ลตอ่ ไปไดอ้ กี หมนุ เวยี น
และเมล็ด ตอ่ เน่อื งเป็นวฏั จกั รชีวติ ของพืชดอก
๒. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู
ที่ได้จากการสังเกตการเปล่ียนแปลงของ
พืชดอกตั้งแต่งอกออกจากเมล็ด จนเจริญ
เติบโตเป็นต้นท่ีออกดอก มีผลและเมล็ด
มาสรา้ งเปน็ แบบจ�ำ ลอง เพอ่ื ใชใ้ นการบรรยาย
วัฏจกั รชีวิตของพืชดอก

92 แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชีว้ ัด
การวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
จากการสงั เกต การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง การน�ำ เสนอ และ
เปน็ ทมี โดยมสี ว่ นรว่ มในการสงั เกต การสรา้ ง การแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั วฏั จกั รชวี ติ ของพชื ดอก
แบบจำ�ลอง การนำ�เสนอ และการแสดง รว่ มกับผ้อู น่ื ต้ังแตเ่ ริ่มต้นจนสำ�เร็จลุลว่ ง
ความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับวัฏจักรชีวิต ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
พชื ดอก ที่ได้จากสังเกตและการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู วัฏจักรชีวิตของพืชดอก เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง
ที่ได้จากสังเกต และการแสดงความคิดเห็น รวดเร็ว ชัดเจน และถกู ตอ้ ง
เกยี่ วกบั วัฏจกั รชวี ติ ของพืชดอก

ตวั ชี้วัด
๔. เปรียบเทียบลกั ษณะของสิ่งมีชวี ติ และสิ่งไม่มชี ีวติ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้

การวิเคราะหต์ ัวชี้วัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชวี้ ัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับลักษณะของ ด้านความรู้
สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ ไมม่ ชี วี ติ โดยอาจใชว้ ธิ กี ารซกั ถามหรอื ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่
สิ่ ง ที่ อ ยู่ ร อ บ ตั ว เ ร า มี ท้ั ง ที่ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ของจรงิ รูปภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว หรือวดี ทิ ัศน์ บอกความแตกต่างระหว่างลักษณะของสิ่งมีชีวิตและ
สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ สงิ่ มชี วี ติ ตอ้ งการอาหาร มกี ารหายใจ สง่ิ ไม่มีชีวิต
เจริญเติบโต ขับถ่าย เคล่ือนไหว ตอบสนองต่อ ๒. นกั เรยี นรว่ มกนั วางแผนเพอ่ื ตอบค�ำ ถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ
สง่ิ เรา้ และสบื พนั ธไุ์ ดล้ กู ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั และสิ่งไม่มชี วี ติ
พ่อแม่ สว่ นสง่ิ ไม่มีชีวติ จะไม่มลี กั ษณะดงั กลา่ ว

วิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒

การวเิ คราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชี้วัด 93

ดา้ นทักษะ ๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามที่ร่วมกันวางแผนไว้ โดยสังเกตและบรรยาย ดา้ นทกั ษะ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่ครูจัดเตรียมให้ เช่น ดิน หิน น้ำ� ส่ิงของเครื่องใช้
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตและบรรยาย ต่าง ๆ มนษุ ย์ สัตวช์ นิดตา่ ง ๆ และพืชชนดิ ต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็นของจรงิ หรือ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
สอื่ อืน่  ๆ ๑. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร บั น ทึ ก
ลักษณะของสิ่งมชี ีวิตและสิ่งไมม่ ชี ีวติ
๒. ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมลู โดยแสดง ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั จดั กลมุ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นกนั เขา้ ดว้ ยกนั แลว้ รว่ ม รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การสงั เกตลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ
กนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ ลกั ษณะส�ำ คญั ของกลมุ่ ทจ่ี ดั ไว้ เชน่ กนิ อาหารได ้ แ ล ะ สิ่ ง ไ ม่ มี ชี วิ ต ต า ม ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง โ ด ย ไ ม่ เ พ่ิ ม
ความคิดเห็นและเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับ หายใจได้ ขับถ่ายได้ เจริญเติบโตได้ หรือหายใจไม่ได้ กินอาหารไม่ได้ ความคิดเห็นส่วนตวั
ลักษณะของสิ่งมชี วี ิตและสิง่ ไม่มชี ีวติ เจริญเตบิ โตไมไ่ ด้ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก
๓. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยจัดจำ�แนก ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น ใ น ผ ล ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ ข้ อ มู ล
สิ่งต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะของส่ิงมีชีวิตและ ๕. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ สงิ่ ทต่ี อ้ งการอาหาร มกี ารหายใจ เ ก่ี ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ สิ่ ง ไ ม่ มี ชี วิ ต
สิ่งไม่มีชวี ิตเป็นเกณฑ์ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคลื่อนไหว สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อสิ่งเร้า คือ ไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
สงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ ทไ่ี มต่ อ้ งการอาหาร ไมม่ กี ารหายใจ ไมเ่ จรญิ เตบิ โต ไมข่ บั ถา่ ย ๓. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากผล
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ไมเ่ คล่อื นไหว ไม่สืบพันธ์ุ และไมต่ อบสนองต่อส่งิ เร้า คือ สิง่ ไม่มีชีวิต การจำ�แนกส่ิงต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่มส่ิงมีชีวิตและ
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน กลมุ่ ส่ิงไม่มีชีวติ ได้อยา่ งถูกต้องตามเกณฑท์ ก่ี ำ�หนด
๖. ครจู ัดเตรียมตัวอยา่ งสงิ่ ของ พืช และสัตวช์ นดิ อ่นื  ๆ มาใหน้ กั เรยี นสงั เกต
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต เปรยี บเทยี บลกั ษณะ และจดั เขา้ กลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ หรอื สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ พรอ้ มบอก ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
การจำ�แนก บันทึกผล นำ�เสนอผล และ เหตผุ ล ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับลักษณะของ
สง่ิ มีชวี ติ และสิ่งไมม่ ีชวี ิต ๗. นกั เรียนบันทึกผลและนำ�เสนอผลการจดั จ�ำ แนกสง่ิ มีชวี ติ และสิง่ ไม่มชี ีวิต เป็นทีม จากการสังเกต การจำ�แนก บันทึกผล
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ วาดภาพ ใช้ตาราง หรอื ผงั ความคิด น�ำ เสนอผล และแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ลกั ษณะ
ท่ีได้จากการสังเกตและการจำ�แนกเก่ียวกับ ของส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่
ลกั ษณะของสงิ่ มชี ีวติ และสิง่ ไม่มีชีวติ ๘. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ตอบค�ำ ถามทตี่ งั้ ขนึ้ และเปรยี บเทยี บลกั ษณะ เริ่มต้นจนสำ�เร็จลลุ ่วง
ของสงิ่ มชี วี ติ และสงิ่ ไมม่ ชี วี ติ แลว้ ลงขอ้ สรปุ วา่ สงิ่ ทอี่ ยรู่ อบตวั เรามที ง้ั ทเี่ ปน็ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน โดยส่ิงมีชีวิตต้องการ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากผลการสงั เกตและการจ�ำ แนกเกย่ี วกบั
อาหาร มีการหายใจ เจริญเติบโต ขับถ่าย เคล่ือนไหว ตอบสนองต่อ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต เพ่ือให้ผู้อ่ืน
ส่งิ เร้า และสบื พนั ธุไ์ ด้ลกู ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลึงกบั พอ่ แม่ ส่วนสิ่งไมม่ ีชีวิต เข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
จะไมม่ ลี ักษณะดังกล่าว

94 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒

สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ยี ว
ระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานใน
ชีวิตประจ�ำ วนั ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ทีเ่ ก่ยี วข้องกับเสียง แสง และคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ชวี้ ดั
๑. เปรยี บเทียบสมบตั กิ ารดูดซบั น้�ำ ของวัสดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และระบกุ ารน�ำ สมบัตกิ ารดดู ซับน้ำ�ของวัสด ุ
ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการทำ�วตั ถุในชีวิตประจ�ำ วัน

การวิเคราะห์ตัวช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครทู บทวนความรู้เกย่ี วกบั ชนดิ และสมบัตขิ องวัสดโุ ดยอาจใช้คำ�ถามหรอื ด้านความรู้
สื่อต่าง ๆ
เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับนำ้�ของวัสดุโดย ๑. เปรียบเทยี บสมบัติการดดู ซบั นำ�้ ของวัสดุ
ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และระบุการนำ�สมบัติ ๒. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกยี่ วกบั สมบตั กิ ารดดู ซบั ๒. ยกตัวอย่างการเลือกวัสดุไปใช้ประโยชน์ตามสมบัติ
การดูดซับน้ำ�ของวัสดุไปประยุกต์ใช้ในการทำ� นำ้�ของวัสดุ เช่น ครูสร้างสถานการณ์ โดยหยดนำ้�บนโต๊ะและให้นักเรียน
วตั ถใุ นชวี ิตประจ�ำ วนั อภิปรายว่าควรเลือกใชว้ สั ดทุ ม่ี ีสมบตั อิ ยา่ งไรในการเช็ดนำ�้ ใหแ้ ห้ง การดูดซับนำ้�

๓. ครใู ชค้ �ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหว์ ธิ กี ารทดลองเพอื่ เปรยี บเทยี บสมบตั ิ
การดูดซับนำ้�ของวัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษเย่ือ กระดาษหนังสือพิมพ์
ผ้าฝ้าย พลาสติก และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับส่ิงที่จัดให้
แตกต่างกันในการทดลอง ได้แก่ ชนิดของวัสดุ ส่ิงที่จัดให้เหมือนกัน เช่น
ขนาดและความหนาของวสั ดุ ปรมิ าณน�้ำ เวลาทใ่ี ชใ้ นการดดู ซบั น�้ำ ขนาด
และรูปร่างของภาชนะ สิ่งที่สังเกตตลอดการทดลองได้แก่ ปริมาณน้ำ�ท่ี
วสั ดุแตล่ ะชนดิ ดูดซบั รวมท้งั ระบุจุดประสงค์การทดลอง

วิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้ีวดั 95

ด้านทกั ษะ (หมายเหต :ุ ครูยงั ไม่ควรสอนค�ำ วา่ ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรที่ ดา้ นทกั ษะ
ตอ้ งควบคุมใหค้ งท)ี่
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการสงั เกตโดยสงั เกตปรมิ าณน�้ำ ทว่ี สั ดุ ๔. นักเรียนปฏิบัติตามวิธีการทดลอง บันทึกผล และอาจนำ�ผลการทดลอง ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกผล
มาแสดงในรูปแผนภูมิ เช่น แผนภูมิรูปภาพ โดยให้แกนนอนแทนชนิด
แตล่ ะชนดิ ดดู ซบั ไว้ และบนั ทกึ สงิ่ ทสี่ งั เกตได้ ของวสั ดุ แกนตง้ั แทนปรมิ าณน้ำ�ทว่ี ัสดุแต่ละชนิดดดู ซับ น�ำ เสนอ ปริมาณนำ้�ที่วัสดุแต่ละชนิดดูดซับไว้ถูกต้องตาม
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย ความเปน็ จรงิ
๕. ครูใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และลงข้อสรุปวา่ วัสดุแต่ละชนดิ ดดู ซับนำ้�ได้แตกต่างกนั ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการทดลองมา
มานำ�เสนอในรปู แบบของแผนภมู ิ บันทึกและสื่อความหมายได้ในรูปแบบของแผนภูมิ
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ� ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ิมเติมว่าวัสดุแต่ละชนิดดูดซับน้ำ�ได้ หรือรปู แบบอน่ื  ๆ ได้ถกู ตอ้ งและชัดเจน
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายสมบัติการ แตกต่างกัน วัสดุบางชนิดดูดซับน้ำ�ได้ดี บางชนิดดูดซับน้ำ�ได้ไม่ดีและ ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ�
ดดู ซับนำ้�ของวสั ดุ บางชนดิ ไมด่ ดู ซบั น้�ำ ซึ่งจัดเป็นวัสดกุ ันนำ้� ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายสมบัติการดูดซับนำ้�
๔. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรโดย ของวสั ดุ พร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ
กำ�หนดสิ่งท่ีจัดให้แตกต่างกัน (ตัวแปรต้น) ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายการเลือกวัสดุที่ใช้ทำ� ๔. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรจาก
สิ่งที่สังเกตตลอดการทดลอง (ตัวแปรตาม) วัตถุหรือสิ่งของในชีวิตประจำ�วันโดยพิจารณาจากสมบัติการดูดซับน้ำ� การกำ�หนดสิ่งที่จัดให้แตกต่างกัน (ตัวแปรต้น) ส่ิง
และสิ่งที่จัดให้เหมือนกัน (ตัวแปรท่ีต้อง ของวสั ดุ เชน่ ผา้ เชด็ ตวั ผา้ เชด็ รถ ผา้ ถพู น้ื รม่ เสอ้ื กนั ฝน พนื้ รองเทา้ ส�ำ ล ี ท่ีสังเกตตลอดการทดลอง (ตัวแปรตาม) และส่ิงท่ี
ควบคุมให้คงท่ี) ในการทดลองเร่ืองสมบัติ กระดาษเยื่อ กระดาษ จัดให้เหมือนกัน (ตัวแปรควบคุม) ในการทดลอง
การดดู ซบั น้ำ�ของวัสดุ เรอื่ งสมบตั กิ ารดดู ซบั น�้ำ ของวสั ดไุ ดค้ รบถว้ นถกู ตอ้ ง
๕. ทกั ษะการทดลองโดยปฏบิ ตั กิ ารทดลองเรอ่ื ง ๕. ประเมินทักษะการทดลองจากการลงมือปฏิบัติได้
สมบัติการดูดซับนำ้�ของวสั ดุ ตามขั้นตอนและการบันทึกข้อมูลผลการทดลอง
๖. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ เรอ่ื งสมบตั กิ ารดดู ซบั น�้ำ ของวสั ดไุ ดค้ รบถว้ นถกู ตอ้ ง
โดยการตีความหมายข้อมูลจากการทดลอง ๖. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
และการศกึ ษาคน้ ควา้ แลว้ แสดงความคดิ เหน็ จากการตีความหมายโดยใช้ข้อมูลจากการทดลอง
เพ่ือลงข้อสรุปเรื่องสมบัติการดูดซับน้ำ� และการศึกษาค้นคว้าเพ่ือลงข้อสรุปว่าวัสดุแต่ละ
ของวัสดุ ชนิดดูดซับนำ้�ได้แตกต่างกัน จึงนำ�ไปใช้ประโยชน์
ได้แตกต่างกนั

96 แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชวี้ ัด
การวเิ คราะห์ตวั ช้วี ัด
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทีม จากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน
เป็นทีม โดยร่วมกันทำ�การทดลองและ ทำ�การทดลองและนำ�เสนอผลการทดลอง เร่ือง
นำ�เสนอผลการทดลอง เร่ืองการดูดซับน้ำ� การดูดซับน้ำ�ของวัสดุ ศึกษาค้นคว้าการนำ�สมบัติ
ของวัสดุ ศึกษาค้นคว้าการนำ�สมบัติ การ การดูดซบั น้�ำ ของวสั ดุไปใชป้ ระโยชน์
ดูดซับน�้ำ ของวสั ดไุ ปใชป้ ระโยชน์ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการนำ�เสนอผล
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการ การทดลองและร่วมกันอภิปรายในช้ันเรียนเร่ือง
ทดลองและร่วมกันแสดงความคิดเห็นในชั้น สมบตั กิ ารดูดซบั น�ำ้ ของวสั ดุใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ
เรยี นเรื่องสมบัติการดูดซบั น�้ำ ของวัสดุ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย การวิเคราะห์สถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันและ
การวิเคราะห์สถานการณ์ในชีวิตประจำ� ลงข้อสรุปเก่ียวกับการเลือกใช้วัสดุตามสมบัติ
วันเกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุตามสมบัติการ การดดู ซบั น�ำ้ ของวัสดไุ ด้ถกู ต้อง
ดดู ซับน�ำ้

ตวั ชี้วัด วทิ ยาศาสตร์
๒. อธิบายสมบตั ทิ ่ีสงั เกตไดข้ องวสั ดทุ ีเ่ กิดจากการน�ำ วสั ดมุ าผสมกนั โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒

97

การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้วี ัด

ด้านความรู้ ๑. ครทู บทวนความรูเ้ กี่ยวกับชนดิ และสมบตั ขิ องวสั ดุ ดา้ นความรู้
๒. ครูอภิปรายกับนักเรียนเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ทำ�ส่วนประกอบของวัตถุต่าง ๆ อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำ�วัสดุ
วัสดุบางอย่างสามารถนำ�มาผสมกันซึ่งทำ�ให้ มาผสมกนั
ได้สมบัติที่เหมาะสมเพ่ือนำ�ไปใช้ประโยชน์ จากส่อื ต่าง ๆ เช่น รปู ภาพ วีดิทัศน์
ตามต้องการ เช่น แป้งผสมน้ำ�ตาลและนำ้�กะทิ ๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับการทำ�วัตถุจาก ด้านทักษะ
ใช้ทำ�ขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเย่ือกระดาษ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ใช้ท�ำ กระปุกออมสิน ปูนผสมหนิ ทราย และน�้ำ การนำ�วสั ดุมาผสมกันด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เพอื่ นำ�ไปสูก่ ารท�ำ กจิ กรรม ๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ใชท้ �ำ คอนกรตี ๔. นักเรียนปฏิบัติโดยการออกแบบวิธีการทำ�วัตถุ ๑ ชนิดโดยใช้ชนิด
การนำ�ข้อมูลจากการสังเกตวัสดุที่ผสมกันมาระบุ
ดา้ นทกั ษะ ปริมาณของวัสดุท่ีเป็นส่วนผสมต่างกัน เช่น การทำ�ขนมไทยที่ทำ�จาก และอธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุท่ีใช้ทำ�วัตถุ
แปง้ ผสมน�้ำ ตาลทราย ท�ำ จากแปง้ ผสมน�้ำ ตาลทรายและน�ำ้ กระทโิ ดยผสม พรอ้ มแสดงเหตุผลประกอบ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ น�้ำ ตาลทรายและน�้ำ กะทใิ นปรมิ าณทแ่ี ตกตา่ งกนั กระปกุ ออมสนิ ทที่ �ำ จาก ๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลง
๑. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ� ปนู ปลาสเตอรผ์ สมเยอ่ื กระดาษในปรมิ าณแตกตา่ งกนั กระถางตน้ ไมจ้ าก ข้อสรุปจากการตีความหมายจากการสังเกตเพื่อลง
เปเปอร์มาเช่ หรือครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมตามวิธีการที่กำ�หนดไว้ ข้อสรุปว่าวัตถุอาจทำ�จากวัสดุหลายชนิดผสมกัน
ข้อมูลจากการสังเกตวัสดุท่ีผสมกันและ ซงึ่ มกี ารเปลย่ี นชนดิ วสั ดุ และปรมิ าณของสว่ นผสม บนั ทกึ ผลและน�ำ เสนอ สมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุท่ีได้จากการผสมอาจ
อธิบายสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดุท่ีได้จาก วิธกี ารออกแบบและผลการท�ำ กจิ กรรม แตกตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ และปรมิ าณของวสั ดทุ น่ี �ำ
การผสม ๕. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ มาผสมกนั
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ และลงขอ้ สรปุ วา่ วตั ถอุ าจท�ำ จากวสั ดหุ ลายชนดิ ผสมกนั วสั ดทุ ไ่ี ดจ้ ากการ
โดยการตีความหมายจากการสังเกตเพ่ือลง ผสมมสี มบตั ทิ สี่ งั เกตไดแ้ ตกตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั สมบตั แิ ละปรมิ าณของวสั ดทุ ่ี
ขอ้ สรปุ วสั ดุท่เี ปน็ สว่ นผสมของวัตถุ นำ�มาผสมกนั
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายตัวอย่างการเลือกใช้วัสดุท่ี
น�ำ มาผสมกนั ในการท�ำ วตั ถตุ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ การผสมคอนกรตี
การท�ำ แหวนทองเหลอื ง การผสมสี การท�ำ ขนม การทำ�อาหาร เพ่ือน�ำ ไป
สู่การร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าการเลือกใช้วัสดุมาทำ�วัตถุหรือ
ส่ิงของนั้นตอ้ งดจู ากสมบตั แิ ละปริมาณของวัสดุที่นำ�มาผสม

98 แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชวี้ ัด
การวิเคราะหต์ ัวชวี้ ดั
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ใน
เป็นทีม โดยร่วมกันสังเกตและนำ�เสนอผล การสังเกตและนำ�เสนอผลการสังเกตเร่ืองสมบัติท่ี
การสงั เกตเรอ่ื งสมบตั ทิ ส่ี งั เกตไดข้ องวสั ดทุ ไี่ ด้ สังเกตไดข้ องวสั ดุท่ีไดจ้ ากการผสมวัสดุหลายชนิด
จากการผสม ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการนำ�เสนอ
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตเพ่ืออธิบายสมบัติที่สังเกต
ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตเพอ่ื อธบิ ายสมบตั ขิ องวสั ดุ ไดข้ องวสั ดุท่ีได้จากการผสม
ทไี่ ดจ้ ากการนำ�วัสดหุ ลายชนดิ มาผสมกนั ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
๓. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ โดยการน�ำ การนำ�ข้อมูลจากการสังเกตมาเปรียบเทียบสมบัติ
ข้อมูลจากการสังเกตมาเปรียบเทียบสมบัติ ของวัสดุก่อนท่ีจะผสมกันและสมบัติของวัสดุท่ีได้
ของวสั ดกุ อ่ นทจ่ี ะผสมกนั และสมบตั ขิ องวสั ดุ จากการผสม
ท่ีได้จากการผสม ๔. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์ จากการเลือก
๔. ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ โดยการเลอื กชนดิ ชนิดและปริมาณของวัสดุเพ่ือผสมกันให้ได้วัสดุท่ีมี
และปริมาณของวัสดุท่ีนำ�มาผสมกันให้ได้ สมบัติตา่ ง ๆ ตามความต้องการไดอ้ ย่างเหมาะสม
วัสดุทมี่ สี มบัติตามตอ้ งการ

ตวั ช้วี ดั วทิ ยาศาสตร์
๓. เปรียบเทยี บสมบัติท่ีสังเกตได้ของวัสดเุ พ่อื นำ�มาทำ�เป็นวัตถใุ นการใช้งานตามวัตถุประสงค์ และอธิบายการน�ำ วสั ดุ
ทใ่ี ช้แล้วกลับมาใชใ้ หม่โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒
๔. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำ�วัสดุทีใ่ ชแ้ ล้วกลบั มาใช้ใหม่ โดยการน�ำ วสั ดุท่ใี ช้แลว้ กลับมาใช้ใหม่
99

การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการใช้วัสดุ ดา้ นความรู้
ในชีวิตประจำ�วัน โดยใช้ภาพหรือสถานการณ์ข่าวต่าง ๆ เพื่อนำ�ไปสู่ ๑. ยกตวั อยา่ งการเลอื กใชว้ สั ดุตามสมบตั ขิ องวสั ดุ
การเลือกใช้วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุเพื่อใช้งานตาม การสบื คน้ เกย่ี วกบั แนวทางการเลอื กใชว้ สั ดมุ าท�ำ เปน็ วตั ถตุ อ้ งพจิ ารณา ๒. ยกตวั อย่างการน�ำ วสั ดุทีใ่ ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่
วตั ถปุ ระสงคข์ น้ึ อยกู่ บั สมบตั ขิ องวสั ดุ และยงั ตอ้ ง จากสมบัติของวสั ดุ
ค�ำ นงึ ถงึ คณุ ภาพ ความปลอดภยั ความเหมาะสม ดา้ นทักษะ
กบั ราคา วสั ดตุ ่าง ๆ ท่ปี ระกอบกนั เป็นวัตถุ บาง ๒. นกั เรยี นส�ำ รวจและสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การเลอื กใชว้ สั ดมุ าท�ำ เปน็ วตั ถุ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อย่างสามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อเป็นการ ตามสมบัติของวัสดุ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต ๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการนำ�
ใช้วัสดอุ ย่างคมุ้ ค่าและลดปรมิ าณขยะ สอ่ื ส่ิงพิมพ์ต่าง ๆ บนั ทึกผลการสืบคน้ น�ำ เสนอ
ข้อมูลจากการสังเกตวัตถุมาระบุและอธิบายสมบัติของ
ดา้ นทกั ษะ ๓. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่าแนวทางการเลือกใช้วัสดุ วัสดุที่ใช้ทำ�วัตถุแตล่ ะส่วน พร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ
มาท�ำ เปน็ วัตถตุ อ้ งพจิ ารณาจากสมบตั ิของวัสดนุ ัน้  ๆ ๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากการตีความหมายจากการสังเกตเพื่อลงข้อสรุป
๑. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ� ๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับสาเหตุของ ว่าวัตถุอาจมีส่วนประกอบหลายส่วน ทำ�จากวัสดุ
ปญั หาทีม่ ปี ริมาณขยะเพ่ิมขึน้ จากการใช้วัสดุในชวี ิตประจ�ำ วนั โดยใช้ หลายชนิด แต่ละส่วนใช้งานแตกต่างกัน การเลือกใช้
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายการเลือกใช้ ภาพหรอื สถานการณข์ า่ วตา่ ง ๆ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ เกยี่ วกบั แนวทาง วัสดุในการทำ�วัตถุชนิดต่าง ๆ ต้องดูจากสมบัติของวัสดุ
วัสดตุ ามสมบัติของวสั ดุท่ใี ชท้ ำ�วัตถุ การลดปรมิ าณขยะจากวสั ดทุ ีใ่ ช้แล้ว ลักษณะการใช้งาน คุณภาพ ความเหมาะสมกับราคา
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ และความปลอดภัย
โดยการตีความหมายจากการสังเกตเพ่ือลง ๕. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการลดปริมาณขยะ จาก
ข้อสรุป การนำ�วัสดุมาทำ�เป็นวัตถุในการใช้ อนิ เทอรเ์ น็ต สื่อสงิ่ พิมพ์ตา่ ง ๆ บนั ทึกผลการสบื คน้ น�ำ เสนอ
งานตามวตั ถุประสงค์
๖. ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่าแนวทางการลดปริมาณ
ขยะจากวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้ อาจท�ำ ไดโ้ ดยการน�ำ วสั ดเุ หลา่ นน้ั กลบั มาใชใ้ หม่
ไดด้ ้วยวธิ ีตา่ ง ๆ เชน่ การใช้ซำ้� การซอ่ มแซม การรไี ซเคิล

100 การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้วี ัด

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ๗. ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ งานเปน็ กลมุ่ เพอ่ื ออกแบบวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้ น�ำ กลบั มาใชใ้ หม่ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน โดยประดษิ ฐเ์ ปน็ สงิ่ ของตา่ ง ๆ เชน่ ของเลน่ ของใช้ และน�ำ เสนอโดยใชร้ ปู ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
แบบทเ่ี หมาะสม
เป็นทีม โดยร่วมกันสำ�รวจและนำ�เสนอผล เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ใน
การสำ�รวจเรื่องการเลือกใช้วัสดุมาใช้งาน ๘. ครูและนักเรียนร่วมประเมินผลงานและจัดแสดงผลงานในรูปแบบที่ การส�ำ รวจและน�ำ เสนอผลการส�ำ รวจเรอื่ งการเลอื ก
ตามวัตถุประสงค์และการนำ�วัสดุท่ีใช้แล้ว เหมาะสม เช่น การแสดงผลงานและนำ�เสนอในสื่อสังคมออนไลน์ ใช้วัสดุมาใช้งานตามวัตถุประสงค์และการนำ�วัสดุที่
กลับมาใช้ซ�ำ้ การแสดงผลงานและนำ�เสนอในวันวิทยาศาสตร์ การประกวดในงาน ใชแ้ ล้วกลบั มาใชซ้ �ำ้
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการแสดงความ โรงเรยี น ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการแสดง
คิดเห็นและนำ�เสนอเรื่องการเลือกใช้วัสดุมา ความคดิ เหน็ และน�ำ เสนอเรอ่ื งการเลอื กใชว้ สั ดมุ าใช้
ใช้งานตามวัตถุประสงค์และการนำ�วัสดุท่ีใช้ งานตามวัตถุประสงค์และการนำ�วัสดุท่ีใช้แล้วกลับ
แล้วกลบั มาใช้ซ้�ำ มาใช้ซำ้� ให้ผ้อู ่นื เขา้ ใจ
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณจากการใช้
ค ว า ม คิ ด อ ย่ า ง มี เ ห ตุ ผ ล ใ น ก า ร อ ภิ ป ร า ย ความคิดอย่างมีเหตุผลในการอภิปรายการเลือกใช้
ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ วั ส ดุ ม า ใ ช้ ง า น ใ ห้ ต ร ง ต า ม วัสดุมาใช้งานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ขึ้นกับสมบัติ
วตั ถปุ ระสงค์ข้นึ กับสมบตั ขิ องวสั ดนุ ัน้ ของวสั ดุนัน้
๔. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ โดยใช้ความคิด ๔. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์ จากการใช้ความ
ในการประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุท่ี คิดในการประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุที่ใช้แล้ว
ใช้แลว้ และน�ำ เสนอในรปู แบบเหมาะสม และนำ�เสนอในรปู แบบเหมาะสม
๕. ทั ก ษ ะ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ๕. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
การสื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลจากแหล่ง ส่ือสาร จากการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
ขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่ถกู ต้องและเหมาะสม

ด้านจติ วิทยาศาสตร์ ด้านจติ วิทยาศาสตร์
ตระหนักถึงคุณค่าของการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับ ประเมินความตระหนักถึงการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับมา
มาใชใ้ หม่ โดยการน�ำ วสั ดทุ ใี่ ชแ้ ลว้ กลบั มาใชใ้ หม่ ใช้ใหม่ จากการนำ�วัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ได้อย่าง
เหมาะสม

ตัวชี้วดั วทิ ยาศาสตร์
๕. บรรยายแนวการเคลอ่ื นทขี่ องแสงจากแหลง่ กำ�เนิดแสง และอธิบายการมองเหน็ วตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ์
๖. ตระหนักในคุณคา่ ของความรขู้ องการมองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั อันตรายจากการมองวตั ถุที่อยูใ่ น ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
บรเิ วณทีม่ แี สงสว่างไมเ่ หมาะสม
101

การวิเคราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชีว้ ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเก่ียวกับแหล่งกำ�เนิดแสง โดย ด้านความรู้
อาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น รูป หรือแหล่งกำ�เนิดแสงจริง
๑. แสงเคล่ือนท่ีจากแหล่งกำ�เนิดแสงในทุก จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าวัตถุท่ีมีแสงในตัวเอง เรียกว่า ๑. บรรยายแนวการเคลอ่ื นทข่ี องแสงจากแหลง่ ก�ำ เนดิ แสง
ทศิ ทางในลกั ษณะเป็นแนวตรง แหล่งก�ำ เนิดแสง ๒. อธิบายการมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกำ�เนิดแสงและ

๒. การมองเห็นวัตถุท่ีเป็นแหล่งกำ�เนิดแสง ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับการเคล่ือนที่ วตั ถทุ ไ่ี มเ่ ป็นแหล่งกำ�เนิดแสง
แสงจากวัตถุนั้นจะเข้าสู่ตาโดยตรง ส่วน ของแสงจากแหลง่ ก�ำ เนดิ แสง โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ ๓. บอกอันตรายจากการมองวัตถุท่ีสว่างมาก และ
ก า ร ม อ ง เ ห็ น วั ต ถุ ท่ี ไ ม่ เ ป็ น แ ห ล่ ง กำ � เ นิ ด วี ดิ ทั ศ น์ ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น แ ห ล่ ง กำ � เ นิ ด แ ส ง เ พื่ อ นำ � ไ ป สู่ ก า ร สั ง เ ก ต
แสง ต้องมีแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสงอื่นไป การเคล่อื นท่ขี องแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง ยกตัวอย่างวิธีการป้องกันดวงตาจากแสงที่สว่างมาก
ตกกระทบวัตถุแลว้ สะทอ้ นเขา้ ตา รวมท้ังยกตัวอย่างการจัดความสว่างให้เหมาะสมกับ
๓. นักเรียนปฏิบัติโดยใช้อุปกรณ์ท่ีมีแหล่งกำ�เนิดแสงที่สามารถมองเห็น การทำ�กจิ กรรมต่าง ๆ
๓. การมองวัตถุที่สว่างมากอาจเกิดอันตราย ลำ�แสงจากแหล่งกำ�เนิดแสงได้ทุกทิศทาง เช่น หลอดไฟฟ้า หรือสังเกต
ต่อดวงตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการมอง วีดิทัศน์หรือภาพเหตุการณ์ท่ีมองเห็นลำ�แสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง
แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงโดยตรง หรอื ใชแ้ ผน่ กรองแสง เช่น การมองเห็นลำ�แสงจากดวงอาทิตย์ลอดผ่านช่อง สังเกตลักษณะ
ทมี่ คี ณุ ภาพเมอื่ จ�ำ เปน็ และตอ้ งจดั ความสวา่ ง การเคล่ือนที่ของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง บันทึกผล สรุปผล และ
ให้เหมาะสมกับการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ เช่น น�ำ เสนอ
การอ่านหนังสือ การดูจอโทรทัศน์ การใช้
โทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี และแท็บเล็ต ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อ
ให้ได้ข้อสรุปว่าแสงเคล่ือนท่ีจากแหล่งกำ�เนิดแสงทุกทิศทางในลักษณะ
เป็นแนวตรง

๕. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าลำ�แสงเล็ก ๆ เรียกว่ารังสีของแสง และใช้
หวั ลกู ศรแทนทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของแสง

102 การวิเคราะห์ตวั ช้วี ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชวี้ ดั

ด้านทักษะ ๖. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการมองเห็น ด้านทกั ษะ
วตั ถตุ า่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงและไมเ่ ปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ แสง เพอื่ น�ำ ไปส ู่
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การปฏบิ ัติกิจกรรมเพื่ออธบิ ายการมองเห็นวัตถุ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายลักษณะ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
๗. นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามวธิ กี ารปฏบิ ตั กิ จิ กรรม สงั เกต บนั ทกึ ผล สรปุ ผล และ
การเคล่ือนท่ีของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง นำ�เสนอผล ลักษณะการเคล่ือนที่ของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง
และการมองเหน็ วตั ถตุ า่ ง ๆ ทเี่ ปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ และการมองเห็นวัตถุต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งกำ�เนิดแสง
แสงและไมเ่ ป็นแหลง่ กำ�เนิดแสง ๘. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ และไม่เป็นแหล่งกำ�เนิดแสงตามความเป็นจริง โดย
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ การมองเหน็ วตั ถทุ ง้ั ทเ่ี ปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงและไมเ่ ปน็ ไม่เพิม่ ความคิดเหน็ สว่ นตัว
อภิปรายเรื่องลักษณะการเคล่ือนท่ีของแสง แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงจะตอ้ งมีแสงมาเขา้ ส่ตู า ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
จากแหล่งกำ�เนิดแสง การมองเห็นวัตถุ การเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ข้อมูลที่ได้
อนั ตรายจากการมองวตั ถทุ สี่ วา่ งมาก และการ ๙. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ วา่ การมองเหน็ วตั ถทุ ไ่ี มเ่ ปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ แสงจะตอ้ ง จากการปฏิบัติ และข้อมูลจากการสืบค้น เพื่อลง
จดั ความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกบั การท�ำ กจิ กรรม มีแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสงมาตกกระทบวตั ถนุ นั้ แล้วสะทอ้ นเข้าสูต่ าโดย ความเหน็ เกย่ี วกบั ลกั ษณะการเคลอ่ื นทข่ี องแสงจาก
ตา่ ง ๆ การเขยี นแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสงประกอบ แหล่งกำ�เนิดแสง การมองเห็นวัตถุ อันตรายจาก
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การมองวัตถุที่สว่างมาก และการจัดความสว่างให้
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ๑๐. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับอันตรายจาก เหมาะสมกับการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุ
และการสบื คน้ เพอ่ื ลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั ลกั ษณะ การมองวัตถุท่ีสว่างมาก และการมองวัตถุในบริเวณท่ีมีความสว่างน้อย สมผล
การเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถามหรอื ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
การมองเห็นวัตถุ อนั ตรายจากการมองวัตถุท่ี ข้อมูล จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
สวา่ งมาก และการจัดความสว่างให้เหมาะสม และการสืบค้น เพ่ือลงข้อสรุปเก่ียวกับลักษณะการ
กับการทำ�กจิ กรรมต่าง ๆ ๑๑. นักเรียนช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับอันตรายของแสงท่ีสว่างมากที่มีผล เคลือ่ นที่ของแสงจากแหลง่ กำ�เนิดแสง การมองเหน็
๔. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยเขยี นแผนภาพ ตอ่ ดวงตา และวธิ ปี อ้ งกนั โดยสบื คน้ จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ ใบความร ู้ วตั ถุ อนั ตรายจากการมองวตั ถทุ สี่ วา่ งมาก และการจดั
แสดงแนวการเคลือ่ นทข่ี องแสง หรือการสอบถามผปู้ กครอง ความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกบั การท�ำ กิจกรรมตา่ ง ๆ ได้
อย่างถูกตอ้ ง
๑๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า ถ้ามีแสงที่สว่างมากเข้าสู่ตา ๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแผนภาพ
อาจเกดิ อนั ตรายตอ่ ดวงตาได้ เชน่ ท�ำ ใหต้ าพรา่ มวั หรอื ตาบอด วธิ ปี อ้ งกนั อธบิ ายแนวการเคลอ่ื นทีข่ องแสงไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
คือตอ้ งหลีกเลย่ี งการมองแหลง่ กำ�เนดิ แสงโดยตรง หรือใชแ้ ผ่นกรองแสง
ทมี่ คี ณุ ภาพเมอ่ื จำ�เป็น

๑๓. นกั เรยี นวเิ คราะหส์ ถานการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การมองวตั ถุ
ทสี่ วา่ งมากเปน็ เวลานาน เชน่ การมองจอโทรศพั ทม์ อื ถอื หรอื คอมพวิ เตอร์
การมองจอโทรทัศน์ในที่มืด นำ�เสนอผลการวิเคราะห์ ครูและนักเรียน
รว่ มกันตรวจสอบผลการวิเคราะหแ์ ละเสนอแนวทางแกไ้ ข

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒

การวิเคราะหต์ วั ชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชวี้ ัด 103

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ๑๔. นกั เรยี นชว่ ยกนั สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การมองวตั ถใุ นบรเิ วณทม่ี คี วามสวา่ ง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน นอ้ ย โดยสบื คน้ จากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ เช่น ใบความรู้ หรอื การสอบถาม ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ผปู้ กครอง บันทกึ ผล
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ สืบค้น เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ สืบค้น
ข้อมูล แสดงความคิดเห็นและลงข้อสรุป ๑๕. นกั เรยี นวเิ คราะหส์ ถานการณใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การมองวตั ถุ ข้อมูล อภิปราย และลงข้อสรุปส่ิงท่ีได้เรียนรู้
ส่ิงที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะการเคล่ือนที่ ในบรเิ วณทม่ี คี วามสวา่ งนอ้ ย เชน่ การอา่ นหนงั สอื หรอื การเดนิ ในบรเิ วณ เ ก่ี ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ก า ร เ ค ล่ื อ น ท่ี ข อ ง แ ส ง จ า ก
ของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง การมอง ที่มีความสว่างน้อย นำ�เสนอผลการวิเคราะห์ ครูและนักเรียนร่วมกัน แหล่งกำ�เนิดแสง การมองเห็นวัตถุ อันตรายจาก
เห็นวัตถุ อันตรายจากการมองวัตถุท่ีสว่าง ตรวจสอบผลการวิเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไข การมองวัตถุท่ีสว่างมาก และการจัดความสว่างให้
มาก และการจัดความสว่างให้เหมาะสมกับ เหมาะสมกับการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับผู้อื่น
การทำ�กจิ กรรมตา่ ง ๆ ตั้งแตเ่ รมิ่ ตน้ จนสำ�เรจ็ ลลุ ่วง
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลจากการปฏิบัติ และการสืบค้นข้อมูล ข้อมูลจากการปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่
เ พ่ื อ อ ธิ บ า ย ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง แ ส ง จ า ก ของแสงจากแหล่งกำ�เนิดแสง การมองเห็นวัตถุ
แ ห ล่ ง กำ � เ นิ ด แ ส ง ก า ร ม อ ง เ ห็ น วั ต ถุ อันตรายจากการมองวัตถุท่ีสว่างมาก และการจัด
อันตรายจากการมองวัตถุท่ีสว่างมาก และ ความสวา่ งใหเ้ หมาะสมกบั การท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใน
การจัดความสว่างให้เหมาะสมกับการทำ� รูปแบบท่ผี อู้ ่นื เขา้ ใจง่าย และถกู ต้อง
กจิ กรรมตา่ ง ๆ

ด้านจติ วิทยาศาสตร์ ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์

ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ของการมองเห็น ประเมนิ ความตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของความรขู้ องการมอง
โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายจาก เหน็ จากการเสนอแนะแนวทางทเี่ หมาะสมในการปอ้ งกนั
การมองวัตถุท่ีสว่างมาก และวัตถุท่ีอยู่ในบริเวณ อันตรายจากการมองวัตถุท่ีสว่างมาก และวัตถุท่ีอยู่ใน
ที่มคี วามสวา่ งไม่เหมาะสม บรเิ วณที่มคี วามสวา่ งไม่เหมาะสม

104 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๒

สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภัย
กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อส่งิ มีชีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม

ตัวชว้ี ดั
๑. ระบสุ ่วนประกอบของดนิ และจำ�แนกชนดิ ของดินโดยใชล้ กั ษณะเนื้อดนิ และการจับตัวเปน็ เกณฑ์

การวิเคราะหต์ วั ชว้ี ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชวี้ ดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกยี่ วกบั สว่ นประกอบของ ด้านความรู้
ดนิ โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถามหรอื ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ ตวั อยา่ งดนิ รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์
๑. ดินประกอบด้วยเศษหิน ซากพืชซากสัตว์ ข่าวหรือสถานการณ์ที่เก่ียวกบั ดนิ เพอ่ื น�ำ ไปสู่การสังเกต ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของดินจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ผสมอยู่ในเน้ือดิน มีอากาศและนำ้�แทรกอยู่ ๒. จ�ำ แนกชนดิ ของดนิ ออกเปน็ ดนิ รว่ น ดนิ เหนยี ว และ
ตามช่องวา่ งในเน้อื ดิน ๒. นักเรียนสังเกตส่วนประกอบของดินจากแหล่งต่าง ๆ รวบรวมข้อมูล และ
บนั ทกึ ผล ดินทรายโดยใช้ลักษณะเน้ือดินและการจับตัวของ
๒. ดินจำ�แนกออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ดินร่วน ดินเปน็ เกณฑ์
ดินเหนียว และดินทราย ตามลักษณะเนื้อ ๓. นักเรียนนำ�ข้อมูลของแต่ละกลุ่มมาจัดกระทำ�ในรูปแบบท่ีเหมาะสม เช่น ๓. จ�ำ แนกชนดิ ของดนิ ออกเปน็ ดนิ รว่ น ดนิ เหนยี ว และ
ดินและการจับตัวของดินซึ่งมีผลต่อการอุ้ม ตาราง แผนภาพ และนำ�เสนอในรปู แบบท่ีนา่ สนใจ ดินทรายโดยใช้ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวของ
น้ำ�ท่ีแตกต่างกัน โดยดินร่วนเป็นดินที่มีเนื้อ ดนิ เป็นเกณฑ์
ดินนุ่มมือ จับตัวได้ปานกลาง โดยนำ�มาปั้น ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ดินแต่ละแหล่งมีส่วนประกอบ
เป็นก้อนได้แต่เม่ือแห้งจะแตกตัวออกบาง เหมอื นกนั คอื เศษหิน ซากพชื ซากสตั ว์ นำ้�และอากาศ
ส่วน ดินเหนียวเป็นดินที่มีเนื้อดินละเอียด
เหนยี วตดิ มอื จบั ตวั กนั ไดด้ มี าก โดยน�ำ มาปน้ั ๕. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และตั้งคำ�ถามใหม่เก่ียวกับลักษณะ
เป็นก้อนกลมได้และเมื่อแห้งเน้ือดินไม่แตก ของเน้ือดินและการจับตัวของดิน โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ
ออกจากกนั ส่วนดนิ ทรายเป็นดินที่มเี นื้อดนิ เชน่ ตวั อยา่ งดนิ หรอื รปู ภาพดนิ ในทอ้ งถนิ่ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตลกั ษณะ
หยาบสากมือ ไม่จับตัวกัน จึงไม่สามารถป้ัน เน้ือดนิ และการจับตัวของดิน
เปน็ กอ้ นได้
๖. นักเรียนสังเกตลักษณะเนื้อดิน และการจับตัวของดิน จากตัวอย่างดิน
ในทอ้ งถิ่น รวบรวมข้อมลู และบันทกึ ผล

วทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒

การวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวช้วี ัด 105

ดา้ นทกั ษะ ๗. นักเรียนนำ�เสนอผลการสังเกตและร่วมกันอภิปราย เพื่อ ด้านทกั ษะ
ลงข้อสรุปว่า ดินในท้องถ่ินอาจมีลักษณะเน้ือดิน และการจับตัว
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ของดนิ ทเี่ หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั จากนนั้ จ�ำ แนกดนิ โดยใชเ้ กณฑ์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตส่วน ที่ไดจ้ ากการสงั เกต ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากผลการบนั ทกึ การสงั เกตเกย่ี วกบั

ประกอบของดิน ลักษณะเน้ือดินและการ ๘. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการจำ�แนกดินจากแหล่งข้อมูลที่ สว่ นประกอบของดนิ ลักษณะเนอื้ ดิน และการจบั ตวั ของดนิ
จบั ตัวของดนิ นา่ เช่อื ถอื และนำ�มาเปรยี บเทียบกับการจ�ำ แนกดนิ โดยใช้เกณฑ์ ไดค้ รบถว้ น ตามความเปน็ จรงิ โดยไมเ่ พมิ่ ความคดิ เหน็ สว่ นตวั
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยการจำ�แนก ของตนเอง ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากผลการจำ�แนกชนิด
ประเภทของดินจากการสังเกตลักษณะ ของดนิ โดยใชล้ กั ษณะเนอ้ื ดนิ และการจบั ตวั ของดนิ เปน็ เกณฑ์
เนอ้ื ดนิ และการจบั ตวั ของดนิ เปน็ เกณฑ์ ๙. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ลงขอ้ สรปุ วา่ ลกั ษณะเนอื้ ดนิ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการ และการจับตัวของดินช่วยในการระบุและจำ�แนกชนิดของดิน ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการอธิบาย
อธิบายผลการสังเกตเกี่ยวกับส่วนประกอบ ออกเป็น ๓ กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ดินร่วน ดินเหนียว และดินทราย ผ ล ก า ร สั ง เ ก ต ม า ล ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ว่ า ดิ น แ ต่ ล ะ แ ห ล่ ง มี
ของดนิ ส่วนดินที่นักเรียนนำ�มาสังเกตอาจเป็นดินร่วน ดินเหนียว หรือ ส่วนประกอบเหมือนกัน ได้อย่างสมเหตุสมผล และจากการ
๔. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ดนิ ทราย อธิบายผลการสังเกตเก่ียวกับลักษณะเนื้อดินและการจับตัว
โดยการรวบรวมข้อมูล จากการจำ�แนกดิน ของดนิ มาจ�ำ แนกดนิ ออกเปน็ กลมุ่ ไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
นำ � ม า จั ด ก ร ะ ทำ � ใ น รู ป แ บ บ ข อ ง ต า ร า ง ๔. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป จาก
เพ่ือเปรียบเทียบผลการสังเกต จากน้ัน การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการจำ�แนก
ลงขอ้ สรุปเพือ่ จำ�แนกประเภทของดนิ ชนดิ ของดินไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม

เปน็ ทมี โดยนกั เรยี นร่วมกนั สังเกต รวบรวม จากการสังเกต รวบรวมข้อมูล แสดงความคิดเห็นและระบุ
ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นเพ่ือระบุส่วน สว่ นประกอบของดนิ รว่ มกบั ผอู้ นื่ ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ประกอบของดนิ และนกั เรยี นรว่ มกนั สงั เกต และจากการสังเกต รวบรวมข้อมูล จำ�แนกดิน สืบค้นข้อมูล
รวบรวมข้อมูล จำ�แนกดิน สืบค้นข้อมูล แสดงความคิดเห็น และระบุชนิดของดินร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่
แสดงความคิดเหน็ และระบชุ นดิ ของดนิ เรม่ิ ตน้ จนส�ำ เร็จลลุ ่วง

106 การวิเคราะห์ตัวช้ีวัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้วี ัด

๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูลท่ีได้
เก่ียวกับส่วนประกอบของดินและการจำ�แนก จากการสังเกตและบอกส่วนประกอบของดิน เพ่ือให้ผู้อื่น
ชนดิ ของดนิ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถกู ตอ้ ง และการน�ำ เสนอ
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตดินและผลการจำ�แนกดิน เพ่ือให้
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ผ้อู ่ืนเข้าใจได้อยา่ งรวดเรว็ ชัดเจน และถกู ต้อง
วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสบื คน้ เพอื่ ตดั สนิ ใจ
เลือกเกณฑท์ ี่นำ�มาใชใ้ นการจ�ำ แนกดิน ๓. ประเมนิ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ จากการวเิ คราะห์
ข้อมูลการเปรียบเทียบผลการจำ�แนกดินจากการสังเกต
๔. ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร กับผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของดิน แล้วระบุชนิด
โ ด ย ก า ร สื บ ค้ น แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ของดิน ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
การจ�ำ แนกชนดิ ของดิน
๔. ประเมินทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอื่ สาร จากการสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั ชนดิ ของ
ดนิ จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ และมกี ารอา้ งองิ แหลง่ ขอ้ มลู
ทสี่ ืบคน้

ตัวชวี้ ดั
๒. อธบิ ายการใช้ประโยชน์จากดิน จากข้อมูลที่รวบรวมได้

การวเิ คราะห์ตัวช้ีวดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้วี ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับ ดา้ นความรู้
การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถามหรอื ใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ อธบิ ายการใชป้ ระโยชน์จากดินแตล่ ะชนดิ
ดิ น แ ต่ ล ะ ช นิ ด นำ � ม า ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ แ ต ก ต่ า ง กั น เช่น ส่ิงของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจำ�วันท่ีทำ�จากดิน รูปภาพ
บางชนดิ เหมาะส�ำ หรบั เพาะปลกู บางชนดิ น�ำ มาใช้ วดี ิทัศน์ ทเี่ กย่ี วข้องกบั ดนิ เพื่อนำ�ไปสู่การสบื คน้ ขอ้ มูล
ท�ำ สงิ่ ของเคร่ืองใช้ หรอื สิ่งกอ่ สร้าง

วทิ ยาศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๒

การวเิ คราะหต์ ัวช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้ีวดั 107

ดา้ นทกั ษะ ๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากดินแต่ละชนิด ด้านทักษะ
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือ
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ รวบรวมข้อมลู และบนั ทกึ ผล ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมายข้อมูล ๑. ประเมนิ ทักษะการจดั กระทำ�และสือ่ ความหมายข้อมูล
๓. นักเรียนนำ�ข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำ�ข้อมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสม
โดยการน�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสบื คน้ และรวบรวม เชน่ ตาราง ผงั มโนทศั น์ และน�ำ เสนอในรูปแบบทีน่ า่ สนใจ จากการน�ำ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสบื คน้ และรวบรวมขอ้ มลู
ข้อมูลการใช้ประโยชน์จากดินในด้านต่าง ๆ การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ ในดา้ นตา่ ง ๆ มาจดั กระท�ำ และ
มาจดั กระทำ�และน�ำ เสนอ ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ดินแต่ละชนิดนำ�มาใช้ นำ�เสนอ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่น
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ โดย ประโยชน์แตกต่างกัน เช่น ดินบางชนิดเหมาะสำ�หรับเพาะปลูก เข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
ใช้ข้อมูลจากตารางหรือผังมโนทัศน์ ลงข้อสรุป ดินบางชนิดเหมาะสำ�หรับนำ�มาใช้ทำ�ส่ิงของเครื่องใช้ ดินบางชนิด และถูกตอ้ ง
เกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ เหมาะส�ำ หรับใช้ก่อสรา้ ง ๒. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยใช้ข้อมูลจากตารางหรือผังมโนทัศน์ ลงข้อสรุป
เกี่ยวกบั การใช้ประโยชนจ์ ากดินไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี

โดยนักเรียนร่วมกัน สืบค้นข้อมูล รวบรวม จากการสืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล จัดกระทำ�กับ
ข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล และแสดงความคิดเห็น ข้อมูล และการแสดงความคิดเห็น ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่
เพอ่ื อธิบายประโยชนข์ องจากดิน เริ่มตน้ จนส�ำ เร็จลุล่วง
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ผลการสืบคน้ การใชป้ ระโยชน์จากดนิ ผลการสืบค้นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากดิน เพื่อให้
๓. ทั ก ษ ะ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ผูอ้ ืน่ เข้าใจไดอ้ ย่างรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
การสื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ การสื่อสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลการใช้
ประโยชน์จากดิน จากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ และมี
การอ้างอิงแหล่งข้อมลู ที่สืบค้น

108

วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี ีวติ หน่วยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชวี ติ การล�ำ เลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสร้าง 109
และหนา้ ทข่ี องระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ีท่ �ำ งานสัมพนั ธ์กนั ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ
ของพชื ทท่ี �ำ งานสมั พันธก์ ัน รวมทงั้ นำ�ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชว้ี ดั
๑. บรรยายส่ิงท่ีจำ�เป็นตอ่ การดำ�รงชีวิตและการเจริญเตบิ โตของมนษุ ย์และสตั ว์ โดยใชข้ ้อมลู ทร่ี วบรวมได้
๒. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องอาหาร นำ�้ และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รบั ส่งิ เหลา่ นอ้ี ย่างเหมาะสม

การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วัด

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับส่ิงท่ีจำ�เป็น ด้านความรู้
ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ และการเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ โดยอาจใชว้ ธิ กี ารซกั ถาม
๑. มนษุ ยแ์ ละสตั วต์ อ้ งการอาหาร น�ำ้ และอากาศ หรือใช้ส่อื ตา่ ง ๆ เชน่ ของจริง รปู ภาพ ภาพเคล่อื นไหว วีดิทศั น์ ๑. ระบสุ งิ่ ทจี่ �ำ เปน็ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ และการเจรญิ เตบิ โต
เพือ่ ให้ร่างกายด�ำ รงชีวติ และเจริญเตบิ โต ของมนษุ ย์และสัตว์
๒. นักเรียนส�ำ รวจและเปรยี บเทยี บการเจรญิ เตบิ โตของตนเอง เช่น นำ้�หนกั
๒. อาหารชว่ ยใหร้ า่ งกายแขง็ แรงและเจรญิ เตบิ โต สว่ นสงู ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป บนั ทกึ ผล และรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ ๒. บรรยายถึงความจำ�เป็นของอาหาร นำ้� และอากาศ
นำ้�ช่วยให้ร่างกายทำ�งานได้อย่างปกติ และ รา่ งกายมนุษย์มีการเจรญิ เติบโต ต่อการดำ�รงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์
อากาศใชใ้ นการหายใจ และสตั ว์
๓. นกั เรยี นวเิ คราะห์ ความจ�ำ เปน็ ของอาหาร น�้ำ และอากาศ ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ
และการเจริญเติบโตของมนุษย์จากสถานการณ์ต่าง ๆ และนำ�เสนอผล
การวิเคราะห์ในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ภาพวาด ผังมโนทศั น์

๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่ามนุษย์ต้องการอาหาร นำ้� และ
อากาศ เพื่อให้ร่างกายดำ�รงชีวิตและเจริญเติบโต โดยอาหารช่วยให้
ร่างกายแข็งแรงและเจริญเติบโต นำ้�ช่วยให้ร่างกายทำ�งานได้อย่างปกติ
และอากาศใช้ในการหายใจ

110 การวเิ คราะห์ตัวชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ดั

ด้านทกั ษะ ๕. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับสิ่งท่ีจำ�เป็น ด้านทกั ษะ
ต่อการดำ�รงชีวิตและการเจริญเติบโตของสัตว์ และเชื่อมโยงสิ่งที่จำ�เป็น
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและการด�ำ รงชวี ติ ของมนษุ ย์ โดยอาจใชว้ ธิ กี ารซกั ถาม ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย หรือใช้สอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น ของจรงิ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว วีดทิ ศั น์ ๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก

แสดงความคิดเห็นและเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้ ๖. นักเรียนวางแผนและเล้ียงสัตว์ สังเกตและวัดการเจริญเติบโตของสัตว์ การลงความเหน็ ในผลการส�ำ รวจ และการวเิ คราะห์
จากการสำ�รวจและการวิเคราะห์เก่ียวกับ ทเ่ี ลย้ี งไว้ บนั ทกึ ผล และรว่ มกนั ลงขอ้ สรปุ ไดว้ า่ น�้ำ และอาหารมคี วามจ�ำ เปน็ สถานการณ์เกี่ยวกับส่ิงที่จำ�เป็นต่อการเจริญเติบโต
ส่ิงท่ีจำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและเจริญเติบโต ตอ่ การเจรญิ เติบโตและการด�ำ รงชวี ิตของสตั ว์ และการดำ�รงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ได้อย่าง
ของมนุษยแ์ ละสัตว์ สมเหตุสมผล
๒. ทักษะการวัด โดยการเลือกเครื่องมือและ ๗. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความจำ�เป็นของอาหาร น้ำ�และ ๒. ประเมินทักษะการวัด จากการเลือกใช้เคร่ืองมือ
วัดการเจริญเติบโตของสัตว์ และระบุหน่วย อากาศทม่ี ตี อ่ การด�ำ รงชวี ติ และการเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ และน�ำ เสนอผล และวดั การเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ พรอ้ มระบหุ นว่ ยใน
ในการวัด การวเิ คราะหใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ภาพวาด ผงั มโนทศั น์ การวัดได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม
๓. ทกั ษะการจดั กระท�ำ และสอื่ ความหมายขอ้ มลู ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
โ ด ย ก า ร นำ � ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่าสัตว์ต้องการอาหาร น้ำ� และ ข้อมูล จากการนำ�เสนอข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
มาจัดกระทำ�ในรูปแบบที่น่าสนใจ เพื่อ อากาศ เพื่อให้ร่างกายดำ�รงชีวิตและเจริญเติบโต โดยอาหารช่วยให้ แ ล ะ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ก่ี ย ว กั บ ส่ิ ง ที่ จำ � เ ป็ น ต่ อ ก า ร
บรรยายสิ่งท่ีจำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและ ร่างกายแข็งแรงและเจริญเติบโต นำ้�ช่วยให้ร่างกายทำ�งานได้อย่างปกติ ด�ำ รงชวี ติ และการเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสตั วไ์ ด้
การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ และอากาศใช้ในการหายใจ อย่างถูกต้องและเหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจ
ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถูกต้อง

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสำ�รวจตนเอง เป็นทีม จากการสำ�รวจตนเอง การวิเคราะห์
การวิเคราะห์สถานการณ์ การนำ�เสนอข้อมูล สถานการณ์ การนำ�เสนอข้อมูล และการแสดง
และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสิ่งที่จำ�เป็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับส่ิงที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิต
ต่อการดำ�รงชีวิตและเจริญเติบโตของมนุษย์ และเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์ ร่วมกับผู้อื่น
และสัตว์ ต้งั แต่เรม่ิ ต้นจนสำ�เร็จลุลว่ ง

วทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

การวิเคราะหต์ ัวชวี้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ัด 111
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
เก่ียวกับสิ่งที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและ ข้อมูลเกี่ยวกับส่ิงที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิตและ
เจรญิ เติบโตของมนษุ ย์และสัตว์ เจรญิ เตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ เพอื่ ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจได้
อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถกู ต้อง
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องอาหาร น�ำ้ และอากาศ ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์

ประเมินการตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้ำ� และ
อากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับส่ิงเหล่านี้
อย่างเหมาะสม

112 ตัวชวี้ ัด
๓. สรา้ งแบบจำ�ลองท่บี รรยายวัฏจกั รชวี ิตของสตั ว์ และเปรยี บเทียบวัฏจกั รชวี ติ ของสัตวบ์ างชนิด
๔. ตระหนกั ถึงคณุ ค่าของชีวติ สตั ว์ โดยไมท่ �ำ ใหว้ ฏั จกั รชีวติ ของสตั วเ์ ปลีย่ นแปลง

การวิเคราะห์ตัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชว้ี ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับชีวิตของสัตว์ ดา้ นความรู้
โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว วดี ทิ ศั น ์ ๑. บรรยายการเปล่ียนแปลงของสัตว์ในวัฏจักรชีวิต
สัตว์แต่ละชนิดเม่ือโตเต็มวัยจะมีการสืบพันธ์ุ เพ่ือน�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตการเปลยี่ นแปลงของสตั ว์ ขณะทม่ี กี ารเจรญิ เตบิ โต
ได้ลูกสัตว์ตัวใหม่ และเมื่อลูกสัตว์เจริญเติบโต ของสัตว์
เป็นตัวเต็มวัยก็จะสามารถสืบพันธ์ุได้ การ ๒. นกั เรยี นเลยี้ งสตั วท์ ม่ี วี ฏั จกั รชวี ติ สนั้ เชน่ ผเี สอื้ ปลาหางนกยงู หรอื ศกึ ษา ๒. เปรียบเทยี บวัฏจักรชวี ิตของสัตว์บางชนิด
เปลยี่ นแปลงทม่ี แี บบรปู คงทหี่ มนุ เวยี นตอ่ เนอื่ งน ้ี จากแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น วีดิทัศน์ รูปภาพ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ บันทึกผล
เรียกว่าวัฏจักรชีวิตสัตว์ สัตว์แต่ละชนิด เช่น การสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสัตว์ตั้งแต่เกิดจนสืบพันธ์ุมีลูกได้ และ ดา้ นทักษะ
ผีเสื้อ กบ ไก่ มนุษย์ มีวัฏจักรชีวิตที่เฉพาะและ น�ำ เสนอผล ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แตกต่างกัน ๑. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร บั น ทึ ก
๓. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตการเปลย่ี นแปลง
ดา้ นทกั ษะ ของสตั ว์ เพอื่ ลงขอ้ สรปุ วา่ สตั วแ์ ตล่ ะชนดิ เมอ่ื โตเตม็ วยั จะมกี ารสบื พนั ธไุ์ ด้ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การสงั เกตการเปลยี่ นแปลงของ
ลูกสัตว์ตัวใหม่ และเมื่อลูกสัตว์เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย ก็จะสามารถ สัตว์ต้ังแต่เกิดจนสืบพันธ์ุมีลูกได้ ได้อย่างครบถ้วน
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สบื พันธไ์ุ ด้ การเปลย่ี นแปลงที่มีแบบรปู คงทห่ี มนุ เวียนตอ่ เนอ่ื งน้ี เรยี กวา่ ตามความเปน็ จริงโดยไม่เพิ่มความคิดเหน็ ส่วนตัว
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตการเปลยี่ นแปลง วฏั จักรชีวิตสัตว์ ๒. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับวัฏจักร
ของสตั ว์ตั้งแต่เกดิ จนสืบพันธุ์มีลูกได้ ๔. นักเรียนนำ�ข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาสร้างแบบจำ�ลองวัฏจักรชีวิตของสัตว์ ชีวติ ของสัตว์
๒. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู ท่ศี กึ ษา และน�ำ เสนอแบบจ�ำ ลอง

ที่ได้จากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของ ๕. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ ง
สัตว์ มาสร้างเป็นแบบจำ�ลอง เพื่อใช้ใน ของวฏั จักรชีวิตของสัตว์บางชนิด
การบรรยายและเปรียบเทียบ วัฏจักรชีวิต
ของสัตว์ ๖. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้ว่าสัตว์บางชนิดมีวัฏจักรชีวิต
แตกต่างกัน

๗. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การมสี ว่ นชว่ ยในการดแู ลใหว้ ฏั จกั รชวี ติ
ของสัตว์ดำ�เนินไปตามวัฏจักรชีวิตของสัตว์ เช่น การไม่จับหนอนมาเป็น
อาหาร การไมใ่ ช้ยาฆา่ แมลงในพ้นื ทีก่ ารเกษตร

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้ีวดั 113

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เปน็ ทมี โดยมสี ว่ นรว่ มในการสงั เกต การสรา้ ง เป็นทีม จากการสังเกต การสร้างแบบจำ�ลอง
แบบจำ�ลอง การนำ�เสนอ และการแสดง การนำ�เสนอ และการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
ความคดิ เหน็ รว่ มกนั เกยี่ วกบั วฏั จกั รชวี ติ สตั ว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ ร่วมกับผู้อ่ืนต้ังแต่เร่ิมต้น
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู จนสำ�เร็จลลุ ว่ ง
ที่ได้จากสังเกต และการแสดงความคิดเห็น ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
เก่ียวกับวัฏจกั รชวี ิตของสตั วบ์ างชนดิ ข้อมูลท่ีได้จากสังเกตและการแสดงความคิดเห็น
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ เกี่ยวกับวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิด เพื่อให้ผู้อื่น
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตเก่ียวกับ เขา้ ใจได้อยา่ งรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
การเปล่ียนแปลงรูปร่างของสัตว์ตั้งแต่เกิด ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
จนสืบพันธุ์มีลูกได้ เพ่ือนำ�มาเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตเก่ียวกับ
วัฏจกั รชีวติ ของสัตวบ์ างขนดิ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสัตว์ต้ังแต่เกิดจน
สบื พันธ์ุมลี ูกได้ เพอื่ นำ�มาเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิต
ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ของสตั ว์บางชนดิ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของชวี ิตสัตว์
ด้านจติ วิทยาศาสตร์

ประเมินความตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ โดยไม่
ทำ�ลายระยะใดระยะหน่ึงของวัฏจักรชีวิตสัตว์ ซึ่งจะ
ส่งผลให้สัตว์ไม่สามารถเจริญเติบโต สืบพันธุ์ และ
ดำ�รงชีวติ ตอ่ ไปได้

114 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค
หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจ�ำ วนั ผลของแรงท่กี ระท�ำ ต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคลื่อนทแ่ี บบตา่ งๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นำ�ความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปลย่ี นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจำ�วัน

ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณท์ เ่ี กีย่ วขอ้ งกบั เสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั น�ำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชว้ี ดั

๑. อธิบายวา่ วตั ถปุ ระกอบขนึ้ จากชนิ้ สว่ นยอ่ ย ๆ ซง่ึ สามารถแยกออกจากกันไดแ้ ละประกอบกนั เป็นวัตถชุ น้ิ ใหม่ได้ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

การวเิ คราะห์ตัวชีว้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชีว้ ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใช้ตัวต่อของเล่นเพื่อให้เกิด ดา้ นความรู้
วัตถุประกอบข้ึนจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซึ่งสามารถ ข้อสงสัยว่าจำ�นวนตัวต่อหน่ึงชุดสามารถประกอบเป็นวัตถุรูปแบบต่าง ๆ ยกตัวอย่างวัตถุที่ประกอบจากชิ้นส่วนย่อย ๆ และ
แยกออกจากกนั และน�ำ มาประกอบเปน็ วตั ถชุ น้ิ ทีแ่ ตกตา่ งกนั ไดห้ รอื ไมเ่ พ่ือน�ำ ไปส่กู ารทำ�กิจกรรม สามารถแยกออกจากกนั เพอ่ื ประกอบเปน็ วัตถุชน้ิ ใหม่
ใหมไ่ ด้อีก
๒. นักเรียนออกแบบวัตถุรูปแบบต่าง ๆ โดยอาจออกแบบอย่างน้อย ดา้ นทักษะ
ดา้ นทักษะ ๓ รปู แบบโดยใชต้ ัวตอ่ หน่ึงชดุ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก
๑. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดย ๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยต่อตัวต่อคร้ังละ ๑ รูปแบบ บันทึกภาพวัตถุ
แตล่ ะรปู แบบ น�ำ เสนอโดยการแสดงผลงาน การประกอบวัตถุจากช้ินส่วนย่อย ๆ และการแยก
นำ�ข้อมูลจากการประกอบวัตถุจากช้ินส่วน ชน้ิ ส่วนย่อยๆ ของวัตถุมาประกอบเป็นวัตถชุ ้ินใหม่
ย่อย ๆ และการแยกช้ินส่วนย่อย ๆ ของวัตถุ ๔. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันคดั เลอื กผลงาน แลว้ อาจนำ�เสนอในรปู แบบต่าง ๆ พร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ
มาประกอบเปน็ วัตถุชนิ้ ใหม่ เช่น สื่อสังคมออนไลน์ การแสดงผลงานในวันวิทยาศาสตร์ การประกวด
ในงานโรงเรียน

วทิ ยาศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓

การวเิ คราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชว้ี ัด 115

๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๕. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นและลงข้อสรุปว่าวัตถุ ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
โดยการตีความหมายจากการสังเกตเพ่ือลง ประกอบข้ึนจากช้ินส่วนย่อย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออกจากกัน และนำ�มา จากการตคี วามหมายจากการสงั เกตการประกอบชนิ้
ขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั ชน้ิ สว่ นทเี่ ปน็ สว่ นประกอบ ประกอบเป็นวตั ถชุ ้นิ ใหมไ่ ดอ้ กี สว่ นยอ่ ย ๆ เพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ วตั ถปุ ระกอบขนึ้ จากชนิ้
ของวัตถุและการแยกช้ินส่วนของวัตถุเพ่ือ สว่ นยอ่ ย ๆ และสามารถแยกชนิ้ สว่ นออกจากกนั เพอื่
ประกอบวัตถุชิ้นใหม่ ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและยกตัวอย่างเก่ียวกับวัตถุใน ประกอบเปน็ วตั ถชุ ้ินใหม่
ชีวิตประจำ�วันท่ีประกอบจากส่วนประกอบย่อย ๆ ซึ่งสามารถแยกออก
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ จากกัน และนำ�มาประกอบเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้อีก เช่น อิฐที่ประกอบ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน เป็นบ้านสามารถแยกเอาอิฐแต่ละก้อนออกมา แล้วนำ�ไปสร้างเป็น ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
กำ�แพงบ้าน แผ่นกระเบ้ืองปูพื้นบ้านสามารถรื้อกระเบ้ืองออกแล้วนำ�
เป็นทีม โดยทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ กระเบ้ืองไปปูพื้นระเบียง ตะกร้าท่ีทำ�จากไม้ไผ่ที่เป็นเส้น ๆ สามารถรื้อ เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
ใ น ก า ร ทำ � กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ นำ � เ ส น อ ผ ล เสน้ ไมไ้ ผอ่ อกแล้วนำ�ไปสานเปน็ ภาชนะอยา่ งอ่ืน ในการทำ�กิจกรรมและนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม
การท�ำ กจิ กรรมโดยใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การน�ำ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการนำ�ช้ินส่วนย่อย ๆ มาทำ�
ชิ้นส่วนย่อย ๆ มาท�ำ เปน็ วตั ถุ เป็นวตั ถุ
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการแสดง ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากการแสดง
ความคิดเห็นและนำ�เสนอเกี่ยวกับการนำ� ความคิดเห็นและนำ�เสนอการนำ�ชิ้นส่วนย่อย ๆ มา
ชิน้ สว่ นยอ่ ย ๆ มาทำ�เปน็ วตั ถุ ท�ำ เปน็ วตั ถุใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจ
๓. ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ โดยใชค้ วามคดิ ใน ๓. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์จากการใช้
การประกอบวัตถุจากการนำ�ช้ินส่วนย่อย ๆ ความคดิ ในการประกอบวตั ถจุ ากชนิ้ สว่ นยอ่ ย ๆ และ
และนำ�เสนอในรูปแบบเหมาะสม น�ำ เสนอในรปู แบบเหมาะสม
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูลต่าง ๆ การสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูลต่าง ๆ ผ่านสื่อ
ผ่านส่อื ออนไลน์ ออนไลน์ได้เหมาะสม

116 ตวั ช้ีวดั

๒. อธิบายการเปล่ยี นแปลงของวัสดุเมื่อท�ำ ใหร้ อ้ นขึน้ หรอื ท�ำ ใหเ้ ยน็ ลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครทู บทวนความรเู้ กย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งของวสั ดเุ นอื่ งจากมแี รง ดา้ นความรู้
กระทำ�ตอ่ วสั ดุ โดยอาจใชค้ ำ�ถามหรือสอ่ื ต่าง ๆ
เมอ่ื ท�ำ ใหว้ สั ดรุ อ้ นขน้ึ หรอื เยน็ ลง สมบตั ขิ องวสั ดุ อธิบายการเปล่ียนแปลงสมบัติของวัสดุเม่ือทำ�ให้
จะเกิดการเปลย่ี นแปลงได้ ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีอ่ืน ๆ ท่ีทำ�ให้ ร้อนข้ึนหรือเยน็ ลง
รูปร่างหรือสมบตั อิ ่นื  ๆ ของวัสดุเกดิ การเปลีย่ นแปลงได้
ดา้ นทกั ษะ ด้านทักษะ
๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงสมบัติของวัสดุต่าง ๆ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน่ืองจากการทำ�ให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง เช่น การทำ�ไข่ดาว การหล่อเทียน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตการเปลยี่ นแปลง การทอดข้าวเกรียบ การค่ัวถ่ัวลิสง การทำ�ไอศกรีม บันทึก สรุปผลและ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากข้อมูลที่ได้จากการ
นำ�เสนอ
สมบัตขิ องวสั ดเุ มอื่ ทำ�ให้ร้อนขึน้ หรอื เย็นลง สังเกตการเปล่ียนแปลงของวัสดุเม่ือทำ�ให้ร้อนขึ้น
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยนำ� ๔. ครูใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ หรือเย็นลง
และลงข้อสรุปว่าเมื่อทำ�ให้วัสดุร้อนขึ้นหรือเย็นลง สมบัติของวัสดุเกิด ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก
ข้อมูลจากการสังเกตวัสดุมาอธิบายการ การเปลยี่ นแปลงได้ การสังเกตวัสดุมาอธิบายการเปล่ียนแปลงสมบัติ
เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ม บั ติ ข อ ง วั ส ดุ เ ม่ื อ ทำ � ใ ห้ ของวัสดุเม่ือทำ�ให้ร้อนข้ึนหรือเย็นลง พร้อมแสดง
รอ้ นข้ึนหรอื เยน็ ลง เหตผุ ลประกอบ
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
โดยการตคี วามหมายจากการสงั เกตวสั ดเุ พอ่ื จากการตีความหมายจากการสังเกตวัสดุเพื่อลง
ลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ ข้อสรุปเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทำ�ให้
เม่อื ท�ำ ให้รอ้ นขนึ้ หรอื เย็นลง รอ้ นขึน้ หรือเย็นลง

วทิ ยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

การวิเคราะหต์ ัวชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วัด 117

ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยการทำ�งานกับผู้อื่นอย่าง เป็นทีมจากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ใน
สร้างสรรค์ในการลงมือปฏิบัติและอภิปราย การลงมือปฏิบัติและอภิปรายการเปล่ียนแปลง
การเปล่ียนแปลงสมบัติของวัสดุเม่ือทำ�ให้ สมบัตขิ องวัสดุเม่ือทำ�ใหร้ ้อนขึ้นหรือเยน็ ลง
รอ้ นข้นึ หรอื เยน็ ลง ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสารจากการนำ�เสนอผล
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอผล การทำ�กิจกรรมและร่วมกันแสดงความคิดเห็นใน
การทำ�กิจกรรมและร่วมกันอภิปรายในชั้น ชั้นเรียนเร่ืองการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำ�ให้
เรียนเร่ืองการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อ รอ้ นขน้ึ หรือเยน็ ลง ใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ
ท�ำ ใหร้ ้อนข้นึ หรอื เยน็ ลง ใหผ้ ู้อื่นเขา้ ใจ

118 ตวั ชี้วดั
๓. ระบผุ ลของแรงทม่ี ตี ่อการเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนท่ขี องวัตถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วดั

ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั การออกแรงและ ด้านความรู้
ผลของการออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุ โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ ๑. ระบุผลของแรงท่ีมตี ่อการเปลย่ี นแปลงการเคลอื่ นที่
การออกแรงโดยการดึงหรือการผลักมีผลต่อ เชน่ รปู ภาพเคลอื่ นไหว วดี ทิ ศั น์ หรอื การสาธติ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารท�ำ กจิ กรรม
การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ โดย เพอ่ื อธิบายผลของแรงท่มี ตี อ่ การเปล่ียนแปลงการเคล่อื นท่ขี องวตั ถุ ของวัตถุ
การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ ได้แก่ ๒. ยกตัวอย่างการออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุโดยระบุว่า
วัตถุท่ีอยู่นิ่งเปล่ียนเป็นเคล่ือนท่ี วัตถุท่ีกำ�ลัง ๒. นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมโดยการออกแรงกระท�ำ ตอ่ วตั ถตุ า่ ง ๆ และรวบรวม
เคลื่อนที่เปลี่ยนเป็นเคล่ือนที่เร็วขึ้น หรือช้าลง หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ โดยสงั เกตทศิ ทางการออกแรงทก่ี ระท�ำ ตอ่ วตั ถุ การ เปน็ การดึงหรือการผลัก
หรือหยดุ นง่ิ หรือเปล่ียนทศิ ทางการเคลื่อนที่ เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีและทิศทางการเคล่ือนท่ีของวัตถุเมื่อมีแรงมา
กระทำ� บันทกึ ผล โดยอาจบันทึกเป็นภาพวดี ิทัศน์ สรปุ ผล และนำ�เสนอ ด้านทักษะ
ดา้ นทักษะ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อให้ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ไดข้ ้อสรุปวา่
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตทิศทางการ - การออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุท่ีมีทิศทางเข้าหาตัวผู้ออกแรงเป็นการดึง เก่ียวกับทิศทางการออกแรงท่ีกระทำ�ต่อวัตถุ การ
ส่วนการออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุที่มีทิศทางออกจากตัวผู้ออกแรง เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีและทิศทางการเคลื่อนท่ี
ออกแรงท่ีกระทำ�ต่อวัตถุ การเปล่ียนแปลง เปน็ การผลกั ของวัตถุเม่ือมีแรงมา กระทำ� และบันทึกสิ่งท่ีสังเกต
การเคลื่อนท่ีและทิศทางการเคลื่อนที่ของ - เม่ือออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุอาจทำ�ให้วัตถุเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ ตามความเปน็ จรงิ โดยไม่เพ่ิมความคดิ เห็นสว่ นตัว
วตั ถเุ มือ่ มีแรงมากระท�ำ โดยเปลี่ยนแปลงจากอยู่น่ิงเป็นเคลื่อนที่ จากเคล่ือนที่เป็นเคลื่อนที่ ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากทิศทางการ
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยใช้ทิศทาง เรว็ ขึ้นเมอ่ื ออกแรงกระท�ำ ในทิศทางเดียวกบั ทิศทางการเคลอ่ื นทีข่ อง ออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุเป็นเกณฑ์ เพ่ือจำ�แนกว่า
การออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุเป็นเกณฑ์ เพ่ือ วตั ถุ หรอื เปลยี่ นแปลงการเคลอื่ นทเี่ ปน็ เคลอื่ นทช่ี า้ ลงหรอื หยดุ นง่ิ เมอ่ื เปน็ การดงึ หรือการผลักไดถ้ กู ต้อง
จ�ำ แนกเปน็ การดึงหรอื การผลกั ออกแรงกระท�ำ ในทศิ ทางตรงกนั ขา้ มกบั ทศิ ทางการเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้ หรือเปล่ียนทิศทางการเคลื่อนท่ีเมื่อออกแรงกระทำ�ในทิศทางที่ต่าง การนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมาอธิบายเก่ียวกับ
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาอธิบายเก่ียวกับ จากทิศทางการเคลื่อนทเี่ ดมิ ของวัตถุ ผ ล ข อ ง ก า ร อ อ ก แ ร ง ท่ี ทำ � ใ ห้ วั ต ถุ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง
ผลของการออกแรงทท่ี �ำ ใหว้ ตั ถเุ ปลยี่ นแปลง การเคล่อื นที่อยา่ งมเี หตุผล
การเคลอ่ื นที่

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

การวิเคราะห์ตวั ชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้วี ดั 119

๔. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ๔. นักเรียนวิเคราะห์และยกตัวอย่างสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันท่ี ๔. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
โ ด ย ทำ � ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ข้ อ มู ล ท่ี บั น ทึ ก ไ ด้ จ า ก เก่ียวข้องกับการออกแรงและผลของการออกแรง เช่น การเข็นรถ ลงขอ้ สรปุ จากกการท�ำ ความเขา้ ใจขอ้ มลู ทบ่ี นั ทกึ ได้
การสงั เกตเพอื่ ลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั แรงทม่ี ผี ลตอ่ การเล่นชักเย่อ นำ�เสนอผลการวิเคราะห์ ครูและนักเรียนร่วมกัน จากการสังเกตเพ่ือลงข้อสรุปเกี่ยวกับแรงท่ีมีผลต่อ
การเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ตรวจสอบผลการวเิ คราะห์และปรบั ปรงุ แก้ไขให้ถูกต้อง การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุได้ครบถ้วน
และถกู ตอ้ ง

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต รวบรวม เป็นทีม จากการทำ�งานร่วมกับผู้อื่นในการสังเกต
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ รว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั และรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับผลของ
ก า ร อ อ ก แ ร ง ก ร ะ ทำ � ต่ อ วั ต ถุ แ ล ะ ผ ล ข อ ง การออกแรงกระทำ�ต่อวัตถุท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลง
การออกแรง การเคลื่อนท่ีของวัตถุ อภิปราย นำ�เสนอ และ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล ลงข้อสรุปรว่ มกนั ต้งั แต่เริม่ ต้นจนสำ�เร็จลลุ ่วง
ท่ีได้จากการสังเกตทิศทางการออกแรงท่ี ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
กระทำ�ต่อวัตถุ การเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ี ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตทิศทางการออกแรงที่
และทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเม่ือมีแรงมา กระทำ�ต่อวัตถุ การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีและ
กระท�ำ ทิศทางการเคล่ือนที่ของวัตถุเม่ือมีแรงมากระทำ�ให้
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ผู้อื่นเข้าใจ
สื่อสาร ในการนำ�เสนอข้อมูลโดยบันทึกภาพ ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
วดี ทิ ศั นก์ ารเปลย่ี นแปลงการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถุ การสอ่ื สาร จากการใชว้ ดี ทิ ศั นใ์ นการน�ำ เสนอขอ้ มลู
เมอื่ มแี รงมากระทำ� เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุเม่ือ
มีแรงมากระท�ำ ได้อย่างเหมาะสม

120 ตัวชว้ี ัด
๔. เปรียบเทียบและยกตวั อยา่ งแรงสมั ผสั และแรงไมส่ ัมผัสทีม่ ผี ลต่อการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุโดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์

การวเิ คราะหต์ ัวชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวช้วี ัด

ด้านความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั แรงสมั ผสั และแรง ดา้ นความรู้
ไม่สัมผัส โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น รูป ภาพเคลื่อนไหว ๑. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างแรงสัมผัสและ
๑. แรงทเี่ กดิ จากวตั ถหุ นง่ึ กระท�ำ กบั อกี วตั ถหุ นงึ่ วดี ทิ ศั น์ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารท�ำ กจิ กรรมเพอื่ อธบิ ายแรงสมั ผสั และแรงไมส่ มั ผสั
โดยวัตถุท้ังสองต้องสัมผัสกัน จัดเป็นแรง แรงไมส่ ัมผัส
สมั ผสั ๒. นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมโดยใหว้ ตั ถหุ นงึ่ ออกแรงกระท�ำ กบั อกี วตั ถหุ นงึ่ โดย ๒. ยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสท่ีมีผลต่อ
วตั ถตุ อ้ งสมั ผสั กนั เชน่ กลงิ้ ลกู บอลลกู หนงึ่ ไปชนลกู บอลอกี ลกู หนง่ึ สงั เกต
๒. แรงทเ่ี กดิ จากวตั ถหุ นงึ่ กระท�ำ กบั อกี วตั ถหุ นง่ึ บันทึกผล สรุปผล และน�ำ เสนอ การเคลื่อนทข่ี องวัตถุ
โดยวัตถุทั้งสองไม่จำ�เป็นต้องสัมผัสกัน จัด
เปน็ แรงไมส่ ัมผสั ๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อลง ดา้ นทักษะ
ขอ้ สรปุ วา่ แรงทเี่ กดิ จากวตั ถหุ นงึ่ กระท�ำ กบั อกี วตั ถหุ นง่ึ โดยวตั ถสุ มั ผสั กนั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๓. แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส อาจทำ�ให้วัตถุ จดั เปน็ แรงสมั ผสั ซง่ึ อาจมผี ลท�ำ ใหว้ ตั ถเุ ปลย่ี นแปลงการเคลอ่ื นที่ ตวั อยา่ ง ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากบันทึกรายละเอียด
เปลยี่ นแปลงการเคลอื่ นท่ี ของแรงสมั ผัส เชน่ การตลี ูกปิงปอง การลากโตะ๊
เก่ียวกับการสัมผัสกันและการไม่สัมผัสกันของวัตถุ
ด้านทักษะ ๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับแรงไม่สัมผัสเพ่ือนำ�ไปสู่การสังเกตแรง และผลของแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มีต่อการ
ไม่สมั ผสั และผลของแรงไมส่ ัมผสั ท่ีมผี ลตอ่ การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ เคล่ือนท่ีของวัตถุ และบันทึกสิ่งที่สังเกตตามความ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นจรงิ โดยไม่เพมิ่ ความคดิ เห็นส่วนตัว
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการสัมผัสและ ๕. นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมโดยให้วัตถุหน่ึงออกแรงกระทำ�กับอีกวัตถุ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
หน่ึงโดยวัตถุไม่สัมผัสกัน เช่น นำ�แม่เหล็กเข้าใกล้วัตถุที่ทำ�จากเหล็ก การนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมาอธิบายเกี่ยวกับ
การไม่สัมผัสของวัตถุ และผลของแรงสัมผัส บนั ทึกผล สรปุ ผล และนำ�เสนอ การสัมผัสและการไม่สัมผัสของวัตถุ และผลของ
และแรงไมส่ มั ผสั ทมี่ ตี อ่ การเคลอื่ นทขี่ องวตั ถุ แรงที่กระทำ�กับวัตถุมาอธิบายแรงสัมผัสและแรง
๒. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยการน�ำ ๖. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ เพอ่ื ใหไ้ ด้ ไมส่ ัมผัสได้ถกู ตอ้ ง
ข้อมูลจากการสังเกตเก่ียวกับการสัมผัสและ ข้อสรุปว่าแรงที่เกิดจากวัตถุหน่ึงกระท�ำ กับอีกวัตถุหนึ่งโดยวัตถุไม่จำ�เป็น
การไม่สัมผัสของวัตถุ และผลของแรงท่ี ต้องสัมผัสกัน จัดเป็นแรงไม่สัมผัส ซ่ึงอาจมีผลทำ�ให้วัตถุเปลี่ยนแปลง
กระทำ�กับวัตถุมาอธิบายแรงสัมผัสและแรง การเคลอื่ นท่ี ตัวอย่างของแรงไม่สมั ผัส เช่น แรงแมเ่ หล็ก
ไมส่ ัมผสั

วิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓

การวเิ คราะห์ตวั ช้วี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชี้วัด 121

๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลง
โดยการทำ�ความเข้าใจขอ้ มลู ท่บี นั ทกึ ไดจ้ าก ขอ้ สรปุ จากการท�ำ ความเขา้ ใจขอ้ มลู ทบี่ นั ทกึ ไดจ้ าก
การสังเกตและลงข้อสรุปเก่ียวกับแรงสัมผัส การสงั เกตและลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั แรงสมั ผสั และแรง
และแรงไมส่ มั ผสั และผลของแรงทท่ี �ำ ใหว้ ตั ถุ ไม่สัมผัส และผลของแรงท่ีทำ�ให้วัตถุเปล่ียนแปลง
เปลี่ยนแปลงการเคลอ่ื นที่ การเคล่ือนทีไ่ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและครบถว้ น

ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยทำ�งานกับผู้อื่นในการสังเกต เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นในการสังเกต
อภปิ ราย และลงข้อสรุปรว่ มกนั เกย่ี วกับแรง อภิปราย และลงข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับแรงสัมผัส
สัมผัส แรงไม่สัมผัส และผลของแรงสัมผัส แรงไมส่ มั ผสั และผลของแรงสมั ผสั และแรงไมส่ มั ผสั
และแรงไมส่ มั ผสั ทมี่ ตี อ่ การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถุ ท่ีมีต่อการเคลื่อนท่ีของวัตถุร่วมกับผู้อ่ืน ต้ังแต่
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ เร่มิ ต้นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสังเกตการสัมผสั และการ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
ไม่สัมผัสของวัตถุ และผลของแรงท่ีกระทำ� ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกตการสมั ผสั และการไมส่ มั ผสั
กบั วตั ถมุ าอธบิ ายแรงสมั ผสั และแรงไมส่ มั ผสั ของวตั ถุ และผลของแรงทกี่ ระท�ำ กบั วตั ถมุ าอธบิ าย
แรงสมั ผสั และแรงไมส่ ัมผสั ใหผ้ ู้อืน่ เขา้ ใจ

122 ตัวชี้วดั
๕. จำ�แนกวตั ถโุ ดยใช้การดึงดดู กบั แม่เหล็กเป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชิงประจักษ์

การวิเคราะหต์ ัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชวี้ ัด

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับแม่เหล็ก โดย ด้านความรู้
แม่เหล็กสามารถดึงดูดสารแม่เหล็กได้ ทำ�ให้ การใช้วิธีซักถาม กิจกรรมสาธิต หรือสื่อต่าง ๆ เช่น ภาพเคล่ือนไหว
สามารถนำ�มาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำ�แนกวัสดุที่ วีดิทัศน์เพ่ือนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเพื่ออธิบายผลของแรงแม่เหล็กที่มี ๑. อธิบายผลของแรงแม่เหล็ก เมื่อนำ�แม่เหล็กเข้าใกล้
เป็นสารแม่เหลก็ และไม่เป็นสารแมเ่ หลก็ ต่อสารแม่เหลก็ วัสดทุ เ่ี ปน็ สารแม่เหลก็

ดา้ นทักษะ ๒. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยสังเกตการดึงดูดแม่เหล็กกับวัตถุและจำ�แนก ๒. บอกเกณฑ์ท่ีใช้จำ�แนกวัสดุที่เป็นสารแม่เหล็กและ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วัสดุท่ีเป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กโดยใช้การดึงดูดของ ไม่เปน็ สารแมเ่ หล็ก
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตการเคลอื่ นทขี่ อง แม่เหล็กเป็นเกณฑ์ บันทึกผล สรุปผล และนำ�เสนอ
ดา้ นทักษะ
วสั ดตุ า่ ง ๆ เมอื่ นำ�แทง่ แมเ่ หล็กมาเขา้ ใกล้ ๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อให้
๒. ทกั ษะการจ�ำ แนกประเภท โดยจ�ำ แนกวสั ดทุ ี่ ไดข้ อ้ สรุปว่าแม่เหลก็ สามารถดงึ ดดู สารแมเ่ หลก็ ซึ่งไดแ้ ก่ เหล็ก ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากบันทึกผลการสังเกต
เป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กซ่ึง ๔. นักเรียนตั้งคำ�ถามเพ่ิมเติมเกี่ยวกับสารแม่เหล็กเพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้น
ใช้การดงึ ดูดของแมเ่ หลก็ เปน็ เกณฑ์ ข้อมูล บนั ทกึ ผล การเคลื่อนที่ของวัสดุต่าง ๆ เม่ือนำ�แท่งแม่เหล็ก
๓. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยการน�ำ มาเข้าใกล้ตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่มเติม
ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ม า อ ธิ บ า ย ผ ล ข อ ง ๕. นกั เรยี นน�ำ เสนอผลการสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สารแมเ่ หลก็ รว่ มกนั อภปิ ราย ความคดิ เห็นส่วนตัว
แรงแม่เหลก็ ทีม่ ตี ่อสารแม่เหลก็ เพ่ือลงข้อสรุปว่าสารแม่เหล็กคือสารที่แม่เหล็กดึงดูดได้ ซึ่งประกอบด้วย ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
เหลก็ นิกเกลิ โคบอลต์ วัสดุท่ีเป็นสารแม่เหล็กและไม่เป็นสารแม่เหล็กโดย
ใชก้ ารดงึ ดดู ของแมเ่ หล็กเปน็ เกณฑไ์ ด้ถกู ตอ้ ง
๓. ประเมินทักษะลงความเห็นจากข้อมูล จากการนำ�
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายผลของแรงแม่เหล็ก
ท่มี ีต่อสารแม่เหล็กไดถ้ กู ตอ้ ง

วทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

การวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชวี้ ดั 123

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยทำ�งานกับผู้อ่ืนในการสังเกต เป็นทีม จากการทำ�งานร่วมกับผู้อื่นในการสังเกต
อภิปราย และลงข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับผล อภิปราย และลงข้อสรุปร่วมกันเก่ียวกับผลของ
ของแรงแม่เหลก็ ท่มี ตี อ่ สารแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีมีต่อสารแม่เหล็กร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู เริ่มต้นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ที่ได้จากการสังเกตผลของแรงแม่เหล็กท่ีมี ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ตอ่ สารแม่เหลก็ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตผลของแรงแม่เหล็กท่ีมีต่อ
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ สารแมเ่ หลก็ ให้ผอู้ ืน่ เข้าใจ
การสอ่ื สาร ในการสบื คน้ และน�ำ เสนอขอ้ มลู ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
เกย่ี วกบั สารแมเ่ หล็ก ส่ือสาร จากการสืบค้นและนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับ
สารแมเ่ หล็กให้ผู้อนื่ เขา้ ใจ

124 ตวั ช้วี ดั
๖. ระบขุ ้ัวแม่เหลก็ และพยากรณ์ผลท่ีเกิดขน้ึ ระหว่างขัว้ แม่เหล็กเมอ่ื น�ำ มาเขา้ ใกลก้ ันจากหลักฐานเชิงประจักษ์

การวเิ คราะหต์ วั ช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้วี ัด

ด้านความรู้ ๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับข้ัวแม่เหล็ก โดยการซักถาม หรือใช้ ด้านความรู้
ส่ือตา่ ง ๆ เชน่ รูป ภาพเคล่ือนไหว วดี ทิ ัศน์ ๑. ระบุขั้วแม่เหล็ก
๑. ข้ัวแม่เหล็กมี ๒ ขั้ว คือ ข้ัวเหนือและขั้วใต้ ๒. อธบิ ายผลของแรงแมเ่ หลก็ ทเี่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ งแมเ่ หลก็
ขั้ ว แ ม่ เ ห ล็ ก ช นิ ด เ ดี ย ว กั น จ ะ ผ ลั ก กั น ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ
ขั้วแมเ่ หล็กต่างชนิดกนั จะดึงดดู กัน ข้ัวแมเ่ หล็กเพ่ือนำ�ไปสกู่ ารทำ�กิจกรรมเพ่อื อธิบายการระบุขวั้ แม่เหลก็ กับแมเ่ หล็ก หรือระหว่างแมเ่ หลก็ กับสารแม่เหลก็

๒. แรงแม่เหล็กเป็นแรงที่เกิดข้ึนระหว่าง ๓. นกั เรยี นปฏบิ ัตกิ ิจกรรม บนั ทกึ ผล สรปุ ผล และนำ�เสนอ ด้านทักษะ
แมเ่ หลก็ กบั แมเ่ หลก็ หรอื ระหวา่ งแมเ่ หลก็ กบั ๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพ่ือ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
สารแม่เหล็ก ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกผลการ
ลงข้อสรุปได้ว่าแม่เหล็กมี ๒ ขั้ว คือ ขั้วเหนือและข้ัวใต้ โดยเมื่อแขวน
ด้านทกั ษะ แทง่ แมเ่ หลก็ ใหส้ ามารถแกวง่ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระในแนวราบ ขวั้ แมเ่ หลก็ ดา้ นทชี่ ้ี สังเกตการวางตัวของแท่งแม่เหล็กเม่ือแขวนน่ิง
ไปทางทศิ เหนอื เปน็ ขวั้ เหนอื สว่ นขว้ั แมเ่ หลก็ ดา้ นทช่ี ไี้ ปทางทศิ ใตเ้ ปน็ ขว้ั ใต้ และจากการบันทึกผลการสังเกตการเคล่ือนที่ของ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๕. นกั เรยี นตง้ั ค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั แรงระหวา่ งแมเ่ หลก็ กบั แมเ่ หลก็ เพอ่ื น�ำ แท่งแม่เหล็กเม่ือนำ�แม่เหล็กอีกแท่งเข้าใกล้ ตาม
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตการวางตัว ไปส่กู ารพยากรณส์ ่ิงทจ่ี ะเกดิ ขึ้นระหวา่ งข้วั แมเ่ หลก็ เมอ่ื นำ�มาเขา้ ใกล้กัน ความเป็นจรงิ โดยไมเ่ พิม่ เตมิ ความคดิ เห็นส่วนตัว
๖. นกั เรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรม บันทึกผล สรปุ ผล และน�ำ เสนอ ๒. ประเมินทักษะการพยากรณ์ จากการบันทึกการ
ของแท่งแม่เหล็กเม่ือแขวนน่ิง และสังเกต ๗. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ เพอ่ื ใหไ้ ด้ คาดการณ์และให้เหตุผลสิ่งที่จะเกิดข้ึนระหว่าง
การเคลอ่ื นทข่ี องแทง่ แมเ่ หลก็ เมอื่ น�ำ แมเ่ หลก็ ข้อสรุปว่าขั้วแม่เหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน ขั้วแม่เหล็กต่างชนิดกันจะ ขั้วแม่เหล็กเมื่อนำ�มาเข้าใกล้กันได้อย่างสมเหตุ
อกี แทง่ เขา้ ใกล้ ดึงดูดกนั แรงแม่เหลก็ เปน็ แรงท่ีเกิดขน้ึ ระหว่างแม่เหล็กกับแม่เหลก็ หรือ สมผล
๒. ทักษะการพยากรณ์ โดยคาดการณ์และให้ ระหวา่ งแมเ่ หล็กกับสารแมเ่ หลก็ ๓. ประเมินทักษะลงความเห็นจากข้อมูล จากการนำ�
เหตผุ ลสง่ิ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งขว้ั แมเ่ หลก็ เมอ่ื ๘. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับแม่เหล็ก โดยวิธีการ ต่าง ๆ เช่น การ ขอ้ มลู จากการสงั เกตมาระบขุ วั้ แมเ่ หลก็ และอธบิ าย
น�ำ มาเขา้ ใกลก้ ัน เขียนผังมโนทัศน์ นำ�เสนอ จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผล ผลของแรงแม่เหลก็ ทม่ี ีต่อแมเ่ หล็กไดถ้ กู ต้อง
๓. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยการน�ำ การน�ำ เสนอและปรับปรุงแกไ้ ขใหถ้ ูกต้อง
ขอ้ มลู จากการสงั เกตมาระบขุ วั้ แมเ่ หลก็ และ
อธบิ ายผลของแรงแม่เหลก็ ท่มี ีตอ่ แมเ่ หลก็

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓

การวเิ คราะหต์ วั ชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ช้ีวัด 125

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยทำ�งานกับผู้อ่ืนในการสังเกต เป็นทีม จากการทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืนในการสังเกต
อภิปราย และลงข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับ อภิปราย และลงข้อสรุปร่วมกนั เกี่ยวกบั ขว้ั แม่เหล็ก
ข้ัวแม่เหล็กและผลของแรงแม่เหล็กที่มีต่อ และผลของแรงแม่เหล็กท่มี ีต่อแมเ่ หล็กร่วมกับผ้อู ่ืน
แมเ่ หลก็ ตง้ั แตเ่ ร่มิ ต้นจนสำ�เรจ็ ลลุ ่วง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ที่ได้จากการสังเกตแม่เหล็กและผลของ ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตแม่เหล็กและผลของ
แรงแมเ่ หล็กทมี่ ตี อ่ แมเ่ หลก็ แรงแม่เหล็กทมี่ ีต่อแม่เหลก็ ใหผ้ ู้อ่นื เขา้ ใจ

126 ตวั ชีว้ ดั
๗. ยกตัวอยา่ งการเปล่ียนพลงั งานหน่งึ ไปเปน็ อีกพลังงานหนงึ่ จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

การวเิ คราะหต์ ัวช้วี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยใช้ส่ือต่าง ๆ หรือกิจกรรมสาธิต ดา้ นความรู้
เก่ียวกับพลังงาน เช่น สาธิตการทำ�ให้รถของเล่นเคลื่อนท่ีหรือใบพัดของ ๑. อธบิ ายความหมายของพลงั งาน
๑. พลงั งานเปน็ ปรมิ าณทแ่ี สดงถงึ ความสามารถ พัดลมพกพาหมุนได้โดยใช้ถ่านไฟฉาย จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกัน ๒. ระบแุ ละยกตวั อยา่ งการเปลยี่ นพลงั งานจากพลงั งาน
ในการทำ�งาน พลังงานสามารถเปล่ียนจาก อภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าถ่านไฟฉายทำ�ให้รถของเล่นเคลื่อนท่ีหรือทำ�ให้
พลังงานหน่ึงไปเปน็ อีกพลังงานหน่ึงได้ ใบพดั หมนุ ได้ เรยี กวา่ รถของเลน่ ท�ำ งานหรอื ใบพดั ท�ำ งานไดซ้ ง่ึ ไดพ้ ลงั งาน หนงึ่ ไปเป็นอีกพลังงานหน่ึง
มาจากถ่านไฟฉาย ๓. ยกตัวอยา่ งสถานการณท์ ี่ใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ พลงั งาน
๒. พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเสียง
พลังงานกล และพลังงานความร้อนเป็น ๒. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพมิ่ เตมิ วา่ พลงั งานเปน็ ปรมิ าณทแ่ี สดงถงึ แสง พลังงานเสยี ง พลังงานกล ในชีวิตประจำ�วัน
พลังงานท่เี กีย่ วข้องกับชีวิตประจำ�วัน ความสามารถในการทำ�งาน
ด้านทักษะ
ด้านทักษะ ๓. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ วา่ พลงั งานทม่ี อี ยใู่ นวตั ถทุ ก่ี �ำ ลงั เคลอื่ นทเี่ ปน็ พลงั งาน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
กล เช่น พลังงานท่ีอยู่ในรถของเล่นที่กำ�ลังเคลื่อนที่ หรือพลังงานที่อยู่ ๑. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร บั น ทึ ก
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ในใบพัดท่ีกำ�ลังหมุน จากน้ันนักเรียนอภิปรายร่วมกันและยกตัวอย่าง
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายการเปลี่ยน พลงั งานกลอน่ื  ๆ ในชวี ิตประจำ�วัน รายละเอียดส่ิงท่ีปรากฏจริงเก่ียวกับการเปล่ียน
พลังงานท่ีเกิดข้ึนของส่ิงต่าง ๆ ตามความเป็นจริง
พลงั งานท่ีเกดิ ขน้ึ ของสิ่งตา่ ง ๆ ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับพลังงานต่าง ๆ โดยไม่เพิ่มความคิดเหน็ สว่ นตวั
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ� ที่พบในชีวิตประจำ�วันซ่ึงลงข้อสรุปได้ว่า พลังงานท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิต ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ประจำ�วัน ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า พลังงานแสง พลังงานเสียง พลังงานกล เชื่อมโยงเก่ียวกับความหมายของพลังงาน และการ
ข้อมูลจากการสังเกตและจากการเชื่อมโยง และพลังงานความรอ้ น เปลยี่ นพลงั งานจากพลงั งานหนงึ่ ไปเปน็ อกี พลงั งาน
ความรู้เกี่ยวกับความหมายพลังงานและ หนง่ึ ได้ถูกตอ้ ง
การเปล่ียนพลังงานจากพลังงานหน่ึงไปเป็น ๕. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับการเปล่ียน
อกี พลังงานหนง่ึ ได้ พลังงานแบบต่าง ๆ ที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำ�วัน โดยอาจใช้วิธี
ซักถาม กิจกรรมสาธิต หรือใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น รูป ภาพเคล่ือนไหว
วดี ทิ ศั น์ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื สงั เกตเกย่ี วกบั การเปลยี่ นพลงั งาน
แบบตา่ ง ๆ

วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

การวเิ คราะหต์ ัวช้ีวัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวช้วี ัด 127

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ๖. นักเรียนออกแบบการทำ�กิจกรรม โดยใช้อุปกรณ์ท่ีครูกำ�หนดให้ใน ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น แต่ละชุด เชน่ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
- พลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง เชน่ ถ่านไฟฉาย หลอดไฟฟา้
ทมี โดยมีสว่ นร่วมในการสังเกต แลกเปล่ียน - พลังงานไฟฟา้ เป็นพลังงานเสียง เช่น ถ่านไฟฉาย ออดไฟฟา้ เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อื่นในการสังเกต และ
ความเห็นเกี่ยวกับความหมายของพลังงาน - พลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า เช่น เซลล์สุริยะ เคร่ืองคิดเลข อภิปรายเกี่ยวกับความหมายของพลังงานและการ
และการเปล่ียนพลังงานในแบบต่าง ๆ - พลังงานกลเปน็ พลงั งานความร้อน เช่น การเสยี ดสขี องวัตถุ เปล่ียนพลังงานในแบบต่าง ๆ ร่วมกับผู้อ่ืน ต้ังแต่
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู เร่ิมต้นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ท่ีได้จากการสังเกตการเปล่ียนรูปพลังงาน ๗. นักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามทอ่ี อกแบบไว้ สังเกตการเปล่ยี นพลงั งานของ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
ของสิ่งต่าง ๆ จากการปฏิบัติกิจกรรมท่ีได้ อุปกรณ์ บนั ทกึ ผล สรปุ ผลการท�ำ กิจกรรม และนำ�เสนอ การสงั เกตเกย่ี วกบั การเปลย่ี นพลงั งานของสง่ิ ตา่ ง ๆ
วางแผนไว้ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทไ่ี ดว้ างแผนไวใ้ หผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพ่ือให้ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ
วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อบอกได้ว่า ได้ข้อสรุปว่า พลังงานเป็นปริมาณที่แสดงถึงความสามารถในการทำ�งาน วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือบอกได้ว่าพลังงาน
พลังงานสามารถเปลี่ยนจากพลังงานหนึ่ง และพลังงานสามารถเปลีย่ นจากพลงั งานหนง่ึ ไปเปน็ อีกพลงั งานหน่งึ ได้ สามารถเปลยี่ นจากพลงั งานหนงึ่ ไปเปน็ อกี พลงั งาน
ไปเป็นอกี พลังงานหนงึ่ หน่ึงไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
๙. นักเรียนวิเคราะห์และยกตัวอย่างสถานการณ์ในชีวิตประจำ�วันที่
เกย่ี วขอ้ งกบั การเปลย่ี นพลงั งานหนง่ึ เปน็ อกี พลงั งานหนง่ึ ทน่ี อกเหนอื จาก
กิจกรรม นำ�เสนอผลการวิเคราะห์ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผล
การวเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ถกู ต้อง

128 ตวั ช้วี ัด
๘. บรรยายการทำ�งานของเครื่องก�ำ เนิดไฟฟา้ และระบุแหลง่ พลงั งานในการผลติ ไฟฟา้ จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้
๙. ตระหนักในประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟา้ โดยน�ำ เสนอวธิ กี ารใช้ไฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภัย

การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชีว้ ัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการผลิตไฟฟ้า โดยใช้การซักถาม หรือ ด้านความรู้
สอื่ ตา่ ง ๆ ๑. บรรยายการทำ�งานของเครื่องก�ำ เนดิ ไฟฟา้
๑. ไฟฟ้าส่วนใหญ่ผลิตจากเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า ๒. ระบุแหลง่ พลงั งานทใ่ี ชใ้ นการผลิตไฟฟ้า
ซง่ึ เกดิ จากการหมนุ ขดลวดทองแดงใหต้ ดั กบั ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการผลิตไฟฟ้า ๓. อธิบายประโยชน์และโทษของไฟฟ้า และวิธีการใช้
สนามแม่เหล็ก โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น รูป ภาพเคล่ือนไหว วีดิทัศน์
เพ่อื น�ำ ไปสู่การทำ�กจิ กรรมการท�ำ งานของเครอื่ งก�ำ เนดิ ไฟฟ้า ไฟฟา้ อย่างปลอดภัยและประหยัด
๒. การผลติ ไฟฟา้ ใชพ้ ลงั งานจากแหลง่ พลงั งาน
ต่าง ๆ เช่น แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำ�มัน ๓. นกั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมโดยศกึ ษาการท�ำ งานของเครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ ทต่ี อ่ ดา้ นทกั ษะ
น้�ำ ลม และอน่ื  ๆ กบั หลอดไฟฟา้ สงั เกตสง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั หลอดไฟฟา้ เมอ่ื หมนุ ใหเ้ ครอื่ งก�ำ เนดิ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ไฟฟา้ ท�ำ งาน บนั ทกึ ผล นำ�เสนอ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกเกี่ยวกับ
๓. ไฟฟ้ามีท้ังประโยชน์และโทษ ดังน้ันการใช้
ไฟฟ้าจะต้องใช้อย่างถูกวิธีเพื่อให้เกิดความ ๔. นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การท�ำ งานของเครอื่ งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ บนั ทกึ ผล การเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟฟ้าที่ต่อกับเคร่ือง
ปลอดภยั และจะตอ้ งใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด วเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของขอ้ มลู ทสี่ งั เกตกบั ทสี่ บื คน้ ได้ แลว้ น�ำ หลกั ฐาน ก�ำ เนดิ ไฟฟา้ เมอ่ื หมนุ ขดลวดของเครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้
เชงิ ประจกั ษท์ ผ่ี า่ นการวเิ คราะหม์ าสนบั สนนุ ค�ำ อธบิ ายเกย่ี วกบั การท�ำ งาน ตามความเป็นจริงโดยไมเ่ พมิ่ ความคิดเห็นสว่ นตวั
ดา้ นทักษะ ของเครอื่ งก�ำ เนิดไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า นำ�เสนอ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อ
๑. ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต โ ด ย สั ง เ ก ต ก า ร ให้ได้ข้อสรุปว่า เม่ือหมุนขดลวดของเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
จะทำ�งานได้ แสดงว่ามีพลังงานไฟฟ้าเกิดขึ้น ภายในเคร่ืองกำ�เนิดไฟฟ้า
เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง ห ล อ ด ไ ฟ ฟ้ า ท่ี ต่ อ กั บ ประกอบด้วยขดลวดทองแดงและแม่เหล็ก ซึ่งการหมุนขดลวดทองแดง
เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าเม่ือหมุนขดลวดของ ให้ตัดกบั สนามแมเ่ หล็กจะทำ�ให้เกดิ ไฟฟ้า
เคร่ืองก�ำ เนิดไฟฟา้
๖. นักเรียนสร้างคำ�ถามใหม่เก่ียวกับแหล่งพลังงานที่ใช้ในการหมุนเครื่อง
ก�ำ เนดิ ไฟฟ้าเพ่อื ผลิตไฟฟา้ เพื่อน�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ข้อมูล

วิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓

การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้วี ัด 129

๒. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยอภปิ ราย ๗. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้าจากแหล่ง ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลได้อย่าง
และเชื่อมโยงขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการสังเกตหลอด ข้อมูลต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เอกสารจากหน่วยงานหรือองค์กรผลิต สมเหตุสมผล จากการเช่ือมโยงข้อมูลท่ีได้จากการ
ไฟฟ้าเมื่อต่อกับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากับข้อมูล ไฟฟ้า สอบถามผู้ที่ทำ�งานอยู่ในหน่วยงานหรือองค์กรผลิตไฟฟ้า หรือ สังเกตหลอดไฟฟ้าเม่ือต่อกับเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า
ท่ีได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับการทำ�งานของ อนื่  ๆ บันทึกผล และน�ำ เสนอ กับข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการ
เครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ แหลง่ พลงั งานทใ่ี ชใ้ นการ ท�ำ งานของเครอื่ งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ แหลง่ พลงั งานทใี่ ชใ้ น
ผลติ ไฟฟา้ อันตรายท่ีเกิดจากการใช้ไฟฟา้ ไม่ ๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าในการผลิตไฟฟ้าของเคร่ือง การผลติ ไฟฟา้ อนั ตรายทเี่ กดิ จากการใชไ้ ฟฟา้ ไมถ่ กู
ถูกวิธีและวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพ่ือให้ กำ�เนิดไฟฟ้าใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานธรรมชาติหลายแหล่ง เช่น วิธีและวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพ่ือให้เกิดความ
เกดิ ความปลอดภยั และประหยดั แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน นำ้�มัน น้ำ� ลม และอ่ืน ๆ โดยที่แหล่งพลังงาน ปลอดภัยและประหยัด
บางชนดิ ใชแ้ ลว้ หมดไป เชน่ แกส๊ ธรรมชาติ น�้ำ มนั ถา่ นหนิ แหลง่ พลงั งาน
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป บางชนดิ หมนุ เวียนได้ เชน่ ลม น้ำ� ๓. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ลงข้อสรุปได้อย่างถูกต้อง จากการทำ�ความเข้าใจ
และสืบค้นจากแหล่งต่าง ๆ แล้วนำ�มา ๙. ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับแหล่งพลังงานท่ีใช้แล้วหมดไป เพ่ือให้ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและการสืบค้นจากแหล่ง
ตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั การผลติ นกั เรียนตระหนกั ถงึ การใช้ไฟฟา้ อยา่ งประหยัด ตา่ ง ๆ แลว้ น�ำ มาตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ ไดอ้ ยา่ ง
ไฟฟ้า แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ถกู ตอ้ งวา่ ไฟฟา้ เกดิ จากการหมนุ ใหข้ ดลวดทองแดง
และวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธีเพื่อให้เกิด ๑๐. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยนักเรียนต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับวิธีการใช้ ตัดกับสนามแม่เหล็ก ในการผลิตไฟฟ้าของเครื่อง
ความปลอดภัยและประหยดั ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัดโดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ ก�ำ เนดิ ไฟฟา้ ใชพ้ ลงั งานจากแหลง่ พลงั งานธรรมชาติ
เช่น รูป ภาพเคล่ือนไหว วีดิทัศน์ เพื่อนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ หลายแหล่ง และการใช้ไฟฟ้าจะต้องใช้อย่างถูกวิธี
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟา้ และการใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั และประหยดั เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและจะต้องใช้ไฟฟ้าอย่าง
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ประหยัด
๑๑. นักเรียนสืบค้นข้อมูล บันทึกผล วิเคราะห์ข้อมูลที่สืบค้นได้เพ่ือนำ�มา
เ ป็ น ที ม โ ด ย มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร สั ง เ ก ต สนับสนุนคำ�อธิบายเกี่ยวกับวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัด ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
แลกเปลี่ยนผลการสังเกต และอภิปราย และน�ำ เสนอ ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็
เก่ียวกับการผลิตไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้
ผลติ ไฟฟา้ และวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั ๑๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับประโยชน์และโทษของไฟฟ้าและ ทมี จากการท�ำ งานกบั ผอู้ นื่ ในการสงั เกต แลกเปลย่ี น
และประหยัด ลงข้อสรุปว่าการใช้ไฟฟา้ จะตอ้ งใช้อยา่ งถูกวิธเี พื่อให้เกดิ ความปลอดภัย ผลการสังเกต และอภิปรายเก่ียวกับการผลิตไฟฟ้า
แหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้า และวิธีการใช้ไฟฟ้า
๑๓. นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย เ พื่ อ ว า ง แ ผ น เ ก่ี ย ว กั บ แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ ใ น อย่างปลอดภัยและประหยัดร่วมกับผู้อ่ืน ตั้งแต่เริ่ม
การประหยดั การใชไ้ ฟฟา้ เชน่ ปดิ ไฟในบา้ นของตนเองหลงั เวลาทก่ี �ำ หนด ต้นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ถอดปลั๊กโทรทัศนท์ ุกครง้ั หลังจากใชง้ าน

130 การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั

๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
ที่ได้จากการสังเกตและการสืบค้นข้อมูล การสังเกตและการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต
เก่ียวกับการผลิตไฟฟ้า แหล่งพลังงานที่ใช้ ไฟฟ้า แหล่งพลังงานท่ีใช้ผลิตไฟฟ้า และวิธีการใช้
ผลติ ไฟฟา้ และวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั ไฟฟ้าอย่างปลอดภัยและประหยัดให้ผู้อื่นฟังอย่าง
และประหยัด เขา้ ใจ และนา่ สนใจ

๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นจากแหล่ง ใชข้ อ้ มลู จากการสบื คน้ เกยี่ วกบั การใชไ้ ฟฟา้ มาใชใ้ น
ต่าง ๆ เพื่อระบุเกี่ยวกับแหล่งพลังงานท่ีใช้ การระบุเก่ียวกับแหล่งพลังงานที่ใช้ผลิตไฟฟ้าและ
ผลติ ไฟฟา้ และวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั วธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั และประหยดั ไดอ้ ยา่ ง
และประหยดั สมเหตสุ มผล

๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์ สอื่ สาร จากการใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการสบื คน้ ขอ้ มลู
ประยกุ ตท์ เ่ี หมาะสม ในการสบื คน้ จดั กระท�ำ อยา่ งถกู ตอ้ ง มจี รยิ ธรรมโดยไมค่ ดั ลอกงานของผอู้ นื่
และนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับการทำ�งานของ มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลท่ีสืบค้น และใช้ซอฟต์แวร์
เครอ่ื งก�ำ เนดิ ไฟฟา้ แหลง่ พลงั งานในการผลติ ประยุกต์ในการจัดกระทำ�และนำ�เสนอข้อมูลอย่าง
ไฟฟา้ และวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั และ เหมาะสมเกย่ี วกบั การท�ำ งานของเครอื่ งก�ำ เนดิ ไฟฟา้
ประหยดั แหลง่ พลงั งานในการผลติ ไฟฟา้ และวธิ กี ารใชไ้ ฟฟา้
อยา่ งปลอดภัยและประหยดั
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
ตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้าโดย
นำ�เสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ ประเมินความตระหนักในประโยชน์และโทษของไฟฟ้า
ปลอดภยั จากการนำ�เสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและ
ปลอดภยั ได้อย่างเหมาะสม

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ วิทยาศาสตร์

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้งั 131
ปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสุริยะท่สี ่งผลตอ่ สิ่งมชี ีวติ และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา้ ใจองค์ประกอบ และความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภยั
กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสง่ิ มีชีวติ และสิ่งแวดล้อม

ตัวช้ีวัด
๑. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทติ ย์โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์

การวิเคราะหต์ วั ชี้วัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ช้วี ัด

ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับเส้นทางการข้ึน ด้านความรู้
คนบนโลกมองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏขึ้นทาง และตกของดวงอาทติ ย์ โดยอาจใชว้ ธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ วดี ทิ ศั น์ อธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการขนึ้ และตกของดวงอาทิตย์
ขอบฟ้าด้านตะวันออกและตกทางขอบฟ้าด้าน ภาพเคล่ือนไหว เพ่ือน�ำ ไปสูก่ ารสังเกต
ตะวนั ตก โดยมเี สน้ ทางการขน้ึ และตกเปน็ แบบรปู ด้านทกั ษะ
๒. นักเรียนสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์จากวีดิทัศน์ หรือ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ดา้ นทักษะ แบบจำ�ลอง โดยบันทึกการเริ่มปรากฏของดวงอาทิตย์จากขอบฟ้า ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การผ่านต�ำ แหน่งสงู สดุ บนทอ้ งฟ้า และการลับขอบฟ้า บนั ทกึ ผล จากนั้น
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตเส้นทางการ ร่วมกันอภิปราย รายละเอียดการสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของ
ดวงอาทิตย์ ดว้ ยตำ�แหน่งท่ีดวงอาทติ ย์ปรากฏจาก
ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ด้วยตำ�แหน่งที่ ๓. ครูให้นักเรียนสังเกตเส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน ขอบฟ้า ต�ำ แหนง่ ทด่ี วงอาทิตยอ์ ยสู่ ูงสุดบนทอ้ งฟา้
ดวงอาทิตย์ปรากฏจากขอบฟ้า ตำ�แหน่งท่ี เปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย ๓ วนั บนั ทกึ ผลในรปู ของตารางหรอื โดยการวาดภาพ และตำ�แหน่งท่ีดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าได้ครบถ้วน
ดวงอาทิตยอ์ ย่สู งู สดุ บนทอ้ งฟา้ และตำ�แหน่ง และนำ�เสนอ ตามความเปน็ จรงิ โดยไมเ่ พ่ิมความคิดเห็นสว่ นตัว
ท่ดี วงอาทิตย์ลับขอบฟ้า
๔. ครูกระต้นุ ให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกย่ี วกบั การขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์
ว่าการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์เกิดข้ึนซำ้�แบบเดิมในทุก ๆ วันจนเป็น
แบบรปู หรอื ไม่ ใหร้ ่วมกนั อภิปรายพร้อมบอกเหตผุ ล

132 การวิเคราะห์ตัวช้วี ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั

๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการอภิปราย เพ่ือลงข้อสรุปว่า ดวงอาทิตย์มี ๒. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
จากการสงั เกตเหน็ ดวงอาทติ ยข์ น้ึ และตกทาง เสน้ ทางการขน้ึ และตกเปน็ แบบรปู โดยดวงอาทติ ยป์ รากฏขนึ้ จากขอบฟา้ ลงข้อสรุป เกี่ยวกับแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตก
ดา้ นเดมิ ทุกวันติดต่อกันมากกว่า ๓ วัน และ ทางดา้ นตะวันออกและตกทางขอบฟ้าด้านตะวันตกทุกวัน ของดวงอาทิตยไ์ ดอ้ ย่างถูกต้อง
ลงข้อสรุปว่าการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
เป็นแบบรปู ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้อมูล จากการนำ�ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสังเกตเส้นทาง
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์มาจัดกระทำ�และนำ�
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต เสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสม และ
เส้นทางการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์มา ช่วยให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่าง
จดั กระท�ำ และนำ�เสนอในรปู แบบต่าง ๆ รวดเร็ว ชดั เจน และถูกตอ้ ง

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันศึกษาค้นคว้า เปน็ ทมี จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู เพอื่ น�ำ มาจดั ท�ำ
ข้อมูลเพ่ือนำ�มาจัดทำ�ส่ือรูปแบบต่าง ๆ และ สื่อรูปแบบต่าง ๆ และนำ�เสนอแบบรูปเส้นทางการ
นำ�เสนอแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของ ขนึ้ และตกของดวงอาทติ ยร์ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้
ดวงอาทิตย์ จนสำ�เรจ็ ลลุ ่วง
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอแบบ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
รูปเส้นทางการข้นึ และตกของดวงอาทติ ย์ แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์
เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถูกตอ้ ง

ตัวช้วี ัด วิทยาศาสตร์
๒. อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณก์ ารขน้ึ และตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำ�หนดทศิ โดยใช้แบบจำ�ลอง
๓. ตระหนกั ถึงความส�ำ คญั ของดวงอาทติ ย์ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมชี วี ิต ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

133

การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชวี้ ัด

ด้านความรู้ แบบรปู การขึ้นและตกของดวงอาทติ ยแ์ ละการกำ�หนดทิศ ด้านความรู้
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับสาเหตุการเกิด
๑. การหมุนรอบตัวเองของโลกทำ�ให้คนบนโลก อธิบายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตก
มองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏข้ึนทางด้านหน่ึง ปรากฏการณก์ ารขนึ้ และตกของดวงอาทติ ย์ และการก�ำ หนดทศิ โดยอาจ ของดวงอาทติ ย์ และการก�ำ หนดทิศ
ของขอบฟ้าและเคล่ือนสูงขึ้นไปบนท้องฟ้า ใชว้ ธิ ซี ักถาม หรอื ใชส้ ื่อตา่ ง ๆ เช่น วีดิทศั น์ ภาพเคลื่อนไหว สญั ลักษณใ์ น
จนถึงจุดสูงสุด จากนั้นค่อย ๆ เคลื่อนต่ำ�ลง แผนท่ี เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสืบคน้ ขอ้ มลู
มาจนลับขอบฟ้าอีกด้านหนึ่งเสมอ การที่ ๒. นักเรียนรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์จากการสังเกตและสืบค้นข้อมูล
โลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา ทำ�ให้คนบน จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ที่น่าเช่ือถือ เก่ียวกับสาเหตุการเกิด
โลกเหน็ ดวงอาทติ ยข์ นึ้ และตกหมนุ เวยี นเปน็ ปรากฏการณก์ ารข้ึนและตกของดวงอาทติ ยแ์ ละการกำ�หนดทิศ
แบบรูปซ�ำ้  ๆ ๓. นักเรียนวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของข้อมูลท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
เก่ียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลกขณะโคจรรอบดวงอาทิตย์และ
๒. คนบนโลกกำ�หนดให้ขอบฟ้าด้านท่ีมองเห็น เสน้ ทางการขนึ้ และตกของดวงอาทติ ยม์ าสรา้ งแบบจ�ำ ลองการขน้ึ และตก
ด ว ง อ า ทิ ต ย์ ป ร า ก ฏ ข้ึ น จ า ก ข อ บ ฟ้ า เ ป็ น ของดวงอาทติ ย์และการกำ�หนดทศิ
ทิศตะวันออก และกำ�หนดให้ขอบฟ้าด้านที่ ๔. นักเรียนสังเกตว่า ผู้สังเกตในแบบจำ�ลองมองเห็นการเปลี่ยนแปลง
มองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏลับจากขอบฟ้า ตำ�แหน่งของดวงอาทิตย์อย่างไร ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองอย่างน้อย
เปน็ ทิศตะวนั ตก ๓ ครง้ั จากนัน้ รวบรวมข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการสังเกต
๕. นักเรียนร่วมกันอภิปราย ความสัมพันธ์ระหว่างแบบรูปเส้นทาง
การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์และการกำ�หนดทิศ

134 การวเิ คราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้วี ดั

ดา้ นทักษะ ๖. นกั เรยี นอภปิ ราย เพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ การหมนุ รอบตวั เองของโลกท�ำ ใหเ้ กดิ ด้านทักษะ
ปรากฏการณข์ น้ึ และตกของดวงอาทติ ยแ์ ละการก�ำ หนดทศิ การทโ่ี ลกหมนุ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รอบตวั เองตลอดเวลาท�ำ ใหค้ นบนโลกเหน็ ดวงอาทติ ยข์ น้ึ และตกหมนุ เวยี น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ เป็นแบบรูป โดยกำ�หนดให้ขอบฟ้าด้านที่มองเห็นดวงอาทิตย์ปรากฏข้ึน ๑. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ
เป็นทิศตะวันออก และขอบฟ้าด้านที่มองเห็นดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้า
โดยแสดงความคิดเห็นและเชื่อมโยงข้อมูล เป็นทิศตะวันตก ลงขอ้ สรปุ จากการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
จากการสังเกตและการสืบค้นมาอธิบาย เกี่ยวกับสาเหตุการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์และ
สาเหตุการข้ึนและตกของดวงอาทิตย์และ การก�ำ หนดทศิ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
การก�ำ หนดทศิ ๒. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง
๒. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลองเพอ่ื อธบิ ายสาเหตุ แ บ บ จำ � ล อ ง ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง แ น ว คิ ด ที่ ถู ก ต้ อ ง
การเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตกของ เก่ยี วกบั สาเหตกุ ารเกดิ ปรากฏการณ์การข้ึนและตก
ดวงอาทติ ย์ และการกำ�หนดทศิ ของดวงอาทิตย์ และการก�ำ หนดทิศ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เ ป็ น ที ม โ ด ย นั ก เ รี ย น ร่ ว ม กั น แ ส ด ง เปน็ ทีม จากการแสดงความคิดเหน็ วเิ คราะห์ขอ้ มูล
ความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูล และปรึกษา และอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปเกี่ยวกับสาเหตุการเกิด
หารือเพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับสาเหตุการเกิด ปรากฏการณก์ ารขน้ึ และตกของดวงอาทติ ยแ์ ละการ
ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ ก�ำ หนดทิศร่วมกบั ผอู้ น่ื ต้งั แต่เริ่มต้นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
และการก�ำ หนดทิศ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตและการสืบค้นมาเล่า
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต การสืบค้น และ ให้ผู้อ่ืนฟังถึงสิ่งท่ีค้นพบเกี่ยวกับสาเหตุการเกิด
ก า ร อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ ส า เ ห ตุ ก า ร เ กิ ด ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์และ
ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การกำ�หนดทิศเพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
และการกำ�หนดทศิ ชัดเจน และถูกตอ้ ง

วิทยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓

การวเิ คราะห์ตัวชว้ี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชีว้ ัด 135

ด้านความรู้ การเกิดกลางวนั กลางคืน ดา้ นความรู้
๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั การเกดิ กลางวนั อธิบายการเกดิ กลางวัน กลางคืน
๑. การที่โลกหมุนรอบตัวเองตลอดเวลา ทำ�ให้
ด้านหน่ึงของโลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ กลางคืน โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์ ดา้ นทักษะ
เปน็ เวลากลางวัน ส่วนอกี ดา้ นหน่งึ ไมไ่ ดร้ บั ภาพเคล่ือนไหว เพอ่ื น�ำ ไปสูก่ ารอภปิ รายรว่ มกัน ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แสงเปน็ เวลากลางคนื ท�ำ ใหก้ ารเกดิ กลางวนั ๒. นักเรยี นท�ำ กิจกรรมโดยใหโ้ ลกหมุนรอบตัวเองขณะโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
กลางคนื สลับกนั ไปหมุนเวียนเปน็ วฏั จักร โดยใช้แบบจำ�ลองและสังเกตพื้นท่ีที่ได้รับแสงและไม่ได้รับแสงของโลก
โดยทำ�ซำ้�อย่างน้อย ๓ คร้ัง รวบรวมข้อมูลเพ่ืออธิบายสาเหตุการเกิด รายละเอียดการสังเกตพ้ืนท่ีที่ได้รับและไม่ได้รับ
๒. ในเวลากลางวันโลกจะได้รับพลังงานแสง กลางวนั กลางคนื และน�ำ เสนอ แสงจากแบบจำ�ลองการเกิดกลางวัน กลางคืน
และพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ๓. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย เพอื่ ลงขอ้ สรปุ วา่ กลางวนั กลางคนื เกดิ จากโลก ไ ด้ ค ร บ ถ้ ว น ต า ม ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง โ ด ย ไ ม่ เ พิ่ ม
ซึง่ ช่วยในการด�ำ รงชวี ิตของส่งิ มีชวี ติ หมนุ รอบตวั เองท�ำ ใหด้ า้ นหนงึ่ ของโลกทไี่ ดร้ บั แสงจากดวงอาทติ ยเ์ ปน็ เวลา ความคิดเหน็ ส่วนตวั
กลางวนั สว่ นอกี ดา้ นหนง่ึ ทไ่ี มไ่ ดร้ บั แสงเปน็ เวลากลางคนื เมอื่ โลกหมนุ ตอ่ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ดา้ นทกั ษะ ไปด้านที่เป็นเวลากลางคืนก็จะเปล่ียนเป็นเวลากลางวัน ส่วนด้านท่ีเป็น อธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน โดยเช่ือมโยงกับ
กลางวนั กจ็ ะเปลยี่ นเปน็ กลางคนื หมุนเวียนเช่นนเ้ี ปน็ แบบรปู ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตการหมุนรอบตัวเองของ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๔. ครูใช้คำ�ถามกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเก่ียวกับความสำ�คัญของ โลกจากแบบจำ�ลองได้อยา่ งสมเหตุสมผล
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตพนื้ ทท่ี ไ่ี ดร้ บั และ ดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต โดยใช้รูป วีดิทัศน์ หรือภาพเคล่ือนไหว ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ เกยี่ วกบั ความส�ำ คญั ของดวงอาทติ ยต์ อ่ สงิ่ มชี วี ติ เชน่ ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลเก่ียวกับความสำ�คัญของ
ไมไ่ ดร้ บั แสงจากแบบจ�ำ ลองการเกดิ กลางวนั อินเทอร์เน็ต หนังสือ ดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมีชีวิตมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ
กลางคนื ๕. นักเรียนรวบรวมข้อมูลจากการสืบค้น จากน้ันจัดกระทำ�ข้อมูลเกี่ยวกับ ในรูปแบบท่ีน่าสนใจ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย ความส�ำ คญั ของดวงอาทติ ยต์ อ่ สงิ่ มชี วี ติ และน�ำ เสนอในรปู แบบทนี่ า่ สนใจ และชว่ ยใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจความหมายของขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ ง
การอธิบายการเกิดกลางวัน กลางคืน โดย จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า โลกได้รับพลังงานแสงและ เขา้ ใจและถกู ตอ้ ง
เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ ซึ่งช่วยในการด�ำ รงชีวิตของสง่ิ มีชวี ติ
การหมนุ รอบตวั เองของโลกจากแบบจ�ำ ลอง
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ขอ้ มลู โดยการน�ำ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความส�ำ คญั
ของดวงอาทติ ยต์ อ่ สง่ิ มชี วี ติ มาจดั กระท�ำ และ
น�ำ เสนอในรูปแบบท่ีนา่ สนใจ

136 การวเิ คราะห์ตัวช้ีวดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชวี้ ัด

๔. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู ๔. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
ทไ่ี ดจ้ ากการเชอ่ื มโยงความรู้ มาออกแบบและ ท่ีแสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเกิด
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพ่ือสร้างแบบจำ�ลอง กลางวัน กลางคืน และจากการเปรียบเทียบแบบ
อธบิ ายการเกิดกลางวัน กลางคนื จ�ำ ลองกับปรากฏการณจ์ รงิ ได้อย่างถกู ตอ้ ง

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน

เป็นทีม โดยร่วมกันสืบค้นข้อมูล อภิปราย เป็นทีม จากการแสดงความคิดเห็น และลงข้อสรุป
ผลจากการสืบค้น และปรึกษาหารือใน เกยี่ วกบั การเกดิ กลางวนั กลางคนื รว่ มกบั ผอู้ น่ื ตงั้ แต่
การสรา้ งแบบจ�ำ ลองเกยี่ วกบั การเกดิ กลางวนั เร่มิ ต้นจนสำ�เร็จลลุ ่วง
กลางคืน ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการออกแบบ
๒. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ โดยการออกแบบ และสร้างแบบจำ�ลอง เพ่ืออธิบายการเกิดกลางวัน
และสร้างแบบจำ�ลอง เพื่ออธิบายการเกิด กลางคืน ซ่ึงสะท้อนให้เห็นจินตนาการและ
กลางวัน กลางคืน แนวคดิ ใหม่
๓. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๓. ทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
เกี่ยวกับการเกิดกลางวัน กลางคืน และ เกยี่ วกบั การเกิดกลางวัน กลางคนื และความสำ�คญั
ความส�ำ คญั ของดวงอาทิตยต์ อ่ ส่งิ มชี ีวติ ของดวงอาทติ ยต์ อ่ สง่ิ มีชวี ิต

ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของดวงอาทิตย์ ประเมนิ ความตระหนกั ถึงความสำ�คัญของดวงอาทิตย์
โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตยต์ ่อสิง่ มีชวี ติ

ตวั ช้วี ดั วทิ ยาศาสตร์
๔. ระบสุ ่วนประกอบของอากาศ บรรยายความส�ำ คัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศตอ่ สิง่ มชี ีวติ จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้
๕. ตระหนักถงึ ความส�ำ คญั ของอากาศ โดยนำ�เสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

137

การวเิ คราะหต์ ัวช้วี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับสมบัติและ ด้านความรู้
องค์ประกอบของอากาศ โดยอาจใช้สถานการณ์หรือใช้คำ�ถาม หรือ
๑. อากาศโดยท่ัวไป ไม่มีสี ไม่มีกล่ิน ประกอบ สอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ ภาพเคลอื่ นไหว รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตและ ๑. ระบสุ ว่ นประกอบของอากาศ
ด้วย แก๊สไนโตรเจนเป็นส่วนมาก รองลงมา สืบค้นขอ้ มูล ๒. บรรยายความสำ�คัญของอากาศและผลกระทบของ
คือ แก๊สออกซิเจน ท่ีเหลือเป็นส่วนน้อยคือ
แ ก๊ ส ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ แ ล ะ แ ก๊ ส อื่ น  ๆ ๒. นกั เรยี นสำ�รวจอากาศรอบ ๆ ตวั แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกับสี กลนิ่ และ มลพิษทางอากาศตอ่ สิ่งมีชีวิต
นอกจากนยี้ งั มีไอน้ำ�และฝ่นุ ละออง ส่วนประกอบของอากาศ

๒. อากาศจ�ำ เปน็ ตอ่ สง่ิ มชี วี ติ หากสว่ นประกอบ ๓. นักเรียนสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับสี กลิ่น และส่วนประกอบของ
ของอากาศไม่เหมาะสมเน่ืองจากมีแก๊ส อากาศ จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ หนงั สอื หรอื
บางชนิดหรือฝุ่นละอองในปริมาณมากกว่า ใบความรู้ และบนั ทึกผล
ระดับปกติ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
ซ่งึ เปน็ อันตรายต่อส่งิ มชี วี ิต ๔. นักเรียนนำ�ข้อมูลที่ได้มาร่วมกันอภิปรายแล้วเรียงลำ�ดับองค์ประกอบ
ของอากาศมากท่ีสุดไปน้อยที่สุดเพื่อลงข้อสรุปว่า อากาศประกอบด้วย
๓. ในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น การเผา แกส๊ ไนโตรเจนเปน็ สว่ นมาก รองลงมาคอื แกส๊ ออกซเิ จน ทเ่ี หลอื เปน็ สว่ น
ไหม้เช้ือเพลิงจากยานพาหนะท่ีมากเกิน น้อยคือแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สอ่ืน ๆ นอกจากน้ียังมีไอนำ้�และ
ไปจะทําให้เกิดมลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผล ฝุ่นละออง
กระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม จึงควร
ร่วมกันหาแนวทางในการปฏิบัติเพ่ือลดการ ๕. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และต้ังคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับมลพิษทาง
ปล่อยมลพษิ ทางอากาศ อากาศ เพื่อนำ�สู่การสำ�รวจปัญหามลพิษทางอากาศในท้องถิ่น จากการ
สมั ภาษณค์ นในชมุ ชน หรอื จากแหลง่ ขา่ วตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สอื พมิ พ์ วดี ทิ ศั น์
หรอื ภาพเคลอื่ นไหวตา่ ง ๆ

138 การวเิ คราะห์ตัวช้วี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชว้ี ัด

ด้านทักษะ ๖. นกั เรยี นรวบรวมขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความส�ำ คญั ของอากาศ และสาเหตทุ ท่ี �ำ ให้ ดา้ นทักษะ
สว่ นประกอบของอากาศเปลย่ี นแปลงไปจากปกตจิ นเกดิ มลพษิ ทางอากาศ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ รวมท้ังผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม บันทึกผล และ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย นำ�ข้อมูลท่ีได้ไปจัดกระทำ�ในรูปแบบท่ีเหมาะสม และนำ�เสนอในรูปแบบ ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ทน่ี า่ สนใจ
ข้อมูลโดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น และ
และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบ ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า อากาศมีความสำ�คัญต่อ รวบรวมข้อมูลมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอข้อมูล
ของอากาศ ความสำ�คัญและผลของมลพิษ การดำ�รงชีวิตของส่ิงมีชีวิต มลพิษทางอากาศเกิดจากการที่อากาศมีแก๊ส ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และช่วยให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
ทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิตมาจัดกระทำ�และ บางชนิดหรือฝุ่นละอองในปริมาณมากกว่าระดับปกติ ซ่ึงมีอันตรายต่อ ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
นำ�เสนอ ส่ิงมีชีวิตในลักษณะต่าง ๆ เช่น ทำ�ให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนไปเล้ียง ถูกต้อง
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้ รา่ งกาย ท�ำ ใหเ้ จบ็ ป่วยและอาจถงึ แกช่ ีวิตได้ ท�ำ ให้เกิดอาการระคายเคือง ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของ ต่อผิวหนัง ตา และทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์ และมีผลต่อการ ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของมลพิษ
มลพิษทางอากาศ เพ่ือนำ�เสนอเกี่ยวกับ มองเห็น ทางอากาศ เพอื่ น�ำ เสนอเกยี่ วกบั แนวทางการปฏบิ ตั ิ
แนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิด ตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ ได้อย่างสม
มลพษิ ทางอากาศ ๘. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลด เหตสุ มผล
การเกดิ มลพษิ ทางอากาศ อาจจดั ท�ำ นทิ รรศการ แผน่ ปา้ ยรณรงค์ ค�ำ ขวญั
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ หรอื แผน่ พบั เพอ่ื ใหท้ กุ คนน�ำ แนวทางทางการปฏบิ ตั ติ นไปใชไ้ ดจ้ รงิ ในชวี ติ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ประจำ�วัน จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อลงข้อสรุปว่า ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทุกคนควรร่วมมือกนั ในการลดการเกดิ มลพิษทางอากาศ
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกัน สืบค้นข้อมูล เป็นทีม จากการสืบค้นขอ้ มลู จัดกระท�ำ ข้อมลู และ
จัดกระทำ�ข้อมูลและการสำ�รวจเก่ียวกับ การสำ�รวจเกี่ยวกับความสำ�คัญของอากาศ มลพิษ
ความสำ�คัญของอากาศ มลพิษทางอากาศ ทางอากาศและผลต่อส่ิงมีชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนต้ังแต่
และผลต่อสง่ิ มีชวี ิต เรมิ่ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ
การสบื ค้นเก่ียวกับส่วนประกอบของอากาศ ข้อมูลการสืบค้นเก่ียวกับส่วนประกอบของอากาศ
ความสำ�คัญของอากาศและผลของมลพิษ ความสำ�คัญของอากาศและผลของมลพิษทาง
ทางอากาศต่อส่ิงมีชีวิต รวมทั้งแนวทาง อากาศต่อสิ่งมีชีวิต รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติตน
การปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทาง ในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
อากาศ ได้อย่างรวดเรว็ ชดั เจน และถูกต้อง

วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชี้วัด 139

๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล การสื่อสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลส่วน
ส่วนประกอบของอากาศ ความสำ�คัญของ ประกอบของอากาศ ความส�ำ คญั ของอากาศและผล
อากาศและผลของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมี ของมลพษิ ทางอากาศตอ่ สง่ิ มชี วี ติ จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่
ชีวติ เช่อื ถือได้ และมกี ารอา้ งอิงแหลง่ ข้อมูลทส่ี บื ค้น

ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์
ตระหนักถงึ ความส�ำ คัญของอากาศ
ประเมินความตระหนักถึงความสำ�คัญของอากาศ จาก
การเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการลดการเกดิ มลพษิ
ทางอากาศ

140 ตวั ชวี้ ัด
๖. อธิบายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้วี ดั

ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการเกิดลม โดย ดา้ นความรู้
ลม คืออากาศท่ีเคลื่อนที่ เกิดจากความแตกต่าง อาจใชส้ ถานการณ์ หรอื ค�ำ ถาม หรอื สอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ ภาพเคลอื่ นไหว อธบิ ายการเกดิ ลม
ของอุณหภูมิอากาศบริเวณต่าง ๆ ท่ีอยู่ใกล้กัน หรอื วดี ทิ ศั นท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ลม เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งแบบจ�ำ ลองการเกดิ ลม
โดยอากาศบรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู จะลอยตวั สงู ขน้ึ ดา้ นทักษะ
และอากาศจากบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่ำ�กว่าจะ ๒. ครูให้นักเรียนสร้างแบบจำ�ลองการเกิดลม ตามวิธีการและวัสดุที่ครู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เคลอื่ นทไ่ี ปแทนท่ี ก�ำ หนดให้ โดยอาจใชแ้ บบจ�ำ ลอง ดงั รปู ใหน้ กั เรยี นสงั เกตการเคลอื่ นทข่ี อง ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
ควันธูป เม่ือจุดเทียนไขและไม่จุดเทียนไขในขวดพลาสติก และ
ด้านทกั ษะ วัดอุณหภมู บิ ริเวณทีอ่ ยใู่ กลเ้ คียงกันโดยใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ รายละเอียดการสังเกตเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ีเกิดข้ึนแบบจำ�ลองการเกิดลม ได้ถูกต้อง ตาม
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตการ เทอรม์ อมิเตอร์ เทอรม์ อมิเตอร์ ความเปน็ จรงิ โดยไม่เพิม่ เติมความคิดเหน็ ส่วนตวั
๒. ประเมินทักษะการวัด จากการใช้เทอร์มอมิเตอร์
เปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในแบบจำ�ลองการ ธปู ธปู วัดอุณหภมู ิของอากาศ พรอ้ มระบุหนว่ ยของการวัด
เกิดลม ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
๒. ทักษะการวัด โดยการใช้เทอร์มอมิเตอร์ ก่อนจุดเทียนไข ขณะจุดเทียนไข ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
วดั อณุ หภูมขิ องอากาศ ก า ร ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ บ บ จำ � ล อ ง
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการ ๓. นกั เรยี นสงั เกตการเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ ในแบบจ�ำ ลอง รวบรวมหลกั ฐาน การเกิดลม แล้วลงความเห็นเพ่ืออธิบายเก่ียวกับ
รวบรวมข้อมูลจากการสังเกตแบบจำ�ลอง เชิงประจกั ษ์ และบนั ทกึ ผล การเกิดลม ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
แลว้ ลงความเหน็ เพอื่ อธบิ ายเกย่ี วกบั การเกดิ
ลม ๔. นักเรียนนำ�เสนอ และร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า ลม คืออากาศท่ี
เคล่ือนท่ี เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศบริเวณต่าง ๆ ที่อยู่
ใกลก้ นั โดยอากาศบรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู สิ งู จะลอยตวั สงู ขน้ึ และอากาศจาก
บรเิ วณทม่ี อี ุณหภมู ิต่�ำ กวา่ จะเคลอื่ นที่ไปแทนท่ี


Click to View FlipBook Version