วิทยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓
การวิเคราะห์ตัวชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชี้วัด 141
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันลงมือปฏิบัติ เป็นทีม จากการลงมือปฏิบัติเพื่อสร้างแบบจำ�ลอง
เพอ่ื สรา้ งแบบจ�ำ ลองการเกดิ ลม และรว่ มกนั การเกิดลม และร่วมกันอภิปรายเพื่ออธิบาย
อภปิ รายเพ่ืออธิบายการเกดิ ลม การเกดิ ลม รว่ มกบั ผอู้ นื่ ตง้ั แตเ่ รม่ิ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตแบบจ�ำ ลองการเกิดลม ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตแบบจำ�ลองการเกิดลม
เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถกู ตอ้ ง
ตัวช้ีวดั
๗. บรรยายประโยชน์และโทษของลมจากขอ้ มูลที่รวบรวมได้
การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชีว้ ดั
ด้านความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกยี่ วกบั ผลของลมทม่ี ตี อ่ ดา้ นความรู้
มนษุ ย์ โดยอาจใชส้ ถานการณ์ ค�ำ ถาม หรอื สอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ วดี ทิ ศั น์ บรรยายประโยชนแ์ ละโทษของลม
ลม สามารถนำ�มาใช้ประโยชนใ์ นการทำ�กิจกรรม ข่าว เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารสบื ค้นข้อมูล
ต่าง ๆ โดยมีการน�ำ ลมมาใช้เป็นพลังงานทดแทน
ในการผลติ ไฟฟา้ หากลมเคลอื่ นทด่ี ว้ ยความเรว็ สงู ๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับประโยชน์และโทษของลม จากแหล่งข้อมูล
อาจทำ�ให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิต ตา่ ง ๆ ที่น่าเชอ่ื ถือ เช่น อนิ เทอร์เน็ต หนังสือพมิ พ์ หรือแหล่งเรยี นรู้อ่ืน ๆ
และทรัพย์สินได้ รวบรวมข้อมลู และบันทึกผล
142 การวิเคราะห์ตัวช้วี ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชว้ี ัด
ด้านทกั ษะ ๓. นักเรียนนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาจัดกระทำ�ในรูปแบบท่ีเข้าใจง่าย ดา้ นทักษะ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เชน่ ตาราง แผนภาพ และน�ำ เสนอในรปู แบบท่ีนา่ สนใจ
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า ลมมีประโยชน์ในการทำ� ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น การเล่นว่าว การเดินเรือ การบิน และ
และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และ การใช้ลมเป็นพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้า หากลมเคล่ือนท่ี ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น และ
โทษของลม มาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ ด้วยความเร็วสูงอาจทำ�ให้เกิดอันตรายและความเสียหายต่อชีวิตและ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของ
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ทรัพยส์ ินได้ ลม มาจัดกระทำ�และส่ือความหมายข้อมูลได้อย่าง
โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น มาลง ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และชว่ ยใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจความหมาย
สรุปเกยี่ วกบั ประโยชนแ์ ละโทษของลม ๕. ครูใช้สถานการณ์และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จาก ของข้อมลู ได้อยา่ งรวดเร็ว ชัดเจน และถูกตอ้ ง
พลังงานทดแทนโดยลม ในประเด็นเกี่ยวกับข้อดี คือใช้ได้ไม่มีวันหมด ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ และกระบวนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากลม ยังไม่ปล่อยของเสียท่ีเป็น โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น มาลงข้อสรุป
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน อันตรายต่อส่ิงแวดล้อม แต่มีข้อจำ�กัดของพลังงานลม ก็คือ พลังงานลม เกี่ยวกบั ประโยชนแ์ ละโทษของลม ได้อย่างถกู ต้อง
ต้องมีความเร็วของลมสมำ่�เสมอหรือกำ�ลังลมเฉล่ียท้ังปีไม่ต่ำ�กว่า ๖.๔ -
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล ๗.๐ เมตรตอ่ วนิ าที ทค่ี วามสูง ๕๐ เมตร จงึ จะผลติ กระแสไฟฟา้ ไดด้ ี ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
จัดกระทำ�ข้อมูล และนำ�เสนอเก่ียวกับ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ประโยชน์และโทษของลม
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู เป็นทีม จากการสืบค้นข้อมูล จดั กระทำ�ข้อมูล และ
ท่ีได้จากสืบค้นเกี่ยวกับประโยชน์และโทษ นำ�เสนอเก่ียวกับประโยชน์และโทษของลม ตั้งแต่
ของลม เริ่มตน้ จนส�ำ เร็จลลุ ่วง
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
สื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากสบื คน้ เกย่ี วกบั ประโยชนแ์ ละโทษของ
เร่อื งประโยชนแ์ ละโทษของลม ลม เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
ถกู ตอ้ ง
๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
เรื่องประโยชน์และโทษของลม จากแหล่งข้อมูลท่ี
เช่ือถอื ได้ และมีการอ้างองิ แหลง่ ขอ้ มูลทส่ี บื คน้
143
144
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ วิทยาศาสตร์
สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
145
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขา้ ใจสมบตั ิของสง่ิ มชี วี ติ หนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมชี วี ติ การลำ�เลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและ
หน้าทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ี่ทำ�งานสมั พนั ธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องอวยั วะตา่ ง ๆ
ของพชื ทที่ ำ�งานสัมพนั ธก์ ัน รวมทง้ั น�ำ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความส�ำ คญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม สารพันธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพันธกุ รรม
ทม่ี ีผลต่อสิ่งมชี ีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ฒั นาการของสง่ิ มชี ีวิต รวมท้ังน�ำ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ชว้ี ัด
๑. บรรยายหนา้ ท่ีของราก ล�ำ ตน้ ใบ และดอกของพืชดอกโดยใชข้ อ้ มูลท่ีรวบรวมได้
การวิเคราะหต์ วั ชว้ี ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ดั
ด้านความรู้ ๑. ครทู บทวนโดยการซกั ถามนกั เรยี นเกยี่ วกบั สว่ นประกอบของพชื ดอก โดย ดา้ นความรู้
ใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เช่น ของจรงิ รูปภาพ วดี ทิ ัศน์ บรรยายหน้าทข่ี องราก ลำ�ต้น ใบ และดอกของพชื ดอก
พืชดอกประกอบด้วยราก ลำ�ต้น ใบ และดอก
ซึ่งแต่ละส่วนทำ�หน้าท่ีแตกต่างกัน โดยราก ๒. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั หนา้ ทขี่ องแตล่ ะ
ทำ�หน้าที่ดูดน้ำ�และธาตุอาหารขึ้นไปยังลำ�ต้น สว่ นประกอบของพชื ดอกจากตวั อยา่ งจรงิ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารรวบรวมขอ้ มลู
ลำ�ต้นทำ�หน้าที่ลำ�เลียงนำ้�และธาตุอาหารไปยัง เก่ยี วกับหน้าที่ของแตล่ ะสว่ นประกอบ
สว่ นตา่ ง ๆ ใบท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งอาหาร อาหารทีพ่ ชื
สรา้ งขน้ึ คอื น�้ำ ตาลซง่ึ บางสว่ นจะเปลย่ี นเปน็ แปง้ ๓. นักเรียนรวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกับหนา้ ทขี่ องแตล่ ะส่วนประกอบ โดย
ดอกมีหน้าที่ในการสืบพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วย - สังเกตการดูดนำ้�และธาตุอาหารของรากของพืชบางชนดิ เชน่ เทยี น
ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้แก่ กลีบเลี้ยง กลีบดอก - สงั เกตการล�ำ เลยี งน�ำ้ และธาตอุ าหารของล�ำ ตน้ ของพชื บางชนดิ สงั เกต
เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี โดยแต่ละส่วนมีหน้าที่ ไดช้ ดั เจน เชน่ เทียน
แตกต่างกนั ดงั น้ี - ทดสอบแปง้ ในใบของพืชบางชนดิ เชน่ ใบชบา
- กลีบเลี้ยง มีหน้าที่ ห่อหุ้มดอกที่ยังตูมอยู่ - สังเกตลักษณะของดอกและส่วนประกอบของดอก และนำ�เสนอผล
การรวบรวมขอ้ มูลในรปู แบบตา่ ง ๆ ที่นา่ สนใจ
เพ่ือปอ้ งกนั อันตรายให้กบั ดอก
146 การวเิ คราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วดั
- กลีบดอก มหี น้าที่ ลอ่ แมลงให้มาถ่ายเรณู ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายหนา้ ทข่ี องราก ล�ำ ตน้ ใบและดอก โดยใชข้ อ้ มลู ท่ี ดา้ นทักษะ
- เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย มีหน้าที่ รวบรวมได้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สร้างเซลลส์ บื พนั ธ์ุ ๕. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากส่ือหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
เชน่ ใบความรู้ ผรู้ ู้ อนิ เทอรเ์ นต็ เกย่ี วกบั หนา้ ทขี่ องราก ล�ำ ตน้ ใบ ดอก เชน่
หมายเหตุ : นอกจากลำ�ต้นทำ�หน้าท่ีในการลำ�เลียงน้ำ�และธาตุอาหารแล้ว ยังมีหน้าที่ เกี่ยวกับลักษณะของราก ลำ�ต้น ใบ และดอกของ
ดอกทนี่ �ำ มาใชศ้ กึ ษาควรเปน็ ดอกทค่ี รบสว่ นและ ในการลำ�เลียงอาหารไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของพชื ดอก พืชดอก ได้ครบถ้วนตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่ม
เห็นส่วนประกอบชัดเจน เช่น ดอกชบา ดอก ความคดิ เห็นส่วนตวั
อญั ชนั ดอกต้อยต่งิ ดอกมะเขอื ๖. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้ว่าพืชดอกประกอบด้วย ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ราก ลำ�ต้น ใบ และดอก โดยรากมีหน้าท่ีดูดนำ้�และธาตุอาหาร ลำ�ต้น การลงความเห็นในผลการสังเกตเกี่ยวกับหน้าท่ี
ด้านทกั ษะ ทำ�หน้าท่ีลำ�เลียงน้ำ� ธาตุอาหาร และอาหารไปยังส่วนต่าง ๆ ใบมีหน้าที่ ของราก ลำ�ต้น ใบ และดอก ของพืชดอกได้อย่าง
สร้างอาหาร อาหารท่ีพืชสร้างขึ้นคือน้ำ�ตาลซ่ึงบางส่วนจะเปล่ียนเป็น สมเหตุสมผล
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แป้ง ดอกมีหน้าท่ีในการสืบพันธุ์ ซ่ึงประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตลกั ษณะของราก ไดแ้ ก่ กลบี เลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี โดยแตล่ ะสว่ นมหี นา้ ท่ี
แตกตา่ งกันดังน้ี
ลำ�ต้น ใบ และดอก ของพชื ดอก - กลีบเลี้ยง มีหน้าท่ี ห่อหุ้มดอกที่ยังตูมอยู่ เพื่อป้องกันอันตรายให้
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยแสดง กบั ดอก
- กลีบดอก มหี น้าที่ ลอ่ แมลงให้มาถ่ายเรณู
ความคิดเห็นและเช่ือมโยงข้อมูลเกี่ยวกับ - เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย มีหน้าทส่ี ร้างเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ
หน้าท่ีของราก ลำ�ต้น ใบ และดอกของ
พืชดอก ๗. ครูอาจให้ความรู้เพิ่มเติมว่าพืชดอกจะมีผล โดยบางชนิดอาจสามารถ
สังเกตเห็นผลได้แต่บางชนิดไม่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป ซ่ึงผลทำ�หน้าที่
ห่อหุ้มเมลด็ ท่ีภายในมีต้นอ่อนทส่ี ามารถเจรญิ เติบโตเป็นตน้ ใหมไ่ ด้
การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 147
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น
แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ช้ีวัด
ทีม โดยมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูล
การนำ�เสนอ และการแสดงความคิดเห็น ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
เก่ียวกับหน้าที่ของราก ลำ�ต้น ใบ และดอก ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ของพชื ดอก
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอหนา้ ท่ี เป็นทีม จากการรวบรวมข้อมูล การนำ�เสนอ และ
ของราก ล�ำ ตน้ ใบ และดอกของพชื ดอก การแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั หนา้ ทข่ี องราก ล�ำ ตน้
ใบ และดอก ร่วมกับผู้อื่น ตั้งแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ
ลลุ ่วง
๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ขอ้ มลู เกยี่ วกบั หนา้ ทขี่ องราก ล�ำ ตน้ ใบ และดอกของ
พืชดอก เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
และถกู ตอ้ ง
148 ตัวชวี้ ดั
๒. จำ�แนกส่งิ มชี ีวิตโดยใชค้ วามเหมือนและความแตกตา่ งของลักษณะของส่ิงมีชวี ติ ออกเปน็ กลุ่มพืช กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มทไี่ ม่ใช่พชื และสัตว์
การวเิ คราะหต์ วั ช้วี ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้วี ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครูและนกั เรียนสนทนาเก่ียวกับชนดิ ของส่ิงมีชีวติ ทีพ่ บในแหลง่ ทีอ่ ยู่ ด้านความรู้
ต่าง ๆ โดยอาจใช้วิธีซักถามหรือใช้สื่อต่าง ๆ เช่น ของจริง รูปภาพ จำ�แนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่ม
ส่ิ ง มี ชี วิ ต มี ห ล า ย ช นิ ด ซ่ึ ง มี ลั ก ษ ณ ะ บ า ง อ ย่ า ง ที่ วีดิทศั น์ สงิ่ มชี ีวิตอื่นทไี่ มใ่ ช่พืชและสัตวพ์ ร้อมทั้งระบุเกณฑ์ท่ใี ช้
เหมือนและแตกต่างกัน ถ้าใช้การสร้างอาหารและ
การเคลื่อนท่ีเป็นเกณฑ์ สามารถจำ�แนกได้เป็นกลุ่ม ๒. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั ความเหมอื น ด้านทักษะ
พืชและกลุ่มสัตว์ โดยกลุ่มพืชเป็นส่ิงมีชีวิตที่ สร้าง และความแตกต่างของส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ เพ่ือนำ�ไปสู่การสังเกต ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
อาหารเองได้แต่เคล่ือนท่ีด้วยตนเองไม่ได้ ส่วนกลุ่ม ลักษณะของสิ่งมชี วี ิตชนดิ ต่าง ๆ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
สัตว์เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสร้างอาหารเองไม่ได้ต้องกิน
สิ่งมีชีวิตอ่ืนเป็นอาหารแต่สามารถเคลื่อนท่ีได้ และ ๓. นกั เรยี นรว่ มกนั สงั เกตและบรรยายลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ ทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ เกยี่ วกบั การสงั เกตลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ ทอ่ี ยใู่ นกลมุ่
ยังมีส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ ท่ีไม่สามารถจัดอยู่ในกลุ่มพืชและ พชื และกลมุ่ สตั ว์ และสงิ่ มชี วี ติ ทไี่ มส่ ามารถจดั อยใู่ นกลมุ่ พชื และกลมุ่ พืชและกลุ่มสัตว์ และกลุ่มสิ่งมีชีวิตอ่ืนที่ไม่สามารถ
กลมุ่ สตั ว์ได้ เช่น เห็ด รา จลุ นิ ทรยี ช์ นดิ อนื่ ๆ สัตว์หลาย ๆ ชนดิ ทคี่ รูเตรยี มไว้ และบันทกึ ผลการสงั เกต จดั อยใู่ นกลมุ่ พชื และกลมุ่ สตั วไ์ ดค้ รบถว้ นตามความ
เป็นจริง โดยไมเ่ พมิ่ ความคดิ เหน็ สว่ นตวั
หมายเหตุ: ๔. นักเรียนร่วมกันจำ�แนกส่ิงมีชีวิตท่ีมีลักษณะเหมือนกันอยู่ในกลุ่ม
จุลินทรีย์อ่ืน ๆ เช่น แบคทีเรีย ที่นักเรียนสามารถ เดียวกัน พร้อมระบุเกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนกส่ิงมีชีวิต บันทึกและ
เรียนรู้ได้ ตามความสนใจและความเหมาะสมกับ นำ�เสนอผลการจำ�แนก และร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่าถ้า
บริบทของผ้เู รียน เกณฑ์ในการจ�ำ แนกต่างกัน จะจำ�แนกสิง่ มชี ีวิตได้ตา่ งกนั
ด้านทกั ษะ ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับเกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนก
สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ และกลุ่มส่ิงมีชีวิตอื่นที่ไม่
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถจดั อยูใ่ นกลุม่ พชื และกลุ่มสตั ว์
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตลักษณะของ
๖. นักเรียนร่วมกันจำ�แนกส่ิงมีชีวิตจากตัวอย่างส่ิงมีชีวิตที่ครูเตรียมไว้
สิ่งมีชวี ิต โดยใช้การสร้างอาหารเองได้และการเคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ บันทึกผล
และนำ�เสนอผลการจำ�แนกสง่ิ มีชวี ิต
๗. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพือ่ ลงขอ้ สรปุ ว่าส่งิ มชี วี ิตมีหลายชนดิ ซึ่งมี
ลักษณะบางอย่างที่เหมือนและแตกต่างกัน ถ้าใช้การเคลื่อนที่และ
การสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ สามารถจำ�แนกและจัดกลุ่มได้เป็นกลุ่ม
วิทยาศาสตร์
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชวี้ ัด 149
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยใช้ข้อมูลที่ พชื และกลมุ่ สตั ว์ โดยกลมุ่ พชื เปน็ สงิ่ มชี วี ติ ทสี่ รา้ งอาหารเองไดแ้ ตเ่ คลอ่ื นท่ี ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
ได้จากการสังเกตและการอภิปรายเก่ียวกับ ดว้ ยตนเองไมไ่ ด้ สว่ นกลมุ่ สตั วเ์ ปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทสี่ รา้ งอาหารเองไมไ่ ดต้ อ้ งกนิ สิ่งมีชีวิตออกเป็น กลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ และ
ลักษณะของส่ิงมีชีวิต มากำ�หนดเกณฑ์ใน สงิ่ มชี วี ติ อนื่ เปน็ อาหารแตส่ ามารถเคลอื่ นทไี่ ด้ และยงั มสี งิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ ทไ่ี ม่ กลุ่มส่ิงมีชีวิตอื่นท่ีไม่สามารถจัดอยู่ในกลุ่มพืชและ
การจำ�แนก และจำ�แนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น สามารถจดั อยู่ในกล่มุ พืชและกลุ่มสัตว์ เช่น เห็ด รา แบคทเี รยี กลมุ่ สัตว์ไดถ้ ูกต้องตามเกณฑ์ท่กี �ำ หนด
กลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ และกลุ่มส่ิงมีชีวิตอื่น
ทไี่ ม่สามารถจดั อยใู่ นกลมุ่ พชื และกลุม่ สัตว์ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน เป็นทีม จากการสังเกต การอภิปราย การนำ�เสนอ
และการแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื จ�ำ แนกสงิ่ มชี วี ติ ออก
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต เปน็ กลมุ่ พชื และกลมุ่ สตั ว์ และกลมุ่ สงิ่ มชี วี ติ อนื่ ทไี่ ม่
การอภิปราย การนำ�เสนอ และการแสดง สามารถจดั อย่ใู นกลุ่มพชื และกลมุ่ สัตว์ ร่วมกับผูอ้ นื่
ความคิดเห็นเพื่อจำ�แนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น ตั้งแตเ่ รม่ิ ต้นจนส�ำ เร็จลลุ ว่ ง
กลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ และกลุ่มสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
ท่ไี ม่สามารถจดั อยูใ่ นกลุ่มพชื และกลุ่มสตั ว์ การจำ�แนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอผล และกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่สามารถจัดอยู่ในกลุ่มพืช
การจำ�แนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืชและ และกลุ่มสัตว์ เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว
กลุ่มสัตว์ และกลุ่มส่ิงมีชีวิตอ่ืนท่ีไม่สามารถ ชดั เจน และถูกตอ้ ง
จัดอยู่ในกลุม่ พืชและกลุ่มสตั ว์ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย การวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของ
การวเิ คราะหค์ วามเหมอื นและความแตกตา่ ง ลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ น�ำ ผลการวเิ คราะห์
ของลักษณะของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ นำ�ผล มาก�ำ หนดเกณฑ์ในการจำ�แนกส่ิงมีชีวติ และจ�ำ แนก
การวเิ คราะหม์ าก�ำ หนดเกณฑใ์ นการจ�ำ แนก สิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืชและกลุ่มสัตว์ และกลุ่ม
และจำ�แนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืชและ ส่ิงมีชีวิตอื่นท่ีไม่สามารถจัดอยู่ในกลุ่มพืชและกลุ่ม
กลุ่มสัตว์ และกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่สามารถ สตั วไ์ ด้อยา่ งสมเหตสุ มผล
จัดอย่ใู นกลุ่มพืชและกลมุ่ สตั ว์
150 ตัวช้วี ดั
๓. จำ�แนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพืชไม่มดี อก โดยใชก้ ารมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้
การวเิ คราะห์ตัวชี้วัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชว้ี ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครซู ักถามนักเรียนเกีย่ วกบั ความหลากหลายของพืชที่พบในท้องถน่ิ และ ด้านความรู้
ทบทวนความรทู้ ไี่ ดเ้ รยี นมาแลว้ เกยี่ วกบั สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื โดยใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ จำ�แนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก พร้อม
พชื มหี ลายชนดิ บางชนดิ มสี ว่ นตา่ ง ๆ เหมอื นกนั เชน่ ของจริง รูปภาพ วดี ิทศั น์ ระบเุ กณฑ์ท่ใี ช้
บางชนิดมีส่วนต่าง ๆ แตกต่างกัน ถ้าใช้การมี
ดอกเป็นเกณฑ์จะจำ�แนกพืชออกเป็นพืชดอก ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการจำ�แนกพืช ด้านทกั ษะ
เช่น กุหลาบ มะลิ ทานตะวัน และพืชไม่มีดอก จากตวั อยา่ งพชื หลาย ๆ ชนดิ ทคี่ รเู ตรยี มไวเ้ พอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตสว่ นตา่ ง ๆ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
เช่น มอส เฟริ ์น ของพืช บันทึกผลการสังเกต ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ด้านทกั ษะ ๓. นกั เรยี นสงั เกตสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และรว่ มกนั ก�ำ หนดเกณฑแ์ ละจ�ำ แนกพชื เกี่ยวกับการสังเกตส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้อย่าง
ออกเปน็ กลมุ่ ตามลกั ษณะทส่ี งั เกตไดโ้ ดยใชค้ วามเหมอื นและความแตกตา่ ง ครบถว้ นตามความเปน็ จรงิ โดยไมเ่ พมิ่ ความคดิ เหน็
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของส่วนต่าง ๆ ของพืช บันทึกและนำ�เสนอผลการจำ�แนก และร่วมกัน สว่ นตัว
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตส่วนต่าง ๆ ของ อภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่าถ้าเกณฑ์ในการจำ�แนกต่างกัน จะจำ�แนกพืช ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
ได้ต่างกัน พืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมี
พชื ชนิดตา่ ง ๆ ดอกเป็นเกณฑไ์ ด้ถูกตอ้ ง
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยใช้ข้อมูลท่ี ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ในขอ้ ๒ ซงึ่ อาจไมพ่ บจาก ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
การสังเกต เช่น ดอก เพ่ิมเติมจากแหลง่ การเรียนรูต้ ่าง ๆ ทนี่ ่าเชื่อถอื เช่น ข้อมูล จากการนำ�เสนอข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต
ได้จากการสังเกตส่วนประกอบของพืช และ หนังสอื ผูร้ ู้ อินเทอรเ์ น็ต บันทกึ ผลการสืบคน้ ขอ้ มูล แ ล ะ ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง พื ช
การสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติม มากำ�หนดเกณฑ์ เพ่ือจำ�แนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก
ในการจำ�แนกพืชออกเป็นพืชดอก และพืช ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและกำ�หนดเกณฑ์ในการจำ�แนกพืชออก ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม และชว่ ยใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ
ไมม่ ดี อก เป็นพืชดอก และพืชไม่มีดอก จากตัวอย่างท่ีครูเตรียมไว้ นำ�เสนอผล ความหมายของข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และ
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย การจำ�แนกในรปู แบบต่าง ๆ ถกู ตอ้ ง
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต
และการสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ลกั ษณะของพชื ๖. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งพชื ดอก และพชื ไมม่ ดี อก ทพ่ี บในทอ้ งถน่ิ เพม่ิ เตมิ จาก
และการจำ�แนกพืช มาจัดกระทำ�ในรูปแบบ ตวั อยา่ งท่ีครเู ตรียมไว้
ต่าง ๆ เพอ่ื น�ำ เสนอผลการจ�ำ แนกพชื
๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้ว่าพืชมีหลายชนิด บางชนิดมี
ส่วนต่าง ๆ เหมือนกัน บางชนิดมีส่วนต่าง ๆ แตกต่างกัน ถ้าใช้การมีดอก
เป็นเกณฑจ์ ะจ�ำ แนกพชื ออกเป็นพืชดอก และพชื ไมม่ ีดอก
การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 151
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
แนวทางการวัดและประเมินตวั ช้วี ัด
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต
การสบื คน้ ขอ้ มลู การน�ำ เสนอ และการแสดง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
ความคดิ เหน็ เพอ่ื จ�ำ แนกพชื ออกเปน็ พชื ดอก ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
และพืชไม่มีดอก
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอผล เปน็ ทมี จากการสงั เกต การสบื คน้ ขอ้ มลู การน�ำ เสนอ
การจ�ำ แนกพชื และเกณฑท์ ใี่ ช้ในการจ�ำ แนก และการแสดงความคิดเห็นเพ่ือจำ�แนกพืชออกเป็น
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย พืชดอก และพืชไม่มีดอก ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่เริ่มต้น
การวเิ คราะหค์ วามเหมอื นและความแตกตา่ ง จนสำ�เรจ็ ลุลว่ ง
ของส่วนประกอบของพืชชนิดต่าง ๆ และ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผล
นำ�ผลการวิเคราะห์มากำ�หนดเกณฑ์ในการ การจ�ำ แนกพืชและเกณฑ์ที่ใช้ในการจำ�แนก เพือ่ ให้
จ�ำ แนก และจ�ำ แนกพชื เปน็ พืชดอก และพชื ผูอ้ นื่ เขา้ ใจได้อยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถูกตอ้ ง
ไม่มีดอก ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม เ ห มื อ น แ ล ะ ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง
การสื่อสาร โดยการสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ ของส่วนประกอบของพืชชนิดต่าง ๆ และนำ�ผล
สว่ นประกอบของพชื การวิเคราะห์มากำ�หนดเกณฑ์และจำ�แนกพืชเป็น
พชื ดอกและพชื ไม่มดี อก ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับส่วน
ประกอบของพืช จากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้และ
มีการอา้ งอิงแหล่งขอ้ มลู ที่สืบค้น
152 ตวั ช้ีวัด
๔. จำ�แนกสตั วอ์ อกเป็นสตั วม์ กี ระดกู สันหลงั และสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลัง โดยใชก้ ารมีกระดกู สันหลงั เป็นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้
การวเิ คราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้วี ดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครซู กั ถามนกั เรยี นเกย่ี วกบั ความหลากหลายของสตั วท์ พี่ บในทอ้ งถนิ่ และ ด้านความรู้
ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้างของสัตว์ โดยใช้สื่อต่าง ๆ เช่น จำ�แนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มี
สัตว์มีหลายชนิด บางชนิดมีโครงสร้างเหมือนกัน ของจริง รปู ภาพ วดี ิทศั น์ กระดูกสนั หลังพร้อมระบุเกณฑท์ ีใ่ ช้
บางชนิดมีโครงสร้างแตกต่างกัน เม่ือใช้การมี
กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์จะจำ�แนกสัตว์ออกเป็น ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการจำ�แนกสัตว์ ด้านทักษะ
สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั เชน่ ปลา กบ นก ลงิ และสตั ว์ จากภาพสัตว์หลาย ๆ ชนิดที่ครูเตรียมไว้เพื่อนำ�ไปสู่การสังเกตโครงสร้าง ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไม่มกี ระดกู สันหลัง เช่น ปะการัง กงุ้ แมงมมุ ภายนอกของสัตว์ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ด้านทกั ษะ ๓. นกั เรยี นสงั เกตโครงสรา้ งภายนอกของสตั ว์ และรว่ มกนั ก�ำ หนดเกณฑแ์ ละ เกย่ี วกบั การสงั เกตโครงสรา้ งภายนอกและโครงสรา้ ง
จ�ำ แนกสตั วอ์ อกเปน็ กลมุ่ ตามโครงสรา้ งภายนอกของสตั วท์ สี่ งั เกตไดโ้ ดยใช้ ภายในของสัตว์แต่ละชนิด ได้อย่างครบถ้วนตาม
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความเหมอื นและความแตกตา่ งของโครงสรา้ ง และน�ำ เสนอผลการจ�ำ แนก ความเป็นจริง โดยไม่เพมิ่ ความคดิ เหน็ สว่ นตัว
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตโครงสรา้ งภายนอก และร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อลงข้อสรุปว่าถ้าเกณฑ์ในการจำ�แนก ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากการจำ�แนก
ตา่ งกัน จะจ�ำ แนกสตั ว์ไดต้ า่ งกัน สัตว์เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก
และโครงสร้างภายในของสัตวช์ นิดต่าง ๆ สันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ได้
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยใช้ข้อมูลท่ี ๔. นักเรียนสังเกตโครงสร้างภายในของสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและไม่มี ถูกตอ้ ง
กระดกู สนั หลงั จากตวั อยา่ งจรงิ หรอื จากสอ่ื ตา่ ง ๆ และรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่
ได้จากการสังเกตโครงสร้างภายนอกและ ลงขอ้ สรปุ วา่ โครงสรา้ งภายในของสตั วบ์ างชนดิ มกี ระดกู สนั หลงั บางชนดิ
โครงสรา้ งภายในของสตั ว์ มาก�ำ หนดเกณฑใ์ น ไมม่ กี ระดกู สันหลงั
การจำ�แนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง
และสัตว์ไม่มกี ระดกู สันหลัง ๕. นักเรียนสังเกตภาพโครงสร้างภายในของสัตว์ชนิดเดียวกับท่ีครูเตรียมไว้
ในขอ้ ๒ ร่วมกนั อภปิ รายเพอื่ ก�ำ หนดเกณฑ์และจำ�แนกสตั ว์ออกเปน็ สัตว์
มีกระดูกสันหลัง และสตั วไ์ ม่มีกระดกู สันหลัง และนำ�เสนอผลการจำ�แนก
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ดั 153
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ๖. นกั เรยี นยกตวั อยา่ งสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั และสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ทพ่ี บ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ในทอ้ งถิ่นเพิม่ เตมิ จากทคี่ รเู ตรียมไว้ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปได้ว่าสัตว์มีหลายชนิด บางชนิด เป็นทีม จากการสังเกตโครงสร้างของสัตว์ การนำ�
โครงสร้างของสัตว์ การนำ�เสนอ และ มีโครงสร้างเหมือนกัน บางชนิดมีโครงสร้างแตกต่างกัน เมื่อใช้การมี เสนอ และการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการ
การแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการจำ�แนก กระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ จะจ�ำ แนกสตั วอ์ อกเปน็ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั และ จำ�แนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์
สัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ สัตว์ไม่มกี ระดกู สนั หลงั ไม่มีกระดูกสันหลัง ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่เร่ิมต้นจน
ไม่มีกระดกู สนั หลงั สำ�เรจ็ ลุลว่ ง
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผล
ผลการจัดกลุ่มสัตว์ จากข้อมูลท่ีได้จาก การจัดกลุ่มสัตว์ โดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต
การสงั เกตโครงสรา้ งภายนอกและโครงสรา้ ง โครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสัตว์
ภายในของสตั ว์ชนดิ ตา่ ง ๆ ชนดิ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย และถูกตอ้ ง
การวิเคราะห์และเปรียบเทียบความเหมือน ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จาก
และความแตกต่างของโครงสร้างของสัตว์ การวิเคราะห์ความเหมือนและความแตกต่างของ
ชนิดต่าง ๆ และนำ�ผลการวิเคราะห์มา โครงสร้างสัตว์ชนิดต่าง ๆ และนำ�ผลการวิเคราะห์
กำ�หนดเกณฑ์ในการจำ�แนก และจำ�แนก มาก�ำ หนดเกณฑใ์ นการจ�ำ แนก และจ�ำ แนกสตั วเ์ ปน็
สัตว์เป็น กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ กลุ่มสัตว์มีกระดูก สันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก
ไม่มกี ระดกู สันหลงั สนั หลงั ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
154 ตวั ชวี้ ดั
๕. บรรยายลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ องสัตวม์ กี ระดกู สันหลังในกลุ่มปลา กล่มุ สตั วส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทินบก กล่มุ สตั ว์เลอ้ื ยคลาน กลมุ่ นก
และกล่มุ สัตว์เลี้ยงลกู ด้วยนำ้�นม และยกตวั อย่างสิง่ มชี วี ิตในแตล่ ะกลุม่
การวเิ คราะหต์ วั ชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชีว้ ดั
ด้านความรู้ ๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการจัดกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง ด้านความรู้
โดยการซกั ถามนักเรียนร่วมกับการใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น ของจรงิ รปู ภาพ
สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายชนิด สามารถจำ�แนก วดี ทิ ศั น์ ๑. บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์ใน
ได้ออกเป็น ๕ กลุ่มโดยใช้ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ กลมุ่ ปลา สตั วส์ ะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บก สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน
ได้แก่ ๒. ครใู หค้ วามรนู้ กั เรยี นเกย่ี วกบั การจ�ำ แนกสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ออกเปน็ สัตว์ปกี และสตั ว์เล้ยี งลกู ด้วยนำ้�นม
- สัตว์กลุ่มปลา ผิวหนังของปลาส่วนใหญ่มีเกล็ด ๕ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก สัตว์เล้ือยคลาน
สตั วป์ กี และสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน�้ำ นม โดยใชส้ อ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ ของจรงิ รปู ภาพ ๒. ยกตวั อยา่ งสตั วใ์ นกลมุ่ ปลา สตั วส์ ะเทนิ น�้ำ สะเทนิ บก
ปกคลุม อาศัยอยู่ในน้ำ�ตลอดชีวิต ส่วนใหญ่ วีดิทศั น์ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน สตั วป์ กี และสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน�ำ้ นม
ออกลูกเป็นไข่ บางชนิดออกลูกเป็นตัว มีครีบ
ชว่ ยในการวา่ ยน�ำ้ เชน่ ปลากัด ปลากระเบน ๓. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ เช่น ลักษณะ
- สัตว์สะเทินน้ำ�สะเทินบก ผิวหนังเปียกชื้น ไม่มี ผิวหนัง ส่วนของร่างกายที่ใช้ในการเคล่ือนที่ การออกลูกเป็นไข่หรือ
เกลด็ ไมม่ ขี น ชว่ งตวั ออ่ นอาศยั อยใู่ นน�ำ้ เมอื่ เปน็ เป็นตัว และการเลี้ยงลูกด้วยน้ำ�นมของตัวอย่างสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ตวั เตม็ วยั สามารถอยไู่ ดท้ ง้ั ในน�้ำ และบนบก เทา้ มี ๕ กลุ่ม เช่น ปลากัด กบ จระเข้ นกพิราบ แมว โดยใช้สื่อต่าง ๆ เช่น
ลักษณะเป็นพังผืด ออกลูกเป็นไข่มีจำ�นวนมาก รปู ภาพ ตัวอย่างจริง วดี ิทัศน์ บนั ทึกผลและน�ำ เสนอ
เชน่ กบ คางคก
- สัตว์เล้ือยคลาน ผิวหนังแห้ง ไม่มีขน แต่มีเกล็ด ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้
ส่วนใหญ่ออกลูกเป็นไข่ วางไข่บนบก บางชนิด ของสัตว์มีกระดูกสันหลังทั้ง ๕ กลุ่ม และยกตัวอย่างชนิดของสัตว์มี
ออกลูกเป็นตัว มี ๔ ขาหรือไม่มีขา อาศัยอยู่ได้ กระดูกสันหลงั แต่ละกลุ่มเพ่ิมเตมิ จากท่ีครูเตรยี มไว้
ทง้ั บนบกและในน้ำ� เช่น งู เต่า
- สัตว์ปีก ผิวหนังมีขนลักษณะเป็นแผง มี ๒ ขา ๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่าสัตว์มีกระดูกสันหลังมี
และมปี ีก ๑ คู่ เชน่ นก ไก่ หลายชนิด สามารถจ�ำ แนกออกเปน็ ๕ กล่มุ ไดแ้ ก่
- สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน�้ำ นม ผวิ หนงั มขี นเปน็ เสน้ สว่ น - สัตว์กลุ่มปลา ผิวหนังของปลาส่วนใหญ่มีเกล็ดปกคลุม อาศัยอยู่
ใหญอ่ อกลกู เปน็ ตวั มตี อ่ มน้ำ�นม เชน่ หนู ววั ในนำ�้ ตลอดชีวติ ส่วนใหญ่ออกลกู เปน็ ไข่ บางชนดิ ออกลกู เป็นตัว
มีครบี ช่วยในการวา่ ยนำ้� เช่น ปลากัด ปลากระเบน
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ี่ ๔
การวเิ คราะหต์ ัวช้ีวดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ดั 155
ด้านทกั ษะ - สัตว์สะเทินนำ้�สะเทินบก ผิวหนังเปียกชื้น ไม่มีเกล็ด ไม่มีขน ช่วง ด้านทกั ษะ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในนำ้� เม่ือเป็นตัวเต็มวัยสามารถอยู่ได้ท้ังในน้ำ�และ
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตลักษณะเฉพาะ บนบก เท้ามีลักษณะเป็นพังผืด ออกลูกเป็นไข่มีจำ�นวนมาก เช่น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กบ คางคก ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั ชนดิ ต่าง ๆ
๒. ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยแสดง - สัตว์เลอื้ ยคลาน ผวิ หนงั แห้ง ไม่มขี น แตม่ ีเกลด็ ส่วนใหญอ่ อกลูกเปน็ เก่ียวกับการสังเกตลักษณะเฉพาะของสัตว์มีกระดูก
ไข่ วางไขบ่ นบก บางชนดิ ออกลกู เปน็ ตวั มี ๔ ขาหรอื ไมม่ ขี า อาศยั อยู่ สนั หลงั แตล่ ะชนดิ ไดอ้ ยา่ งครบถว้ นตามความเปน็ จรงิ
ความคดิ เหน็ และเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการ ไดท้ ้ังบนบกและในนำ้� เช่น งู เตา่ โดยไม่เพิ่มความคดิ เหน็ ส่วนตวั
สงั เกตเกยี่ วกบั ลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ อง ๒. ประเมนิ ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการลง
สัตว์มกี ระดูกสันหลงั กลมุ่ ตา่ ง ๆ - สัตว์ปีก ผิวหนังมีขนลักษณะเป็นแผง มี ๒ ขา และมีปีก ๑ คู่ ความเหน็ ในผลการสงั เกตเกยี่ วกบั ลกั ษณะเฉพาะของ
เชน่ นก ไก่ สตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั กลมุ่ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน - สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนำ�้ นม ผิวหนังมีขนเปน็ เสน้ ส่วนใหญ่ออกลูกเปน็ ตัว ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
มตี ่อมน�้ำ นม เชน่ หนู ววั ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต
การนำ�เสนอ และการแสดงความคิดเห็น เป็นทีม จากการสังเกต การนำ�เสนอ และ
เก่ียวกับลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ กี่ ย ว กั บ ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ
มีกระดูกสันหลัง กลุ่มปลา สัตว์สะเทินน้ำ� ท่ีสังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง กลุ่มปลา
สะเทินบก สัตว์เล้ือยคลาน สัตว์ปีก และ สัตว์สะเทินนำ้�สะเทินบก สัตว์เล้ือยคลาน สัตว์ปีก
สัตว์เล้ยี งลกู ดว้ ยนำ้�นม และสัตว์เล้ียงลูกด้วยนำ้�นม ร่วมกับผู้อื่นต้ังแต่
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอผล เร่ิมตน้ จนส�ำ เรจ็ ลุลว่ ง
การสังเกตเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะท่ีสังเกต ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผล
ไดข้ องสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั กลมุ่ ต่าง ๆ การสงั เกตเกยี่ วกบั ลกั ษณะเฉพาะทสี่ งั เกตไดข้ องสตั ว์
มกี ระดกู สนั หลงั กลมุ่ ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ ง
รวดเรว็ ชดั เจน และถกู ต้อง
156 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนยี่ ว
ระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำ�วัน ผลของแรงท่ีกระท�ำ ต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้ังนำ�ความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างสสารและพลังงาน พลังงานใน
ชีวิตประจำ�วนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณท์ ี่เก่ียวขอ้ งกับเสยี ง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทัง้ นำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชวี้ ัด
๑. เปรยี บเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ การน�ำ ความร้อน และการน�ำ ไฟฟ้าของวัสดุโดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์จากการทดลองและ
ระบกุ ารนำ�สมบตั ิเรื่องความแขง็ สภาพยดื หยุน่ การนำ�ความร้อน และการนำ�ไฟฟ้าของวสั ดุไปใช้ในชีวิตประจ�ำ วัน ผา่ นกระบวนการออกแบบชิน้ งาน
๒. แลกเปลี่ยนความคดิ กับผอู้ ่นื โดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบตั ทิ างกายภาพอย่างมเี หตผุ ลจากการทดลอง
การวเิ คราะห์ตวั ชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชวี้ ดั
ดา้ นความรู้ ความแขง็ ของวสั ดุ ด้านความรู้
๑. ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับสมบัติของวัสดุท่ีได้เรียนมาแล้ว เช่น
ความแข็งของวัสดุคือความทนทานของวัสดุต่อ ๑. อธบิ ายความแข็งของวัสดุ
การขูดขีด วัสดุแต่ละชนิดมีความแข็งแตกต่าง การดูดซับน้ำ� ยืดได้ ยืดไม่ได้ ลักษณะผิวสัมผัส และอภิปรายสมบัติอีก ๒. เปรียบเทยี บความแขง็ ของวัสดุ
กนั เมอื่ น�ำ วสั ดชุ นดิ หนง่ึ มาขดู ขดี บนวสั ดอุ กี ชนดิ ประการคอื การขดู ขดี แลว้ เปน็ รอย โดยอาจใชค้ �ำ ถามหรอื สถานการณ์ เชน่ ๓. ยกตัวอย่างการนำ�วัสดุไปใช้ประโยชน์โดยใช้สมบัติ
หนงึ่ แล้วเกดิ รอย วสั ดุทีเ่ กดิ รอยมคี วามแขง็ นอ้ ย วสั ดทุ ใ่ี ชท้ �ำ หนา้ ปดั นาฬกิ า หนา้ จอโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ เลนสแ์ วน่ ตาควรมี
กว่าวัสดุที่ไม่เกิดรอย วัสดุท่ีมีความแข็งแตกต่าง สมบัติเป็นอยา่ งไรจงึ จะขดู ขดี แลว้ ไมเ่ กดิ รอย ความแขง็ ของวสั ดุ
กนั จงึ นำ�มาใชป้ ระโยชน์ได้แตกต่างกัน ๒. ครสู าธติ โดยการน�ำ วสั ดุ ๒ ชนดิ มาขดู ขดี กนั ใชค้ �ำ ถามเพอื่ ใหน้ กั เรยี นรว่ ม
กนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ความหมายของความแขง็ ของวสั ดุ และลงขอ้ สรปุ วา่
ความแขง็ ของวสั ดคุ ือความทนทานของวสั ดุตอ่ การขดู ขีด
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศกึ ษาปีที่ ๔
การวิเคราะห์ตวั ชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด 157
ด้านทกั ษะ ๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยโดยนำ�วัสดุต่าง ๆ ท่ีมีความแข็ง ด้านทกั ษะ
แตกต่างกัน เช่น กระจก เหล็ก อะลูมิเนียม ไม้ และให้นักเรียนสังเกต
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และต้ังคำ�ถามเก่ียวกับวิธีการตรวจสอบและเปรียบเทียบความแข็งของ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย วัสดเุ หลา่ น้ี เพือ่ นำ�ไปสู่การทดลอง ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้อมูลโดยการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา ๔. นักเรียนออกแบบวิธีการทดลองเพ่ือเปรียบเทียบความแข็งของวัสดุที่ครู ข้อมูลจากการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมา
น�ำ เสนอในรูปแบบของตารางบันทกึ ผล ก�ำ หนด เชน่ กระจก เหลก็ อะลมู เิ นยี ม พลาสตกิ และระบจุ ดุ ประสงคข์ อง นำ�เสนอในรูปแบบของตารางบันทึกผลได้ครบถ้วน
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยการนำ� การทดลอง ตง้ั สมมตฐิ าน ระบตุ วั แปร ก�ำ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเกย่ี วกบั และถกู ต้อง
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและเปรียบ การสังเกตการเกิดรอย และออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองใน ๒. ประเมนิ ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการน�ำ
เทียบความแขง็ ของวัสดุ รายงานการทดลองโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทั้งน้ีครูควรให้ความรู้เพิ่ม ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและเปรียบเทียบ
๓. ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน โดยการตงั้ สมมตฐิ าน เตมิ หรอื ทบทวนเกยี่ วกบั ตวั แปรตน้ ตวั แปรตามและตวั แปรทตี่ อ้ งควบคมุ ความแข็งของวัสดุพรอ้ มแสดงเหตผุ ลประกอบ
การทดลองเรื่องความแขง็ ของวสั ดุ ให้คงที่ การตงั้ สมมตฐิ าน การกำ�หนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ๓. ประเมินทักษะการต้ังสมมติฐาน จากการตั้ง
๔. ทกั ษะการก�ำ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารโดยการ สมมติฐานได้วา่ วัสดชุ นดิ ใดมคี วามแขง็ มากกวา่ กัน
ก�ำ หนดวิธสี ังเกตความแขง็ ของวัสดุ ๕. นักเรียนทำ�การทดลองตามท่ีออกแบบไว้ บันทึกผลการทดลอง แปล ๔. ประเมินทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติจากการ
๕. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรโดย ความหมายขอ้ มลู ตรวจสอบสมมติฐาน และสรุปผลการทดลอง ระบุวิธีสงั เกต ความแขง็ ของวัสดุได้
การกำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ๕. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรจาก
ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ในการทดลอง ๖. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลองโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ และครูต้ัง การระบุได้ว่าส่ิงใดเป็นตัวแปรต้น สิ่งใดเป็นตัวแปร
เร่ืองความแข็งของวสั ดุ คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่ง ตาม และสิ่งใดเป็นตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงที่ ได้
๖. ทกั ษะการทดลอง โดยปฏบิ ตั กิ ารทดลอง และ ได้แก่ ผลการทดลองของนักเรียนและลงข้อสรุปว่า วัสดุแต่ละชนิดมี ถูกตอ้ ง ครบถ้วน
ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองเรื่อง ความแข็งแตกต่างกัน เมื่อนำ�วัสดุชนิดหนึ่งมาขูดขีดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ๖. ประเมินทักษะการทดลองจากการออกแบบการ
ความแข็งของวัสดุเพื่อทดสอบสมมติฐาน แลว้ เกดิ รอย วัสดทุ ่เี กิดรอยมคี วามแขง็ น้อยกว่าวัสดทุ ไี่ ม่เกดิ รอย ทดลองและลงมือปฏิบัติได้ตามข้ันตอนการทดลอง
ทร่ี ะบไุ ว้ และบันทึกข้อมูลผลการทดลองในตารางบันทึกผล
๗. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ๗. ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การน�ำ สมบตั คิ วามแขง็ ไปใชป้ ระโยชน์ เรอ่ื งความแขง็ ของวัสดุไดค้ รบถ้วนถูกต้อง
โดยการตีความหมายจากข้อมูลท่ีนำ�เสนอ จากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ วดี ทิ ศั นเ์ กยี่ วกบั อปุ กรณท์ นี่ �ำ มาตดั กระจกหรอื ๗. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
แล้วอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปสมบัติความแข็ง หินออ่ น การแกะสลกั ไม้ การเจียรนัยพลอย การขดุ เจาะน้ำ�มัน การเลือก จากการตีความหมายจากข้อมูลที่นำ�เสนอ แล้ว
ของวสั ดุ ใช้วัสดุปูพื้นหรือผนัง แล้วนำ�มาวิเคราะห์ว่า การใช้ประโยชน์ดังกล่าว อภิปรายเพื่อลงข้อสรุปสมบัติความแข็งของวัสดุได้
เกยี่ วกบั ความแขง็ ของวสั ดชุ นดิ ตา่ ง ๆ อยา่ งไร บนั ทกึ ผลการวเิ คราะหแ์ ละ ครบถว้ นถกู ต้อง
นำ�เสนอ
๘. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข
ให้ถูกต้อง
158 การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ัด
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
เป็นทีม โดยร่วมกันทำ�การทดลองเรื่อง จากการร่วมกันทำ�การทดลองเร่ืองความแข็งของ
ความแข็งของวัสดุ และการร่วมกันนำ�เสนอ วัสดุ และการร่วมกันนำ�เสนอผลการทดลอง
ผลการทดลอง ๒. ทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผลการ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการ ท ด ล อ ง แ ล ะ ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย ใ น ชั้ น เ รี ย น เ ร่ื อ ง
ทดลองและร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียนเร่ือง ความแข็งของวัสดุ
ความแขง็ ของวสั ดุ ๓. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ จากการใชเ้ หตผุ ล
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ในการอภิปรายผลการทดลองและการวิเคราะห์
ใช้เหตุผลในการอภิปรายผลการทดลอง และเลือกผลิตภัณฑ์หรือเหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับ
และการวิเคราะห์และเลือกผลิตภัณฑ์หรือ การใชป้ ระโยชน์จากสมบตั คิ วามแข็งของวัสดุ
เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ ๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
จากสมบัติความแข็งของวัสดุ จากการเลือกใช้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือและใช้ซอฟต์แวร์
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ประยุกตใ์ นการนำ�เสนอขอ้ มลู
ส่ือสาร โดยการเลือกใช้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
และใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในการนำ�เสนอ
ขอ้ มูล
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๔
การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วดั 159
ด้านความรู้ สภาพยืดหยนุ่ ของวัสดุ ดา้ นความรู้
๑. ครถู ามเกยี่ วกบั สมบตั ิอ่ืน ๆ โดยทวั่ ไปของวัสดุ นอกจากความแข็ง
สภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดคุ อื การเปลย่ี นแปลงสภาพ ๒. ครูใช้คำ�ถามเพ่ือสำ�รวจความรู้เดิมเกี่ยวกับสภาพยืดหยุ่นของวัสดุต่าง ๆ ๑. อธบิ ายสภาพยดื หย่นุ ของวสั ดุ
ของวัสดุเมื่อมีแรงมากระทำ�และสามารถกลับสู่ ๒. เปรยี บเทียบสภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ
สภาพเดิมเม่ือหยุดออกแรงกระทำ� วัสดุมีสภาพ เช่น สปริง ยางรัดของ ดนิ น�ำ้ มัน ฟองน้�ำ ๓. ยกตัวอย่างการนำ�วัสดุไปใช้ประโยชน์โดยใช้สภาพ
ยืดหยุ่นแตกต่างกันจึงนำ�มาใช้ประโยชน์ได้ ๓. ครูอาจใช้คำ�ถาม ส่ือต่าง ๆ หรือการสาธิตโดยการออกแรงกระทำ�ต่อวัสดุ
แตกต่างกนั ยดื หยุ่นของวสั ดุ
เช่น สปริง ฟองนำ้� ยางรัดของ และให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลง
ดา้ นทกั ษะ วัสดุเมื่อหยุดออกแรง ครูใช้คำ�ถามในการอภิปรายร่วมกันเพื่อให้ได้ ด้านทกั ษะ
ความหมายของสภาพยืดหยุ่นของวัสดุว่าเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพ
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของวัสดุเม่ือมีแรงมากระทำ�และสามารถกลับสู่สภาพเดิมเม่ือหยุดออก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการวัด โดยการเลือกใช้เคร่ืองมือวัด แรงกระทำ�หรือความสามารถในการคืนสู่สภาพเดิมของวัสดุเมื่อมี ๑. ประเมินทักษะการวัดจากการเลือกใช้เคร่ืองมือใน
แรงกระทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพ
และระบุหนว่ ยของการวัด ๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยว่าวัสดุแต่ละชนิดมีสภาพยืดหยุ่น การวัดได้เหมาะสมและระบุหน่วยของการวัดได้
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร โดยอาจใช้การสาธิต หรือส่ืออื่น ๆ เช่น ถกู ตอ้ ง
รูปภาพ วีดิทัศน์ เพ่ือนำ�ไปสู่การทดลอง เปรียบเทียบสภาพยืดหยุ่น ๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูลโดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ของวสั ดุ ข้อมูลจากการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต มานำ�
มานำ�เสนอในรูปแบบของตารางบันทกึ ผล ๕. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดย ระบุจุดประสงค์การทดลอง ต้ังสมมติฐาน เสนอในรปู แบบของตารางบนั ทกึ ผลไดค้ รบถว้ นและ
๓. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยการน�ำ การทดลอง ระบตุ วั แปร ก�ำ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และออกแบบตาราง ถกู ตอ้ ง
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและเปรียบ บันทึกผลการทดลองในรายงานการทดลองโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการน�ำ
เทยี บสภาพยดื หยุ่นของวัสดุ นักเรียนลงมือทำ�การทดลอง สังเกตการเปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อมีแรง ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและเปรียบเทียบ
๔. ทกั ษะการตง้ั สมมตฐิ าน โดยการตงั้ สมมตฐิ าน กระท�ำ และเมือ่ หยดุ ออกแรง และบนั ทกึ ผล ตรวจสอบสมมติฐาน และลง สภาพยืดหยนุ่ ของวสั ดพุ ร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ
การทดลองเรอ่ื งสภาพยืดหยุ่นของวสั ดุ ข้อสรุป ๔. ประเมินทักษะการต้ังสมมติฐานจากการระบุได้ว่า
๕. ทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ๖. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลอง ครูใช้ผลการทดลองของนักเรียนท้ังชั้น วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี ภาพยดื หยนุ่ แตกตา่ งกนั หรอื วสั ดุ
โดยการกำ�หนดวิธีการสังเกตหรือวัดการ และใชค้ �ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แตล่ ะชนดิ มสี ภาพยดื หยนุ่ เหมือนกัน
เปลย่ี นแปลงสภาพและการกลบั สสู่ ภาพเดมิ และสรุปเปรียบเทยี บสภาพยืดหยุน่ ของวัสดุทีใ่ ช้ในการทดลอง ๕. ประเมินทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการจาก
ของวสั ดุ การกำ�หนดวิธีการสังเกตหรือวัดการเปลี่ยนแปลง
สภาพและการกลบั สู่สภาพเดมิ ของวัสดไุ ดถ้ ูกต้อง
๖. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร
160 การวิเคราะหต์ ัวช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ดั
๖. ทั ก ษ ะ ก า ร กำ � ห น ด แ ล ะ ค ว บ คุ ม ตั ว แ ป ร โ ด ย ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปราย วิเคราะห์และเลือกผลิตภัณฑ์หรือ จากการระบุได้ว่าชนิดของวัสดุเป็นตัวแปรต้น การ
กำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร เหตุการณ์ที่เก่ียวข้องกับการใช้ประโยชน์จากสมบัติสภาพ เปล่ียนแปลงความยาวของวัสดุเป็นตัวแปรตาม และน้ำ�
ท่ีต้องควบคุมให้คงที่ในการทดลองเรื่องสภาพ ยืดหยุ่นของวัสดุ เช่น ขอบกางเกงยืด ยางรดั ผม ลกู บอลยาง หนักทีใ่ ชถ้ ่วงวสั ดุ เป็นตวั แปรทต่ี อ้ งควบคุมให้คงท่ี
ยดื หยุ่นของวัสดุ พ้ืนรองเท้ายาง บนั ทึกผลการวิเคราะห์และน�ำ เสนอ ๗. ประเมนิ ทกั ษะการทดลองจากการลงมอื ปฏบิ ตั กิ ารทดลอง
ได้ตามขั้นตอนและบันทึกข้อมูลผลการทดลองในตาราง
๗. ทักษะการทดลอง โดยปฏิบัติการทดลอง และ ๘. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์และ บนั ทึกผลเร่อื งสภาพยืดหยุ่นของวัสดไุ ด้
ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองเรื่องสภาพ ปรับปรงุ แก้ไขให้ถกู ตอ้ ง ๘. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ยดื หยุ่นของวัสดเุ พือ่ ตรวจสอบสมมติฐานท่รี ะบุไว้ จ า ก ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย จ า ก ข้ อ มู ล ท่ี นำ � เ ส น อ แ ล้ ว
อภิปรายเพื่อลงข้อสรุปสมบัติสภาพยืดหยุ่นของวัสดุคือ
๘. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป โดย การเปล่ียนแปลงสภาพของวัสดุ เม่ือมีแรงมากระทำ�
การตคี วามหมายจากขอ้ มลู ทน่ี �ำ เสนอ แลว้ อภปิ ราย และสามารถกลับสู่สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทำ�
เพื่อลงขอ้ สรุปเปรียบเทยี บสภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดุ วสั ดแุ ตล่ ะชนิดมีสภาพยืดหย่นุ แตกตา่ งกนั
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี โดย ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
นักเรียนร่วมกันทำ�การทดลองเรื่องสภาพยืดหยุ่น จากการทำ�งานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ในการลงมือ
ของวสั ดุ และการร่วมกนั น�ำ เสนอผลการทดลอง ปฏิบัติการทดลองเรื่องสภาพยืดหยุ่นของวัสดุ และการ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยนำ�เสนอผลการทดลอง น�ำ เสนอ
และรว่ มกนั อภปิ รายในชน้ั เรยี นเรอื่ งสภาพยดื หยนุ่ ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสอื่ สารจากการน�ำ เสนอขอ้ มลู ทไ่ี ด้
ของวัสดุ จากการทดลองในรูปแบบต่าง ๆ ใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ
๓. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ โดยการใชเ้ หตผุ ล ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
ในการอภิปรายผลการทดลองและวิเคราะห์และ วิเคราะห์และเลือกผลิตภัณฑ์หรือเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้อง
เลือกผลิตภัณฑ์หรือเหตุการณ์ที่เก่ียวข้องกับการ กับการใช้ประโยชน์จากสมบัติสภาพยืดหยุ่นของวัสดุได้
ใช้ประโยชนจ์ ากสมบัติสภาพยดื หยนุ่ ของวัสดุ อยา่ งมเี หตุผลและถูกตอ้ ง
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โดยการใชซ้ อฟตแ์ วรป์ ระยกุ ตใ์ นการน�ำ เสนอขอ้ มลู จากการใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เหมาะสมในการนำ�เสนอ
ขอ้ มลู อย่างเหมาะสม
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปีท่ี ๔
การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชี้วัด 161
ด้านความรู้ การนำ�ความรอ้ นของวัสดุ ด้านความรู้
๑. ครูอาจใช้คำ�ถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยเกี่ยวกับการเคลื่อนท่ีของ ๑. อธบิ ายการน�ำ ความร้อนของวสั ดุ
การนำ�ความร้อนของวัสดุเป็นการถ่ายโอน - ๒. เปรยี บเทยี บการนำ�ความร้อนของวัสดุ
ความร้อนของวัสดุท่ีเป็นของแข็งจากบริเวณท่ีมี ความร้อน โดยใช้สื่อต่าง ๆ หรือการสาธิต เช่น การใช้ช้อนอะลูมิเนียม ๓. ยกตัวอย่างการนำ�สมบัติการนำ�ความร้อนไปใช้
อุณหภูมิสูงกว่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ�กว่า คนน้ำ�ร้อน นักเรียนสังเกตการเปล่ียนแปลงความร้อนบริเวณด้ามช้อน
วัสดุแต่ละชนิดมีการนำ�ความร้อนแตกต่างกัน เพ่ือนำ�ไปสู่การอภิปรายและลงข้อสรุปว่าความร้อนเคลื่อนท่ีจากบริเวณ ประโยชน์
วัสดุท่ีนำ�ความร้อนได้ เรียกว่า ตัวนำ�ความร้อน ที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำ�กว่า เรียกว่า การถ่ายโอน
ส่วนวัสดุท่ีไม่นำ�ความร้อนหรือนำ�ความร้อนได้ไม่ ความร้อน โดยการถ่ายโอนความร้อนผ่านวัสดุท่ีเป็นของแข็ง เรียกว่า ด้านทกั ษะ
ดี เรยี กวา่ ฉนวนความรอ้ น วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ สามารถ การนำ�ความรอ้ นของวัสดุ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
น�ำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกนั ตามสมบตั กิ ารน�ำ ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยโดยนำ�วัสดุต่าง ๆ ที่เป็นท้ัง ๑. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก
ความรอ้ นของวสั ดนุ นั้ ฉนวนความร้อนและตัวนำ�ความร้อน เช่น ทองแดง เหล็ก กระจก
อะลูมิเนียม ไม้ และให้นักเรียนสังเกตและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับวิธี ก า ร นำ � ข้ อ มู ล จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ม า อ ธิ บ า ย แ ล ะ
ด้านทกั ษะ การตรวจสอบและเปรียบเทียบการนำ�ความร้อนของวัสดุเหล่าน้ี เพื่อนำ� เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร นำ � ค ว า ม ร้ อ น ข อ ง วั ส ดุ พ ร้ อ ม
ไปสกู่ ารทดลอง แสดงเหตผุ ลประกอบ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๓. นักเรียนออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบและเปรียบเทียบสมบัติ ๒. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น จ า ก ก า ร
๑. ทั ก ษ ะ ก า ร ล ง ค ว า ม เ ห็ น จ า ก ข้ อ มู ล โ ด ย การนำ�ความร้อนของวัสดุจากวัสดุอุปกรณ์ท่ีกำ�หนดให้ โดยกำ�หนด ตั้งสมมตฐิ านไดว้ ่าวสั ดใุ ดน�ำ ความร้อนได้ดกี ว่ากัน
จดุ ประสงคข์ องการทดลอง ตง้ั สมมตฐิ านการทดลอง ระบตุ วั แปร ก�ำ หนด ๓. ประเมินทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการจาก
การนำ�ข้อมูลโดยการสังเกตมาอธิบายและ นิยามเชิงปฏิบัติการ และออกแบบตารางการบันทึกผลลงในรายงาน การกำ�หนดวิธีการสังเกตหรือวัดการเปลี่ยนแปลง
เปรยี บเทียบการนำ�ความรอ้ นของวัสดุ การทดลอง ความร้อนหรืออุณหภูมิของวสั ดไุ ด้ถกู ต้อง
๒. ทกั ษะการตงั้ สมมตฐิ าน โดยการตงั้ สมมตฐิ าน ๔. นกั เรยี นลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามวธิ กี ารทดลองทอี่ อกแบบไว้ สงั เกตและออกแบบ ๔. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร
การทดลองเกยี่ วกบั การน�ำ ความรอ้ นของวสั ดุ ตารางบันทึกผลการทดลองในรายงานการทดลองโดยใช้ซอฟต์แวร์ จากการระบุว่าสิ่งใดเป็นตัวแปรต้น ส่ิงใดเป็น
๓. ทั ก ษ ะ ก า ร กำ � ห น ด นิ ย า ม เ ชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ประยกุ ต์ ตรวจสอบสมมตฐิ าน สรุปผลการทดลอง และนำ�เสนอ ตัวแปรตาม และส่ิงใดเป็นตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้
โดยการกำ�หนดวิธีการสังเกตหรือวัดการ ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการทดลองโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ครูใช้หลักฐาน คงท่ีได้ครบถว้ นและถกู ตอ้ ง
เปลีย่ นแปลงความรอ้ นหรอื อุณหภมู ิของวัสดุ เชิงประจักษ์ซ่ึงได้แก่ผลการทดลองของนักเรียนทั้งช้ันและใช้คำ�ถามเพื่อ
๔. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปรโดย ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและลงขอ้ สรปุ วา่ วสั ดชุ นดิ ตา่ ง ๆ น�ำ ความรอ้ น
กำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ ได้แตกต่างกัน
ต้องควบคุมให้คงท่ีในการทดลองเร่ืองการนำ�
ความรอ้ นของวสั ดุ
162 การวเิ คราะห์ตัวช้ีวัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้ีวัด
๕. ทักษะการทดลอง โดยออกแบบและปฏิบัติ ๖. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าวัสดุท่ีนำ�ความร้อนได้ เรียกว่า ตัวนำ� ๕. ประเมินทักษะการทดลองจากการลงมือปฏิบัติได้ตาม
การทดลอง และออกแบบตารางบันทึกผล ความร้อน และบางชนิดไม่นำ�ความร้อนหรือนำ�ความร้อนได้ ขนั้ ตอนและการบนั ทกึ ขอ้ มลู ผลการทดลองการน�ำ ความ
การทดลองเรื่องการนำ�ความร้อนของวัสดุเพ่ือ ไม่ดี เรยี กวา่ ฉนวนความร้อน ร้อนของวสั ดไุ ด้ครบถว้ นถกู ต้อง
ทดสอบสมมติฐานทรี่ ะบไุ ว้
๗. นักเรียนร่วมกันอภิปราย วิเคราะห์และเลือกผลิตภัณฑ์หรือ ๖. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
๖. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป เหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์จากการนำ�ความร้อน จากการตีความหมายจากข้อมูลที่นำ�เสนอ แล้ว
โ ด ย ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย จ า ก ข้ อ มู ล ที่ นำ � เ ส น อ ของวัสดุ เช่น กระเบ้ือง ภาชนะหุงต้ม วัสดุกันความร้อนใน อภิปรายเพื่อลงข้อสรุปการนำ�ความร้อนของวัสดุเป็น
แ ล้ ว อ ภิ ป ร า ย เ พื่ อ ล ง ข้ อ ส รุ ป เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร อาคารบา้ นเรือน บนั ทึกผลการวเิ คราะห์และนำ�เสนอ การถ่ายโอนความร้อนของวัสดุท่ีเป็นของแข็งไปจาก
น�ำ ความร้อนของวสั ดุ บริเวณท่ีมีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ
๘. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันตรวจสอบผลการวเิ คราะหแ์ ละปรับปรุง ตำ่�กว่าต่อเน่ืองกันไป วัสดุแต่ละชนิดนำ�ความร้อน
แก้ไขให้ถกู ต้อง แตกตา่ งกนั
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทั ก ษ ะ ด้ า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ก า ร ทำ � ง า น ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันทำ�การทดลองเรื่อง จากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ ในการลงมือ
การน�ำ ความรอ้ นของวสั ดุ และการรว่ มกนั น�ำ เสนอ ปฏิบัติการทดลองเรื่องการนำ�ความร้อนของวัสดุ และ
ผลการทดลอง การน�ำ เสนอ
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยนำ�เสนอผลการทดลอง ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอข้อมูล
แ ล ะ ร่ ว ม กั น อ ภิ ป ร า ย ใ น ชั้ น เ รี ย น เ ร่ื อ ง ก า ร นำ � ที่ได้จากการทดลองการนำ�ความร้อนของวัสดุและ
ความรอ้ นของวัสดุ การเผยแพรผ่ ่านอินเทอร์เนต็ ให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ
๓. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ โดยการใชเ้ หตผุ ล ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
ในการอภิปรายผลการทดลองและวิเคราะห์และ วิเคราะห์และเลือกผลิตภัณฑ์หรือเหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง
เลือกผลิตภัณฑ์หรือเหตุการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการ กบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากสมบตั กิ ารน�ำ ความรอ้ นของวสั ดุ
ใช้ประโยชนจ์ ากสมบตั ิการน�ำ ความร้อนของวัสดุ ได้อย่างมีเหตุผลและถกู ต้อง
๔. ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารโดย ๔. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ
น�ำ เสนอและเผยแพรข่ อ้ มลู บนอนิ เทอรเ์ นต็ เกยี่ วกบั การสื่อสารจากการเลือกวิธีการท่ีจะเผยแพร่ข้อมูลบน
การนำ�วัสดุไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ�วันตาม อนิ เทอรเ์ นต็ เกยี่ วกบั การใชป้ ระโยชนข์ องวสั ดตุ ามสมบตั ิ
สมบัตกิ ารนำ�ความรอ้ น การนำ�ความรอ้ นอยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมและนา่ สนใจ
วิทยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๔
การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวช้วี ดั 163
ด้านความรู้ การน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดุ ด้านความรู้
๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับสมบัติการ ๑. อธบิ ายการน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดุ
การนำ�ไฟฟ้าของวัสดุคือการที่มีกระแสไฟฟ้า ๒. เปรยี บเทียบการน�ำ ไฟฟา้ ของวัสดุ
เคลื่อนท่ีผ่านวัสดุ วัสดุที่นำ�ไฟฟ้าได้เรียกว่า นำ�ไฟฟ้าของวัสดุโดยอาจใช้คำ�ถาม ใช้การสาธิต หรือสื่อต่าง ๆ เช่น ๓. ยกตัวอย่างการนำ�สมบัตกิ ารนำ�ไฟฟา้ ไปใช้ประโยชน์
ตัวนำ�ไฟฟา้ สว่ นวสั ดุทีไ่ มน่ �ำ ไฟฟ้าหรอื น�ำ ไฟฟา้ รูปภาพ วีดิทัศน์ เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเปรียบเทียบการนำ�ไฟฟ้า
ได้ไม่ดี เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า การนำ�ไฟฟ้าของ ของวสั ดุ ด้านทักษะ
วัสดุสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ สมบัติต่าง ๆ ๒. นักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมเพื่อทดสอบการน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดุต่าง ๆ ท่เี ป็นท้ัง ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ของวัสดุสามารถนำ�มาพิจารณาเพ่ือใช้ในการ ฉนวนไฟฟ้าและตัวนำ�ไฟฟ้า เช่น แก้ว ทองแดง พลาสติก ไม้ ยาง เหล็ก ๑. ประเมินทักษะการสังเกตจากการสังเกตเมื่อนำ�วัสดุ
ออกแบบและสร้างช้ินงานเพ่ือใช้ประโยชน์ใน อะลูมิเนียม โดยอาจนำ�วัสดุแต่ละชนิดมาต่อกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ชวี ติ ประจำ�วัน สังเกตความสว่างของหลอดไฟฟ้าหรืออาจตรวจสอบการนำ�ไฟฟ้าของ แต่ละชนิดมาทดสอบการนำ�ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง
วัสดุแต่ละชนิดโดยใช้เครื่องวัดค่าการนำ�ไฟฟ้า บันทึกผลและสรุปผล ครบถ้วน
ด้านทกั ษะ การทำ�กจิ กรรม ๒. ประเมนิ ทกั ษะการจดั กระท�ำ และสอื่ ความหมายขอ้ มลู
๓. นักเรียนนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ครูใช้ จากการแสดงข้อมูลในตารางหรือแสดงแผนภาพได้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลักฐานเชิงประจักษ์ซึ่งได้แก่ผลการทำ�กิจกรรมของนักเรียนทั้งช้ัน และ ถูกตอ้ ง ครบถ้วน
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตความสว่างของ ใช้คำ�ถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า วัสดุบางชนิด ๓. ประเมนิ ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการน�ำ
นำ�ไฟฟ้า บางชนิดไม่น�ำ ไฟฟา้ ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและเปรียบเทียบ
หลอดไฟฟ้าเมอ่ื นำ�วัสดุตอ่ กบั วงจรไฟฟ้า ๔. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั การน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดชุ นดิ ตา่ ง ๆ ซง่ึ บางชนดิ การน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดุพร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย น�ำ ไฟฟา้ ได้ เรยี กวา่ ตวั น�ำ ไฟฟา้ และบางชนดิ ไมน่ �ำ ไฟฟา้ หรอื น�ำ ไฟฟา้ ได้ ๔. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
ไมด่ ี เรยี กว่า ฉนวนไฟฟ้า จากการตีความหมายจากข้อมูลท่ีนำ�เสนอ แล้ว
ข้อมูล โดยการนำ�เสนอข้อมูลในรูปแบบ ๕. นักเรียนสำ�รวจวัสดุในชีวิตประจำ�วันที่เป็นตัวนำ�ไฟฟ้าและฉนวนไฟฟ้า อภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุคือการ
ตารางหรือแผนภาพ รวมทงั้ การน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ บนั ทกึ และน�ำ เสนอ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านวัสดุ วัสดุแต่ละชนิดนำ�ไฟฟ้า
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดย ประเมนิ ผลงานทน่ี �ำ เสนอ ไดแ้ ตกตา่ งกนั บางชนดิ น�ำ ไฟฟา้ บางชนดิ ไมน่ �ำ ไฟฟา้
การนำ�ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายและ ๖. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั การสรา้ งชน้ิ งาน
เปรยี บเทยี บการนำ�ไฟฟ้าของวสั ดุ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั โดยพจิ ารณาจากสมบตั ขิ องวสั ดใุ นดา้ น
๔. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ความแข็ง สภาพยดื หยุน่ การน�ำ ความร้อนหรือการนำ�ไฟฟา้ ของวสั ดุโดย
โดยการตีความหมายจากข้อมูลท่ีนำ�เสนอ อาจใช้คำ�ถาม หรือสถานการณ์ เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมการออกแบบ
แล้วอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปเปรียบเทียบ
การน�ำ ไฟฟ้าของวสั ดุ
164 การวิเคราะหต์ วั ชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ และสรา้ งชนิ้ งาน เชน่ ออกแบบและสรา้ งรถพยาบาลของเลน่ โดยใชค้ วามรู้ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน เกยี่ วกบั ตวั น�ำ ไฟฟา้ ฉนวนไฟฟา้ การตอ่ วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย โดยมเี งอื่ นไข ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ว่าขณะท่ีรถว่ิงไปบนพ้ืนถนน หลอดไฟฟ้าท่ีติดไว้บนรถจะสว่างและ
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันทำ�การทดลอง ไมส่ ว่างสลับกันไป เป็นทีมจากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์
เรื่องการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุ และการร่วมกัน ๗. นักเรียนรวบรวมข้อมูลเพ่ือเลือกวัสดุต่าง ๆ ตามสมบัติทางกายภาพที่ ในการลงมือปฏิบัติการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุ และ
น�ำ เสนอผลการท�ำ กิจกรรม เหมาะสมมาใชใ้ นการท�ำ ชนิ้ งาน รวมทง้ั อปุ กรณท์ ต่ี อ้ งใชใ้ นการท�ำ ชนิ้ งาน การนำ�เสนอ
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยนำ�เสนอผล ๘. นกั เรียนออกแบบชิน้ งาน โดยอาจท�ำ เปน็ ภาพรา่ ง ๒ มติ ิ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการนำ�เสนอ
การทดลองและรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ ใน ๙. นักเรียนลงมอื ท�ำ กิจกรรมเพือ่ สรา้ งชน้ิ งาน ทดสอบ และปรบั ปรงุ บันทึก ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุ ใหผ้ ้อู นื่ เข้าใจ
ช้ันเรยี นเรอื่ งการนำ�ไฟฟ้าของวัสดุ และสรุปผลการทำ�กิจกรรม ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๑๐. นักเรียนนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ครูใช้ ส่ือสารจากการเลือกวิธีการที่จะเผยแพร่ข้อมูลบน
ส่ือสารโดยเลือกวิธีการที่จะเผยแพร่ข้อมูล ผลการทำ�กิจกรรมของนักเรียนท้ังชั้น และใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียน อินเทอร์เน็ตเก่ียวกับการใช้ประโยชน์ของวัสดุตาม
บนอินเทอร์เน็ตเก่ียวกับการใช้ประโยชน์ รว่ มกนั อภปิ รายและลงขอ้ สรปุ วา่ การเลอื กใชว้ สั ดมุ าสรา้ งชนิ้ งานสามารถ สมบัติการนำ�ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง เหมาะสมและ
ของวัสดุตามสมบตั ิการน�ำ ไฟฟา้ ของวสั ดุ พจิ ารณาจากสมบัติทางกายภาพของวสั ดุ น่าสนใจ
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปีที่ ๔
ตัวชี้วัด 165
๓. เปรียบเทียบสมบัตขิ องสสารทง้ั ๓ สถานะ จากขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการสังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รปู ร่างและปริมาตรของสสาร
๔. ใช้เครอ่ื งมอื เพื่อวดั มวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะของวสั ดุ
การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชี้วัด
ด้านความรู้ ๑. ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมเพอื่ นำ�ขอ้ มลู ที่ไดม้ าประกอบการจดั กจิ กรรม ด้านความรู้
การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ความหมายของสสาร สถานะของสสาร และสมบตั ิ ๑. อธบิ ายสมบตั ขิ องสสารในสถานะของแขง็ ของเหลว
สสารเปน็ สิง่ ท่มี มี วลและตอ้ งการทีอ่ ยู่ แบ่งออกเป็น ของสสารแตล่ ะสถานะ โดยอาจใชค้ �ำ ถาม หรือสอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น รูปภาพ
ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ โดยของแขง็ มปี รมิ าตร ของสสารที่มสี ถานะแตกต่างกัน และแกส๊
และรปู รา่ งคงท่ี ของเหลวมปี รมิ าตรคงทแี่ ตร่ ปู รา่ งไม่ ๒. เปรียบเทียบ มวล การต้องการท่ีอยู่ ปริมาตร และ
คงที่เปล่ียนแปลงตามส่วนของภาชนะท่ีบรรจุ ส่วน ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับมวล การ
แก๊สมีปริมาตรและรูปร่างไม่คงที่เปล่ียนแปลงตาม ต้องการท่ีอยู่ ปริมาตร และรูปร่างของสสารในสถานะของแข็ง รูปรา่ งของของแข็ง ของเหลว และแกส๊
ภาชนะทบ่ี รรจุ ของเหลว และแกส๊ โดยใชต้ วั อยา่ งสสาร เชน่ กอ้ นหนิ น�ำ้ อากาศ และ
ใชค้ �ำ ถามเพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตและเปรยี บเทยี บมวล การตอ้ งการทอี่ ยู่ ดา้ นทักษะ
หมายเหต:ุ ปรมิ าตรและรปู ร่างของสสารสถานะต่าง ๆ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไม่จำ�เป็นต้องอธิบายถึงการจัดเรียงอนุภาค และ ๑. ประเมินทักษะการสังเกตจากผลการบันทึกรูปร่าง
พลงั งานของอนภุ าคของของแขง็ ของเหลวและแกส๊ ๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมโดยวัดมวลและปริมาตรของสสารที่เป็น
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส บันทึกผลการวัดพร้อมท้ังระบุหน่วย ของสสารที่เป็นของแข็ง ของเหลวและแก๊สตาม
ด้านทกั ษะ และสงั เกตรปู รา่ งและการตอ้ งการทอี่ ยขู่ องสสารทงั้ ของแขง็ ของเหลว ความเป็นจริง
และแก๊ส บันทกึ ผล เปรยี บเทียบมวล การต้องการทอี่ ยู่ ปรมิ าตร และ ๒. ประเมินทักษะการวัดจากการใช้เครื่องชั่งมวล
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รปู ร่างของของแข็ง ของเหลว และแกส๊ ในรปู แบบตาราง สรุปผล ได้คล่องแคล่ว อ่านค่ามวลและระบุหน่วยมวลได้
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตรูปร่างของสสาร ถูกต้อง ใช้อุปกรณ์ตวงสสารได้ถูกต้อง และระบุ
๔. นักเรียนนำ�เสนอผลการเปรียบเทียบมวลและการต้องการท่ีอยู่ และ หน่วยปริมาตรได้ถกู ต้อง
ที่เป็นของแข็ง ของเหลวและแก๊ส และบันทึก ครูใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียนอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มา
ส่งิ ทสี่ งั เกต สนบั สนนุ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ สงิ่ ทม่ี มี วลและตอ้ งการทอี่ ยจู่ ดั เปน็ สสาร
๒. ทักษะการวัด โดยใช้เคร่ืองช่ังมวลชั่งมวลและ
ระบุหน่วยของมวล ใช้อปุ กรณต์ วงสารและระบุ
หน่วยปรมิ าตร
166 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชวี้ ัด
การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ัด
๓. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ ๕. นักเรียนนำ�เสนอผลการเปรียบเทียบรูปร่างและปริมาตรของสสาร ๓. ประเมินทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ
กับสเปซ โดยการบอกปริมาตรและรูปร่าง สถานะต่าง ๆ และครูใช้คำ�ถามเพ่ือให้นักเรียนอภิปรายโดยใช้หลักฐาน กับสเปซจากการบอกปริมาตรและรูปร่างของ
ของสสารในสถานะของแข็ง ของเหลว เชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าของแข็งมีปริมาตรและ ของแข็ง ของเหลวและแก๊สเม่ืออยู่ในภาชนะต่าง ๆ
และแก๊ส รปู รา่ งคงที่ ของเหลวมปี รมิ าตรคงทแ่ี ตร่ ปู รา่ งไมค่ งทเี่ ปลย่ี นแปลงตามสว่ น ได้ถกู ต้อง
ของภาชนะทบ่ี รรจุ สว่ นแกส๊ มปี รมิ าตรและรปู รา่ งไมค่ งทเ่ี ปลยี่ นแปลงตาม
๔. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ภาชนะทบี่ รรจุ ๔. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้ อ มู ล โ ด ย นำ � ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร วั ด แ ล ะ ข้อมูลจากการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการวัดและการ
การสังเกตมานำ�เสนอในรปู แบบตาราง ๖. ครูให้นักเรียนสำ�รวจสสารในชีวิตประจำ�วันและให้วิเคราะห์สมบัติของ สงั เกตมาน�ำ เสนอในรปู แบบตารางไดถ้ กู ตอ้ งชดั เจน
สสารและระบุสถานะของสสารแต่ละชนดิ และน�ำ เสนอ
๕. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลโดยใช้ ๕. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูลจาก
ข้อมูลจากการสังเกตและการวัดมาเปรียบ (หมายเหตุ สสารบางชนดิ อาจไมส่ ามารถระบสุ ถานะได้ เชน่ โคลน ยาสฟี นั การเปรียบเทียบมวล ปริมาตรและรูปร่างของ
เทียบมวล ปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง แปง้ เปยี ก โยเกริ ต์ ) ของแขง็ ของเหลวและแกส๊ โดยใชผ้ ลการสงั เกตและ
ของเหลวและแก๊ส การวัดมวลและปรมิ าตร
๗. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์สมบัติของสสารและ
๖. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ปรับปรุงแก้ไขขอ้ สรุปใหถ้ ูกตอ้ ง ๖. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
โดยเปรียบเทียบมวล ปริมาตร และรูปร่าง สรุปจากผลการเปรียบเทียบมวล ปริมาตรและ
ของของแขง็ ของเหลวและแกส๊ โดยใชข้ อ้ มลู รูปร่างของของแข็ง ของเหลวและแก๊สโดยใช้ข้อมูล
จากการสังเกตและการวัดมวลและปริมาตร จากการสังเกตและการวัดมวลและปริมาตรของ
ของสสาร สสารได้ถกู ต้องและครบถ้วน
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยร่วมกันทำ�กิจกรรมเร่ืองการ เป็นทีม จากการทำ�งานกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์
เปรยี บเทยี บปรมิ าตรและรปู รา่ งของของแขง็ ใ น ก า ร ทำ � กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร นำ � เ ส น อ เ ร่ื อ ง
ของเหลว และแก๊ส และร่วมกันนำ�เสนอผล การเปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง
การทำ�กจิ กรรม ของเหลว และแก๊ส
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยนำ�เสนอผลการ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสารจากการนำ�เสนอ
ทำ�กิจกรรมและร่วมกันอภิปรายในช้ันเรียน ผ ล ก า ร ทำ � กิ จ ก ร ร ม ใ น รู ป แ บ บ ต่ า ง ๆ เ ร่ื อ ง
เรอ่ื งการเปรยี บเทยี บปรมิ าตรและรปู รา่ งของ การเปรียบเทียบปริมาตรและรูปร่างของของแข็ง
ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ของเหลว และแก๊สให้ผู้อื่นเข้าใจ
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๔
ตัวชวี้ ัด 167
๕. ระบุผลของแรงโนม้ ถว่ งท่มี ตี ่อวตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
๖. ใช้เครอื่ งชัง่ สปริงในการวัดน้�ำ หนักของวัตถุ
การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ช้ีวดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับการตกของวัตถุ ดา้ นความรู้
และสาเหตุท่ีทำ�ให้วัตถุตกลงสู่พ้ืนโลก โดยอาจใช้การซักถาม กิจกรรม ๑. ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงของโลกทก่ี ระทำ�ต่อวตั ถุ
๑. แรงโน้มถ่วงเป็นแรงดึงดูดที่โลกกระทำ�ต่อ สาธิต หรือสื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์แสดงการตกอย่างอิสระของวัตถุ เพ่ือ ๒. บอกความสัมพันธ์ระหว่างมวลของวัตถุกับนำ้�หนัก
วัตถุ โดยไม่ต้องสัมผัสกับวัตถุนั้น ทำ�ให้วัตถุ นำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเพื่อสังเกตการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ
มนี ำ�้ หนกั และตกสูพ่ ื้นโลก เมื่อปล่อยวัตถุให้ตกในแนวดง่ิ อยา่ งอิสระต้ังแต่วัตถเุ ริ่มเคลอ่ื นที่จนหยดุ ของวัตถุ
๓. อธิบายการใช้เครื่องช่ังสปริงในการวัดน้ำ�หนัก
๒. นำ้�หนักมีหน่วยเป็นนิวตัน วัตถุที่มีมวลมาก ๒. นกั เรยี นพยากรณส์ งิ่ ทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ เมอื่ ปลอ่ ยวตั ถใุ หต้ กอยา่ งอสิ ระและปฏบิ ตั ิ
จะมีนำ้�หนักมาก วัตถุที่มีมวลน้อยจะมี โดยการสงั เกตและบนั ทกึ เสน้ ทางการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถแุ ตล่ ะชนดิ สรปุ ผล ของวัตถุ
นำ�้ หนักน้อย การท�ำ กจิ กรรม และนำ�เสนอ
ด้านทักษะ
๓. นำ�้ หนกั ของวตั ถวุ ัดไดจ้ ากเครอ่ื งช่งั สปรงิ ๓. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ เพอ่ื ใหไ้ ด้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ขอ้ สรุปวา่ เม่ือปล่อยวตั ถทุ กุ ชนิดใหต้ กในแนวดง่ิ อย่างอสิ ระ เสน้ ทางการ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ด้านทักษะ เคลอ่ื นทขี่ องวตั ถแุ ตล่ ะชนดิ อาจจะเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั แตว่ ตั ถทุ กุ ชนดิ
จะตกสูพ่ นื้ โลกเสมอ เป็นผลมาจากการมีแรงมากระท�ำ ตอ่ วัตถุ ลักษณะและเส้นทางการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ี
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุเมื่อปล่อยวัตถุให้ตกในแนวด่ิงอย่างอิสระ
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายลักษณะและ ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแรงที่ทำ�ให้วัตถุตกลงสู่พ้ืนโลก ตามความเปน็ จริง โดยไม่เพม่ิ ความคดิ เห็นสว่ นตวั
เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ ว่าแรงท่ีท�ำ ใหว้ ตั ถุตกอย่างอสิ ระคือ แรงท่โี ลกดึงดูดวัตถุ ๒. ประเมนิ ทกั ษะการวดั จากการใชเ้ ครอ่ื งชง่ั สปรงิ และ
เส้นทางการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของ ลงสพู่ นื้ โลก เรยี กวา่ แรงโนม้ ถว่ งของโลก แรงโนม้ ถว่ งของโลกมที ศิ ทางเขา้ การระบหุ น่วยของน้ำ�หนกั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
วัตถุเมื่อปล่อยวัตถุให้ตกในแนวด่ิงอย่าง สศู่ นู ยก์ ลางโลกและเปน็ แรงไมส่ มั ผสั แรงโนม้ ถว่ งของโลกทกี่ ระท�ำ กบั วตั ถุ ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
อิสระ ทำ�ใหว้ ัตถมุ นี �ำ้ หนกั ข้อมูล จากการนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับแรงโน้มถ่วง
๒. ทักษะการวัด โดยการใช้เครื่องชั่งสปริง ของโลกและมวลของวัตถุ ด้วยรูปแบบหรือวิธีการที่
ช่ังนำ้�หนักของวัตถุต่าง ๆ พร้อมระบุหน่วย เขา้ ใจงา่ ย นา่ สนใจ
ของน้�ำ หนกั
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ข้อมูล โดยการนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
แรงโน้มถ่วงของโลกและมวลของวัตถุ ด้วย
รปู แบบหรอื วธิ ีการต่าง ๆ
168 การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ดั
๔. ทักษะการพยากรณ์ โดยคาดการณ์และให้ ๕. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการวัดนำ้�หนักของวัตถุ เพื่อให้ได้ ๔. ประเมินทักษะการพยากรณ์ จากการบันทึกการ
เหตุผลสิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อปล่อยวัตถุให้ตก ขอ้ สรปุ วา่ การวดั น�้ำ หนกั ของวตั ถทุ �ำ ไดโ้ ดยการใชอ้ ปุ กรณว์ ดั น�้ำ หนกั เชน่ คาดการณ์และให้เหตุผลส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นเม่ือปล่อย
อย่างอสิ ระ เครื่องชั่งสปริง หน่วยของนำ้�หนักเป็นนิวตัน จากนั้นนักเรียนสืบค้น วตั ถุให้ตกอย่างอิสระไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
วธิ ีการใชเ้ คร่อื งช่ังสปริงจากสือ่ ตา่ ง ๆ เช่น อนิ เทอร์เนต็ และน�ำ เสนอดว้ ย
๕. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย วธิ กี ารตา่ ง ๆ เชน่ การสาธติ การท�ำ แบบจ�ำ ลอง หรอื ใชซ้ อฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ๕. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
อ ภิ ป ร า ย แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ การเชอื่ มโยงความรใู้ นเรอ่ื งแรงโนม้ ถว่ งของโลกและ
แ ร ง โ น้ ม ถ่ ว ง ข อ ง โ ล ก แ ล ะ ม ว ล ข อ ง วั ต ถุ ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับข้ันตอนการใช้ มวลของวัตถุกับข้อมูลท่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรม
กั บ ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ป ฏิ บั ติ กิ จ ก ร ร ม ม า เครื่องช่ังสปรงิ และการอ่านคา่ ท่วี ัดได้จากเคร่อื งช่ังสปริง มาลงความเห็นเกี่ยวกับการตกอย่างอิสระของวัตถุ
อธิบายการตกอย่างอิสระของวัตถุ และใช้ และใช้ข้อมูลในตารางจากการช่ังนำ้�หนักของวัตถุท่ี
ข้อมูลในตารางจากการชั่งนำ้�หนักของวัตถุ ๗. นกั เรยี นตง้ั ค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมวลและน�้ำ หนกั มีมวลต่าง ๆ มาลงความเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์
มวลต่าง ๆ มาอธิบายความสัมพันธ์ของมวล ของวตั ถุ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารท�ำ กจิ กรรมเพอื่ หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมวลของ ของมวลและน้ำ�หนกั ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
และน้�ำ หนกั วตั ถแุ ละน�้ำ หนักของวตั ถุ
๖. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและการ
๖. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการ ๘. นกั เรยี นปฏบิ ตั โิ ดยชงั่ น�้ำ หนกั ของวตั ถทุ ม่ี มี วลตา่ งกนั โดยใชเ้ ครอื่ งชงั่ สปรงิ ลงข้อสรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้
ลงข้อสรุป โดยวเิ คราะห์และแปลความหมาย ออกแบบตารางบนั ทกึ ผล บนั ทกึ ผล วเิ คราะห์ และแปลความหมายขอ้ มลู จากการสังเกตและการสืบค้นข้อมูล เพ่ือลงข้อสรุป
ข้อมูลท่ีบันทึกได้จากกสังเกตและการสืบค้น น�ำ เสนอ เกย่ี วกบั แรงโนม้ ถว่ งของโลก การวดั น�ำ้ หนกั ของวตั ถุ
ข้อมูลเพื่อลงข้อสรุปเก่ียวกับแรงโน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างมวลของวัตถุกับน้ำ�หนักของ
ของโลก การวดั น�ำ้ หนกั ของวตั ถุ ความสมั พนั ธ์ ๙. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพื่อให้ วัตถุไดถ้ ูกตอ้ ง
ระหว่างมวลของวตั ถกุ บั น�ำ้ หนกั ของวัตถุ ได้ข้อสรุปว่าวัตถุที่มีมวลต่างกันจะมีน้ำ�หนักต่างกัน โดยวัตถุที่มีมวลมาก
จะมีนำ�้ หนักมาก และวัตถทุ ่มี มี วลนอ้ ยจะมีน�้ำ หนักนอ้ ย
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการวางแผนและ
แลกเปลี่ยนผลการสังเกต สืบค้นข้อมูล และ การปฏิบัติกิจกรรม การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย
อภิปรายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างมวล เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมวลของวัตถุกับ
ของวัตถุกับนำ้�หนักของวัตถุ และการวัด น�้ำ หนักของวตั ถุ และการวดั น�้ำ หนักของวตั ถุโดยใช้
น�ำ้ หนักของวตั ถโุ ดยใช้เครื่องช่ังสปริง เคร่ืองช่ังสปริงร่วมกับผู้อ่ืน ต้ังแต่เร่ิมต้นจนสำ�เร็จ
ลลุ ว่ ง
การวิเคราะห์ตวั ชี้วัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ 169
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และผลการวเิ คราะห์
ข้อมูล เพื่ออธิบายเก่ียวกับแรงโน้มถ่วง แนวทางการวัดและประเมินตัวช้วี ดั
ของโลก มวลของวตั ถุ และนำ้�หนกั ของวตั ถุ
๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ขอ้ มูลจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และผลการวเิ คราะห์
วิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรมและ ข้อมูลอธิบายเก่ียวกับเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงของโลก
จากการสืบค้นข้อมูลเพ่ือหาความสัมพันธ์ มวลของวตั ถุ และน�ำ้ หนกั ของวตั ถใุ นรปู แบบทผี่ อู้ นื่
ระหว่างแรงโน้มถ่วง มวลของวัตถุ และ เข้าใจงา่ ย และถกู ต้อง
นำ�้ หนักของวตั ถุ
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรม และ
การสอื่ สาร โดยใชเ้ ทคโนโลยหี รอื ซอฟตแ์ วร์ จากการสืบค้นข้อมูลเพ่ือหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ประยุกต์เพ่ือสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ� แรงโน้มถ่วง มวลของวัตถุ และนำ้�หนักของวัตถุได้
ข้อมูล และนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับการใช้ อยา่ งสมเหตสุ มผล
เครอ่ื งชั่งสปรงิ
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร จากการใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์
ประยกุ ตท์ เ่ี หมาะสมเพอื่ สบื คน้ ขอ้ มลู โดยไมค่ ดั ลอก
งานของผูอ้ ืน่ มกี ารอ้างองิ แหลง่ ข้อมลู ทส่ี ืบค้น หรือ
เพอ่ื จดั กระท�ำ ขอ้ มลู และน�ำ เสนอขอ้ มลู เกยี่ วกบั การ
ใช้เครื่องชัง่ สปรงิ ได้อยา่ งเหมาะสม
170 ตวั ชว้ี ดั
๗. บรรยายมวลของวัตถทุ มี่ ผี ลต่อการเปล่ียนแปลงการเคลือ่ นที่ของวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
การวิเคราะห์ตัวช้วี ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชว้ี ดั
ด้านความรู้ ๑. ครตู รวจสอบความรเู้ ดมิ เกย่ี วกบั วตั ถทุ ม่ี มี วลตา่ งกนั แตม่ ขี นาดเทา่ กนั โดย ดา้ นความรู้
ใช้สื่อประกอบ เชน่ ฟองนำ�้ กับดินนำ้�มันท่มี ขี นาดเท่ากนั โดยใหน้ กั เรียน บ ร ร ย า ย ม ว ล ข อ ง วั ต ถุ ที่ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
ม ว ล ข อ ง วั ต ถุ มี ผ ล ต่ อ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง เปรียบเทียบปริมาณเนอ้ื ของวตั ถุท้ังสอง การเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ
ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ข อ ง วั ต ถุ โ ด ย วั ต ถุ ท่ี มี ม ว ล ม า ก
จะเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ได้ยากกว่าวัตถุท่ีมี ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่ามวลเป็นปริมาณเนื้อท้ังหมด ดา้ นทักษะ
มวลนอ้ ย มวลมหี น่วยเปน็ กรัมหรือกิโลกรมั ท่ปี ระกอบเป็นวัตถุ มีหนว่ ยเป็นกรมั หรอื กโิ ลกรมั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร สั ง เ ก ต จ า ก ก า ร บั น ทึ ก
ดา้ นทักษะ ๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับมวลท่ีมีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ี โดยอาจใช้วิธีซักถาม กิจกรรมสาธิต หรือ รายละเอียดความยากง่ายในการทำ�ให้วัตถุท่ีมีมวล
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์แสดงการออกแรงเข็นรถยนต์ที่มีขนาดต่างกัน ต่างกันเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ตามความเป็นจริง
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายความยากง่าย ให้เคลื่อนท่ี เพ่ือนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมเพ่ือสังเกตมวลของวัตถุท่ีมีผลต่อ โดยไม่เพ่ิมความคดิ เห็นสว่ นตัว
การเปลยี่ นแปลงการเคลือ่ นทข่ี องวตั ถุ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ในการท�ำ ใหว้ ตั ถทุ ม่ี มี วลตา่ งกนั เปลยี่ นแปลง ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต เชื่อมโยงความรู้เรื่องมวล
การเคลื่อนท่ี ๔. ครใู ห้นกั เรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เชน่ ออกแรงกระทำ�ต่อวตั ถทุ มี่ มี วลต่างกัน มาบรรยายมวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลง
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย ทอ่ี ยู่นง่ิ ใหเ้ คล่อื นที่ หรือที่กำ�ลังเคล่ือนท่ีให้หยุด สงั เกตความยากงา่ ยและ การเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถุไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
การนำ�ข้อมูลจากการสังเกต เช่ือมโยง แรงที่ใช้ในการทำ�ใหว้ ัตถุเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นท่ี บนั ทกึ ผล ๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
ความรู้เร่ืองมวลมาบรรยายมวลของวัตถุท่ีมี สรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีได้จากการ
ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถุ ๕. นักเรียนนำ�เสนอและร่วมกันอภิปรายโดยนำ�หลักฐานเชิงประจักษ์ สงั เกตเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั มวลของวตั ถทุ มี่ ผี ลตอ่
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ มาสนบั สนนุ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ วา่ มวลมผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงการเคลอื่ นท่ี การเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนท่ขี องวตั ถไุ ดถ้ กู ต้อง
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้จาก ของวตั ถุ โดยวตั ถทุ ม่ี มี วลมากจะเปลย่ี นแปลงการเคลอ่ื นทไี่ ดย้ ากกวา่ วตั ถุ
การสังเกตเพื่อลงข้อสรุปเก่ียวกับมวลของ ท่ีมวลน้อย
วัตถุท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่
ของวัตถุ ๖. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและวเิ คราะหส์ ถานการณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั มวลของ
วัตถุซึ่งมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนที่ของวัตถุในชีวิตประจำ�วัน เช่น
การหยุดรถบรรทุกทำ�ได้ยากกว่ารถจักรยาน นำ�เสนอผลการวิเคราะห์
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์และปรับปรุงแก้ไข
ใหถ้ กู ตอ้ ง
การวิเคราะห์ตัวชีว้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ 171
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ประถมศึกษาปที ่ี ๔
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชีว้ ดั
เปน็ ทมี โดยมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ ม ว ล ข อ ง วั ต ถุ กั บ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
การเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็น
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
ข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรมมาบรรยาย ทมี จากการมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม อภปิ ราย
การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุท่ีมี เกี่ยวกับมวลของวัตถุมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
มวลต่างกัน การเคลือ่ นที่ของวัตถตุ ัง้ แต่เรม่ิ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ่วง
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร จากการน�ำ เสนอขอ้ มลู
วิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อ จากการปฏิบัติกิจกรรมมาบรรยายการเปลี่ยนแปลง
บรรยายมวลของวัตถุกับการเปล่ียนแปลง การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถทุ ม่ี มี วลตา่ งกนั ในรปู แบบทผี่ อู้ น่ื
การเคล่ือนท่ขี องวัตถุ เขา้ ใจง่ายและถกู ต้อง
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือบรรยาย
มวลของวัตถุกับการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของ
วัตถอุ ย่างมีเหตุผล
172 ตัวชีว้ ัด
๘. จ�ำ แนกวตั ถุเป็นตวั กลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่ แสง และวตั ถุทึบแสง โดยใช้ลกั ษณะการมองเห็นส่ิงต่าง ๆ ผ่านวตั ถุนัน้ เป็นเกณฑโ์ ดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
การวิเคราะหต์ วั ช้วี ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับการมองเห็น ดา้ นความรู้
สิ่งต่าง ๆ เม่ือมีวัตถุมากั้นระหว่างตากับส่ิงที่ต้องการสังเกต โดยอาจใช้ อธบิ ายการจ�ำ แนกวตั ถอุ อกเปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลาง
เมื่อมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมากั้น การซักถาม ใช้กิจกรรมสาธิต หรือให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เพื่อนำ�ไปสู่การ โปรง่ แสง และวัตถทุ บึ แสง
ระหว่างตากับส่ิงที่ต้องการสังเกต จะทำ�ให้ ท�ำ กจิ กรรมเพอื่ สังเกตการมองเหน็ สงิ่ ท่ีต้องการสังเกตเมื่อนำ�วัตถุมากัน้
ลักษณะการมองเห็นต่างกัน จึงจำ�แนกวัตถุที่ ด้านทกั ษะ
มาก้ันออกเป็นตัวกลางโปร่งใสซึ่งทำ�ให้มองเห็น ๒. นกั เรยี นปฏบิ ตั โิ ดยใชว้ ตั ถชุ นดิ ตา่ ง ๆ เชน่ กระดาษไข กระจกฝา้ กระดาษ ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ส่ิงที่ต้องการสังเกตได้ชัดเจน ตัวกลางโปร่งแสง กระดาษแก้ว แผ่นไม้ มาก้ันระหว่างตากับส่ิงที่ต้องการสังเกต เช่น ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการบันทึกข้อมูล
ทำ�ให้มองเห็นส่ิงท่ีต้องการสังเกตได้ไม่ชัดเจน เปลวเทยี นไข สงั เกตและเปรยี บเทยี บการมองเหน็ สง่ิ ทตี่ อ้ งการสงั เกตเมอ่ื
และวัตถุทึบแสงทำ�ให้มองไม่เห็นสิ่งที่ต้องการ มองผา่ นวัตถุตา่ ง ๆ ที่นำ�มากน้ั บนั ทกึ ผล การมองเห็นวัตถุต่าง ๆ เม่ือมีวัตถุมากั้นแสงตาม
สังเกต ความเป็นจริงโดยไม่เพมิ่ ความคิดเห็นส่วนตัว
๓. นักเรียนร่วมกันจำ�แนกวัตถุท่ีนำ�มากั้นแสงตามเกณฑ์ลักษณะการ ๒. ประเมนิ ทกั ษะการจ�ำ แนกประเภท จากการจัดกล่มุ
หมายเหต:ุ มองเห็นสิ่งท่ีต้องการสังเกตเม่ือมองผ่านวัตถุที่นำ�มากั้นโดยใช้หลักฐาน วตั ถทุ นี่ ำ�มาก้ันแสงโดยใช้เกณฑท์ เ่ี หมาะสม
ไม่จำ�เป็นต้องอธิบายเหตุผลที่ทำ�ให้มองเห็น เชิงประจักษ์ และนำ�เสนอผลการจำ�แนก ด้วยการใช้แผนภาพหรือผัง
ส่ิงต่าง ๆ ชัดเจนหรือไม่ชัดเจนเม่ือมองผ่านวัตถุ กราฟกิ พร้อมบอกเหตุผล
ทนี่ ำ�มากัน้ ชนิดตา่ ง ๆ
๔. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ เพอ่ื ใหไ้ ด้
ด้านทักษะ ข้อสรุปว่าวัตถุท่ีนำ�มาก้ันระหว่างตากับสิ่งที่ต้องการสังเกตแบ่งออกเป็น
๓ กลมุ่ ตามลกั ษณะการมองเหน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งการสงั เกต คอื มองเหน็ ไดช้ ดั เจน
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ มองเห็นได้ไมช่ ดั เจน และมองไมเ่ ห็น
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายลักษณะของ
๕. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าวัตถุที่นำ�มากั้นระหว่างตาและส่ิงท่ีต้องการ
การมองเห็นส่ิงต่าง ๆ เมอื่ มวี ตั ถมุ ากั้นแสง สังเกต และมองเห็นสิ่งน้ัน ๆ ได้ชัดเจน เรียกว่าตัวกลางโปร่งใส มองเห็น
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยการจัดกลุ่ม สิ่งน้ัน ๆ ได้ไม่ชัดเจน เรียกว่าตัวกลางโปร่งแสง และมองไม่เห็นส่ิงน้ัน ๆ
เรียกว่าวตั ถุทบึ แสง
วัตถุที่นำ�มาก้ันแสง ตามเกณฑ์ลักษณะ
การมองเห็นแหล่งกำ�เนิดแสงเมื่อมองผ่าน
วัตถนุ น้ั
วิทยาศาสตร์
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั 173
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ๖. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและวเิ คราะหว์ ตั ถตุ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ
โดยท�ำ ความเข้าใจข้อมลู ทบ่ี ันทึกไดจ้ ากการ นอกเหนือจากกิจกรรม เช่น แว่นตากันแดด ผ้าม่าน ร่ม ว่าเป็นตัวกลาง สรุป จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีบันทึกได้จาก
สงั เกตได้ เพอ่ื ลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั การจ�ำ แนก โปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง หรือวัตถุทึบแสง นำ�เสนอผลการวิเคราะห์ การสังเกตและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการจำ�แนกวัตถุ
วัตถุออกเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลาง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบผลการวิเคราะห์และปรับปรุง ออกเปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวตั ถุ
โปร่งแสง และวัตถทุ ึบแสง แกไ้ ขให้ถกู ตอ้ ง ทบึ แสงไดค้ รบถว้ น และถูกตอ้ ง
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เปน็ ทมี โดยมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เป็นทีม จากการมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติกิจกรรม
อ ภิ ป ร า ย เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร จั ด ก ลุ่ ม วั ต ถุ ที่ นำ � อภปิ รายเกย่ี วกบั การจดั กลมุ่ วตั ถทุ น่ี �ำ มากน้ั แสงตาม
มากั้นแสงตามเกณฑ์ลักษณะการมองเห็น เกณฑ์ลักษณะการมองเห็นส่ิงท่ีต้องการสังเกต เม่ือ
ส่งิ ทตี่ ้องการสงั เกต เม่อื มองผ่านวัตถนุ นั้ มองผา่ นวตั ถนุ น้ั รว่ มกบั ผอู้ น่ื ตงั้ แตเ่ รม่ิ ตน้ จนส�ำ เรจ็
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ลลุ ว่ ง
จากการสังเกตและผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ท่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เพื่ออธิบาย ขอ้ มลู จากการสงั เกตและผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ด้
การจำ�แนกวัตถุออกเป็นตัวกลางโปร่งใส จากการปฏิบัติกิจกรรมเพื่ออธิบายการจำ�แนกวัตถุ
ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุ ทบึ แสง ออกเปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวตั ถุ
๓. ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ โดยการจดั ทบึ แสงในรปู แบบทีผ่ ู้อ่ืนเข้าใจง่าย และถกู ตอ้ ง
กลุ่มวัตถุที่นำ�มากั้นแสงตามเกณฑ์ลักษณะ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย
การมองเหน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งการสงั เกต เมอื่ มองผา่ น การตัดสินใจในการจัดกลุ่มวัตถุท่ีนำ�มากั้นแสงตาม
วตั ถุน้ัน เกณฑ์ลักษณะการมองเห็นสิ่งท่ีต้องการสังเกต เม่ือ
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ มองผา่ นวตั ถนุ น้ั ได้อย่างสมเหตสุ มผล
การสอื่ สาร โดยใชเ้ ทคโนโลยหี รอื ซอฟตแ์ วร์ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ประยกุ ต์เพอ่ื จัดกระท�ำ ขอ้ มูล และน�ำ เสนอ ส่ือสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์ประยุกต์
ข้อมูลเก่ียวกับการจำ�แนกวัตถุออกเป็น เพื่อจัดกระทำ�ข้อมูล และนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับ
ตัวกลางโปรง่ ใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุ การจำ�แนกวัตถุออกเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลาง
ทบึ แสง โปรง่ แสง และวตั ถทุ บึ แสงได้อย่างเหมาะสม
174 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้งั
ปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสุรยิ ะท่สี ง่ ผลตอ่ สิง่ มชี วี ิต และการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ
ตวั ช้วี ัด
๑. อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจนั ทร์ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์
การวิเคราะหต์ ัวชว้ี ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชีว้ ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการข้ึนและตก ด้านความรู้
ดวงจนั ทรเ์ ปน็ บรวิ ารของโลก โดยดวงจนั ทรห์ มนุ ของดวงจันทร์ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือส่ือต่าง ๆ เช่น อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึน้ และตกของดวงจันทร์
รอบตวั เองขณะโคจรรอบโลก การหมนุ รอบตวั เอง วีดิทศั น์ ภาพเคลื่อนไหว เพ่ือน�ำ ไปสู่การสังเกต
ของโลกจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกหรือ ดา้ นทกั ษะ
ทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเม่ือมองจากบริเวณ ๒. นักเรียนสังเกตเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์บนท้องฟ้า จาก ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
เหนือขั้วโลกเหนือ จะทำ�ให้มองเห็นดวงจันทร์ วีดิทัศน์หรือแบบจำ�ลอง โดยบันทึกการเร่ิมปรากฏของดวงอาทิตย์จาก ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
ปรากฏข้ึนทางขอบฟ้าด้านตะวันออกและตก ขอบฟา้ การผา่ นต�ำ แหนง่ สงู สดุ บนทอ้ งฟา้ และการลบั ขอบฟา้ บนั ทกึ ผล
ทางขอบฟ้าด้านตะวันตก ปรากฏการณ์ดังกล่าว จากนนั้ รว่ มกันอภปิ ราย รายละเอียดการสังเกตเกี่ยวกับเส้นทางการข้ึนและ
เกิดขนึ้ ซำ�้ ๆ เปน็ แบบรปู ตกของดวงจนั ทร์ ไดค้ รบถว้ น ตามความเปน็ จรงิ โดย
๓. ครูให้นักเรียนสังเกตเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์แต่ละวัน เป็น ไมเ่ พิ่มความคดิ เห็นสว่ นตวั
ด้านทกั ษะ เวลาอยา่ งนอ้ ย ๓ วนั บนั ทกึ ผล ในรปู ของตารางหรอื โดยการวาดภาพ และ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ น�ำ เสนอ
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตเส้นทาง
๔. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำ�ให้มองเห็น
การขึ้นและตกของดวงจันทร์บนท้องฟ้า เส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์บนท้องฟ้า เพ่ือรวบรวมหลักฐาน
เชิงประจักษ์และสืบค้นข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ที่
น่าเชือ่ ถอื และโปรแกรมทางดาราศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ี่ ๔
การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ดั 175
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้ ๕. นักเรียนวิเคราะห์ความเช่ือมโยงของข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ข้อมูลจากการสังเกตมาอธิบายแบบรูป เก่ียวกับการหมุนรอบตัวเองของโลกและเส้นทางการข้ึนและตกของ การสงั เกตมาอธบิ ายแบบรปู เสน้ ทางการขน้ึ และตก
เสน้ ทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์มาสร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบายเส้นทางการขึ้นและตกของ ของดวงจนั ทร์ได้อยา่ งสมเหตุสมผล
ดวงจันทร์
๓. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู ๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากการสร้าง
ท่ีได้จากการสืบค้นและความรู้เดิมจากการ ๖. นกั เรยี นสงั เกตวา่ ผสู้ งั เกตในแบบจ�ำ ลองมองเหน็ การเปลยี่ นแปลงต�ำ แหนง่ แ บ บ จำ � ล อ ง ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง แ น ว คิ ด ที่ ถู ก ต้ อ ง
สร้างแบบจำ�ลองอธิบายการข้ึนและตกของ ของดวงจนั ทรอ์ ยา่ งไร ขณะทโ่ี ลกหมนุ รอบตวั เอง จากนน้ั รวบรวมขอ้ มลู ที่ เกี่ยวกับแบบรูปและเส้นทางการขึ้นและตกของ
ดวงอาทิตย์มาใช้ในการออกแบบและสร้าง ได้จากการสงั เกตแบบจ�ำ ลองและอภปิ ราย ดวงจันทร์
แบบจำ�ลองอธิบายเส้นทางการข้ึนและตก
ของดวงจนั ทร์ ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า การหมุนรอบตัวเองของโลก ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาเม่ือมองจากบริเวณเหนือขั้วโลกเหนือ ทำ�ให้ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ คนบนโลกมองเห็นดวงจันทร์ปรากฏข้ึนจากขอบฟ้าทางด้านตะวันออก
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน และปรากฏลับขอบฟ้าทางด้านตะวันตก โดยปรากฏการณ์น้ีเกิดขึ้นซ้ำ� ๆ เป็นทีม จากการร่วมกันลงมือปฏิบัติเพื่อสร้าง
ทุกวนั เป็นแบบรปู แบบจำ�ลอง สืบค้นข้อมลู และอภิปราย เพื่ออธิบาย
เปน็ ทมี โดยนกั เรยี นรว่ มกนั ลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื เส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ร่วมกับผู้อ่ืน
สรา้ งแบบจ�ำ ลอง สบื คน้ ขอ้ มลู และอภปิ ราย ต้งั แต่เร่ิมต้นจนส�ำ เร็จลลุ ่วง
ใ น ก า ร ส ร้ า ง แ บ บ จำ � ล อ ง ก า ร ม อ ง เ ห็ น ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
เสน้ ทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ งานจากแบบจ�ำ ลองอธบิ ายการมองเหน็ เสน้ ทางการ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ ขน้ึ และตกของ ดวงจนั ทร์ เพอ่ื ใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจไดอ้ ยา่ ง
แบบจำ�ลองอธิบายการมองเห็นเส้นทาง รวดเรว็ ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
การข้นึ และตกของดวงจันทร์ ๓. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการออกแบบ
๓. ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ โดยการออกแบบ และสร้างแบบจำ�ลอง เพื่ออธิบายการมองเห็น
และสร้างแบบจำ�ลอง เพ่ืออธิบายการ เส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ ซ่ึงสะท้อน
ม อ ง เ ห็ น เ ส้ น ท า ง ก า ร ข้ึ น แ ล ะ ต ก ข อ ง ให้เห็นจินตนาการและแนวคิดใหม่
ดวงจันทร์
176 ตวั ช้ีวัด
๒. สร้างแบบจำ�ลองทอ่ี ธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจันทร์
การวิเคราะห์ตัวชีว้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชีว้ ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลง ด้านความรู้
รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือ ๑. อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของ
รู ป ร่ า ง ป ร า ก ฏ ข อ ง ด ว ง จั น ท ร์ ท่ี ม อ ง เ ห็ น บ น สอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ วดี ทิ ศั น์ ภาพเคลอ่ื นไหว เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารวางแผนการสงั เกต
ท้องฟ้าแต่ละวันแตกต่างกัน โดยดวงจันทร์จะมี ดวงจนั ทร์ ดวงจันทร์
ส่วนสว่างเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองจนสว่างทั้งดวง ๒. พยากรณร์ ปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทร์
จากนั้นดวงจันทร์จะมีส่วนสว่างลดลงอย่าง ๒. นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ตามที่ได้
ต่อเน่ือง จนไม่สามารถสังเกตเห็นส่วนสว่างได้ วางแผนไว้ บนั ทกึ ผล ดา้ นทักษะ
จากนน้ั สว่ นสวา่ งของดวงจนั ทรจ์ ะกลบั มาเพม่ิ ขน้ึ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
อกี ครงั้ การเปลยี่ นแปลงเช่นน้เี ปน็ แบบรูปซ�ำ้ กนั ๓. นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สอื วดี ทิ ศั น์ เวบ็ ไซตท์ นี่ า่ เชอื่ ถอื โปรแกรม
ด้านทักษะ ทางดาราศาสตร์ จากน้ันร่วมกันอภิปรายการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏ รายละเอียดการสังเกตรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
ของดวงจันทร์ทซ่ี ำ�้ ๆ กันในแต่ละเดือน ได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริงโดยไม่เพ่ิมความคิด
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เหน็ สว่ นตัว
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตรูปร่างปรากฏ ๔. นักเรียนร่วมกันออกแบบและสร้างแบบจำ�ลองแบบรูปการเปล่ียนแปลง ๒. ประเมินทักษะการพยากรณ์ จากการคาดคะเน
รปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์ แล้วน�ำ เสนอ เกี่ยวกับรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ในเดือนอื่น ๆ
ของดวงจันทร์ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง แม่นย�ำ
๒. ทักษะการพยากรณ์ โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับ ๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่า รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ที่ ๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแบบ
มองเหน็ บนทอ้ งฟา้ แตล่ ะวนั แตกตา่ งกนั โดยรปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ จำ�ลองท่ีแสดงให้เห็นถึงแนวคิดที่ถูกต้องเก่ียวกับ
แบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของ จะมีส่วนสว่างเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองจนสว่างทั้งดวง จากน้ันดวงจันทร์จะ แ บ บ รู ป ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง รู ป ร่ า ง ป ร า ก ฏ ข อ ง
ดวงจันทร์ เพื่อพยากรณ์รูปร่างปรากฏของ มีส่วนสวา่ งลดลงอย่างตอ่ เนอ่ื ง จนไมส่ ามารถสังเกตดวงจนั ทรไ์ ด้ จากน้ัน ดวงจนั ทร์
ดวงจนั ทรใ์ นเดอื นอนื่ ๆ ส่วนสว่างของดวงจันทร์จะกลับมาเพ่ิมขึ้นอีกครั้ง การเปล่ียนแปลงเช่นนี้
๓. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยการนำ� เกดิ ขึน้ อยา่ งตอ่ เนือ่ งเป็นแบบรูปทกุ เดอื น
ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นมาออกแบบและ
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อสร้างแบบจำ�ลอง ๖. ครูสร้างสถานการณ์ให้นักเรียนพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ใน
แบบรูปการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของ เดือนอื่น ๆ
ดวงจนั ทร์
การวเิ คราะหต์ ัวช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ 177
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ประถมศึกษาปีท่ี ๔
๑. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ
แนวทางการวัดและประเมินตวั ชว้ี ัด
แบบจ�ำ ลองเพอื่ อธบิ ายแบบรปู การเปลยี่ นแปลง
รูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ทั ก ษ ะ ด้ า น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ แ ล ะ ก า ร ทำ � ง า น ๑. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันปรึกษาหารือใน
การสังเกต สืบค้นข้อมูล สร้างแบบจำ�ลอง แบบจำ�ลองเพ่ืออธิบายแบบรูปการเปล่ียนแปลง
อ ภิ ป ร า ย แ ล ะ นำ � เ ส น อ เ กี่ ย ว กั บ แ บ บ รู ป รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
การเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็
ทมี จากการปรกึ ษาหารอื ในการสงั เกต สบื คน้ ขอ้ มลู
สร้างแบบจำ�ลองอภิปราย และนำ�เสนอเก่ียวกับ
แ บ บ รู ป ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง รู ป ร่ า ง ป ร า ก ฏ ข อ ง
ดวงจันทร์ ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแตเ่ ร่ิมต้นจนส�ำ เร็จลลุ ว่ ง
178 ตวั ช้วี ดั
๓. สร้างแบบจำ�ลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุรยิ ะ และอธบิ ายเปรียบเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจ�ำ ลอง
การวิเคราะหต์ ัวช้ีวดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกย่ี วกบั ระบบสรุ ยิ ะ โดย ดา้ นความรู้
อาจใชส้ ถานการณ์ หรอื คำ�ถาม หรือสื่อตา่ ง ๆ เชน่ วีดทิ ัศน์ รปู ภาพ เพ่อื ๑. อธบิ ายองค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ
ระบบสุริยะของเราเป็นระบบท่ีมีดวงอาทิตย์เป็น น�ำ ไปสกู่ ารสบื ค้นขอ้ มลู ๒. อธิบายเปรยี บเทียบคาบการโคจรของ
ศูนย์กลาง โดยมีโลกและดาวเคราะห์อ่ืน ๆ รวม
๘ ดวงเป็นบริวารโคจรอยู่โดยรอบ ซึ่งดาวเคราะห์ ๒. นกั เรยี นรว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู และอภปิ รายเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบ ต�ำ แหนง่ ดาวเคราะห์ต่าง ๆ
แตล่ ะดวงมขี นาดและระยะทางเฉลยี่ จากดวงอาทติ ย์ คาบการโคจรและลกั ษณะของดาวตา่ ง ๆ ในระบบสุรยิ ะ จากแหล่งข้อมูล
แตกต่างกัน ดาวเคราะห์ท่ีอยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ ตา่ ง ๆ เช่น เว็บไซตท์ ่นี ่าเชอ่ื ถอื และใบความรู้ ด้านทักษะ
มากท่ีสุดจะมีคาบการโคจรหรือเวลาที่ใช้ในการ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
โคจรรอบดวงอาทิตย์ ๑ รอบมากที่สุด นอกจากนี้ ๓. นักเรียนวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อมูลท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๑. ประเมนิ ทกั ษะการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปซ
ระบบสุริยะยังประกอบด้วย ดวงจันทร์บริวารของ ๆ ที่น่าเชื่อถือ จากนั้นคำ�นวณเพื่อย่อส่วนขนาดของดวงอาทิตย์และ
ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ และระยะทางเฉลี่ยจากดาวเคราะห์ถึงดวงอาทิตย์ให้ กั บ ส เ ป ซ แ ล ะ ส เ ป ซ กั บ เ ว ล า จ า ก ก า ร ส ร้ า ง
ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอื่น ๆ ท่ีโคจรอยู่รอบ เหมาะสม เพ่อื สร้างแบบจำ�ลองระบบสรุ ยิ ะ แบบจำ�ลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทติ ย์ ตำ � แ ห น่ ง ข อ ง ด า ว เ ค ร า ะ ห์ กั บ ค า บ ก า ร โ ค จ ร
๔. นักเรียนออกแบบและเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ และสร้างแบบจำ�ลองตามท่ี ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
ดา้ นทักษะ ออกแบบไว้ ๒. ประเมินทักษะการใช้จำ�นวน จากการคำ�นวณ
ย่อส่วนขนาดของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๕. นักเรียนนำ�เสนอองค์ประกอบและลักษณะของระบบสุริยะโดยใช้
๑. ทั ก ษ ะ ก า ร ห า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ส เ ป แบบจำ�ลองท่ีสร้างขึ้น พร้อมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำ�แหน่ง
ของดาวเคราะห์กับคาบการโคจรหรือระยะเวลาท่ีดาวเคราะห์ใช้ในการ
ซกับสเปซและสเปซกับเวลา โดยนำ�ข้อมูลท่ี โคจรรอบดวงทติ ย์ ๑ รอบ และเปรยี บเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะห์
ได้จากการสร้างแบบจำ�ลอง และอธิบายความ แต่ละดวง
สัมพันธ์ระหว่างตำ�แหน่งของ ดาวเคราะห์กับ
คาบการโคจร ๖. นักเรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงข้อสรุปว่า ระบบสุริยะของเราเป็น
๒. ทักษะการใช้จำ�นวน โดยคำ�นวณเพ่ือย่อส่วน ระบบท่ีมีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางและมีบริวารโคจรอยู่โดยรอบ ได้แก่
ขนาดของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ และ ดาวเคราะห์ ๘ ดวงรวมท้ังโลก โดยดาวเคราะห์แต่ละดวงมีขนาดและ
ระยะทางเฉล่ียจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน ดาวเคราะห์ท่ีอยู่ไกลจากดวง
วทิ ยาศาสตร์
ประถมศึกษาปที ่ี ๔
การวเิ คราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ช้ีวดั 179
ระยะห่างระหวา่ งดาวเคราะหก์ ับดวงอาทติ ย์ อาทติ ยม์ ากทส่ี ดุ มคี าบการโคจรมากทส่ี ดุ นอกจากนรี้ ะบบสรุ ยิ ะยงั และระยะห่างระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ได้อย่าง
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ประกอบด้วย ดวงจันทร์บริวารของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ถูกต้อง
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุขนาดเล็กอ่ืน ๆ ท่ีโคจรอยู่รอบ ๓. ประเมินทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ดวงอาทิตย์ จ า ก ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย ข้ อ มู ล แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป เ กี่ ย ว กั บ
เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างตำ�แหน่งของ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ตำ � แ ห น่ ง ข อ ง ด า ว เ ค ร า ะ ห์ กั บ
ดาวเคราะห์กบั คาบการโคจรของดาวเคราะห์ คาบการโคจรของดาวเคราะหใ์ นระบบสรุ ยิ ะไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
๔. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยออกแบบ ๔. ประเมนิ การสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลองทแี่ สดงใหเ้ หน็
และเลือกใช้วัสดุมาสร้างแบบจำ�ลองระบบ ถึงแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของ
สุริยะ เพื่ออธิบายลักษณะและองค์ประกอบ ระบบสรุ ิยะ
ของระบบสรุ ิยะ
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี จาก
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
การสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและลงข้อสรุป
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล และการสร้างแบบจำ�ลองระบบสุริยะ ร่วมกับผู้อ่ืน ต้ังแต่
วิเคราะห์ข้อมูล อภิปรายและลงข้อสรุป และ เริ่มตน้ จนสำ�เรจ็ ลุล่วง
การสร้างแบบจ�ำ ลองระบบสุรยิ ะ ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอแบบ
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ จ�ำ ลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสรุ ยิ ะและเปรยี บเทยี บ
แ บ บ จำ � ล อ ง แ ส ด ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง คาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้
ระบบสุริยะที่สร้างขึ้น และเปรียบเทียบคาบ อยา่ งรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
การโคจรของดาวเคราะหต์ า่ ง ๆ ๓. ประเมินทักษะด้านการสร้างสรรค์ จากการออกแบบและ
๓. ทักษะด้านการสร้างสรรค์ โดยการออกแบบ สร้างแบบจำ�ลองอธิบายลักษณะและองค์ประกอบของ
และสรา้ งแบบจ�ำ ลอง เพอ่ื อธบิ ายลกั ษณะและ ระบบสุริยะ ซึ่งสะท้อนให้เห็นจินตนาการและแนวคิดใหม่
องค์ประกอบของระบบสุรยิ ะ ๔. ประเมนิ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ โดยการวเิ คราะห์
๔. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของระบบสุริยะกับลักษณะ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของ ของวัสดุ และตัดสินใจเลือกวัสดุที่เหมาะสมไปใช้สร้าง
ระบบสรุ ยิ ะกบั ลกั ษณะของวสั ดุ และตดั สนิ ใจ แบบจำ�ลองไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
เลือกวสั ดุท่เี หมาะสมไปใชส้ รา้ งแบบจำ�ลอง
180
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ วิทยาศาสตร์
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕
181
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ ไมม่ ีชวี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมชี ีวิตกับสิง่ มชี ีวิตตา่ ง ๆ
ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทม่ี ตี ่อทรพั ยากร
ธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั น�ำ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา้ ใจกระบวนการและความสำ�คัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม สารพนั ธกุ รรม การเปลยี่ นแปลงทางพันธกุ รรม
ทีม่ ผี ลต่อสิ่งมชี วี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสงิ่ มีชีวิต รวมทง้ั น�ำ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตัวชว้ี ัด
๑. บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่เี หมาะสมกับการดำ�รงชวี ติ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมชี ีวติ ในแตล่ ะแหลง่ ที่อยู่
การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ช้ีวดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับแหล่งที่อยู่และปัจจัยท่ีมีผลต่อ ดา้ นความรู้
การดำ�รงชีวิตของส่ิงมีชีวิต จากนั้นกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและ
สง่ิ มชี วี ติ ทงั้ พชื และสตั วม์ โี ครงสรา้ งและลกั ษณะ ตงั้ ค�ำ ถามเกย่ี วกบั โครงสรา้ งและลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ของสงิ่ มชี วี ติ ทอี่ ยใู่ น ๑. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่
ท่ีเหมาะสมกับแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ซ่ึงเป็นผลมา แหล่งท่ีอยู่ท่ีมีสภาพแวดล้อมต่างกัน โดยอาจใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น รูปภาพ เหมาะสมกบั การด�ำ รงชวี ิตในแหลง่ ท่ีอยู่
จากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพ่ือให้สามารถ ภาพเคลอื่ นไหว วดี ทิ ศั น์ เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสงั เกตโครงสรา้ งและลกั ษณะของ
ดำ�รงชวี ิตและอยู่รอดไดใ้ นแต่ละแหลง่ ที่อยู่ เช่น สงิ่ มชี วี ติ ท่ีเหมาะสมกบั แหลง่ ทีอ่ ยู่ ๒. อธบิ ายการปรบั ตวั ของสงิ่ มีชีวติ
ผกั ตบชวามชี อ่ งอากาศในกา้ นใบ ชว่ ยใหล้ อยน�้ำ
ได้ ต้นโกงกางท่ีข้ึนอยู่ในป่าชายเลนมีรากคำ้�จุน ๒. นักเรียนสำ�รวจแหล่งที่อยู่ สังเกตโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่
ท�ำ ใหล้ �ำ ตน้ ไมล่ ม้ ปลามคี รบี ชว่ ยในการเคลอื่ นท่ี เหมาะสมกบั แหลง่ ทอ่ี ยขู่ องสง่ิ มชี วี ติ นน้ั ๆ ทพี่ บในทอ้ งถนิ่ หรอื สงั เกตจาก
ในน�้ำ รูปภาพ วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว ท่ีครูเตรียมไว้ บันทึกผลการสังเกตโดย
วาดภาพ เขียนบรรยาย หรือวิธอี ่นื ๆ และน�ำ เสนอ
หมายเหตุ :
แหลง่ ทอ่ี ยหู่ มายถึงบรเิ วณทีส่ ่งิ มีชวี ติ อาศยั อยู่
182 การวิเคราะห์ตวั ชวี้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชี้วดั
ดา้ นทกั ษะ ๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการสังเกต เพื่อลงข้อสรุปว่า ดา้ นทกั ษะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตมีความเหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ของ
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตโครงสร้างและ สง่ิ มชี วี ติ เชน่ ผกั ตบชวามชี อ่ งอากาศในกา้ นใบ ชว่ ยใหล้ อยน�ำ้ ได้ ตน้ โกงกาง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ที่ข้ึนอยู่ในป่าชายเลนมีรากคำ้�จุนทำ�ให้ลำ�ต้นไม่ล้ม ปลามีครีบช่วยใน ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ กบั แหลง่ ทอ่ี ยทู่ สี่ ง่ิ มชี วี ติ การเคล่อื นทใ่ี นนำ้�
นน้ั อาศัยอยู่ เก่ียวกับการสังเกตโครงสร้างและลักษณะของ
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยแสดง ๔. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ กบั นกั เรยี นวา่ การทส่ี งิ่ มชี วี ติ มโี ครงสรา้ งและลกั ษณะ สิ่งมีชีวิต และลักษณะของแหล่งท่ีอยู่ท่ีส่ิงมีชีวิตน้ัน
ความคิดเห็นและเช่ือมโยงความรู้เก่ียวกับ ที่เหมาะสมกับแหล่งท่ีอยู่ของสิ่งมีชีวิตนั้น เป็นผลมาจากการปรับตัวของ อาศัยอยู่ได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่ม
โครงสรา้ งและลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ติ ทม่ี คี วาม ส่ิงมีชีวิต ทำ�ให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำ�รงชีวิตและอยู่รอดได้ โดยอาจใช้ ความคิดเหน็ ส่วนตวั
เหมาะสมกับแหล่งที่อยูข่ องส่งิ มีชวี ิตนั้น ๆ ส่อื ต่าง ๆ เช่น รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว วดี ิทศั น์ ประกอบการอธิบาย ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ลงความเห็นในผลการสังเกตเก่ียวกับโครงสร้างและ
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ๕. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่มีการปรับตัวให้มี ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่มีความเหมาะสมกับแหล่ง
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน โครงสร้างและลักษณะที่เหมาะสมกับการดำ�รงชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ ทอี่ ยูข่ องสงิ่ มีชวี ติ น้นั ๆ
และนำ�เสนอในรปู แบบทีน่ ่าสนใจ
เ ป็ น ที ม โ ด ย มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร สั ง เ ก ต ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
การสบื คน้ ขอ้ มลู และการแสดงความคดิ เหน็ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เก่ยี วกับการปรับตัวของส่ิงมีชวี ิต
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู เป็นทีม จากการสังเกต การสืบค้นข้อมูล และ
ท่ีได้จากการสังเกต การสืบค้นข้อมูล และ การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับตัวของ
การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับตัว สิ่งมชี ีวติ ร่วมกบั ผูอ้ ื่นต้ังแต่เรม่ิ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลุล่วง
ของสงิ่ มชี ีวิต ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต การสืบค้นข้อมูลและการ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต
เพ่อื ใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และชดั เจน
ตัวช้วี ดั วิทยาศาสตร์
๒. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งสงิ่ มีชีวติ กบั ส่ิงมชี ีวิต และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่ิงมีชวี ติ กับสิ่งไม่มชี วี ิต เพอื่ ประโยชน์ตอ่ การด�ำ รงชวี ติ
๓. เขยี นโซ่อาหารและระบุบทบาทหนา้ ท่ีของสง่ิ มชี ีวิตที่เป็นผผู้ ลติ และผู้บริโภคในโซ่อาหาร ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
๔. ตระหนักในคุณค่าของสิง่ แวดลอ้ มทีม่ ีต่อการดำ�รงชวี ิตของสิง่ มีชวี ติ โดยมสี ่วนร่วมในการดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม
183
การวเิ คราะห์ตวั ช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ช้ีวดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการดำ�รงชีวิต ดา้ นความรู้
ของส่ิงมีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่ต่าง ๆ โดยอาจใช้วิธีซักถาม หรือใช้สื่อต่าง ๆ
๑. ในแหล่งท่ีอยู่หน่ึง ๆ มีส่ิงมีชีวิตหลายชนิด เช่น รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ สถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อนำ�ไปสู่ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต
อาศยั อยดู่ ว้ ยกนั และมคี วามสมั พนั ธก์ นั เชน่ การวางแผนการส�ำ รวจสงิ่ มชี วี ติ และการด�ำ รงชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
นกกินหนอนเป็นอาหาร นกอาศัย หลบภัย ในแหล่งทอ่ี ยู่เดยี วกนั ในแหลง่ ที่อยเู่ ดยี วกัน
และเล้ียงดูลูกอ่อนอยู่บนต้นไม้ และ
ส่ิงมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต ๒. นกั เรยี นส�ำ รวจตามแผนทวี่ างไวแ้ ละสบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ จากสอื่ หรอื แหลง่ ๒. เขียนโซ่อาหารแสดงความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิต
เชน่ สง่ิ มชี วี ติ ใชอ้ ากาศในการหายใจ สงิ่ มชี วี ติ เรียนรอู้ ื่น ๆ เชน่ วดี ทิ ศั น์ อนิ เทอรเ์ นต็ บนั ทกึ ผลการส�ำ รวจโดยวาดภาพ กบั สงิ่ มีชวี ติ ในด้านการกินตอ่ เป็นทอด ๆ
ใช้น้ำ�หรือดนิ เปน็ ทีอ่ ยูอ่ าศัย เขยี นบรรยาย หรอื วิธีอืน่ ๆ และนำ�เสนอ
๓. ระบผุ ผู้ ลิตและผู้บริโภคในโซอ่ าหาร
๒. ส่ิงมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์ในด้านการกินกัน ๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่ได้จากการสำ�รวจและการสืบค้นข้อมูล
เป็นอาหาร มีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ใน เพ่ืออธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตกบั ส่งิ มชี ีวิต และความสมั พันธ์
รูปแบบของโซ่อาหาร โดยส่ิงมีชีวิตที่สร้าง ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่น้ัน ๆ และร่วมกันลงข้อสรุป
อาหารเองได้จะมีบทบาทเป็นผู้ผลิต และ ได้ว่า ในแหล่งที่อยู่หน่ึง ๆ มีส่ิงมีชีวิตหลายชนิดอาศัยอยู่ด้วยกัน และมี
สิ่งมีชีวิตท่ีไม่สามารถสร้างอาหารเองได้จะ ความสัมพันธ์กัน เช่น นกกินหนอนเป็นอาหาร นกอาศัยและหลบภัยอยู่
มบี ทบาทเป็นผบู้ รโิ ภคในโซ่อาหาร บนต้นไม้ และส่ิงมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์กับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น สิ่งมีชีวิตใช้
อากาศในการหายใจ สิง่ มีชีวิตใช้น�ำ้ หรือดนิ เปน็ ท่ีอยู่อาศัย
หมายเหตุ :
ไม่จำ�เป็นต้องให้นักเรียนอธิบายความสัมพันธ์ ๔. ครูยกตัวอย่างสถานการณ์ท่ีแสดงความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตในด้าน
ระหว่างส่งิ มชี ีวติ กับส่ิงมชี วี ติ ในภาวะตา่ ง ๆ เชน่ การกินต่อกันเป็นทอด ๆ โดยให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่ามีส่ิงมีชีวิต
ภาวะไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน ใดบ้าง และมีลำ�ดับการกินกันเป็นอย่างไร จากน้ันครูอธิบายวิธีการเขียน
โซ่อาหาร และระบสุ ง่ิ มชี ีวิตทีเ่ ปน็ ผ้ผู ลติ และผ้บู ริโภคในโซอ่ าหาร
184 การวิเคราะห์ตัวชีว้ ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ดั
ดา้ นทักษะ ๕. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและเขยี นโซอ่ าหารจากขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการส�ำ รวจ ด้านทักษะ
และการสืบค้นข้อมูลที่ผ่านมา หรือจากสื่อหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ครู
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เตรยี มให้ พร้อมระบสุ งิ่ มชี วี ิตท่เี ป็นผ้ผู ลติ และผ้บู รโิ ภคในโซอ่ าหารนั้น ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยสงั เกตการด�ำ รงชวี ติ ของ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
๖. นักเรียนร่วมกันนำ�เสนอโซ่อาหาร และร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปได้
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในแหล่งที่อยู่หน่ึง ๆ และ ว่าส่งิ มชี ีวติ ทีม่ ีความสัมพันธใ์ นดา้ นการกินกนั เป็นอาหาร มกี ารกินต่อกนั เกี่ยวกับการสังเกตการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตใน
ความสมั พนั ธ์ของส่ิงมีชีวิต เป็นทอด ๆ ในรูปแบบของโซ่อาหาร โดยสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้จะ แหล่งที่อยู่หนึ่ง ๆ และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยแสดง มีบทบาทเป็นผู้ผลิต และส่ิงมีชีวิตที่ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้จะมี ได้ครบถ้วน ตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความ
ความคิดเห็นและเช่ือมโยงข้อมูลจากผล บทบาทเปน็ ผูบ้ ริโภค คดิ เหน็ ส่วนตวั
การสำ�รวจและการสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต ๗. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การดแู ลสงิ่ แวดลอ้ มเพอ่ื ใหค้ วามสมั พนั ธ์ ลงความเห็นในผลการสำ�รวจและการสืบค้นข้อมูล
และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสงิ่ มชี วี ติ กบั สง่ิ ไมม่ ี ของสงิ่ มชี วี ติ กบั สง่ิ แวดลอ้ มคงอยไู่ ดต้ ลอดไป โดยครอู าจใหน้ กั เรยี นเขยี น เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต
ชวี ิตในแหลง่ ทอ่ี ยู่น้นั ๆ คำ�ขวัญ ทำ�โปสเตอร์รณรงค์ให้ดูแลส่ิงแวดล้อม หรือจัดกิจกรรมดูแล และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ใน
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย สงิ่ แวดลอ้ มให้กบั ทอ้ งถิน่ แหล่งทอี่ ยนู่ ั้น ๆ ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลการดำ�รงชีวิตของ ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
สิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำ�รวจ ข้อมูล จากการวาดภาพ เขียนบรรยาย หรือ
การสบื คน้ ขอ้ มลู และการอภปิ ราย มาวาดภาพ วิธีอื่น ๆ เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิต
เขียนบรรยาย หรือวิธีอื่น ๆ เกี่ยวกับความ กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ในแหลง่ ทอ่ี ยเู่ ดยี วกนั การเขยี นโซอ่ าหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มี และการดูแลสิ่งแวดล้อม ได้อย่างเหมาะสม และ
ชวี ติ ในแหลง่ ทอี่ ยเู่ ดยี วกนั การเขยี นโซอ่ าหาร ช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่าง
และการดูแลสิง่ แวดลอ้ ม รวดเรว็ และชัดเจน
วทิ ยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั 185
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการสำ�รวจ การ เป็นทีม จากการสำ�รวจ การนำ�เสนอผลงาน และ
นำ�เสนอผลงาน และการแสดงความคิดเห็น การแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิต สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง
กับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ สิ่ ง ไ ม่ มี ชี วิ ต ใ น แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่ เ ดี ย ว กั น
สง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ในแหลง่ ทอี่ ยเู่ ดยี วกนั การเขียนโซ่อาหาร การระบุผู้ผลิต ผู้บริโภคในโซ่
การเขียนโซ่อาหาร การระบผุ ผู้ ลติ ผูบ้ รโิ ภค อาหาร และการมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม
ในโซ่อาหารและการมีส่วนร่วมในการดูแล ร่วมกบั ผู้อื่น ตง้ั แต่เร่ิมตน้ จนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง
ส่งิ แวดล้อม ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอผล
๒. ทักษะด้านการส่อื สาร โดยการน�ำ เสนอผลที่ การส�ำ รวจ การสบื คน้ ขอ้ มลู และการอภปิ รายเกย่ี วกบั
ไดจ้ ากส�ำ รวจ การสบื คน้ ขอ้ มลู และการแสดง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ มชี วี ติ และความ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง สัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิตในแหล่งท่ีอยู่
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ เดียวกัน เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตในแหล่งที่ และถกู ตอ้ ง
อยู่เดียวกนั
ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ประเมินความตระหนักในคุณค่าของส่ิงแวดล้อมที่มีต่อ
ต ร ะ ห นั ก ใ น คุ ณ ค่ า ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ท่ี มี ต่ อ การด�ำ รงชวี ติ ของสงิ่ มชี วี ติ จากการมสี ว่ นรว่ มในการดแู ล
การดำ�รงชีวิตของส่งิ มชี ีวติ รกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม
186 ตัวชี้วดั
๕. อธบิ ายลักษณะทางพนั ธกุ รรมทมี่ กี ารถา่ ยทอดจากพ่อแมส่ ่ลู ูกของพชื สัตว์ และมนุษย์
๖. แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดยการถามค�ำ ถามเก่ยี วกับลักษณะท่ีคล้ายคลึงกนั ของตนเองกบั พ่อแม่
การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ัด
ด้านความรู้ ๑. ครูทบทวนความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับวัฏจักรชีวิตของพืชและสัตว์ โดยครูใช้ ดา้ นความรู้
วธิ ซี กั ถาม หรอื ใชส้ อื่ ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพเคลอ่ื นไหว วดี ทิ ศั น์ และกระตนุ้ ให้
๑. สง่ิ มชี วี ติ ทงั้ พชื สตั ว์ และมนษุ ยเ์ มอ่ื โตเตม็ ทจี่ ะ นกั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตง้ั ค�ำ ถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะของลกู วา่ จะมลี กั ษณะ อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมของพืชสัตว์ และมนุษย์
มีการสืบพันธุ์เพื่อเพ่ิมจำ�นวนและดำ�รงพันธุ์ เหมือนหรอื แตกตา่ งจากพอ่ แมอ่ ย่างไร ท่มี ีการถา่ ยทอดจากพอ่ แมไ่ ปสลู่ ูก
โดยลกู ทเี่ กดิ มาจะไดร้ บั การถา่ ยทอดลกั ษณะ
ทางพันธุกรรมจากพ่อ แม่ ทำ�ให้มีลักษณะ ๒. นักเรียนร่วมกันสังเกตลักษณะของส่ิงมีชีวิตชนิดต่าง ๆ ทั้งพืช สัตว์ และ
ทางพนั ธกุ รรมทเี่ ฉพาะแตกตา่ งจากสง่ิ มชี วี ติ มนุษยท์ เ่ี ป็นพ่อแม่ ลูก จากรปู ท่คี รเู ตรียมไว้
ชนิดอ่นื
๓. นักเรียนจัดสิ่งมีชีวิตท่ีอยู่ครอบครัวเดียวกันไว้ด้วยกัน นำ�เสนอ และ
๒. ลักษณะทางพันธุกรรมเป็นลักษณะที่มีการ ร่วมกนั อภปิ รายเหตุผลในการจัดสง่ิ มชี วี ิตให้อยู่ในครอบครวั เดียวกัน
ถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก ลูกอาจมีลักษณะ
ทางพันธุกรรมบางลักษณะเหมือนพ่อ หรือ ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ สงิ่ มชี วี ติ ในครอบครวั เดยี วกนั จะ
เหมือนแม่ หรืออาจไม่เหมือนทั้งพ่อและแม่ มลี กั ษณะบางลกั ษณะทเี่ หมอื นกนั หรอื คลา้ ยคลงึ กนั ระหวา่ งพอ่ แม่ และลกู
ลักษณะทางพนั ธกุ รรม บางลกั ษณะสามารถ
สังเกตได้ เช่น ลักษณะของใบ สีดอกเป็น ๕. ครใู หค้ วามรเู้ พมิ่ เตมิ วา่ ลกั ษณะของลกู ทเ่ี หมอื นหรอื คลา้ ยคลงึ กบั พอ่ แมน่ ้ี
ลักษณะทางพันธุกรรมของพืช ลักษณะของ เป็นลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก โดยอาจใช้
ขน หู สีขนเป็นลักษณะทางพันธุกรรมของ ใบความรหู้ รือสือ่ ตา่ ง ๆ ประกอบการอธบิ าย
สัตว์ ลักษณะของเชิงผมที่หน้าผาก ลักยิ้ม
ลักษณะหนงั ตา การหอ่ ล้ิน ลักษณะของติ่งหู ๖. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นตง้ั ค�ำ ถามเกยี่ วกบั ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของตนเอง
เป็นลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมนุษย์ ทไ่ี ดร้ บั การถา่ ยทอดจากพอ่ และแม่ เชน่ เชงิ ผมทห่ี นา้ ผาก ลกั ยม้ิ ลกั ษณะ
หนังตา การห่อลิ้น ลักษณะของติ่งหู โดยบันทึกคำ�ถาม วางแผน และหา
คำ�ตอบด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสอบถาม การสังเกตลักษณะของพ่อ
และแมเ่ ปรียบเทียบกับของตัวเองจากรปู หรอื ตวั อย่างจรงิ บนั ทกึ ผล และ
น�ำ เสนอในรูปแบบที่นา่ สนใจ
วทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕
การวิเคราะห์ตัวชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวช้ีวดั 187
หมายเหตุ : ด้านทกั ษะ
ในบางกรณีนักเรียนอาจพบว่าลักษณะทาง
พั น ธุ ก ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง ไ ม่ เ ห มื อ น พ่ อ แ ล ะ แ ม่ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แต่อาจเหมือนกับปู่ ย่า ตา และยาย ครูอาจ ๑. ประเมนิ การสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั
อ ธิ บ า ย เ พ่ิ ม เ ติ ม ว่ า ลั ก ษ ณ ะ ท า ง พั น ธุ ก ร ร ม
บ า ง ลั ก ษ ณ ะ อ า จ ไ ม่ แ ส ด ง อ อ ก ใ น รุ่ น พ่ อ แ ม่ การสงั เกตลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทสี่ งั เกตไดข้ องพอ่ แม่
แต่อาจแสดงออกในรุ่นลูกหลาน ดังนั้นลักษณะ กับลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ได้ครบถ้วนตามความ
ทางพนั ธกุ รรมจงึ เปน็ การถา่ ยทอดจากรนุ่ พอ่ แม่ เป็นจรงิ โดยไมเ่ พ่ิมความคิดเห็นสว่ นตัว
หรอื บรรพบรุ ุษสู่ลูกหลาน ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ลงความเห็นในผลการสังเกตเกี่ยวกับลักษณะทาง
ดา้ นทักษะ พันธุกรรมของลูกว่าเหมือนหรือคล้ายคลึงกับพ่อแม่
ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตลักษณะทาง
พันธุกรรมท่ีสังเกตได้ของพ่อแม่กับลูกของ
พืช สัตว์ และมนุษย์
๒. ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล โดยแสดง
ความคิดเห็นและเชื่อมโยงผลการสังเกต
เกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมของลูกว่า
เหมอื นหรือคลา้ ยคลึงกบั พอ่ แม่
188 การวิเคราะหต์ ัวช้ีวัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชีว้ ัด
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็
โดยมีส่วนร่วมในการสังเกต การนำ�เสนอ ทมี จากการสงั เกต การน�ำ เสนอ และการแสดงความ
และการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะ คิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมของของพืช
ทางพนั ธกุ รรมของพืช สัตว์ และมนษุ ย์ สตั ว์ และมนษุ ย์ รว่ มกบั ผอู้ นื่ ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนส�ำ เรจ็
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล ลุลว่ ง
ท่ีได้จากสังเกตและการแสดงความคิดเห็น ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
เก่ียวกับลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์ ข้อมูลที่ได้จากสังเกต และการแสดงความคิดเห็น
และมนุษย์ เก่ียวกับลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์และ
มนุษย์ เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน
ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์ และถกู ตอ้ ง
แสดงความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับลักษณะที่ ด้านจติ วทิ ยาศาสตร์
คลา้ ยคลึงกันของตนเองกบั พอ่ แม่ ประเมินการแสดงความอยากรู้อยากเห็น จากการถาม
คำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันของตนเองกับ
พ่อแม่
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕ วทิ ยาศาสตร์
สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยว 189
ระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำ�วนั ผลของแรงทก่ี ระท�ำ ตอ่ วตั ถุ ลักษณะการเคลื่อนทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ
รวมทงั้ นำ�ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตวั ชวี้ ดั
๑. อธบิ ายการเปล่ยี นสถานะของสสารเมือ่ ทำ�ใหส้ สารร้อนขนึ้ หรอื เย็นลง โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
การวิเคราะหต์ วั ชีว้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครทู บทวนความรพู้ นื้ ฐานเกยี่ วกบั สถานะของสสารและตรวจสอบความรู้ ด้านความรู้
เดิมเก่ียวกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร โดยอาจใช้การซักถาม หรือ
สสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สื่อตา่ ง ๆ เชน่ รูปภาพ วดี ิทศั น์ ๑. อธบิ ายการเปล่ียนสถานะต่าง ๆ ของสสาร
สามารถเปลี่ยนสถานะได้เม่ือทำ�ให้ร้อนข้ึนหรือ ๒. ระบชุ ่ือการเปลย่ี นสถานะต่าง ๆ ของสสาร
เย็นลง ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการเปลี่ยน
เรียกว่า การหลอมเหลว ของเหลวเปลี่ยน สถานะของสสารโดยอาจใชค้ �ำ ถาม ใชก้ ารสาธติ หรอื สอื่ ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ
สถานะเป็นแก๊ส เรียกว่า การกลายเป็นไอ ซึ่งมี วดี ทิ ศั น์ หรอื ตวั อยา่ งสสาร เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารท�ำ กจิ กรรมการเปลย่ี นสถานะ
ทั้งการเดือดและการระเหย แก๊สเปลี่ยนสถานะ ของสสาร
เป็นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น ของเหลว
เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็ง ๓. นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมโดยสงั เกตลกั ษณะสสารที่เป็นของแขง็ ของเหลว
ตัว ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกว่า และแก๊ส บันทึกผล และสังเกตการเปล่ียนแปลงของสสารท่ีเป็นของแข็ง
การระเหดิ สว่ นแก๊สเปลี่ยนสถานะเปน็ ของแขง็ ของเหลวและแก๊ส เมื่อทำ�ให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง บันทึกผล และ
เรียกว่า การระเหดิ กลบั นำ�เสนอ
190 การวิเคราะห์ตัวชว้ี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชีว้ ดั
ดา้ นทกั ษะ ๔. ครูใช้ผลการสังเกตซ่ึงเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ของนักเรียนท้ังช้ันและ ด้านทกั ษะ
ใชค้ �ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและลงขอ้ สรปุ วา่ เมอ่ื ท�ำ ใหส้ สาร
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ร้อนข้ึน สสารจะเปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว จากของเหลว ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตลักษณะของ เป็นแก๊ส หรือจากของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว และ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากผลการบนั ทกึ ลกั ษณะ
เมื่อทำ�ให้สสารเย็นลง สสารจะเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว
สสารที่เป็นของแข็ง ของเหลวและแก๊สและ หรือของเหลวเป็นของแข็ง หรือจากแก๊สเป็นของแข็งโดยไม่ผ่านการเป็น ของสสารที่เป็นของแข็ง ของเหลวและแก๊สและ
สังเกตการเปล่ียนแปลงของสสารเมื่อทำ�ให้ ของเหลว ผลการบันทึกการเปลี่ยนแปลงของสสารเมื่อทำ�ให้
ร้อนขึน้ หรอื เยน็ ลง บนั ทกึ สิ่งท่ีสงั เกตได้ ร้อนขึ้นหรือเย็นลงตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่ม
๒. ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ ๕. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการระบุช่ือการเปลี่ยนสถานะจากของแข็ง ความคิดเห็นส่วนตวั
กับสเปซและสเปซกบั เวลา โดยบรรยายการ เป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส ๒. ประเมินทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างและปริมาตรของสสาร เรียกว่า การกลายเป็นไอ ซึ่งมีทั้งการเดือดและการระเหย แก๊สเปลี่ยน กับสเปซและสเปซกับเวลา จากการบรรยายการ
เมอ่ื เปล่ยี นสถานะ สถานะเป็นของเหลว เรียกว่า การควบแน่น ของเหลวเปลี่ยนสถานะ เปล่ียนแปลงรูปร่างและปริมาตรของสสารเม่ือเกิด
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย เป็นของแข็งเรียกว่าการแข็งตัว ของแข็งเปล่ียนสถานะเป็นแก๊ส เรียกว่า การเปลีย่ นสถานะได้ถกู ตอ้ ง
ข้อมูลโดยนำ�ข้อสรุปการเปล่ียนสถานะของ การระเหิด ส่วนแก๊สเปลย่ี นสถานะเป็นของแขง็ เรยี กวา่ การระเหิดกลับ ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
สสารมาเขียนในรูปแบบตา่ ง ๆ ข้อมูล จากการนำ�ข้อสรุปการเปล่ียนสถานะของ
๔. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการ ๖. นักเรียนสำ�รวจเหตุการณ์หรือการเปล่ียนแปลงท่ีเป็นการเปลี่ยนสถานะ สสารมาเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ได้ถูกต้องครบถ้วน
นำ � ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ม า อ ธิ บ า ย ของสสารในชวี ติ ประจ�ำ วนั เชน่ การเกดิ น�้ำ คา้ ง การเกดิ ฝน การเกดิ ลกู เหบ็ และชัดเจน
การเปลย่ี นสถานะของสสาร การตากผา้ การท�ำ ไอศกรมี การระเหดิ ของการบรู จากนน้ั รว่ มกนั วเิ คราะห์ ๔. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
๕. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ การเปลีย่ นสถานะและระบชุ ือ่ การเปลย่ี นสถานะ บนั ทึกผลและนำ�เสนอ นำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตมาอธิบายการเปล่ียน
โดยการตีความหมายข้อมูลที่นำ�เสนอแล้ว สถานะตา่ ง ๆ ของสสารไดถ้ กู ตอ้ ง
อภิปรายร่วมกันเพ่ือลงข้อสรุปเรื่องการ ๗. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและออกแบบวิธีการนำ�เสนอการเปล่ียน ๕. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
เปล่ยี นสถานะของสสาร สถานะของสสารพร้อมระบุช่ือการเปลี่ยนสถานะโดยใช้ซอฟต์แวร์ จากการตีความหมายข้อมูลที่นำ�เสนอแล้วอภิปราย
ประยกุ ต์ ร่วมกันเพื่อลงข้อสรุปเร่ืองการเปลี่ยนสถานะของ
สสารไดถ้ ูกตอ้ งและครบถ้วน