วทิ ยาศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
การวเิ คราะห์ตัวชี้วัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ช้ีวดั 241
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากการสืบค้นข้อมูลเพ่ืออธิบาย
เพื่ออธิบายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบ หนา้ ทขี่ องแตล่ ะสว่ นประกอบในวงจรไฟฟา้ ไดอ้ ยา่ ง
ในวงจรไฟฟ้า สมเหตสุ มผล
๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
และการสอื่ สาร โดยการสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การส่ือสาร จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหน้าที่
หน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของวงจร ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย จ า ก แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ที่ เ ช่ื อ ถื อ ไ ด้ แ ล ะ มี ก า ร อ้ า ง อิ ง
แหล่งข้อมูลที่สบื คน้
ตวั ชี้วดั
๕. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีทเ่ี หมาะสมในการอธิบายวิธกี ารและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
๖. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรูข้ องการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจ�ำ วัน
การวเิ คราะหต์ ัวชว้ี ัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตัวชว้ี ดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ด้านความรู้
แบบอนุกรม โดยอาจใช้กิจกรรมสาธิต ใช้สื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์ หรือใช้
๑. เมื่อนำ�เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน การซกั ถาม เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารทดลองวธิ กี ารตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ทที่ �ำ ใหม้ พี ลงั งาน ๑. อธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ
โดยให้ข้ัวบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หนึ่ง ไฟฟ้ามากขึ้น อนกุ รม
ต่อกับขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้าอีกเซลล์หนึ่ง
เป็นการต่อแบบอนุกรม ทำ�ให้มีพลังงาน ๒. ระบุประโยชน์จากการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
ไฟฟ้ามากข้ึน เหมาะสมกบั เคร่ืองใช้ไฟฟา้ และยกตัวอย่างการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมใน
ชีวติ ประจ�ำ วัน
242 การวเิ คราะห์ตัวช้วี ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วัด
๒. การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมสามารถน�ำ ไป ๒. นักเรียนออกแบบวิธีการทดลองในการต่อเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์ ระบุ ดา้ นทกั ษะ
ใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจ�ำ วัน ตัวแปร และสมมติฐานในการทดลอง ออกแบบตารางการบันทึกผล
การทดลอง ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ด้านทักษะ ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
๓. นกั เรยี นปฏบิ ัติการทดลองตามท่ไี ด้ออกแบบไว้ เพื่อตรวจสอบสมมติฐาน
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สังเกตและบนั ทึกผลลงในตาราง การท�ำ งานของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้ ทม่ี เี ซลล์
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายการทำ�งาน ไฟฟ้าเซลล์เดียวและในวงจรไฟฟ้าท่ีมีการต่อเซลล์
๔. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลที่ได้จากการทำ� ไฟฟ้าแบบอนุกรมตามความเป็นจริง โดยไม่เพิ่ม
ข อ ง เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ไ ฟ ฟ้ า ใ น ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า ที่ มี การทดลอง ความคิดเห็นสว่ นตัว
เซลล์ไฟฟ้าเซลล์เดียวและในวงจรไฟฟ้าท่ีมี ๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ๕. นั ก เ รี ย น นำ � เ ส น อ แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ข้อมูล จากการออกแบบตารางบันทึกผลและ
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย แปลความหมายจากการทดลอง และน�ำ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษม์ าสนบั สนนุ นำ � เ ส น อ ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ต่ อ เ ซ ล ล์ ไ ฟ ฟ้ า
ข้อมูล โดยการออกแบบตารางบันทึกผล เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การต่อเซลล์ไฟฟ้า ๒ เซลล์ โดยให้ข้ัวบวกของเซลล์ แบบอนุกรมด้วยรูปแบบหรือวิธีการท่ีเข้าใจง่าย
และการนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับผลของการ ไฟฟา้ เซลลห์ นง่ึ ตอ่ กบั ขว้ั ลบของเซลลไ์ ฟฟา้ อกี เซลลห์ นง่ึ ท�ำ ใหม้ พี ลงั งาน นา่ สนใจ
ต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ดว้ ยรูปแบบหรือ ไฟฟ้าเพ่มิ ขึ้น ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
วิธกี ารต่าง ๆ เช่ือมโยงความรู้ในเร่ืองพลังงานไฟฟ้ากับข้อมูลท่ี
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย ๖. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าเมื่อนำ�เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์มาต่อเรียงกัน โดย สังเกตได้เพื่อลงความเห็นและอธิบายเกี่ยวกับการ
อ ภิ ป ร า ย แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ให้ขั้วบวกของเซลล์ไฟฟ้าเซลล์หน่ึงต่อกับขั้วลบของเซลล์ไฟฟ้าอีกเซลล์ ต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและประโยชน์ของการ
พลงั งานไฟฟา้ กบั ขอ้ มลู ทสี่ งั เกตไดม้ าอธบิ าย หนง่ึ เรยี กวา่ การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม ท�ำ ใหม้ พี ลงั งานไฟฟา้ มากกวา่ ต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รมไดอ้ ย่างมเี หตุผล
การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมและประโยชน์ การตอ่ กับเซลลไ์ ฟฟ้าเพียงเซลลเ์ ดียว ๔. ทักษะการตั้งสมมติฐาน จากการคาดการณ์ผลของ
ของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รม ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตามที่
๔. ทักษะการต้ังสมมติฐาน โดยคาดการณ์ผล ๗. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นตง้ั ค�ำ ถามใหมเ่ กย่ี วกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม เก่ียวขอ้ งกับการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รมไดอ้ ย่าง
ของความสมั พนั ธข์ องตวั แปรตน้ และตวั แปร ในเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในชวี ิตประจ�ำ วนั เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ข้อมูล เหมาะสม
ตามที่เก่ียวข้องกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าหลาย
เซลล์แบบอนุกรม ๘. นักเรียนช่วยกันสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีใช้เซลล์
ไฟฟ้า และมีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น
เวบ็ ไซตท์ ี่มีความนา่ เชือ่ ถือทางวชิ าการ หนงั สอื ในห้องสมุด บันทึกผล
๙. นักเรียนนำ�เสนอผลการสืบค้นข้อมูล ร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่ามี
เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจำ�วันท่ีต้องใช้เซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์ จะมีการ
ต่อเซลลไ์ ฟฟ้าแบบอนกุ รม เชน่ รถของเล่น ไฟฉาย รโี มทโทรทัศน์ วิทยุ
วิทยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
การวเิ คราะห์ตวั ชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ดั 243
๕. ทักษะการกำ�หนดนิยามเชิงปฏิบัติการ โดย ๕. ทกั ษะการก�ำ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จากการก�ำ หนด
กำ�หนดความหมายและขอบเขตของคำ� ความหมายและขอบเขตของคำ�ต่าง ๆ ที่สอดคล้อง
ตา่ ง ๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั การทดลองเพอื่ อธบิ าย กั บ ก า ร ท ด ล อ ง เ พ่ื อ อ ธิ บ า ย ก า ร ต่ อ เ ซ ล ล์ ไ ฟ ฟ้ า
การต่อเซลล์ไฟฟา้ หลายเซลลแ์ บบอนุกรม แบบอนุกรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๖. ทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร โดย ๖. ประเมินทักษะการกำ�หนดและควบคุมตัวแปร
กำ�หนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร จากการระบตุ วั แปรตน้ ตวั แปรตาม และตวั แปรควบคมุ
ควบคมุ ในการทดลองเรอ่ื งการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ ไดค้ รบถว้ น ถูกตอ้ ง
หลายเซลลแ์ บบอนกุ รม
๗. ประเมินทักษะการทดลอง จากการปฏิบัติกิจกรรม
๗. ทักษะการทดลอง โดยปฏิบัติการทดลอง ได้ตามขั้นตอนและการบันทึกข้อมูลผลการทดลอง
และออกแบบตารางบันทึกผลการทดลอง ไดค้ รบถ้วน ถกู ต้อง
เรื่องการต่อเซลล์ไฟฟ้าหลายเซลล์แบบ
อนุกรมเพ่อื ทดสอบสมมติฐานที่ระบไุ ว้ ๘. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
จากการทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีสังเกตและสืบค้นได้
๘. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ และลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลท่ีบันทึกได้ หรือ และประโยชน์ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมได้
ความสัมพันธ์ของข้อมูล เพ่ือลงข้อสรุป ถูกตอ้ งและครบถว้ น
เก่ียวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
และประโยชน์ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
อนกุ รม ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการต่อวงจรไฟฟ้า
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน การสังเกต การสืบค้นข้อมูล และการอภิปรายและ
ลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมและ
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการต่อวงจร ประโยชน์ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมร่วมกับ
ไฟฟ้า การสังเกต การสืบค้นข้อมูล และ ผูอ้ น่ื ตั้งแต่เร่มิ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลุลว่ ง
การอภปิ รายเกยี่ วกบั การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบ
อนกุ รมและประโยชนข์ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้
แบบอนุกรม
244 การวิเคราะหต์ วั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ช้ีวัด
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
จากการสงั เกต การสบื คน้ ขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ ข้อมูลจากการสังเกต การสบื คน้ ขอ้ มูล มาวิเคราะห์
เพื่ออธิบายเกี่ยวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ เพื่ออธิบายเก่ียวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม
อนกุ รมและประโยชนข์ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ และประโยชนข์ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมใน
แบบอนกุ รม รปู แบบท่ผี อู้ ่นื เข้าใจง่าย และถกู ตอ้ ง
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มลู จากการ วิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลจากการ
ทดลองและจากการสบื คน้ ขอ้ มูลเพ่ืออธิบาย สงั เกตและจากการสบื คน้ ขอ้ มลู เพอื่ อธบิ ายเกยี่ วกบั
เก่ียวกับการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและ การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและประโยชน์ของ
ประโยชนข์ องการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์ สอ่ื สาร จากการใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการสบื คน้ ขอ้ มลู
ประยุกต์ เพ่ือสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล อยา่ งถกู ตอ้ ง มจี รยิ ธรรมโดยไมค่ ดั ลอกงานของผอู้ น่ื
และนำ�เสนอข้อมูลเก่ียวกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ี มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลท่ีสืบค้น และใช้ซอฟต์แวร์
ใช้เซลล์ไฟฟ้า และมีการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบ ประยตุ ใ์ นการจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอขอ้ มลู เกย่ี วกบั
อนกุ รม เคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่ใช้เซลล์ไฟฟ้า และมีการต่อ
เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมได้อยา่ งเหมาะสม
ด้านจติ วิทยาศาสตร์
ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อ
เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และ ประเมนิ ความตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรขู้ องการ
การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำ�วนั ต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมจากการบอกประโยชน์และ
การประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจ�ำ วันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
วิทยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
ตัวชวี้ ัด 245
๗. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีทีเ่ หมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน
๘. ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของความรขู้ องการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนาน โดยบอกประโยชน์ ข้อจำ�กดั และการประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจ�ำ วนั
การวิเคราะห์ตวั ชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับการต่อ ดา้ นความรู้
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยอาจใช้กิจกรรมสาธิต ๑. อธิบายและเปรียบเทียบการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ
๑. การต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมเป็นการต่อ ใช้ส่ือต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์แสดงเหตุการณ์ท่ีมีหลอดไฟฟ้าบางดวงสว่าง
หลอดไฟฟ้าแบบเรียงกันโดยกระแสไฟฟ้าที่ บางดวงดับ หรือใช้การซักถาม เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรมการต่อ อนกุ รมและแบบขนาน
ผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเป็นกระแสไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน ๒. ระบุประโยชน์จากการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
จำ�นวนเดียวกัน เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าดวงใด
ดวงหน่ึงออกทำ�ให้หลอดไฟฟ้าท่ีเหลือดับ ๒. นักเรียนออกแบบวิธีการต่อหลอดไฟฟ้า ๒ ดวง โดยให้ออกแบบ ๒ วิธีที่ และแบบขนาน และยกตัวอย่างเหตุการณ์หรือการ
ทงั้ หมด ท�ำ ใหห้ ลอดไฟฟา้ สวา่ งเพอื่ เปรยี บเทยี บวงจรไฟฟา้ ทมี่ กี ารตอ่ หลอดไฟฟา้ ต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานในชีวิต
ทง้ั ๒ วธิ นี ั้น บันทึกผล ประจำ�วนั
๒. การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนานเป็นการต่อ
หลอดไฟฟ้าท่ีหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงต่อคร่อม ๓. นกั เรยี นตอ่ วงจรไฟฟา้ ๒ วธิ ี ตามทไ่ี ดอ้ อกแบบไว้ จากนน้ั ถอดหลอดไฟฟา้ ด้านทกั ษะ
กัน ทำ�ให้มีกระแสไฟฟ้าแยกผ่านหลอดไฟฟ้า ของแตล่ ะวงจรออก ๑ ดวง สงั เกตการเปลย่ี นแปลงของหลอดไฟฟา้ ทเ่ี หลอื ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แตล่ ะดวง เมอื่ ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนงึ่ ในวงจร บันทึกผล ๑. ประเมนิ ทกั ษะการสงั เกต จากการบนั ทกึ รายละเอยี ด
ออก หลอดไฟฟา้ ทีเ่ หลือก็ยังสว่างอยู่
๔. นักเรียนนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม ร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐาน ความสว่างของหลอดไฟฟ้าที่เหลือในวงจรไฟฟ้า
๓. การตอ่ หลอดไฟฟา้ แตล่ ะแบบสามารถน�ำ ไปใช้ เชิงประจักษ์เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าการต่อหลอดไฟฟ้าแบบเรียงกันเมื่อ เม่ือถอดหลอดไฟฟ้าออก ๑ ดวง จากวงจรไฟฟ้าที่
ประโยชน์ไดแ้ ตกต่างกัน ถอดหลอดไฟฟ้าดวงใดดวงหน่ึงออกทำ�ให้หลอดไฟฟ้าท่ีเหลือดับท้ังหมด มีการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
เนื่องจากกระแสไฟฟ้าท่ีผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวงเป็นกระแสไฟฟ้า
ด้านทกั ษะ จ�ำ นวนเดยี วกนั สว่ นการตอ่ หลอดไฟฟา้ ใหห้ ลอดไฟฟา้ แตล่ ะดวงตอ่ ครอ่ ม
กนั เมอ่ื ถอดหลอดไฟฟา้ ดวงใดดวงหนง่ึ ออก หลอดไฟฟา้ ทเ่ี หลอื กย็ งั สวา่ ง
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้ เนอื่ งจากมกี ระแสไฟฟ้าแยกผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละดวง
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายความสว่างของ
๕. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าการต่อหลอดไฟฟ้าแบบเรียงกันเป็นการต่อ
หลอดไฟฟ้าท่ีเหลือในวงจรไฟฟ้า เม่ือถอด หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม ส่วนการต่อหลอดไฟฟ้าท่ีต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละ
หลอดไฟฟ้าออก ๑ ดวง จากวงจรไฟฟ้าท่ีมี ดวงคร่อมกันเปน็ การต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน
การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน
246 การวิเคราะห์ตวั ชี้วัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชีว้ ัด
๒. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยอภปิ ราย ๖. นกั เรยี นเขยี นแผนภาพการตอ่ หลอดไฟฟา้ ทงั้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน ตามความเปน็ จรงิ โดยไม่เพิม่ ความคิดเหน็ ส่วนตวั
และเช่ือมโยงความรู้เก่ียวกับวงจรไฟฟ้ากับ น�ำ เสนอผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จากการ
ขอ้ มลู ทสี่ งั เกตไดม้ าอธบิ ายการตอ่ หลอดไฟฟา้
แบบอนุกรมและแบบขนาน ๗. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของการ เชอื่ มโยงความรใู้ นเรอ่ื งวงจรไฟฟา้ กบั ขอ้ มลู ทสี่ งั เกต
ต่อหลอดไฟฟ้าแต่ละแบบเพ่ือนำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการต่อ ได้เพ่ือลงความเห็นและอธิบายเก่ียวกับการต่อ
๓. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อ เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ในชวี ิตประจำ�วนั หลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนานไดถ้ กู ตอ้ ง
สรุป โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้ ๓. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
จากการสังเกตและการสืบค้นเพ่ือลงข้อสรุป ๘. นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู บนั ทกึ ผล จากนน้ั น�ำ เสนอและรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื จากการท�ำ ความเขา้ ใจขอ้ มลู ทส่ี งั เกตและสบื คน้ เพอ่ื
เก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม ลงขอ้ สรปุ ว่าการตอ่ เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าภายในบา้ นเป็นการต่อแบบขนานเพอ่ื ลงข้อสรุปเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม
และแบบขนาน และประโยชน์ของการต่อ ให้สามารถเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟา้ เครือ่ งใดเคร่ืองหนึง่ ได้ตามต้องการ และแบบขนาน และประโยชนข์ องการตอ่ แตล่ ะแบบ
แตล่ ะแบบ ได้ถูกตอ้ งและครบถว้ น
๙. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าแบบอนุกรมจะใช้กับการต่อ
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ อปุ กรณไ์ ฟฟา้ บางชนดิ เชน่ การตอ่ ฟวิ สใ์ นวงจรไฟฟา้ ภายในบา้ น เมอื่ ฟวิ ส์ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ขาดเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทัง้ หมดในบา้ นจะทำ�งานไม่ได้ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยมีส่วนร่วมในการต่อวงจรไฟฟ้า เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการต่อวงจรไฟฟ้า
การสงั เกต การสบื คน้ ขอ้ มลู และการอภปิ ราย การสงั เกต การสบื คน้ ขอ้ มลู และการอภปิ รายเกย่ี วกบั
เก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม การตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน และ
และแบบขนาน และประโยชน์ของการต่อ ประโยชน์ของการต่อแต่ละแบบร่วมกับผู้อื่นต้ังแต่
แตล่ ะแบบ เรม่ิ ต้นจนสำ�เร็จลุลว่ ง
๒. ทกั ษะด้านการส่ือสาร โดยการน�ำ เสนอข้อมลู ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
จากการสังเกต การสืบคน้ ขอ้ มูล มาวิเคราะห์ ข้อมูลที่สังเกต สืบค้น มาวิเคราะห์เพ่ืออธิบาย
เพื่ออธิบายเกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ เกี่ยวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบ
อนกุ รมและแบบขนาน และประโยชนข์ องการ ขนาน และประโยชน์ของการต่อแต่ละแบบให้ผู้อ่ืน
ต่อแตล่ ะแบบ เขา้ ใจง่าย และถกู ต้อง
วิทยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
การวเิ คราะห์ตวั ชี้วัด แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้ีวดั 247
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตและจาก วิเคราะห์ข้อมูลจากการสังเกตและจากการสืบค้น
การสืบค้นข้อมูลเพื่ออธิบายเกี่ยวกับการต่อ ข้อมูลเพ่ืออธิบายเก่ียวกับการต่อหลอดไฟฟ้าแบบ
หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนาน และ อนุกรมและแบบขนาน และประโยชน์ของการต่อ
ประโยชน์ของการต่อแต่ละแบบ แต่ละแบบไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
๔. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ ๔. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
การสอื่ สาร จากการใช้เทคโนโลยซี อฟตแ์ วร์ สอื่ สาร จากการใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการสบื คน้ ขอ้ มลู
ประยุกต์ช่วยในการสืบค้นและนำ�เสนอ อยา่ งถกู ตอ้ ง มจี รยิ ธรรมโดยไมค่ ดั ลอกงานของผอู้ นื่
ข้อมูลเก่ียวกับการต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้าใน มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลท่ีสืบค้น และใช้ซอฟต์แวร์
ชีวติ ประจำ�วัน ประยุต์หรือเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสมในการ
นำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับเกี่ยวกับการต่อเครื่องใช้
ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ ไฟฟา้ ในชีวิตประจ�ำ วนั ได้อยา่ งเหมาะสม
ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อ
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานโดย ด้านจิตวิทยาศาสตร์
บอกประโยชน์ ข้อจำ�กัด และการประยกุ ตใ์ ชใ้ น
ชีวิตประจำ�วัน ประเมนิ ความตระหนกั ถงึ ประโยชนข์ องความรขู้ องการ
ตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบอนกุ รมและแบบขนานจากการบอก
ประโยชน์ ขอ้ จ�ำ กดั และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
248 ตวั ชวี้ ัด
๙. อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์
๑๐. เขยี นแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการเกดิ เงามืดเงามวั
การวิเคราะห์ตัวชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วัด
ด้านความรู้ ๑. ครตู รวจสอบความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั การเกดิ เงาในชวี ติ ประจ�ำ วนั โดยใชค้ �ำ ถาม ดา้ นความรู้
หรอื ส่อื ต่าง ๆ เชน่ รปู ภาพ วีดิทศั น์
๑. เม่ือนำ�วัตถุทึบแสงมาก้ันแสงจะเกิดเงาบน ๑. อธบิ ายการเกดิ เงา
ฉากรับแสงทอ่ี ยดู่ า้ นหลังวัตถุ ๒. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับการเกิดเงา โดย ๒. อธบิ ายและบอกความแตกตา่ งระหวา่ งเงามดื เงามวั
อาจใชก้ ารซกั ถาม ใชก้ จิ กรรมสาธติ เชน่ การใชม้ อื ท�ำ ใหเ้ กดิ เงาแบบตา่ ง ๆ
๒. เงามืดเป็นบริเวณบนฉากที่ไม่มีแสงตกกระ หรือให้นักเรียนดูวีดิทัศน์การเชิดหนังตะลุง เพื่อนำ�ไปสู่การทำ�กิจกรรม และเขียนแผนภาพแสดงการเกดิ เงามืด เงามวั
ทบส่วนเงามัวเป็นบริเวณบนฉากท่ีมีแสงตก การเกดิ เงา ๓. ยกตัวอย่างการนำ�ความรู้เรื่องการเกิดเงาไปใช้
กระทบบางสว่ น
๓. นักเรียนออกแบบการท�ำ กิจกรรมเพ่ือหาคำ�ตอบเกี่ยวกับการเกิดเงาและ ประโยชน์
๓. การเกดิ เงาสามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชนต์ า่ ง ๆ ได ้ ลกั ษณะของเงาโดยใชอ้ ปุ กรณท์ กี่ �ำ หนด เชน่ ไฟฉาย ลกู ปงิ ปอง กระดาษแขง็
และปฏิบัติกจิ กรรมตามทอ่ี อกแบบไว้ บนั ทึกผลและน�ำ เสนอ ดา้ นทกั ษะ
ดา้ นทกั ษะ
๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์มาสนับสนุนเพ่ือ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ให้ได้ข้อสรุปว่าการเกิดเงาจะต้องมีแหล่งกำ�เนิดแสง วัตถุทึบแสงท่ีนำ�มา ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกราย
๑. ทักษะการสังเกต โดยบรรยายลักษณะของ กน้ั แสง และฉาก โดยเมอ่ื มวี ตั ถทุ บึ แสงมากน้ั การเคลอ่ื นทข่ี องแสงจะท�ำ ให้
เกดิ เงาบนฉาก โดยพืน้ ทีบ่ นฉากบางบริเวณไม่มแี สงตกกระทบ และพืน้ ท่ี ละเอียดลักษณะของเงาตามความเป็นจริง โดย
เงาที่เกดิ ข้ึนบนฉาก บนฉากบางบรเิ วณมแี สงตกกระทบบางสว่ น โดยเงาอาจมรี ปู รา่ งคลา้ ยกบั ไมเ่ พิ่มความคิดเห็นส่วนตัว
๒. ทั ก ษ ะ ก า ร ห า ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง วตั ถุท่กี ้นั แสง ๒. ประเมินทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซ
กับสเปซและสเปซกับเวลา จากการบอกความ
สเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา โดยบอก ๕. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมว่าบริเวณบนฉากท่ีไม่มีแสงตกกระทบเลย เรียกว่า สัมพันธ์ของรูปร่างหรือรูปทรงของวัตถุที่นำ�มา
ความสมั พนั ธข์ องรปู รา่ งหรอื รปู ทรงของวตั ถุ เงามืด ส่วนบริเวณบนฉากทม่ี ีแสงตกกระทบบางสว่ นเรียกวา่ เงามัว และ ก้ันแสงกับรูปร่างของเงาท่ีปรากฏบนฉากได้อย่าง
ที่นำ�มาก้ันแสงกับรูปร่างของเงาท่ีปรากฏ เขยี นแผนภาพรงั สีของแสงแสดงการเกดิ เงามดื เงามวั ถูกต้อง
บนฉาก ๓. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จากการทำ�ความเข้าใจและวิเคราะห์ผลการสังเกต
โดยทำ�ความเข้าใจข้อมูลที่บันทึกได้ เพื่อลง และลงข้อสรุปเก่ียวกับการเกิดเงาและลักษณะของ
ข้อสรุปเก่ียวกับการเกิดเงาและลักษณะ เงาได้ถูกต้องและครบถ้วน
ของเงา
วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖
การวิเคราะห์ตวั ชว้ี ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วัด 249
๔. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยเขยี นแผนภาพ ๖. ครูกระตุ้นให้นักเรียนสงสัยและสร้างคำ�ถามใหม่เกี่ยวกับการนำ�ความรู้ ๔. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแผนภาพ
รงั สขี องแสงแสดงการเกดิ เงามดื เงามัว เก่ียวกับการเกิดเงาไปใช้ประโยชน์ นักเรียนช่วยกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับ รงั สีของแสงแสดงการเกิดเงามืด เงามวั ไดถ้ ูกตอ้ ง
เรอื่ งนจี้ ากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ เวบ็ ไซตท์ มี่ คี วามนา่ เชอ่ื ถอื ทางวชิ าการ
ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ หนงั สอื ในหอ้ งสมดุ บนั ทกึ ผลและน�ำ เสนอผลการสบื คน้ ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน เช่น การแสดงละครเงา การใช้ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เ ป็ น ที ม โ ด ย มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น อ อ ก แ บ บ ๗. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ลงขอ้ สรปุ วา่ เงามปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ เป็นทีม จากการมีส่วนร่วมในการวางแผนการ
การทำ�กิจกรรม สืบค้นข้อมูล อภิปราย เชน่ การใชร้ ม่ กนั แดดหรอื การหลบแดดใตเ้ งาตน้ ไม้ นอกจากนยี้ งั สามารถ ทำ�กิจกรรม สืบค้นข้อมูล อภิปราย จากการ
การท�ำ กจิ กรรมและการสืบคน้ ข้อมลู เก่ยี วกับ ใช้เงาเพอ่ื ความบนั เทงิ เชน่ ละครเงา หนังตะลงุ ทำ�กิจกรรมและการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดเงา
การเกิดเงา ลักษณะของเงา และประโยชน์ ลักษณะของเงา และประโยชน์ของเงาร่วมกับผู้อื่น
ของเงา ตง้ั แต่เร่ิมตน้ จนสำ�เรจ็ ลลุ ว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร จากการน�ำ เสนอขอ้ มลู
จากการทดลอง และผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากการปฏิบัติกิจกรรม และผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ท่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรมและการสืบค้น ท่ีได้จากการปฏิบัติกิจกรรมและการสืบค้นข้อมูล
ข้อมลู เพอ่ื อธบิ ายการเกิดเงา เกยี่ วกบั ประโยชนข์ องเงาในรปู แบบทผี่ อู้ นื่ เขา้ ใจงา่ ย
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ และถูกต้อง
สื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีหรือซอฟต์แวร์ ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ประยุกต์ที่เหมาะสม เพื่อสืบค้นข้อมูล สอื่ สาร จากการใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ยในการสบื คน้ ขอ้ มลู
จัดกระทำ�ข้อมูล และนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับ อย่างถูกต้องมีจริยธรรมโดยไม่คัดลอกงานของผู้อ่ืน
ก า ร นำ � ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ กิ ด เ ง า ไ ป ใ ช้ มีการอ้างอิงแหล่งข้อมูลที่สืบค้น และใช้ซอฟต์แวร์
ประโยชน์ ประยกุ ตใ์ นการจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอขอ้ มลู เกยี่ วกบั
การนำ�ความรู้เก่ียวกับการเกิดเงาไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างเหมาะสม
250 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมท้ัง
ปฏิสัมพนั ธ์ภายในระบบสุริยะทส่ี ง่ ผลต่อส่ิงมชี วี ติ และการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
ตวั ชี้วัด
๑. สร้างแบบจ�ำ ลองท่ีอธบิ ายการเกิดและเปรยี บเทียบปรากฏการณส์ ุรยิ ุปราคาและจันทรุปราคา
การวเิ คราะหต์ ัวชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับการเกิด ด้านความรู้
สุริยุปราคาและจันทรุปราคา โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือ
๑. เม่ือโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ในแนว สื่อต่าง ๆ เช่น รูปภาพ วีดิทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนำ�ไปสู่การสร้าง อ ธิ บ า ย ก า ร เ กิ ด แ ล ะ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์
เสน้ ตรงเดยี วกนั กบั ดวงอาทติ ย์ โดยดวงจนั ทร ์ แบบจำ�ลอง สุรยิ ุปราคาและจันทรปุ ราคา
อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์และโลก ในระยะทาง
ที่เหมาะสม ทำ�ให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและออกแบบสร้างแบบจำ�ลอง เพ่ืออธิบาย
เงาของดวงจันทร์ที่ทอดมายังโลกทำ�ให้ การเกิดปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาตามความเข้าใจของตัวเอง
เกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา โดยผู้สังเกต
ท่ีอยู่บริเวณเงาของดวงจันทร์จะมองเห็น ๓. นักเรียนนำ�เสนอ และใช้แบบจำ�ลองท่ีสร้างขึ้นอธิบายเกี่ยวกับการเกิด
ดวงอาทติ ย์มดื ไปทั้งดวงหรือมืดไปบางส่วน ปรากฏการณส์ รุ ยิ ุปราคา
๒. เม่ือโลกและดวงจันทร์โคจรมาอยู่ในแนว ๔. นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ที่น่าเช่ือถือ
เส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ โดยโลก เกีย่ วกบั การเกดิ สรุ ิยปุ ราคา
อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ใน
ระยะทางที่เหมาะสมทำ�ให้เงาของโลกทอด ๕. นักเรียนวิเคราะห์ความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
ไปในอวกาศ เมื่อดวงจันทร์โคจรผ่านเงา เพอ่ื ใช้ในการปรับปรงุ แบบจ�ำ ลองที่สร้างขน้ึ มากอ่ น
ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา โดย
ผู้สังเกตบนโลกจะมองเห็นดวงจันทร์มืดไป ๖. นกั เรยี นอภปิ รายและเชอ่ื มโยงความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตและการอภปิ ราย
ท้ังดวงหรือมดื ไปบางส่วน จากแบบจำ�ลองเพ่ือลงข้อสรุปว่า เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจรมาอยู่ใน
แนวเสน้ ตรงเดยี วกนั กบั ดวงอาทติ ย์ โดยดวงจนั ทรอ์ ยรู่ ะหวา่ งดวงอาทติ ย์
และโลก ในระยะทางท่ีเหมาะสม ทำ�ให้ดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์ เงาของ
วทิ ยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖
การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวัด แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ช้วี ดั 251
ด้านทกั ษะ ดวงจันทร์ที่ทอดมายังโลก โดยผู้สังเกตที่อยู่บริเวณเงาของ ดา้ นทักษะ
ดวงจันทร์จะมองเห็นดวงอาทิตย์มืดไปท้ังดวงหรือมืดไปบางส่วน
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เรยี ก ปรากฏการณ์สรุ ิยุปราคา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตตำ�แหน่ง ๗. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามใหม่เก่ียวกับ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึกการสังเกต
การเกิดจันทรุปราคา สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับการเกิด
ของ ดวงอาทติ ย์ โลกและดวงจนั ทรจ์ ากแบบ จันทรุปราคาจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่เชื่อถือได้ และร่วมกัน ตำ�แหน่งของ ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์จาก
จ�ำ ลองการเกดิ สุริยปุ ราคาและจนั ทรุปราคา อภปิ ราย เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งระหวา่ งการ แบบจำ�ลองการเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคา ได้
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ เกดิ สุรยิ ุปราคากับจันทรุปราคา ครบถว้ น ตามความเปน็ จรงิ โดยไมเ่ พม่ิ ความคดิ เหน็ สว่ นตวั
โดยวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น และ ๘. นกั เรยี นน�ำ ขอ้ มลู จากการสบื คน้ และอภปิ รายมาออกแบบและสรา้ ง ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จาก
จากแบบจำ�ลอง เพื่อลงข้อสรุปเกี่ยวกับ แบบจ�ำ ลองเพ่อื อธิบายการเกดิ จนั ทรปุ ราคา การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ เกยี่ วกบั การเกดิ และ
การเกิดและการเปรียบเทียบปรากฏการณ์ ๙. นักเรียนอภิปรายและเชื่อมโยงความรู้ที่ได้จากการสังเกตและการ การเปรยี บเทยี บปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา
สุริยปุ ราคาและจันทรปุ ราคา อภิปรายจากแบบจำ�ลองเพ่ือลงข้อสรุปว่า เมื่อโลกและดวงจันทร์ ได้อย่างถูกตอ้ ง
๓. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดวงอาทิตย์ โดยโลกอยู่ ๓. ประเมินทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง จากแบบจำ�ลองที่
ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลมาออกแบบและ ระหว่างดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ในระยะทางท่ีเหมาะสมทำ�ให้ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ แนวคดิ ทถ่ี กู ตอ้ งเกยี่ วกบั การเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคา
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพ่ือสร้างแบบจำ�ลอง เงาของโลกทอดไปในอวกาศเม่ือดวงจันทร์โคจรผ่านเงา ผู้สังเกต และจันทรุปราคา
การเกดิ สรุ ิยปุ ราคาและจันทรุปราคา บนโลกจะมองเห็นดวงจันทร์มืดไปทั้งดวงหรือมืดไปบางส่วนเรียก
ปรากฏการณ์จันทรุปราคา โดยสุริยุปราคาและจันทรุปราคาเป็น ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑ ปรากฏการณ์ท่ีเหมือนกันท่ีเป็นความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน โลก และดวงจนั ทร์ แตต่ า่ งกนั ทตี่ �ำ แหนง่ ของดวงอาทติ ย์ โลก และ
ดวงจันทร์ ซงึ่ มผี ลทำ�ใหเ้ กดิ ปรากฏการณ์เหล่านี้ จากการอภิปราย สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ
เปน็ ทมี โดยนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย สบื คน้ นำ�เสนอเก่ียวกับการเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคา
ขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู และน�ำ เสนอเกยี่ วกบั ร่วมกบั ผอู้ ่ืน ตัง้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนส�ำ เรจ็ ลุล่วง
การเกิดสุรยิ ปุ ราคาและจนั ทรุปราคา ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร จากการน�ำ เสนอแบบจ�ำ ลอง
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอ การเกิดสรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา เพื่อให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจได้
แ บ บ จำ � ล อ ง ก า ร เ กิ ด สุ ริ ยุ ป ร า ค า แ ล ะ อยา่ งรวดเร็ว ชัดเจน และถูกต้อง
จันทรปุ ราคา ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเพ่ือออกแบบและสร้าง
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล แบบจ�ำ ลองการเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคาและจนั ทรปุ ราคา จากแหลง่
เพื่อออกแบบและสร้างแบบจำ�ลองการเกิด ข้อมูลท่ีเช่ือถอื ไดแ้ ละมกี ารอา้ งองิ แหล่งข้อมูลท่สี บื ค้น
สุริยุปราคาและจนั ทรุปราคา
252 ตวั ชีว้ ัด
๒. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตวั อย่างการนำ�เทคโนโลยีอวกาศมาใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำ�วัน จากข้อมลู ที่รวบรวมได้
การวิเคราะห์ตวั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชว้ี ัด
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับ พัฒนาการ ด้านความรู้
ของเทคโนโลยีอวกาศ รวมถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ โดย ๑. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศต้ังแต่
๑. เทคโนโลยีอวกาศเร่ิมจากการท่ีมนุษย์สังเกต อาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น วีดิทัศน์ รูปภาพ
วตั ถทุ อ้ งฟา้ โดยใชต้ าเปลา่ จากนน้ั ไดเ้ รมิ่ พฒั นา โปรแกรมทางดาราศาสตร์ อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเริ่มตั้งแต่การพัฒนา
ทัศนูปกรณ์แบบต่าง ๆ เช่น กล้องโทรทรรศน์ กล้องโทรทรรศน์ จนถึงการส่งมนุษย์ออกไปยัง
กลอ้ งโทรทรรศนอ์ วกาศ ตลอดจนมกี ารใชจ้ รวด ๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการเทคโนโลยีอวกาศ และ อวกาศ
และยานขนส่งอวกาศ เพื่อเก็บข้อมูลนอกโลก ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ พรอ้ มยกตวั อยา่ งความกา้ วหนา้ และ ๒. ยกตวั อยา่ งประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศทมี่ นษุ ย์
และพฒั นาความรดู้ ้านดาราศาสตร์และอวกาศ การใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั จากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ เวบ็ ไซต์ นำ�มาใช้เพ่อื อ�ำ นวยความสะดวกในชีวติ ประจ�ำ วัน
ท่เี ช่อื ถือได้ จากนน้ั รวบรวมขอ้ มูล บันทกึ ผล
๒. มนุษย์นำ�เทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ใน ดา้ นทักษะ
ชีวิตประจำ�วัน เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการ ๓. นกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละอภปิ รายความสอดคลอ้ งของขอ้ มลู ทไี่ ด้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ส่ือสาร การพยากรณ์อากาศ และการสำ�รวจ จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ จากนัน้ สำ�รวจการใชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยี ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้อุปกรณ์วัดชีพจร อวกาศดา้ นต่าง ๆ ในประเทศ
และอตั ราการเตน้ ของหวั ใจ หมวกนริ ภยั ชดุ กฬี า ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น เร่ือง
๔. นักเรียนจัดกระทำ�ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และนำ�เสนอในรูปแบบที่ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีเกี่ยวข้องกับชีวิต
ดา้ นทักษะ นา่ สนใจ ประจำ�วันมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า เทคโนโลยีอวกาศเร่ิมจาก ขอ้ มูลไดอ้ ย่างรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมายข้อมูล การสังเกตด้วยตาเปล่า แล้วพัฒนาเป็นกล้องโทรทรรศน์แบบต่าง ๆ
กล้องโทรทรรศน์อวกาศ รวมทั้งมีการใช้จรวดและยานอวกาศเพ่ือ
โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น เร่ือง เก็บข้อมูลและพัฒนาความรู้ด้านดาราศาสตร์และอวกาศ มนุษย์นำ�
ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีเกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยอี วกาศมาใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจ�ำ วนั อยา่ งมากมาย เพอ่ื
ชวี ิตประจ�ำ วนั มาจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอ อำ�นวยความสะดวกในชีวิตประจำ�วัน
วิทยาศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
การวเิ คราะหต์ ัวชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชว้ี ัด 253
๒. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
โดยวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นข้อมูล จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเก่ียวกับ
และจากการอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปเก่ียวกับ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศท่ีมนุษย์นำ�มาใช้
ประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศทม่ี นษุ ยน์ �ำ มา เพื่ออำ�นวยความสะดวกในชีวิตประจำ�วัน ได้อย่าง
ใช้เพอ่ื อ�ำ นวยความสะดวกในชวี ติ ประจำ�วนั ถกู ตอ้ ง
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เปน็ ทมี โดยสบื คน้ ขอ้ มลู วเิ คราะหข์ อ้ มลู และ เป็นทีม จากการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และ
อภิปราย เพ่ือยกตัวอย่างความก้าวหน้าและ อภิปราย เพ่ือยกตัวอย่างความก้าวหน้าและการใช้
การใชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศในชวี ติ ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศในชีวิตประจำ�วัน
ประจำ�วนั ร่วมกับผอู้ น่ื ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนส�ำ เร็จลลุ ่วง
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอผล ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
การสบื คน้ ขอ้ มลู และการจดั กระท�ำ ขอ้ มลู โดย ผลการสืบค้นข้อมูลและการจัดกระทำ�ข้อมูล โดย
ยกตัวอย่างความก้าวหน้าและประโยชน์ของ ย ก ตั ว อ ย่ า ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง
เทคโนโลยอี วกาศทมี่ นษุ ยน์ �ำ มาใชเ้ พอื่ อ�ำ นวย เทคโนโลยีอวกาศที่มนุษย์นำ�มาใช้เพ่ืออำ�นวย
ความสะดวกในชีวิตประจำ�วนั ความสะดวกในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ อยา่ งรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ต้อง
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
เพ่ือยกตัวอย่างความก้าวหน้าและการใช้ การสื่อสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล เพื่อ
ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี อ ว ก า ศ ใ น ชี วิ ต ยกตัวอย่างความก้าวหน้าและการใช้ประโยชน์ของ
ประจำ�วัน เทคโนโลยอี วกาศในชวี ติ ประจ�ำ วนั จากแหลง่ ขอ้ มลู
ทีเ่ ชื่อถือได้ และมกี ารอา้ งอิงแหล่งข้อมูลทสี่ ืบค้น
254 ตวั ช้ีวัด
๓. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิดหนิ อัคนี หินตะกอน และหนิ แปร และอธิบายวัฏจักรหนิ จากแบบจำ�ลอง
การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวช้วี ัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และตั้งคำ�ถามเกี่ยวกับลักษณะและ ด้านความรู้
ประเภทของหนิ โดยอาจใชส้ ถานการณ์ ค�ำ ถาม หรอื สอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ
๑. หินเป็นวัสดุแข็งเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ของหินชนิดตา่ ง ๆ เพ่ือน�ำ ไปสกู่ ารสังเกตหิน ๑. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย แ ร่ ตั้ ง แ ต่ ห นึ่ ง ช นิ ด ข้ึ น ไ ป และหนิ แปร
หินจำ�แนกออกได้ ๓ ประเภท โดยใช้ ๒. ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตหนิ จากชดุ ตวั อยา่ งหนิ รวบรวมขอ้ มลู จากนนั้ นกั เรยี น
กระบวนการเกิดเป็นเกณฑ์ ได้แก่ หินอัคนี รว่ มกันจ�ำ แนกหนิ โดยใช้เกณฑข์ องตนเอง บนั ทกึ ผล ๒. อธบิ ายวฏั จักรหิน
หินตะกอน และหินแปร หินอัคนี เกิดจาก
การเย็นตัวหรือแข็งตัวของหินหลอมเหลว ๓. นักเรียนสร้างแบบจำ�ลองการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ตาม
เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึก ทั้งผลึกขนาด วธิ กี ารท่ีกำ�หนด และนำ�เสนอความรทู้ ี่ได้จากแบบจ�ำ ลอง
ใหญแ่ ละขนาดเลก็ บางชนดิ อาจเปน็ เนอ้ื แกว้
หรือมีรูพรุน หินตะกอน เกิดจากการทับถม ๔. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับกระบวนการเกิดของหิน
ของตะกอนเมอ่ื ถกู แรงกดทบั และมสี ารเชอ่ื ม และการจำ�แนกหินจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ เช่น อินเทอร์เน็ต
ประสานจึงเกิดเป็นหิน เน้ือหินส่วนใหญ่ หนังสือหรอื ใบความรู้
มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเน้ือหยาบ
และเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ ๕. นกั เรยี นรว่ มกนั รวบรวมขอ้ มลู จากการสรา้ งแบบจ�ำ ลองและการสบื คน้ เพอ่ื
ยดึ เกาะกนั บางชนดิ มลี กั ษณะเปน็ ชน้ั ๆ สว่ น จ�ำ แนกหนิ จากชดุ ตวั อยา่ งหนิ อกี ครงั้ โดยใชเ้ กณฑจ์ ากกระบวนการเกดิ หนิ
หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิม บนั ทกึ ผล และนำ�เสนอ
ซงึ่ อาจเป็นหนิ อคั นี หินตะกอน และหนิ แปร
โดยการกระทำ�ของความร้อน ความดัน และ ๖. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบกระบวนการเกิดหิน เพ่ือ
ปฏิกิริยาเคมี เนื้อหินของหินแปรบางชนิด ลงขอ้ สรุปวา่ หินจำ�แนกได้ ๓ ประเภท โดยใช้กระบวนการเกิดเปน็ เกณฑ์
ผลึกของแร่อาจเรียงตัวขนานกันเป็นแถบ ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร หินอัคนี เกิดจากการเย็นตัว
บางชนิดเป็นเนอ้ื ผลึกท่ีมคี วามแขง็ มาก หรือแข็งตัวของหินหลอมเหลว เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึก ทั้งผลึกขนาด
ใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้ว หรือมีรูพรุน หินตะกอน
เกิดจากการทับถมของตะกอนเมื่อถูกแรงกดทับและมีสารเชื่อมประสาน
จงึ เกิดเปน็ หิน เน้ือหินสว่ นใหญม่ ีลกั ษณะเปน็ เม็ดตะกอน มีทั้งเน้อื หยาบ
และเน้ือละเอียด บางชนิดเป็นเน้ือผลึกที่ยึดเกาะกัน บางชนิดมีลักษณะ
เป็นช้ัน ๆ ส่วนหินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซึ่งอาจเป็น
วทิ ยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖
การวิเคราะห์ตวั ช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชว้ี ดั 255
๒. วัฏจักรหิน คือการเปล่ียนแปลงของหินจาก หนิ อคั นี หินตะกอน และหนิ แปร โดยการกระท�ำ ของความรอ้ น ความดัน ด้านทกั ษะ
ประเภทหนึ่งไปเป็นหินอีกประเภทหน่ึง และปฏิกิริยาเคมี เน้ือหินของหินแปรบางชนิดผลึกของแร่อาจเรียงตัว
หรืออาจเป็นหินประเภทเดิมท่ีมีสมบัติบาง ขนานกันเป็นแถบ บางชนิดเปน็ เน้ือผลึกที่มีความแข็งมาก ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ประการเปล่ียนแปลงไป โดยมีแบบรูปการ ๗. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัย และตั้งคำ�ถามใหม่เก่ียวกับความ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
เปลย่ี นแปลง คงท่ีและต่อเนอ่ื งเปน็ วฏั จักร สัมพันธ์ของหินท้ัง ๓ ประเภทโดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือ
สือ่ ตา่ ง ๆ เชน่ รูปภาพ วดี ิทัศน์ เพือ่ นำ�ไปสกู่ ารสบื คน้ ข้อมูล รายละเอียดการสังเกตลักษณะของหินได้ครบถ้วน
ด้านทักษะ ๘. นกั เรยี นรว่ มกนั สบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงของหนิ ทง้ั ๓ ประเภท ตามความเปน็ จรงิ โดยไมเ่ พมิ่ ความคดิ เห็นสว่ นตวั
จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือ ๒. ประเมินทักษะการจำ�แนกประเภท จากผลการ
ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ จากนัน้ รวบรวมขอ้ มลู บนั ทึกผล จำ�แนกประเภทหินจากการสังเกตลักษณะของหิน
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตลักษณะ ๙. นักเรียนออกแบบ สร้างแบบจำ�ลอง และนำ�เสนอเพ่ืออธิบายเก่ียวกับ ตามเกณฑ์ของตนเองและกระบวนการเกิดได้อย่าง
การเปล่ยี นแปลงของหินทั้ง ๓ ประเภท ถูกตอ้ ง
ของหนิ ๑๐. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแบบจำ�ลอง เพื่อลงข้อสรุปว่าหินอัคนี ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
๒. ทักษะการจำ�แนกประเภท โดยการจำ�แนก หินตะกอน และหินแปร มีความสัมพันธ์กันโดยหินประเภทหน่ึงสามารถ ก า ร อ ธิ บ า ย ผ ล ข อ ง ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สื บ ค้ น
เปลี่ยนไปเป็นหนิ อกี ประเภทหน่งึ หรอื อาจเป็นหนิ ประเภทเดิมท่ีมสี มบัติ แ ล ะ จ า ก แ บ บ จำ � ล อ ง ม า ล ง ค ว า ม เ ห็ น เ ก่ี ย ว กั บ
ประเภทหินจากการสังเกตลักษณะของหิน บางประการเปลี่ยนแปลงไป การเปล่ียนแปลงของหินมีแบบรูปการ กระบวนการเกิดหนิ
ตามเกณฑ์ของตนเองและกระบวนการเกดิ เปลี่ยนแปลงคงทีแ่ ละตอ่ เนอ่ื งเรยี กวา่ วัฏจักรหนิ ๔. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเกี่ยวกับ
อธิบายผลของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น วัฏจกั รหินไดอ้ ย่างถูกต้อง
ข้อมูลและจากแบบจำ�ลองมาลงความเห็น ๕. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
เกย่ี วกบั กระบวนการเกดิ หนิ ท่ีสามารถแสดงให้เห็นถึงแนวคิดท่ีถูกต้องเกี่ยวกับ
๔. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ วฏั จกั รหนิ
โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
เกีย่ วกบั วฏั จกั รหิน
๕. ทักษะการสร้างแบบจำ�ลอง โดยสามารถ
ออกแบบและสร้างแบบจำ�ลองเพื่ออธิบาย
วฏั จักรหิน
256 การวเิ คราะหต์ ัวชี้วัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชี้วดั
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เปน็ ทมี โดยการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง สบื คน้ ขอ้ มลู เ ป็ น ที ม จ า ก ก า ร ส ร้ า ง แ บ บ จำ � ล อ ง สื บ ค้ น
จัดกระทำ�ข้อมูล อภิปรายและนำ�เสนอ เพื่อ ข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล อภิปรายและนำ�เสนอ
เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินและอธิบาย เพ่ือเปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินและอธิบาย
วัฏจักรหนิ วฏั จักรหนิ ร่วมกบั ผูอ้ น่ื ตัง้ แต่เริ่มตน้ จนสำ�เร็จลุลว่ ง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอเกย่ี วกบั ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
การจำ�แนกหินตามกระบวนการเกิดหินและ เก่ียวกับการจ�ำ แนกหินตามกระบวนการเกิดหินและ
แบบจำ�ลองวัฏจกั รหนิ แบบจำ�ลองวัฏจักรหิน เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้อย่าง
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ รวดเรว็ ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
สื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
เกี่ยวกับกระบวนการเกิดหิน การจำ�แนกหิน การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
และวัฏจักรหิน เก่ียวกับกระบวนการเกิดหิน การจำ�แนกหิน และ
วัฏจักรหิน จากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ และมี
การอ้างอิงแหล่งข้อมลู ที่สบื คน้
ตัวช้ีวดั วิทยาศาสตร์
๔. บรรยายและยกตวั อยา่ งการใช้ประโยชน์ของหินและแรใ่ นชีวติ ประจ�ำ วันจากข้อมลู ท่รี วบรวมได้
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
257
การวิเคราะหต์ ัวชี้วดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้ีวัด
ดา้ นความรู้ ๑. ครกู ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ขอ้ สงสยั และตงั้ ค�ำ ถามเกยี่ วกบั การใชป้ ระโยชน์ ด้านความรู้
ของหินและแร่ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น บรรยายการใช้ประโยชนจ์ ากหนิ และแร่
หิ น แ ล ะ แ ร่ แ ต่ ล ะ ช นิ ด มี ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ส ม บั ติ รูปภาพ วีดิทัศน์ ตัวอย่างหินและแร่ ส่ิงของเครื่องใช้ในชีวิตประจำ�วันที่
แตกต่างกัน จึงใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน ท�ำ จากหนิ และแร่ เพ่อื นำ�ไปสู่การท�ำ กจิ กรรมต่าง ๆ ดา้ นทกั ษะ
หินแต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ตามชนิดของแร่ที่เป็นองค์ประกอบ จึงนำ� ๒. นักเรียนสังเกตและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างหินแกรนิตกับ ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากการสังเกตตัวอย่าง
ไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่น การนำ� หนิ อ่อน และสบื คน้ แร่ท่เี ป็นองคป์ ระกอบของหินทั้ง ๒ ชนิด แลว้ ร่วมกนั
หนิ แกรนติ มาปพู นื้ เพราะมแี รท่ มี่ คี วามแขง็ และม ี อภปิ รายเพอ่ื ลงข้อสรุปว่าหินประกอบด้วยแรต่ ั้งแต่หน่งึ ชนดิ ขน้ึ ไป หินและส่ิงของท่ีทำ�จากหินและแร่ ได้ครบถ้วนตาม
สีสันต่าง ๆ การนำ�หินทรายซ่ึงประกอบด้วยแร่ ความเป็นจริง โดยไมเ่ พิ่มความคดิ เหน็ สว่ นตวั
ทมี่ คี วามแขง็ มากมาใชใ้ นการลบั มดี และการน�ำ ๓. นักเรยี นสังเกตตวั อย่างหนิ และส่งิ ของท่ที �ำ จากหินและแร่ เช่น หนิ ลบั มีด
หินอ่อนซ่ึงแปรสภาพมาจากหินปูนทำ�ให้เน้ือ ที่ทำ�จากหินทราย และการนำ�แร่ควอตซ์จากหินทรายไปทำ�กระจก เพ่ือ
หินแน่นมากขึ้น จึงนำ�มาใช้สร้างอาคารและ ลงความเห็นว่าหินและแร่ประกอบหินสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
อนุสาวรีย์ต่าง ๆ แต่ในบางครั้งจะมีการนำ�แร่มา ประจ�ำ วนั ได้
จากหินมาใช้ประโยชน์ในการทำ�ส่ิงต่าง ๆ เช่น
แร่เหล็ก แร่ทองคำ� แร่ทองแดง แร่ฟลูออไรต์ ๔. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากหิน
แร่ควอตซ์ และแร่จากตัวอย่างหิน ๑๒ ชนิด จากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่นา่ เช่ือถอื เช่น
อินเทอร์เน็ต หนังสือ หรือใบความรู้ รวบรวมข้อมูล จัดกระทำ�กับข้อมูล
ด้านทกั ษะ และนำ�เสนอ เพ่ือลงข้อสรุปว่าหินและแร่แต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติ
แตกต่างกนั จงึ ใช้ประโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกัน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทกั ษะการสงั เกต โดยการสังเกตตัวอย่างหิน
และส่ิงของท่ที ำ�จากหินและแร่
258 การวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชีว้ ดั
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดย ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
อธิบายผลของข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา การอธิบายผลของข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมา
ลงความเห็นเก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากหิน ลงความเหน็ เกยี่ วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากหนิ และแร ่
และแร่ ไดอ้ ยา่ งสมเหตุสมผล
๓. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ๓. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ข้อมูล โดยการนำ�ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้น ข้อมูล จากการนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น และ
แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก รวบรวมข้อมูลการใช้ประโยชน์จากหินและแร่ใน
หินและแร่ในด้านต่าง ๆ มาจัดกระทำ�และ ดา้ นตา่ ง ๆ มาจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
น�ำ เสนอ เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ขอ้ มูลได้อย่างรวดเรว็ ชัดเจน และถกู ตอ้ ง
๔. ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ๔. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
เกย่ี วกบั ลกั ษณะและสมบัติของหินและแร่ ซึง่ โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป เกี่ยวกับ
นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันตามสมบัติ ลักษณะและสมบัติของหินและแร่ ซ่ึงนำ�ไปใช้
เหล่านัน้ ประโยชนไ์ ดแ้ ตกตา่ งกนั ตามสมบตั เิ หลา่ นน้ั ไดอ้ ยา่ ง
ถกู ต้อง
ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
โดยการสังเกต สืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูล
จัดกระทำ�ข้อมูล และอภิปรายเพื่ออธิบาย เปน็ ทมี จากการสงั เกต สบื คน้ ขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู
ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง จ า ก หิ น แ ล ะ แ ร่ ต า ม จัดกระทำ�กับข้อมูล และการอภิปรายเพื่ออธิบาย
ลกั ษณะและสมบัติท่แี ตกตา่ งกนั การใช้ประโยชน์ของจากหินและแร่ตามลักษณะ
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอผล และสมบัติที่แตกต่างกัน ร่วมกับผู้อ่ืนต้ังแต่เริ่มต้น
การสืบค้นการใช้ประโยชน์จากหินและแร่ จนส�ำ เร็จลลุ ว่ ง
ตามลกั ษณะและสมบัติท่แี ตกตา่ งกัน ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอผล
การสืบค้นเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากหินและแร่
ตามลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกัน เพ่ือให้ผู้อ่ืน
เข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
วิทยาศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
การวเิ คราะห์ตัวชีว้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชีว้ ัด 259
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลการ
การใชป้ ระโยชนจ์ ากหนิ และแรต่ ามลกั ษณะ ใช้ประโยชน์จากหินและแร่ตามลักษณะและสมบัติ
และสมบตั ทิ ่แี ตกตา่ งกนั ท่ีแตกต่างกัน จากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ และมี
การอ้างอิงแหลง่ ข้อมลู ทส่ี ืบคน้
ตัวชวี้ ัด
๕. สร้างแบบจำ�ลองที่อธิบายการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ด�ำ บรรพ์
การวเิ คราะห์ตวั ชีว้ ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชว้ี ดั
ดา้ นความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถามเก่ียวกับการเกิด ดา้ นความรู้
ซากดึกดำ�บรรพ์ โดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือสื่อต่าง ๆ เช่น
๑. ซากดึกดำ�บรรพ์ เป็นซากหรือร่องรอยของ ตวั อยา่ งซากดกึ ด�ำ บรรพจ์ �ำ ลอง รปู ภาพ วดี ทิ ศั นข์ องซากดกึ ด�ำ บรรพเ์ พอื่ ๑. อธิบายกระบวนการเกดิ ซากดกึ ดำ�บรรพ์
พืชหรือสัตว์ในอดีตซ่ึงถูกเก็บรักษาไว้ใน นำ�ไปสู่การสืบค้นข้อมลู ๒. คาดคะเนและอธิบายสภาพแวดล้อมในอดีตจาก
หินหรือชั้นหินจากการสะสมและทับถม
ของตะกอนในแอ่งสะสมตะกอน โดยท่ัวไป ๒. นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั กระบวนการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ จากแหลง่ ซากดกึ ด�ำ บรรพท์ ่พี บในแหลง่ นัน้ ๆ
ซากดึกดำ�บรรพ์ที่มีอายุมากมักอยู่ในชั้นหิน ขอ้ มลู ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ หนงั สอื หรอื ใบความรู้ รวบรวมขอ้ มลู
ด้านล่าง ส่วนท่ีอายุน้อยกว่าจะอยู่ในช้ันหิน และบันทกึ ผล
ดา้ นบน
๓. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม มาสร้าง
แบบจำ�ลองการเกิดซากดกึ ดำ�บรรพ์
260 การวเิ คราะห์ตัวชี้วดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชว้ี ัด
๒. ซากดึกดำ�บรรพ์สามารถใช้เป็นหลักฐาน ๔. นกั เรยี นน�ำ เสนอแบบจ�ำ ลองเพอ่ื อธบิ ายกระบวนการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ด้านทักษะ
หน่ึงที่ช่วยอธิบายสภาพแวดล้อมของพื้นที่ และร่วมกันอภิปราย เพ่ือลงข้อสรุปว่า ซากดึกดำ�บรรพ์เป็นซากหรือ
ในอดีตขณะมีส่ิงมีชีวิตนั้น เช่น ถ้าพบ ร่องรอยของพืชหรือสัตว์ในอดีตซ่ึงถูกเก็บรักษาไว้ในหินหรือช้ันหิน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ซากดกึ ด�ำ บรรพข์ องหอยน�้ำ จดื บรเิ วณภเู ขา จากการสะสมและทับถมของตะกอนในแอ่งสะสมตะกอน โดยทั่วไป ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
ในปัจจุบัน แสดงว่าในอดีตสภาพแวดล้อม ซากดึกดำ�บรรพ์ท่ีมีอายุมากมักอยู่ในช้ันหินด้านล่าง ส่วนที่อายุน้อยกว่า
บริเวณนั้นอาจเคยเป็นแหล่งนำ้�จืดมาก่อน จะอยูใ่ นชัน้ หนิ ด้านบน รายละเอียดการสังเกตกระบวนการในการเกิด
แ ล ะ ถ้ า พ บ ซ า ก ดึ ก ดำ � บ ร ร พ์ ข อ ง พื ช บ ก ซากดึกดำ�บรรพ์ได้อย่างครบถ้วน ตามความเป็น
สภาพแวดล้อมบริเวณน้ันอาจเคยเป็นป่า ๕. ครูนำ�รูปภาพตัวอย่างของซากดึกดำ�บรรพ์แบบต่าง ๆ ของประเทศไทย จรงิ โดยไม่เพม่ิ ความคิดเห็นส่วนตัว
มากอ่ น เช่น ซากดึกดำ�บรรพ์ของหอย ปลา ปะการัง ไม้กลายเป็นหิน ช้าง หรือ ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ไดโนเสาร์ เพือ่ กระตุ้นให้นักเรียนเกดิ ข้อสงสัยและตงั้ ค�ำ ถามใหมเ่ กีย่ วกบั แบบจำ�ลองและการสืบค้น มาลงความเห็นเก่ียวกับ
ดา้ นทักษะ สภาพแวดลอ้ มในอดตี จากซากดกึ ด�ำ บรรพ์ แลว้ สบื คน้ ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ เพอ่ื กระบวนการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพแ์ ละสภาพแวดลอ้ ม
รว่ มกนั อภปิ รายและลงความเหน็ จากขอ้ มลู วา่ สภาพแวดลอ้ มในอดตี เปน็ ในอดีต ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ อย่างไร ดังน้ัน ซากดึกดำ�บรรพ์จึงเป็นหลักฐานอย่างหนึ่งท่ีช่วยอธิบาย ๓. ประเมนิ ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง จากแบบจ�ำ ลอง
๑. ทักษะการสังเกต โดยสังเกตกระบวนการใน สภาพแวดลอ้ มของพน้ื ที่ในอดตี ท่ีแสดงให้เห็นถึงแนวคิดท่ีถูกต้องกระบวนการเกิด
ซากดึกดำ�บรรพ์
การเกิดซากดึกด�ำ บรรพ์จากแบบจำ�ลอง
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยใช้
ข้อมูลท่ีได้จากแบบจำ�ลองและการสืบค้น
มาลงความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการเกิด
ซากดึกด�ำ บรรพแ์ ละสภาพแวดลอ้ มในอดตี
๓. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู
ท่ีได้จากการสืบค้นข้อมูลมาออกแบบและ
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพื่อสร้างแบบจำ�ลอง
กระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์
วิทยาศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖
การวิเคราะห์ตัวช้วี ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ช้วี ัด 261
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื และการท�ำ งานเปน็ ทมี
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล จากการรว่ มกนั ลงมอื ปฏบิ ตั เิ พอ่ื สรา้ งแบบจ�ำ ลอง สบื คน้
วิเคราะห์ข้อมูล สร้างแบบจำ�ลองและ ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สร้างแบบจำ�ลองและอภิปราย
อ ภิ ป ร า ย เ พื่ อ อ ธิ บ า ย ก ร ะ บ ว น ก า ร เ กิ ด เพื่ออธิบายกระบวนการเกิดซากดึกดำ�บรรพ์และ
ซากดึกด�ำ บรรพแ์ ละสภาพแวดล้อมในอดีต สภาพแวดล้อมในอดีต ร่วมกับผู้อ่ืนตั้งแต่เร่ิมต้นจน
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ สำ�เร็จลลุ ว่ ง
แบบจำ�ลองเพื่ออธิบายกระบวนการเกิด ๒. ประเมินทักษะด้านการสื่อสาร จากการนำ�เสนอ
ซากดึกดำ�บรรพ์ แบบจ�ำ ลองเพอื่ อธบิ ายกระบวนการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย เพื่อให้ผูอ้ ืน่ เข้าใจได้อยา่ งรวดเร็ว ชดั เจน และถกู ต้อง
วิเคราะห์ข้อมูล และตัดสินใจเลือกใช้วัสดุ ๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการ
ท่ีเหมาะสมมาสร้างแบบจำ�ลองการเกิด วิเคราะห์ข้อมูล และตัดสินใจเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม
ซากดึกดำ�บรรพ์ มาสรา้ งแบบจ�ำ ลองการเกดิ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ไดอ้ ยา่ งสม
๔. ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ โ ด ย ก า ร เหตสุ มผล
อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ส ร้ า ง แ บ บ จำ � ล อ ง ก า ร เ กิ ด ๔. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการออกแบบและ
ซากดกึ ดำ�บรรพ์ สร้างแบบจ�ำ ลองการเกิดซากดึกด�ำ บรรพ์ ซึ่งสะท้อนให้
๕. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ เห็นจินตนาการและแนวคดิ ใหม่
สื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๕. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ด้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ
การเกดิ ซากดึกดำ�บรรพแ์ ละสภาพแวดล้อม การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเร่ือง
ในอดตี จากซากดึกด�ำ บรรพ์ การเกิดซากดึกดำ�บรรพ์และสภาพแวดล้อมในอดีต
จากซากดึกด�ำ บรรพ์ จากแหล่งข้อมลู ทเ่ี ช่ือถอื ได้ และมี
การอา้ งองิ แหลง่ ขอ้ มูลท่ีสบื ค้น
262 ตวั ชีว้ ัด
๖. เปรยี บเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสมุ รวมทัง้ อธิบายผลทีม่ ตี ่อสงิ่ มีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม จากแบบจำ�ลอง
การวิเคราะหต์ วั ชวี้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชวี้ ดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและตั้งคำ�ถาม เกี่ยวกับการเกิดลมบก ด้านความรู้
ลมทะเล และมรสมุ โดยอาจใชส้ ถานการณ์ หรอื ค�ำ ถาม หรอื สอื่ ตา่ ง ๆ เชน่
๑. ลมบก ลมทะเล และมรสุม เกิดจาก รูปภาพ วดี ทิ ศั น์ ภาพเคลื่อนไหว เพือ่ นำ�ไปสู่การท�ำ กจิ กรรมการถ่ายโอน ๑. เปรยี บเทียบการเกดิ ลมบก ลมทะเล และมรสุม
ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของอากาศ ความรอ้ น ๒. อธิบายผลจากลมบก ลมทะเล และมรสุมท่ีมีต่อ
เหนือพื้นดินและพื้นน้ำ�ท่ีอยู่ใกล้เคียงกัน
เน่ืองจากพื้นดินและพ้ืนนำ้� รับและถ่ายโอน ๒. นักเรียนสังเกตและรวบรวมข้อมูลจากแบบจำ�ลองเก่ียวกับการถ่ายโอน สิง่ มีชีวิตและส่งิ แวดล้อม
ความรอ้ นไดไ้ มเ่ ทา่ กนั ท�ำ ใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นท่ี ความร้อนของทรายและนำ้� เปรียบเทียบข้อมูลและอภิปราย เพ่ือลงข้อ
ของอากาศจากบริเวณท่ีมีอุณหภูมิตำ่� ไปยัง สรปุ ว่าทรายถา่ ยโอนความรอ้ นได้เร็วกวา่ น้�ำ
บรเิ วณท่มี อี ณุ หภูมิสูง
๓. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยโดยครูต้ังคำ�ถามว่า การถ่ายโอน
๒. ลมบกเกิดจากการเคล่อื นทีข่ องอากาศเหนอื ความรอ้ นในธรรมชาตเิ ปน็ อยา่ งไร และมผี ลอยา่ งไร เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้
พื้นดินไปยังทะเล ลมทะเลเป็นการเคลื่อนท่ี ข้อมลู การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม
ของอากาศจากทะเลเขา้ สพู่ น้ื ดนิ สว่ นมรสมุ มี
ลกั ษณะการเกดิ เชน่ เดยี วกนั แตป่ กคลมุ พนื้ ที่ ๔. นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม
กว้างกว่าลมบก ลมทะเล โดยเกดิ ลมพดั จาก จากน้ันวิเคราะห์ข้อมูล ร่วมกันอภิปรายและนำ�เสนอแบบจำ�ลองอธิบาย
พื้นทวีปไปมหาสมุทรและจากมหาสมุทรไป แสดงการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ
พนื้ ทวีป
๕. นักเรียนนำ�เสนอแบบจำ�ลองการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม จากน้ัน
๓. ลมบก ลมทะเล มปี ระโยชนต์ อ่ ชวี ติ ประจ�ำ วนั ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปราย เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล
ในการประกอบอาชีพของชาวประมง และ และมรสุม เพ่ือลงข้อสรุปว่า เมื่อพื้นดินกับพ้ืนน้ำ�ได้รับความร้อนจาก
ทำ�ให้ชายทะเลเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ดวงอาทติ ยใ์ นเวลากลางวนั พรอ้ มกนั พนื้ ดนิ จะรบั และถา่ ยโอนความรอ้ น
ส่วนมรสุมนอกจากมีประโยชน์ต่อการเดิน ได้เร็วกว่าพื้นนำ้� อากาศเหนือพ้ืนดินจึงมีอุณหภูมิสูงกว่าจึงลอยตัวสูงข้ึน
เรือแล้ว ยังทำ�ให้เกิดฤดูต่าง ๆ ซ่ึงมีผลต่อ อากาศเหนือพื้นน้ำ�ซ่ึงเย็นกว่าจึงพัดมาแทนท่ี ทำ�ให้เกิดลมทะเลในเวลา
ส่ิงมีชีวติ และสงิ่ แวดล้อม กลางวัน แต่เวลากลางคืนพื้นดินจะถ่ายโอนความร้อนได้เร็วกว่าพื้นนำ้�
วิทยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖
การวเิ คราะหต์ ัวชี้วัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมนิ ตวั ชว้ี ัด 263
ด้านทักษะ อากาศเหนือพ้ืนนำ้�จึงมีอุณหภูมิสูงกว่าแล้วลอยตัวสูงขึ้น อากาศเหนือ ด้านทักษะ
พ้ืนดินซึ่งเย็นกว่าจะพัดไปแทนที่ทำ�ให้เกิดลมบก มรสุมมีสาเหตุและ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ลกั ษณะการเกิดเช่นเดยี วกบั ลมบก ลมทะเล แต่เกิดขึ้นในชว่ งเวลาทน่ี าน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการสังเกต โดยการสังเกตแบบจำ�ลอง กว่าเป็นฤดู และครอบคลุมบริเวณพ้ืนท่ีมากกว่า โดยครอบคลุมพื้นทวีป ๑. ประเมินทักษะการสังเกต จากผลการบันทึก
และพืน้ มหาสมุทรท่ีอยูใ่ กล้เคยี งกนั
เก่ียวกบั การถา่ ยโอนความรอ้ น ๖. ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผลของลมบก ลมทะเล และมรสมุ จาก รายละเอียดการสังเกตการทดลองการถ่ายโอน
๒. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย แหลง่ ขอ้ มูลที่น่าเช่อื ถอื เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ หนังสือ หรือใบความรู้ จากนัน้ ความร้อนได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามความเป็นจริง
จดั กระท�ำ ข้อมูลในรปู แบบท่ีนา่ สนใจ และน�ำ เสนอ โดยไมเ่ พ่ิมความคดิ เหน็ ส่วนตวั
ข้อมูล โดยการสืบค้นข้อมูลเรื่องลมบก ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า ลมบก ลมทะเล และมรสุม ๒. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
ลมทะเล และมรสมุ มาจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอ สง่ ผลตอ่ การดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชวี ิตและสิง่ แวดล้อมในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ข้อมูล จากการสืบค้นข้อมูลเรื่องลมบก ลมทะเล
๓. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยนำ� มนุษย์อาศัยลมบกในการแล่นเรือออกทะเลในเวลากลางคืน และอาศัย และมรสมุ มาจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก แ บ บ จำ � ล อ ง ก า ร ถ่ า ย โ อ น ลมทะเลพาเรือเข้าฝ่ังในเวลากลางวัน ส่วนมรสุมนอกจากมีประโยชน์ต่อ เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
ความร้อนและการสืบค้นข้อมูล มาลง การเดนิ เรอื แลว้ ยงั ทำ�ใหป้ ระเทศไทยเกดิ ฤดู ขอ้ มลู ได้อยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถูกตอ้ ง
ความเห็นเกี่ยวกับการเกิดลมบก ลมทะเล ๓. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
และมรสมุ ก า ร อ ธิ บ า ย ผ ล จ า ก ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก แ บ บ จำ � ล อ ง
การถ่ายโอนความร้อนและการสืบค้นข้อมูล มา
ลงความเห็นเกี่ยวกับลมบก ลมทะเล และมรสุม
ไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล
ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสังเกต รวบรวม เปน็ ทมี จากการสงั เกต รวบรวมขอ้ มลู สบื คน้ ขอ้ มลู
ขอ้ มลู สบื คน้ ขอ้ มลู จดั กระท�ำ ขอ้ มลู น�ำ เสนอ จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับ
และอภิปราย เก่ียวกับการเกิดและผลของ การเกดิ และผลของลมบก ลมทะเล และมรสมุ รว่ มกบั
ลมบก ลมทะเล และมรสุม ผูอ้ น่ื ตง้ั แตเ่ ร่ิมต้นจนสำ�เรจ็ ลุล่วง
๒. ทักษะด้านการส่ือสาร โดยการนำ�เสนอ ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
แบบจำ�ลองการเกิดลมบก ลมทะเล และ แบบจำ�ลองการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุมเพื่อ
มรสมุ ให้ผ้อู น่ื เข้าใจได้อย่างรวดเรว็ ชัดเจน และถกู ต้อง
264 การวเิ คราะห์ตวั ชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวช้ีวดั
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล สื่อสาร จากการสืบค้น และรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ
เก่ียวกับผลของลมบก ลมทะเล และมรสมุ ผลของลมบก ลมทะเล และมรสุม จากแหล่งข้อมูล
ท่ีเชอ่ื ถอื ได้ และมีการอา้ งองิ แหลง่ ข้อมลู ทีส่ ืบค้น
ตัวชว้ี ัด
๗. อธบิ ายผลของมรสุมตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศไทย จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้
การวิเคราะห์ตัวชวี้ ดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชี้วดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุน้ ให้นักเรยี นเกดิ ข้อสงสัย และตัง้ คำ�ถามเก่ียวกับมรสุมทม่ี ผี ลตอ่ ด้านความรู้
ประเทศไทย โดยอาจใช้สถานการณ์ หรอื ค�ำ ถาม หรือส่อื ตา่ ง ๆ เช่น ข่าว อธิบายผลของมรสุมต่อการเกดิ ฤดูของประเทศไทย
การเกิดฤดูของประเทศไทยเป็นผลจากการท่ี รปู ภาพ วดี ทิ ัศนท์ เี่ ก่ียวขอ้ งกบั มรสมุ เพื่อน�ำ ไปสู่การสืบคน้ ข้อมลู
ประเทศไทยได้รับอทิ ธิพลจากมรสุม ๒ ชนิด คือ
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือท่ีทำ�ให้ประเทศเข้า ๒. นักเรียนสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับมรสุมและผลของมรสุมต่อ
สู่ฤดูหนาว และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำ�ให้ การเกิดฤดูของประเทศไทยจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเช่ือถือ เช่น
ประเทศไทยเข้าสู่ฤดูฝน โดยช่วงเปล่ียนมรสุม อินเทอรเ์ นต็ หนังสอื หรือใบความรู้ และบนั ทึกผล
จะเป็นฤดรู ้อน
๓. นกั เรยี นน�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าจดั กระท�ำ ขอ้ มลู ในรปู แบบทน่ี า่ สนใจ เชน่ ตาราง
ผงั มโนทัศน์ และนำ�เสนอ
วทิ ยาศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
การวิเคราะหต์ วั ช้ีวดั แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตวั ชี้วดั 265
ด้านทักษะ ๔. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ลงขอ้ สรปุ วา่ มรสมุ ทม่ี ผี ลตอ่ ประเทศไทยมี ด้านทักษะ
ดว้ ยกนั ๒ ชนดิ คอื มรสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต ้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ีพัดจากพื้นทวีปทางตอนเหนือของ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย ประเทศจีนไปสู่พ้ืนมหาสมุทรผ่านประเทศไทยทางทิศตะวันออก ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย
เฉยี งเหนอื ระหวา่ งกลางเดอื นตลุ าคมถงึ กลางเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ ท�ำ ใหเ้ กดิ
ข้ อ มู ล โ ด ย ก า ร จั ด ก ร ะ ทำ � แ ล ะ นำ � เ ส น อ ความแห้งแล้งและหนาวเย็นประเทศไทยจึงเข้าสู่ฤดูหนาว ส่วนมรสุม ขอ้ มลู จากการจดั กระท�ำ และน�ำ เสนอเกย่ี วกบั ผลของ
เก่ียวกับผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ตะวันตกเฉียงใต้ท่ีพัดจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่พื้นทวีปทางทิศตะวัน มรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยได้อย่างถูกต้อง
ประเทศไทย ตกเฉียงใต้ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จะนำ� เหมาะสม และช่วยให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายของ
๒. ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ ความชมุ่ ชนื้ มาท�ำ ใหเ้ กดิ ฝน ประเทศจงึ เขา้ สฤู่ ดฝู นโดยชว่ งเปลย่ี นมรสมุ ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ระหว่างกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะเป็นฤดูร้อน ๒. ประเมนิ ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ
เกี่ยวกับผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ การเปล่ียนแปลงของอากาศในแต่ละฤดูจะส่งผลต่อการดำ�รงชีวิต เช่น จากการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุปเก่ียวกับ
ประเทศไทย การคมนาคม และการประกอบอาชีพตา่ ง ๆ ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยได้อย่าง
ถูกต้อง
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยนักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูล
จัดกระทำ�ข้อมูล นำ�เสนอ และอภิปราย เป็นทีม จากการสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ�ข้อมูล
เก่ียวกับผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ นำ�เสนอ และอภิปรายเกี่ยวกับผลของมรสุมต่อ
ประเทศไทย การเกิดฤดูของประเทศไทยร่วมกับผู้อ่ืนต้ังแต่เร่ิมต้น
๒. ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู จนส�ำ เร็จลุลว่ ง
ท่ีเกี่ยวกับผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของ ๒. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร จากการน�ำ เสนอขอ้ มลู
ประเทศไทย ทเี่ กย่ี วกบั ผลของมรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ เพอ่ื ใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ชดั เจน และถกู ตอ้ ง
สื่อสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ผลของมรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทย ส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลผลของ
มรสมุ ตอ่ การเกดิ ฤดขู องประเทศไทยจากแหลง่ ขอ้ มลู
ทเ่ี ชือ่ ถือไดแ้ ละมีการอ้างอิงแหลง่ ขอ้ มลู ทส่ี ืบค้น
266 ตัวชวี้ ดั
๘. บรรยายลักษณะและผลกระทบของน�้ำ ท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดนิ ถล่ม แผน่ ดินไหว สึนามิ
๙. ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ิภยั โดยน�ำ เสนอแนวทางในการเฝ้าระวงั และปฏิบัตติ น
ให้ปลอดภยั จากภัยธรรมชาตแิ ละธรณีพบิ ตั ภิ ยั ท่ีอาจเกดิ ในท้องถิน่
การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตัวชว้ี ัด
ด้านความรู้
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเก่ียวกับปรากฏการณ์ บรรยายลักษณะและผลกระทบของ น้ำ�ท่วม การกัด
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยและผลที่เกิดขึ้น โดยอาจใช้สถานการณ์ เซาะชายฝ่ัง ดนิ ถล่ม แผน่ ดินไหว และสนึ ามิ
๑. ภั ย ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ธ ร ณี พิ บั ติ ภั ย เ ป็ น หรอื ค�ำ ถาม หรอื สือ่ ต่าง ๆ เช่น รปู ภาพ วีดิทศั น์ หรอื ข่าวท่เี กี่ยวข้อง เพอื่
ปรากฎการณ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต นำ�ไปส่กู ารสืบค้นขอ้ มูล ด้านทกั ษะ
และทรพั ย์สนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๒. นักเรียนสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับปรากฏการณ์ภัยธรรมชาติ ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
๒. แต่ละท้องถิ่นมีโอกาสที่จะประสบภัย และธรณีพิบัติภัย และผลที่เกิดข้ึนจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น
ธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยได้ จึงต้อง อินเทอรเ์ น็ต หนังสือ หรือใบความรู้ และบันทกึ ผล ข้อมูล จากการนำ�ผลการสืบค้นและรวบรวม
ตดิ ตามสถานการณ์ และประกาศเตอื นภยั ข้อมูลลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ
จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และร่วมกันหา ๓. นกั เรยี นน�ำ ขอ้ มลู มาจดั กระท�ำ ในรปู แบบทเี่ หมาะสม เชน่ ตาราง แผนภมู ิ และธรณีพิบัติภัยและวิธีปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
แนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ รปู ภาพ ผังมโนทัศน์ และนำ�เสนอในรูปแบบท่นี ่าสนใจ มาจัดกระทำ�และนำ�เสนอได้อย่างถูกต้อง และ
ปลอดภัย เหมาะสม และช่วยให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายของ
๔. นกั เรียนร่วมกันอภิปราย เพื่อลงขอ้ สรปุ ว่าภัยธรรมชาติและธรณพี บิ ัติภัย ขอ้ มลู ได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน และถกู ต้อง
ดา้ นทกั ษะ มหี ลายแบบ เชน่ น�ำ้ ทว่ ม การกดั เซาะชายฝงั่ ดนิ ถลม่ แผน่ ดนิ ไหว สนึ ามิ
ซ่ึงก่อให้เกิดอันตรายตอ่ ชีวติ และทรพั ยส์ นิ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และสื่อความหมาย ๕. นักเรียนสืบค้นหรือสำ�รวจเกี่ยวกับภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยและ
ผลกระทบทเ่ี คยเกดิ ขนึ้ ในทอ้ งถน่ิ และรว่ มกนั อภปิ รายหาวธิ กี ารเฝา้ ระวงั
ข้ อ มู ล โ ด ย ก า ร นำ � ผ ล ก า ร สื บ ค้ น แ ล ะ และปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภยั จากภยั เหล่าน้นั
รวบรวมข้อมูลลักษณะและผลกระทบของ
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย และวิธี ๖. นักเรียนนำ�ข้อมูลจากการสืบค้นและสำ�รวจเกี่ยวกับวิธีการเฝ้าระวังและ
ปฏิบัติตนให้ปลอดภัย มาจัดกระทำ�และ ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยท่ีอาจเกิดใน
น�ำ เสนอ ทอ้ งถนิ่ มาจดั กระท�ำ ในรปู แบบทเี่ หมาะสม และน�ำ เสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ
ท่ีน่าสนใจ เช่น การแสดงบทบาทสมมติเม่ือประสบกับภัยธรรมชาติและ
ธรณพี ิบตั ภิ ยั ผังมโนทัศน์ หรือหนังสอื การ์ตนู
วทิ ยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖
การวเิ คราะหต์ วั ชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตวั ชี้วดั 267
๒. ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล โดยการ ๗. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อลงข้อสรุปว่าภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
ลงความเห็นเก่ียวกับแนวทางการเฝ้าระวัง เป็นภัยท่ีเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อม จึงควรรู้จัก การลงความเหน็ เกยี่ วกบั วธิ กี ารเฝา้ ระวงั และปฏบิ ตั ิ
และปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคต และ ตนใหป้ ลอดภยั จากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั ที่
และธรณีพิบตั ภิ ัยท่ีอาจเกิดในทอ้ งถ่นิ ควรเรยี นรวู้ ธิ ปี ฏบิ ตั ติ นใหป้ ลอดภยั เชน่ เฝา้ ระวงั และตดิ ตามสถานการณ ์ อาจเกิดในทอ้ งถ่นิ ไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล
การประกาศเตือนภัยจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องและฝึกซ้อมการเตรียม
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑ พร้อมรับมือภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน ๑. ประเมินทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งาน
เป็นทีม โดยการสืบค้นข้อมูล จัดกระทำ� เป็นทีม จากการร่วมกันสืบค้น รวบรวมข้อมูล
ข้อมูล และอภิปราย เกี่ยวกับลักษณะและ จัดกระทำ�ข้อมูล และอภิปรายเกี่ยวกับผลของ
ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติ ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ และ
ภยั แบบตา่ ง ๆ และแนวทางการเฝา้ ระวงั และ แนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
ปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั ร่วมกับผูอ้ ่ืน ตัง้ แตเ่ รม่ิ ต้นจนสำ�เร็จลลุ ่วง
๒. ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร โดยการน�ำ เสนอขอ้ มลู ๒. ประเมินทักษะด้านการส่ือสาร จากการนำ�เสนอ
ที่ได้จากสืบค้นเก่ียวกับภัยธรรมชาติและ ข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นเกี่ยวกับภัยธรรมชาติและ
ธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ และแนวทางการ ธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ และแนวทางการเฝ้าระวัง
เฝา้ ระวังและปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั และปฏิบัติตนให้ปลอดภัย เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้
๓. ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ อย่างรวดเร็ว ชดั เจน และถูกตอ้ ง
ส่ือสาร โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล ๓. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
และแนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ ภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยแบบต่าง ๆ และ
ปลอดภยั แนวทางการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จ า ก แ ห ล่ ง ข้ อ มู ล ที่ เ ช่ื อ ถื อ ไ ด้ แ ล ะ มี ก า ร อ้ า ง อิ ง
แหลง่ ข้อมูลท่สี บื คน้
268 การวิเคราะหต์ ัวชวี้ ดั แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชี้วดั
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ด้านจิตวิทยาศาสตร์
ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและ ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั
ธรณพี ิบตั ภิ ยั จากการนำ�เสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตน
ใหป้ ลอดภยั จากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ยั ทอี่ าจเกดิ
ในทอ้ งถิ่น
ตัวช้วี ดั
๑๐. สร้างแบบจำ�ลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกและผลของปรากฏการณ์เรอื นกระจกต่อสง่ิ มชี ีวิต
๑๑. ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัตติ นเพ่อื ลดกจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก
การวิเคราะห์ตัวชว้ี ดั แนวทางการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วดั
ด้านความรู้ ๑. ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์ ดา้ นความรู้
เรือนกระจกโดยอาจใช้สถานการณ์ หรือคำ�ถาม หรือส่ือต่าง ๆ เช่น
๑. ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกเปน็ ปรากฏการณท์ ี่ วดี ทิ ศั น์ ภาพเคลอื่ นไหว หรอื ขา่ วสถานการณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั ปรากฏการณ์ อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ
เกดิ ขนึ้ ตามธรรมชาติ เกดิ จากแกส๊ เรอื นกระจก เรือนกระจก เพ่อื นำ�ไปสกู่ ารสืบคน้ ขอ้ มลู ปรากฏการณ์เรอื นกระจกตอ่ ส่ิงมชี ีวิต
ในชั้นบรรยากาศของโลก กักเก็บความร้อน
แล้วถา่ ยโอนความร้อนกลบั สโู่ ลก ๒. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก จาก
แหล่งขอ้ มลู ที่น่าเชอ่ื ถือ เช่น อนิ เทอรเ์ นต็ หนังสือ หรือใบความรู้ จากน้นั
๒. ปรากฏการณ์เรือนกระจกทำ�ให้อุณหภูมิของ รวบรวมขอ้ มลู และบันทกึ ผล
โลกอบอุ่น เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของ
สงิ่ มชี วี ติ
วิทยาศาสตร์
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมินตัวชี้วดั 269
๓. กจิ กรรมของมนษุ ยก์ อ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจก ๓. นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมเพื่อสร้าง ดา้ นทกั ษะ
ในปริมาณที่เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำ�ให้ แบบจำ�ลองทีอ่ ธบิ ายปรากฏการณเ์ รอื นกระจก
อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงข้ึนจนส่งผลกระทบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ต่อการดำ�รงชีวิตและส่ิงแวดล้อมจึงควร ๔. นกั เรยี นน�ำ เสนอแบบจ�ำ ลองทสี่ รา้ งขนึ้ และรว่ มกนั อภปิ ราย เพอื่ ลงขอ้ สรปุ ๑. ประเมินทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย
ตระหนักและร่วมมือกันลดกิจกรรมที่ก่อให้ ว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก เกิดจากแก๊สเรือนกระจกในช้ันบรรยากาศ
เกิดแก๊สเรือนกระจก ของโลก กักเก็บความร้อนแล้วถา่ ยโอนความรอ้ นกลบั ออกมา ข้อมูล จากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเกิดและ
ผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกมาจัดกระทำ�
ดา้ นทักษะ ๕. ครูนำ�นักเรียนอภิปราย เพื่อเช่ือมโยงกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงใน และนำ�เสนอข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ
ธรรมชาติ จากน้ันครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยและต้ังคำ�ถามใหม่ ช่วยให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายของข้อมูลได้อย่าง
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกบั ผลของปรากฏการณเ์ รือนกระจก เพอื่ นำ�ไปสกู่ ารสบื คน้ ขอ้ มลู รวดเร็ว ชัดเจน และถกู ต้อง
๑. ทักษะการจัดกระทำ�และส่ือความหมาย ๒. ประเมินทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล จาก
๖. นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลของปรากฏการณเ์ รอื นกระจก จากแหลง่ การนำ�ข้อมูลจากแบบจำ�ลองและการสืบค้นมา
ขอ้ มลู โดยการน�ำ ขอ้ มลู จากการสบื คน้ ขอ้ มลู ขอ้ มลู ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื เชน่ อนิ เทอรเ์ นต็ หนงั สอื หรอื ใบความรู้ รวบรวมขอ้ มลู ลงความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลด
เกี่ยวกับการเกิดและผลของปรากฏการณ์ มาจัดกระท�ำ ในรปู แบบท่ีน่าสนใจและนำ�เสนอ กจิ กรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ แกส๊ เรอื นกระจกไดอ้ ยา่ งสมเหตุ
เรือนกระจกมาจัดกระทำ�และนำ�เสนอ สมผล
๒. ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู โดยการน�ำ ๗. นักเรียนรว่ มกนั อภปิ ราย เพือ่ ลงขอ้ สรปุ ว่าปรากฏการณ์เรอื นกระจกเป็น ๓. ประเมินทักษะการตีความหมายและลงข้อสรุป
ข้อมูลจากแบบจำ�ลองและการสืบค้นมา ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ซงึ่ ท�ำ ใหส้ ภาพภมู อิ ากาศของโลก จ า ก ก า ร ตี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ ล ง ข้ อ ส รุ ป เ กี่ ย ว กั บ
ลงความเห็นเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติตน เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ส่งผลให้เกิดการหมุนเวียนของ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก และผลของปรากฏการณ์
เพื่อลดกิจกรรมท่กี ่อใหเ้ กดิ แกส๊ เรือนกระจก วัฏจักรต่าง ๆ อย่างสมดุล หากปรากฏการณ์เรือนกระจกมีความรุนแรง เ รื อ น ก ร ะ จ ก จ า ก ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร สื บ ค้ น ไ ด้
๓. ทกั ษะการตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ มากข้ึนจะทำ�ให้อุณหภูมิอากาศของโลกสูงข้ึน และทำ�ให้เกิด อยา่ งถูกตอ้ ง
โดยการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ ซ่ึงส่งผลต่อการดำ�รงชีวิตของส่ิงมีชีวิตและ
เก่ียวกับการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก สงิ่ แวดล้อม
และผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก จาก
ขอ้ มลู ทไี่ ด้จากการสบื ค้น ๘. นักเรียนนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดปริมาณแก๊สเรือนกระจก
๔. ทกั ษะการสรา้ งแบบจ�ำ ลอง โดยการน�ำ ขอ้ มลู โดยอาจแสดงบทบาทสมมต ิ การจัดทำ�นิทรรศการ ค�ำ ขวัญรณรงค์ หรือ
ที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลมาออกแบบและ แผ่นพับ จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพ่ือลงข้อสรุปว่า ทุกคนควรร่วมมือกัน
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์เพ่ือสร้างแบบจำ�ลองที่ ลดกจิ กรรมทส่ี ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศของโลก เพอื่ ใหส้ ง่ิ มชี วี ติ
อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก สามารถดำ�รงชวี ติ ได้อย่างปลอดภยั
270 การวิเคราะหต์ ัวชีว้ ัด แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แนวทางการวัดและประเมินตัวชี้วดั
ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ๔. ป ร ะ เ มิ น ทั ก ษ ะ ก า ร ส ร้ า ง แ บ บ จำ � ล อ ง จ า ก
๑. ทักษะด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม แ บ บ จำ � ล อ ง ท่ี แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง แ น ว คิ ด ที่ ถู ก ต้ อ ง
เกี่ยวกับปรากฏการณ์เรือนกระจก ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
โ ด ย ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ส ร้ า ง แ บ บ จำ � ล อ ง
จัดกระท�ำ ขอ้ มูล นำ�เสนอและอภิปรายเก่ียวกบั ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑
การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลของ ๑. ประเมินด้านความร่วมมือและการทำ�งานเป็นทีม
ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสิ่งมีชีวิตและ
การนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลด จากการสืบค้นข้อมูล สร้างแบบจำ�ลอง จัดกระทำ�
กิจกรรมท่ีกอ่ ให้เกดิ แกส๊ เรอื นกระจก ข้อมูล นำ�เสนอและอภิปรายเก่ียวกับการเกิด
๒. ทักษะด้านการสื่อสาร โดยการนำ�เสนอข้อมูล ปรากฏการณ์เรือนกระจก ผลของปรากฏการณ์
เกี่ยวกับการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ผล เรือนกระจกต่อส่ิงมีชีวิตและการนำ�เสนอแนวทาง
ของปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อส่ิงมีชีวิตและ การปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊ส
การนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลด เรือนกระจก ร่วมกับผู้อ่ืน ต้ังแต่เริ่มต้นจนสำ�เร็จ
กจิ กรรมที่ก่อใหเ้ กิดแกส๊ เรือนกระจก ลลุ ่วง
๓. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการ ๒. ประเมนิ ดา้ นทกั ษะการสอื่ สาร จากการน�ำ เสนอแบบ
วเิ คราะหแ์ ละเลอื กใชข้ อ้ มลู วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการ จำ�ลองปรากฏการณ์เรือนกระจกที่สร้างข้ึนผลของ
สรา้ งแบบจ�ำ ลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสิ่งมีชีวิตและการนำ�
เรอื นกระจก เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมที่ก่อ
ให้เกิดแก๊สเรือนกระจก เพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง
รวดเรว็ ชัดเจน และถูกต้อง
๓. ประเมินทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดย
การวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูล วัสดุอุปกรณ์ใน
การสรา้ งแบบจ�ำ ลองทอี่ ธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณ ์
เรอื นกระจก ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล
วิทยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
การวเิ คราะหต์ ัวช้วี ัด แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวดั และประเมนิ ตวั ชว้ี ัด 271
๔. ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ โดยการออกแบบและ ๔. ประเมนิ ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ จากการออกแบบ
สรา้ งแบบจ�ำ ลองปรากฏการณเ์ รอื นกระจก รวม และสร้างแบบจำ�ลองปรากฏการณ์เรือนกระจก
ทั้งการนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลด รวมทั้งการนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลด
กจิ กรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กิดแกส๊ เรอื นกระจก กิจกรรมท่ีก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก ซึ่งสะท้อนให้
เห็นจินตนาการและแนวคิดใหม่
๕. ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
โดยการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลข้อมูลการ ๕. ประเมินทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
เ กิ ด ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ เ รื อ น ก ร ะ จ ก แ ล ะ ผ ล ข อ ง การส่ือสาร จากการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกต่อส่งิ มีชวี ิต การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อส่ิงมีชีวิต จากแหล่ง
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ และมีการอ้างอิงแหล่งข้อมูล
ตระหนกั ถึงผลกระทบของปรากฏการณ ์ ท่สี ืบคน้
เรือนกระจก
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ประเมินความตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจกจากการนำ�เสนอแนวทางการปฏิบัติตน
เพอ่ื ลดกิจกรรมทกี่ ่อใหเ้ กิดแก๊สเรอื นกระจก
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
วชิ าวิทยาศาสตร์
272
คณะผจู้ ัดทำ�
คณะที่ปรึกษา ผอู้ �ำ นวยการสถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ ดร. ชลติ า ธัญญะคุปต์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางรตั ตยิ า รัตนอดุ ม โรงเรยี นอนุบาลอทุ ุมพรพิสัย
เทคโนโลยี นางสาววิมลมาศ ศรีนาราง สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางประเนยี น จุลวรรณโณ โรงเรยี นบ้านสดำ�
ศ. ดร. ชูกจิ ลิมปิจ�ำ นงค ์ ท่ปี รึกษาผ้อู ำ�นวยการสถาบนั ส่งเสรมิ การสอน ดร. นันทยา อัครอารีย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางบุศรา เตรยี มสติ โรงเรียนเมืองคงวิทยา
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร. เสาวลักษณ์ บัวอนิ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางนอิ ารีฟา บนิ หะยอี ารง โรงเรียนอนุบาลยะรงั
ดร. พรพรรณ ไวทยางกูร ผู้ช่วยผู้อ�ำ นวยการสถาบันสง่ เสริมการสอน นายนทิ ัศน์ ล้มิ ผอ่ งใส สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวปนญั า วัฒนา โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวกมลชนก บรบิ ูรณ์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ฝ่ายประถมศกึ ษา
ดร. กศุ ลิน มสุ ิกุล นายศุภณัฐ คมุ้ โหมด สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางศวิ พร ไกรนรา โรงเรียนวดั สวุ รรณครี วี งก์
นายจริ วัฒน์ ด�ำ แกว้ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร. พรทพิ ย์ ศิรภิ ัทราชยั โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
นายศุภวริ ิยะ สรณารักษ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประสานมติ ร (ฝา่ ยประถม)
คณะผ้จู ดั ท�ำ คู่มือการใชห้ ลักสูตร นางสาวภคมน เนตรไสว สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางลาวัลย์ สุขเกษม โรงเรยี นอนุบาลเวียงชยั
นางสาวสวรรยา สินก่มิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นายสุรนิ ทร์ สุวิชยั โรงเรยี นชมุ ชมบ้านสันจำ�ปา
ดร. กศุ ลิน มุสิกุล สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวลกั ษมี เปรมชัยพร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางรุ่งหฤทยั ตาไฝ โรงเรียนบา้ นป่าซาง (ซางดรุนานุสานส)์
นางสาวจรี นนั ท์ เพชรแก้ว สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางไสว ธราภชิ าตบตุ ร นกั วชิ าการอสิ ระ
ดร. เทพกัญญา พรหมขตั แิ กว้ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นางชุตมิ า เตมยี สถิต สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวดวงกมล เหมะรตั สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นางสาววราภรณ์ ถริ สริ ิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางกิง่ แกว้ คอู มรพัฒนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางปาริฉตั ร พวงมณี สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผู้พจิ ารณาคู่มอื การใชห้ ลกั สตู ร คณะบรรณาธิการกจิ
นางสาวลัดดาวลั ย์ แสงส�ำ ลี สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รศ. ดร. นำ�้ ฝน คูเจริญไพศาล มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
นายสุเนตร ศรีบญุ เลิศ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ผศ. ดร. นฤมล ยตุ าคม
ผศ. ดร. อลิศรา ชชู าต ิ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร. เดชา ศุภพทิ ยาภรณ ์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ผศ. ดร. ณฐั วิทย์ พจนตันต ิ นกั วิชาการอิสระ
ดร. ศิริวรรณ ฉตั รมณรี งุ่ เจรญิ มหาวิทยาลัยราชภฏั ภูเกต็ ผศ. ดร. ชมุ พล คุณวาส ี มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรัง
นางสาวสุนิสา แสงมงคลพิพัฒน ์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร. สทุ ธกิ ญั จน์ ทพิ ยเกสร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
ผศ. ดร. ปฐั มาภรณ์ พมิ พท์ อง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
นางสาวธนพรรณ ชาลี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผศ. ดร. จุมพต พ่มุ ศรภี านนท ์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนยห์ ันตรา รศ. ดร. ทศั นีย์ บญุ เติม นกั วชิ าการอิสระ
นายสุรชัย เมธาอรรถพงศ ์ โรงเรยี นอนุบาลระยอง ผศ. ดร. ขวัญ อารยะธนติ กุล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล
นางสาวกมลนารี ลายคราม สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางพชั รินทร์ รัตตะรมย ์ โรงเรียนเทศบาลวดั โขดทมิ ทาราม รศ. ดร. วรี ะพงษ์ แสง-ชโู ต มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่
นางเสาวนยี ์ อารรี ักษ์ โรงเรียนเทศบาลวัดโขดทมิ ทาราม รศ. ดร. พลังพล คงเสร ี มหาวิทยาลัยมหดิ ล
นางอรนษิ ฐ์ โชคชัย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางสาววรรณา ใจกว้าง โรงเรยี นชุมชนบ้านตาหลงั ใน ผศ. ดร. ไพศาล สุวรรณนอ้ ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นางหอมหวล พิมลพนั ธ์ โรงเรียนอนบุ าลจนุ (บา้ นบัวสถาน) ผศ. ดร. เทียนทอง ทองพนั ชง่ั มหาวทิ ยาลยั มหิดล
นางสาวสมรศรี กนั ภัย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นางพมิ พผ์ กา เมืองไสย โรงเรียนสนั ปา่ ตอง (สวุ รรณราษฎรว์ ทิ ยาคาร)
นายพงษ์ศักดิ์ แสนชมภ ู โรงเรยี นปา่ งิ้ววิทยา วิทยาศาสตร์ โลกและอวกาศ ราชบัณฑิตด้านดาราศาสตร์ ราชบัณฑติ ยสถาน
นางยพุ าพร ลาภหลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นายพรชัย มที อง โรงเรยี นอนุบาลชัยภูมิ นายนิพนธ์ ทรายเพชร มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล วทิ ยาเขตกาญจนบุรี
นางประภาภรณ์ ไพบลู ย์มน่ั คง โรงเรียนอนุบาลอทุ มุ พรพสิ ัย ดร. ปริญญา พทุ ธาภิบาล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
นางสาวสุวนิ ัย มงคลธารณ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดร. ภาณุ ตรัยเวท
ดร. พจนา ดอกตาลยงค ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ดร. วันชยั นอ้ ยวงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ดร. นิพนธ์ จันเลน สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ดร. เบ็ญจวรรณ หาญพพิ ัฒน ์ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ดร. ณัฐธิดา พรหมยอด สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
นางสาวรตพร หลนิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวลลดิ า อำ่�บวั สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธกิ าร