The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร
ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565 เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่แก่หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2022-09-14 02:57:55

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร
ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565 เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่แก่หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้อง

Keywords: KM

คานา

ตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 11
หมวดท่ี 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ “ข้อ 3 การพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์การ
แห่งการเรียนรู้” ระบุว่า “ในการบริหารราชการแนวใหม่ ส่วนราชการจะต้องพัฒนาความรู้ความเชี่ยวชาญ
ให้เพียงพอแก่การปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และสถานการณ์
ของต่างประเทศทม่ี ีผลกระทบต่อประเทศไทยโดยตรง ซ่งึ ในการบริหารราชการตามพระราชกฤษฎีกาน้ีจะต้อง
มีการวางแผน การปฏิบัติราชการทุกระยะต้องมีการปรับแผน เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ต้องมีการกาหนด
ผลสมั ฤทธขิ์ องงานที่เป็นความจริง ฉะน้ัน แนวความคิดของผู้ปฏิบัติงานภาครัฐจะต้องเปลี่ยนแปลงทัศนคติเดิมเสียใหม่
จากก าร ที่ยึ ดแนว คิดว่าต้ อง ปฏิ บัติ งานตาม ระ เบีย บแบบแผนท่ี วางไ ว้ต้ั ง แต่ อดี ตจนต่ อเนื่อ งถึงปัจจุ บัน
เป็นการเน้นการสร้างความคิดใหม่ๆ ตามวิชาการสมัยใหม่และนามาปรับใช้กับการปฏิบัติราชการตลอดเวลา
ในพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้จึงกาหนดเป็นหลักการว่า ส่วนราชการต้องมีการพัฒนาความรู้เพ่ือให้มีลักษณะ
เปน็ องค์การแห่งการเรยี นร้อู ยา่ งสม่าเสมอ”

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 เป็นศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ
สังคมในระดบั พนื้ ที่ ทาหน้าทีใ่ นการพัฒนางานด้านวชิ าการเก่ียวกับการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ให้สอดคล้องกับพ้ืนที่และกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงส่งเสริม สนับสนุน และรวบรวมงานด้านวิชาการ องค์ความรู้
ข้อมูลสารสนเทศ และงานวิจัยต่าง ๆ เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพื้นท่ีแก่ภาคีเครือข่าย
จึงได้รวบรวมการจัดการความรู้ จากการรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กรของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 10 และสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน
ประจาปี 2565 เพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายข้ึนและเกิดการพัฒนาตนเอง
จนเป็นผู้รู้ แล้วนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้ ขอขอบคุณ
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) ในพื้นท่ี 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน (กระบ่ี ชุมพร
นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี) ที่เป็นผู้ให้การสนับสนุนข้อมูลในการรวบรวม ผลงาน
การจัดการความรู้ (KM) ฉบับนใี้ ห้สาเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี

สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 10
กันยายน 2565

บทนา

การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซ่ึงกระจัดกระจาย

อยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนา
ตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถ
ในเชิงแข่งขนั สูงสดุ โดยทีค่ วามร้มู ี 2 ประเภท คอื

1. ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือ
สัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทาความเข้าใจในส่ิงต่าง ๆ เป็นความรู้ท่ีไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคาพูด
หรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่า
เปน็ ความรู้แบบนามธรรม

2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่าน
วิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่า เป็นความรู้แบบรูปธรรม

โดยกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็นกระบวนการแบบหน่ึง
ทจ่ี ะช่วยให้องค์กรเขา้ ใจถงึ ขั้นตอนท่ีทาให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้หรือพัฒนาการของความรู้ท่ีจะเกิดข้ึน
ภายในองค์กร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังน้ี

1. การบ่งช้คี วามรู้ เชน่ พจิ ารณาวา่ วสิ ัยทัศน์/ พันธกิจ/ เป้าหมาย คืออะไร และเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย
เราจาเปน็ ตอ้ งร้อู ะไร ขณะนี้เรามคี วามร้อู ะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยูท่ ใ่ี คร

2. การสร้างและแสวงหาความรู้ เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า
กาจัดความรูท้ ใี่ ชไ้ มไ่ ดแ้ ลว้

3. การจัดความรูใ้ ห้เปน็ ระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเก็บความรู้
อย่างเป็นระบบในอนาคต

4. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ เชน่ ปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ภาษาเดียวกัน
ปรบั ปรุงเนอื้ หาใหส้ มบรู ณ์

5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทาให้ผู้ใช้ความรู้น้ันเข้าถึงความรู้ท่ีต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT) Web board บอรด์ ประชาสมั พันธ์ เป็นตน้

6. การแบ่งปันแลกเปล่ียนความรู้ ทาได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทา
เป็นเอกสาร ฐานความรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทาเป็นระบบ
ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพ่ีเลี้ยง การสับเปล่ียนงาน
การยืมตัว เวทแี ลกเปล่ยี นความรู้ เปน็ ตน้

7. การเรียนรู้ ควรทาให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น เกิดระบบการเรียนรู้จากการสร้าง
องค์ความรู้ และนาความรู้ ไปใช้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไป
อยา่ งตอ่ เนื่อง

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมการจัดการความรู้ จากการรวบรวม
องค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กรของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 และสานักงานพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จงั หวดั ภาคใตต้ อนบน ประจาปี 2565 ประกอบด้วย

1. สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 10

- ถอดบทเรยี นอาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยด์ เี ดน่ พิเศษ
และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ดีเด่น ประจาปี 2564
ในพื้นที่ 7 จงั หวัดภาคใตต้ อนบน

2. สานักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดกระบี่

- คู่มอื การจ้างงานคนพิการสาหรบั นายจา้ งหรือเจ้าของสถานประกอบการ
- คมู่ ือการป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครวั
- คมู่ ือการสร้าง Infographic และตัดตอ่ วดิ โี อเบอื้ งต้น ด้วยแอปพลเิ คชนั Canva

3. สานกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดชุมพร

- เครอื่ งมอื ดจิ ทิ ลั เพอ่ื การปฎิบัติงาน

4. สานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัดนครศรีธรรมราช

- คมู่ อื แนวทางการชว่ ยเหลือเด็ก สตรีและครอบครัว คนพิการ ผสู้ ูงอายุ
และผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม

5. สานกั งานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดพังงา

- คู่มือการช่วยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสังคม 5 ประเภท
- การขอยื่นรบั รองเปน็ องคก์ รสาธารณประโยชนแ์ ละองคก์ รสวัสดิการชุมชน

6. สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัดภูเกต็

- One Stop Service ศนู ย์บริการเคลอื่ นทีเ่ พื่อคณุ ภาพชวี ติ ที่ดขี องคนพกิ าร

7. สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดระนอง

- คูม่ ือการใช้งาน Google Form
- คูม่ ือการเบกิ ค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรม
- คู่มอื การใชง้ าน Google Drive
- เอกสารประกอบการสอนสมดุ พกออนไลน์

8. สานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

- คมู่ ือการกรองขอ้ มลู จากระบบบรหิ ารจดั การข้อมูลแบบชเ้ี ป้า (TPMAP)

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร
ของสานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 10 และสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.)
7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจาปี 2565 เพ่ือให้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพ้ืนที่แก่หน่วยงาน
ภาคเี ครือขา่ ย และผู้ที่เกีย่ วขอ้ ง





คานา

การจัดการความรู้ (Knowledge management : KM) เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร
ซ่ึงกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึง
ความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กร
มีความสามารถเชิงแข่งขันสูงสุด โดยเปูาหมายที่สาคัญของการจัดการความรู้มุ่งพัฒนาใน 3 ประเด็น ได้แก่
พฒั นางาน พัฒนาคน และการเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้ดาเนินโครงการ
ศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม กาหนดประเด็นองค์ความรู้การจัดการความรู้ภายใน
องค์กร (Knowledge Management : KM) เร่ือง ถอดบทเรียนอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ดีเด่นพิเศษและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 ในพื้นท่ี
7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา และจังหวัดชุมพร โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ มีรูปแบบ กระบวนการ แนวทางปฏิบัติงาน และแรงบันดาลใจในการทางาน สามารถ
ปฏบิ ัติงานด้านพัฒนาสังคมได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ในโอกาสนี้ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ขอขอบคุณ นางสรวงสุดา ชีพเจริญวงศ์
อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ดีเดน่ พิเศษ ประจาปี 2564 จังหวัดกระบ่ี ,นางจิตรา ศิริวิชัย
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่นพิเศษ ประจาปี 2564 จังหวัดพังงา ,นางสาคร พัฒแก้ว
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 จังหวัดกระบ่ี ,นางเตือนใจ
แสงปลอด อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 จังหวัดนครศรีธรรมราช
,นางนิตยา สันตเตโช อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 จังหวัดภูเก็ต
,นางสาวจิตรดา เชื้อหาญ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564 จังหวัด
ระนอง ,นายสมศักด์ิ ปาลคะเชนทร์ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ,นางกญั ญาภคั เดชยศดี อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี
2564 จังหวัดพังงา และนางประทีป ศรีอัมพร อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น
ประจาปี 2564 จังหวดั ชมุ พร ท่ไี ด้ถ่ายทอด แลกเปล่ียนองค์ความรู้ ประสบการณ์และข้อมูลสาหรับการจัดการ
ความรู้ในครง้ั น้ี และหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่ออาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
หรือผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ให้สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
หรือนาไปประยกุ ตใ์ ช้ใหส้ อดคลอ้ งตามบรบิ ทงานไดต้ ่อไป

คณะผจู้ ดั ทา
สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 10

พฤษภาคม 2565

-ก-

สารบญั

คานา หน้า

สารบญั ก

บทนา 1
2
อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ คอื ใคร 4
4
เกณฑก์ ารคัดเลอื กอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ดเี ดน่ 5

เกณฑก์ ารคดั เลอื กอาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ดีเดน่ พิเศษ 6
6
รายชื่ออาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ดีเดน่ พเิ ศษ และอาสาสมัครพัฒนาสังคม 10
14
และความม่นั คงของมนษุ ยด์ ีเดน่ ประจาปี 2564 ในพน้ื ที่ 7 จังหวดั ภาคใต้ตอนบน 14
17
อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยด์ ีเดน่ พิเศษ ประจาปี 2564 22
25
- นางสรวงสุดา ชพี เจรญิ วงศ์ จงั หวัดกระบ่ี 29
32
- นางจติ รา ศริ วิ ิชัย จังหวัดพงั งา 35
37
อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยด์ ีเดน่ ประจาปี 2564 40

- นางสาคร พัฒแกว้ จังหวัดกระบ่ี

- นางเตือนใจ แสงปลอด จังหวัดนครศรธี รรมราช

- นางนิตยา สันตเตโช จังหวดั ภูเกต็

- นางสาวจิตรดา เชอ้ื หาญ จังหวัดระนอง

- นายสมศักด์ิ ปาลคะเชนทร์ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

- นางกญั ญาภัค เดชยศดี จงั หวัดพงั งา

- นางประทีป ศรีอมั พร จงั หวดั ชุมพร

บทสรุป

แนวทางการขบั เคล่ือนงาน อพม. สูก่ ารเป็น อพม. ดีเด่น และ อพม. ดีเด่นพเิ ศษ

-ข-

บทนา

กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ (พม.) เป็นกระทรวงภาคสังคมมีภารกิจด้านการ
พัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความ
มั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน ให้ประชาชนกลุ่มเปูาหมาย เด็ก เยาวชน สตรี ผู้ด้อยโอกาส
คนพิการ และผู้สูงอายุ พัฒนาประชาชนให้สามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงอยู่
ตลอดเวลา และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ดังนั้นเพื่อการขับเคลื่อนงานให้เป็นไปตามภารกิจ กระทรวงฯ จึงได้
สร้างเครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) เข้ามาช่วยปฏิบัติภารกิจหน้าท่ี
โดยใช้วิธีการฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นการลดภาระงานภาครัฐ และเพิ่มประสิทธิภาพในการ
เข้าถงึ ประชาชนใหม้ ากยิ่งขึ้น

อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ตามระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2564
หมายความว่า “บุคคลที่สมัครใจเพื่อเข้าช่วยเหลือการดาเนินงานตามภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมนั่ คงของมนษุ ย์ และผ่านการอบรม ตามหลกั เกณฑ์ วิธีการ ที่คณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัคร
พัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์กาหนด และขึ้นทะเบียนตามทีร่ ะเบียบน้ีกาหนด” มีความแตกต่างจาก
อาสาสมัครประเภทอ่ืนๆ คือ การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่มีค่าตอบแทน ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างขวัญกาลังใจ
ให้เกียรติ ให้โอกาส แก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซ่ึงเป็นคนที่มีแรงจูงใจในการ
ทางาน มีความทุ่มเท และพยายามทางานเป็นพิเศษมากกว่าคนอ่ืน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ จึงได้มีการมอบรางวัลแก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ท่ีปฏิบัติงาน
ด้วยความเสียสละ มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ และปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ืองไม่น้อยกว่าสามปี สามารถส่งผลงาน
เพ่ือเข้ารับการคัดเลือกเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่น และหากยังคงปฏิบัติงาน
ดีเด่นอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ รวมระยะเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี สามารถส่งผลงานเพ่ือเข้ารับ
การคัดเลอื กเปน็ อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ดเี ด่นพิเศษประจาปี

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้ดาเนินการถอดบทเรียนอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความม่นั คงของมนษุ ย์ดเี ดน่ พิเศษและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564
ในพ้นื ท่ี 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย จังหวัดกระบ่ี จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา และจังหวัดชุมพร เพ่ือศึกษาแนวความคิดรูปแบบ กระบวนการทางาน
ในพื้นท่ีของ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นพิเศษ และอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ดเี ด่น เพื่อเป็นแนวทางให้อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
มีรูปแบบ กระบวนการ แนวทางปฏิบัติงาน และนาไปสร้างแรงบันดาลใจในการทางานเป็น อาสาสมัคร
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และสามารถปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในระดบั พน้ื ทยี่ ิง่ ข้นึ

-1-

อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ คอื ใคร

อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีช่ือย่อว่า “อพม.” และมีช่ือเรียก
เป็นภาษาอังกฤษว่า “Social Development and Human Security Volunteer” และมีช่ือย่อ
ภาษาอังกฤษว่า “SDHSV” หมายความว่า บุคคลที่สมัครใจเพ่ือเข้าช่วยเหลือการดาเนินงานตามภารกิจ
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และผ่านการอบรม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
ท่ีคณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กาหนด และขึ้นทะเบียน
ตามท่ีระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมน่ั คงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2564 กาหนด

คุณสมบัติ ของ อพม.

1. มีสญั ชาติไทย
2. เป็นบุคคลท่ีสมัครใจ และมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ีเพื่อช่วยเหลือการดาเนินงานตามภารกิจ

ของกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์
3. กรณใี นตา่ งประเทศ ต้องมีถิ่นพานกั ทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎหมายในประเทศนั้น ๆ
4. สามารถอา่ นออกเขยี นได้
5. มคี วามซื่อสัตยส์ ุจริต มคี ณุ ธรรมและความประพฤติดี
6. เปน็ ผู้มีความจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
7. เป็นผมู้ ีเวลาใหก้ ับการทางานในบทบาทอาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์

ลกั ษณะตอ้ งห้าม ของ อพม.
๑. เปน็ โรคติดต่อรา้ ยแรงในขณะสมัคร
๒. เป็นคนทพุ พลภาพจนไมส่ ามารถปฏิบตั หิ นา้ ท่ีได้ หรอื เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ

การสน้ิ สภาพความเปน็ อพม.
๑. ตาย
๒. ลาออก
๓. เปน็ คนทพุ พลภาพจนไม่สามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ได้ หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
๔. คณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กอพม.) จังหวัด/

คณะกรรมการส่งเสริมงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (กอพม.) กทม. แล้วแต่
กรณี มีคาส่ังให้พ้นสภาพการเป็น อพม. เน่ืองจากมีความประพฤติเสียหายอันจะนามาซ่ึง
ความเสือ่ มเสยี หรอื ความบกพร่องตอ่ การปฏิบัติหนา้ ที่
๕. ถกู จาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงท่สี ุดให้จาคุก เว้นแตค่ วามผิดลหุโทษ หรอื ความผิดทก่ี ระทาโดยประมาท

-2-

บทบาทหน้าทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของ อพม.

๑. ปฏิบัติตามนโยบายของทุกหนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวง
๒. ค้นหา ช้ีเปูา เฝูาระวัง สารวจข้อมูล เสนอรายช่ือผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้กับหน่วยงาน

ในสังกัดกระทรวงพิจารณา เพอื่ ขอรบั การช่วยเหลือตามภารกจิ ของกระทรวง
๓. ให้คาแนะนาปรึกษาปัญหาทางสังคม ประสาน ติดตาม เสนอแนะแนวทางการช่วยเหลือ

ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน ให้บริการ และดาเนินงานเพ่ือพิทักษ์คุ้มครองสิทธิกลุ่มเปูาหมาย
ตามภารกิจของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวง หรือตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์
ท่ีเกยี่ วข้อง
๔. ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ และจัดกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ เพ่ือการเฝูาระวัง ปูองกัน แก้ไข และฟื้นฟูคุณภาพชีวิต โดยสอดคล้องกับสถานการณ์
ของพน้ื ทน่ี ้นั ๆ
๕. เสรมิ สร้างการมีสว่ นร่วมทางสงั คมและเสรมิ สร้างเครือขา่ ยด้านการพฒั นาสงั คม
๖. ประสานและสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภารกิจที่เก่ียวข้อง
กับการจัดสวัสดกิ ารสังคมและการพัฒนาสงั คม
๗. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ จัดการรณรงค์ ให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารด้านการพัฒนาสังคมและส่งเสริม
การเข้าถงึ สิทธขิ องประชาชนกลุม่ เปูาหมายตามภารกจิ ของกระทรวง
๘. ศึกษา พัฒนาตนเอง เข้าร่วมกิจกรรมท่ีจัดโดยหน่วยงานในสังกัดกระทรวงและหรือส่งเสริมสนับสนุน
การดาเนินงาน
๙. กรณีปฏิบัติหน้าที่ในต่างประเทศอย่างน้อยจะต้องปฏิบัติตาม ข้อ 1 – 8 รวมท้ังกฎหมายระหว่าง
ประเทศและกฎหมายทอ้ งถ่นิ ในประเทศนั้น ๆ
ผู้ท่ีผ่านการอบรม ตามหลักเกณฑ์ จะได้รับการข้ึนทะเบียนเป็น อพม. และได้รับวุฒิบัตร รวมทั้ง
บตั รประจาตัว อพม.

สิทธิประโยชน์

๑. ประกาศเกียรติคุณ โล่ประกาศเกียรติคุณ หรือเข็มเชิดชูเกียรติ ตามหลักเกณฑ์ ขั้นตอน หรือวิธีการ
ท่ีกรมพฒั นาสังคมและสวสั ดิการประกาศกาหนด

๒. การเสนอชื่อเพ่ือขอรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ตามหลักเกณฑ์การขอพระราชทาน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ตามกฎหมายว่าด้วยเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
อนั เปน็ ทส่ี รรเสริญยิง่ ดเิ รกคณุ าภรณ์ พ.ศ. 2534)

๓. สาหรับบุคคลท่ีประกอบคุณงามความดี คุณประโยชน์ และเสียสละบาเพ็ญประโยชน์ด้านการพัฒนา
สังคมอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ อาจได้รับการพิจารณาแต่งต้ังให้เป็น “อพม. กิตติมศักดิ์”
มสี ิทธไิ ด้รบั การข้ึนทะเบยี นเป็น อพม. และได้รบั วุฒบิ ตั รกิตติมศักดริ์ วมทัง้ บัตรประจาตวั อพม.

๔. การพัฒนาความรูแ้ ละทกั ษะ เพ่ือยกระดบั เป็นอาสาสมคั รทม่ี คี วามเช่ียวชาญเฉพาะทาง (ตามระเบียบ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ พ.ศ. 2564 ข้อ 25) ท้งั นข้ี น้ึ อยู่กับความสนใจและศกั ยภาพของ อพม. นัน้

๕. การสนับสนุนงบประมาณและหรือการเบิกค่าใช้จ่ายในการดาเนินการตามบทบาท หน้าที่ และความ
รับผิดชอบตามระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์ วา่ ด้วยอาสาสมัครพัฒนา

-3-

สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2564 และตามประกาศกระทรวงโดยความเห็นชอบของ
กรมบญั ชีกลาง
๖. สิทธิประโยชน์อืน่ ๆ ตามที่กระทรวงหรอื หน่วยงานอื่นท่ีเก่ยี วขอ้ งกาหนดไว้
เกณฑก์ ารคัดเลือก
อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ดเี ดน่
ตามระเบยี บกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2564 ข้อ 29 (1) ความว่า “อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ทป่ี ฏบิ ตั ิงานดเี ดน่ อยา่ งต่อเนอ่ื ง สม่าเสมอ ไม่น้อยกว่าสามปี มีสิทธิได้รับการพิจารณาคัดเลือก เพื่อรับประกาศ
เกียรตคิ ณุ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเดน่ ประจาปี”

อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ดเี ดน่ พเิ ศษ
ตามระเบียบกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ ว่าด้วยอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ

ความม่นั คงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2564 ข้อ 29 (2) ความว่า “อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
ที่เคยได้รับประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นประจาปี ตาม (1)
และยังคงปฏิบัติงานดีเด่นอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ รวมระยะเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี มีสิทธิได้รับ
การพิจารณาคัดเลือกเพ่ือขอรับโล่ประกาศเกียรติคุณอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น
พเิ ศษประจาปี และเข็มเชดิ ชเู กียรตอิ าสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยด์ เี ดน่ ประจาปี

-4-

รายชื่ออาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ดีเด่นพิเศษ ประจาปี 2564
ในพ้ืนที่ 7 จังหวดั ภาคใตต้ อนบน ได้แก่

1. นางสรวงสดุ า ชพี เจรญิ วงศ์ จังหวดั กระบี่

2. นางจิตรา ศิริวชิ ัย จังหวัดพงั งา

รายช่ืออาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ดีเด่น ประจาปี 2564
ในพ้นื ท่ี 7 จงั หวัดภาคใตต้ อนบน ได้แก่

๑. นางสาคร พัฒแกว้ จงั หวัดกระบี่
๒. นางเตือนใจ แสงปลอด จงั หวัดนครศรธี รรมราช
๓. นางนิตยา สันตเตโช จังหวดั ภเู กต็
๔. นางสาวจติ รดา เชอ้ื หาญ จงั หวดั ระนอง
๕. นายสมศักด์ิ ปาลคะเชนทร์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๖. นางกัญญาภัค เดชยศดี จังหวัดพงั งา
๗. นางประทปี ศรอี ัมพร จังหวัดชุมพร

-5-

อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ยด์ เี ด่นพเิ ศษ ประจาปี 2564

จงั หวดั กระบี่

นางสรวงสดุ า ชีพเจรญิ วงศ์

ประวตั ิส่วนตวั

ชื่อ นางสรวงสดุ า ชพี เจรญิ วงศ์

วนั /เดือน/ปี เกดิ 4 สิงหาคม 2504

อายุ 61 ปี

เชอื้ ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา อิสลาม

การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี

อาชีพ แมบ่ า้ น

โทรศพั ท์ 08 7884 0992

ท่อี ยู่ 73 หมู่ 7 หมูบ่ ้านเขาแกว้ ตาบลเหนอื คลอง อาเภอเหนอื คลอง จงั หวดั กระบี่ 81130

นางสรวงสุดา ชีพเจริญวงศ์ ได้เคยพบเห็นผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ทาให้เกิดความรู้สึกเห็นอก
เห็นใจและสงสาร จึงมองหาวิธีที่จะสามารถช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสท่ีเราพบเจอให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน
จนไดท้ ราบบทบาทหนา้ ที่ของอาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ และได้สมัครเข้ารับการอบรม
และได้ปฏิบัติงานเป็น อพม. ต้ังแต่ พ.ศ. 2547 รวมระยะเวลากว่า 17 ปี ได้ทุ่มเทแรงกาย แรงใจ ทางาน
อาสาสมัคร ทางานเพ่ือสังคมมาโดยตลอด “การได้เห็นคนด้อยโอกาสในชุมชน ได้รับความช่วยเหลือ
ได้เข้าถึงสิทธิสวัสดิการท่ีเขาพึงจะได้รับ ทาให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และยังทาให้ชุมชนน่าอยู่
มากขึ้นอีกด้วย นอกจากน้ี นางสรวงสุดา ชีพเจริญวงศ์ ยังได้รับความไว้วางใจ ความเช่ือถือจากคนใน
ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง และรู้สึกมีความสุขใจทุกคร้ังท่ีได้ช่วยเหลือผู้อ่ืน” สิ่งเหล่านี้คือ
แรงบันดาลใจหรือแรงผลักดันในการทางาน อพม. และคือคุณค่าในการทางาน อพม. เป็นอย่างย่ิง
สาหรับวิธีการปฏิบัติงานหรือรูปแบบการทางานด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคม
กับกลุ่มเปูาหมายต่างๆ คือ เม่ือได้รับมอบหมายงานจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวง พม. ก็จะประสานงาน
กับเครือข่าย อพม. ในพื้นที่ เพ่ือลงเยี่ยมและเก็บข้อมูลของกลุ่มเปูาหมาย และประสานงานส่งต่อข้อมูล
ให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เมื่อลงพื้นท่ีก็จะให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเปูาหมายและ
ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของ อพม. ให้ข้อมูลในการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการที่กลุ่มเปูาหมาย
พึงจะไดร้ บั หลงั จากนน้ั จะมีการตดิ ตาม หรือรายงานผล และรวบรวมผลงาน ต่อไป

ความสาเร็จท่ภี าคภมู ใิ จ หรอื ผลงานท่ีโดดเด่นของนางสรวงสุดา ชีพเจริญวงศ์ คือ ได้รับการยอมรับ
จากคนในชุมชน และได้รับการยกย่องจนได้รับเลือกต้ังให้เป็นสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล และได้รับ
รางวัล อพม.ดีเด่น ระดับจังหวัดประจาปี 2564 โดยปัจจัยท่ีเอ้ือต่อความสาเร็จท่ีได้รับคัดเลือกเป็น อพม.
ดีเด่นพิเศษ คือ “ความเข้าใจ และการสนับสนุนจากคนในครอบครัว การได้รับความไว้วางใจ
จากคนในชุมชน การเป็นคนมีจิตสาธารณะ เสียสละเวลาส่วนตัวเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม และมีทีมงาน
มีเครือข่ายที่คอยช่วยเหลือกัน” ซ่ึง อพม. ในระดับพ้ืนที่มีความเข้มแข็ง ทางานเป็นทีม มีการกระจายงาน
ในแต่ละพื้นท่ี มีการสร้างกลุ่มไลน์เพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อประสานงานกันระหว่าง อพม. ในพ้ืนที่
ทงั้ ระดับตาบล ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด มีการขับเคลื่อน อสม. สู่การเป็น อพม. เพราะคนในพื้นท่ีส่วนใหญ่

-6-

จะรจู้ ัก อสม. เปน็ อยา่ งดี การให้คน 1 คน ทางานได้หลายบทบาท หลายหน้าท่ีจึงเป็นเรื่องท่ีดี ทาให้สามารถ
ทราบข้อมูลหลาย ๆ ด้านของกลุ่มเปูาหมาย และสามารถให้ความช่วยเหลือเบ้ืองต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ซง่ึ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ไดใ้ ห้ความช่วยเหลือในเรื่องการจัดทาระบบข้อมูลกลุ่ม
เส่ียงและผ้ตู ิดเชอ้ื ในระดับพ้ืนที่ ออกเอกสารใบกักตัว และรับยาเพ่ือส่งให้กับผู้ท่ีติดเชื้อโควิด-19 รวมถึงได้ร่วม
มอบเครอ่ื งอปุ โภคบริโภคใหผ้ ทู้ ่ีเป็นกล่มุ เส่ียงและผูต้ ดิ เชือ้ ในระดบั พื้นที่อีกด้วย

สาหรบั คุณลักษณะของ อพม. ท่คี วรจะมี หรอื ควรเป็น คือ “มีใจเป็นกลาง ยุติธรรม ซื่อสัตย์ ต้องเป็น
คนอดทน อดกลั้น อดออม พูดในสิ่งท่ีควรพูด ไม่พูดให้ความหวังกับผู้อื่น และท่ีสาคัญต้องมีจิตอาสา
เสียสละเวลา และอุทิศตนเพื่อส่วนรวม” ส่วนแนวทางให้คนเข้ามาทางานเป็น อพม. เพ่ิมมากขึ้น จะต้องมี
การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบถึงบทบาทหน้าที่และความสาคัญของ อพม. แสดงให้ผู้อ่ืนเห็นถึง
คณุ ค่าของการทางานเปน็ อพม. และเปน็ แบบอย่างที่ดีในการปฏิบัตงิ าน

ปัญหา / อปุ สรรค
๑. เมื่อเจ้าหน้าที่ อพม. ลงพ้ืนที่ไปเก็บข้อมูล ทาให้ผู้ประสบปัญหาเกิดความหวังและอาจจะเข้าใจผิด

ว่าจะตอ้ งได้รับการชว่ ยเหลือทุกครงั้
๒. การลงพื้นที่เพ่ือเก็บข้อมูลซ้า เน่ืองจากครั้งแรกยังไม่ผ่านหรือไม่ได้รับการช่วยเหลือ เป็นการบ่ันทอน

ความน่าเชอ่ื ถือจากผู้ประสบปญั หาทางสังคมไปด้วย
๓. เจา้ หนา้ ท่ผี รู้ บั ผดิ ชอบ อพม. มกี ารเปลยี่ นเจา้ หน้าทบ่ี ่อย สง่ ผลให้ขาดความตอ่ เนอ่ื งในการทางาน
๔. ผู้ที่ได้รับการอบรม อพม. บางรายยังไม่มีบัตรประจาตัว อพม. ทาให้ขาดขวัญและกาลังใจ

ในการปฏิบตั งิ าน
ขอ้ เสนอแนะ
๑. ให้ อพม. ทุกคนมีบัตรประจาตัว อพม. เพื่อความม่ันใจในการลงพื้นที่ และเพ่ือความสะดวก
ในการตดิ ต่อ ประสานงาน
๒. การสนบั สนุนคา่ ตอบแทน หรอื คา่ ยานพาหนะใหก้ ับผู้ปฏบิ ตั งิ านใหเ้ พยี งพอ
๓. ให้มกี ารจัดต้ังเปน็ ชมรม อพม. เพอื่ ให้มีการชว่ ยเหลอื พ่ีน้อง อพม. ดว้ ยกนั เมอ่ื ประสบปัญหาตา่ งๆ
๔. ให้ อพม. เป็นผู้สอบข้อเท็จจริงเบ้ืองต้นในการขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ได้อย่างแท้จริงเพราะจะช่วยลดภาระงานของเจ้าหน้าท่ี
และช่วยให้ผูท้ ป่ี ระสบปัญหาทางสงั คมได้รับการช่วยเหลอื รวดเร็วข้นึ

-7-

ผลงาน

แจกถุงยงั ชีพให้กับผ้ปู ุวยโควิด-19
นาจติ อาสา อพม. ร่วมกบั เจา้ หน้าทพ่ี มจงั หวัดเพ่ือเยย่ี มผปู้ ุวยตดิ เตยี งในเขต อาเภอเหนือคลอง

-8-

เยีย่ มผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม
เย่ยี มผ้สู งู อายรุ ว่ มกับ เจา้ หน้าที่ พม.จงั หวดั

ลงพื้นท่ีรว่ มกับเจ้าหน้าที่ พม.

-9-

อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยด์ เี ดน่ พเิ ศษ ประจาปี 2564

จงั หวดั พังงา
นางจิตรา ศิรวิ ชิ ัย

ประวตั ิสว่ นตัว

ชื่อ นางจติ รา ศริ วิ ิชยั

วนั /เดือน/ปี เกดิ 12 มีนาคม 2504

อายุ 61 ปี

เชือ้ ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

การศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

อาชีพ คา้ ขาย/ตัดเย็บเสือ้ ผา้

โทรศพั ท์ 08 9972 1350

ที่อยู่ 45/2 หมูท่ ี่ 7 ตาบลทุ่งมะพรา้ ว อาเภอท้ายเหมอื ง จงั หวัดพงั งา 82120

นางจิตรา ศิริวิชัย เป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญในสังคมเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น ผู้ร่วมจัดตั้งวิทยาลัย
สุขภาพผู้สูงอายุ รุ่นที่ 1 ,ผู้ประสานช่วยเหลือหน่วยงานภาครัฐ ขอที่อยู่อาศัยให้กับผู้สูงอายุ และผู้ยากไร้ ,
ติดตามเย่ียมบ้านผู้สูงอายุและผู้ยากไร้ ร่วมกับกาชาดจังหวัดพังงา และนายอาเภอท้ายเหมืองในพ้ืนท่ีตาบล
ทุง่ มะพร้าว ,ร่วมกจิ กรรมรณรงค์ สังคมลดขอทานบนฐานความร่วมมือ กับศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดพังงา
,ร่วมลงพื้นที่เยี่ยมผู้ประสบปัญหาทางสังคมกับนิคมสร้างตนเองท้ายเหมือง ,เป็นแกนนารวมตัวก่อตั้งมูลนิธิ
สยามรวมใจ (ปูุอินทร์) ตาบลทุ่งมะพร้าว ,เป็นแกนนารวมตัวก่อตั้งกองทุนสวัสดิการชมรมผู้สูงอายุตาบล
ทุ่งมะพร้าว ,เป็นแกนนารวมตัวจัดต้ังกองทุนสวัสดิการชุมชนตาบลทุ่งมะพร้าว ,เป็นวิทยากรในการส่งเสริม
อาชพี ภายใต้กล่มุ “ขนมิ บาติก” ,เป็นแกนนาก่อตั้งกลุ่มจิตอาสาดูแลสุขภาพชุมชน (อาสากาชาดตาบล) เป็นต้น
การไดม้ บี ทบาทตา่ ง ๆ ในสงั คม ไดส้ มั ผัสใกล้ชดิ กับคนในชุมชน ทาให้รับทราบถึงสภาพปัญหาของคนในชุมชน
เป็นอยา่ งดี จึงไดเ้ ข้ารบั การอบรมเพ่อื เป็น อพม. ตัง้ แต่ พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลากว่า 18 ปี โดยเกิดแรง
บันดาลใจ หรือแรงผลักดันในการทางานเป็น อพม. “ด้วยลักษณะงานท่ีมีความท้าทาย ช่วยกระตุ้น
ให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา และได้ช่วยเหลือคนในชุมชนหรือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคมให้ได้เข้าถึงสิทธิสวัสดิการ และได้รับการช่วยเหลือในเบ้ืองต้นได้ทันท่วงที” คุณค่าของการทางาน
อพม. คอื “ได้เป็นท่ีรู้จัก เป็นที่ยอมรับ นับถือ จากคนในชุมชน และการได้เป็นผู้ให้ ได้ช่วยให้ผู้อ่ืนพ้นจาก
ความทุกข์ หรือความยากลาบาก ทาให้เรารู้สึกภูมิใจ สุขใจ อิ่มใจทุกครั้ง” สาหรับวิธีการปฏิบัติงานหรือ
รูปแบบการทางานด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมกับกลุ่มเปูาหมายต่างๆ คือ เม่ือหน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มอบหมายงานท่ีเกี่ยวข้องให้แก่ อพม.
กจ็ ะสารวจข้อมูล และรวบรวมข้อมลู ของกลุ่มเปาู หมายในพืน้ ท่รี บั ผดิ ชอบ วางแผนการทางานร่วมกับเครือข่าย
และผู้นาชมุ ชน โดยใหค้ วามช่วยเหลืออย่างยตุ ธิ รรม ไม่ลาเอียง จัดลาดับความสาคัญและเข้าช่วยเหลืออย่างทั่วถึง
จากนั้นจะประสานส่งต่อให้กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงติดตามผลการช่วยเหลือ และจดบันทึกไว้เป็น
หลักฐานตอ่ ไป

- 10 -

ความสาเร็จที่ภาคภูมิใจ หรือผลงานที่โดดเด่น คือ การได้ช่วยเหลือคนในชุมชนให้เข้าถึงสิทธิและ
สวัสดิการท่ีพึงจะได้รับ ได้เป็นที่ยอมรับ และได้รับการยกย่องจากคนในชุมชน โดยมีปัจจัยที่เอื้อ
ตอ่ ความสาเร็จที่ได้รบั คดั เลอื กเปน็ อพม. ดเี ดน่ พเิ ศษ คือ “ความเข้าใจ การสนับสนุนจากคนในครอบครัว
และชุมชน การปฏิบตั งิ านอย่างตอ่ เนื่อง มผี ลงานเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ มีทีมงาน มีเครือข่ายที่คอยช่วยเหลือกัน
เคารพในความแตกตา่ งและความหลากหลายของคนในสงั คม ไม่แบง่ แยกสรา้ งความเท่าเทียมกัน มีทักษะ
ในการคดั กรองกลมุ่ เป้าหมาย เพือ่ ใหเ้ ขา้ ถึงและไดร้ ับการ ชว่ ยเหลอื ท่ีรวดเร็วและถูกต้อง เช่น การวางแผน
การปฏิบัติงานการสารวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และการจัดลาดับความสาคัญของปัญหา” เป็นต้น ในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 นางจติ รา ศริ ิวิชยั ไดร้ วมกลุ่มกันตัดเย็บหน้ากากผ้าเพ่ือแจกจ่าย
ให้ประชาชน ช่วยประสานดาเนินการขอวัคซีนปูองกันโควิด-19 ให้ผู้ปุวยติดเตียงในพ้ืนที่ และรวบรวมอาหาร
จากผลผลิตในชมุ ชน เพ่อื แจกจ่ายให้กับผทู้ เ่ี ปน็ กลุ่มเสี่ยงและผตู้ ิดเชอื้ ในระดับพ้ืนที่

สาหรับคุณลักษณะของ อพม. ทคี่ วรจะมีหรือควรเป็น คือ “ต้องมีความเป็นจิตอาสา เสียสละ อุทิศตน
เพ่อื ประโยชน์ส่วนรวม ควรมีความพร้อม และความเข้าใจจากคนในครอบครัว” ส่วนแนวทางให้คนเข้ามา
ทางานเปน็ อพม. เพ่ิมมากข้นึ คอื การประชาสัมพันธ์บอกต่อให้ผู้อื่นรู้จัก อพม. และบทบาทหน้าท่ีของ อพม.
และทสี่ าคญั อพม. ในพ้ืนท่ตี ้องปฏบิ ัตติ ัวเป็นตน้ แบบทดี่ ี และมีผลงานเปน็ ที่ประจักษอ์ ีกด้วย

ปญั หา / อปุ สรรค
๑. บางพ้นื ท่ี บางครอบครัว ยังเข้าไม่ถึงสิทธิและสวสั ดกิ ารท่พี ึงจะไดร้ บั
๒. ผู้ประสบปัญหาบางรายอาจจะไม่ได้เป็นคนในพ้ืนที่โดยแท้จริง จึงส่งผลให้เกิดความยุ่งยากในการให้

ความชว่ ยเหลอื
ข้อเสนอแนะ
๑. ควรมีการจดั อบรมเพอ่ื พัฒนาศักยภาพของ อพม. อย่างสม่าเสมอ
2. ควรมีสวัสดิการของ อพม. ในเรื่องการดูแลด้านสวัสดิการของ บุตร หลาน หรือคนในครอบครัว เช่น
การศกึ ษา , คา่ รักษาพยาบาล เปน็ ต้น

ผลงาน

รณรงค์ยุติความรนุ แรงต่อเด็กและสตรีและความรุนแรงในครอบครัว 4 ก.พ. 64

- 11 -

ประชมุ ชี้แจงและแต่งตง้ั คณะกรรมการโครงการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การพัฒนาสังคมในนคิ มสร้างตนเอง
ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๔

เครือข่าย อพม. ร่วมสนบั สนุนเครอ่ื งอุปโภคบริโภคในจงั หวัดพังงาตามโครงการ
“คลังอาหารประจาหมู่บ้านโภคชุมชน”

เครือข่าย อพม. รว่ มเย็บหนา้ กากแจกประชาชนปูองกันการแพรเ่ ชอ้ื โควดิ -19

- 12 -

เครือข่าย อพม. ลงพ้นื ท่เี ยี่ยมผู้ปวุ ยตดิ เตยี ง คนพิการ ผูป้ ระสบปัญหาทางสังคม

- 13 -

อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยด์ เี ด่น ประจาปี 2564

จังหวดั กระบ่ี

นางสาคร พฒั แก้ว

ประวตั ิส่วนตวั

ชอ่ื นางสาคร พฒั แก้ว

วนั /เดอื น/ปี เกิด 20 กมุ ภาพันธ์ 2508

อายุ 57 ปี

เชอ้ื ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ

การศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

อาชีพ ทาสวน

โทรศัพท์ 09 3615 8831

ท่ีอยู่ 441 ถนน อ่าวลึก-พระแสง ตาบลปลายพระยา อาเภอปลายพระยา จังหวัดกระบ่ี 81160

นางสาคร พัฒแก้ว เริ่มปฏิบัติงานด้านอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
ตงั้ แต่ พ.ศ.2549 รวมระยะเวลากว่า 15 ปี เดิมได้ปฏิบัติหน้าท่ีตาแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9 บ้านหน้าสวน
ต.ปลายพระยา อ.ปลายพระยา จ.กระบี่ เป็นคนที่ชอบช่วยเหลือคนอื่นอยู่แล้ว ไม่ว่าจะใครท่ีไหนถ้าได้รับ
ความเดือดร้อนต้องการให้ช่วยเหลือก็จะให้การช่วยเหลือโดยไม่หวังผลอะไร ให้ด้วยใจ ต่อมาได้รู้จัก
กับหน่วยงานที่ให้การช่วยคนตั้งแต่เกิดจนตาย คือสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (พมจ.)
จังหวัดกระบี่ จึงได้มาสมัครเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ประจาอาเภอ
ปลายพระยา เพ่ือจะได้ช่วยเหลือสังคมได้อย่างเต็มท่ียิ่งขึ้น “การเป็น อพม.ต้องสู้ทุกอย่าง เพื่อทาให้
ผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น การทางานของนางสาคร พัฒแก้ว ไม่มีค่าตอบแทน ไม่มีค่ารถในการ
เดินทาง หลายคร้ังต้องเอาทรัพย์ส่วนตัวมาช่วยสนับสนุนงานอีก แต่ส่ิงท่ีได้กลับมามันคือความสุขและ
ภาคภูมิใจท่ีประเมินค่าไม่ได้” ผลงานที่เด่นที่ควรได้รับการยกย่องเป็น อพม. ดีเด่น บทบาทหลัก ๆ คือการประสาน
หนว่ ยงานรฐั ใหค้ วามช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส อาทิ ประสานขอให้เข้าช่วยเหลือผู้ปุวยติดบ้านซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่
ในพื้นที่ ประสานให้คนพิการผู้สูงอายุเข้าถึงสิทธิและรับสวัสดิการของรัฐ และนาผู้พิการไปรักษา ฟื้นฟู
สมรรถภาพ มกี ารสารวจคน้ หาคนพิการทย่ี งั ไม่มบี ตั รประจาตัวคนพิการ แนะนาให้ไปทาบัตรประจาตัวคนพิการ
และสิทธิท่จี ะไดร้ บั โดยไดป้ ระสานกับเทศบาลตาบลปลายพระยา และโรงพยาบาลในพื้นท่ี เพ่ือประเมินความ
พกิ ารและออกหนงั สือรบั รองความพิการและนาหนงั สือรับรองความพิการพร้อมด้วยเอกสารหลักฐาน มาทาบัตร
ให้กับคนพิการท่ีสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) จังหวัดกระบี่ และเม่ือได้บัตร
ประจาตัวคนพิการแล้วก็ได้นาไปให้คนพิการเพ่ือข้ึนทะเบียนขอรับเบ้ียยังชีพคนพิการที่เทศบาลตาบลปลายพระยา
พร้อมท้ังมกี ารประชาสัมพนั ธใ์ หค้ นในชุมชนไดร้ บั ทราบถงึ บทบาท หนา้ ท่ขี อง อพม. มากขนึ้ ดว้ ย

สาหรับปัจจัยท่ีเอื้อต่อความสาเร็จท่ีได้รับคัดเลือกเป็น อพม.ดีเด่น คือ “ความเข้าใจ และการ
สนบั สนุนจากคนในครอบครัว การเป็นคนมีจิตสาธารณะ เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนรวม” ส่ิงเหล่าน้ี
ล้วนเป็นสิ่งสาคัญในการปฏิบัติงาน หากขาดส่ิงใดสิ่งหนึ่งไป แน่นอนว่า จะต้องส่งผลกระทบต่อความสาเร็จ
ของงานเป็นอย่างมาก และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังได้ร่วมบริจาคทุนทรัพย์

- 14 -

จัดซื้อหน้ากากอนามัยและเจลล้างมือเพ่ือแจกจ่ายให้กับคนในชุมชน ร่วมมอบเครื่องอุปโภคบริโภค
ใหผ้ ู้ทีเ่ ป็นกล่มุ เสี่ยงและผตู้ ดิ เชอื้ ในระดบั พนื้ ท่ี รวมถงึ มสี ่วนร่วมในการจัดทาระบบขอ้ มูลกลุ่มเส่ียงและผู้ติดเช้ือ
ในระดบั พ้นื ที่ ออกเอกสารใบกักตัว และรบั ยาเพอ่ื ส่งให้กบั ผ้ทู ตี่ ดิ เชอื้ โควดิ -19

คุณลักษณะของ อพม. ท่ีควรจะมี หรือควรเป็น ก็คือ “การมีใจเป็นกลาง ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด
มีความยุติธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีน้าใจ โอบอ้อมอารีต่อผู้อื่น มีจิตสาธารณะ รักในงานจิตอาสา” และ
แนวทางใหค้ นเข้ามาทางานเป็น อพม. เพิ่มมากข้ึนก็คือ ต้องมีการประชาสัมพันธ์เก่ียวกับบทบาท หน้าที่ และ
ความสาคญั ของ อพม. โดยใช้ช่องทางสือ่ โซเชยี ลตา่ งๆ และต้องเป็นแบบอย่างทีด่ ใี นการปฏิบัติงานอีกดว้ ย

ปญั หา / อุปสรรค
๑. หลังจากที่ อพม. สง่ ต่อขอ้ มลู ให้กับเจา้ หน้าที่ พมจ. แล้ว เมือ่ เจ้าหน้าท่ีจาก พมจ. มาลงพื้นที่ บางคร้ัง

จะไม่ค่อยติดต่อประสานมายัง อพม. ในพ้ืนท่ี แต่จะติดต่อประสานไปยัง อปท. แทน ส่งผลให้
เจ้าหน้าท่ี อพม. ผู้ทสี่ ่งขอ้ มลู ไปเกดิ ความรสู้ กึ ไม่คอ่ ยสบายใจเทา่ ท่ีควร
๒. บางหน่วยงานยังไม่รู้จักเจ้าหน้าท่ี อพม. ในพื้นที่ และเมื่อ อพม. เก็บข้อมูลส่งให้กับทาง พมจ.
แลว้ ยงั เกิดความลา่ ช้าในการลงพื้นที่เย่ียมกลมุ่ เปาู หมายจาก พมจ.
ข้อเสนอแนะ
๑. การลงพ้ืนที่ของเจ้าหน้าที่จาก พมจ. อย่าให้ล่าช้าจนเกินไป และเมื่อมาลงพ้ืนท่ีก็อยากให้มีการ
ประสานกับ อพม. ในพน้ื ท่ที ราบด้วย
๒. ให้มกี ารสนบั สนุนคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปประชุม หรือค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ
เพ่ือเปน็ ขวญั กาลงั ใจใหแ้ ก่ผูป้ ฏิบัตงิ าน

ผลงาน

เย่ียมผูส้ งู อายุ และผปู้ ุวยติดเตียง

- 15 -

เยี่ยมผพู้ ิการทางการเคลือ่ นไหว

มอบเครื่องอปุ โภคบรโิ ภคใหผ้ ูพ้ กิ ารและผสู้ ูงอายุที่ได้รบั ผลกระทบจาก โควดิ -19

- 16 -

อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยด์ ีเด่น ประจาปี 2564

จงั หวัดนครศรธี รรมราช

นางเตอื นใจ แสงปลอด

ประวัตสิ ว่ นตวั

ชอื่ นางเตอื นใจ แสงปลอด

วนั /เดอื น/ปี เกดิ 20 กรกฎาคม 2514

อายุ 51 ปี

เช้อื ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ

การศึกษา มัธยมศึกษาปที ี่ 6

อาชีพ คา้ ขาย

โทรศพั ท์ 08 9647 9102

ท่อี ยู่ 152/505 ซอย 38 ถนนประตขู าว ตาบลคลงั อาเภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช

นางเตือนใจ แสงปลอด เริม่ ปฏิบัตงิ านดา้ นอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)
ต้ังแต่ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลากว่า 14 ปี รายละเอียดงานท่ีปฏิบัติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ออกปฏิบัติ
หน้าที่สนบั สนุนกจิ กรรมของหนว่ ยงานโดยมปี ระวัตกิ ารปฏิบัตงิ านทป่ี ระจักษ์แก่สงั คม ดงั น้ี

๑. สารวจเฝูาระวังและรายงานสถานการณ์ทางสังคมตลอดจนข้อมูลผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน
ของผู้ด้อยโอกาสเพ่ือช่วยเหลือด้านการเงินและสงเคราะห์ให้ครอบครัวรวมถึงมอบเครื่องอุปโภคบริโภคไว้ใช้
เบ้ืองต้นในเขตพื้นที่ชุมชนเทศบาลนครนครศรีธรรมราชและพ้ืนที่ 23 อาเภอ โดยประสานกับส่วนราชการ
องค์กรชมุ ชน เหลา่ กาชาดจงั หวัด เพ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลือกลุ่มเปูาหมายใหไ้ ดร้ ับประโยชน์สูงสุด

๒. ประสานหน่วยงานและเครือข่ายท้ังภาครัฐและเอกชน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน
คือ เด็ก สตรี คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาสประเภทต่าง ๆ โดยการจัดกิจกรรมลงในพ้ืนท่ีเยี่ยมเยียน
เป็นกาลังใจให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนในสังคม เช่น มอบถุงยังชีพ เล้ียงอาหาร
ตามสถานการณ์ และในโอกาสวนั สาคญั ต่าง ๆ ปีหน่ึงกว่า 100 ราย ก่อนที่จะประสานส่งต่อหน่วยงานของรัฐ
ทเ่ี กย่ี วข้อง

๓. ให้คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาทางสังคมเบื้องต้นแก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคมก่อนประสานส่งต่อ
หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง จานวน 40 รายตอ่ ปี

๔. ได้มีบทบาทในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารด้านพัฒนาสังคมแก่สมาชิกในชุมชน
บคุ คลท่ัวไป และเครือข่ายต่าง ๆ เพ่ือให้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ท่ีได้รับจากด้านสวัสดิการสังคมจากหน่วยงาน
ของกระทรวงพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ และหน่วยงานต่าง ๆ จากการประชุมทุกครั้งท่ีได้ร่วมอยู่ด้วย
เพ่อื ใหท้ ราบและเขา้ ถึงการใช้สิทธนิ์ ั้น ๆ อยา่ งทวั่ ถงึ ทีส่ ุด

๕. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การสรา้ งเครือข่ายอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์ (อพม.)
โดยได้มีบทบาทอย่างยิ่งในการรวบรวมสมาชิกในเขตเทศบาลนครศรีธรรมราช ให้มีเปูาประสงค์ว่า “รวมกัน
เป็นหนึ่งเป็นท่ีพ่ึงของประชาชน” และจัดต้ังเป็น “ชมรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ังคงของมนุษย์
(อพม.) อาเภอเมืองนครศรธี รรมราช” เม่อื วนั ท่ี 19 มถิ นุ ายน 2556

- 17 -

๖. ปัจจุบันได้ดารงตาแหน่งเลขานกุ าร ชมรมอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)
เขตเมืองนครศรีธรรมราชจังหวัดนครศรีธรรมราช ปฏิบัติหน้าท่ีประสานงาน และช่วยเหลือการปฏิบัติงาน
ของชมรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในการสารวจ
เฝูาระวัง รายงานสถานการณ์และช่วยเหลือประชาชนที่ประสบปัญหาสังคม ให้ได้รับสวัสดิการอย่างทั่วถึง
จนมคี ุณภาพชวี ิตท่ีดีข้นึ และช่วยเหลอื สว่ นราชการจัดกจิ กรรม โครงการต่าง ๆ จนงานสาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี

แรงบันดาลใจ หรอื แรงผลกั ดันในการทางาน อพม. คือ ตนเองเคยเป็นผู้ประสบปัญหามาก่อนครอบครัว
เคยลาบากมากๆ เพราะแม่เสียชีวิตต้ังแต่ยังเล็ก มีพ่ีน้องทั้งหมด 6 คน ต้องช่วยกันดูแลน้อง ขาดแคลน
ทั้งอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ เคร่ืองนุ่งห่มก็ไม่ค่อยมี อดมื้อกินมื้อ ต่อมาพ่อเริ่มมีงานทาและพอจะจุนเจือ
ครอบครัวได้ และได้รับการช่วยเหลือจากสังคม จนทาให้ครอบครัวมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน มีงาน มีอาชีพ
มีรายได้ที่สามารถดูแลคนในครอบครัวได้ จึงตั้งปณิธานกับตัวเองไว้ว่า “ถ้ามีโอกาสก็จะอุทิศตนช่วยเหลือ
ผู้อ่ืนหรือตอบแทนสังคม ให้มากที่สุดเท่าท่ีตนสามารถทาได้” การได้ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจ อุทิศตน
ท้งั กายและใจเพ่ือสว่ นรวม และไมห่ วงั ผลตอบแทน ทาให้มีความสุข สุขใจทุกครั้ง และเป็นสิ่งท่ีมีคุณค่าต่อการ
ทางาน อพม. อยา่ งยิง่

การทางานด้านอาสาสมัคร นางเตือนใจ แสงปลอด คิดอยู่เสมอว่า “ทาในสิ่งที่รัก รักในสิ่งที่ทา
ช่วยคิด ช่วยสร้าง ช่วยส่งเสริมให้สังคมน่าอยู่ยิ่งขึ้น” ตนรักในการทางานอาสาสมัคร การท่ีสามารถ
ดารงชวี ิตอยูไ่ ด้ในสังคมอย่างเป็นสขุ นัน้ ตนไดย้ ดึ หลัก “เอาใจเขามาใสใ่ จเรา” และคานึงอยู่เสมอว่า มนุษย์ทุกคน
ท่ีเกิดมาน้ันมีค่าเท่ากันเสมอ ส่วนความสาเร็จท่ีภาคภูมิใจ หรือผลงานท่ีโดดเด่น ก็คือ ผลงานด้านการ
ให้คาแนะนาปรึกษาปัญหาทางสังคม และประสานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อน การมีส่วนร่วม
ในการขบั เคลอ่ื นกิจกรรมด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อการเฝูาระวัง ปูองกัน แก้ไขและ
ฟื้นฟูคุณภาพชีวิต ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของแต่ละพ้ืนท่ี โดยปัจจัยท่ีเอื้อต่อความสาเร็จท่ีได้รับคัดเลือก
ให้เป็น อพม.ดีเด่น คือ คนในครอบครัวให้การสนับสนุนอย่างเต็มท่ี มีทีมงาน มีเครือข่ายท่ีคอยช่วยเหลือกัน
มีจิตสาธารณะ มีจิตใจกว้างขวาง มุ่งรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ส่วนตน และยึดมั่นใน
ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ประมุขเสมอมา รวมถึงในช่วงสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ได้ร่วมปฏิบัติงานท่ีด่านตรวจคัดกรองโควิด-19 ในระดับพ้ืนท่ี ร่วมกันเย็บ
หน้ากากผ้า จัดหาเจลแอลกอฮอล์เพ่ือแจกจ่ายให้คนในชุมชน มอบเครื่องอุปโภคบริโภคให้ผู้ที่เป็นกลุ่มเส่ียง
และผู้ติดเชื้อในระดับพ้ืนท่ี และร่วมกันบริจาคเงินเพ่ือซ้ืออุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับโรงพยาบาลมหาราช
นครศรธี รรมราช

การเปน็ อพม. ที่ดจี ะตอ้ งมจี ิตอาสา เปน็ ผเู้ สยี สละ อทุ ิศกายและใจให้ส่วนรวม และการเป็นแบบอย่าง
ท่ีดีในการปฏิบัติงาน มีผลงานแสดงให้เห็นเชิงประจักษ์ หรือการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับงานท่ีเรา
ไดไ้ ปช่วยเหลือคนในแตล่ ะวันทางสอื่ สงั คม (Socail Media) หรือช่องทางต่าง ๆ ให้ผู้อื่นได้ทราบถึงบทบาท หน้าที่
และความสาคญั ของ อพม. กม็ สี ว่ นทาให้ผ้อู ่ืนสนใจอยากจะเข้ามาทางานเป็น อพม. เพ่มิ ข้ึนดว้ ย

ปัญหา / อปุ สรรค
๑. ประชาชนยังไมร่ ู้จกั อพม. สง่ ผลให้ไมไ่ ด้รับความร่วมมอื ในการปฏิบตั ิงานเท่าท่ีควร
๒. ประชาชนบางสว่ นยงั ไม่รจู้ กั บทบาท หน้าที่ และความสาคัญของ อพม.

- 18 -

ข้อเสนอแนะ
๑. ให้มีการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพของ อพม. อย่างน้อย ปีละ 1 คร้ัง เช่น ความรู้

ด้านกฎหมาย ความรูด้ า้ นสิทธิสวสั ดิการต่าง ๆ เป็นตน้
๒. การอบรม ออนไลน์เหมาะกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐ แต่สาหรับประชาชนท่ัวไป ควรจะได้รับการอบรม

จากเจา้ หน้าท่ีโดยตรง เพือ่ ความสะดวกในการซักถาม หรอื การให้ขอ้ มลู แกผ่ ู้รับการอบรม
๓. บรู ณาการร่วมกันทัง้ 12 กระทรวง ในการชว่ ยเหลือประชาชนผปู้ ระสบปัญหาความเดือดร้อน เพื่อให้

มกี ารปฏบิ ัติงานทีม่ ีประสิทธภิ าพในระดบั พื้นท่ีมากข้ึน
ผลงาน

เยย่ี มผปู้ ุวยตดิ เตียง

- 19 -

มอบถุงยังชพี ครอบครัวผสู้ งู อายุ
เยีย่ มครอบครัวผู้ยากไร้

- 20 -

มอบสิ่งของใหผ้ ู้ประสบปัญหาจาก โควดิ -19

- 21 -

อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยด์ เี ด่น ประจาปี 2564

จังหวัดภเู กต็

นางนิตยา สนั ตเตโช

ประวัตสิ ่วนตวั

ชือ่ นางนติ ยา สนั ตเตโช

วนั /เดอื น/ปี เกิด - - 2495

อายุ 70 ปี

เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ

การศึกษา ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

อาชพี รับจ้าง

โทรศพั ท์ 08 1693 4406

ท่อี ยู่ 5/3 หมู่ 5 ตาบลศรสี นุ ทร อาเภอถลาง จงั หวดั ภเู ก็ต

นางนิตยา สันตเตโช ได้ทางานเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) ต้ังแต่
พ.ศ. 2554 รวมระยะเวลากว่า 10 ปี และเป็นประธานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(อพม.) ตาบลศรสี ุนทร ได้รับประกาศเกยี รตคิ ณุ อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่น ระดับ
อาเภอ จากสานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์ (พมจ.) จังหวัดภูเก็ต และได้รับประกาศเกียรติคุณ
บคุ คลตวั อย่างทางานจิตอาสา ทีมหมอครอบครวั จากสานกั งานสาธารณสุขอาเภอถลาง , โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบลศรีสุนทร และเทศบาลตาบลศรีสุนทร มแี รงบันดาลใจ หรือแรงผลกั ดนั ในการทางาน อพม. คือ
“อยากเปน็ ตัวแทน และเปน็ กระบอกเสียงในการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส และผู้ยากไร้ ให้ได้เข้าถึงสิทธิและ
สวัสดกิ ารของตนเอง เพราะคิดว่า การที่ทาให้คนในชุมชนเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของรัฐได้มากขึ้น และ
มีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้นน้ัน นับว่าเป็นคุณค่าในการทางานเป็นอย่างมาก” โดยวิธีการปฏิบัติงาน หรือ
รูปแบบการทางานด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมกับกลุ่มเปูาหมายต่างๆ จะเริ่มต้นจากการ
สอบถามข้อมูล สอบถามปัญหา และนามาวางแผนร่วมกับผู้นาชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน และ อพม. ในพื้นท่ี จากน้ัน
จะลงเย่ยี มบ้านกลุ่มเปูาหมาย และให้ความรู้เบื้องต้น เชน่ การแนะนาให้ทราบถึงสิทธิและสวัสดิการ หรือการ
แนะนาให้ทาบัตรประจาตัวผู้พิการหรือบัตรประจาตัวผู้สูงอายุ เป็นต้น และจะส่งต่อข้อมูลให้กับหน่วยงาน
ท่เี ก่ยี วขอ้ งเพื่อพิจารณาใหค้ วามช่วยเหลอื ตอ่ ไป

ความภาคภูมิใจที่ นางนิตยา สันตเตโช ได้รับ คือ การเป็นท่ียอมรับนับถือ และได้รับการยกย่อง
จากคนในชุมชน หน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องให้ความสาคัญและมักจะได้รับความร่วมมือในการปฏิบัติงาน
เป็นอย่างดี และจากการปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ืองจนเกิดความชานาญก็ยังสามารถถ่ายทอดประสบการณ์
สง่ ตอ่ ความรแู้ ก่ผอู้ น่ื ได้เปน็ อยา่ งดี สว่ นปัจจยั ท่ีเออื้ ตอ่ ความสาเรจ็ ทไ่ี ด้รับคดั เลือกเป็น อพม.ดีเด่น คือ “การมี
จิตสาธารณะ อุทิศตนเพ่ือส่วนรวม การมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา มีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของ อพม. และมีทีมงาน มีเครือข่ายท่ีคอยช่วยเหลือกัน” และในช่วงสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังได้จัดทาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อในระดับพื้นที่ ออกเอกสารใบกักตัว

- 22 -

และรับยาเพื่อส่งให้กับผู้ท่ีติดเช้ือโควิด-19 และร่วมมอบเครื่องอุปโภคบริโภคให้ผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อ
ในระดับพน้ื ทอ่ี ีกด้วย

“มจี ติ อาสาโดยแท้จริง รู้จักเสียสละ และตั้งใจทาความดี” เป็นคุณลักษณะที่ อพม. ทุกคนควรจะมี
เพราะการทางานอาสาสมัครนั้น การมีจิตอาสาโดยแท้ ทางานเพื่อประโยชน์ของประชาชนและสังคม
โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน ถือเป็นสิ่งสาคญั ท่ีจะส่งผลให้การทางานสาเรจ็ ลลุ ่วงไปไดด้ ้วยดี

ปญั หา / อปุ สรรค
๑. ผปู้ ฏิบัตงิ านเป็น อพม. ทมี่ ีจติ อาสาโดยแท้จรงิ ยงั มไี มเ่ พยี งพอ
๒. ผู้ประสบปัญหาบางรายไม่ใช่คนในพื้นที่ หรือเป็นคนต่างถิ่น จึงทาให้ขั้นตอนในการช่วยเหลือ

มีความยงุ่ ยาก ซับซ้อนมากขนึ้
ข้อเสนอแนะ
๑. ใหม้ คี ่าตอบแทน หรือคา่ ใชจ้ า่ ยใหก้ บั อพม. ที่ตอ้ งลงพน้ื ทป่ี ฏิบตั ิงานอยา่ งเพยี งพอ
๒. ใหม้ กี ารสนับสนนุ ด้านสวัสดิการต่างๆ ให้กบั อพม. เพ่อื เปน็ ขวญั และกาลังใจสาคญั ในการปฏิบัติงาน
ผลงาน

เย่ยี มผู้พิการและผปู้ วุ ยติดเตียง

- 23 -

เยย่ี มผสู้ ูงอายุและมอบส่ิงของ

มอบสงิ่ ของให้ครอบครวั ผู้ประสบปัญหา

- 24 -

อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยด์ เี ดน่ ประจาปี 2564

จงั หวดั ระนอง

นางสาวจิตรดา เชือ้ หาญ

ประวตั ิส่วนตัว

ชือ่ นางสาวจิตรดา เช้ือหาญ

วัน/เดือน/ปี เกดิ 27 สงิ หาคม 2514

อายุ 51 ปี

เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

การศกึ ษา ปรญิ ญาตรี

อาชีพ รบั จา้ ง

โทรศพั ท์ 06 4694 9225

ท่ีอยู่ 21 หมู่ 4 ตาบลกะเปอร์ อาเภอกะเปอร์ จงั หวัดระนอง 85120

นางสาวจิตรดา เชอ้ื หาญ เร่มิ ปฏบิ ัตงิ านดา้ นอาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
ตงั้ แต่ พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลากว่า 18 ปี ตลอดเวลาท่ีผ่านมาได้มีประสบการณ์ในการทางานอาสาสมัคร
มากมาย เช่น เป็นวิทยากร อพม. เช่ียวชาญด้านคนพิการ เป็นผู้ช่วยคนพิการ โดยมีหน้าที่ดูแลผู้พิการ
ในเรื่องต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความสะอาดเรียบร้อยภายในบ้าน แนะนาเร่ืองการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ แนะนาเร่ืองการออกกาลังกาย รวมถึงพาคนพิการ
ไปร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งแรงบันดาลใจ หรือแรงผลักดันในการทางาน อพม. ก็คือ “การได้ช่วยเหลือผู้ที่ลาบาก
หรอื ผ้ปู ระสบปัญหาให้มีชีวิตที่ดีขึ้นและการเป็น อพม. ทาให้ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองอยู่ตลอดเวลา”
โดยมีวิธีการปฏิบัติงาน หรือรูปแบบการทางาน คือ การรวบรวมข้อมูลของผู้ประสบปัญหาในชุมชน ประสาน
กับเครอื ข่าย อพม. ในพ้ืนทแ่ี ละวางแผนเย่ียมบ้านผู้ประสบปัญหาทางสังคม เพ่ือให้ความรู้ในเร่ืองต่างๆ ท่ีเป็น
ประโยชน์ต่อกลุ่มเปูาหมาย เช่น สิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ ท่ีพึงจะได้รับ จากนั้นจะประสานส่งต่อให้กับ
หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งเพื่อลงพ้ืนท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงและพิจารณาให้การช่วยเหลือตามความเหมาะสมต่อไป
“การมีส่วนช่วยให้คนในชุมชนเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของรัฐ การได้เห็นรอยย้ิมของผู้ที่เราได้ช่วยเหลือ
ถอื เป็นคุณค่าอยา่ งหนึง่ ของการทางาน อพม.”

การปฏิบัติงานด้านอาสาสมัครด้วยความตั้งใจ ทุ่มเท และปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ือง จนได้รับรางวัล
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นระดับอาเภอ ประจาปี 2561 และได้รับรางวัล
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นระดับจังหวัด ประจาปี 2564 เป็นอีกความสาเร็จ
ที่น่าภาคภูมิใจของนางสาวจิตรดา เช้ือหาญ อย่างยิ่ง โดยมีปัจจัยท่ีเอ้ือต่อความสาเร็จท่ีได้รับคัดเลือกเป็น
อพม.ดีเด่น คือ “การเป็นคนมีจิตสาธารณะ เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนรวม การได้รับความ
ร่วมมอื จากทมี งานและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง” และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังได้

ชว่ ยจดั ทาหนา้ กากผา้ เจลล้างมือ เพ่ือแจกจา่ ยใหก้ บั ประชาชนในพ้ืนที่ พร้อมท้ังร่วมมอบเคร่ืองอุปโภคบริโภค
ให้ผู้ทเ่ี ปน็ กลุ่มเสยี่ งและผตู้ ดิ เชื้อในระดับพน้ื ที่อกี ดว้ ย

- 25 -

คุณลักษณะของ อพม. ที่ควรจะมี ก็คือ “มีความเสียสละ รู้จักเป็นผู้ให้ ใส่ใจในการช่วยเหลือ
ทุกกรณี มีความรู้และทักษะที่ดีในการปฏิบัติงาน” นอกจากน้ี ยังมีแนวทางท่ีจะทาให้คนเข้ามาทางาน
เป็น อพม. เพ่ิมมากข้ึนโดยการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักบทบาท หน้าท่ี และความสาคัญของ อพม.
หรือชกั ชวนคนใกลต้ วั ให้มาสมัครเป็น อพม. เพอ่ื ใหเ้ ป็นสงั คมแหง่ จติ อาสาและสังคมน่าอยู่มากขน้ึ

ปญั หา / อปุ สรรค
อพม. รุ่นใหม่ๆ ยังขาดศักยภาพในการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้รับความเช่ือถือจากประชาชน ทาให้
การปฏิบัติงานยังไมม่ ีประสทิ ธภิ าพเทา่ ทคี่ วร
ขอ้ เสนอแนะ
ให้มีค่าตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายให้กับ อพม. อย่างเพียงพอ เพ่ือเป็นขวัญและกาลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน
และ อยากให้มี อพม. รุ่นใหม่ๆ มาสานต่องานและเรียนรู้งานไปด้วยกัน เพ่ือการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ
มากข้นึ
ผลงาน

ผู้ชว่ ยคนพกิ าร

- 26 -

ลงพน้ื ทส่ี อบถามคนพิการที่ได้รับความเดอื นร้อน
เปดิ ศูนยร์ อ้ งทกุ ข์ใหแ้ ก่ผู้สงู อายุ ณ โรงเรยี นผสู้ ูงวัยใสใ่ จชุมชน อบต.กะเปอร์
ทาหนา้ กากอนามัยจากผา้ และเจลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ แจกจ่ายให้ประชาชนในพืน้ ท่ี

- 27 -

เย่ยี มผู้สงู อายุกับชมรมผู้สงู อายุ ตาบลกะเปอร์ จงั หวดั ระนอง

- 28 -

อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยด์ เี ด่น ประจาปี 2564

จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

นายสมศกั ด์ิ ปาลคะเชนทร์

ประวัตสิ ว่ นตัว

ชอ่ื นายสมศักด์ิ ปาลคะเชนทร์

วนั /เดือน/ปี เกิด 11 พฤษภาคม 2515

อายุ 50 ปี

เช้ือชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

การศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย

อาชพี ทาสวน

โทรศพั ท์ 08 7275 9673

ที่อยู่ 96 หมู่ 8 ตาบลกะเปา อาเภอครี รี ัฐนคิ ม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี 84180

นายสมศักดิ์ ปาลคะเชนทร์ เริ่มปฏิบัติงานด้านอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(อพม.) ต้ังแต่ พ.ศ. 2557 รวมระยะเวลากว่า 7 ปี จากแนวคิดที่ “ต้องการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมายที่
ประสบปัญหาความเดือดร้อนให้สามารถเข้าถึงบริการและสวัสดิการสังคมอย่างเหมาะสม มุ่งหวังสร้าง
ความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ให้สามารถดารงชีวิตในสังคม
ไดอ้ ย่างมีศักดิ์ศรี ตลอดจนได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน โดยมีเป้าหมายในการทางานคือ ชุมชนเข้มแข็ง
ประชาชนมีรายได้และคุณภาพชีวิตท่ีดีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีวิธีการปฏิบัติงาน
หรือรูปแบบการทางานด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมกับกลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ คือ มีการ
กาหนดกลมุ่ เปาู หมายในพ้ืนท่ขี องตาบลกะเปา ได้แก่ ผู้ด้อยโอกาส เด็กท่ีถูกทอดทิ้ง พ่อแม่เล้ียงเดี่ยว ผู้สูงอายุ
ผู้ปุวยติดเตียง และผู้พิการ ได้มีการบูรณาการร่วมกันกับ อปท. ผู้นาชุมชน และอสม. เพื่อให้การปฏิบัติงาน
มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน จากน้ัน จะลงพื้นที่เพ่ือเย่ียมบ้านและให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น เช่น แนะนา
ให้เข้าถึงสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ แนะนาให้ทาบัตรประจาตัวผู้พิการ หรือบัตรประจาตัวผู้สูงอายุ และส่งต่อ
ข้อมูลให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อพิจารณาให้การช่วยเหลือ ตลอดจนมีการติดตามผลการช่วยเหลือ
และจดบนั ทึกไว้เปน็ หลกั ฐานตอ่ ไป

ความสาเร็จที่ภาคภูมิใจของนายสมศักดิ์ ปาลคะเชนทร์ คือ การช่วยเหลือผู้พิการให้มีบัตรประจาตัว
คนพิการ ช่วยผู้สูงอายุในชุมชนได้เข้าถึงสิทธิ สวัสดิการต่าง ๆ พ่อแม่เล้ียงเดี่ยวได้รับการช่วยเหลือที่ตรงจุด
ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น และทาให้ได้รับรางวัล อพม.ดีเด่น ระดับจังหวัดประจาปี 2564 โดยปัจจัย
ที่เอ้ือต่อความสาเร็จท่ีได้รับคัดเลือกเป็น อพม.ดีเด่น ก็คือ “การได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากภาคี
เครือขา่ ย และไมห่ ยุดท่ีจะเรยี นรูเ้ พ่ือพฒั นาตนเองใหม้ ีประสทิ ธิภาพอยูต่ ลอดเวลา”

คณุ ลกั ษณะของ อพม. ท่ีควรจะมี คือ “ต้องมีจิตอาสา ถือประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก รู้จักเสียสละ
ทั้งเวลา และทุนทรัพย์ รวมถึงมีความมุ่งมั่นต้ังใจในการทางานให้สาเร็จลุล่วง” โดยคิดว่า หากเรามี
ผลการทางานให้ผู้อื่นเห็นเชิงประจักษ์ และเป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบัติงาน ก็จะสามารถทาให้ผู้อ่ืน
อยากจะเข้ามาทางานเปน็ อพม. เพม่ิ มากข้ึนดว้ ย

- 29 -

ข้อเสนอแนะ
๑. ให้มีหน่วยงานย่อยท่ีสามารถรับเรื่องโดยตรงอยู่ในพื้นท่ีตาบล หรืออาเภอ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว

ในการใหก้ ารชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม
๒. ให้เจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบงานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ลงพ้ืนท่ีพบปะกับ

พี่น้อง อพม. ระดับอาเภอ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างขวัญกาลังใจให้กับพ่ีน้อง
อพม. ในพนื้ ที่มากขนึ้
๓. ให้มีการนาเสนอผลงานของ อพม. ให้ประชาชนและหน่วยงานอื่นๆ ได้รับรู้ รับทราบ เพ่ือให้
เกิดความภาคภูมิใจแก่ อพม. มากขึน้
ผลงาน

ลงพนื้ ทีร่ ว่ มกับเครือข่ายพฒั นาสังคม อพม./อปท./กานนั ผู้ใหญบ่ า้ น

ลงพน้ื ที่สารวจผ้ดู ้อยโอกาส

- 30 -

กองทนุ ไฟฟาู ฯ/ธนาคารออมสนิ /อพม./อปท./ กานนั ผใู้ หญบ่ ้านและกลุม่ เปูาหมาย รณรงคใ์ หป้ ลกู สมนุ ไพร

- 31 -

อาสาสมคั รพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยด์ เี ด่น ประจาปี 2564

จังหวดั พงั งา

นางกญั ญาภคั เดชยศดี

ประวตั สิ ่วนตัว

ชื่อ นางกัญญาภคั เดชยศดี

วนั /เดือน/ปี เกดิ 15 สิงหาคม 2512

อายุ 53 ปี

เชอ้ื ชาติ ไทย สญั ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ

การศกึ ษา ปริญญาตรี คณะบริหารศาสตร์ สาขาการจดั การชุมชน มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้

อาชีพ ทาสวน/คา้ ขาย

โทรศัพท์ 09 1479 9302

ท่ีอยู่ 38/1 หม่ทู ่ี 5 ตาบลบางเหรยี ง อาเภอทบั ปุด จงั หวัดพงั งา

นางกัญญาภัค เดชยศดี ทางานเกี่ยวกับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.)
ตัง้ แต่ พ.ศ. 2546 รวมระยะเวลากวา่ 18 ปี มบี ทบาทหน้าท่ีเกี่ยวกับงานอาสาสมัครมากมาย เช่น เป็นอาสา
พัฒนาชุมชน ,กรรมการพัฒนาสตรีตาบล (กพสต.) ,หัวหน้าคณะทางานขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีตาบล
,คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นปากด่าน ,อาสาสมคั รพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
,อาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) ,กรรมการชมรมผู้ปกครองคนพิการและสติปัญญา
จังหวัดพังงา (รองประธาน) และยังเคยได้รับโล่อาสาสมัครดีเด่นจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรราชาทินัดดามาตุ เม่ือวันที่ 23 มีนาคม 2561 ณ อิมแพ็คอารีน่าเมืองทองธานีอีกด้วย โดยมีแรง
บนั ดาลใจในการทางานจาก “พ่อหลวงรชั กาลท่ี 9 พระองคท์ รงงานหนักเพื่อประชาชนท้ังประเทศเลยรู้สึก
อยากเป็นสว่ นหนงึ่ ทีไ่ ด้ชว่ ยเหลือผู้อ่นื บา้ ง และต่อมาเมอ่ื ไดช้ ว่ ยเหลือผอู้ ่ืนมาเร่ือย ๆ ได้ช่วยคนที่ลาบากให้
เค้ามีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน ทาให้รู้สึกภูมิใจ รู้สึกมีความสุข ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน ผู้คนให้ความ
เชื่อม่ัน นับถือ ทาให้มีกาลังใจในการทางานมากยิ่งขึ้น” และวิธีการปฏิบัติงาน หรือรูปแบบการทางานโดย
การสรา้ งกลมุ่ ไลนข์ น้ึ มาเพ่ือเป็นศนู ย์รวมและกระจายขา่ วสารข้อมลู ของผ้ทู ี่ประสบปญั หา เพ่ือสามารถให้ความ
ช่วยเหลือได้อย่างท่ัวถึง มีการรวมกลุ่มกันและบริจาคเงินเป็นกองกลางเพื่อซ้ือของใช้จาเป็นให้กับผู้ท่ีลาบาก
มีการลงพ้ืนที่ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ,สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
(พมจ.) ทุกคร้ังในพ้ืนที่ที่ตนเองเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เพ่ือจะได้ทราบถึงปัญหาท่ีแท้จริงและร่วมกันช่วยเหลือ
ไดอ้ ย่างตรงประเดน็ เชน่ แนะนาใหผ้ ู้พกิ าร และผูส้ ูงอายุ ใหไ้ ดเ้ ข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ ช่วยประสานงานในการ
ขอรับสวัสดกิ ารต่าง ๆ ให้ความรู้แก่ครอบครัวของผู้ประสบปัญหาทางสังคม เพื่อการช่วยเหลือและการปฏิบัติ
ตัวท่ีถูกต้อง รวมถึงประสานส่งต่อข้อมูลของผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้แก่หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และมีการ
จดบนั ทึกขอ้ มลู ไว้เป็นหลกั ฐาน เพอ่ื ความสะดวกในการติดตามผลการช่วยเหลือต่อไป

ความสาเร็จท่ีภาคภูมิใจ หรือผลงานท่ีโดดเด่น ของนางกัญญาภัค เดชยศดี คือ การได้ร่วมจัดทา
โครงการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานแรงงานจังหวัดพังงา โครงการฝึกอบรมอาชีพ
ระยะสั้น งบประมาณ 21,125 บาท ,ได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในชุมชนรวมท้ังเอกชน นักเรียนนักศึกษา

- 32 -

ในการทาน้ายาซกั ผ้า นา้ ยาเอนกประสงค์ สบู่ และนา้ ยาลา้ งจาน ,ไดส้ ่งเสรมิ สนับสนุนงานฝีมอื แกเ่ ยาวชน กลุ่มแม่บ้าน
และกลุม่ สตรี ในการทาเหรียญโปรยทาน งานการทาดอกไมจ้ ันทน์ การจักสานงานไม้ไผ่ ,เป็นอาสาสมัครประชาธิปไตย
ร่วมรณรงค์ให้ความรู้เก่ียวกับการเลือกตั้งทุกระดับและเป็นคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ประชาธิปไตยตาบลบาง
เหรียง รวมถึงได้ปฏิบัติตน/ครอบครัว เป็นแบบอย่างที่ดีในการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ โดยการ
ประหยัด ลดรายจ่าย การออมเป็นประจาทุกเดือน เอ้ือเฟื้อแก่เด็ก คนชรา และคนพิการ โดยปัจจัยท่ีเอื้อต่อ
ความสาเร็จที่ไดร้ บั คัดเลือกเป็น อพม.ดีเด่น คือ “การเป็นคนมีจิตสาธารณะ ทางานโดยไม่หวังผลตอบแทน
ทาด้วยความจริงใจ และมที มี งานทดี่ ี มเี ครือขา่ ยทคี่ อยช่วยเหลอื กันเสมอมา”

คุณลักษณะของ อพม. ที่ควรจะมี ก็คือ “มีใจรักในการทางาน มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับ
มอบหมาย การทางานโดยไม่หวังผลตอบแทน และใฝ่รู้ ใฝ่เรียน หาความรู้ใหม่ๆ เพ่ือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ”
หากผู้ปฏิบัติงาน อพม. มีคุณลักษณะเหล่านี้ก็จะส่งผลให้การทางานออกมามีคุณภาพและการช่วยเหลือ
ผูป้ ระสบปัญหามีประสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึน

ข้อเสนอแนะ
๑. ใหม้ กี ารฝกึ อบรมให้ความรู้กับ อพม. ในพ้ืนที่ และมีการ อบรม อพม. ใหม่ เพ่มิ มากขนึ้
๒. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้คนรู้จัก อพม. เพ่ิมมากข้ึน เพราะคนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้จัก อพม.

และยงั ไม่ทราบว่า อพม. มีบทบาทหรอื มคี วามสาคญั อยา่ งไร
ผลงาน

มอบทุนการศึกษาให้เดก็ กาพรา้ เด็กยากจนและเด็กขาดแคลนทุนทรพั ย์

- 33 -

ลงพนื้ ที่สอบเคสคนชราท่ีเปน็ ผู้ปวุ ยติดเตยี งและผ้พู ิการ

รว่ มประชุมจดั ทาแผ่นเพอื่ ช่วยเหลือกลุม่ เปราะบางและคนยากจนอย่างเร่งดว่ นในช่วงโควดิ -19
รว่ มกบั หนว่ ยงานต่างๆ

- 34 -

อาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยด์ เี ด่น ประจาปี 2564

จังหวดั ชมุ พร

นางประทีป ศรีอมั พร

ประวัตสิ ว่ นตวั

ช่ือ นางประทปี ศรอี มั พร

วนั /เดือน/ปี เกิด 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2507

อายุ 58 ปี

เชอื้ ชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ

การศึกษา มัธยมศกึ ษา

อาชีพ เกษตรกรรม

โทรศพั ท์ 08 4065 0697

ทอี่ ยู่ 68 หมู่ 5 ตาบลครุ ิง อาเภอทา่ แซะ จงั หวัดชมุ พร 86140

นางประทีป ศรอี ัมพร เรม่ิ เข้ามาทางานเป็นอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.)
ต้งั แต่ พ.ศ. 2550 รวมระยะเวลากว่า 14 ปี โดยต้ังใจและทุ่มเทให้กับการทางานมาโดยตลอด จนได้รับเลือก
ให้เป็นประธาน อพม.ระดับตาบล ตลอดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน นางประทีป ศรีอัมพร ได้พยายาม
หาเครือข่าย อพม. ให้มีครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการติดต่อประสานงาน
และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากผู้ประสบปัญหาบางรายอยู่ในพ้ืนท่ีทุรกันดารห่างไกล
ไปจากชุมชน ยากต่อการเข้าถึง ตนได้เห็นถึงความยากลาบากของคนในชุมชน การเข้าไม่ถึงสิทธิ
และสวัสดิการของรัฐ จึงเกิดแรงบันดาลใจ และแรงผลักดันในการทางาน อพม. “อยากท่ีจะช่วยให้
คนในชุมชนได้รับรู้และเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการของรัฐท่ีเขาพึงจะได้รับ อยากให้ผู้ประสบปัญหามีสภาพ
ความเป็นอยู่ท่ีดขี ึน้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และอยากให้ชุมชนของตนน่าอยู่มากย่ิงขึ้น” และมีวิธีการ
ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมกับกลุ่มเปูาหมายต่าง ๆ โดยตั้งเปูาหมายไว้
ว่าจะช่วยเหลือคนในชุมชนด้วยจิตใจท่ีบริสุทธิ์ ด้วยจิตสาธารณะ และให้ความช่วยเหลืออย่างเท่าเทียมกัน
เมอ่ื เราอยใู่ นชุมชนเราก็สามารถรูป้ ัญหาทแี่ ท้จรงิ ของคนในชมุ ชนนั้น ๆ เป็นอย่างดี ทาให้สามารถให้คาแนะนา
และช่วยเหลอื ไดต้ รงประเด็น และเมื่อได้รับมอบหมายงานจากหน่วยงานในสังกัดของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ ( พม.) ก็จะประสานเครือข่าย อพม. ในพ้ืนที่เพื่อร่วมกันเยี่ยมบ้านผู้ประสบปัญหา
ให้ความรู้แก่สมาชิกในครอบครัว คนในชุมชน เพ่ือการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เหมาะสม รวมถึงส่งต่อข้อมูลของผู้
ประสบปัญหาใหก้ ับหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องเพื่อพจิ ารณาให้ความชว่ ยเหลือ หรือลงพนื้ ที่สารวจ ตรวจเยย่ี มบา้ นต่อไป

ความสาเร็จที่ภาคภูมิใจ หรือผลงานท่ีโดดเด่น ของนางประทีป ศรีอัมพร คือ การช่วยเหลือผู้พิการ
ให้ได้เข้าถึงสิทธิและนาผู้พิการไปรักษาฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ได้เป็นท่ียอมรับนับถือ ได้รับการยกย่องจากคนในชุมชน
และยงั ร่วมหารายไดส้ มทบทุนสร้างบ้านใหก้ บั ผยู้ ากไร้ จนทาให้ไดร้ ับรางวัล อพม. ดีเด่น ระดับจังหวัดประจาปี
2564 ส่วนปัจจัยที่เอื้อต่อความสาเร็จที่ส่งผลให้ได้รับคัดเลือกเป็น อพม. ดีเด่น ก็คือ “ความเข้าใจ และ
การสนับสนุนจากคนในครอบครัว การเป็นคนมีจิตสาธารณะ เสียสละเวลาส่วนตัวเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
และมีทีมงาน มีเครือข่ายท่ีคอยช่วยเหลือกัน ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วม

- 35 -

ในการทางานเป็นอย่างดี” และในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังได้ร่วมจัดทาระบบ
ข้อมูลกลุ่มเส่ียงและผู้ติดเชื้อในระดับพื้นท่ี ออกเอกสารใบกักตัว และรับยาเพ่ือส่งให้กับผู้ท่ีติดเช้ือโควิด -19
พร้อมทัง้ รว่ มมอบเคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภคใหผ้ ู้ท่ีเป็นกลุม่ เสย่ี งและผู้ติดเชอ้ื ในระดบั พ้นื ท่ีอกี ด้วย

คุณลักษณะของ อพม. ที่ควรจะมี คือ “ต้องมีความรับผิดชอบ มุ่งมั่นในการทางาน มีใจเป็นกลาง
ยุตธิ รรม ซ่ือสัตย์ รู้จักยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และต้องหม่ันค้นคว้าหาความรู้ พัฒนาทักษะในการ
ทางานของตนเองอยู่เสมอ” การแสดงให้ผู้อื่นเห็นถึงคุณค่าของการทางานเป็น อพม. และเป็นแบบอย่างที่ดี
ในการปฏิบัตงิ าน กย็ งั ส่งผลใหผ้ ้อู ่ืนอยากจะเขา้ มาทางานเปน็ อพม. เพม่ิ มากขนึ้

ปัญหา / อุปสรรค
ระยะทางในการเดนิ ทางไปหากลุ่มเปาู หมาย หรอื ผู้ทป่ี ระสบปญั หา มีระยะทางท่ีห่างไกลไปจากชุมชน
ยากต่อการใหค้ วามชว่ ยเหลือ และบางพื้นท่ี บางครอบครวั ยังเขา้ ไม่ถึงสิทธิและสวสั ดกิ ารที่พวกเขาพึงจะได้รบั
ข้อเสนอแนะ
๑. ให้มีค่าตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายอย่างเพียงพอให้กับ อพม. ที่ต้องเดินทางไปหากลุ่มเปูาหมายในท่ี
ทรุ กนั ดารหรอื พ้นื ทหี่ ่างไกลไปจากชมุ ชน
๒. ให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติงานเป็น อพม. เพิ่มมากขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้
ในการใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปญั หาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
ผลงาน

เย่ียมบ้านผู้พิการ และมอบเครื่องอุปโภค บริโภค

- 36 -

บทสรปุ

จากการเก็บรวมรวมข้อมูลโดยการลงพื้นที่สัมภาษณ์อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ดีเด่นและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นพิเศษ ประจาปี 2564 ในพ้ืนที่
7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน รวมทัง้ หมด 9 คน โดยสรปุ สาระสาคัญได้ ดังนี้

วิธกี ารปฏิบตั ิงาน / รปู แบบการทางาน

อาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ดีเด่นพิเศษ และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ดีเด่น ได้รับมอบหมายงานจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ (พม.) หรืองานตามบทบาทหน้าที่ จะมีการสารวจข้อมูล รวบรวมข้อมูลกลุ่มเปูาหมายที่ประสบ
ปัญหา ขอ้ มลู ด้านสถานการณ์ปญั หาทเี่ กดิ ขึ้นในชมุ ชน และจะลงเยย่ี มบา้ นของกล่มุ เปาู หมายท่ีประสบปัญหา
ทางสังคม เพ่ือประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ประสบปัญหาเบื้องต้นและให้คาปรึกษาเบื้องต้น ได้แก่
การใหค้ าปรกึ ษาแนะนา การให้ข้อมูลการเข้าถึงสิทธิและสวสั ดิการ เช่น เงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด
แนะนาให้ได้เข้าถึงสทิ ธแิ ละสวัสดิการที่พึงจะได้รับ กรณีคนพิการ และผู้สูงอายุ แนะนาให้ได้ทาบัตรประจาตัว
คนพิการ หรือบัตรประจาตัวผู้สูงอายุ เพ่ือจะได้รับเบี้ยความพิการ หรือเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากน้ันจะดาเนินการ
ประสานส่งต่อหน่วยงาน และองค์กรในพื้นท่ี เพื่อพิจารณาให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบปัญหา รวมถึงจดบันทึก
เขียนรายงาน สรุปผลการปฏิบัติงาน และชี้แจงให้เครือข่ายได้ทราบผลการปฏิบัติงาน นอกจากน้ียังมีการ
ประชาสัมพันธ์เก่ียวกับภารกิจของ อพม. ในพ้ืนที่ให้ประชาชนและผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้รับทราบและเป็นท่ีรู้จัก
มากยงิ่ ขน้ึ

ปัจจัยทสี่ ง่ ผลต่อความสาเร็จ

๑. การมีจิตสาธารณะ ยอมเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ทุ่มเทแรงกายแรงใจในการ
ปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือใหง้ านสาเร็จลลุ ว่ งไปดว้ ยดี

๒. ความเข้าใจ การยอมรับ และการสนับสนุนจากคนในครอบครัว หรือคนในชุมชน ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญ
อย่างหนงึ่ ท่สี ง่ ผลให้การปฏิบัตงิ านประสบความสาเรจ็

๓. มีทักษะในการคัดกรองกลุ่มเปูาหมายเพื่อให้เข้าถึงและได้รับการช่วยเหลือท่ีรวดเร็วและถูกต้อง เช่น
การวางแผนการปฏิบัติงาน การสารวจข้อมูลกลุ่มเปูาหมาย และการจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
เปน็ ต้น

๔. ไม่หยุดท่ีจะเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้างแรงบันดาลใจ ให้มีชีวิตอยู่อย่างรู้คุณค่าและมุ่งม่ันกับการทางาน
ให้มผี ลสมั ฤทธ์ิ

๕. การทางานเป็นทมี การให้เกียรติ มคี วามไว้เน้อื เชอ่ื ใจ และความเชือ่ ถอื ซงึ่ กันและกนั
๖. เคารพในความแตกต่างและความหลากหลายของคนในสงั คม ไม่แบง่ แยก สร้างความเทา่ เทยี มกนั
๗. ทางานทกุ อย่างดว้ ยความใสใ่ จ รหู้ น้าท่ี ตรงตอ่ เวลา มคี วามรบั ผิดชอบ และมวี นิ ัยตอ่ ตนเอง

คุณคา่ ท่เี กิดข้ึน / แรงบนั ดาลใจ / แรงผลักดันในการทางาน

๑. ความสาเร็จในการทางาน (Achievement) คือ มีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับ
มอบหมายให้ประสบความสาเร็จ เพราะมีความรู้สึกภาคภูมิใจทุกคร้ังท่ีได้ปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วง
ถึงแม้บางคร้งั ต้องสละทนุ ทรัพยส์ ่วนตัวบ้าง แต่ก็มีความเต็มใจและภูมิใจที่ได้มีส่วนช่วยเหลือผู้ท่ีอยู่ใน
สภาวะยากลาบาก ใหส้ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ และมคี ุณภาพชีวิตท่ดี ีขน้ึ กวา่ เดมิ

๒. การยอมรบั นบั ถอื (Recognition) คอื ไดร้ บั ความไว้วางใจ และการยอมรับนับถือจากกลุ่ม อพม. ผู้นาท้องถ่ิน
คนในชุมชน และหนว่ ยงานต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง และชว่ ยหนนุ เสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างต่อเน่ือง รวมถึง
ได้รับคัดเลือกให้เป็น อพม. ดีเด่น และ อพม. ดีเด่นพิเศษ การทางานอาสาสมัครให้ประสบความสาเร็จ

- 37 -

และได้รับการยอมรับจากบุคคลอ่ืนเป็นเร่ืองท่ีท้าทาย ต้องทาอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ ให้เกิดผลงาน
ท่ีชัดเจน จนกระทัง่ ทุกภาคสว่ นในพน้ื ท่ีให้การยอมรบั
๓. ลักษณะงาน (Work Itself) คือ ลักษณะงานที่มีความท้าทาย ช่วยกระตุ้นให้ อพม. ดีเด่น และ อพม.
ดีเด่นพิเศษ เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขปัญหา และปฏิบัติงานต่อเนื่องจนเกิด
ความชานาญ และเม่ือปฏิบัติงานที่มีความท้าทาย ความยาก ความซับซ้อน ได้ประสบผลสาเร็จ
ทาให้รู้สึกภูมิใจในความสามารถของตนเอง และสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ ส่งต่อความรู้แก่ผู้อ่ืน
ไดเ้ ปน็ อย่างดี
๔. ความมคี ณุ คา่ ในตวั เอง (Self Worth) การไดช้ ว่ ยให้ผู้อ่ืนพ้นจากความทุกข์ มีพื้นฐานจิตใจที่ดีจากการ
เมตตาคนอ่ืน มีสุขภาพกายที่ดีจากการทุ่มเทพลังกาย รู้สึกภาคภูมิใจในตัวเองที่เป็นส่วนหน่ึงได้
ขับเคลื่อนให้ภารกิจประสบความสาเร็จ การทาอะไรเพื่อผู้อื่น ได้เห็นคนในชุมชนมีชีวิตท่ีดีขึ้น
นอกจากจะสร้างสังคมให้น่าอยู่แล้ว ยังก่อให้เกิดความอ่ิมเอมใจ และได้พัฒนาทักษะความรู้
ของตนเอง เพราะงานอาสาสมัครเป็นงานท่ีมีแค่ตัวเปล่า ๆ ก็ทาได้แม้จะไม่มีเงินหรือความรู้ติดตัว
มาเลย ดังนั้น โอกาสนี้ถือเป็นโอกาสดีที่จะได้พัฒนาตัวเอง รวมถึงได้ส่งต่อความรักความมีเมตตา
ให้กับคนอื่น เพราะการทางานเป็น อพม. ถือเป็นการปฏิบัติตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ได้ปลูกฝังจิตสานึก
และสร้างคณุ ลักษณะใหก้ ับลูกหลานและคนรอบข้างให้มีความเห็นแก่ตัวน้อยลง มีความเห็นอกเห็นใจ
ต่อเพ่ือนมนุษย์มากขึ้น ซึ่งคุณลักษณะน้ีจะติดตัวพวกเขาไปตลอดชีวิต เม่ือพวกเขามีลูกหลาน
เขาก็จะส่งต่อคุณลักษณะแบบน้ีไปอีก ซึ่งเป็นเรื่องท่ีดีท่ีโลกนี้อยู่ได้เพราะมีการส่งต่อเร่ืองดี ๆ ต่อกัน
มีน้าใจระหว่างเพอื่ นมนษุ ยด์ ว้ ยกนั อย่างไม่มที ส่ี ้ินสดุ และทาให้รู้สกึ มีคณุ คา่ ในตัวเองมากข้ึนดว้ ย
๕. ความก้าวหนา้ ในตาแหนง่ ในชุมชน (Advancement) ความกา้ วหนา้ ในการทางาน เป็นส่ิงท่ีหนุนเสริม
ให้ อพม. ปฏิบัติงานต่อเน่ืองและมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ซ่ึงความก้าวหน้าสาหรับ อพม. นั้น มีหลาย
รูปแบบเน่ืองจาก อพม. ทางานอาสาสมัครด้วยความสมัครใจและไม่มีค่าตอบแทน ความก้าวหน้า
สาหรับ อพม. คือ การได้รับการยอมรับจาก อพม. ในพื้นท่ี รวมถึงเครือข่ายผู้นาชุมชน หน่วยงาน
ภาครัฐ และได้รับมอบหมายหรือคัดเลือกให้ดารงตาแหน่งท่ีสาคัญ มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน
ได้รับการคัดเลือกจาก อพม. ด้วยกัน ให้ปฏิบัติหน้าท่ี ประธาน อพม. ระดับอาเภอ ประธาน อพม.
ระดบั จังหวัด ประธาน อพม. ระดับภาค และประธาน อพม. ระดับประเทศ
๖. การมีส่วนร่วมของภาคีในชุมชน (Participation) ในการทางานมีปัจจัยหนุนเสริมจากการร่วมปฏิบัติงาน
กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้การปฏิบัติงานมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เช่น
ผู้นาชุมชน ,กานัน ,ผู้ใหญ่บ้าน ,อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ,อาสาสมัครด้านอ่ืน ๆ
เป็นต้น

ปญั หา / อุปสรรค
๑. เม่ือเจ้าหน้าที่ อพม. ลงพื้นท่ีไปเก็บข้อมูล ทาให้ผู้ประสบปัญหาเกิดความหวังและอาจจะเข้าใจผิด
ว่าจะตอ้ งไดร้ ับการชว่ ยเหลือทกุ ครั้ง
๒. การลงพื้นที่เพ่ือเก็บข้อมูลซ้า เน่ืองจากคร้ังแรกยังไม่ผ่านหรือไม่ได้รับการช่วยเหลือ เป็นการบ่ันทอน
ความน่าเชอ่ื ถือจากผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมไปด้วย
๓. เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้รับผิดชอบ อพม. มีการเปลยี่ นเจา้ หน้าท่ีบอ่ ย สง่ ผลให้ขาดความตอ่ เนอ่ื งในการทางาน
๔. บางหน่วยงานยังไม่รู้จักเจ้าหน้าที่ อพม. ในพื้นท่ี และเม่ือ อพม. เก็บข้อมูลส่งให้กับทาง พมจ.
แล้วยงั เกิดความล่าช้าในการลงพนื้ ท่ีเยย่ี มกลุ่มเปาู หมายจาก พมจ.
๕. ประชาชนยงั ไมร่ ู้จัก อพม. สง่ ผลให้ไมไ่ ดร้ บั ความรว่ มมือในการปฏิบัตงิ านเท่าท่ีควร

- 38 -

๖. ผู้ประสบปัญหาบางรายไม่ใช่คนในพ้ืนท่ี หรือเป็นคนต่างถิ่น จึงทาให้ขั้นตอนในการช่วยเหลือ
มีความยุ่งยาก ซบั ซ้อนมากขน้ึ

๗. อพม. รุ่นใหม่ๆ ยังขาดศักยภาพในการปฏิบัติงาน และยังไม่ได้รับความเช่ือถือจากประชาชน ทาให้
การปฏิบัตงิ านยงั ไมม่ ีประสิทธิภาพเทา่ ทคี่ วร

๘. ระยะทางในการเดินทางไปหากลุ่มเปาู หมาย หรือผู้ท่ีประสบปญั หา มรี ะยะทางที่ห่างไกลไปจากชุมชน
ยากต่อการให้ความช่วยเหลือ และบางพ้ืนท่ี บางครอบครัว ยังเข้าไม่ถึงสิทธิและสวัสดิการท่ีพวกเขา
พึงจะไดร้ บั

ขอ้ เสนอแนะ
๑. ควรมีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าหน้าท่ีผู้ประสานงานของจังหวัด กับ อพม. ในพื้นท่ี
เพอื่ ให้การทางานเปน็ ไปอยา่ งราบร่นื และมีประสิทธิภาพ
๒. เจ้าหน้าท่ีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ควรให้ความสาคัญกับ อพม.
มากขึ้น เช่น การมอบหมายให้เป็นผู้สอบข้อเท็จจริงเบ้ืองต้นในการขอรับความช่วยเหลือ
จากหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวง พม. เพราะจะช่วยลดภาระงานของเจ้าหน้าท่ี และช่วยให้ผู้ที่ประสบ
ปัญหาทางสงั คมไดร้ ับการช่วยเหลือรวดเรว็ ขน้ึ
๓. ควรมีการจัดอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพของ อพม. อย่างสม่าเสมอ เพ่ือให้ อพม. สามารถปฏิบัติงาน
ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น
๔. ใหม้ ีคา่ ตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายอย่างเพียงพอให้กับ อพม. ท่ีต้องลงพื้นที่ปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการสร้าง
ขวญั และกาลงั ใจให้กบั ผูป้ ฏิบัตงิ านเพ่มิ มากขน้ึ
๕. ให้มีหน่วยงานย่อยท่ีสามารถรับเร่ืองโดยตรงอยู่ในพื้นที่ตาบล หรืออาเภอ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว
ในการใหก้ ารช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม
๖. ควรมีสวัสดิการของ อพม. ในเร่ืองการดูแลด้านสวัสดิการของ บุตร หลาน หรือคนในครอบครัว เช่น
การศกึ ษา ,คา่ รกั ษาพยาบาล เปน็ ตน้

- 39 -

- 40 -

คณะผูจ้ ดั ทา

ท่ปี รึกษา ผ้อู านวยการสานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 10
นางอบุ ล ทองสลับลว้ น นักพฒั นาสงั คมชานาญการพิเศษ
นายพงษภทั ร แสงพิทูร นักพัฒนาสังคมชานาญการพเิ ศษ
นางสาวพวงทพิ ย์ พลู สวัสดิ์

ผูจ้ ดั ทา นกั จัดการงานทัว่ ไปปฏิบัตกิ าร
นางสาวกมลวรรณ บุญทัน พนักงานบริการ
นางสาวทิพวดี มะฮง

เรียบเรยี ง - ออกแบบ นักพฒั นาสังคม
นางสาวนิศากร หนูนวล

จัดพมิ พ์และเผยแพร่
สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 10 จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์
33 หมู่ที่ 1 ตาบลขุนทะเล อาเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี 84100
โทรศัพท์ : 0-7735-5022-3
โทรสาร : 0-7735-5705
E-mail: [email protected]

Website: http://tpso-10.m-society.go.th

Facebook: สานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 10 จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

Line: @tpso10surat

ปีท่ีผลิต : กุมภาพันธ์ 2565
พิมพ์ท่ี : สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 10


Click to View FlipBook Version