The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร
ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565 เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่แก่หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2022-09-14 02:57:55

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 ได้รวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ภายในองค์กร
ของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ประจำปี 2565 เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่แก่หน่วยงาน ภาคีเครือข่าย และผู้ที่เกี่ยวข้อง

Keywords: KM

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

จังหวัดกระบี่



1. กฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับการจ้างงานคนพิการ

1) พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
พ.ศ. 2550 และที่แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ

มาตรา 33 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการให้นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ และหน่วยงานของ
รัฐ รบั คนพกิ ารเข้าทางานตามลักษณะของงาน ในอัตราส่วนท่ีเหมาะสม
กับผู้ป ฏิบัติง านในสถานประกอบการหรือหน่วยงานข องรัฐ
ทั้งนี้ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ออกกฎกระทรวงกาหนด
จานวนท่ีนายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ และหน่วยงานของรัฐ
จะต้องรับคนพกิ ารเขา้ ทางาน

มาตรา 34 นายจ้างหรือเจา้ ของสถานประกอบการที่มิได้รับคน
พิการเข้าทางานตามจานวนที่กาหนดตามมาตรา..33..ให้ส่งเงินเข้า
กองทุนตามมาตรา 24 (5) ทั้งน้ี ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ออกกฎกระทรวงกาหนดจานวนเงินที่นายจ้างหรือเจ้าของสถาน
ประกอบการจะตอ้ งนาสง่ เขา้ กองทนุ

นายจ้างหรอื เจ้าของสถานประกอบการที่ต้องสง่ เงินเขา้ กองทุนตาม

วรรคหน่งึ

แตม่ ิไดส้ ่ง สง่ ลา่ ช้าหรือสง่ เงินไมค่ รบถ้วน ให้เสียดอกเบ้ียในอัตราร้อยละเจ็ด
ครึง่ ตอ่ ปีของจานวนเงนิ ทยี่ ังไม่ไดส้ ่งเข้ากองทุน

นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการซ่ึงรับคนพิการเข้าทางานหรือ
ส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหนึ่งมีสิทธิได้รับการยกเว้นภาษี เป็นร้อยละของ
จานวนเงินค่าจ้างที่จ่ายให้แก่คนพิการหรือเงินที่ส่งเข้ากองทุน แล้วแต่กรณี
ท้ังนี้ ตามท่กี ฎหมายกาหนด

มาตรา.35.ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์จะรับคนพิการเข้า
ทางานตามมาตรา.33.หรือนายจา้ งหรือเจ้าของสถานประกอบการไม่รับคน
พิการเข้าทางานตามมาตรา.33.และไม่ประสงค์จะส่งเงินเข้ากองทุนตาม
มาตรา.34.หน่วยงานของรัฐนายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการนั้น
อาจให้สัมปทานจัดสถานท่ีจาหน่ายสินค้าหรือบริการจัดจ้างเหมาช่วงงาน
หรือจ้างเหมาบริการโดยวิธีกรณีพิเศษ ฝึกงาน หรือจัดให้มี อุปกรณ์หรือส่ิง
อานวยความสะดวก ล่ามภาษามือ หรือให้ความช่วยเหลืออื่น
ได้แก่ คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการก็ได้ ทั้งน้ีตามหลักเกณฑ์วิธีการ
และเงือ่ นไขที่คณะกรรมการกาหนดในระเบียบ

2) กฎกระทรวงกาหนดจานวนคนพิการ ท่ีนายจ้างหรือเจ้าของสถาน
ประกอบการและหน่วยงานของรัฐจะต้องรับเข้าทางานและจานวนเงินที่
นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการจะต้องนาส่งเข้ากองทุนส่งเสริม
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. 2554 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ

3) ระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
แห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขการให้สัมปทาน
จัดสถานที่จาหน่ายสินค้าหรือบริการ จดั จ้างเหมา ช่วงงานหรือจ้างเหมา
บริการโดยวิธีกรณีพิเศษ ฝึกงาน หรือจัดให้มีอุปกรณ์ หรือส่ิงอานวย
ความสะดวก ล่ามภาษา หรือให้ความช่วยเหลืออื่นใดแก่คนพิการหรือ
ผดู้ ูแลคนพิการ พ.ศ. 2558 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ

4) คาส่ังกรมสรรพากร ท่ี ป.156/2561..เรื่อง การเสียภาษีเงินได้
นิติบุคคลสาหรบั รายจ่าย จากการดาเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตคนพกิ าร พ.ศ.2550

5) คาสั่งกรมสรรพากร ที่ ป.157/2561..เร่ือง การเสียภาษีเงินได้นิติ
บุคคลสาหรับรายจ่าย จากการดาเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพกิ าร พ.ศ. 2550

2. วธิ กี ารปฏิบัตติ ามกฎหมาย

การนับจานวนลูกจา้ ง

1.ให้นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการทุก
แหง่ นับจานวนลูกจ้างที่ไม่ใช่คนพิการท้ังหมด ถ้ามีสาขาให้นับ
รวมเขา้ ด้วยกัน

2.หากมจี านวนลกู จ้างต้งั แต่ 100 คนขึ้นไปจะต้อง
รับคนพิการเข้าทางานในอัตราส่วนลูกจ้างที่ไม่ใช่คนพิการ
100 คน ต้องรับคนพกิ าร 1 คน เศษเกิน 50 คน ต้องรับคน
พกิ ารเพม่ิ อกี 1 คน (100 คน : 1 คน, 151 คน : 2 คน)

วธิ ที ี่ 1 รบั คนพิการเข้าทางานเปน็ ลูกจ้าง (มาตรา 33)

ใ ห้ น า ย จ้ า ง รั บ ค น พิ ก า ร เ ข้ า ท า ง า น ใ น อ ง ค์ ก ร ข อ ง ตั ว เ อ ง
ตามตาแหน่งท่ีเหมาะสม โดยสิทธิสวัสดิการ เหมือนบุคคลทั่วไปตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการคุ้มครองแรงงาน เช่น ประกนั สังคม เป็นต้น

- เปน็ คนพกิ ารทม่ี ีประจาตัวคนพิการ

- ระยะเวลาการจ้าง ไม่น้อยกว่า 1 ปีปฏิทิน และสามารถจ้างงาน
มากกวา่ 1 ปีได้

- หากคนพกิ ารลาออก หรอื จ้างไมค่ รบ 1 ปปี ฏิทนิ ตอ้ งหาคนพกิ าร
ทดแทนภายใน 45 วัน นับจากวันท่ีรายเดิมลาออก หากพ้นกาหนด
ระยะเวลาดังกล่าว ต้องส่งเงินเข้ากองทุนฯ พร้อมดอกเบี้ย (โดยเร่ิม
นบั ตง้ั แตว่ นั ท่ลี าออกเป็นตน้ ไป)

- ลูกจ้างรายวัน ควรจ้างไม่น้อยกว่า 20.วัน และได้รับค่าจ้าง
เพียงพอต่อการดารงชีพ ไม่เป็นการจ้างงานในลักษณะการเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการ

- เมอ่ื นับจานวนลูกจา้ ง เดอื นตุลาคม และทราบจานวนคนพกิ ารที่
ตอ้ งรับเข้าทางานเเล้ว ใหเ้ รม่ิ จา้ งก่อนหรือภายใน 1 มกราคมของปีถัดไป
(เช่น นับจานวนลูกจ้างเดือนตุลาคม 2564 ให้เร่ิมจ้างก่อนหรือภายใน
1 มกราคม 2565 และส้ินสุดถึง 31 ธันวาคม 2565 ถึงจะครบกาหนด
รอบการปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของเเตล่ ะปี)

วิธีที่ 2..ส่งเงินเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการ (มาตรา 34)

นายจ้างที่ไม่ประสงค์รับคนพิการเข้าทางานสามารถเลือกวิธีการส่ง
เงินเข้ากองทุนฯ แทนการจ้างงานคนพิการได้โดยคานวณจากค่าแรงอัตรา
ที่ที่สดุ ของกฎหมาย คูณ 365 วัน ต่อคนพกิ ารที่ไม่ไดร้ บั เข้าทางาน 1 คน

- ส่งเงนิ เป็นรายปี

- ภายใน 31 มนี าคมของทกุ ปี

- หากพ้นกาหนดจะตอ้ งเสียดอกเบย้ี 7.5% ตอ่ ปี โดยคานวณถึง
วันชาระ

การสง่ เงินเขา้ กองทุนฯ กรณีจา้ งงานคนพกิ ารไม่ครบ 1 ปีปฏทิ ิน
หรือมลี ูกจา้ งคนพกิ ารลาออกในระหวา่ งปีท่มี ีหน้าท่ปี ฏิบตั ิและไมส่ ามารถ
หาคนพกิ ารรายใหมท่ ดเเทนไดภ้ ายใน 45 วนั

วิธที ี่ 3 การสง่ เสริม โดยการจัดใหม้ สี ัมปทาน (มาตรา35)

นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการท่ีไม่ประสงค์จ้างคนพิการ
ตามมาตรา 33 หรือส่งเงินเข้ากองทุนฯ ตามมาตรา 34 อาจจัดให้มีการ
สง่ เสรมิ อาชีพรปู แบบอื่น โดยวิธีการใหส้ ัมปทานมี 7 วิธี ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.การให้สัมปทาน การให้สิทธิแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการได้ใช้
ประโยชน์ จากทรพั ยส์ ินในการประกอบอาชีพ

2.การจัดสถานท่ีจาหน่ายสินค้าหรือบริการ การจัดสถานท่ีบริเวณ
องค์กร หรือสถานประกอบการ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกเพื่อให้
คนพกิ ารหรอื ผดู้ ูแลคนพกิ ารไดใ้ ชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชพี

3.การจัดจ้างเหมาช่วงงานหรือจ้างเหมาบริการ การจ้างเหมาช่วง
งาน หรือการจ้างเหมาบริการจากคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการเพื่อ
ประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐ นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการ
แห่งนั้น

4.การฝึกงาน การเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ หรือการ
ถ่ายทอด วทิ ยาการหรือเทคโนโลยี ทส่ี ามารถนาไปประกอบอาชีพได้

5.การจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอานวยความสะดวก การจัดให้มี
เครื่องช่วยอานวยความสะดวกซึ่งเคลื่อนท่ีหรือเคล่ือนย้ายได้เพ่ือให้คน
พิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้บนพื้นฐานของ
ความต้องการพิเศษของคนพิการแต่ละประเภท และมีลักษณะตาม
กฎกระทรวงกาหนดลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ ส่ิงอานวยความ
สะดวก หรือบริการในอาคาร สถานท่ีหรือบริการสาธารณะอ่ืน เพื่อให้
คนพกิ ารสามารถเขา้ ถึงและใช้ประโยชนไ์ ด้ พ.ศ. 2555

6.การจัดให้มีบริการล่ามภาษามือ การจ้างบุคคลซ่ึงจดแจ้งเป็น
ล่ามภาษามือต่อกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อ
ให้บรกิ ารแก่คนพกิ ารทางการได้ยินหรอื ส่ือความหมาย

7.การให้ความช่วยเหลืออ่ืนใดแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการ
การใหค้ วามช่วยเหลอื แกค่ นพกิ ารหรอื ผู้ดูแลคนพิการโดยตรง เพื่อให้คน
พิการหรือผูด้ ูแลคนพิการสามารถประกอบอาชีพหรือมีรายได้

3. การย่นื รายงานผลการจ้างงานคนพิการ

เมื่อดาเนนิ การตามวิธีการทั้ง 3 วิธีแล้วให้ยืน่ รายงานผลการ
จ้างงานคนพกิ าร ตงั้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถงึ 31 มีนาคม ของทุกปี
โดยให้ยืน่ ตามหนว่ ยงานทส่ี านกั งานใหญต่ ั้งอยู่

- กรุงเทพมหานคร ย่นื ท่ีกองทนุ ส่งเสริมความเสมอภาคคน
พิการ

- ต่างจังหวดั ยน่ื ทส่ี านกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของ
มนษุ ยจ์ งั หวัดที่สานักงานใหญต่ ง้ั อยู่

- ยน่ื ผา่ นทางระบบรายงานผลการจา้ งงานคนพกิ ารออนไลน์
https://ejob.dep.go.th/ejob

4. สิทธปิ ระโยชนท์ างภาษี

ตามคาส่ังกรมสรรพากร ท่ี ป. 156/2561 และคาส่ังกรมสรรพากร
ท่ี ป. 157/2561 เรือ่ ง การเสียภาษเี งินไดน้ ิตบิ คุ คลสาหรบั รายจ่ายจากการ
ดาเนนิ การตามพระราชบัญญตั ิสง่ เสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร
พ.ศ. 2550

จา้ งงานคนพกิ าร ตามมาตรา 33
- จา้ งงานคนพิการท่ีมบี ัตรประจาตัวคนพิการ
- ยกเวน้ ภาษีได้ 2 เท่าของรายจา่ ยทีจ่ า่ ยไปเน่อื งจากการจา้ งงานคน
พิการเข้าทางาน
- ยกเวน้ ภาษไี ด้ 3 เทา่ หากรับคนพิการเข้าทางานเกินกว่าร้อยละ 60
โดยมีระยะเวลาจา้ งเกิน 180 วัน ในปภี าษหี รือระยะเวลาบญั ชีที่มเี งินได้
สง่ เงนิ เขา้ กองทุน ตามมาตรา 34
- ยกเวน้ ภาษีไดเ้ ท่ากบั จานวนเงินทส่ี ่งเข้ากองทนุ สง่ เสริมและพฒั นา
คณุ ภาพชวี ิตคนพกิ าร
จัดสัมปทานฯ/ส่งเสริมอาชพี ตามมาตรา 35
- ยกเวน้ ภาษไี ด้เทา่ กบั จานวนที่มีค่าใช้จา่ ยเฉพาะบางประเภท

5. การสมัครใชง้ านระบบการรายงานผลการจ้างงานคนพิการออนไลน์

1. เขา้ ejob.dep.go.th

2. คลกิ “สมัครใช้งาน”
3. อ่านเงอ่ื นไขในการสมคั รสมาชกิ เพือ่ ใชบ้ รกิ ารทางอนิ เทอร์เน็ตและคลกิ “ยอมรบั ”และ “ตกลง”
4. กรอกเลขทบี่ ญั ชนี ายจา้ ง (เลขประกันสังคม 10หลัก) และคลกิ ตรวจสอบเลขท่บี ญั ชนี ายจา้ ง
5. กรอกเลขทะเบียนนติ ิบุคคลของกระทรวงพาณชิ ย์
6. กรอกข้อมลู การใช้งานระบบ และคลกิ “สมคั รเขา้ ใชง้ าน”

- ชอื่ ผ้ใู ช้งาน หรือ Username สามารถเป็นภาษาอังกฤษหรือตวั เลขเทา่ นั้น
(ควรต้งั ชอื่ ผู้ใช้เปน็ บริษทั หรอื ส่ือความหมายถงึ บริษัทโดยตรง เช่น Jaidee99 ไม่
ควรใชช้ ่ือบุคคล)
- อเี มล์ (ควรเป็นอีเมลข์ องบรษิ ัท ไมค่ วรใช้อีเมลส์ ่วนตวั บคุ คล)
- ตงั้ รหสั ผ่านและยนื ยัน Password
7. ยนื ยันตวั ตนผา่ น Link ท่รี ะบบสง่ ให้ทางอีเมล์
8. กรอกข้อมูลผ้ตู ิดต่อ โดยจะต้องเป็นผูท้ ่ไี ด้รบั มอบอานาจจากนายจา้ งเท่านั้น
9. กรอกขอ้ มูลกรรมการบรษิ ัท (ตามจานวนกรรมการซ่งึ ลงชอ่ื ผกู พนั บรษิ ัทได้)
10. ดาวน์โหลดไฟลจ์ ากระบบ จดั ทาเอกสารใหเ้ รียบรอ้ ย และสแกนไฟลเ์ อกสารดงั กลา่ ว กลบั
เข้าระบบ
11. ส่งเอกสารชดุ สมัครตัวจรงิ ใหห้ นว่ ยรบั คาขอ เพ่ือพิจารณาอนุญาตให้ใชง้ าน
Username และ Password

แผนภมู ิแสดงลาดบั การปฏิบตั ิ
และยื่นรายงานการจ้างงานคนพกิ าร

ปก

คู่มือการเพ่ือป้องกนั การกระทาความรุนแรงในครอบครัว

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั กระบ่ี

ความเป็นมา

ตามพระราชบัญญัติคมุ้ ครองผูถ้ กู กระทาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ.2550
ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2550 และมีผลบังคับใช้วันที่ 12
พฤศจิกายน 2550 เป็นต้นไป โดยกรมกจิ การสตรีและสถาบนั ครอบครัว กระทรวงพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นหน่วยงานหลักในการกาหนดนโยบายส่งเสริมและ
สนับสนนุ ใหม้ กี ารดาเนนิ งานและการบงั คบั ใช้กฎหมายอย่างเป็น

โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งสรา้ งความตระหนักถึงปัญหาความ
รนุ แรงตอ่ เดก็ และสตรี ท่เี กดิ ขึ้นในสังคมไทย

ซึ่ง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดตั้ง
“ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารเพ่อื ป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัว” ให้ครบทุกจังหวัด ซึ่ง
จะอยู่ในหน่วยงานสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เพื่อให้
การชว่ ยเหลอื คุ้มครอง และปอ้ งกนั การกระทาความรุนแรงในครอบครัวทกุ รปู แบบ

ภารกจิ และบทบาทหนา้ ที่

รับแจ้งเหตุการณก์ ารกระทาความรุนแรงในครอบครัว
ผู้แจ้งเหตุ คือ ผู้ถูกกระทำควำมรุนแรงในครอบครัว ผู้พบเห็นเหตุกำรณ์กำรกระทำควำม
รุนแรงในครอบครัว และผ้ทู รำบเหตกุ ำรณ์กำรกระทำควำมรุนแรงในครอบครัว

ชอ่ งทางการแจง้ เหตุ
(1) แจง้ โดยวำจำ
(2) แจง้ เปน็ หนังสอื
(3) แจง้ ทำงโทรศพั ท์
(4) แจง้ ผำ่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์หรอื วิธอี ืน่ ๆ
(5) แจง้ ผำ่ นศูนยช์ ว่ ยเหลือสงั คม 1300 จงั หวัดกระบี่

ผรู้ บั แจ้งเหตุ
(1) พนกั งำนเจ้ำหน้ำทฝ่ี ำ่ ยปกครอง (กำนัน ผูใ้ หญบ่ ้ำน)
(2) พนักงำนเจำ้ หนำ้ ที่ตำรวจ
(3) เจำ้ หนำ้ ท่ีองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และองคก์ รภำคเอกชน และประชำสังคม
(4) หนว่ ยงำนในสงั กัดกระทรวงกำรพฒั นำสงั คมและควำมม่ันคงของมนุษย์
- สำนักงำนพฒั นำสังคมและควำมมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั กระบ่ี
- บำ้ นพักเด็กและครอบครัวจงั หวัดกระบี่
- ศนู ย์คุม้ ครองคนไรท้ ่พี ่ึงจังหวดั กระบ่ี
- ศนู ยพ์ ัฒนำครอบครวั ในชุมชน (ศพค.) ทกุ แห่งในจงั หวดั กระบ่ี
- ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สังคมตำบล ทกุ แหง่ ในพ้นื ทจ่ี ังหวัดกระบี่

กระบวนการชว่ ยเหลือ

การช่วยเหลอื เบ้ืองต้น
(1) เจ้าหน้าที่รับแจ้งเหตุ พร้อมทั้งสอบถามข้อเท็จจริงจากเหตุการณ์ความรุนแรงใน
ครอบครัวที่เกิดขึ้น
(2) เจ้าหน้าที่เข้าไปในเคหสถานหรือสถานที่เกิดเหตุโดยเร็ว พร้อมทั้งประสานทีมสห
วชิ าชพี ลงพื้นทส่ี อบถามขอ้ เทจ็ จรงิ ท้งั ผถู้ กู กระทา และผู้กระทา และดาเนินการให้การช่วยเหลือ
ตามพระราชบัญญัติคมุ้ ครองผู้ถูกกระทาความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ.2550

การชว่ ยเหลือดา้ นการแพทยแ์ ละการสงั คมสงเคราะห์
(1) จดั ให้ผถู้ กู กระทาความรุนแรงในครอบครัว พบแพทย์ จิตแพทย์ นักจิตวิทยา และนัก
สังคมสงเคราะห์
(2) ให้คาปรึกษา เยียวยาสภาพจิตใจ และแนวทางในการดาเนินชีวิตหลังจากเกิด
เหตกุ ารณ์ความรุนแรงในครอบครวั

การชว่ ยเหลอื ด้านกฎหมายและการร้องทกุ ข์
(1) จดั ใหผ้ ถู้ ูกกระทาความรุนแรงในครอบครวั พบเจ้าหน้าที่ตารวจ อัยการ หรอื พนักงาน
นิติกร ที่ให้การช่วยเหลือตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว
พ.ศ.2550
(2) จัดให้ผู้ถูกกระทาความรุนแรงในครอบครัว ทราบถึงสิทธิและสวัสดิการตามกฎหมาย
เชน่ ผถู้ ูกกระทามคี วามประสงค์ท่ีจะดาเนินคดี หรอื ไม่ประสงคร์ ้องทุกข์

กระบวนการคมุ้ ครองชว่ ยเหลือผถู้ ูกกระทาด้วยความรนุ แรงในครอบครวั

ผู้เสียหำย/ผูพ้ บเหน็ เหตกุ ำรณ์

แจ้งเหตุ/ขอควำมช่วยเหลอื /คำแนะนำ
ประสำนส่งตอ่

องค์กรกำรแพทย์ องคก์ รดำ้ นสังคม องคก์ รดำ้ นกฎหมำย

- บำบัดพฤตกิ รรม - จดั หำทพ่ี ักชว่ั ครำว - รบั เรื่องรอ้ งทกุ ข์
- รกั ษำฟน้ื ฟู เยยี วยำ - ให้บริกำรทำงด้ำน - คุ้มครองสวัสดภิ ำพ
ร่ำงกำย และจติ ใจ สงั คมสงเครำะห์ - ให้บริกำรกระบวนกำร
- ฝึกอำชีพ/หำงำน ยตุ ิธรรม
- ไกลเ่ กลยี่

การช่วยเหลือเดก็ ทถ่ี กู กระทาความรนุ แรงในครอบครวั

(1) กำรตรวจรำ่ งกำย และรักษำ หำกเกิดควำมบำดเจ็บทำงร่ำงกำย

(2) เขำ้ ส่กู ระบวนกำรของกำรคุ้มครองสวสั ดิภำพ ตำมพระรำชบญั ญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ.2546

(3) ประเมินสภำพแวดล้อม ประเมินสภำพจิตใจและผลกระทบต่อเหตุกำรณ์ โดยจิตแพทย์
และนกั สังคมสงเครำะห์ ตำมพระรำชบัญญตั คิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ.2546

(4) ให้กำรช่วยเหลือในเร่ืองที่ควำมเป็นอยู่ในด้ำนต่ำงๆ ท่ีพึงได้รับตำมพระรำชบัญญัติ
คุม้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546



การค้มุ ครองสวสั ดิภาพ

การคุ้มครองสวัสดิภาพ หมำยถึง กำรปกป้อง คุ้มครอง ดูแล พัฒนำ และฟื้นฟูผู้ถูกกระทำควำมรุนแรงใน
ครอบครัวซ่ึงอย่ใู นสภำวะทจี่ ะต้องไดร้ บั กำรคุ้มครองสวสั ดภิ ำพตำมพระรำชบญั ญตั หิ รอื กฎหมำยที่เกย่ี วข้อง ซง่ึ กระทำ
โดยหนว่ ยงำนภำครัฐ ตลอดจนองคก์ รเอกชนตำมเงอ่ื นไขที่กำหนดไว้ตำมพระรำชบญั ญตั ิหรือกฎหมำยท่ีเกยี่ วขอ้ ง

การคุม้ ครองสวสั ดภิ าพกรณีที่มกี ารร้องทกุ ข์

พนกั งานสอบสวนประสานพนกั งานเจ้าหน้าทฯ่ี สืบเสาะประมวลขอ้ เทจ็ จรงิ
ตามแบบ คร.7

การคุ้มครองสวัสดิภาพ เยียวยาผูถ้ ูกกระทา - ดา้ นรา่ งกาย
ปอ้ งกนั การกระทาซ้า การพิจารณาคดี - ด้านจติ ใจ
- ด้านสังคม

ยงั ไม่ฟ้องคดี ฟอ้ งคดี ช้ันศาล ยอมความ

ออกมาตรการ ผู้เสยี หาย หรือ ย่ืนคาร้องขอ หากสามารถไกล่ ศาลส่งั ให้ ยอม
บรรเทาทกุ ข์ อยั การ หรอื ค้มุ ครอง เกลี่ยยอมความได้ ฟ้ืนฟู เยยี วยา ความใน
โดยพนง.จนท. พนง.จนท. ย่นื สวสั ดิภาพ ให้พนง.จนท. ทา ช้นั ศาล
ช้นั ผู้ใหญ่ คาร้องขอ ต่อศาล ยอมความ (คร.9) ผู้กระทาฯ
คมุ้ ครองสวสั ดิ
(คร.๘) ไตส่ วน/ 1 พนง.จนท. กากบั
ภาพ สบื พยาน ตดิ ตาม รายงานผลให้
พนง.จนท. สง่ คร.9 ให้
พนง.สส เพือ่ ทาบันทึก ศาลทราบ
ข้อตกลงก่อนการยอม
ปฏบิ ตั ติ าม ไม่ปฏบิ ัติตาม
ความ (คร.10)
พนง.จทน. กากับตดิ ตาม จาหนา่ ยคดี ยกคดพี จิ ารณาใหม่
รายงานผลให้ศาลทราบ

ปฏบิ ัติตาม ไมป่ ฏบิ ัติตาม พรบ.ศาล

ติดตามโดย พรบ. ออกหมายจับมาขัง ไมเ่ กนิ 1
เครือข่ายในพ้นื ท่ี ความรุนแรง เดือน (ม.176 วรรค 2)

เปน็ ความผดิ
ม.11

ชดุ ความรู้การคุ้มครองสวัสดิภาพกรณีที่ไมม่ ีการรอ้ งทกุ ข์

พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ฯ คมุ้ ครองเบือ้ งต้น

ใหค้ าปรึกษา แนะนาจากนกั จิตวทิ ยา นักสังคมสงเคราะห์ และแจ้งสทิ ธทิ ี่ไดร้ ับการคุ้มครองตาม
กฎหมาย

การรอ้ งขอคุ้มครองสวัสดิภาพ ตาม ม.๗ ค่กู รณีประสงค์ไกลเ่ กลี่ย
ตาม พรบ.ศาลเยาวชน ม.๑๗๒,๑๗๙ (ใหน้ า ม.๑๒,๑๖ มาปรับใช)้

ยน่ื คารอ้ ง ศาลออกคาสงั่ ตัง้ ผปู้ ระนีประนอม
ไตส่ วน/ฉุกเฉิน/ยกคารอ้ ง คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพ (บคุ คลทีเ่ คารพนบั ถอื /สหวิชาชพี )

(แบบ คส.1 คส.2 คส.3) แจง้ คาส่ัง จัดทาบันทึกข้อตกลงแบบมีเง่ือนไขและ
ผอู้ น่ื ยน่ื แทน ระยะเวลา/ต้งั ผู้ติดตามฯ (ผูน้ าชมุ ชน

ถา้ ผ้ถู กู กระทาไม่อยู่ เครือขา่ ยในพ้ืนท)ี่
ในสภาพหรือวิสยั ท่ี
สามารถยน่ื คารอ้ งได้ รายงานผลต่อพนกั งานเจ้าหนา้ ที่

นกั สังคมฯ/นกั จติ / ฝา่ ยปกครอง/ตารวจ
พนจ.

ตดิ ตามผล/รายงานศาล จับผู้ฝ่าฝนื คาส่ังตาม ปฏิบัติตาม ไมป่ ฏบิ ัตติ าม
หมายจับศาลขังไม่เกิน ๑ ยตุ เิ ร่อื ง
พนง/สหวชิ าชพี
เดอื น วางแผน
หรอื ทาทัณฑบ์ น
การค้มุ ครองตาม
ม.๑๗๒

หลกั การการจดั ทามาตรการบรรเทาทุกข์ และ มาตรการ
การปรบั พฤตกิ รรมทีส่ ามารถแก้ไขปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั ได้

• ต้องได้รบั ความเห็นชอบท้ัง ๒ ฝา่ ย
• สามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ วัดประเมนิ ผลได้
• กาหนดระยะเวลาการปฏบิ ัติ การรายงานตัว และผูม้ บี ทบาทตดิ ตาม ให้ชัดเจน
• กาหนดหนว่ ยงานที่ทาหนา้ ทใ่ี นการปรับพฤติกรรม
• กาหนดให้มีการรายงานตวั ต่อผปู้ ระเมนิ เป็นระยะ ๆ
• ใช้ทรพั ยากรในท้องทเ่ี ปน็ มาตราการปรับพฤตกิ รรม อาทิ สวัสดิการชุมชนตา่ ง ๆ
• ประสาน อาสาสมัครในชุมชน เฝ้าระวัง ป้องกัน ติดตามโดยไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ

ผูถ้ ูกกระทาฯ
• สอดแทรกการปรับพฤติกรรมเข้ากับกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน เช่น การเข้าค่าย

ครอบครวั กจิ กรรมครอบครัวสมั พันธ์

ตวั อย่างมาตรการหรอื วิธีการเพ่อื บรรเทาทุกข์ และมาตรการ
การปรับพฤติกรรมผกู้ ระทา/ผ้กู ระทาความรุนแรงในครอบครัว

❑ ผกู้ ระทำควำมรุนแรงในครอบครวั

o ห้ามกระทาการทเ่ี ปน็ เหตุ เชน่ หา้ มเสพสงิ่ มึนเมา เปน็ เวลา ๓ เดอื น
o หา้ มใช/้ ครอบครองทรพั ยส์ ิน เปน็ เวลา ๓ เดอื น
o หา้ มเขา้ ใกลท้ ่ีอยู่/สถานทป่ี ฏิบัติงาน ในระยะ ๒ เมตร เป็นเวลา ๓ เดอื น
o เข้ารว่ มการบาบัด family therapy ร่วมกับสมาชกิ ในครอบครัว ในสถานพยาบาลของรัฐ เป็น

เวลา ๓ เดอื น
o ให้จา่ ยค่าอปุ การะเลย้ี งดู/ เงนิ ชว่ ยเหลือบรรเทาทุกข์ เป็นเวลา ๓ เดือน
o เขา้ รบั การบาบดั ยาเสพตดิ /เหล้า/บหุ รี่ ในสถานพยาบาลของรัฐ จานวน ๑ หลักสูตร เป็นเวลา

๓ เดอื น
o เขา้ ร่วมเป็นจติ อาสา ชว่ ยเหลอื งานสงั คมและชมุ ชน ร่วมกจิ กรรมของชุมชน เป็นเวลา ๑ ปี
o เขา้ รายงานตัวต่อพนักงานเจา้ หน้าที่ ศปก. จงั หวดั ทกุ ๑ เดอื น เปน็ เวลา ๑ ปี
o ให้คณะกรรมการชุมชน คณะกรรมการ ศปก.ต. ติดตามผลการปฏิบัติของผู้กระทาและ

รายงานต่อ ศปก.จงั หวัด ทกุ สปั ดาห์ เปน็ เวลา ๑ ปี

ตวั อยา่ งมาตรการหรอื วิธีการเพอ่ื บรรเทาทกุ ข์ และมาตรการ

การปรบั พฤตกิ รรมผกู้ ระทา/ผูก้ ระทาความรุนแรงในครอบครัว

❑ ผถู้ ูกกระทำควำมรุนแรงในครอบครัว

o หา้ มกระทาการที่เปน็ เหตุ เช่น การบน่ การดา่ ห้ามเสพสงิ่ มึนเมา เป็นเวลา ๓ เดอื น
o เข้ารับการให้คาปรึกษาจากจติ แพทย์ ในสถานพยาบาลของรัฐ เปน็ เวลา ๓ เดอื น
o เข้ารว่ มการบาบดั family therapy รว่ มกบั สมาชกิ ในครอบครวั ในสถานพยาบาลของรัฐ

เปน็ เวลา ๓ เดือน
o เขา้ ร่วมอบรมหลักการเล้ยี งดบู ุตรท่เี หมาะสม ในสถานพยาบาลของรัฐ จานวน ๑ หลกั สตู ร

เปน็ เวลา ๓ เดอื น
o เขา้ ร่วมเปน็ จติ อาสา ช่วยเหลืองานสังคมและชุมชน ร่วมกิจกรรมของชมุ ชน เป็นเวลา ๑ ปี
o เขา้ รายงานตวั ต่อพนักงานเจา้ หน้าที่ ศปก. จังหวัด ทกุ ๑ เดือน เป็น เวลา ๑ ปี
o ให้คณะกรรมการชมุ ชน คณะกรรมการ ศปก.ต. ติดตามผลการปฏบิ ัติของผูก้ ระทา

และรายงานตอ่ ศปก.จงั หวดั ทกุ สปั ดาห์ เปน็ เวลา ๑ ปี

วธิ ีการปอ้ งกัน และหลกี เล่ยี งความรนุ แรงในครอบครวั

(1) สร้ำงบรรยำกำศภำยในบ้ำน ให้รู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย ปลูกฝังควำมเมตตำกรุณำต่อ
กัน แก้ปัญหำต่ำงๆ ในครอบครวั รว่ มกันด้วยควำมสขุ ุม รอบคอบ มเี หตุผล สงบสันติ ไม่ก้ำวร้ำว
หรอื ใชค้ ำผรุสวำทดำ่ ทอต่อว่ำกัน และไม่ทำร้ำยร่ำงกำยกัน

(2) หำโอกำสพูดคุยกันในครอบครัว ปรึกษำเพ่ือแก้ไขปัญหำที่เกิดข้ึน ให้กำลังใจซึ่งกัน
และกัน แต่ถ้ำไม่สำมำรถควบคุมหรือแก้ปัญหำพฤติกรรมน้ีได้ ควรไปพบจิตแพทย์ หรือ
นักจิตวิทยำเพื่อรับฟังคำแนะนำและนำมำปรับปรุงแก้ไข เช่น เรียนรู้กำรสื่อสำรโดยตรงกับคน
ในครอบครัวด้วยควำมรัก ควำมเข้ำใจและด้วยเหตุผล เรียนรู้เร่ืองกำรจัดกำรอำรมณ์ รวมถึง
กำรฝึกทักษะกำรรับฟังอย่ำงเข้ำใจ คือ เปิดใจรับฟัง ไม่มีอคติแอบแฝง เม่ือมีปัญหำขัดแย้งก็
รว่ มกันแก้ไขอย่ำงใจสงบ สืบหำสำเหตุเพือ่ แก้ไขข้อขดั แย้งได้ตรงจุด

(3) หลีกเล่ียงปจั จัยที่อำจทำให้เกิดควำมรุนแรง เช่น กำรด่ืมสุรำ เสพส่ิงเสพติด เป็นต้น
ท้ังนี้ ถ้ำหำกมีกำรโต้เถียงกันข้ึน ควรมีฝ่ำยหนึ่งหยุดและหลีกเลี่ยงคำพูดย่ัวยุส่อเสียด ท้ังทำง
วำจำ สำยตำ เพรำะอำจจะทำให้อีกฝ่ำยโกรธมำกยิ่งข้ึน ถ้ำถึงขั้นขว้ำงปำส่ิงของหรือจะเข้ำมำ
ทำรำ้ ยรำ่ งกำย ควรหลบหลกี ออกจำกสถำนกำรณต์ รงนน้ั ไปก่อน

(4) เมื่อเกิดกำรกระทำควำมรุนแรงในครอบครัว ควรพำผู้บำดเจ็บไปรับกำรรักษำโดย
แพทย์ และหำกได้รับควำมกระทบกระเทือนทำงจิตใจควรพำมำพบจิตแพทย์เพ่ือบำบัดฟ้ืนฟู
สภำพจิต ท้ังน้ีผู้ท่ีใช้ควำมรุนแรงควรพบจิตแพทย์เพื่อรับกำรประเมินปัญหำทำงจิตเวชและ
ไดร้ ับกำรบำบัด เชน่ เดยี วกัน

สิทธิและสวัสดิการผู้ถูกกระทาความรนุ แรงในครอบครวั

1.สทิ ธิในการไดร้ บั บริการตรวจรกั ษาและให้คาปรึกษา
ผู้ถูกกระทำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัวมีสิทธิขอให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่จัดให้ตนได้เข้ำรับ
กำรตรวจรกั ษำจำกแพทย์ และขอคำแนะนำปรึกษำ
2. สิทธิในการร้องทกุ ขเ์ พือ่ ดาเนินคดีตอ่ ผู้กระทาผิดฐานกระทาดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว
ในกรณผี ถู้ กู กระทำด้วยควำมรุนแรงในครอบครวั ประสงค์จะดำเนนิ คดีกบั ผกู้ ระทำผดิ
3. สิทธิในการร้องขอรับการค้มุ ครองสวัสดิภาพ
ในกรณีท่ีผู้ถูกกระทำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัวไม่ประสงค์จะดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดแต่ยัง
พบควำมเส่ียงจะถูกกระทำซ้ำ สำมำรถร้องขอคุ้มครองสวัสดิภำพตำม พรบ.ศำลเยำวชนและ
ครอบครวั
4. สิทธใิ นการดาเนินคดตี ่อผู้ถกู กระทาความรนุ แรงในครอบครัว
ในกรณีที่ผู้ถูกกระทำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัวมีควำมประสงค์จะดำเนินคดีต่อผู้กระทำผิด
ตอ้ งรอ้ งทุกข์ตอ่ พนกั งำนสอบสวนภำยใน 3 เดอื น

5. สทิ ธใิ นการขอต่อพนักงานเจ้าหน้าทใ่ี ห้ออกคาสั่งกาหนดมาตรการ

หรอื วิธีกำรบรรเทำทกุ ขเ์ บ้ืองตน้ ช่ัวครำวให้ผ้ถู กู กระทำควำมรุนแรงในครอบครัวกระทำกำรหรอื ละเว้นกระทำกำร

- เข้ำรบั กำรตรวจรกั ษำจำกแพทย์

- ชดใช้เงินช่วยเหลอื คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรรักษำพยำบำล คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรหำท่ีอยู่ใหม่ และคำ่ ใช้จำ่ ยท่ี
จำเปน็

- ห้ำมผูก้ ระทำควำมรุนแรงเข้ำไปในทีพ่ ำนกั ของครอบครวั หรือเข้ำใกล้บุคคลในครอบครัว

- กำหนดวิธกี ำรดูแลบตุ ร

7. สทิ ธใิ นการยอมความ

ในกรณีทผ่ี ู้ถกู กระทำดว้ ยควำมรุนแรงในครอบครวั ประสงคจ์ ะยอมควำมถอนคำร้องทุกข์ หรือถอน
ฟ้องไม่เอำผดิ ต่อผู้กระทำผดิ สำมำรถดำเนินกำรได้ในกรณีทเ่ี กดิ เหตกุ ำรณห์ รือพฤตกิ ำรณ์ ผกู้ ระทำผดิ
เปลย่ี นแปลงไป และมกี ำรปฏิบัติตำมสัญญำยอมควำม

8. สทิ ธใิ นการไดร้ ับความคุม้ ครองมใิ ห้ผู้ใดลงพมิ พ์โฆษณา หรอื เผยแพร่ตอ่ สาธารณชนด้วยวธิ ีใดๆ

เมื่อผ้ถู ูกกระทำควำมรนุ แรงในครอบครัวมกี ำรร้องทุกข์ ตำมพระรำชบญั ญตั ิคุ้มครองผถู้ ูกกระทำด้วย
ควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 แลว้ กฎหมำยมขี อ้ กำหนดในกำรห้ำมไมใ่ หผ้ ใู้ ดก็ตำม นำขอ้ มลู ที่
เกยี่ วขอ้ งกบั กรณีควำมรนุ แรงดังกลำ่ ว ลงพมิ พโ์ ฆษณำ หรือเผยแพร่ต่อสำธำรณะ

9. สิทธิในการย่นื อุทธรณ์ใหศ้ าลทบทวนคาส่ัง

ผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียเกีย่ วกับคำสงั่ กำหนดมำตรกำร หรอื วิธีกำรเพอื่ บรรเทำทกุ ข์ทัง้ หมด หรอื บำงสว่ น
สำมำรถยนื่ อธุ รณค์ ำสั่งเป็นหนงั สือขอให้ศำลทบทวนคำสั่งได้ ภำยใน 30 วัน



กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง

1. พระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครองผู้ถูกกระทาดว้ ย
ความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550

2. พระราชบญั ญัติคุม้ ครองเด็ก
พ.ศ. 2546



คำนำ

คู่มือการสร้าง Infographic และตัดต่อวิดีโอเบ้ืองต้น ด้วยแอปพลิเคชัน Canva
จดั ทาข้ึนเพ่ือเปน็ คมู่ ือประกอบการใช้งานแอพพลิเคชัน Canva เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทา
Infographic รายงานข่าวของสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด
กระบี่ รวมถึงการจัดทางานด้านการออกแบบต่างๆ การตัดต่อวีดิโอเบ้ืองต้น เพ่ือเพิ่ม
ทางเลือกในการเลอื กใช้งานโปรแกรม/แอพพลชิ นั ให้แก่บุคลากรในสานกั งาน

สำรบัญ

1. การสมคั รเขา้ ใชง้ าน 1
2. หน้าแรก Canva 2
3. วธิ ีการทา infographic สาหรบั รายงานข่าวของ สนง.พมจ.กระบี่ 2
4. การสรา้ งวิดีโอดว้ ยแอปพลิเคชัน Canva 6
8
วธิ ีการตัดต่อวดิ โี อ 13
5. วธิ กี ารทา infographic สาหรบั รายงานข่าวของ สนง.พมจ.กระบ่ี
ผา่ นแอปพลเิ คชนั Canva

6. งานด้านอื่นๆ ทีส่ ามารถทาไดด้ ว้ ยแอปพลิเคชัน Canva 18

1

กำรสร้ำง Infographic และตดั ตอ่ วิดโี อเบอ้ื งตน้
ดว้ ยแอปพลิเคชนั Canva

Canva เป็นแอปพลิเคชนั สำหรับสรำ้ งส่ือกำรนำเสนอหลำกหลำยรูปแบบ เชน่
Presentation, Poster, Card, Resume, Certificate, Infographic เปน็ ต้น ซ่งึ Canva น้ัน
จะมขี นำดมำตรฐำนให้เลอื กและผู้ใช้สำมำรถกำหนดขนำดเองได้ Canva ใช้งำนง่ำย สวยงำม
สำมำรถแบง่ ปันใหแ้ กผ่ ้อู ่นื ได้
ผู้ใชส้ ามารถเข้าใชง้ านได้ 2 รูปแบบ
ผ่ำนแอปพลเิ คชัน Canva
ผำ่ นเวบ็ ไซต์ www.canva.com
การใช้งานผ่านเว็บไซต์
1. กำรสมัครเข้ำใชง้ ำน
ผูใ้ ชส้ ำมำรถสมคั รใชง้ ำนด้วยบัญชีผูใ้ ช้ Facebook, Google mail (G-mail) หรอื สมคั รดว้ ย
อีเมลอ่นื ๆ

2

2. หนำ้ แรก
เมื่อเขำ้ สรู่ ะบบ จะปรำกฏหน้ำเว็บไซตข์ อง Canva โดยแบ่งสว่ นตำ่ ง ๆ ดงั ภำพตัวอย่ำง

3. วิธีกำรทำ infographic สำหรบั รำยงำนขำ่ วของ สนง.พมจ.กระบ่ี 3.1
3.1 สรำ้ งงำนออกแบบ
3.2 แก้ไขภำพถำ่ ย
3.3 เลือกภำพแบบรำยงำนข่ำวของ สนง.พมจ.กระบี่

3.3

3.2

3
3.4

3.4 เลือก แกไ้ ขภำพถ่ำย

3.5

3.5 เพมิ่ หวั ขอ้ ขำ่ วและรำยละเอียดขำ่ ว โดยสำมำรถเลอื กรปู แบบขอ้ ควำม ขนำดตวั อกั ษร
ลักษณะตัวอกั ษร ได้ตำมรูปแบบทม่ี ีมำให้

4
3.6

3.6 เพมิ่ รปู ภำพ เลือกอปั โหลด > อัปโหลดสื่อ > เลือกไฟลร์ ูปภำพจำกในเคร่อื งคอมพวิ เตอร์

3.7 ปรับแตง่ รปู ภำพตำมควำมเหมำะสม สำมำรถเพ่มิ ภำพตกแต่งตำ่ งๆ ไดต้ ำมควำมเหมำะสม

5

3.8

3.7 บนั ทึกเป็นรูปภำพเพ่อื นำไปใชง้ ำน เลือกปมุ่ ดำวนโ์ หลด เลอื กประเภทไฟล์ทจ่ี ะดำวน์โหลด
กดดำวน์โหลด

ตัวอยำ่ งรปู ภำพท่ไี ด้จำกกำรบนั ทกึ จำกโปรแกรม Canva รปู ภำพจะไดน้ ำมสกุลไฟลเ์ ป็น .PNG

6

4. กำรสรำ้ งวดิ โี อดว้ ยแอปพลิเคชนั Canva

4.1

4.1 หนำ้ แรกของโปรแกรม Canva เลอื กวดิ ีโอ

4.2

4.2 อัปโหลดไฟล์รูปภำพหรือไฟล์วิดีโอเข้ำมำยังโปรแกรม Canva เพ่อื นำมำตัดตอ่ หรอื สำมำรถ
เลือกแมแ่ บบจำก Canva ได้

7

4.3

4.3 รปู ภำพท่ีอปั โหลดมำ ไฟล์รปู ภำพจะอยใู่ นบัญชีผู้ใช้ Canva ซ่ึงสำมำรถที่จะแก้ไขในเครื่อง
อื่นได้ กำรตัดต่อจะทำลำกไฟล์รูปภำพและวิดีโอ รวมถึงเสียงเพลงหรือเสียงประกอบอ่ืนๆ
มำลงในบนไทม์ไลน์ เพ่ือทำกำรตัดต่อ โดยสำมำรถกำหนดระยะเวลำของแต่ละรูปภำพได้
กำรเปลี่ยนแปลงกำรเคล่ือนไหวรูปภำพ กำรเพ่ิมหัวข้อ ข้อควำม ได้ตำมควำมต้องกำรของ
ผ้ใู ช้งำน

8

วธิ กี ำรตัดต่อวิดีโอ
ลำกไฟล์รปู ภำพและวิดโี อมำลงไว้ในบนไทมไ์ ลน์ โดยสำมำรถกำหนดเวลำของแตล่ ะรปู ได้

กำรกำหนดกำรเปลี่ยนแปลงของแตล่ ะรูปภำพ

9

กำรกำหนดกำรเคลื่อนไหนของเพจ

กำรใสเ่ สียงในวิดโี อ เลอื กที่ เสียง เลือกเสียงดนตรีหรือเสียงเพลงที่ต้องกำร ลำกมำไวบ้ นไทมไ์ ลน์
กำหนดช่วงเวลำ ระยะเวลำที่ต้องกำร

10

4.4 ข้ันตอนกำรบนั ทึกวิดโี อ

เลือกปุ่ม แชร์ เลอื กปุ่ม ดำวนโ์ หลด

เลือกประเภทไฟล์ เลือกหน้ำ กดดำวนโ์ หลด

11

เมือ่ ทำกำรดำวน์โหลดเสร็จเรยี บร้อย ไฟลว์ ีดโี อจะอยูใ่ นโฟลเดอร์ Download ของคอมพวิ เตอร์
และสำมำรถคดั ลอกลิงก์ดำ้ นลำ่ ง เพื่อเผยแพรห่ รอื สง่ ตอ่ ได้ โดยไมต่ อ้ งสง่ ตัวคลปิ วีดิโอ

12

กำรใชง้ ำนผำ่ นแอปพลเิ คชัน Canva

13

5. วิธกี ำรทำ infographic สำหรบั รำยงำนข่ำวของ สนง.พมจ.กระบ่ี
ผำ่ นแอปพลิเคชนั Canva

หน้ำหลกั ของแอปพลิเคชัน Canva
5.1 กดปุม่ เครอื่ งหมายบวก เพอ่ื สร้างงานใหม่

5.2 เลอื กแก้ไขภาพถา่ ย เลอื กไฟลร์ ูปภาพพื้นหลัง
จากในเคร่อื ง Smartphone

2

5.3 กดสร้าง

3
1

14

จะไดพ้ ้นื หลงั ของ Infographic

5.4 เลอื กเมนูข้อความ
5.5 เลอื ก เพม่ิ หัวขอ้ ยอ่ ย เพ่ือทาเป็นหวั ขอ้ ขา่ ว

5.6 พิมพ์ชือ่ หัวข้อข่าว
5.7 กดปมุ่ เคร่อื งหมายบวก เพ่ือเพม่ิ
5 รายละเอียดของข่าว

6

4

การเปล่ยี นขอ้ ความ การเพิ่มขอ้ ความ เปลีย่ นฟ้อนตห์ รอื รูปแบบตัวอกั ษร

เพมิ่ -ลดขนาด ตวั หนงั สอื ทำไดโ้ ดย

• คลิกที่ข้อควำมท่ีต้องกำรเปลี่ยน 1 คร้ัง ระบบจะแสดงแถบคำส่ังท่ี

เกี่ยวข้องกับกำร เปล่ียนฟ้อนต์ท้ังหมดที่ด้ำนบนช้ินงำนออกแบบ ถ้ำต้องกำร 7
พมิ พ์ใหมใ่ หก้ ด “T ข้อควำม” อยู่แถบเครื่องมือดำ้ นล่ำง

• ใช้เมำสล์ ำกคลุมข้อควำมทีต่ ้องกำรเปลี่ยน

• จะกดลบข้อควำมก่อนหรือจะพิมพข์ ้อควำมใหมท่ ี่ต้องกำรไปได้เลย

•.ถ้ำต้องกำรเปล่ียนรูปแบบตัวหนังสือ ให้คลิก 1 ครั้งที่แถบระบุฟ้อนต์ด้ำนล่ำง ระบบจะแสดงรูปแบบฟ้อนต์

จำนวนมำกให้เห็น คลิกเลือกท่ีชื่อฟ้อนต์ท่ีต้องกำร ภำพตัวอย่ำงของ Infographic รูปแบบอักษรจะเปล่ียน ฟ้อนต์ตำมที่

เรำเลอื กให้โดยอตั โนมัติ

• ถ้ำตอ้ งกำรปรบั ขนำดใหค้ ลิก 1 ครัง้ ที่แถบระบขุ นำดฟ้อนตด์ ้ำนล่ำง แล้วคลิกเลือกขนำดตัวหนังสือตำมต้องกำร

ภำพตัวอยำ่ งของ Infographic จะเปล่ียนขนำดตัวอักษรตำมทเ่ี รำเลอื กใหโ้ ดยอัตโนมัติ

15

5.8 เลือกเมนขู ้อความ
5.9 เลือก เพ่มิ ข้อวามในสว่ นเนอื้ หาเลก็ น้อย
เพอื่ เพ่ิมรายละเอียดของข่าว

5.10 พมิ พ์รายละเอียดของขา่ ว พร้อมจดั รปู แบบตัวอักษร
5.11 กดปุ่มเครื่องหมายบวก เพื่อเพมิ่ รูปภาพประกอบข่าว
9

5.12 เลอื กไฟลร์ ูปภาพจากอลั บม้ั ภาพ
หรอื อัปโหลดรปู ภาพเพิ่มเติมเข้ามาใน
อลั บัม้ ภาพ

8 10

11

12

16

5.13 เลอื กรปู ภาพท่ีตอ้ งการ
5.14 กดปุ่ม เพ่ิมไปยังหน้า

13

5.15 จะได้รูปภาพทเ่ี ลือกมา

5.16 ปรับขนาดและจัดตาแหน่งรูปภาพ
5.17 บนั ทึกรูปภาพ
14 15 17

16


Click to View FlipBook Version