The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2021-01-29 22:23:37

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

251

252

253

ภาคผนวก จ
รปู ภาพกิจกรรมท่ดี ำเนนิ การวิจยั

254

รวมภาพ
กจิ กรรมและการจดั ประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ

255

256

257

258

ภาคผนวก ง
การพัฒนาเครอื ขา่ ยให้กบั ชมุ ชนเกษตรกรผูป้ ลูกกล้วย

จดั ทำ Webpage

259

260

261

262

ภาคผนวก จ
รายชอื่ ผ้ใู หข้ ้อมลู

263

ภาคผนวก ฉ
แบบสรปุ โครงการวจิ ัย

264

แบบสรุปโครงการวจิ ัย

สญั ญารับทุนอุดหนุนการวจิ ัย วิสาหกิจชุมชนศูนย์อนรุ กั ษ์พันธก์ ล้วยสพุ รรณบรุ ี

ชือ่ โครงการ การพัฒนาศนู ยก์ ารเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์พันธุก์ ล้วย

จงั หวัดสุพรรณบุรี

หัวหนา้ โครงการ พระครโู สภณวีรานุวตั ร ,ดร.พร้อมคณะ

หน่วยงาน มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความเป็นมาและความสำคัญ
สภาพปัจจุบันเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ประเทศไทยยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจากความ

เปราะบางหรือความผันผวนของเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อภาคการเกษตรของประเทศ รวมถึงปัญหา
ภายในประเทศท้งั ด้านการเมือง ดา้ นสงั คม ยงั เปน็ ขอ้ จำกดั สำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรของประเทศ
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) จึงเน้นความ

265

ต่อเนื่องกับแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) โดยเน้น
“เกษตรกร” เป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างสมดุล มีส่วนร่วมในรูปแบบชุมชน ให้ความสำคัญกับการ
รวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อผลักดันให้สามารถดำเนินการในรูปของธุรกิจเกษตร โดยน้อมนำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดชฯ มาขยายผลและประยุกต์ใช้
ต่อเนื่องจากแผนที่ผ่านมา เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ อันจะเป็น ส่วนหนึ่งที่ผลักดันให้
ประเทศไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” โดยมีประเด็นสำคัญที่ควร พิจารณาเพื่อ
นำไปสู่การพัฒนาและแก้ไขในอนาคต

ในอดีตสังคมไทยมีความผูกพันกับธรรมชาติเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากลักษณะการ
ปรับตัวเข้าหาธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ได้แก่ การตั้งถิ่นฐานที่อยู่อาศัย การเพาะปลูก
ทำการเกษตร รวมไปถึงการพัฒนาวิถีชีวิต ความคิดความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และศาสนาที่
สอดคล้องกับทรัพยากรหรือถิ่นฐานที่ตนอาศัยอยู่ วิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัยก่อนจึงมีความ
เกื้อกูลกับการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ตนอยู่อาศัย มีความใกล้ชิดผูกพันกับธรรมชาติ โดยเฉพาะด้าน
การเกษตรมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอ้ ม สังคมและวัฒนธรรมของประเทศไทยไม่วาจะเป็นใน
อดีตหรอื ปจั จุบนั โดยเฉพาะต่อประชากรในระดบั รากหญ้าซ่ึงเป็นบุคลากรกลุ่มใหญ่ของประเทศดังน้ัน
ภาคการเกษตรของไทยจึงเป็นตัวขับเคลือ่ นการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เป็นรากฐานของ
การสร้างความม่ันคงทางอาหารของประเทศและของโลก ประชากรสว่ นใหญข่ องประเทศอยูใ่ นภาคการ
ผลิตทางการเกษตร และยังเป็นการเกษตรที่ต้องอาศัยต้นทุนทางธรรมชาติอยู่มาก ด้ังน้ัน
สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมการเกษตร วิธีการผลิตทางการเกษตร ตลอดจน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสนับสนุนการเกษตรย่อมส่งผลต่อการพัฒนาการเกษตรในอนาคตไม่ว่า
จะเป็นเรื่องปริมาณผลผลิตหรือต้นทนุ การผลติ ทางการเกษตรฯลฯ สิ่ง ต่าง ๆ เหล่าน้ีส่งผลทั้งในระดบั
ครัวเรือน อาทิ รายได้ครัวเรือน ความม่ันคงทางอาหารตั้งแต่ระดับครัวเรือน ระดับประเทศ ภูมิภาค
และระดับโลก106 การปรับเปล่ยี นวธิ ีการทำการเกษตรหรือกิจกรรมการเกษตรที่มีความม่ันคง จะส่งผล
ตอ่ ความย่ังยนื ในระยะยาว ดังนั้นการจัดตัง้ ศูนยก์ ารเรียนรู้ในการอนรุ ักษ์พนั ธ์ุกลว้ ยซ่ึงเปน็ พชื เศรษฐกิจ
และผูกพันกับวิถีชีวิตของสังคมไทยมายาวนาน จึงเป็นวิธีหนึ่งที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม
เกดิ การเรียนรทู้ ้ังการอนุรักษ์และการตลาด

การตลาดนับวา่ เปน็ กลยทุ ธ์ท่สี ำคญั ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรแู้ ละการอนรุ ักษ์พันธ์ุกล้วย
เพราะศูนย์ฯ จะมีรายได้หลักจากการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร จากการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพ่ือ
นำไปส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาศูนย์ฯ ให้มีมาตรฐานคุณภาพ เป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว

106 ยิ่งลักษณ์ กาญจนฤกษ์และคณะ, รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์, โครงการ “การยกระดับความยั่งยืนทาง
การเกษตรของเกษตรรายย่อย อ.แจห้ ่ม จ.ลำปาง, 2560 หน้า 24

266

สร้างสถานที่ให้มีความโดดเด่นในด้านภูมิทัศน์ ดังนั้น การพัฒนาศูนย์ฯ ควรใช้กลยุทธ์ส่วนประสมทาง
การตลาด (Marketing Mix) ซึ่งเป็นปัจจัยหลักการในการส่งเสริมการตลาดที่มีความสำคัญ นักการ
ตลาดส่วนใหญ่ได้นำมาใช้เป็นกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการดำเนินธุรกิจ
การตลาด แต่ในการทำตลาดของศูนย์การเรียนรู้และการอนุรกั ษ์พันธุ์กล้วยนั้นเป็นการตลาดแบบด้าน
การบรกิ าร การสรา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ู้บรโิ ภคตัดสินใจมาใช้บริการจำเปน็ ต้องใช้ทฤษฏี แนวคิดส่วนประสม
ทางการตลาดเป็นกรอบในการพัฒนาเพื่อให้สัมพันธ์กับบริบทของพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งนอกจาก
จะมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวทางธรรมชาติแล้ว การสร้างแหล่งท่องเที่ยวเชิง
เกษตรในรูปแบบการเรียนรู้ การอนุรักษ์ และการจำหน่ายสินค้าเกษตร น่าจะสอดคล้องกับพื้นที่และ
สร้างรายไดใ้ ห้กับเกษตรกรเพิ่มขึ้น เพราะมีพื้นที่ที่เหมาะสมกบั การเกษตร เช่น การปลูกขา้ ว การทำไร่
ทำสวน การใช้พื้นท่ีว่างตามหัวไร่ปลายนา พื้นที่ว่างรอบ ๆ บ้าน หรือตามคันนา ปลูกผักผลไม้เพื่อการ
บริโภค ส่วนผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วก็จำหน่ายจ่ายแจกตามญาติมิตร ในการ
เพาะปลูกพืชผักแต่ละรอบปีจะพบปัญหาเรื่องการตลาดเป็นด้านหลัก เช่น ปัญหาผลผลิตล้นตลาด
ผลผลิตไม่ได้มาตรฐาน ราคาตกต่ำ ไม่มีสถานที่จำหน่าย กลุ่มผู้บริโภคอยู่ในเขตจำกัด การสร้าง
รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ไม่น่าสนใจ ไม่มีความหลากหลายในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เป็นต้น การเลือกใช้กล
ยุทธ์ทางการตลาดทเี่ รียกว่า“สว่ นประสมทางการตลาด ๗ P’s”107 ประกอบดว้ ย ผลติ ภัณฑ์ ราคา ช่อง
ทางการจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ภาพลักษณ์ของสถานที่ และการ
ให้บริการ น่าจะเป็นปัจจยั สนับสนุนใหศ้ ูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี มี
สมรรถนะในการสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มผู้บริโภคเกิดความสนใจและตัดสินใจเข้ามาศึกษา เยี่ยมชม ซ้ือ
สินค้าการเกษตรอน่ื ๆ รวมทั้งผลผลติ จากกล้วย

กล้วยจัดเป็นไม้ผลชนิดหน่ึง ที่มีความผูกพันและมีความสำคัญต่อชีวิตคนไทยมาช้านาน ซึ่ง
สามารถพบเหน็ กล้วยโดยท่ัวไปตามภมู ภิ าคต่าง ๆ แตผ่ ู้คนส่วนใหญก่ ลับมองข้ามความสำคัญของกล้วย
ทงั้ ๆ ทม่ี คี ุณค่าในเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิต พิธีกรรม มคี ณุ ค่าทางด้านอาหาร สุขภาพ รา่ งกาย แม้กระท่ัง
ในเชิงเศรษฐกิจ ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากสว่ นตา่ ง ๆ ของลำตน้ กลว้ ย ในผลกล้วยอุดมด้วยนำตาล
จากธรรมชาติ คือ ซโู ครส ฟรกุ โทส และกลูโคส รวมทงั้ เส้นใย กากอาหาร กลว้ ยช่วยเสริมเพ่ิมพลังงาน
ให้กับร่างกายได้ทันที นอกจากนั้น การรับประทานกล้วยยังช่วยป้องกันโรคต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับ
ร่างกาย เช่น โรคโลหิตจาง เนื่องจากมีธาตุเหล็กสูง โรคความดันโลหิตสูง บำรุงสมอง โรคท้องผูก แก้

107 ภัทราพร อาวัชนาการ, ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน ในเขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตรแ์ ละการบัญชี
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2558 : 17-19.

267

อาการเมาค้าง แก้อาการเสียดท้อง รักษาโรคลำไส้เป็นแผล108 เป็นต้น การจะสร้างความตระหนักให้
เกิดการรับร้ไู ด้อย่างกว้างขวางและยั่งยืนนั้น การจดั ตงั้ ศนู ย์การเรียนรู้ในชุมชนแบบมีส่วนร่วม การเปิด
โอกาสใหท้ ุกภาคส่วนของชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในด้านการวิเคราะห์ปญั หาและสาเหตุของปัญหา การ
มีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน/กิจกรรม การมีส่วนร่วมในการติดตามและ
ประเมินผล และการมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์ การพัฒนาศูนย์การเรียนรูใ้ นการอนุรกั ษ์พันธุ์กลว้ ย
น่าจะยังประโยชน์สุขแก่กลุ่มฐานรากของสังคม เพราะศูนย์การเรียนรู้ มีลักษณะเป็นแหล่งให้บริการ
ความรู้ ขา่ วสาร ข้อมูลให้กับประชาชนในชมุ ชน มเี จา้ หนา้ ทีปฏิบัติงานในลกั ษณะประจำ เป็นศูนย์กลาง
การตดิ ตอ่ จากภายนอก เป็นเครือขา่ ยในการจดั การเรียนรู้ในสังคม บทบาของศูนย์การเรียนรู้โดยท่ัวไป
อาจประกอบด้วย การทำงานรว่ มกบั ชุมชน การบรหิ ารศนู ย์การเรยี นรู้ และการพัฒนาหลกั สตู ร109

ด้วยมีความตระหนักในความสำคัญและเกิดประโยชน์สุขแก่กลุ่มเกษตรกร จึงร่วมกับกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชนจัดตั้ง “ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี” ขึ้น ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดป่า
เลไลก์วรวิหาร ในพื้นที่ ๑๒ ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่เพาะปลูก อาคารจัดแสดงพันธุ์กล้วย ห้องการเรียนรู้ ระบบ
การเพาะปลูกกล้วย อาคารจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจากวิสาหกิจชุมชน แหล่งท่องเท่ียวทางน้ำ ทำ
พิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๕ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ในการบริหารจัดการศูนย์ฯ มี
คณะกรรมการคำเนินการ ประกอบด้วยผู้แทนจากผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่ายองค์กรชุมชน
ปราชญ์ชาวบ้าน อาสาสมัคร ฯลฯ ได้มาจากการคัดเลือกของชาวบ้าน และชาวบ้านให้การยอมรับ ซึ่ง
คณะกรรมการจะร่วมมือกนั วางแผน และดำเนนิ ตามแผนยุทธศาสตรท์ ี่ได้รว่ มกนั กำหนด เพ่ือระดมพลัง
ให้เกิดการเรียนรู้และบริหารจัดการในศูนย์ อนุรักษ์พันธ ุ์กล้วย ให้สามารถดำเนิน การได้อย่ า งมี
ประสทิ ธภิ าพ มีทปี่ รกึ ษา เป็นภาคกี ารพัฒนาภาครฐั เชน่ พัฒนาชุมชน การศกึ ษานอกโรงเรียน เกษตร
สาธารณสุข อุตสาหกรรม พาณิชย์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำระเบียบข้อบังคับ ซึ่ง
คณะกรรมการฯ ได้จัดทำขึ้นเป็นลายลกั ษณ์อักษร เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารศูนย์ งบประมาณใน
การจัดสร้างศูนย์ฯ และการบริหารศูนย์ฯได้รับการสนับสนุนจากวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร มีบทบาทและ
หน้าที่ ได้แก่ การจัดให้เป็นศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกด้านทุก
รูปแบบของประชาชนในการจัดการความรู้ที่ดำเนินการโดยประชาชนและเพื่อประชาชนยุคไทยแลนด์
๔.๐ เป็นศูนย์ประสานและบูรณาการการทำงานของทุกวิสาหกิจชุมชน และสถานที่จำหน่ายผลิตผล
ทางการเกษตร รวมทั้งเป็นศูนย์รวมของข้อมูล ข่าวสาร สาระความรู้ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้เท่าทัน
สถานการณโ์ ลก รวบรวมภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน องค์ความรู้ของปราชญช์ าวบา้ น จัดให้เป็นหมวดหมู่ มคี วาม

108นิคม วงศ์นันตา, วิทยา เจริญอรุณรัตน์, รายงานผลโครงการวิชาการ เรื่องเรียนรู้การอนุรกั ษ?์ และ
รวบรวมพนั ธก์ุ ลว้ ย, สำนักวิจยั และสง่ เสรมิ วชิ าการเกษตร, มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้, ๒๕๕๗, หนา้ ๑.

109สุพรรณี ไชยอําพร, คมพล สุวรรณกูฏ, รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาศูนย์การเรียนรู้ด้านการ
พัฒนาสังคมและสวัสดิการระดับชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนแม่ระกา ตำบลแม่ระกา อำเภอวังทอง จังหวัด
พิษณโุ ลก,๒๕๕๐ หนา้ 2- 5.

268

ชดั เจนเป็นรูปธรรม เปิดโอกาสให้ทกุ คนสามารถเข้ามาเรียนรู้ ค้นคว้าหาความรู้ แลกเปลย่ี นความรู้และ
ประสบการณ์ รวมทั้งการพบปะสังสรรค์ เพื่อสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือในการพัฒนาตนเองและ
ชุมชน จัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนการสืบทอดภูมิ
ปัญญาทอ้ งถิ่นและการเรยี นรู้ดา้ นตา่ ง ๆ ของประชาชนในชมุ ชน

ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาคือ ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์
กล้วยใหม้ มี าตรฐานคณุ ภาพ นนั้ ศนู ย์อนุรักษ์พนั ธก์ุ ล้วย ได้มกี ารวางแผนพฒั นาเพอื่ ให้เป็นแหลง่ เรียนรู้
ในการอนุรักษ์รวบรวมพนั ธุก์ ลว้ ย ให้มีการเกื้อหนุนต่อกลุ่มเกษตรกร ให้เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ที่มีมาตรฐานคุณภาพ ให้บริการวิชาการสู่เกษตรกรและบุคคลทั่วไป และขยายผลสู่เกษตรกรเพื่อผลิต
เชิงพาณิชย์อย่างไรบ้าง คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาโดยเลือกกลยุทธก์ ารตลาดด้านบริการมาเป็น
แกนหลักในการพัฒนาศนู ย์การเรียนรู้และการอนุรกั ษพ์ นั ธุ์กล้วย จงั หวดั สุพรรณบุรี

วัตถุประสงคโ์ ครงการ
๑) เพื่อศึกษาการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุ

กล้วย จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
๒) เพื่อศึกษากลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่มีผลต่อการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

ในการอนุรักษ์พันธกุ์ ล้วย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ใหม้ มี าตรฐานคณุ ภาพ
๓) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการพัฒนามาตรฐาน

คุณภาพศูนย์การเรียนร้แู บบมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษพ์ ันธุก์ ล้วย จังหวัดสพุ รรณบุรี

ผลการวิจยั
พบว่า ๑) กล่มุ ตวั อย่าง มีความคิดเห็นต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ ๔.๒๖ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทา่ กับ ๐.๓๖ เม่อื พจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านสภาพทวั่ ไปของศูนย์ฯมีคา่ เฉล่ยี สูงสุดเทา่ กับ ๔.๓๗
๒) กล่มุ ตัวอย่างมคี วามคิดเหน็ ต่อกลยุทธ์การตลาดด้านบริการการพัฒนาศนู ยฯ์ ให้มีมาตรฐานคุณภาพ
ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ ๔.๒๕ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๔๑ เมื่อ
พิจารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ การพัฒนาดา้ นภาพลักษณ์และการนำเสนอลกั ษณะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับ
สูงสุดเท่ากับ ๔.๓๕ และ ๓) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย มีระดับความสัมพันธ์เชิง
บวกในระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้
แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรักษพ์ ันธุ์กล้วย โดยมี่ค่า r เท่ากับ ๐.๔๔๓ มีค่า Sig < ๐.๐๕ สอดคล้องกบั

269

สมมติฐานที่ตั้งไว้ สามารถอธิบายได้ว่า กลยุทธ์การตลาดด้านการบริการส่งผลให้การพัฒนาศูนย์การ
เรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์พนั ธ์ุกล้วย จงั หวัดสุพรรณบรุ มี ีมาตรฐานคุณภาพ
ผลสรุปจากการประชุมกลุ่ม (Focus Group) เสนอแนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ในการอนุรกั ษพ์ ันธ์ุกล้วย จังหวัดสพุ รรณบรุ ใี หม้ ีมาตรฐานคุณภาพเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ได้แก่
ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร ผลิตให้สอดคล้องกับความจำเป็น มีคุณค่าจริง ราคาไม่สูงมากนัก มีความโดด
เด่น มีเอกลักษณ์ มีการประชาสมั พันธห์ ลายช่องทาง มวี ทิ ยากรที่มคี วามเชี่ยวชาญถ่ายทอดความรูเ้ รื่อง
การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย มีสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่มที่นั่ง เพิ่มห้องน้ำ สำหรับผู้สูงวัย และคนพิการ
รวมทั้งให้การต้อนรับอย่างกัลยาณมิตร มีระบบเทคโนโลยีและมีพื้นที่รองรับผู้มาเข้าเยี่ยมชมศูนย์ฯ
อย่างพอเพยี ง

การนำผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์
1. ด้านการเรยี นการสอนในสถาบนั การศึกษา
- สามารถนำผลการศึกษาวจิ ัยไปประยุกต์ในการเรยี นการสอนรายวชิ าอน่ื ๆ ได้
- สามารถนำผลการศึกษาวิจัยไปใช้ประกอบงานประกันคุณภาพการให้บริการวชิ าการ

แกส่ ังคม
2. ดา้ นการพฒั นากจิ กรรมมหาวทิ ยาลยั และชมุ ชน
- มีการนำองคอ์ งค์ความรู้จากงานวจิ ยั ไปเผยแพร่และนำไปใชก้ ับชุมชนต่อไป
3. ด้านการพัฒนาและสง่ เสริม
- หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรนำแนวทางที่ได้

จากผลการวจิ ัยไปปรบั ปรงุ และจดั โครงการอบรมประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนาศักยภาพให้กับชุมชน
มีความเข็มแข็งและสร้างรายไดแ้ กช่ มุ ชนต่อไป

- หน่วยงานส่วนท้องถิน่ ชุมชน และสถาบนั การศึกษา ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
และการแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ใหก้ บั ประชาชน

การประชาสัมพนั ธ์
- มีการประชาสัมพนั ธ์แผน่ พับสรปุ องค์ความรูท้ ่ีไดร้ ับจากการวิจัย
- มีการประชาสมั พนั ธ์โดยการนำเสนอบทความวิจยั
- มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลิตภัณฑ์กล้วยของกลุ่มเกษตรกรทาง

อนิ เตอร์เนต็ ในเว็บเพจ “วสิ าหกิจชุมชนศูนยอ์ นรุ ักษ์พนั ธ์ุกลว้ ยสุพรรณบุรี

270

ประวตั ผิ ูว้ ิจัย

271

ประวตั นิ กั วจิ ยั

1) หัวหนา้ โครงการวิจัย
1. ชอ่ื
1.1 ชื่อภาษาไทย พระครูโสภณวรี านุวตั ร (นคิ ม เกตคุ ง)
1.2 ช่อื ภาษาอังกฤษ Phrakhrusophonweeranuwat,Dr.
1.3 หมายเลขบตั รประจำตวั ประชาชน 3711000262594
1.4 ที่อยู่ 249 วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัด

สพุ รรณบรุ ี . e-mail : [email protected] โทร. .092-5909595
2.คณุ วุฒ:ิ พธ.บ. สาขาวชิ าการจดั การเชิงพุทธ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย พธ.ม.
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจัดการเชิงพุทธ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั

รป.ม. รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ วทิ ยาลัยนครราชสมี า
รป.ด. รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยปทมุ ธานี
3. ตำแหนง่ ปจั จบุ ัน

นักวิจัย และอาจารย์ประจำหลักสูตร / รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิทยาลัยสงฆ์
สุพรรณบุรศี รีสวุ รรณภูมิ

ผชู้ ่วยเจ้าอาวาสอารามหลวงวดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

272

4. ประวัติการศกึ ษา ชือ่ สถาบนั , ประเทศ ปี
ระดบั ชอื่ ปริญญา (สาขาวิชา) พ.ศ. ท่จี บ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช 2557
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต วทิ ยาลัย
ปรญิ ญาโท สาขาวิชาการจัดการเชงิ พุทธ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราช 2558
ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต วิทยาลัย
สาขาวชิ าการจัดการเชิงพุทธ วิทยาลัยนครราชสีมา 2562
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์

ปริญญาเอก รัฐประศาสนศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลยั ปทมุ ธานี 2561
สาขารัฐประศาสนศาสตร์

5. ผลงานวิจยั ผลงานทางวชิ าการ และส่งิ ตีพมิ พ์
5.1 ผลงานวจิ ัย / วทิ ยานพิ นธ์
(ผลงานวจิ ยั )
(2561. ชอ่ื โครงการวิจัยเรื่อง การพฒั นารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ

ธรรม:วดั สคุ นธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา The Development of Model Health
Care of The Elderly With Principles in Buddhists: Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

(2561). ชื่อโครงการวิจัย เรื่องการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมืองอู่ทอง : ศึกษา กรณีการเผย
แผ่พระพุทธศาสนาAN ANALYTICAL OF U-THONG HISTORY :A CASE STUDY OF BUDDHISM
PROPAGATION

5.2 สิ่งตีพมิ พ/์ บทความทางวิชาการ
บทความวิชาการ
(2560) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธธรรม ปีที่พิมพ์ 2560 แหล่งที่ตีพิมพ์
วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ชื่อวารสาร พุทธบูรณาการกับ
ศาสตร์สมัยใหมเ่ พอ่ื พฒั นาจติ ใจและสงั คมยุคไทยแลนด์ 4.0
(2561) บทบาทของพระสังฆาธิการ: การขับเคลื่อน ไทยแลนด์ 4.0 The Roles of
Sangha Administrators : Operational to Thailand 4.0”วารสารวิชาการVeridian E –Journal,

273

Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11 ฉบับที่
2 เดือนพฤษภาคม –สิงหาคมพ.ศ. 2561 หน้า 938-956

(2561) ภาวะผนู้ ำการจดั การเชงิ พุทธท่ีมตี อ่ สงั คมในยุคไทยแลนด์ 4.0” Leadership
in Buddhist Management skills in the Workplace Sociology and Religion in Thailand 4 .
0 วารสารวชิ าการVeridian E –Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์
สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม –สงิ หาคมพ.ศ. 2561 หนา้ 926-937

(2561) The Roles of Sangha Administrators: Operational to Thailand 4.
0”วารสารวิชาการ Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรวารสารวิชาการ
Veridian E-Journal, Silpakorn University

(2561) บทความงานวิจัยภาษาอังกฤษ เรื่อง “A Study to Observance of Five
Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province” วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal ฉบับ International Humanities, Social Sciences and artsVolume 11 Number 5
July-December 2018, p.79-93.

(2562) ประวตั ศิ าสตรแ์ ละคุณค่าทางอารยธรรมสมัยทวารดี (Historical Ecology And
Dvaravati Civilization) Humanities, Social Sciences and artsVolume 12 Number 4 July
–August 2019 หน้า 606-623

(2562) (2562) สติ-สมั ปชญั ญะSolving Social Consciousness” Humanities,
Social Sciences and artsVolume 12 Number 4 July –August 2019 หน้า 606-623

5.3 ผลงานทางวิชาการด้านอน่ื ๆ
การนำเสนอผลงานวจิ ยั ท้ังในประเทศและต่างประเทศ
5.3.1 เข้าร่วมเสนอผลงาน เรื่อง พุทธศิลป์ แดนดินสุพรรณบุรี ปีที่พิมพ์ 255๙

แหล่งที่ตีพิมพ์ มจร วิทยาเขตขอนแก่น วารสาร การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 และระดับ
นานาชาติ คร้ังที่ เร่อื ง “พุทธบรู ณาการกบั การวิจยั เพื่อพฒั นาสงั คมให้ยงั่ ยนื ”

6. ทนุ และรางวลั ท่ีได้รับ
6.1 ได้รางวัลบุคคลที่ทำประโยชน์ต่อสังคมดีเด่น เช่น มอบทุนการศึกษาแก่นิสิตท้ัง

สาขาการจัดการเชิงพุทธและรัฐประศาสนศาสตร์ มีทั้งพระและคฤหัสถ์ ปีละ 4 ทุนการศึกษาๆ ละ
6000 บาท เริม่ ตั้งปี 2560-2562

6.2 มอบทุนในการทำกิจกรรมทางวิชาการทุกๆ ด้าน ทั้ง 2 หลักสูตร ของวิทยาลัยสงฆ์
สุพรรณบรุ ศี รสี ุวรรณภมู ิ รวม 600,000 บาท (เรมิ่ ต้งั แต่ปี 2559-2562)

7. ความเช่ียวชาญ
7.1 เปน็ ผ้ชู ่วยเจา้ อาวาสบรหิ ารงานคณะสงฆ์

274

7.2 เป็นอาจารยผ์ ูป้ รกึ ษาทัง้ 2 หลกั สตู ร
7.3 เปน็ ผจู้ ดั กิจกรรมทางศาสนา ถนัดท้งั ฝ่ายคดโี ลกคดีธรรม
7.4 นกั เผยแผ่ธรรมทางวิทยกุ ระจายเสยี ง รุ่นที่ 4 จากมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช
วิทยาลยั ปี 2543
7.5 ได้ผา่ นการประชุมอบรมครูสอนพระปริยัตธิ รรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ภาค 14
7.6 ไดเ้ ขา้ ร่วมการสัมมนาวชิ าการ ระดบั บัณฑิตและมหาบัณฑติ สาขารฐั ประศาสนศาสตร์
คณะนิติศาสตร์ ระหว่างวนั ที่ 1-3 กันยายน พ.ศ. 2560
7.7 ได้ผา่ นการอบรมในโครงการพัฒนาบุคคลกรเกยี่ วกบั การใหค้ วามรู้ในการอนุรักษ์
เอกสารโบราณ 4 ภาค ครงั้ ท่ี 2 ประจำปี พ.ศ. 2548

8. ประสบการณ์ดา้ นการวจิ ยั
8.1 ประธานโครงการวิจัย(2561) เรื่องการพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ

ด้วยหลักพุทธธรรม: วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาTHE DEVELOPMENT
OF MODEL HEALTH CARE OF THE ELDERLY WITH PRINCIPLES IN BUDDHISTS:WAT
SUKHONTHARAM BANGSAI DISTRIC PRANAKHORNSRIAYUTHAYA PROVINCE

8.2.ประธานโครงการวิจัย (2561). ชื่อโครงการวิจัย เรื่องการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์เมืองอู่
ทอง : ศึกษา กรณีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาAN ANALYTICAL OF U-THONG HISTORY :A CASE
STUDY OF BUDDHISM PROPAGATION

8.3 ร่วมโครงการวิจัย (2559)รายงานการวิจัยโครงการย่อยที่ 4 (วช.) เรื่อง การบริหาร
อำนาจตามแนวพุทธในระบบการปกครองแบบธรรมรัฐ Buddhist administrative powers in A state
fair ภายใต้โครงการวจิ ยั เร่ืองพทุ ธรัฐศาสตร์ การบูรณาการเพ่ือการบรรลุ ความสขุ แหง่ รัฐ
9. ประสบการณด์ ้านการเปน็ วทิ ยากรอบรม

9.1 วิทยากรฝึกอบรม บรรยายในหลักสูตรผู้บริหาร วิชา หลักการบริหารโดยหลัก
พระพทุ ธศาสนา ณ.สถาบันพัฒนาผ้บู ริหารการศึกษา ทวั่ ประเทศ ตงั้ แตป่ ี 2550-ปจั จุบนั

ประวตั ิผู้รว่ มวิจยั
1) ผ้รู ว่ มวิจัย
1.ชือ่

1.1 ช่อื ภาษาไทย พระครวู บิ ลู เจติยานุรกั ษ์
1.2 ชอ่ื ภาษาอังกฤษ Phrakhru wiboonjetiyanurak
1.3 หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 3-7206-00336-202
2. คุณวฒุ ิ :

275

พธ.บ. สาขาวชิ า พระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั (วิทยาลัย
สงฆ์พทุ ธปัญญาทวารวดี (ไร่ขิง)นครปฐม

ค.ม. ครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎ
เทพสตรี จงั หวดั ลพบุรี

ปร.ด. ปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรปี ทุม
กรงุ เทพมหานคร

3. ตำแหนง่ ปัจจุบัน
นักวิจัย /ผู้บริหาร(ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ)/อาจารย์ประจำ

หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน วิทยาลยั สงฆส์ พุ รรณบุรี ศรี
สุวรรณภูมิ

4. ประวตั กิ ารศกึ ษา ชอื่ สถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ.
ระดบั ช่ือปรญิ ญา (สาขาวิชา) ท่ีจบ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช 2554
ปริญญาตรี พทุ ธศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ.) วทิ ยาลยั
ปรญิ ญาโท สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเทพสตรี 2558
ครศุ าสตรมหาบัณฑติ จังหวดั ลพบุรี
สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน

ปรญิ ญาเอก ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑติ (ปร.ด.) มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ กรุงเทพมหานคร 2562
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

5. ผลงานวจิ ัย ผลงานทางวิชาการ และสงิ่ ตพี มิ พ์
5.1 ผลงานวิจยั / วทิ ยานพิ นธ์
(ผลงานวจิ ยั )
พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2559)รายงานการวิจัยโครงการย่อยที่ 4 (วช.) เรื่อง การ

บริหารอำนาจตามแนวพุทธในระบบการปกครองแบบธรรมรัฐ Buddhist administrative powers in A
state fair ภายใตโ้ ครงการวิจัย เร่อื งพทุ ธรัฐศาสตร์ การบรู ณาการเพื่อการบรรลุ ความสุข แห่งรัฐ

พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2562) การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองในฐานะ
ประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา An Analytical Study of U-THONG City as a
History of Buddhist Propagation

276

5.2 สงิ่ ตีพมิ พ/์ บทความทางวิชาการ
บทความวิชาการ
พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2559) วิชาการวิจัย เรื่อง “A Study to
Observance of Five Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร วารสารวิชาการ
Veridian E-Journal, Silpakorn University
พระครวู ิบูลเจตยิ านุรักษ์, ดร. (2561)บทความงานฉบับภาษาอังกฤษ บทความ รหัสท่ี
121224 “เรื่อง The Roles of Sangha Administrators:Operational to Thailand 4.0” ฉบับ
International Humanities, Social Sciences and arts ( July-December 2018 ) eridian E-
Journal, Silpakorn University International (Humanities, Social Sciences and Arts) to
make2 copies / year, article No. 11 as follows: January –June (p.105-122) คณะผู้เขียน,
Phrakhru wiboonjetiyanurak, สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ ได้รับการประเมินและ
ผ่านการรับรองคณุ ภาพจากศูนยด์ ัชนีการอา้ งองิ วารสารไทย (TCI) ใหอ้ ยูใ่ น กลมุ่ ท่ี 1เปน็
พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์, ดร. (2561) บทความงานวิจัยภาษาอังกฤษ เรื่อง “A Study
to Observance of Five Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province”
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับ International Humanities, Social Sciences and
artsVolume 11 Number 5 July-December 2018, p.79-93.
พระครวู บิ ลู เจติยานุรกั ษ์, ดร (2562) ประวตั ศิ าสตรแ์ ละคณุ ค่าทางอารยธรรมสมัยทวาร
ด ี ( Historical Ecology And Dvaravati Civilization) Humanities, Social Sciences and
artsVolume 12 Number 4 July –August 2019 หนา้ 606-623
5.3 ผลงานทางวิชาการด้านอืน่ ๆ

การนำเสนอผลงานวจิ ยั ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
5.3.1 เข้าร่วมเสนอผลงาน เรื่อง พุทธศิลป์ แดนดินสุพรรณบุรี ปีที่พิมพ์ 2559
แหล่งที่ตีพิมพ์ มจร วิทยาเขตขอนแก่น วารสาร การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3 และระดับ
นานาชาติ ครัง้ ท่ี เรื่อง “พุทธบูรณาการกบั การวิจยั เพ่อื พัฒนาสงั คมให้ยั่งยืน”
5.3.2 เข้ารว่ มนำเสนอผลงานวจิ ัยในการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัย
( International Conference on Educational Research ( ICER2011) : Learning Community
for Sustainable Development) ณ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ระหว่างวนั ที่ 9 – 10 กันยายน 2554
6. ทนุ และรางวลั ทไ่ี ด้รบั
6.1 ไดร้ างวัลเสมาธรรมจักร
6.2 เปน็ ผู้นำดเี ด่น

277

6.3 เป็นนกั บรรยายธรรมดเี ดน่
7. ความเชย่ี วชาญ

7.1 การปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research)ในด้านกิจกรรมทาง
ศาสนา

7.2 เครือข่ายการเขียนบทความวิชาการปฏิบัติการในชั้นเรียนในด้านพระพุทธศาสนา
(Classroom Action Research Network)

7.3 การออกแบบบทความวิจยั ในสาขาวชิ าตา่ งๆ
8. ประสบการณ์ดา้ นการวจิ ัย

8.1 (2560) งานวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการรักษาศีล 5 ของพุทธศาสนิกชน
จังหวัดสุพรรณบุรี A STUDY OF THE BEHAVIOR IN OBSERVING THE FIVE PRECEPTS BY
THE BUDDHISTS ACCORDING IN SUPHANBURI PROVINCE

8.2 (2561) งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ
ธรรม: วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาTHE DEVELOPMENT OF MODEL
HEALTH CARE OF THE ELDERLY WITH PRINCIPLES IN BUDDHISTS:WAT SUKHONTHARAM
BANGSAI DISTRIC PRANAKHORNSRIAYUTHAYA PROVINCE
9. ประสบการณด์ ้านการเปน็ วทิ ยากรอบรม

9.1 วิทยากรฝึกอบรม บรรยายในหลักสูตรผู้บริหาร วิชา หลักการบริหารโดยหลัก
พระพทุ ธศาสนา ณ.สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศกึ ษา ท่ัวประเทศ ต้งั แตป่ ี 2550-ปจั จบุ นั

2). ผู้รว่ มโครงการวจิ ัย

1.ช่อื
1.1 ชือ่ ภาษาไทย พระครูใบฎกี าศักด์ดิ นัย เนตรพระ
1.2 ช่อื ภาษาอังกฤษ Phrakhubaidika Sakdanai Natepra
1.3 หมายเลขบตั รประจำตวั ประชาชน 1729900177152
1.4 ที่อยู่ 249 วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ตำบลรั้วใหญ่ อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัด

สุพรรณบรุ ี . e-mail : [email protected] โทร .08-3618-7830

2. คุณวุฒิ : ร.บ. รฐั ศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลยั แม่โจ้ เชยี งใหม่
รป.ม. รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ วทิ ยาลัยนครราชสีมา

278

3. ตำแหนง่ ปจั จบุ นั

อาจารยป์ ระจำหลักสูตรสาขาการจดั การเชิงพุทธ วทิ ยาลยั สงฆส์ ุพรรณบุรศี รสี ุวรรณภูมิ

4. ประวัติการศกึ ษา

ระดบั ชือ่ ปริญญา (สาขาวิชา) ชอ่ื สถาบนั , ประเทศ ปี พ.ศ. ท่ี

จบ

ปรญิ ญาตรี รฐั ศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ เชียงใหม่ 2555

ปริญญาโท รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนครราชสมี า 2562

สาขารัฐประศาสนศาสตร์

5. ผลงานวจิ ยั ผลงานทางวชิ าการ และสิง่ ตีพมิ พ์
5.1 ผลงานวิจัย / วิทยานพิ นธ์ (ผลงานวจิ ยั )
พระครูใบฎีกาศักดิ์ดนัย เนตรพระ(2562) การศึกษาวิเคราะห์เมืองอู่ทองในฐานะ

ประวัติศาสตร์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา An Analytical Study of U-THONG City as a
History of Buddhist Propagation

5.2 สง่ิ ตพี ิมพ์/บทความทางวิชาการ
บทความวิชาการ
พระครูใบฎีกาศักดิ์ดนัย เนตรพระ(2562) สติ-สัมปชัญญะSolving Social
Consciousness”พิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ Veridianวารสารวิชาการ Veridian E-Journal,
Silpakorn University Humanities, Social Sciences and artsVolume 12 Number 4 July –
August 2019 หนา้ 606-623 บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร (TCI ฐาน 1)
5.3 ผลงานทางวิชาการด้านอืน่ ๆ
การนำเสนอผลงานวจิ ัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ
6. ทนุ และรางวัลท่ไี ด้รบั
7. ความเชี่ยวชาญ
8. ประสบการณด์ า้ นการวจิ ัย

3) ผู้ร่วมวจิ ัย
1.ช่อื

1.1 ชอ่ื ภาษาไทย เอกมงคล เพ็ชรวงษ์
1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ aekmongkol phetchawong

279

1.3 หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 37207 00402 045

2. คุณวุฒิ

พธ.บ. พุทธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

อ.ม. อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาศาสนาเปรยี บเทยี บ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

3. ตำแหน่งปัจจุบัน

นักวิจัย และอาจารย์ประจำ วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ 249 วัดป่าเล

ไลยก์วรวหิ าร ตำบลร้วั ใหญ่ อำเภอเมอื งสุพรรณบรุ ี จงั หวดั สพุ รรณบุรี 035 521120

4.ประวัติการศกึ ษา

ระดบั ชอ่ื ปริญญา (สาขาวชิ า) ช่ือสถาบัน, ประเทศ ปี พ.ศ. ท่ี

จบ

ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช 2537

สาขา ศาสนา วิทยาลัย

ปรญิ ญาโท อกั ษรศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา 2542

สาขา ศาสนาเปรยี บเทียบ นครปฐม

5. ผลงานวิจัย ผลงานทางวชิ าการ และสิง่ ตีพิมพ์
5.1 ผลงานวิจยั / วิทยานพิ นธ์
(ผลงานวจิ ัย)
(2561. ชื่อโครงการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ

ธรรม:วดั สคุ นธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา The Development of Model Health
Care of The Elderly With Principles in Buddhists: Watsukhontharam Bangsai Distric
Pranakhornsriayuthaya Province

(2561). ชอื่ โครงการวิจัย เรอ่ื งการวิเคราะหป์ ระวัติศาสตร์เมืองอู่ทอง : ศกึ ษา กรณีการเผย
แผ่พระพุทธศาสนาAN ANALYTICAL OF U-THONG HISTORY :A CASE STUDY OF BUDDHISM
PROPAGATION

5.2 สิง่ ตีพิมพ/์ บทความทางวิชาการ
บทความวิชาการ
(2560) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ตามหลักพุทธธรรม ปีที่พิมพ์ 2560 แหล่งที่

ตีพิมพ์ วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ชื่อ
วารสาร พุทธบรู ณาการกับศาสตร์สมัยใหมเ่ พอื่ พฒั นาจิตใจและสังคมยุคไทยแลนด์ 4.0

280

(2561) ภาวะผู้นำการจัดการเชงิ พุทธทีม่ ีตอ่ สังคมในยุคไทยแลนด์ 4.0” Leadership
in Buddhist Management skills in the Workplace Sociology and Religion in Thailand 4 .
0 ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ( พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 )Vol 11
No 2 (2018)หน้า 926-937

(2561) บทบาทของพระสังฆาธิการ : การขับเคลื่อน ไทยแลนด์ 4.0 (The Roles of
Sangha Administrators : Operational to Thailand 4.0)ฉ บ ั บ ภ า ษ า ไ ท ย ม น ุ ษ ย ศ า ส ต ร์
สงั คมศาสตร์ และศิลปะ ( พฤษภาคม - สิงหาคม 2561 )Vol 11 No 2 (2018) หนา้ 938-956

(2561) บทความงานวิจยั ภาษาองั กฤษ เรื่อง “A Study to Observance of Five
Precepts Behavior of the Buddhists in Suphanburi Province” วารสารวิชาการ Veridian E-
Journal ฉบบั International Humanities, Social Sciences and artsVolume 11 Number 5
July-December 2018, p.79-93.

(2562) ประวัตศิ าสตร์และคุณค่าทางอารยธรรมสมยั ทวารดี (Historical Ecology And
Dvaravati Civilization) Humanities, Social Sciences and artsVolume 12 Number 4 July –
August 2019 หน้า 606-623

5.3 ผลงานทางวิชาการด้านอ่ืนๆ
การนำเสนอผลงานวจิ ยั ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ
5.3.1 เขา้ รว่ มเสนอผลงาน เรอื่ ง พุทธศลิ ป์ แดนดนิ สุพรรณบุรี ปที ีพ่ ิมพ์ 2559 แหล่งท่ี
ตีพิมพ์ มจร วทิ ยาเขตขอนแก่น วารสาร การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 3 และระดบั นานาชาติ
ครั้งที่ เร่ือง “พทุ ธบูรณาการกับการวิจัยเพื่อพฒั นาสังคมใหย้ ั่งยนื ”
6. ทนุ และรางวลั ท่ีไดร้ บั
6.1 ได้รางวัลผู้นำสายธรรมทูตดีเด่น จากองค์พระเทพรตั นราชสดุ า พ ศ.2543
7. ความเช่ียวชาญ
7.1 การปฏบิ ัตกิ ารในชั้นเรียน (Classroom Action Research)ในดา้ นกิจกรรมทาง
ศาสนา
7.2 เครือขา่ ยการเขียนบทความวิชาการปฏิบัติการในช้นั เรียนในดา้ นพระพุทธศาสนา
(Classroom Action Research Network)
7.3 การออกแบบบทความวจิ ยั ในสาขาวิชาต่างๆ
8. ประสบการณ์ด้านการวจิ ยั
8.1 (2560) งานวิจัยเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการรักษาศีล 5 ของพุทธศาสนิกชน
จงั หวดั สพุ รรณบุรี A STUDY OF THE BEHAVIOR IN OBSERVING THE FIVE PRECEPTS BY THE
BUDDHISTS ACCORDING IN SUPHANBURI PROVINCE

281

8.2 (2561) งานวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธ
ธรรม: วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาTHE DEVELOPMENT OF MODEL
HEALTH CARE OF THE ELDERLY WITH PRINCIPLES IN BUDDHISTS:WAT SUKHONTHARAM
BANGSAI DISTRIC PRANAKHORNSRIAYUTHAYA PROVINCE
9. ประสบการณ์ดา้ นการเปน็ วิทยากรอบรมและตรวจสอบเครอื่ งมอื วิจัย

9.1 วิทยากรบรรยายพิเศษ “อารยธรรมตะวันออกตะวันตก” ของมหาวิทยาลัยหอการค้า
ไทย ระหว่างปี 2537 – 2539

9.2 วิทยากรฝึกอบรม บรรยายในหลักสูตรผู้บริหาร วิชาหลักการบริหารโดยหลัก
พระพุทธศาสนา ณ.สถาบนั พฒั นาผู้บรหิ ารการศกึ ษา วดั ไร่ขิงจงั หวัดนครปฐม ตง้ั แต่ปี 2537-2542

282


Click to View FlipBook Version