The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2021-01-29 22:23:37

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

201

ธงชัย สันติวงษ์. พฤติกรรมการบริโภคทางการตลาด. (พิมพ์ครั้งที่๙).กรุงเทพมหานคร, ไทยวัฒนา
พานิช, ๒๕๔๐,

นิคม วงศ์นันตา, วิทยา เจริญอรุณรัตน์, รายงานผลโครงการวิชาการ เรื่องเรียนรู้การอนุรักษ์?และ
รวบรวมพันธ์ุกล้วย, สำนักวจิ ัยและสง่ เสรมิ วชิ าการเกษตร, มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้, ๒๕๕๗, .

นิภา ศรไี พโรจน.์ หลกั การวจิ ยั เบอื้ งตน้ , (กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัทศกึ ษาพร จำกดั ๒๕๒๗). .
ปราณี เอ่ยี มลออ, การบริหารการตลาด, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ธนาเพลส, ๒๕๕๑),.
ภัทราพร อาวัชนาการ. ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง

ยั่งยืนในเขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์
และการบญั ชี มหาวทิ ยาลนั ธรรมศาสตร์,๒๕๕๘, .
สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนฯ, เรอ่ื งท่ี ๖ กลว้ ย/พันธก์ุ ลว้ ยในประเทศไทย เลม่ ที่ ๓๐ [ออนไลน์]
เข้าถึงได้จากhttp://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=30
&chap=6&page=t30-6-info detail05.html สืบคน้ เมอ่ื วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอขามสะแกแสง, ศูนย์เรียนรู้ชุมชน, (ออนไลน์), แหล่งที่มา
http://district.cdd.go.th/khamsakaesaeng/services/. (๑๙ มกราคม ๒๕๖๑).
สุพรรณี ไชยอําพร, คมพล สุวรรณกูฏ, รายงานฉบับสมบูรณ์ การศึกษาศูนย์การเรียนรู้ด้านการ
พฒั นาสังคมและสวัสดกิ ารระดับชุมชน: กรณีศึกษาชมุ ชนแม่ระกา ตำบลแม่ระกา อำเภอ
วงั ทอง จงั หวดั พษิ ณุโลก,๒๕๕๐ .
ฬิฏา สมบูรณ์, วิจัยเชิงปฏิบัติการ(4) [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www. gotoknow.
org/posts/34875 สบื ค้นเมอื่ วนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.
Belch, George E. and Belch, Michael A. Introduction to Advertising and Promotion :
An Integrated Marketing Communications Perspective. ๒nd ed. Boston, Mass.
: Richard D. Irwin, Inc., ๑๙๙๓, .
http://www.suphancity.go.th/chum๑๖.html๗
David Silverman, Interpreting Qualitative Data: Methods for Analysing Talk,Text
and Interaction, (California: SAGE Publication Inc., ๒๐๐๖)
Huber man, A. M., & Mile, M. B., Data management and analysis methods. In N.K.
Denzin & Y. S. Lincoln (Eds.). (Handbook of Qualitative Research.Thousand Oaks,
CA: Sage, ๑๙๙๔), .
Javier Perez de Cuellar, อา้ งใน บัวพันธ์ พรหมพักพงิ , “ความอยดู่ ีมสี ขุ ,”แนวคิดและประเด็นการ
ศกึ ษาวิจัย ปีที่ ๒๓ ฉบับท่ี ๒ (๒๕๔๙), ๑-๓๑
Marx, อ้างใน บัวพันธ์ พรหมพักพิง, “ความอยู่ดีมีสุข,”แนวคิดและประเด็นการศึกษาวิจัย ปีที่ ๒๓
ฉบบั ท่ี ๒ (๒๕๔๙), ๑-๓๑.
Moore, อ้างใน บัวพันธ์ พรหมพักพิง, “ความอยู่ดีมีสุข,”แนวคิดและประเด็นการศึกษาวิจัย ปีท่ี
๒๓ ฉบบั ท่ี ๒ (๒๕๔๙), ๑-๓๑.
Smelser, อ้างใน บัวพันธ์ พรหมพักพิง, “ความอยู่ดีมีสุข,”แนวคิดและประเด็นการศึกษาวิจัย ปีที่
๒๓ ฉบับที่ ๒ (๒๕๔๙), ๑-๓๑.

202

Stover R.H. & N.W. Simmonds (๑๙๘๗)
Stover R.H. & N.W. Simmonds (๑๙๘๗)
T. Dos Santos, อ้างใน บวั พนั ธ์ พรหมพักพงิ , “ความอยู่ดมี ีสขุ ,”แนวคิดและประเดน็ การศึกษาวิจัย

ปที ่ี ๒๓ ฉบับท่ี ๒ (๒๕๔๙), ๑-๓๑
[email protected] Website : http://www.suphan buri.go.th)

สมั ภาษณ์

สัมภาษณ์ นายเฉลิมศักดิ์ จิตถนอม,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 63 ปี, ที่อยู่ ม.3 ต.
สาวร้องไห้ อ.วเิ ศษชยั ชาญ จ.อ่างทอง, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายปัณณวิชญ์ แสงหล้า , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 43 ปี, ที่อยู่
ภมู ลิ ำเนาเดิม พะเยา, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สมั ภาษณ์ นางสาว วรรณวรทั ย์ พงษส์ งฆ์, สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ / ผูน้ ำชุมชน , อายุ 42 ปี,เจา้ หนา้ ที่
บรรณารกั ษ์ วส.สุพรรณบุรี , ทอ่ี ยู่ ภมู ิลำเนาเดิม วดั ป่าเลไลยก์, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ ดร.ถนัด ยันต์ทอง,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 65 ปีข้าราชการบำนาญ, ท่ี
อยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี , [1 กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายอานนท์ รกั ผล , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน , อายุ 59 ปี,ประธานศนู ย์อนรุ ักษ์
พนั ธุ์กล้วย , ทีอ่ ยู่ ภูมลิ ำเนาเดิม จังหวัดนครศรธี รรมราช , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ พระครูโสภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 48 ปี, บวช, ที่อยู่
ภมู ิลำเนาเดิม จงั หวัดสพุ รรณบุรี, [1 กันยายน ๒๕๖3].

สมั ภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกล่มุ ข้าราชการ / ผูน้ ำชุมชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ท่ีอยู่
ภูมลิ ำเนาเดมิ วัดป่าเลไลยกม์ , [1 กันยายน ๒๕๖3].

สมั ภาษณ์ นายวัฒนา เผอื กเสริฐ , สำหรับกลุม่ ขา้ ราชการ/ผนู้ ำชุมชน, อายุ 62 ปี, พนกั งานวัด, ทอี่ ยู่
ภูมลิ ำเนาเดิม วดั ปา่ เลไลยก์, [1 กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายอรรภนพ อ่อนกลั่น , สำหรบั กลุม่ ข้าราชการ/ผ้นู ำชมุ ชน, อายุ 43 ปี, ทอี่ ยู่ ภูมิลำเนา
เดมิ จงั หวดั ตราด, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 38 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดกาญจนบุรี,
[1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 59 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดลพบุรี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 39 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดอุทัยธานี, [1
กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 38 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดกาญจนบุรี,
[1 กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายเฉลมิ ศักด์ิ จติ ถนอม,สำหรับกลุ่มขา้ ราชการ / ผ้นู ำชมุ ชน , อายุ 63 ปี, ทอ่ี ยู่ ม.3 ต.
สาวร้องไห้ อ.วเิ ศษชยั ชาญ จ.อา่ งทอง, [1 กันยายน ๒๕๖3].

203

สมั ภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลมุ่ ขา้ ราชการ/ผูน้ ำชมุ ชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ท่ีอยู่
ภมู ิลำเนาเดมิ วัดป่าเลไลยกม์ , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ พระครูโสภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 48 ปี, บวช, ที่อยู่
ภูมลิ ำเนาเดิม จังหวดั สุพรรณบรุ ี, [1 กันยายน ๒๕๖3].

สมั ภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลมุ่ ขา้ ราชการ/ผู้นำชมุ ชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ที่อยู่
ภมู ิลำเนาเดมิ วดั ปา่ เลไลยก์ม, [1 กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ที่
อยู่ ภมู ลิ ำเนาเดิม วัดปา่ เลไลยกม์ , [1 กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 38 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดกาญจนบุรี,
[1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์, สำหรบั กลมุ่ ขา้ ราชการ/ผูน้ ำชุมชน, อายุ 39 ปี, ท่อี ยู่ ภมู ิลำเนาเดิม จังหวัดอุทัยธานี, [1
กันยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ นายมานะ พทุ ธิโชติ , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 35 ปี, รบั ราชการ, ท่อี ยู่
ภูมิลำเนาเดมิ จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

สัมภาษณ์ ดร.ถนัด ยันตท์ อง,สำหรับกลุ่มขา้ ราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน , อายุ 65 ปขี ้าราชการบำนาญ,
ที่อยู่ ภมู ลิ ำเนาเดมิ จังหวัดสุพรรณบุรี , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].

204

ภาคผนวก

205

ภาคผนวก ก

206

บทความวิชาการ

บทความวิชาการ

เรือ่ ง การพฒั นาศนู ย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษพ์ ันธุก์ ลว้ ย
จงั หวัดสพุ รรณบุรี

Development of participatory learning center for banana conservation
in Suphanpuri province

207

บทคดั ย่อ

การวิจัยคร้งั น้ี มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศึกษา ๑) การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบ
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ๒) กลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่มีผลต่อการพัฒนาศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยให้มีมาตรฐานคุณภาพ และ ๓) ความสัมพันธ์ระหว่าง
กลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่างแบบบังเอิญ จำนวน ๓๒๗ ชุด และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
จำนวน ๑๕ ชุด ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณา โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบยี่ งเบนมาตรฐาน และค่าสมั ประสทิ ธ์ิสหสัมพนั ธแ์ บบเพียรส์ นั

ผลการวจิ ยั พบว่า ๑) กลุ่มตวั อย่าง มคี วามคิดเหน็ ต่อการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ
๔.๒๖ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๓๖ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านสภาพทั่วไปของ
ศูนย์ฯมีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๗ ๒) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อกลยุทธ์การตลาดด้านบริการ
การพัฒนาศูนย์ฯ ให้มีมาตรฐานคุณภาพ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดเท่ากับ ๔.๒๕ ค่า
เบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ ๐.๔๑ เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นพบวา่ การพัฒนาดา้ นภาพลักษณ์และการ
นำเสนอลักษณะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๕ และ ๓) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์
การตลาดด้านบริการกับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พันธุ์กล้วย มีระดับความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับการ
พัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย โดยมี่ค่า r เท่ากับ
๐.๔๔๓ มีค่า Sig < ๐.๐๕ สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ สามารถอธิบายได้ว่า กลยุทธ์การตลาด
ด้านการบริการส่งผลให้การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สพุ รรณบรุ ีมีมาตรฐานคุณภาพ

ผลสรุปจากการประชมุ กลุ่ม (Focus Group) เสนอแนวทางการพัฒนาศูนย์การเรยี นรูแ้ บบ
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรีให้มีมาตรฐานคุณภาพเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง
เกษตร ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร ผลิตให้สอดคล้องกับความจำเป็น มีคุณค่าจริง ราคาไม่สูงมาก
นัก มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์ มีการประชาสัมพันธ์หลายช่องทาง มีวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
ถ่ายทอดความรู้เรื่องการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย มีสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่มที่นั่ง เพิ่มห้องน้ำ สำหรับผู้
สูงวัย และคนพิการ รวมทั้งใหก้ ารต้อนรบั อย่างกัลยาณมติ ร มีระบบเทคโนโลยีและมีพื้นที่รองรับผู้มา
เข้าเยย่ี มชมศูนยฯ์ อย่างพอเพียง

คำสำคัญ การพฒั นาศนู ย์การเรียนรู้, มีสว่ นรว่ ม, อนุรกั ษ์พนั ธุ์กลว้ ย

208

Abstract

The primary focus of your research project: 1) The development of quality
standards of Banana Conservation Center 2) The marketing strategies for services for
the development of a participatory learning of Banana Conservation Center and focus
on the best quality standards, and 3) There are two kinds of development as we are
concerned as between service marketing strategy and the development of quality
standards for participatory learning centers in banana conservation in Suphanburi
province. The tools & equipment has been done for questionnaires and performs to
collect data as a number of 327 random samples and also included an interviewer of
15 units. The data are analyzed by the Statistics Project team as researching for
percentage, mean, standard deviation and the Pearson correlation coefficient

The research of the results are as follows: 1) As the sample opinion on the
development of quality standards for the participation in the Banana Conservation
Center. For overall, the mean is set up at the highest level, which is 4.26, the standard
deviation is 0.36. The general condition of the center has the highest average of 4.37
2) The Sample group has been in this opinion on the marketing strategy of the center
development service to have quality standards, as the mean is the highest level at
4.25 standard deviation equal to 0.41. The highest average is 4.35 3) The relationship
between service marketing strategy and development of quality standards, for learning
of the Banana Conservation Center. There are set up as moderate level of positive
correlation at the same direction as the development of quality standards for a
participatory learning center in banana plant conservation with a “R” value equally
0.443 with a Sig <0.05 in the same line with the assumptions established. The Service
marketing strategy has resulted in the development of learning with Banana
Conservation Center in Suphanburi province has exactly the same standards.

209

The Summary of the Sample Group (Focus Group) proposed a guideline for
developing a participatory learning of Banana Conservation Center in Suphanburi
province for the best quality standards as an agricultural tourism destination, namely
agricultural products. Produced in accordance with the necessity, the real value, the
price is not very high. It is distinctive, unique and has many public relations more
varieties channels program as a mass communication to consumers. There is a lecturer
who has the expertise to be a professional and well known for the Banana
Conservation Center subject. There are additional seating facilities, additional
restrooms for the elderly and the disabled, as well as providing for a prospect
customer, visitors and tourists. They are welcomed to come & visit our greatest place.
Keywords Development of participatory, learning center, banana conservation

บทนำ

สภาพปัจจุบันเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ประเทศไทยยังคงเผชิญกับความเสี่ยงจากความ
เปราะบางหรือความผันผวนของเศรษฐกิจ มีผลกระทบต่อภาคการเกษตรของประเทศ รวมถึงปัญหา
ภายในประเทศทั้งด้านการเมือง ด้านสังคม ยังเป็นข้อจำกัดสำคัญต่อการพัฒนาการเกษตรของ
ประเทศ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) จึงเน้น
ความต่อเนื่องกับแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) โดย
เนน้ “เกษตรกร” เปน็ ศูนยก์ ลางการพัฒนาอย่างสมดุล มีสว่ นร่วมในรปู แบบชุมชน ใหค้ วามสำคัญกับ
การรวมกลุ่มเกษตรกร เพื่อผลักดันให้สามารถดำเนินการในรูปของธุรกิจเกษตร โดยน้อมนำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาขยายผลและ
ประยุกต์ใช้ต่อเนื่องจากแผนที่ผ่านมา เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ อันจะเป็น ส่วนหนึ่งที่
ผลักดันให้ประเทศไทยสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” โดยมีประเด็นสำคัญที่ควร
พจิ ารณาเพอื่ นำไปสู่การพฒั นาและแกไ้ ขในอนาคต

ในอดีตสังคมไทยมีความผูกพันกับธรรมชาติเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากลักษณะการ
ปรับตัวเขา้ หาธรรมชาติและใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ได้แก่ การตงั้ ถ่ินฐานท่ีอยู่อาศัย การเพาะปลูก
ทำการเกษตร รวมไปถึงการพัฒนาวิถีชีวิต ความคิดความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และศาสนาที่
สอดคล้องกับทรัพยากรหรือถิน่ ฐานท่ีตนอาศัยอยู่ วิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัยก่อนจึงมีความ
เกื้อกูลกับการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่ตนอยู่อาศัย มีความใกล้ชิดผูกพันกับธรรมชาติ โดยเฉพาะด้าน

210

การเกษตรมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรมของประเทศไทยไม่วาจะเป็น
ในอดีตหรือปัจจุบัน โดยเฉพาะต่อประชากรในระดับรากหญ้าซึ่งเป็นบุคลากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ
ดังนั้น ภาคการเกษตรของไทยจึงเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เป็น
รากฐานของการสรา้ งความม่ันคงทางอาหารของประเทศและของโลก ประชากรสว่ นใหญข่ องประเทศ
อยู่ในภาคการผลิตทางการเกษตร และยังเป็นการเกษตรที่ต้องอาศัยต้นทุนทางธรรมชาติอยู่มาก ดั้ง
นั้นสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมการเกษตร วิธีการผลิตทางการเกษตร ตลอดจน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสนับสนุนการเกษตรย่อมส่งผลต่อการพัฒนาการเกษตรในอนาคตไม่
ว่าจะเป็นเรื่องปริมาณผลผลิตหรือต้นทุนการผลิตทางการเกษตรฯลฯ สิ่ง ต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลท้ังใน
ระดับครวั เรอื น อาทิ รายไดค้ รัวเรอื น ความมั่นคงทางอาหารต้ังแตร่ ะดับครัวเรอื น ระดบั ประเทศ

ภูมิภาคและระดับโลก98 การปรับเปลี่ยนวิธีการทำการเกษตรหรือกิจกรรมการเกษตรที่มี
ความมั่นคง จะส่งผลต่อความยั่งยืนในระยะยาว ดังนั้นการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในการอนุรักษ์พันธุ์
กล้วยซ่งึ เปน็ พชื เศรษฐกิจและผูกพันกับวถิ ีชีวิตของสงั คมไทยมายาวนาน จงึ เป็นวธิ หี น่ึงทจี่ ะส่งเสริมให้
เกษตรกรมีการรวมกลุม่ เกดิ การเรียนรูท้ ั้งการอนุรกั ษแ์ ละการตลาด

การตลาดนับว่าเป็นกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วย เพราะศูนย์ฯ จะมีรายได้หลักจากการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตร จากการท่องเที่ยวเชิง
เกษตร เพื่อนำไปส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาศูนย์ฯ ให้มีมาตรฐานคุณภาพ เป็นสิ่งดึงดูด
นักท่องเที่ยว สร้างสถานที่ให้มีความโดดเด่นในด้านภูมิทัศน์ ดังนั้น การพัฒนาศูนย์ฯ ควรใช้กลยุทธ์
ส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) ซึ่งเป็นปัจจัยหลักการในการส่งเสริมการตลาดที่มี
ความสำคัญ นักการตลาดส่วนใหญ่ได้นำมาใช้เป็นกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ใน
การดำเนินธุรกิจการตลาด แต่ในการทำตลาดของศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยนั้นเป็น
การตลาดแบบด้านการบริการ การสร้างแรงจงู ใจใหผ้ บู้ รโิ ภคตัดสินใจมาใช้บริการจำเปน็ ต้องใช้ทฤษฏี
แนวคิดส่วนประสมทางการตลาดเป็นกรอบในการพัฒนาเพื่อให้สัมพันธ์กับบริบทของพื้นที่ จังหวัด
สุพรรณบุรี ซึ่งนอกจากจะมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวทางธรรมชาติแล้ว การ
สร้างแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในรปู แบบการเรยี นรู้ การอนุรักษ์ และการจำหนา่ ยสนิ ค้าเกษตร นา่ จะ
สอดคลอ้ งกบั พนื้ ทแี่ ละสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรเพ่ิมขนึ้ เพราะมีพืน้ ทท่ี เี่ หมาะสมกับการเกษตร เช่น
การปลูกข้าว การทำไร่ ทำสวน การใช้พื้นที่วา่ งตามหัวไรป่ ลายนา พื้นที่ว่างรอบ ๆ บ้าน หรือตามคนั
นา ปลูกผักผลไม้เพื่อการบริโภค ส่วนผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนแล้วก็จำหน่ายจ่าย
แจกตามญาติมิตร ในการเพาะปลูกพืชผักแต่ละรอบปีจะพบปัญหาเรื่องการตลาดเป็นด้านหลัก เช่น
ปัญหาผลผลิตล้นตลาด ผลผลิตไม่ได้มาตรฐาน ราคาตกต่ำ ไม่มีสถานที่จำหน่าย กลุ่มผู้บริโภคอยู่ใน

98 ยิ่งลกั ษณ์ กาญจนฤกษ์และคณะ, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, โครงการ “การยกระดับความยั่งยืนทาง
การเกษตรของเกษตรรายยอ่ ย อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง, 2560 หน้า 24

211

เขตจำกัด การสรา้ งรูปลักษณ์ผลติ ภณั ฑ์ไม่น่าสนใจ ไมม่ คี วามหลากหลายในการแปรรูปผลิตภณั ฑ์ เป็น
ต้น การเลือกใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่เรียกว่า“ส่วนประสมทางการตลาด ๗ P’s”99 ประกอบด้วย
ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ภาพลักษณ์ของ
สถานที่ และการให้บริการ น่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุนให้ศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี มสี มรรถนะในการสร้างแรงจูงใจให้กลมุ่ ผ้บู ริโภคเกดิ ความสนใจและตัดสินใจเข้ามา
ศึกษา เยยี่ มชม ซอื้ สนิ ค้าการเกษตรอนื่ ๆ รวมท้ังผลผลิตจากกลว้ ย

กล้วยจัดเป็นไม้ผลชนิดหน่ึง ที่มีความผูกพันและมีความสำคัญต่อชีวิตคนไทยมาช้านาน ซึ่ง
สามารถพบเห็นกล้วยโดยทั่วไปตามภูมิภาคต่าง ๆ แต่ผู้คนส่วนใหญ่กลับมองข้ามความสำคัญของ
กล้วย ทั้ง ๆ ที่มีคุณค่าในเชิงวัฒนธรรม วิถีชีวิต พิธีกรรม มีคุณค่าทางด้านอาหาร สุขภาพ ร่างกาย
แม้กระทั่งในเชิงเศรษฐกิจ ตลอดจนการใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของลำต้นกล้วย ในผลกล้วยอดุ ม
ด้วยนำตาลจากธรรมชาติ คือ ซูโครส ฟรกุ โทส และกลโู คส รวมทั้งเส้นใย กากอาหาร กลว้ ยช่วยเสริม
เพิ่มพลังงานให้กับร่างกายได้ทันที นอกจากนั้น การรับประทานกล้วยยังช่วยป้องกันโรคต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นกับร่างกาย เช่น โรคโลหิตจาง เนื่องจากมีธาตุเหล็กสูง โรคความดันโลหิตสูง บำรุงสมอง โรค
ท้องผูก แก้อาการเมาค้าง แก้อาการเสียดท้อง รักษาโรคลำไส้เป็นแผล100 เป็นต้น การจะสร้างความ
ตระหนกั ให้เกิดการรับรู้ได้อยา่ งกว้างขวางและย่ังยืนนนั้ การจดั ต้ังศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนแบบมีส่วน
ร่วม การเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนของชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในด้านการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ
ของปัญหา การมีส่วนร่วมในการวางแผน การมีส่วนรว่ มในการดำเนินงาน/กจิ กรรม การมีส่วนรว่ มใน
การติดตามและประเมินผล และการมีส่วนร่วมในการรับประโยชน์ การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย น่าจะยังประโยชน์สุขแก่กลุ่มฐานรากของสังคม เพราะศูนย์การเรียนรู้ มีลักษณะ
เป็นแหล่งให้บริการความรู้ ข่าวสาร ขอ้ มลู ให้กับประชาชนในชุมชน มีเจ้าหน้าทีปฏิบัติงานในลักษณะ
ประจำ เป็นศูนย์กลางการติดต่อจากภายนอก เป็นเครือข่ายในการจัดการเรียนรู้ในสังคม บทบาของ
ศูนย์การเรียนรู้โดยทั่วไปอาจประกอบด้วย การทำงานร่วมกับชมุ ชน การบริหารศูนย์การเรียนรู้ และ
การพัฒนาหลกั สตู ร101

99 ภัทราพร อาวัชนาการ, ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน ในเขตอำเภอลบั แล จังหวัดอุตรดิตถ์, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2558 : 17-19.

100นิคม วงศ์นนั ตา, วิทยา เจรญิ อรณุ รัตน์, รายงานผลโครงการวชิ าการ เรอ่ื งเรียนรูก้ ารอนรุ ักษ์?และ
รวบรวมพนั ธก์ุ ลว้ ย, สำนักวิจัยและสง่ เสรมิ วชิ าการเกษตร, มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้, ๒๕๕๗, หน้า ๑.

101สพุ รรณี ไชยอําพร, คมพล สวุ รรณกฏู , รายงานฉบบั สมบูรณ์ การศึกษาศนู ยก์ ารเรียนรดู้ ้านการ
พัฒนาสังคมและสวสั ดิการระดบั ชมุ ชน: กรณศี กึ ษาชมุ ชนแมร่ ะกา ตำบลแมร่ ะกา อำเภอวงั ทอง จังหวัด
พษิ ณุโลก,๒๕๕๐ หนา้ 2- 5.

212

ด้วยมีความตระหนักในความสำคัญและเกิดประโยชน์สุขแก่กลุ่มเกษตรกร จึงร่วมกับกลุ่ม
วิสาหกจิ ชุมชนจัดตัง้ “ศูนย์อนรุ ักษ์พันธ์ุกล้วย จังหวดั สุพรรณบุรี” ขึน้ ตัง้ อยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดป่า
เลไลก์วรวิหาร ในพื้นที่ ๑๒ ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่เพาะปลูก อาคารจัดแสดงพันธุ์กล้วย ห้องการเรียนรู้ ระบบ
การเพาะปลูกกล้วย อาคารจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจากวิสาหกิจชุมชน แหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ
ทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๕ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ในการบริหารจัดการศูนย์ฯ มี
คณะกรรมการคำเนินการ ประกอบด้วยผู้แทนจากผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครือข่ายองค์กรชุมชน
ปราชญ์ชาวบา้ น อาสาสมคั ร ฯลฯ ได้มาจากการคัดเลือกของชาวบ้าน และชาวบ้านใหก้ ารยอมรับ ซึ่ง
คณะกรรมการจะร่วมมือกันวางแผน และดำเนินตามแผนยุทธศาสตร์ที่ได้ร่วมกันกำหนด เพื่อระดม
พลังให้เกิดการเรียนรู้และบริหารจัดการในศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยให้สามารถดำเนินการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีที่ปรึกษา เป็นภาคีการพัฒนาภาครัฐ เช่น พัฒนาชุมชน การศึกษานอกโรงเรียน
เกษตร สาธารณสุข อุตสาหกรรม พาณิชย์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำระเบียบ
ข้อบังคับ ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้จัดทำขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารศูนย์
งบประมาณในการจัดสร้างศนู ยฯ์ และการบริหารศูนย์ฯได้รบั การสนับสนุนจากวดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
มีบทบาทและหน้าที่ ได้แก่ การจัดให้เป็นศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย เป็นศูนย์กลางการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
ทุกด้านทุกรูปแบบของประชาชนในการจัดการความรู้ที่ดำเนินการโดยประชาชนและเพื่อประชาชน
ยุคไทยแลนด์ ๔.๐ เป็นศูนย์ประสานและบูรณาการการทำงานของทุกวิสาหกิจชุมชน และสถานท่ี
จำหน่ายผลิตผลทางการเกษตร รวมทั้งเป็นศูนย์รวมของข้อมูล ข่าวสาร สาระความรู้ ที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้เท่าทันสถานการณ์โลก รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้าน จัดให้เป็น
หมวดหมู่ มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถเข้ามาเรียนรู้ ค้นคว้าหาความรู้
แลกเปลีย่ นความร้แู ละประสบการณ์ รวมทั้งการพบปะสังสรรค์ เพ่ือสรา้ งความเข้าใจ ความร่วมมือใน
การพัฒนาตนเองและชุมชน จัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตลอดจนการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิน่ และการเรียนรดู้ ้านตา่ ง ๆ ของประชาชนในชุมชน

ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาคือ ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรูแ้ ละการอนรุ ักษ์พันธ์ุ
กล้วยให้มีมาตรฐานคุณภาพ นั้น ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย ได้มีการวางแผนพัฒนาเพื่อให้ เป็นแหล่ง
เรยี นร้ใู นการอนรุ กั ษร์ วบรวมพันธกุ์ ล้วย ให้มีการเกือ้ หนนุ ต่อกลุ่มเกษตรกร ใหเ้ ป็นแหลง่ ท่องเท่ียวเชิง
เกษตรที่มีมาตรฐานคุณภาพ ให้บริการวิชาการสู่เกษตรกรและบุคคลทั่วไป และขยายผลสู่เกษตรกร
เพื่อผลิตเชิงพาณิชย์อย่างไรบ้าง คณะผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาโดยเลือกกลยุทธ์การตลาดด้าน
บรกิ ารมาเปน็ แกนหลักในการพัฒนาศนู ย์การเรียนรแู้ ละการอนุรักษ์พันธกุ์ ลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี

วัตถปุ ระสงคใ์ นการวิจัย

๑) เพื่อศึกษาการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์พนั ธุ์
กล้วย จังหวัดสุพรรณบรุ ี

213

๒) เพอื่ ศึกษากลยุทธ์การตลาดด้านบริการท่ีมีผลต่อการพฒั นาศูนย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วม
ในการอนุรักษพ์ ันธก์ุ ล้วย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ให้มมี าตรฐานคุณภาพ

๓) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการพัฒนามาตรฐาน
คุณภาพศูนยก์ ารเรียนร้แู บบมีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์พนั ธก์ุ ล้วย จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ขอบเขตการวจิ ยั

๑ รปู แบบการวิจัย ประกอบดว้ ย

๑) เป็นการวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการ ซึ่ง Kemmis and McTaggart ได้นำแนวคิดของ เลวิน
มาพัฒนาเป็นการวิจัยปฏิบัติการแบบบันไดเวียน (Spiral of Steps) ประกอบด้วย การวางแผน
(Plan) การปฏิบัติและการสังเกต (Act & Observe) การสะทอ้ นกลบั (Reflection)102

๒) เปน็ การวจิ ยั แบบผสานวิธี ทง้ั เชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

๒ ขอบเขตดา้ นเน้ือหา

ผู้วิจัยกำหนดเนื้อหาในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษ์พนั ธุก์ ลว้ ย ได้แก่ ความคิดเหน็ ท่เี ป็นข้อมูลเชิงลึกในด้านต่างๆของชมุ ชน อันประกอบด้วย
ด้านบริบทของชุมชน ได้แก่ สภาพทั่วไปของศูนย์ฯ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ฯ และบทบาทของ
เจ้าหน้าที่ของศูนย์ ศักยภาพการบริหารจัดการของศูนย์ ศักยภาพการรองรับผู้มาเยี่ยมชมของศูนย์ฯ
ศักยภาพการให้บริการของศูนย์ฯ และศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมของศูนย์ฯ103 ด้านพฤติกรรม
ของผู้บริโภค ด้านการมีส่วนร่วมของวิสาหกิจชุมชน และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ทำการผสมผสานหลอม
รวมเป็นรปู แบบการพฒั นาศูนยก์ ารเรยี นรู้แบบมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษพ์ นั ธ์ุกลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี

๓ ขอบเขตด้านประชากร

ผู้วิจัยกำหนดประชากรที่จะทำการศึกษา ประกอบด้วยการสัมภาษณ์สมาชิกของกลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ที่ปรึกษาศูนย์ฯ พัฒนาชุมชนอำเภอ เกษตรอำเภอ
อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชย์จังหวัด ผู้นำชุมชน และการตอบแบบสอบถามของผู้มาเยี่ยมชม/
ทอ่ งเทย่ี วศนู ยฯ์

วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั

102ฬิฏา สมบรู ณ,์ วิจัยเชิงปฏิบตั ิการ(4) [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://www.
gotoknow.org/posts/34875 สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.

103กรมการทอ่ งเท่ยี ว. ค่มู อื การประเมินมาตรฐานการทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร. (สำนกั พฒั นาแหลง่
ท่องเทย่ี ว : กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า.๒๕๕๓), หน้า ๒

214

ในการดำเนินการวิจยั เรอื่ ง การพัฒนาศูนยก์ ารเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์พนั ธ์ุ
กลว้ ย จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ผวู้ ิจยั ดำเนนิ การวิจัยตามข้ันตอนตอ่ ไปนี้

รูปแบบการวิจยั เป็นการวิจัยเร่อื ง “การพฒั นาศูนย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์
พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ” ใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ร่วมกับการวิจัยแบบ
ผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชงิ ปริมาณ (Quantitative Research) กับ
การวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Study) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจาก
ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ฯ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth
Interview) เป็นแกน และเลือกสุ่มจากกลุ่มประชากรท่ีมาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย ใช้
แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นข้อมูลสนับสนุน ผู้วิจัยได้กำหนดขั้นตอนการดำเนินการวิจัย
ตามลำดับ ดังน้ี

๑) ศึกษาหลักการ แนวคิดทฤษฎี ระเบียบ และผลงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง
๒) กำหนดกรอบแนวคดิ หวั ข้อปญั หา และวตั ถุประสงคใ์ นการวิจยั
๓) กำหนดกลุ่มประชากร และกลุม่ ตัวอยา่ งทใ่ี ช้ในการวิจยั
๔) สร้างเครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูลการวิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารศูนย์ฯ
ด้านการตลาดและการอนรุ ักษพ์ ันธก์ุ ลว้ ย
๕) นำเคร่ืองมือเสนอผเู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบเพอื่ ปรบั ปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
๖) ทดสอบเครื่องมอื กบั กลุ่มตัวอยา่ งที่ไมใ่ ช่กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย (Try out)
๗) ดำเนนิ การสมั ภาษณ์ และสง่ แบบสอบถามใหก้ ลมุ่ ตัวอยา่ ง จัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
๘) วเิ คราะหข์ ้อมลู และแปลผลข้อมลู
๙) สรุปผลการศึกษา จัดทำเปน็ แนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนร้แู บบมสี ว่ นร่วมในการ
อนุรกั ษ์พันธุ์กลว้ ย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๑. งานวิจยั ฉบับน้ีใช้รูปแบบการวิจัยวิจัยเชิงปฏิบตั ิการเปน็ หลัก ตามกรอบแนวคิดของคิด
ของ เลวิน ซึ่ง Kemmis and McTaggart ได้นำแนวคิดของเลวินมาพัฒนาเป็นการวิจัยปฏิบัติการ
แบบบนั ไดเวียน104แบง่ การวิจยั ออกเป็น ๓ ระยะ คือ

๑) ระยะเตรียมการ (Pre-Research Phase) มีกิจกรรมประกอบด้วย (๑) รวบรวมข้อมูล
พื้นฐานของศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในจังหวัด
สุพรรณบรุ ี ข้อมลู จากหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง (๒) ประสานงานกับชุมชนในพื้นท่ี ท้งั ภาครัฐภาคเอกชน และ
ภาคีเครือข่าย รวมทั้งคณะสงฆ์พระสังฆาธิการในจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าร่วมในโครงการวิจัยและชี้แจง

104ฬฏิ า สมบรู ณ์, วิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ(๔) [ออนไลน]์ เขา้ ถึงได้จาก
https://www.gotoknow.org/posts/๓๔๘๗๕ สบื คน้ เม่ือวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.

215

วัตถปุ ระสงค์การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการอนรุ ักษ์พันธุ์กล้วยและวิธีการดำเนินงานให้ทุกฝ่ายรับรู้ (๓)
สร้างสัมพันธภาพกับชุมชนต่างๆ เพื่อสร้างความคุ้นเคย และสร้างการร่วมมือในการดำเนินงานวิจัยที่จะมี
ขึ้น โดยการเข้าไปพบปะ พูดคุย และปรึกษาหารืออย่างไม่เป็นทางการ (๔) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ท่ี
จำเปน็ ตอ้ งใช้ในโครงการวิจัยใหเ้ พียงพอ

๒) ระยะดำเนินการวิจัย (Research Phase) ผู้วิจัยประยุกต์ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน105 เปน็ ๔ ขัน้ ตอน ดังนี้

ขน้ั ตอนที่ ๑ ร่วมกันวางแผน (Planning) จัดประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการโดยมีกระบวนการ ดังน้ี ( ๑ )
กระบวนการหาและใช้ทุนทางสังคมในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วยจังหวัด
สุพรรณบุรี วิเคราะห์ความเป็นไปได้ที่จะจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย โดยศึกษา
บริบทของพื้นท่ี ข้อมูลประชากร ศึกษาแผนงาน ศึกษาทรัพยากรการบริหารจัดการศูนย์ฯและคุณภาพ
ด้านสิง่ แวดลอ้ ม

(๒) กระบวนการศึกษาปัญหาความต้องการของชุมชน ในการพัฒนาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้
และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ กิจกรรมที่ใช้แก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผน
ดำเนนิ งานรว่ มกัน ปรบั ทศั นคติ วธิ ีคิดและการพัฒนาศักยภาพของบุคคล

(๓) กระบวนการออกแบบกจิ กรรมของศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย โดยใช้พ้ืนท่ี
เป็นตัวตั้ง สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม และจัดกิจกรรมในการเรียนรู้ การอนุรักษ์ การจัด
จำหนา่ ยผลิตภัณฑก์ ารเกษตร

ข้ันตอนท่ี ๒ ร่วมกันปฏิบตั ิ (Acting)
นำแผนจากข้ันตอนท่ี ๑ ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิตามแผนงาน/ โครงการ /กจิ กรรม ตามกิจกรรมหลัก

๔ กิจกรรม ได้แก่ (๑) กิจกรรมการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ (๒) กิจกรรมการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย (๓)
กจิ กรรมการตลาดด้านบริการ

ขั้นตอนที่ ๓ ร่วมกันสังเกตผล (Observing) และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน มีการ
แต่งตั้งคณะกรรมการการนิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม และ
สนับสนนุ การดำเนนิ งานด้านวิชาการ ดา้ นการอนรุ ักษพ์ ันธุ์กลว้ ย และการตลาดดา้ นบริการ

ขน้ั ตอนที่ ๔ รว่ มกันสะทอ้ นผล (Reflecting)
จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน สรุปผล ประเมินผลร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา
อุปสรรคในการดำเนินงานและวางแผนในการแก้ไขปัญหา ร่วมกันสังเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นแนวทางใน

105ขนษิ ฐา นันทบุตร. บทสังเคราะห์ ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาระบบการทำงานของผู้ดูแล. สถาบนั วจิ ยั
และพฒั นาระบบบริการการพยาบาล, สภาการพยาบาล, สำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ, ๒๕๕๑.

216

การพัฒนาโครงการ/กิจกรรมในรอบปีต่อไป เพือ่ ให้ตรงเป้าหมายการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์
พนั ธุ์กลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี

ระยะที่ ๓ ประชุมสรปุ ผลการวิจยั และนำเสนอหน่วยงานพร้อมท้ังองค์ความรู้ท่ีได้จากการ

วจิ ยั (Focus Group) ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนุรักษ์พนั ธก์ุ ลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี ” ผู้ศึกษาดำเนนิ การ ดงั นี้ ๑ กลุ่มประชากร แบ่งเป็น ๒
กลุ่ม คือ ๑) กลุ่มประชากรที่เดินทางมาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี
ระหว่างเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ – กรกฎาคม ๒๕๖๓ ประมาณ ๑,๘๐๐ คน ๒) กลุ่มประชากร
ผู้ใหข้ ้อมูลสำคญั ที่มีความเก่ียวขอ้ งกับศนู ย์อนุรกั ษพ์ นั ธกุ์ ลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จำนวน ๑๕ คน

อภิปรายผล สรปุ ผลการวิจยั

๑ ปจั จยั สว่ นบุคคลของผู้มาเยยี่ มชมศูนย์ ฯ จากการศกึ ษา พบวา่ ส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง มี
อายุระหว่าง ๒๑-๓๐ ปี จบการศึกษาระดับระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่ ๑๕,๐๐๑-
๒๕,๐๐๐ บาท ประกอบอาชีพเป็นพนกั งานเอกชนทำธุรกิจส่วนตัว และมีถิ่นพำนักปจั จุบันอยู่ในภาค
กลาง

๒ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนามาตรฐาน
คุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มีค่าเฉล่ีย
ในภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ุด (X) = ๔.๒๖ คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน ๐.๓๖ เมื่อพจิ ารณาเป็นรายด้าน
พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์ฯ ด้านสภาพทั่วไปของศูนย์ฯ มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๗ รองลงมา ได้แก่ ด้านศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยมชม
ศูนย์ฯ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๕ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านศักยภาพการดึงดูดผู้มา
เย่ยี มชมศูนยฯ์ มคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั ๔.๐๗

๓ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้าน
บรกิ ารการพฒั นาศูนย์การเรียนรแู้ บบมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จงั หวดั สุพรรณบุรี พบว่า มี
ค่าเฉลี่ยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด(X) ๔.๒๕ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๔๑ เมื่อพิจารณาเป็นราย
ด้าน พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐาน
คุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังนี้ การพัฒนา
ด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๕ รองลงมา การ
พัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๒ ส่วนด้านที่มีลำดับ

217

ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาด้านการส่งเสริมการตลาด ณ ศูนย์การเรียนรู้ ฯ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
๔.๑๑

๔ ผลการทดสอบสมมตฐิ าน
สมมตฐิ านการวจิ ัยได้แก่ “กลยุทธก์ ารตลาดด้านการบริการ มคี วามสมั พันธ์กบั การพฒั นา
มาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรียนรแู้ บบมีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์พนั ธุ์กลว้ ย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี”โดยใช้
การวเิ คราะห์ทางสถิติค่าสัมประสิทธสิ์ หสมั พนั ธ์แบบเพียรส์ ัน
ผลการทดสอบ พบว่า กลยุทธ์การตลาดด้านการบริการการ มีความสัมพันธ์กับการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ใน
ทางบวกระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมี่ค่า r เท่ากับ ๐.๔๔๓ มีค่า Sig เท่ากับ
๐.๐๐ ซึ่งมีค่าน้อยกว่า ๐.๐๕ นั้นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (HO) และยอมรับสมมติฐานรอง (H๑)
หมายความว่า การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการบริการทั้ง ๗ ด้าน มีระดับความสัมพันธ์หรือมีผล
กับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี ๗ ด้าน ได้แก่ สภาพทั่วไปของศูนย์ฯ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ฯ บทบาทในการบริหาร
ศูนย์ฯ ศักยภาพการบริหารจัดการศูนย์ฯ ศักยภาพการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ศักยภาพการ
ให้บริการผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ฯ และศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมศูนยฯ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี
๐.๐๕ ซ่งึ สอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตัง้ ไว้
สามารถอธบิ ายไดว้ ่า กลยุทธ์การตลาดด้านบริการส่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานศูนย์
การเรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์พันธก์ุ ลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ใหม้ มี าตรฐานคณุ ภาพ

๕ ผลสรุปกลมุ่ ผู้ใหข้ ้อมลู สำคญั (Focus Group) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนามาตรฐาน
คุณภาพศนู ย์การเรยี นร้ฯู มผี ลการสรปุ ดงั น้ี

๑) การพฒั นาด้านผลิตภัณฑ์ ผู้ใหส้ ัมภาษณส์ ่วนใหญ่เห็นวา่ ควรพฒั นาผลิตภัณฑ์ตรงกับ
ความจำเป็นใช้สอย ดึงดูดผู้บริโภค มีประโยชน์ คุณค่าจริง ปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมตรง
กับความต้องการของผู้บริโภค ได้มาตรฐานสากลได้รับการรับรองจาก อย. มีเอกลักษณ์โดดเด่น มี
ความสะอาด ปลอดภยั ถูกสุขลกั ษณะ และมคี วามหลากหลาย ตอบสนองผู้บรโิ ภคไดอ้ ย่างเพยี งพอ

๒) การพัฒนาด้านราคา ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรกำหนดราคาให้เป็นสิ่งท่ี
น่าสนใจแก่ผู้บริโภค ราคาไม่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์เดียวกันตามท้องตลาด ราคา
พอประมาณเหมาะสมกับสินค้า เพราะการกำหนดราคาจะเป็นมาตรฐานที่บ่งบอกถึงคุณภาพของ
ผลติ ภัณฑน์ นั้ ๆ

๓) การพัฒนาด้านช่องทางให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรพัฒนาช่อง
ทางการให้บริการน่าสนใจ และเกิดความประทับใจให้แก่ผู้เยี่ยมชม มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์
สะอาดและปลอดภัย จุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์อยู่ในสถานที่ท่ีเหมาะสม และสะดวกแก่การซ้ือผลิตภัณฑ์

218

มีการวางระบบกลุ่มหรือประเภทของสินค้า เหมาะแก่การจับจ่าย ซื้อ - ขาย รวมถึงขนาดของพื้นที่
สามารถให้บริการแก่ผู้บริโภคได้อย่างเพียงพอ และควรเพิ่มเก้าอี้ ม้านั่งให้เพียงพอกับจำนวนผู้มา
เย่ียมชม

๔) การพัฒนาด้านการสง่ เสริมการตลาด ผใู้ หส้ ัมภาษณ์สว่ นใหญเ่ ห็นวา่ การประชาสมั พันธ์
ควรดำเนินการอยา่ งกว้างขวาง การประชาสมั พันธผ์ ่านสื่อมัลตมิ ีเดีย เชน่ เวบ็ ไซต์ เพจต่าง ๆ เฟสบุ๊ค
มีการส่งเสริมโดยการผ่านสถาบันทางการศึกษา และมีการดำเนินการผา่ นชมรม หรือศูนย์การเกษตร
ตา่ ง ๆ ดำเนนิ การผ่านศูนย์อนุรกั ษพ์ ันธุ์กลว้ ยสพุ รรณบุรี ภูมปิ ญั ญา ปราชญ์ชาวบ้าน มีการดำเนนิ การ
เพิ่มแหล่งการเรียนรู้ให้มีมากขึ้นโดยผ่านชมรม เครือข่ายต่าง ๆ และมีการทำงานร่วมกันในทุก
หนว่ ยงาน

๕) การพัฒนาด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่าควรพัฒนา
เจ้าหน้าที่ให้มีหัวใจใฝ่บริการ รักงานบริการ มีการอบรมให้ความรู้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ท่ี
รับผิดชอบโดยตรง บุคลากรมีความรู้ความสามารถ บริการด้วยมิตรไมตรี ควรให้บริการผู้เยี่ยมชม
อย่างทั่วถึง มีหลักการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ กาย วาจา ใจ มีวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ฯ
หรือนักวิชาการเกษตร เพื่อให้บริการข้อมูลความรู้ที่ถกู ต้องแก่ผู้เยี่ยมชม ควรจะมีรูปแบบการแต่งตวั
ไปในทิศทางเดียวกัน ควรให้บริการด้วยความสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส และควรจะมีวิทยากรหลัก และ
วทิ ยากรรองสลับกัน

๖) การพัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่
เห็นว่า ควรมีการสร้างความโดดเด่นให้เป็นแหล่งการเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยที่ชัดเจน มี
เอกลักษณ์ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ ให้มีพื้นที่กว้างขวาง เป็นระเบียบ
สะดวก ปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์และเพียงพอต่อความต้องการของผู้ท่ี
เข้ามาเยี่ยมชม เช่น ที่นั่ง ที่จอดรถ ห้องน้ำ ถังขยะ รวมถึงร้านอาหารและเครื่องดื่มที่อำนวยความ
สะดวก ควรมีแบบและภาพประกอบการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา โดยอ้างอ้างถึง
แหลง่ กำเนดิ หรอื แหล่งที่มาของพนั ธ์ุกล้วย ตา่ ง ๆ และควรเพิม่ จำนวนหอ้ งน้ำ จัดระเบียบ กำหนดจุด
ตำแหน่งที่วางถังขยะเปน็ จุด ๆ ตามความเหมาะสม

๗) การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า เมื่อมีผู้เยี่ยมชม
เขา้ มาใชบ้ ริการแลว้ จะต้องมีข้ันตอนในการให้บริการ ควรมกี ารอำนวยความสะดวกแก่ผู้ท่ีมาเย่ียมชม
ศูนย์ฯอย่างเหมาะสม มีการประชาสัมพันธ์ให้คำแนะนำให้ความรู้แก่ผู้ที่เข้ามาเย่ียมชมด้วยมิตรไมตรี
เป็นกัลยาณมิตร รวมถึงความเป็นระเบียบ และปลอดภัยในและภายนอกศูนย์การเรียนรู้ฯ มีความ
ทันสมยั และมคี วามพร้อมของระบบเทคโนโลยี เชน่ เทคโนโลยที ่ีใชเ้ พ่ือจัดการแสดงในศูนย์การเรียนรู้
ฯ ฟรีไวไฟ มีอินเตอร์เน็ต มีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม มีพื้นที่เพียงพอในการรองรับผู้
เขา้ เยีย่ มชมศูนยฯ์

219

อภิปรายผล

๑) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ในการอนรุ ักษพ์ ันธ์กุ ล้วย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ผลการศึกษา พบวา่ มีค่าเฉลยี่ ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก
ที่สุด (X) = ๔.๒๖ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๓๖ สอดคล้องกับองค์ประกอบของมาตรฐานคุณภาพ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ มีศักยภาพการบริหารจัดการศูนย์ฯ มีโครงสร้างการบริหารจัดการ
ศูนย์ฯ มีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศูนย์ฯ มีศักยภาพการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ
อย่างเพียงพอ มีศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ เช่นการให้ความรู้เรื่องกล้วย และมี
ศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯเช่น มีการเรียนรู้วิถีชีวิตหรือร่วมกิจกรรมกับเกาตร และ
สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
ประกอบดว้ ย ๑) เป็นเกษตรกรตน้ แบบ เป็นแหล่งเรยี นรู้และประสบผลสำเร็จในการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ
การผลิตทางการเกษตร ที่สามารถเป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรรายอื่น ๆ ในชุมชน ๒) มีแปลงสาธิต
การเรียนรู้ เป็นแปลงต้นแบบที่ดำเนินการเพิ่มผลผลิตสินค้าเกษตร ((ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และ
พัฒนาคุณภาพผลผลิต ๓) มีหลักสูตรการเรียนรู้ โดยศูนย์ได้จัดทำหลักสูตรและแผนการเรียนรู้ โดย
เนน้ ประเดน็ หลกั ในการอนรุ ักษ์ การเพ่ิมผลผลติ เปน็ หลักสูตรท่เี น้นกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
และต่อเนื่องตลอดฤดูการผลิต และ ๔) จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้.การขยายพันธ์ุกล้วย การดูแล
บำรงุ รักษากลว้ ย การเกบ็ ผลกล้วย การแปรรปู กล้วยเพื่อการบริโภค การบรรจุผลิตภัณฑ์จากการแปร
รปู กล้วย

๒) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่มีผลต่อการพัฒนาศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ มีมาตรฐานคุณภาพ ผล
การศกึ ษาพบว่า มคี ่าเฉลย่ี ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด (X) = ๔.๒๕ คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน ๐.๔๑
สอดคล้องกับผลการวิจัยของ มณี ชินรงค์ และคณะ เรื่อง การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการ
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวมีระดับความคิดเห็นต่อการพัฒนากล
ยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.24
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านช่องทางให้บริการ ณ แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์มีความ
คิดเห็นในลำดับสูงสุด เฉลี่ย 4.38 และความคิดเห็นที่มีต่อมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวัติศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ เฉลี่ย 4.25 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า คุณภาพการ
ยอมรับแหลง่ ท่องเที่ยวทางประวตั ศิ าสตร์มคี วามคิดเห็นในลำดับสูงสุด เฉลี่ย 4.29 และสอดคล้องกบั
ผลการวิจยั ของ Krittika Sainaratchai ทำวิจัยเรอ่ื ง แนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของ
ที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของทีร่ ะลึกสำหรับ
นักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ ด้านราคา ด้านช่องทางและ

220

สถานที่จัดจำหน่าย ด้านบุคลากร และด้านผลิตภัณฑ์ ส่วนด้านการส่งเสรมิ การตลาดอยู่ในระดับปาน
กลาง

๓) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการ
พัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลการศึกษาสอดคล้องกับงานวิจัยของ มณี ชินรงค์ และคณะ เรื่อง การพัฒนากลยุทธก์ ารตลาดด้าน
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ พบว่า ความสัมพันธ์การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยว
เชิงประวัติศาสตร์ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีระดับความสัมพันธ์ในระดับสูง และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกันกับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ โดยมี่ค่า r เท่ากบั
0.950 มคี า่ Sig เท่ากับ 0.00 ซ่ึงมีค่า Sig < 0.05 สอดคล้องกับสมมติฐานท่ีต้ังไว้ สามารถอธบิ ายไดว้ า่
การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวัติศาสตร์มีมาตรฐานคุณภาพ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐนนท์ โชครัศมีศิริ เรื่อง ปัจจัย
สว่ นผสมทางการตลาดทม่ี คี วามสมั พันธต์ อ่ ความจงรกั ภักดขี องผบู้ ริโภคในการเลทอกใชบ้ รกิ ารโรงแรม
ราคาประหยัด ในอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ตั้ง ด้าน
ลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับความจงรักภักดีในการเลือกใช้บริการ
โรงแรมราคาประหยดั ในอำเภอเมอื ง จังหวัดนครปฐมอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั ๐.๐๕
องคค์ วามรู้ท่ีไดจ้ ากการวิจยั

จากผลการศึกษา งานวจิ ยั เรอื่ ง การพฒั นาศูนย์การเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์
พนั ธุ์กล้วย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มีองค์ความรู้เกดิ ขน้ึ ในหลายมิติ สามารถสรุปไดใ้ น ๓ ดา้ น

๑) ด้านกลยุทธก์ ารตลาดด้านบริการ หรือส่วนประสมทางการตลาดด้านบรกิ าร มีทัง้ หมด
๗ ด้าน

๒) มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตร มีการกำหนดเกณฑ์ไว้ ๔ ประการ แตล่ ะ
เกณฑ์จะมีองค์ประกอบและตัวชี้วดั มาตรฐานคุณภาพ

๓) กรอบการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรยี นรูแ้ บบมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์พันธุ์
กลว้ ย จังหวัดสุพรรณบรุ ี

สรปุ ผลการวจิ ัยไดว้ า่
๑ ผลการวเิ คราะห์ปจั จัยส่วนบคุ คลของผู้มาเยีย่ มชมศูนยฯ์ ๒ ผลการวิเคราะห์

ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุก์ ล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ๓ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผ้มู า
เยี่ยมชมศูนย์ฯที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านบริการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนรุ กั ษพ์ ันธกุ์ ลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี ๔ ผลการทดสอบสมมตฐิ าน “กลยุทธก์ ารตลาดด้านการบริการ
มีความสัมพันธ์กับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์

221

กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี” ๕ ผลสรุปกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Focus Group) เสนอแนะแนวทางใน
การพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนยก์ ารเรยี นรูฯ้

เอกสารอา้ งองิ

กมลวรรณ ตังธนกานนท์. ระเบียบวิธีสถิติทางการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, ๒๕๕๘).

ภัทราพร อาวัชนาการ, ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน ในเขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะ
พาณชิ ยศาสตร์และการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, 2558 :

ยิ่งลกั ษณ์ กาญจนฤกษแ์ ละคณะ, รายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ,์ โครงการ “การยกระดบั ความยัง่ ยนื ทาง
การเกษตรของเกษตรรายยอ่ ย อ.แจห้ ่ม จ.ลำปาง, 2560

กรมการท่องเที่ยว. คู่มือการประเมินมาตรฐานการท่องเท่ียวเชิงเกษตร. (สำนักพฒั นาแหล่ง
ท่องเทีย่ ว : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.๒๕๕๓),

ขนษิ ฐา นันทบุตร. บทสังเคราะห์ ขอ้ เสนอเพือ่ การพฒั นาระบบการทำงานของผู้ดูแล. สถาบันวิจยั
และพฒั นาระบบบริการการพยาบาล, สภาการพยาบาล, สำนักงานหลกั ประกันสุขภาพ
แหง่ ชาติ, ๒๕๕๑.

นคิ ม วงศน์ ันตา, วทิ ยา เจรญิ อรณุ รตั น์, รายงานผลโครงการวชิ าการ เรอ่ื งเรยี นรู้การอนรุ ักษ?์ และ
รวบรวมพนั ธุ์กลว้ ย, สำนักวจิ ัยและส่งเสรมิ วชิ าการเกษตร, มหาวทิ ยาลยั แม่โจ,้ ๒๕๕๗,.

สุพรรณี ไชยอําพร, คมพล สุวรรณกูฏ, รายงานฉบับสมบูรณ์ การศกึ ษาศูนย์การเรยี นร้ดู า้ นการ
พฒั นาสังคมและสวัสดิการระดบั ชุมชน: กรณศี กึ ษาชุมชนแม่ระกา ตำบลแมร่ ะกา อำเภอ
วังทอง จังหวัดพิษณโุ ลก,๒๕๕๐ .

ฬิฏา สมบรู ณ,์ วิจัยเชงิ ปฏิบัตกิ าร(4) [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก https://www.
gotoknow.org/posts/34875 สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.

222

ภาคผนวก ข

กิจกรรมทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการนำผลจากโครงการไปใช้ประโยชน์

กิจกรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การนำผลจากโครงการวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์

223

1. การใช้ประโยชนด์ ้านโยบาย

จากผลการศึกษา งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนรุ ักษพ์ นั ธกุ์ ลว้ ย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี มีองคค์ วามรูเ้ กิดขน้ึ ในหลายมิติ สามารถสรปุ ไดใ้ น ๑) หนว่ ยงาน
ที่เกี่ยวข้องในจังหวัดสุพรรณบุรี เช่น สำนักงานท่องเที่ยวและการกีฬาจังหวัด เกษตรจังหวัด ห รือ
พัฒนาชุมชน ศูนย์สนิ ค้าโอท๊อปหรอื กลุ่มวสิ าหกิจชุมชน ควรร่วมมือกบั ศนู ย์อนรุ กั ษพ์ ันธุก์ ล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี เพื่อพัฒนาต่อยอดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้เป็นศูนย์
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร จำหน่ายสินค้าการเกษตร เป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนเกิดความมั่นคง
ในชีวิต เป็นวิธีการของกลยุทธ์ทางการตลาด ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายสินค้ามีความม่ัง
คั่ง เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่จากฐานเกษตร ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี
คณุ ค่าอยูแ่ ลว้ ทำให้เกดิ ผลิตภัณฑใ์ หมม่ คี ุณคา่ สงู ขน้ึ นำไปสูค่ วามย่ังยืน

๒) ศูนย์อนุรักษ์พันธ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ควรจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ฯ เพื่อ
ส่งเสริมบทบาทของศูนยฯ์ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางการปลูก ขยาย รักษาพันธุ์กล้วย ให้เกิดความมั่นคง
ทางอาหาร ขยายฐานการผลิต และรับเป็นศูนย์กลางตัวแทนจำหน่ายผลผลิตจากกล้วย สินค้า
การเกษตรอน่ื ๆ เปน็ การเพม่ิ ชอ่ งทางการจำหน่ายและสนิ คา้ ถึงมือผูบ้ ริโภคโดดตรง

2. การใช้ประโยชน์ดา้ นสาธารณะ
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี ด้านโครงสร้าง และบทบาทในการบริหารจัดการศูนย์ฯ เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญสูงสุด
รองลงมา ได้แก่ ดา้ นสภาพทัว่ ไปของศนู ยฯ์ ส่วนด้านทม่ี ีลำดบั ความสำคญั ต่ำสดุ ได้แก่ ดา้ นศักยภาพ
การดึงดูดผมู้ าเยีย่ มชมศนู ยฯ์ สร้างความโดดเดน่

-ด้านเทคโนโลยกี ารเกษตร

-ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ

-ความหลากหลายของผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร

-และหลากหลายของกิจกรรมในศูนย์ สามารถนำความรู้จากงานวิจัยไปใช้ในวงกว้างเพอ่ื
ประโยชน์ของสังคม และประชาชนทั่วไป ให้มีความรู้ความเข้าใจ เกิดความตระหนักในการ รู้คุณ-
โทษ ต่อสังคมประเทศชาติ- เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชน สร้างสังคมคุณภาพ และส่งเสริม
คุณภาพสงิ่ แวดลอ้ ม

3. การใช้ประโยชน์ดา้ นพาณชิ ย์

4. การใชป้ ระโยชน์ดา้ นชุมชนและพ้ืนท่ี

ผลสรปุ คุณภาพศูนย์การเรียนร้ฯู มีผลการสรปุ ดังนี้

224

๑) การพฒั นาด้านผลติ ภัณฑ์ ผู้ให้สมั ภาษณส์ ว่ นใหญเ่ ห็นว่า ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ตรงกับความจำเปน็
ใชส้ อย ดงึ ดูดผบู้ ริโภค มปี ระโยชน์ คณุ คา่ จริง ปลอดภัยต่อสุขภาพและส่งิ แวดล้อมตรงกับความ
ต้องการของผ้บู รโิ ภค ได้มาตรฐานสากลไดร้ บั การรับรองจาก อย. มีเอกลกั ษณ์โดดเด่น มีความสะอาด
ปลอดภัย ถูกสขุ ลกั ษณะ และมคี วามหลากหลาย ตอบสนองผ้บู ริโภคได้อย่างเพยี งพอ ๒) มกี ารพัฒนา
ดา้ นราคา กำหนดราคาใหเ้ ป็นส่งิ ทน่ี ่าสนใจแก่ผู้บริโภค ราคาไมส่ ูงมากนัก เมื่อเทียบกับผลติ ภณั ฑ์
ดียวกนั ตามท้องตลาด ราคาพอประมาณเหมาะสมกับ ๓) มีการพฒั นาดา้ นช่องทางให้บรกิ าร พัฒนา
ช่องทางการให้บริการน่าสนใจ และเกิดความประทบั ใจให้แก่ผเู้ ย่ยี มชม มีความโดดเดน่ มีเอกลักษณ์
สะอาดและปลอดภัย จดุ จำหน่ายผลติ ภณั ฑอ์ ยใู่ นสถานทีท่ ่ีเหมาะสม และสะดวกแก่การซื้อผลติ ภัณฑ์
มีการวางระบบกลมุ่ หรือประเภทของสนิ ค้า เหมาะแก่การจับจา่ ย ซ้อื - ขาย รวมถึงขนาดของพน้ื ท่ี
สามารถให้บรกิ ารแก่ผู้บรโิ ภคไดอ้ ยา่ ง ๔) พฒั นาดา้ นการส่งเสริมการตลาด เช่น เวบ็ ไซต์ เพจตา่ ง ๆ
เฟสบุ๊ค มีการสง่ เสริมโดยการผา่ นสถาบันทางการศกึ ษา และมกี ารดำเนนิ การผ่านชมรม หรือศูนย์
การเกษตรต่าง ๆ ดำเนินการผ่านศูนยอ์ นุรักษพ์ ันธุ์กล้วยสพุ รรณบุรี ภูมิปญั ญา ปราชญ์ชาวบ้าน มกี าร
ดำเนินการเพิ่มแหลง่ การเรยี นรใู้ ห้มมี ากข้ึนโดยผ่านชมรม เครอื ขา่ ยต่าง ๆ และมกี ารทำงานรว่ มกนั ใน
ทกุ หนว่ ยงาน

5. การใช้ประโยชนด์ ้านวชิ าการ

ผลจากการงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี สามารถนำองค์ความรู้จากผลงานวิจัยท่ีจะตีพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ระดับชาติ ไปเป็นประโยชน์ด้านวิชาการ การเรียนรู้ การ
เรียนการสอนในสถานศึกษา ในวงนักวิชาการและผู้สนใจด้านวิชาการ รวมถึงการนำผลงานวิจัยไป
วิจัยต่อยอด หรือการนำไปสู่ product และ process ไปใช้ในการเสริมสร้างการพัฒนารูปแบบการ
พฒั นาการเรียนรู้ ศนู ยอ์ นุรกั ษ์พันธ์ุกลว้ ยและการท่องเท่ียว เป็นนวัตกรรมใหม่ แบบย่ังยืน โดยมีคู่มือ
นำมาเป็นรปู แบบนำมาใช้จรงิ ไดต้ อ่ ไป

225

ภาคผนวก ค

ตารางเปรียบเทียบวัตถปุ ระสงค์ กิจกรรมท่ีวางแผนไว้ และกิจกรรมที่ไดด้ ำเนนิ การมา
แลผลท่ไี ดร้ บั ของโครงการ

226

ตารางเปรยี บเทยี บวตั ถุประสงค์ กิจกรรมที่วางแผนไวแ้ ละกจิ กรรมที่ไดด้ ำเนนิ การมาและผลทีไ่ ด้
จากการวิจัย

วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั กจิ กรรมท่ีวางแผนไว้ กิจกรรมทไ่ี ด้ ผลทไี่ ด้จากการวจิ ัย
เพื่อ ดำเนินการ

๑) เพื่อศึกษาการ ๓.๑.๑ การวิจัยเรื่อง “การพัฒนา ๑) ผู้วิจัยมีการเก็บ สรุปผลการวจิ ัย

พัฒนามาตรฐาน ศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ รวบรวมข้อมูลจาก ๕.๑.๑ ปัจจัยส่วน
คุณภาพศูนย์การ อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ” หนังสือ บทความ บุคคลของผู้มาเยี่ยม
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ ( Action งานวิจัย และ ชมศูนย์ ฯ จาก
ในการอนุรักษ์พันธ์ุ Research) ร่วมกับการวิจัยแบบผสาน เอกสารส่งิ พมิ พ์ กา ร ศ ึ กษา พบ ว่า
ก ล ้ ว ย จ ั ง ห วั ด ว ิ ธ ี ( Mixed Methods Research) ส่วนใหญ่เป็นเพศ
สุพรรณบรุ ี ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ หญิง มีอายุระหว่าง
(Quantitative Research) กับการวิจัย แนวทางการพัฒนา ๒๑-๓๐ ปี จบ
๒) เพื่อศึกษากลยุทธ์ เชิงคุณภาพ ทำการเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม โครงการรักษาศีล ๕ ก า ร ศ ึ ก ษ า ร ะ ดั บ
การตลาดด้านบริการ (Field Study) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ ที่ดำเนินการโดย ระดับปริญญาตรี มี
ที่มีผลต่อการพัฒนา เจาะจงจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key โรงเรียนมัธยมศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
ศูนย์การเรียนรู้แบบมี Informants) ที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ฯ โดย อำเภอบางปลาม้า ตั้งแต่ ๑๕ ,๐๐๑-
ส่วนร่วมในการ ใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ๒ ๕ ,๐ ๐ ๐ บ า ท
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย

227

จังหวัดสุพรรณบุรี ให้ Interview) เป็นแกน และเลือกสุ่มจาก ๒) ผู้วิจัยได้สร้าง ประกอบอาชีพเป็น

มีมาตรฐานคุณภาพ กลุ่มประชากรที่มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์ แบบสอบถาม และ พนักงานเอกชนทำ

๓) เพื่อศึกษา พันธุ์กล้วย ใช้แบบสอบถาม ขอหนังสืออนุญาต ธุรกิจส่วนตัว และมี
ความสัมพันธ์ระหว่าง (Questionnaire) เป็นข้อมูลสนับสนุน เก็บรวบรวมข้อมูล ถิ่นพำนักปัจจุบันอยู่
กลยุทธ์การตลาดด้าน ผู้วิจัยได้กำหนดขั้นตอนการดำเนินการ จากผู้อำนวยการ ในภาคกลาง
บริการกับการพัฒนา วิจยั ตามลำดับ ดังนี้ หลักสูตรพทุ ธศาสตร์
มาตรฐานคุณภาพ ม ห า บ ั ณ ฑิ ต ๕.๑.๒ ผลการ
ศูนย์การเรียนรู้แบบมี ๑) ศึกษาหลักการ แนวคิดทฤษฎี สาขาวิชาการจัดการ วิเคราะห์ระดับความ
ส่วนร่วมในการ ระเบยี บ และผลงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง เชิงพุทธ คิดเห็นของผู้มาเยีย่ ม
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย มหาวิทยาลัยมหา ชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการ
จงั หวดั สพุ รรณบุรี ๒) กำหนดกรอบแนวคิด หัวข้อ จุฬาลงกรณราช พัฒนามาตรฐาน
ปญั หา และวตั ถปุ ระสงค์ในการวจิ ัย วิทยาลัย เพื่อขอ คุณภาพศูนย์การ
ความร่วมมือไปยัง เรยี นรู้แบบมสี ่วนรว่ ม
๓) กำหนดกลุ่มประชากร และกลุ่ม ผู้อำนวยการ ในการอนุรักษ์พันธุ์
ตวั อย่างท่ใี ช้ในการวิจัย สถานศึกษา อำเภอ ก ล ้ ว ย จ ั ง ห วั ด
บางปลาม้า จังหวัด สุพรรณบุรี พบว่า มี
๔) สร้างเครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูล สุพรรณบุรี ที่เป็น ค่าเฉลี่ยในภาพรวม
การวิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการ กลุ่มตัวอย่าง อยู่ในระดับมากที่สุด
บริหารศูนย์ฯ ด้านการตลาดและการ จากนั้นดำเนินการ ( X) = ๔ . ๒ ๖ ค่ า
อนุรกั ษพ์ นั ธุก์ ลว้ ย เก็บรวบรวมขอ้ มูล เบี่ยงเบนมาตรฐาน
๐.๓๖ เมื่อพิจารณา
๕) นำเครื่องมือเสนอผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบเพื่อปรับปรงุ แก้ไขให้สมบูรณ์ ๓) ผู้วิจัยกำหนด เป็นรายด้านพบว่า

๖) ทดสอบเครื่องมือกบั กลุ่มตวั อย่าง วิธีการเก็บรวบรวม ระดับความคิดเห็นท่ี
ที่ไม่ใช่กลุ่มตวั อย่างที่ใช้ในการวิจยั (Try ข้อมูลโดยทำการ ม ี ต ่ อ ก า ร พ ั ฒ น า
out) แจกแบบสอบถาม มาตรฐานคุณภาพ

๗) ดำเนินการสัมภาษณ์ และส่ง ซ ึ ่ ง ผ ู ้ ว ิ จ ั ย ไ ด ้ น ำ ศูนย์ฯ ด้านสภาพ
แบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง จัดเก็บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ไ ป ทั่วไปของศูนย์ฯ มี
แ จ ก แ ล ะ เ ก็ บ ค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับ
รวบรวมขอ้ มูล
รวบรวมข้อมูลด้วย สูงสุดเท่ากับ ๔.๓๗
๘) วเิ คราะห์ข้อมลู และแปลผลขอ้ มูล ตัวเองพร้อมผู้ช่วย รองลงมา ได้แก่ ด้าน

๙) สรุปผลการศึกษา จัดทำเป็นแนว การวิจัย ระหว่าง ศ ั ก ย ภ า พ ก า ร
ทางการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมี วันท่ี ให้บริการแก่ผู้มา

ส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ๓๐ มกราคม พ.ศ. เยี่ยมชมศูนย์ฯ มี
จังหวัดสุพรรณบรุ ี ๒ ๕ ๖ ๒ –๕ คา่ เฉล่ยี เทา่ กับ ๔.๓๕
กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ส่วนด้านที่มีลำดับ
ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่

228

๓.๑.๒ งานวิจัยฉบับนี้ใช้รูปแบบการ รวมใช้ระยะเวลา ๑ ด้านศักยภาพการ

วิจัยวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นหลัก ตาม สัปดาห์ ซึ่งจำนวน ดึงดูดผู้มาเยี่ยมชม

กรอบแนวคิดของคิดของ เลวิน ซึ่ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม ท่ี ศูนย์ฯ มีค่าเฉลี่ย

Kemmis and McTaggart ได้นำแนวคดิ สามารถเก็บคืนได้มี เท่ากับ ๔.๐๗

ของเลวินมาพัฒนาเป็นการวิจั ย ส ภ า พ ส ม บ ู ร ณ์ ๕.๑.๓ ผลการ
ปฏิบัติการแบบบันไดเวียน แบ่งการวิจยั สามารถนำมา วิเคราะห์ระดับความ
ออกเปน็ ๓ ระยะ คือ ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ข้ อมู ล คิดเห็นของผู้มาเยีย่ ม
ต่อไป ชมศูนย์ฯที่มีต่อกล
๑) ระยะเตรียมการ (Pre-Research

Phase) มีกิจกรรมประกอบดว้ ย ๔) นำข้อมูลที่ได้ไป ยุทธ์การตลาดด้าน

(๑) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของศูนย์ วิเคราะห์และ บ ร ิ ก า ร ก า ร พั ฒ น า
การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ประมวลผลโดยใช้ ศูนย์การเรียนรู้แบบ
ดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของชุมชนใน โปรแกรมสำเร็จรูป มีส่วนร่วมในการ
จังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูลจากหน่วยงาน เพื่อการวิจัยทาง อนุรักษ์พันธุ์กล้วย
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สงั คมศาสตรต์ อ่ ไป จังหวัดสุพรรณบุรี
พบว่า มีค่าเฉล่ีย

(๒) ประสานงานกับชุมชนในพื้นท่ี ภาพรวมอยู่ในระดับ

ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคเี ครอื ข่าย ในการวิจัยครั้งนี้ มากที่สุด(X) ๔.๒๕

รวมทั้งคณะสงฆ์พระสังฆาธิการใน ผู้วิจัยได้ดำเนินการ ค ่ า เ บ ี ่ ย ง เ บ น

จ ั ง ห ว ั ด ส ุ พ ร ร ณ บ ุ ร ี เ ข ้ า ร ่ ว ม ใน เก็บรวบรวมข้อมูลมี มาตรฐาน ๐.๔๑ เมื่อ

โครงการวจิ ัยและชี้แจงวัตถุประสงค์การ ขั้นตอน ดงั น้ี พิจารณาเป็นราย

จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์ ๑) การเก็บข้อมูล ด้าน พบว่า ระดับ
พันธุ์กล้วยและวิธีการดำเนินงานให้ทุก ปฐมภูมิ (primary ความคิดเห็นที่มีต่อ
ฝ่ายรบั รู้ data) เ ป ็ น ข ้ อมู ล กลยทุ ธท์ างการตลาด
ด้านการบริการ ใน
(๓) สร้างสัมพันธภาพกับชุมชนต่างๆ จากการสัมภาษณ์ การพัฒนามาตรฐาน
เพื่อสร้างความคุ้นเคย และสร้างการ เชิงลึก เครื่องมอื ท่ใี ช้ คุณภาพศูนย์การ
ร่วมมือในการดำเนินงานวิจัยที่จะมีขึ้น ในการเกบ็ ขอ้ มลู คือ เรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วม
โดยการเข้าไปพบปะ พูด คุย และ แบบสัมภาษณ์เชิง ในการอนุรักษ์พันธุ์
ปรกึ ษาหารอื อย่างไม่เปน็ ทางการ ลึกที่มีโครงสร้าง กลว้ ย เรยี งตามลำดบั

(๔) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ที่ เป็นการสัมภาษณ์ ได้ ดังนี้ การพัฒนา
จำเปน็ ตอ้ งใชใ้ นโครงการวจิ ัยใหเ้ พียงพอ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่มี ด้านภาพลักษณ์และ
ส ่ ว น เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง กั บ การนำเสนอลักษณะ

๒) ระยะดำเนินการวิจัย (Research การโครงการรักษา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับ
Phase) ผู้วิจัยประยุกต์ใช้กระบวนการมี ศีล ๕ ที่ดำเนินการ สูงสุดเท่ากับ ๔.๓๕
โดยโรงเรียนระดับ รองลงมา การพัฒนา

229

ส่วนร่วมของชุมชน เป็น ๔ ขั้นตอน มัธยมศึกษา อำเภอ ด้านกระบวนการ

ดังนี้ บางปลาม้า จังหวัด ให้บริการ ณ ศูนย์

ขั้นตอนที่ ๑ ร่วมกันวางแผน สุพรรณบรุ ี การเรียนรู้ มีค่าเฉล่ีย
(Planning) จัดประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารโดย เท่ากับ ๔.๓๒ ส่วน
มกี ระบวนการ ดงั น้ี ๒) การเก็บข้อมูล ด ้ า น ท่ี ม ี ล ำ ดั บ
ท ุ ต ิ ย ภ ู มิ ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่
(๑) กระบวนการหาและใช้ทุนทาง ( Secondary data) การพัฒนาด้านการ
สังคมในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และ ที่ได้จากการศึกษา ส่งเสริมการตลาด ณ
การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด จากเอกสารรายงาน ศูนย์การเรียนรู้ ฯ มี
สพุ รรณบรุ ี วเิ คราะหค์ วามเปน็ ไปไดท้ ่ีจะ ผลการดำเนินงาน ค่าเฉลี่ยเทา่ กบั ๔.๑๑
จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการการ จากโครงการรักษา
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย โดยศึกษาบริบทของ ศีล ๕ ที่ดำเนินการ
พื้นที่ ข้อมูลประชากร ศึกษาแผนงาน โดยโรงเรียนระดับ
ศกึ ษาทรพั ยากรการบริหารจดั การศูนย์ฯ มัธยมศึกษา อำเภอ
และคณุ ภาพดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม บางปลาม้า จังหวัด
สุพรรณบุรี

(๒) กระบวนการศึกษาปัญหาความ ๓) ขอหนังสือจาก
ต้องการของชุมชน ในการพัฒนาให้เป็น ผู้อำนวยการ
ศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์ หลักสูตรพทุ ธศาสตร
กล้วย วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ กิจกรรม ม ห า บ ั ณ ฑิ ต
ที่ใช้แก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย สาขาวิชาการจัดการ
วางแผน ดำเนินงานร่วมกัน ปรบั ทศั นคติ เชิงพุทธ
วธิ ีคดิ และการพฒั นาศกั ยภาพของบคุ คล มหาวิทยาลัยมหา

(๓) กระบวนการออกแบบกิจกรรม จุฬาลงกรณราช
ของศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พนั ธ์ุ วิทยาลัย ถึงผู้ให้
กล้วย โดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง สร้าง ข้อมูลสำคัญ (Key
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม Informant) เพื่อขอ
และจัดกิจกรรมในการเรียนรู้ การ ความอนุเคราะห์ใน
อนุรักษ์ การจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ การให้สัมภาษณ์

การเกษตร ๔) ทำการนัดวัน

ขนั้ ตอนท่ี ๒ ร่วมกนั ปฏบิ ัติ (Acting) เวลา และสถานทกี่ บั
ผ ู ้ ใ ห ้ ข ้ อ ม ู ล ส ำ คั ญ

นำแผนจากขั้นตอนที่ ๑ ไปสู่การ ( Key Informant)
ปฏบิ ัติตามแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรม

ตามกิจกรรมหลกั ๔ กจิ กรรม ได้แก่

230

(๑) กิจกรรมการพัฒนาศูนย์การ เพื่อสัมภาษณ์ตามท่ี
เรยี นรู้ กำหนดไว้

(๒) กจิ กรรมการอนรุ ักษพ์ ันธ์กุ ลว้ ย ๕ ) ด ำ เ น ิ น ก า ร

(๓) กิจกรรมการตลาดด้านบริการ ส ั ม ภ า ษ ณ ์ ต า ม วั น
เวลาและสถานที่ที่

ขั้นตอนที่ ๓ ร่ วมกันสังเกตผล กำหนดนัดไว้ จน

( Observing) แ ล ะ ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ก า ร ครบทุกประเด็น โดย

ปฏิบัติงานตามแผนงาน มีการแต่งตั้ง ขออนุญาตใช้วิธีการ

คณะกรรมการการนิเทศ ติดตาม จดบันทึกและการ

ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน บ ั น ท ึ ก เ ส ี ย ง

โครงการ กิจกรรม และสนับสนุนการ ป ร ะ ก อ บ ก า ร

ดำเนินงานดา้ นวชิ าการ ด้านการอนุรักษ์ สมั ภาษณ์

พันธุก์ ล้วย และการตลาดดา้ นบรกิ าร ๖) นำข้อมูลดิบท่ี

ขั้นตอนที่ ๔ ร่วมกันสะท้อนผล ได้มารวบรวมเพ่ือ

(Reflecting) วิเคราะห์โดยวิธีการ

ที่เหมาะสมและ
จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอด นำเสนอต่อไป
บทเรียน สรุปผล ประเมินผลร่วมกัน

วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคในการ

ดำเนินงานและวางแผนในการแก้ไข

ปัญหา ร่วมกันสังเคราะห์ข้อมูล สรุป

เป็นแนวทางในการพัฒนาโครงการ/

กิจกรรมในรอบปีต่อไป เพื่อให้ตรง

เป้าหมายการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และ

การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด

สพุ รรณบรุ ี

231

ภาคผนวก ง

- เคร่อื งมอื วิจัย (แบบสอบถาม)
- แบบยินยอมเขา้ รว่ มโครงการฯ
- หนงั สือเชญิ
- ผทู้ รงคณุ ทางวิชาการ

แนวประเดน็ การสัมภาษณ์ (Interview Guild)

232

เรือ่ ง : การพัฒนาศนู ยก์ ารเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ์ ลว้ ย จังหวดั
สพุ รรณบุรี

แนวประเดน็ การสัมภาษณป์ ระกอบไปดว้ ยชุดคำถาม ๔ ส่วน ประกอบด้วย
ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พื้นฐานทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
สว่ นที่ ๒ บทบาท/สภาพการบรหิ ารศนู ย์การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษพ์ ันธุ์
กลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี
สว่ นที่ ๓ กลยทุ ธ์การตลาดดา้ นบริการ “ศนู ย์การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์
พันธุก์ ล้วย จงั หวดั สุพรรณบุรี”
ส่วนที่ ๔ ปญั หาและขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ

............................................................

ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พ้ืนฐานท่วั ไปของผใู้ หข้ ้อมูลสำคญั (สำหรับคณะกรรมการบริหาร
ศนู ย์ฯ)

๑.๑ ชอื่ ……………….นามสกุล.................................เพศ............................
๑.๒ อายุ............................
๑.๓ สถานภาพสมรส..................
๑.๔ ศาสนา...................
๑.๕ สถานภาพทางสังคม...............................
๑.๖ ระดบั การศกึ ษา...............................
๑.๗ อาชพี หลกั .............................................
๑.๘ ระยะเวลาทอี่ ยูใ่ นชมุ ชน/เวลาที่รบั ราชการอยู่ในพน้ื ทีท่ ่ีรับผิดชอบชมุ ชน
................................. ……………………………………………………..
๑.๙ ภมู ิลำเนาเดมิ ..............................................
๑.๑๐ การรับรู้และประสบการณท์ เ่ี กี่ยวกบั “ศนู ย์อนุรักษ์พันธ์กุ ล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี”....................................................................................
สว่ นที่ ๒ สถานภาพของศูนย์ฯ/บทบาทการบริหาร “ศูนยอ์ นรุ กั ษพ์ นั ธุ์กล้วย จังหวดั
สุพรรณบุร”ี
๒.๑ สภาพแวดล้อมประกอบด้วย
๑) ทำเล ที่ตัง้ มีความเหมาะสมอยา่ งไร.................................................................
๒) การตั้งถ่นิ ฐานของครวั เรือนรอบๆศูนย์ มหี รือไม่ อยา่ งไร.................................
๓) เส้นทางคมนาคมเป็นอย่างไร.............................................................................
๒.๒ ลักษณะโครงสร้างสังคมของชุมชนประกอบด้วย

233

๑) ระบบเครือญาติ, การรวมกลุ่มและเครือข่ายเป็นอยา่ งไร..................................
๒) ระบบการศกึ ษาเป็นอย่างไร..............................................................................
๓) ระบบสาธารณะสุขเป็นอย่างไร.........................................................................
๔) ระบบเศรษฐกจิ เป็นอย่างไร...............................................................................
๒.๓ โครงสรา้ งอำนาจและบทบาทการบริหารจัดการศนู ย์ฯ ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
๑) กล่มุ อำนาจเปน็ อยา่ งไร.........................................……………………………………..
๒) ภาวะผู้นำตามประเด็นต่อไปน้ี

(๑) ใชอ้ ำนาจนิยมหรือไม่......................................................................
(๒) ใชร้ ะบบประชาธปิ ไตยหรอื ไม่..........................................................
(๓) ใชห่ ลกั การบริหารแบบมีส่วนรว่ มอย่างไร
....................................................................................................................................................
๒.๔ บทบาทการบรหิ ารจดั การ “ศนู ย์อนุรกั ษ์พนั ธก์ุ ลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี” ทำอยา่ งไร
ตามประเดน็
๑) มกี ารสำรวจพันธุ์กลว้ ย…………………………………………………………
๒) การรวบรวมข้อมลู /องคค์ วามรู้/ภมู ิปญั ญาการอนรุ ักษ์พันธุก์ ล้วย..................
……………………………………………………………………………………………
๓) การรวมกันในการปฏิบัตงิ านในฐานะผู้ใหบ้ ริการ………………………………………
…………………………………………………………………………………………….
๔) การใช้เทคนิควธิ ีการ,ใช้กลไกทางวัฒนธรรม, ประเพณีทางสังคม อย่างไร
........................................................................................................ ......................................................
๕) มีการให้บริการความรดู้ า้ นการอนุรักษ์พันธก์ุ ล้วย อย่างไร
............................................................................................................................. ...................................
๖) มีการส่งเสริมให้ศนู ยฯ์ มีความโดดเดน่ ในดา้ นการเป็นศูนย์รวมการผลิต/
จำหนา่ ยสินคา้ ทางการเกษตรอยา่ งไร...................................................................................
๒.๕ ศนู ยอ์ นุรกั ษ์พนั ธ์ุกล้วยฯ มที นุ ดงั ตอ่ ไปนหี้ รอื ไม่หากมนี ำมาใช้อย่างไร
๑) ทุนทาง……………………………………………………………………………………………...
๒) ทุนทางวัฒนธรรม..................................................................................................
๓) ทุนทางสญั ลกั ษณ์...................................................................................................
๔) ภาคเี ครอื ขา่ ย……………………………………………………………………………………………..

234

๒.๖ การขับเคลอื่ นและการบริหารศูนย์อนรุ กั ษพ์ ันธุ์กล้วยฯ ใหเ้ ป็นตลาดด้านบรกิ ารสนิ ค้า
การเกษตร

๑) ดา้ นผลิตภัณฑ์ ควรพัฒนาอย่างไรให้ผลิตภัณฑต์ รงกับความจำเปน็ ใช้สอยเปน็
ส่งิ ที่นา่ สนใจและดึงดดู ผบู้ ริโภค เชน่

รูปแบบบรรจภุ ัณฑ.์ ..............................................................................................
ความนา่ เช่ือถือของผลิตภณั ฑ์...............................................................................
ความปลอดภัยของผลิตภณั ฑ์................................................................................
ผลติ ภัณฑม์ คี วามหลากหลายให้เลือกอยา่ งเพียงพอ.............................................
๒) ด้านราคา ควรกำหนดอยา่ งไรใหเ้ ป็นส่งิ ท่ีน่าสนใจและดึงดดู ผ้บู รโิ ภค เชน่ ราคา
ผลติ ภณั ฑไ์ ม่สงู มากนักเมื่อเทียบกับผลิตภณั ฑ์เดียวกนั ตามทอ้ งตลาด
..............................................................
การกำหนดราคามีความเหมาะสมกบั คณู ภาพและปริมาณของผลิตภัณฑ์
...................................................................
มีการกำหนดราคาและปดิ ราคาอยา่ งมมี าตรฐานกว่าสนิ ค้าทวั่ ไปอย่างเหมาะสม
.................................................

๓) ด้านสถานที่ ควรพัฒนาอย่างไรให้เป็นสง่ิ ท่ีน่าสนใจและเกดิ ความประทับใจแก่ผู้
มาเย่ยี มชม…………………………………………………………………………

จัดจำหน่ายผลติ ภัณฑอ์ ยใู่ นสถานท่ที ีเ่ หมาะสม และสะดวกต่อการเลือกซื้อ
ผลิตภัณฑ.์ ..................................................................................

ขนาดของพน้ื ท่ีสามารถใหบ้ ริการผบู้ ริโภคไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง..................................
...............................................................

๔) ดา้ นการประชาสมั พนั ธ์ ควรดำเนินการอยา่ งไรจึงจะให้เป็นทร่ี จู้ ักอยา่ ง
กวา้ งขวาง เชน่

การประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือมลั ตมิ ีเดยี .................................................................
ผ่านสถาบันทางการศกึ ษา..................................................................................
ผา่ นชมรม/ศนู ยก์ ารเกษตรอื่นๆ.........................................................................
ผา่ นเครือขา่ ย/วิสาหกิจชมุ ชน............................................................................
๕) ด้านพนกั งาน ควรพัฒนาอยา่ งไรให้มหี วั ใจใฝบ่ ริการ เช่น
มเี จ้าหน้าทีใ่ ห้คำแนะนำ/ใหข้ ้อมูลด้านการอนรุ ักษ์พันธ์กุ ลว้ ยทุกมิติ…………….
……………………………………………………..……………………………………………………..

235

มีเจา้ หน้าทใ่ี ห้บริการดว้ ยความสภุ าพ/มคี วามเปน็ กลั ยาณมิตร……………………
…………………………………………………….……………………………………………………..

มเี จา้ หนา้ ทมี่ ีความรคู้ วามสามารถในการตอบข้อซักถามและใหข้ ้อมลู ………….
.........................................................................................

๖) ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ เม่ือลูกค้าเข้ามาใชบ้ รกิ ารแลว้ จะต้องมีขนั้ ตอนการ
ใหบ้ รกิ ารอยา่ งไรบ้าง เช่น

มีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยีย่ มชมศูนย์ฯอย่างเหมาะสม………………………..
……………………………………….……………………………………………………..

มคี วามปลอดภัยทง้ั ในและนอกศูนย์ฯ…………………………………………………………..
มีความทันสมัยและมีความพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการ
จัดแสดงในศูนย์การเรียนรฯู้ มบี ริการ ฟรีไวไฟ………………………………………………………………………
มพี ื้นทเ่ี พียงพอในการรองรับผมู้ าเยย่ี มชมศนู ย์ฯ.................................................
๗) ด้านภาพลกั ษณ์และการนำเสนอลกั ษณะศนู ย์ฯ เชน่
มีความโดดเดน่ เปน็ แหล่งเรยี นร้แู ละการอนรุ กั ษพ์ ันธ์ุกลว้ ย………………………………..
…………………………………………………………..……………………………………………………..
มคี วามสะอาดเหมาะสมกับการเปน็ ศนู ย์ฯ………………………………………………………
…………………………………………………………..……………………………………………………..
มสี ง่ิ อำนวยความสะดวกท่ีครบถว้ นสมบูรณ์ และเพียงพอต่อความต้องการ เชน่ ท่ีน่ัง
พกั ที่จอดรถ หอ้ งน้ำ ถงั ขยะ ………………………………………………………………………………………………..
มสี ภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ไมร่ กรงุ รงั ไม่มสี ่ิงอนั ตรายในศูนยฯ์ ……………………….
…………………………………………………………..
ส่วนที่ ๓ การเตรียมความพร้อมในการขับเคลื่อนการบริหารศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวดั สุพรรณบรุ ี
๓.๑ ชุมชนมคี วามพร้อมท่จี ะทำการขับเคลอ่ื นการบรหิ ารศูนย์ฯ ในดา้ นต่างๆ
ดังต่อไปนหี้ รอื ไม่อยา่ งไร
๑) ดา้ นอาคารสถานท่ีเป็นอย่างไร

มีความสะดวก...........................
เหมาะสม...................................
ใกล้แหล่งเป้าหมาย.....................................
๒) ด้านการจดั การในเร่ืองทรพั ยากรการบรหิ ารเปน็ อยา่ งไร
คน......................................

236

งบประมาณ...............
เครือ่ งมอื ท่ีใช้......................................
เนื้อหา...............................................
เปา้ หมายสงู สุด…………………………………….
วิธกี าร................................................
วสั ดอุ ุปกรณ์
๓) การจัดการในเร่ืองขององค์กร เปน็ อย่างไร – เชน่ โครงสร้างขององค์กรได้แก่
ผู้นำ………………………………………..
เทคโนโลยี......................................
ข่าวสาร.............................................
สว่ นท่ี ๔
ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................

ขอขอบพระคุณทุกท่านทกี่ รุณาตอบแบบสอบถาม
คณะผู้วิจยั

แนวประเดน็ การสมั ภาษณ์ (Interview Guild)
เรอ่ื ง การพฒั นาศูนย์การเรยี นรูแ้ บบมีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์พนั ธุก์ ล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี

แนวประเดน็ การสมั ภาษณ์ประกอบไปด้วยชดุ คำถาม ๓ ส่วน ประกอบด้วย
สว่ นที่ ๑ ขอ้ มลู พ้ืนฐานทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ส่วนท่ี ๒ กลยุทธ์การตลาดด้านบรกิ าร “ศูนย์การเรยี นร้แู บบมีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์
พนั ธ์ุกล้วย จงั หวดั สพุ รรณบุรี”
ส่วนที่ ๓ ปญั หาและขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ ...........................................
สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มลู พื้นฐานทั่วไปของผใู้ หข้ ้อมูลสำคญั (สำหรับกล่มุ ขา้ ราชการ/ผ้นู ำชุมชน)

๑.๑ ชื่อ……………….นามสกุล.................................เพศ............................

237

๑.๒ อายุ............................
๑.๓ สถานภาพสมรส..................
๑.๔ ศาสนา...................
๑.๕ สถานภาพทางสังคม...............................
๑.๖ ระดบั การศกึ ษา...............................
๑.๗ อาชพี หลัก .............................................
๑.๘ ระยะเวลาท่อี ยู่ในชุมชน/เวลาทร่ี ับราชการอยใู่ นพืน้ ทที่ ี่รับผิดชอบชมุ ชน
....................................... ……………………………………………………..
๑.๙ ภมู ิลำเนาเดิม..............................................
๑.๑๐ การรบั รู้และประสบการณ์ท่เี กย่ี วกบั “ศูนย์อนรุ กั ษ์พันธุ์กล้วย จงั หวัด
สพุ รรณบุร”ี ....................................................................................
ส่วนที่ ๒ การขบั เคล่ือนและการบริหารศนู ย์อนรุ กั ษ์พันธุ์กลว้ ยฯ ใหเ้ ป็นตลาดดา้ นบริการ
สินค้าการเกษตร
๑) ด้านผลติ ภัณฑ์ ควรพฒั นาอย่างไรให้ผลติ ภณั ฑต์ รงกบั ความจำเป็น ใช้สอยเปน็
สิ่งทน่ี ่าสนใจและดึงดูดผูบ้ รโิ ภค เชน่
รปู แบบบรรจุภณั ฑ์...............................................................................................
ความน่าเชอ่ื ถือของผลติ ภณั ฑ์...............................................................................
ความปลอดภยั ของผลติ ภณั ฑ์................................................................................
ผลิตภณั ฑม์ ีความหลากหลายใหเ้ ลอื กอย่างเพยี งพอ.............................................
๒) ดา้ นราคา ควรกำหนดอยา่ งไรใหเ้ ปน็ สิ่งทนี่ ่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เช่น
ราคาผลติ ภัณฑไ์ มส่ ูงมากนกั เมือ่ เทียบกับผลติ ภัณฑ์เดียวกันตามท้องตลาด.............
การกำหนดราคามีความเหมาะสมกบั คณู ภาพและปริมาณของผลติ ภัณฑ์.................
.................................................. ……………………………………………………..
มกี ารกำหนดราคาและปดิ ราคาอย่างมีมาตรฐานกว่าสินคา้ ทัว่ ไปอย่างเหมาะสม
.................................................

๓) ดา้ นสถานท่ี ควรพฒั นาอยา่ งไรให้เปน็ สง่ิ ท่ีน่าสนใจและเกิดความประทบั ใจแก่ผู้
มาเย่ยี มชม…………………………………………………………………………

จดุ จำหนา่ ยผลิตภัณฑ์อยู่ในสถานท่ีท่เี หมาะสม และสะดวกต่อการเลือกซ้ือ
ผลติ ภัณฑ์...................................................................................

ขนาดของพ้ืนทสี่ ามารถให้บริการผู้บรโิ ภคได้อยา่ งพอเพยี ง..................................

238

...............................................................
๔) ด้านการประชาสมั พันธ์ ควรดำเนนิ การอยา่ งไรจึงจะใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ ักอย่าง

กวา้ งขวาง เชน่
การประชาสมั พันธ์ผ่านส่อื มลั ติมเี ดยี .................................................................
ผ่านสถาบนั ทางการศกึ ษา..................................................................................
ผ่านชมรม/ศนู ยก์ ารเกษตรอื่นๆ.........................................................................
ผ่านเครือข่าย/วิสาหกิจชุมชน............................................................................
๕) ดา้ นพนักงาน ควรพฒั นาอย่างไรให้มหี ัวใจใฝบ่ ริการ เช่น
มเี จา้ หน้าท่ีให้คำแนะนำ/ใหข้ ้อมลู ด้านการอนุรักษ์พันธุก์ ลว้ ยทุกมิติ…………….
มีเจ้าหน้าที่ใหบ้ ริการด้วยความสภุ าพ/มีความเปน็ กลั ยาณมิตร……………………
มีเจา้ หน้าท่มี ีความรคู้ วามสามารถในการตอบข้อซักถามและให้ข้อมลู ………….
๖) ด้านกระบวนการใหบ้ รกิ าร เม่ือลูกคา้ เขา้ มาใชบ้ รกิ ารแล้วจะตอ้ งมีขั้นตอนการ

ให้บริการอย่างไรบา้ ง เชน่ มีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยีย่ มชมศนู ยฯ์ อยา่ ง
เหมาะสม…………………….……………………………………………………..

มีความปลอดภัยท้ังในและนอกศูนย์ฯ…………………………………………………………..
มีความทันสมัยและมีความพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการ
จดั แสดงในศนู ย์การเรียนรู้ฯ มบี ริการ ฟรีไวไฟ………………………………………………………………………
มพี ้นื ท่เี พียงพอในการรองรับผ้มู าเยยี่ มชมศูนย์ฯ.................................................
๗) ด้านภาพลกั ษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์ฯ เชน่
มีความโดดเด่นเป็นแหลง่ เรียนรู้และการอนุรักษพ์ นั ธ์ุกล้วย……………………….
…………………………………………………………..……………………………………………………..
มคี วามสะอาดเหมาะสมกบั การเปน็ ศนู ยฯ์ ……………………….
มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถว้ นสมบรู ณ์ และเพียงพอต่อความต้องการ เช่น ที่นั่ง
พัก ทีจ่ อดรถ ห้องน้ำ ถงั ขยะ……………………….………………
มีสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม ไม่รกรงุ รงั ไม่มีสง่ิ อันตรายในศนู ย์ฯ……………………….
…………………………………………………………..……………………………………………………..
สว่ นที่ ๓
ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................

ขอขอบพระคุณทุกท่านท่กี รุณาตอบแบบสอบถาม
คณะผ้วู ิจัย

239

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

(กลมุ่ ผู้มาเย่ียมชมศนู ย์การเรียนรแู้ ละการอนรุ ักษพ์ นั ธุก์ ล้วย จังหวดั สุพรรณบรุ ี)
คำแนะนำในการตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามชุดน้จี ดั ทำข้นึ เพื่อวจิ ยั เรอ่ื ง การพฒั นาศูนยก์ ารเรียนรแู้ บบมสี ่วนร่วมในการ
อนรุ กั ษพ์ ันธ์ุกล้วย จังหวัดสุพรรณบรุ ี โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้

๑) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย

จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

๒) เพื่อศึกษาบทบาทการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุ

กลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี
๓) เพื่อศึกษาระดับกลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่ส่งผลต่อการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมี

ส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษพ์ นั ธก์ุ ล้วย จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
แบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ ๓ ชุด ขอความกรุณาตอบคำถามใหค้ รบทุกข้อและทุกชดุ
ชดุ ที่ ๑ แบบสอบถามขอ้ มลู ทวั่ ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง
ชุดที่ ๒ แบบสอบถามระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จงั หวดั สุพรรณบุรี ท่ีมตี อ่ การพัฒนากลยทุ ธท์ างการตลาดดา้ นการบรกิ าร
ชุดที่ ๓ เปน็ แบบสอบถามความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม

ชุดที่ ๑.เป็นแบบสอบถามกลุ่มผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี แบ่ง
ออกเปน็ ๔ สว่ น ประกอบด้วย

คำชี้แจง : โปรดทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ ง O ท่ตี รงกับปัจจยั สว่ นบุคคลของท่านของท่านมากท่ีสดุ

สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ทว่ั ไปเกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม

๑. เพศ O ๑. ชาย O ๒. หญงิ

๒. อายุ

O ๑) ต่ำกวา่ ๒๐ ปี O ๒) ๒๐ – ๒๙ ปี

O ๓) ๓๐ – ๓๙ ปี O ๔) ๔๐ – ๔๙ ปี

O ๕) ๕๐ – ๕๙ ปี O ๖) ๖๐ ปี ขนึ้ ไป

๓. อาชพี

O ๑) รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกิจ O ๒) พนกั งานเอกชน

O ๓) ทำธรุ กจิ ส่วนตัว O ๔) นกั เรียน/นกั ศกึ ษา

240

O ๕) แม่บา้ น O ๖) เกษตรกร

O ๗) เกษยี ณ O ๘) อืน่ ๆ (โปรดระบุ).............................

๔. รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดอื น

O ๑) ต่ำกวา่ ๑๕,๐๐๐ บาท O ๒) ๑๕,๐๐๑ – ๒๕,๐๐๐ บาท

O ๓) ๒๕,๐๐๑ – ๓๕,๐๐๐ บาท O ๔) ๓๕,๐๐๑ – ๔๕,๐๐๐ บาท

O ๕) ๔๕,๐๐๑ – ๕๕,๐๐๐ บาท O ๖) มากกว่า ๕๕,๐๐๐ บาท

๕. การศกึ ษา

O ๑) ตำ่ กวา่ ปริญญาตรี O ๒) ปริญญาตรี

O ๓) สงู กว่าปรญิ ญาตรี O ๔) อื่นๆ (โปรด

ระบุ).......................................................................................................

๖. ถิ่นพำนกั ทีอ่ ยปู่ จั จุบนั

O ๑) ภาคเหนือ O ๒) ภาคกลาง O ๓) ภาคตะวันออก O ๔) ภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื

O ๕) ภาคตะวนั ตก O ๖) ภาคใต้ O ๗) กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล

ชุดที่ ๒ แบบสอบถามระดับความคิดเห็นของกลุ่มผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สพุ รรณบุรี ทมี่ ีตอ่ การพัฒนากลยทุ ธ์ทางการตลาด(๗P’S) ดา้ นการบรกิ ารศนู ย์ฯ
กำหนดคา่ ระดับความคิดเห็น ดังนี้ เลอื ก ๑ มีค่าน้อยมาก, เลอื ก ๒ มคี ่าน้อย, เลือก ๓ มี

ค่าปานกลาง, เลอื ก ๔ มคี า่ มาก, เลือก ๕ มีคา่ มากทีส่ ดุ

คำชแ้ี จง : โปรดทำเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ความคิดเห็นของท่านมากทสี่ ดุ

ประเดน็ คาถาม ระดบั ความคดิ เห็น ID
การพัฒนาด้านผลติ ภัณฑศ์ นู ยก์ ารเรยี นรู้ฯ ๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. ผลติ ภณั ฑท์ างการเกษตรมีความหลากหลาย มใี หเ้ ลอื กซือ้ เลือกชม

๒. ผลติ ภณั ฑจ์ ากผลผลติ จากการเกษตรมีคณุ ภาพตรงกบั ความจาเป็นในการดารง
ชีพ

๓. ผลติ ภณั ฑม์ คี วามหลากหลายใหเ้ ลอื กซอื้ อย่างเพยี งพอ

๔. ผลติ ภณั ฑจ์ ากผลผลิตจากการเกษตรมีมาตรฐานคณุ ภาพ นา่ เช่ือถือ

241

ประเดน็ คาถาม ระดบั ความคดิ เห็น ID
๕ ๔ ๓ ๒๑

การพัฒนาดา้ นราคา ณ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ฯ

๑..ราคาคา่ สนิ คา้ มีความเหมาะสมไม่สงู มากเม่ือเทียบกบั ผลติ ภณั ฑช์ นิดเดยี วกนั
ตามทอ้ งตลาด

๒. มอี าหารเครื่องด่ืมใหบ้ รกิ ารพอเพยี งและมีราคาท่เี หมาะสม

๓. มีป้ายแสดงราคาสนิ คา้ ของท่รี ะลกึ ท่ชี ดั เจนและมีราคาทเ่ี หมาะสม

๔. มีความคมุ้ ค่ากบั การเขา้ เยย่ี มชมศนู ยฯ์ ในครงั้ นี้

การพฒั นาด้านชอ่ งทางใหบ้ ริการ ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้ฯ

๑. มีการใหบ้ รกิ ารเขา้ ชมสถานท่อี ย่างเหมาะสม

๒. มีการบริการขอ้ มูลดา้ นวิชาการการอนุรักษ์พันธุ์กลว้ ยให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่าง
เพยี งพอ

๓. มีความสะดวกหลายช่องทางในการเขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มลู เก่ียวกบั การเรียนรูฯ้ ผ่าน
เวบ็ ไซด์ เป็นตน้

๔. ท่ตี งั้ ของศนู ยฯ์ ตงั้ อยใู่ นทาเลทห่ี าง่าย เดนิ ทางสะดวก

การพฒั นาด้านการส่งเสริมการตลาดศนู ยอ์ นุรักษพ์ นั ธกุ์ ลว้ ย จังหวดั สุพรรณบุรี

๑.มกี ารประชาสมั พนั ธถ์ งึ ผลิตภณั ฑ์ /ศนู ยอ์ นรุ กั ษ์พนั ธกุ์ ลว้ ย

๒. ศนู ยอ์ นรุ กั ษฯ์ มกี ารประชาสมั พนั ธเ์ สน้ ทางดว้ ยภาษาท่หี ลากหลาย เขา้ ใจงา่ ย
และนา่ สนใจ

๓. มกี ารแนะนาศนู ย์ ฯ ผา่ นส่ือตา่ งๆ เชน่ อินเตอรเ์ น็ต แผ่นพบั หนงั สอื นาเท่ยี ว
โทรทศั น์ วิทยุ ดว้ ยภาษาท่หี ลากหลาย

๔. มีการแนะนาขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นนทิ รรศการ หรือการจดั กจิ กรรมต่างๆ ในสถานท่ี
อื่นๆ

การพัฒนาด้านเจ้าหน้าทผ่ี ู้ใหบ้ ริการ ณ ศูนยอ์ นุรักษฯ์

242

ประเดน็ คาถาม ระดบั ความคดิ เหน็ ID
๕ ๔ ๓ ๒๑

๑. มเี จา้ หนา้ ท่ใี หค้ าแนะนา/ใหข้ อ้ มลู ดา้ นการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ์ ลว้ ยทกุ มิติ

๒. มีเจา้ หนา้ ท่ใี หบ้ รกิ ารดว้ ยความสภุ าพ/มคี วามเป็นกลั ยาณมิตร

๓.มเี จา้ หนา้ ท่มี คี วามรูค้ วามสามารถในการตอบขอ้ ซกั ถามและใหข้ อ้ มลู

๔. เจา้ หนา้ ทม่ี มี นษุ ยส์ มั พนั ธก์ บั ผมู้ าเย่ยี มชมศนู ยฯ์ เป็นอยา่ งดี

การพัฒนาด้านภาพลกั ษณแ์ ละการนาเสนอลกั ษณะศนู ยฯ์

๑. มีความโดดเด่นเป็นแหลง่ เรยี นรูแ้ ละการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ์ ลว้ ย

๒. มคี วามสะอาดเหมาะสมกบั การเป็นศนู ย์ ฯ

๓. มีส่ิงอานวยความสะดวกทค่ี รบถว้ นสมบรู ณ์ และเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการ เช่น
ท่นี ่งั พกั ท่จี อดรถ หอ้ งนา้ ถงั รองรบั ขยะ

๔. มีสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม ไม่รกรุงรงั ไมม่ ีสิ่งอนั ตรายในศนู ยฯ์

การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศนู ยอ์ นุรักษฯ์

๑. มกี ารอานวยความสะดวกแกผ่ มู้ าเยย่ี มชมศนู ยฯ์ อยา่ งเหมาะสม

๒. มีความปลอดภยั ทง้ั ในและนอกศนู ยฯ์

๓. มคี วามทนั สมยั และมคี วามพรอ้ มของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีท่ใี ชเ้ พ่อื
การจดั แสดงใหค้ วามรู้ มีบรกิ ารฟรไี วไฟ

๔. มพี นื้ ท่เี พียงพอในการรองรบั ผมู้ าเย่ียมชมศนู ยฯ์

243

ขอขอบคุณทุกทา่ นที่กรณุ าตอบแบบสอบถาม
“คำตอบของท่านจะได้นำไปพฒั นาศูนยอ์ นรุ กั ษ์พันธก์ุ ล้วยใหม้ ีมาตรฐานคณุ ภาพยงิ่ ข้ึน
พร้อมก้าวสูศ่ นู ย์การเรียนรู้และแหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตร” ต่อไป

คณะผูว้ จิ ยั

การประชมุ กลุ่ม

โครงการวจิ ัย เรือ่ ง การอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาศนู ย์การเรยี นรู้กล้วยไทยดว้ ยการมสี ่วนรว่ มของชุมชน
ในจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

The Conservation and Development Learning Center banana Thailand. Using
Cmmunity collaborative process
in Suphanburi Province.

วนั ท.่ี ..........................................................................
เวลา............................... ณ......................................

------------------------------------
ผูเ้ ขา้ รว่ มการประชุมกลุ่ม
1. ประธานกลมุ่ วิสาหกิจชุมชนศนู ยอ์ นรุ กั ษพ์ ันธก์ุ ล้วยสพุ รรณบุรี
2. รองประธานกลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชนศนู ยอ์ นรุ ักษ์พันธุ์กลว้ ยสพุ รรณบรุ ี
3. นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนเทศบาลเมอื งสุพรรณบุรี

244

4. สมาชกิ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนศนู ย์อนุรกั ษ์พนั ธ์กุ ล้วยสุพรรณบุรี

ประเด็นการสนทนากลุม่ (Focus Group Discussion)

1. แนวทางและกระบวนการพฒั นาแนวทางการอนรุ กั ษแ์ ละพัฒนาศนู ย์การเรยี นรกู้ ล้วยไทย
2. ปัญหาอุปสรรคการแปรรูปผลผลิตกล้วยไทยด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในจังหวัด
สุพรรณบรุ ี
3. การนำเสนอรูปแบบและกระบวนการพัฒนาศูนย์ Otop เพิ่มมูลค่ากล้วยทางเศรษฐกิจของชุมชน
อย่างยัง่ ยืน
4. ขอ้ เสนอแนะ

(.................................................)
ผู้รายงาน

245

246

247

248

รายนามผทู้ รงคณุ วุฒิในการตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย

1. ชือ่ -สกลุ นายเฉลมิ พล จติ รสทุ ธทิ รัพย์
ตำแหน่งปจั จบุ นั นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ รกั ษาการในตำแหนง่
ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเทพมงคล
วุฒกิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาโท สาขาแพทย์ศาสตร์
สถานทท่ี ำงาน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลเทพมงคล อำเภอบาง
ซา้ ย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
2. ชอื่ -สกลุ
ตำแหน่ง ท่านผ้อู ำนวยการพิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ สพุ รรณบุรี
วฒุ ิการศึกษา ผู้อำนวยการพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ
ปรญิ ญาโท มหาวิทยาลยั ศิลปากร ศิลปศาสตรมหา
สาขา บัณฑติ
สถานที่ทำงาน การจัดการทางวฒั นธรรม
ตำแหน่งปจั จบุ ัน พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ สพุ รรณบรุ ี
ผ้อู ำนวยการพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ

3. ช่อื -สกลุ ผศ.เจริญ แสนภักดี
ตำแหนง่ ปัจจบุ นั อดีตคณบดมี หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพธนบุรี
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
วุฒิการศึกษา ปรญิ ญาเอก (สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์)
คณะศกึ ษาศาสตร์
สถานทท่ี ำงาน มหาวิทยาลัยกรงุ เทพธนบรุ ี

249

ตัวอย่างหนงั สอื เชญิ เปน็ ผู้เชีย่ วชาญตรวจคุณภาพเครอื่ งมือการวิจยั
(ร่างตัวอยา่ ง)

ที่ ศธ.61661/ วิทยาลยั สงฆ์สุพรรณบุรีศรสี ุวรรณภูมิ วัดป่าเลไลยกว์ รวิหาร ตำบลรว้ั ใหญ่

อำเภอเมือง จงั หวัดสุพรรณบุรี 72100

14 กุมภาพนั ธ์ 2563

เรอ่ื ง ขอเชิญเปน็ ผู้เชย่ี วชาญตรวจคณุ ภาพเคร่อื งมอื การวิจัย

เรียน/เจริญพร

ส่งิ ท่สี ่งมาด้วย 1. โครงการวิจัย จำนวน 1 ชุด

ด้วย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร อำเภอเมือง
จังหวัดสุพรรณบุรี ได้รับทุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ทำวิจัยเรื่อง
การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์พันธุ์กล้วยจังหวดั สุพรรณบุรี Development
of participatory learning center for banana conservation in Suphanpuri province ไ ด
พจิ ารณาแลวเหน็ ว่า .............. ท่านเปน็ ผูเ้ ชี่ยวชาญทีม่ คี วามรูความสามารถในเรื่องนโี้ ดยเฉพาะ และ
คำแนะนำของท่านจะเป็นประโยชน ตอการสรางเครื่องมือของผู้วิจัยและคณะที่จะนําข้อมูลไป
ปรบั ปรงุ เครือ่ งมือให้มปี ระสิทธิภาพ เหมาะสม เพ่อื ใชในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในการวิจัยต่อไป

250

หน่วยวิทยบริการวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จึงใคร ขอความอนุเคราะห์จากทานเปนผู
เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมืองานวิจัย รายละเอียดตามสิ่งที่ส่งมาดว้ ยแล้ว และขออนุโมทนาในกุศลจริยา
มา ณ โอกาสนด้ี ว้ ย

ขอแสดงความนบั ถือ/ขอเจริญพร
...............................................................

(พระครโู สภณวีรานุวตั ร,ดร.)
หัวหน้าโครงการวจิ ยั


Click to View FlipBook Version